Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบบัญชาการเหตุการณ์ ปภ.

ระบบบัญชาการเหตุการณ์ ปภ.

Published by yew.edtech, 2021-01-10 14:26:08

Description: ระบบบัญชาการเหตุการณ์ ปภ.

Search

Read the Text Version

ผ้บู ัญชาการเหตุการณ์

ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉนิ ของ ประเทศไทย ระบบบัญชาการณเ์ หตุการณก์ บั การจัดการในภาวะฉกุ เฉินของประเทศไทย a

ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉนิ ของประเทศไทย เรียบเรยี ง ร้อยตรพี งศธร ศิริสาคร ศนู ยอ์ ำ� นวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ISBN 978-974-458-557-8 พิมพค์ รัง้ ท่ี 1 กนั ยายน 2559 จ�ำนวน 1,000 เล่ม จัดพมิ พ์โดย กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย 3/12 ถนนอ่ทู องนอก เขตดสุ ิต กรงุ เทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0 2637 3000 สายด่วนนิรภยั 1784 www. disaster.go.th พมิ พ์ท่ ี บริษัท บอร์น ทู บี พับลชิ ชง่ิ จำ� กัด 53/1 หมู่ 7 ถนนสวนหลวงรว่ มใจ ตำ� บลสวนหลวง อำ� เภอกระทมุ่ แบน จงั หวัดสมทุ รสาคร 74110 โทรศพั ท์ 0 2813 7378 โทรสาร 0 2813 7378 ระบบบญั ชาการณ์เหตุการณก์ ับการจัดการในภาวะฉกุ เฉินของประเทศไทย

คำ� นำ� โลกปัจจุบันก�ำลังเผชิญกับปัญหาสาธารณภัยที่เกิดข้ึนบ่อยครั้ง ซึ่งทว ี ความรุนแรงและกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบต่าง ๆ ที่มีความซับซ้อนมากยงิ่ ขึน้ สาเหตุ ส่วนหน่ึงมาจากการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ประกอบกับการพัฒนา ด้านต่าง ๆ ที่ไม่ค�ำนึงถึงความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำ� ใหส้ ง่ ผลกระทบเชงิ ลบ สรา้ งความสญู เสยี ตอ่ ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชน รวมถึงการพัฒนาประเทศเป็นอย่างมาก ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 เปน็ กฎหมายเฉพาะในการจดั การความเสยี่ ง จากสาธารณภยั เพอ่ื มงุ่ เนน้ ใหเ้ กดิ เอกภาพในการอำ� นวยการและบรหิ ารจดั การ ในการปฏบิ ตั งิ านการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั กอปรกบั คณะรฐั มนตรี มีมติอนุมัติแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558 เม่ือ วนั ท่ี 31 มนี าคม 2558 เพ่ือให้ทุกหนว่ ยงานใชเ้ ปน็ แผนแม่บท (Master Plan) ในการจัดการสาธารณภัย โดยใช้เป็นกรอบและทิศทางในการปฏิบัติงานด้าน สาธารณภยั ให้แก่ประเทศไทย ดังน้ัน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมและสร้างภูมิคุ้มกันในการรองรับ และรับมือในการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศอย่างมีมาตรฐานและ เปน็ ระบบในการจดั การสาธารณภยั ทงั้ 4 ระดบั ตามแผนการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558 กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในฐานะ หน่วยงานกลางของรัฐในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศ จึงได้จัดท�ำหนังสือระบบบัญชาการเหตุการณ์กับการจัดการในภาวะฉุกเฉิน ของประเทศไทยข้นึ โดยมีจุดมุ่งหมายให้ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command System : ICS) เป็นเครื่องมือท่ีใช้ส่ังการ ควบคุม และประสาน ความร่วมมือของแต่ละหน่วยงานในการจัดการในภาวะฉุกเฉิน และเป็นระบบ ปฏิบัติการในการระดมทรัพยากรไปยังท่ีเกิดเหตุ เพื่อให้สามารถปกป้องชีวิต ระบบบญั ชาการณเ์ หตกุ ารณก์ ับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศไทย ก

ทรพั ยส์ นิ และสง่ิ แวดลอ้ มเปน็ ไปอยา่ งมเี อกภาพและปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มีประสิทธภิ าพมากยง่ิ ๆ ขึ้นไป กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยคาดหวังว่าหนังสือระบบบัญชาการ เหตุการณ์กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศไทยเล่มน้ี จะเป็นแนวทาง ปฏิบัติให้ทุกส่วนราชการ หน่วยงาน และภาคเอกชนสามารถปรับใช้ระบบ บัญชาการเหตุการณ์ใหเ้ ปน็ ระบบมาตรฐานของประเทศต่อไป (นายฉัตรชยั พรหมเลิศ) อธบิ ดกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ผอู้ ำ� นวยการกลาง ข ระบบบัญชาการณเ์ หตกุ ารณก์ ับการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ของประเทศไทย

ค�ำนยิ ม ในการจัดการความเสยี่ งสาธารณภยั ระบบการปฏิบตั ิงานในภาวะฉุกเฉิน ที่มีเอกภาพในการประสานงานอย่างสอดคล้อง ถือว่าเป็นปฏิบัติการที่มี ความส�ำคัญอย่างย่ิงยวด เพราะเป็นระยะที่ระบบจะสามารถบริหารจัดการ ให้สถานการณ์กลับคืนสู่ภาวะปกติ หรือระบบจะพ่ายแพ้ต่อความรุนแรงของ ผลกระทบจนไมส่ ามารถรบั มอื ได้ การปฏบิ ตั งิ านนจ้ี งึ ตอ้ งอาศยั หนว่ ยงานจำ� นวน มากเขา้ ปฏบิ ตั กิ ารรว่ มกนั ภายใตก้ รอบการปฏบิ ตั งิ านเดยี วกนั ทเี่ รยี กวา่ “ระบบ บัญชาการเหตุการณ์” ซึ่งเป็นระบบที่ถูกออกแบบให้มีมาตรฐานการใช้ร่วมกัน ในระดบั สากล เพอื่ ประโยชนใ์ นการสรา้ งเอกภาพในการปฏบิ ตั งิ านขา้ มสายงาน ภายในพน้ื ท่ี และเม่ือต้องรบั ความชว่ ยเหลือจากต่างประเทศเชน่ เดยี วกนั การเขียนหนังสือคู่มือการใช้ระบบบัญชาการเหตุการณ์น้ัน ต้องอาศัย ผู้ท่ีมีหลักการทางวิชาการในการท�ำความเข้าใจระบบในบริบทของการบริหาร จัดการของประเทศไทย และประสบการณ์การปฏิบัติงานในการอธิบาย ความเชื่อมโยงของระบบเชิงพื้นที่ ซ่ึงผู้เขียนเป็นผู้ท่ีมีทั้งหลักวิชาและ ประสบการณ์ เชิงปฏิบัติการในพื้นที่มาอย่างยาวนาน และเผชิญหน้ากับ โจทย์ยากๆ ในแต่ละครั้งที่ปฏิบัติงาน จึงท�ำให้การถ่ายทอดเนื้อหาและ รายละเอียดเกี่ยวกับระบบบัญชาการเหตุการณ์เป็นไปอย่างมีระบบ เข้าใจง่าย รวมทง้ั ยงั ประยกุ ตใ์ ชก้ ารอธบิ ายเขา้ สรู่ ะบบของประเทศไทยไดอ้ ยา่ งชดั เจน ทำ� ให้ หนงั สอื เลม่ นมี้ ปี ระโยชนก์ บั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านในการศกึ ษาทำ� ความเขา้ ใจการใชร้ ะบบ บญั ชาการเหตกุ ารณเ์ ปน็ อยา่ งสงู และยงั มคี ณุ ปู การตอ่ แวดวงวชิ าการทตี่ อ้ งการ รปู ธรรมของการใช้ระบบงานทอี่ อกแบบเพ่ือการบูรณาการอย่างเป็นระบบด้วย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ทวดิ า กมลเวชช รองคณบดฝี ่ายวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ระบบบญั ชาการณ์เหตุการณ์กบั การจัดการในภาวะฉกุ เฉินของประเทศไทย ค

ง ระบบบัญชาการณเ์ หตกุ ารณ์ กบั การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ของประเทศไทย

สารบัญ หน้า ก ค คำ� นำ� จ ค�ำนิยม 1 สารบญั 11 บทนำ� 39 ภาพรวมระบบการบัญชาการเหตกุ ารณ ์ 69 โครงสร้างองค์กร หน้าท่ี และความรับผดิ ชอบ 89 กระบวนการวางแผน องค์กรปฏบิ ตั กิ ารจดั การในภาวะฉุกเฉิน ตามแผนการปอ้ งกนั 115 และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2558 117 บรรณานกุ รม 160 ภาคผนวก: แบบฟอร์มทีส่ ำ� คัญในระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ คณะที่ปรึกษาและผจู้ ดั ท�ำ ระบบบัญชาการณเ์ หตกุ ารณ์กับการจัดการในภาวะฉุกเฉนิ ของประเทศไทย จ

ระบบบญั ชาการณเ์ หตกุ ารณ์ กบั การจัดการในภาวะฉกุ เฉินของประเทศไทย

บทน�ำ ระบบบญั ชาการณเ์ หตกุ ารณก์ ับการจดั การในภาวะฉุกเฉนิ ของประเทศไทย

ระบบบญั ชาการณเ์ หตกุ ารณ์ กบั การจัดการในภาวะฉกุ เฉินของประเทศไทย

บทนำ� การจัดการในภาวะฉุกเฉิน เป็นการจัดการ (Management) ท่ีแตกต่าง จากการจัดการในรูปแบบปกติทั่ว ๆ ไป ไม่สามารถใช้ทฤษฎีการจัดการท่ัวไป มาใช้ในการจัดการในภาวะฉุกเฉินได้ เนื่องจากในภาวะฉุกเฉินมีตัวแปรท ่ี ไมเ่ หมอื นการจัดการในภาวะปกติ คอื เป็นการจดั การสถานการณท์ ีม่ ีความสลบั ซบั ซอ้ น มีการเปล่ยี นแปลงของสถานการณต์ ลอดเวลา ระยะเวลาในการจดั การ มอี ยอู่ ยา่ งจำ� กดั ตอ้ งทำ� งานอยา่ งรวดเรว็ แขง่ กบั เวลาเพอ่ื รกั ษาชวี ติ ของผปู้ ระสบภยั และควบคุมสถานการณ์ให้อยู่ในวงจ�ำกัด อีกท้ังยังต้องตัดสินใจบนพื้นฐาน ข้อมูลท่ีมีจ�ำกัด และในบ่อยคร้ังเป็นข้อมูลที่มีความขัดแย้งกันเอง ข้อส�ำคัญ อีกประการหนึ่งคือการจัดการในภาวะฉุกเฉินจะมีหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องหลาย หนว่ ยงานเขา้ มารว่ มในการปฏบิ ตั งิ านชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ทง้ั ทมี่ อี ำ� นาจหนา้ ท่ี ตามระเบยี บ กฎหมาย เฉพาะของแตล่ ะหนว่ ย ทัง้ ทเี่ ป็นหนว่ ยงานทางวิชาการ หรือผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะดา้ น ซง่ึ หนว่ ยงานเหลา่ น้ี ไมม่ โี ครงสรา้ งการบังคบั บญั ชา หรอื การประสานงานระหว่างกันในภาวะปกติ ประเด็นเหล่าน้ี เป็นความท้าทายต่อการจัดการของ “นักจัดการ ภาวะฉุกเฉนิ (Emergency Manager)” อย่างมาก จงึ มีความจ�ำเป็นอยา่ งยง่ิ ส�ำหรับการจัดการในภาวะฉุกเฉินที่จะต้องจัดท�ำแผนการเตรียมความพร้อม แผนปฏบิ ตั กิ าร แผนเผชญิ เหตุ การเตรยี มการดา้ นทรพั ยากร การทำ� ความตกลง ความเขา้ ใจระหวา่ งหนว่ ยงานและผปู้ ฏบิ ตั งิ านในทกุ ระดบั รวมทงั้ จดั ใหม้ กี ารฝกึ ปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีหลัก และหนว่ ยงานทม่ี บี ทบาทในการสนบั สนนุ โดยตอ้ งเปน็ ทเ่ี ขา้ ใจรว่ มกนั วา่ ในการ ปฏบิ ตั งิ านตามขน้ั ตอนการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ นน้ั ไมว่ า่ ความรนุ แรงจะอยใู่ น ระดบั ใด จะตอ้ งใชข้ นั้ ตอนการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั เสมอ เพอื่ ใหห้ นว่ ยงาน และผเู้ ผชญิ เหตุ (First Responders) มคี วามคนุ้ เคยและเขา้ ใจ มาตรฐานขนั้ ตอน ระบบบญั ชาการณ์เหตกุ ารณ์กับการจดั การในภาวะฉุกเฉนิ ของประเทศไทย 3

การปฏบิ ตั งิ าน หรอื ทเี่ รยี กวา่ Standard Operating Procedure (SOP) ไว้ต้งั แต่ ในภาวะปกติ เพอ่ื ใหเ้ จา้ หนา้ ทผ่ี เู้ ผชญิ เหตจุ ากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ สามารถเขา้ เผชญิ กบั เหตกุ ารณใ์ นภาวะฉกุ เฉนิ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ หลกั การส�ำคญั ในการจดั การในภาวะฉุกเฉนิ 1. มาตรฐานการจดั การในภาวะฉกุ เฉิน เป็นมาตรฐานการจัดการท่ีเป็นระบบเดียวกันท้ังประเทศ เพื่อให้ ทุกหน่วยงาน ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมต่าง ๆ ที่มีหน้าที่ หรือความสามารถในการเข้าร่วมปฏิบัติงานเผชิญเหตุในภาวะฉุกเฉิน สามารถ รว่ มกนั ทำ� ใหเ้ หตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ นน้ั ยตุ แิ ละกลบั คนื สสู่ ภาวะปกตไิ ดโ้ ดยเรว็ ไมว่ า่ เหตุการณ์น้ันจะมีการจดั การในระดบั ขนาดเล็กน้อย (ระดบั ทอ้ งถิ่น) ขนาดเล็ก (ระดับอ�ำเภอ) ขนาดกลาง (ระดับจังหวัด) หรอื ขนาดใหญ่อย่างย่งิ (ระดบั ชาต)ิ ซง่ึ ตอ้ งมกี ารจดั การกบั เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ภายใตร้ ปู แบบ ระบบ และความเขา้ ใจ ที่มีมาตรฐานเดียวกัน ดังน้ัน มาตรฐานในการจัดการในภาวะฉุกเฉินคือ ความสามารถในการจดั การรว่ มกนั ทงั้ ในดา้ นการสงั่ การ ควบคมุ มอบหมายภารกจิ สนับสนุนทรัพยากร และการบูรณาการการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงาน ซึ่งจะสามารถเชื่อมต่อพื้นที่และภารกิจระหว่างกันได้ทันที ภายใต้โครงสร้าง องค์กร กระบวนงานและขั้นตอนการปฏิบัติ รูปแบบ ทรัพยากร สัญลักษณ์ การสื่อสารท่ีมีมาตรฐานแบบเดียวกัน โดยการน�ำระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command System : ICS) มาใช้กับหน่วยงาน 4 บทน�ำ

2. เอกภาพในการจัดการ เป็นการจัดการในการเผชิญเหตุที่ทุกหน่วยมีการปฏิบัติท่ีเป็นไป ในทิศทางเดียวกัน โดยนักจัดการภาวะฉุกเฉิน ซ่ึงก็คือผู้มีอ�ำนาจตามกฎหมาย (รวมถึงเจ้าพนักงานท่ีได้รับการแต่งตั้ง) จะสามารถจัดการกับเหตุการณ์ฉุกเฉิน ที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพได้ จ�ำเป็นต้องมีการก�ำหนดสายและล�ำดับการ บังคับบัญชา (span of control) ท่ีชัดเจนระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ว่าจะ รบั หนา้ ทภี่ ารกจิ จากผใู้ ด หนว่ ยงานใดเปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการเผชญิ เหตกุ ารณ์ ที่เกิดขึ้น หน่วยงานใดท�ำหน้าท่ีสนับสนุน รวมท้ังการแบ่งความรับผิดชอบ ต่อสถานการณน์ ้ัน ๆ การท�ำให้มีเอกภาพในการจัดการต้องมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ กลยุทธ์ ยทุ ธวธิ ี เพอ่ื ใหม้ แี นวทางปฏบิ ตั ทิ ช่ี ดั เจน ซง่ึ จะทำ� ใหเ้ จา้ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ท่ีเข้าร่วมในการเผชิญเหตุ สามารถปฏิบัติงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันได้ อย่างรวดเร็ว ราบรื่น และมีประสิทธิภาพ ในประเทศไทยมีการใชค้ �ำวา่ Single command อยา่ งแพร่หลาย ท�ำให้ หลายคนแปลความหมายวา่ เป็นการสงั่ การเพียงคนเดียว ซึ่งเป็นการเขา้ ใจท่ผี ดิ เนอื่ งจากค�ำว่า Single Command คือการรวบรวมการส่ังการใหเ้ กดิ ความเปน็ หนง่ึ เดียว เนอื่ งจากเวลาเกดิ สาธารณภยั จะมกี ารทบั ซอ้ นของกฎหมาย ระเบยี บ และอ�ำนาจในการดูแลพ้ืนท่ีเสมอ ซ่ึงอาจท�ำให้มีผู้มีอ�ำนาจตามกฎหมาย ต่อเหตุการณ์ที่เกิดหลายคน จึงจ�ำเป็นต้องให้เกิดข้อส่ังการท่ีมีความชัดเจน เปน็ หนง่ึ เดยี ว ซง่ึ ก็คอื ความเปน็ เอกภาพในการจัดการ 3. ความยดื หยนุ่ ของโครงสรา้ งองค์กรการจดั การในภาวะฉุกเฉนิ โครงสร้างองค์กรการจัดการในภาวะฉุกเฉิน จะมีคุณลักษณะพิเศษ ทแ่ี ตกตา่ งจากโครงสรา้ งองคก์ รในภาวะปกติ เพราะจะปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความรวดเรว็ ในภาวะกดดนั มีการเปล่ยี นแปลงไปตามความรุนแรงของแตล่ ะเหตกุ ารณ์ และ ทรพั ยากรในการปฏบิ ตั งิ านทม่ี อี ยใู่ นขณะนนั้ จงึ จำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งสามารถปรบั ตวั ระบบบัญชาการณ์เหตกุ ารณ์กบั การจัดการในภาวะฉกุ เฉนิ ของประเทศไทย 5

ตามสถานการณข์ องแตล่ ะเหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขน้ึ ในแตล่ ะประเภทและขนาดของภยั ซึ่งจะทำ� ใหส้ ามารถรบั มอื กับเหตกุ ารณ์น้ัน ๆ ได้อยา่ งรวดเร็ว เปน็ ระบบ ทง้ั นี้ การจดั องคก์ รในภาวะฉกุ เฉนิ (ขนาดใหญ)่ จะเกยี่ วขอ้ งกบั หนว่ ยงานจำ� นวนมาก ทง้ั ในระดบั ท้องถิ่น อำ� เภอ จงั หวดั ภมู ิภาค ส่วนกลาง ภาคเอกชน และองค์กร ระหว่างประเทศ ท่ีเข้ามาสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของเจ้าหน้าท่ีและ เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การปฏิบัติงานร่วมกันของหลายหน่วยงานมีอ�ำนาจ ตามกฎหมายหลายฉบบั จำ� เปน็ ตอ้ งใชห้ ลกั ความยดื หยนุ่ ในการประสานการปฏบิ ตั ิ และมอบหมายความรบั ผดิ ชอบ ไมว่ า่ สถานการณน์ น้ั จะมกี ารแจง้ เตอื นลว่ งหนา้ เช่น วาตภัย สึนามิ หรอื ไมม่ ีการแจ้งเตอื นล่วงหนา้ เช่น แผน่ ดินไหว เป็นต้น การจัดการในภาวะฉกุ เฉินตามแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558 การจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยของประเทศไทยรวมถึงการจัดการ ในภาวะฉกุ เฉนิ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้อนมุ ตั ิ เมอ่ื วนั ท่ี 31 มนี าคม 2558 ก�ำหนด ใหท้ กุ หนว่ ยงานใชก้ รอบการปฏบิ ตั ติ ามแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2558 โดยมอบหมายให้ 1. กระทรวง กรม องคก์ รและหนว่ ยงานภาครฐั รฐั วสิ าหกจิ จงั หวดั อำ� เภอ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ (อปท.) ภาคเอกชน และภาคส่วนอนื่ ๆ ปฏบิ ตั กิ าร ให้เปน็ ไปตามแผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2558 2. สำ� นกั งบประมาณ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พจิ ารณาใหค้ วามสำ� คญั ในการจดั สรรงบประมาณเพอื่ การปอ้ งกนั และลดผลกระทบ การเตรียมความพร้อม การเผชิญเหตุ และการจัดการในภาวะฉุกเฉิน รวมถึง การฟ้นื ฟูอย่างยงั่ ยืน 6 บทน�ำ

3. หน่วยงานแต่ละระดับ จัดท�ำแผนปฏิบัติการรองรับยุทธศาสตร์และ บรรจุแผนงานและโครงการที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ไว้ในแผนปฏิบตั ริ าชการประจ�ำปีด้วย แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2558 แบง่ ระดบั การจัดการสาธารณภยั ออกเปน็ 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชาติ (2 ระดับ) ระดบั จงั หวดั และระดับพน้ื ที่ (อำ� เภอและท้องถ่ิน) ไดแ้ ก่ ระดับอ�ำเภอ และทอ้ งถ่ิน ระดบั 1 สาธารณภยั ขนาดเลก็ มผี อู้ ำ� นวยการอำ� เภอ (นายอำ� เภอ) รบั ผดิ ชอบ และปฏิบัติหน้าท่ีในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตอ�ำเภอของตน และมีหน้าท่ีช่วยเหลือผู้อ�ำนวยการจังหวัดตามที่ได้รับมอบหมาย และให้ ผู้อ�ำนวยการท้องถิ่น (ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแห่งพ้ืนที่) มีหน้าที่ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตท้องถิ่นของตน และมีหน้าที่ช่วยเหลือ ผู้อำ� นวยการจังหวดั และผอู้ �ำนวยการอำ� เภอตามที่ได้รบั มอบหมาย กรงุ เทพมหานคร : ใหผ้ ชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการกรงุ เทพมหานคร (ผอู้ ำ� นวยการเขต) รับผิดชอบและปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต ของตน และมีหน้าท่ีช่วยเหลือผู้อ�ำนวยการกรุงเทพมหานครตามที่ได้รับ มอบหมาย ระดบั จังหวดั ระดบั 2 สาธารณภยั ขนาดกลาง มผี อู้ ำ� นวยการจงั หวดั (ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ) รบั ผดิ ชอบการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตจงั หวดั โดยมนี ายกองคก์ าร บรหิ ารสว่ นจงั หวัดเปน็ รองผอู้ ำ� นวยการจงั หวัด กรุงเทพมหานคร : มีผู้อ�ำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร) รับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต กรุงเทพมหานคร ระบบบัญชาการณ์เหตกุ ารณ์กับการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ของประเทศไทย 7

ระดบั ชาต ิ แบง่ ออกเปน็ 2 ระดับ คือ ระดบั 3 สาธารณภยั ขนาดใหญ่ มผี บู้ ญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย) ท�ำหน้าที่ควบคุม ก�ำกับ บังคับบัญชา ส่ังการ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยท่ัวราชอาณาจักร โดยมปี ลดั กระทรวงมหาดไทยเป็นรองผู้บัญชาการ ระดบั 4 สาธารณภยั ขนาดรา้ ยแรงอยา่ งยงิ่ มนี ายกรฐั มนตรหี รอื รองนายก รัฐมนตรีท่ีได้รับมอบหมายเข้าท�ำหน้าที่ส่ังการ ก�ำกับ ควบคุมการปฏิบัติของ ผ้บู ญั ชาการ ผูอ้ �ำนวยการ หนว่ ยงานของรัฐ และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ แนวทางการปฏบิ ัติในภาวะฉุกเฉินตามแผนการปอ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2558 ไดก้ �ำหนด แนวทางการปฏิบตั ใิ นภาวะฉกุ เฉิน โดยก�ำหนดให้ “ทุกส่วนราชการ หนว่ ยงาน และภาคเอกชน ใชร้ ะบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ (Incident Command System) เปน็ ระบบมาตรฐานของประเทศไทยในการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ” และยงั ไดน้ ำ� แนวความคดิ ในการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ทเี่ ปน็ สากลมาปรบั ใชใ้ หเ้ ขา้ กบั บรบิ ท ของประเทศไทย และกำ� หนดเปน็ แนวทางการปฏบิ ตั ิในภาวะฉุกเฉิน ดงั น้ี 1. การจดั ต้งั องค์กรปฏบิ ัตใิ นการจดั การในภาวะฉุกเฉนิ ได้แก่ - ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (การจัดการ สาธารณภัยระดบั 1) - ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตุการณอ์ �ำเภอ (การจดั การสาธารณภัยระดับ 1) - ศูนยบ์ ญั ชาการเหตุการณจ์ ังหวัด (การจัดการสาธารณภัยระดับ 2) 8 บทน�ำ

- ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณส์ ว่ นหนา้ จงั หวดั และกองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กลาง : กอปภ.ก. (การจดั การสาธารณภยั ระดบั 3 และ 4) - กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ : บกปภ.ช. (จัดต้งั ขึน้ ตลอดเวลา แตจ่ ะเร่มิ สถาปนา (Activate) โครงสร้างตา่ ง ๆ เป็นล�ำดับ ขน้ึ ไปตามความรุนแรงของสถานการณ)์ 2. แนวทางปฏิบัติระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command System) 3. แนวทางการกำ� กับ และควบคุมพืน้ ท่ี (Area Command) 4. แนวทางการสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านในภาวะฉกุ เฉนิ (สปฉ.) (Emergency Support Function : ESF) 5. แนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนการจัดการเหตุการณ์ (Incident Management Assistance Team : IMAT) หลักการ แนวความคิด และแนวทางปฏิบัติเหล่านี้ สามารถน�ำมาใช้ ในการจดั การสาธารณภยั ไดใ้ นทกุ ประเภทภยั (All Hazard) ตามทร่ี ะบใุ นเหตผุ ล การประกาศใช้พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ท่ีต้องการให้เกิดเอกภาพและมาตรฐานในการอ�ำนวยการและบริหารจัดการ เกยี่ วกับการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ระบบบญั ชาการณเ์ หตกุ ารณ์กบั การจดั การในภาวะฉุกเฉนิ ของประเทศไทย 9

10 บทนำ� ระดับการจัดการสาธารณภยั แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2558 ระดับ การจัดการ ผู้มีอำ� นาจตามกฎหมาย พ.ร.บ. ปภ. 50 1 สาธารณภัยขนาดเล็ก ผู้อ�ำนวยการอำ� เภอ ผู้อำ� นวยการทอ้ งถิน่ และ/หรือ มาตรา 18, 19, 36 ผชู้ ่วยผูอ้ ำ� นวยการกรงุ เทพมหานคร 2 สาธารณภยั ขนาดกลาง ผอู้ �ำนวยการจงั หวัด/ผูอ้ �ำนวยการกรุงเทพมหานคร มาตรา 15, 32 3 สาธารณภัยขนาดใหญ่ ผบู้ ัญชาการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ มาตรา 13 4 สาธารณภยั ขนาด นายกรัฐมนตรหี รอื รองนายกรฐั มนตรีทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย มาตรา 31 รา้ ยแรงอย่างยิง่

ภาพรวม ระบบบัญชาการเหตุการณ์ ระบบบัญชาการณเ์ หตุการณก์ ับการจัดการในภาวะฉุกเฉนิ ของประเทศไทย 11

ระบบบญั ชาการณเ์ หตกุ ารณ์ กบั การจัดการในภาวะฉกุ เฉินของประเทศไทย

ภาพรวม ระบบบัญชาการเหตุการณ์ แนวคดิ การจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภัย ประเทศไทย ได้ก้าวเข้าสู่ช่วงของการปรับเปลี่ยนหลักการและแนวคิด ในการจัดการสาธารณภัยอีกครั้งหน่ึง จากแนวคิดการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (Civil Defense) ทมี่ มี าต้งั แต่ พ.ศ. 2482 - 2522 มาเปน็ การจัดการสาธารณภัย (Disaster Management) ในหว้ งปี พ.ศ. 2545 และเปล่ียนมาเปน็ การจัดการ ความเสย่ี งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Management) ในปี 2558 ตามกรอบ Sendai Framework for DRR 2015-2030 ดงั ปรากฏในแผนการปอ้ งกันและ บรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2558 การจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย แบ่งช่วงการปฏิบัติออกเป็น 3 ชว่ ง คือ 1) ช่วงการลดความเส่ียงจากสาธารณภัย (Disaster Risk Reduction) ไดร้ วมภารกิจการป้องกนั (Prevention) การลดผลกระทบ (Mitigation) และ การเตรียมความพรอ้ ม (Preparedness) ไว้ในชว่ งเดยี วกนั 2) ชว่ งการจัดการ ในภาวะฉกุ เฉนิ (Emergency Management) และ 3) ชว่ งการฟน้ื ฟู (Recovery) โดยมกี ารฟื้นสภาพ (Rehabilitation) การซอ่ มสรา้ ง (Reconstruction) และ การท�ำให้ดีกว่าเดิมและปลอดภัยกว่าเดิม (Build Back Better and Safer) เป็นหลกั การส�ำคญั ระบบบัญชาการณเ์ หตกุ ารณก์ ับการจดั การในภาวะฉกุ เฉินของประเทศไทย 13

14 ภาพรวมระบบบัญชาการเหตกุ ารณ์ วงจรการจัดการความเส่ยี งจากสาธารณภัย การลดความเสี่ยงจากภัยพิบตั ิ Disaster Risk Reduction ป้องกนั และ เตรยี มความพรอ้ ม ลดผลกระทบ Preparedness Prevenetion and Mitigation ฟืน้ คืนสภาพ เผชิญเหตุ สาธารณภยั และสรา้ งใหม่ Response Disaster Rehabilitation and การจัดการภาวะฉุกเฉิน ฟ้ืนฟูบรู ณะ Reconstruction Emergency Management Recovery Build Back Better & Safer

ประเทศไทยกบั ระบบบัญชาการเหตกุ ารณ์ ประเทศไทยมีความพยายามในการน�ำแนวคิดระบบบัญชาการเหตุการณ์ มาใชใ้ นการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ มากกวา่ 15 ปี ซงึ่ ปรากฏในแผนการปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื นแหง่ ชาติ พ.ศ. 2545 และกรมควบคมุ มลพษิ ไดก้ ำ� หนดเปน็ แนวปฏบิ ตั ิ ในเอกสารคมู่ ือปฏบิ ัตกิ ารภาคสนาม ส�ำหรับผู้บญั ชาการ ณ ท่ีเกดิ เหตอุ ุบตั ิภยั สารเคมี นอกจากน้ี กระทรวงอุตสาหกรรมไดม้ ีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4392 (พ.ศ. 2555) เร่ืองก�ำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การจัดการภาวะฉกุ เฉนิ ขอ้ ก�ำหนดสำ� หรับการสัง่ การและควบคมุ (ISO 22320) อย่างไรก็ตาม ยังเกิดความเข้าใจผิดเกี่ยวกับระบบบัญชาการเหตุการณ์ ในกล่มุ เจ้าหน้าท่ีผเู้ ผชิญเหตุ (First Responder) ว่าเปน็ ระบบส�ำหรับผ้บู งั คบั บัญชาใช้ในการจัดการสาธารณภัย และไม่เกี่ยวข้องกับเจ้าหน้าท่ีผู้เผชิญเหตุ ซึ่งแท้จริงแล้วกลับตรงกันข้าม ระบบบัญชาการเหตุการณ์ เป็นระบบที่ใช้ ณ ท่ีเกิดเหตุ โดยเจ้าหน้าท่ีผู้เผชิญเหตุท่ีไปถึงท่ีเกิดเหตุเป็นล�ำดับแรก ก็คือ ผบู้ ญั ชาการเหตกุ ารณค์ นแรกของเหตกุ ารณน์ นั้ มหี นา้ ทสี่ ถาปนาระบบการสง่ั การ และเผชิญเหตุตามความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ และศักยภาพของทรัพยากร ทมี่ อี ยใู่ นขณะนน้ั หากสามารถควบคมุ สถานการณแ์ ละชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ได ้ เหตุการณ์น้ันก็ยุติลง และกลับเข้าสู่ภาวะปกติ แต่หากเกินขีดความสามารถ กจ็ ะมกี ารประสานงานเพือ่ ขอรับการสนับสนนุ ทรพั ยากรเพ่มิ เตมิ และอาจมผี ู้ท่ี มีความเหมาะสมหรือประสบการณ์มากกวา่ เขา้ มาร่วมเผชิญเหตุ ก็สามารถท่จี ะ โอนการบงั คบั บญั ชา สงั่ การ ไปยงั บคุ คลผนู้ น้ั ใหท้ ำ� หนา้ ทใ่ี นการเปน็ ผบู้ ญั ชาการ เหตกุ ารณล์ ำ� ดบั ตอ่ ไป ขณะเดยี วกนั เมอื่ มที รพั ยากรเพม่ิ มากขน้ึ โครงสรา้ งองคก์ ร ของระบบบัญชาการเหตกุ ารณก์ ็จะขยายตัวออกไปตามสถานการณ์ดว้ ยเชน่ กัน ซ่งึ ถือเปน็ เร่อื งทเ่ี กดิ ขนึ้ เป็นประจ�ำในระบบบญั ชาการเหตุการณ์ ระบบบญั ชาการณเ์ หตุการณ์กับการจัดการในภาวะฉกุ เฉินของประเทศไทย 15

แต่ในช่วงกว่า 15 ปี ที่ผ่านมา ไม่มีการก�ำหนดแนวทางการจัดการใน ภาวะฉุกเฉนิ ทีส่ ามารถใช้เป็นมาตรฐานเดียวกันระหวา่ งส่วนราชการ หน่วยงาน ของรฐั และภาคเอกชน ไวใ้ นแผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ ที่ชัดเจน ท�ำให้เม่ือเกิดเหตุสาธารณภัย โดยเฉพาะที่เป็นภัยขนาดใหญ่ เช่น เหตกุ ารณ์มหาอทุ กภยั พ.ศ. 2554 ความเข้าใจผดิ เหลา่ นีเ้ ปน็ ข้อจ�ำกัดอปุ สรรค ส�ำคัญที่ท�ำให้ระบบบัญชาการเหตุการณ์ไม่เป็นท่ีแพร่หลายภายในส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน ในการประสานการเผชิญเหตุร่วมกัน คงมี บางส่วนราชการ บางหนว่ ยงานของรฐั น�ำมาใชภ้ ายในหน่วยงานของตนเอง เช่น กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงมหาดไทย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรมควบคุมมลพิษ การท่าเรือแห่งประเทศไทย แต่ก็ยัง ไม่สามารถน�ำมาใช้เปน็ มาตรฐานรว่ มกนั ได้ เป็นตน้ ระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ คือ ระบบท่ีใช้เพื่อสั่งการ ควบคุม และประสานความร่วมมือของแต่ละ หนว่ ยงานในการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ อกี ทงั้ ยงั ทำ� หนา้ ทใี่ นการระดมทรพั ยากร ไปยังที่เกิดเหตุ เพ่อื จดั การเหตฉุ ุกเฉิน ใหส้ ามารถชว่ ยเหลอื ชวี ติ ทรัพยส์ นิ และ สภาวะแวดล้อมไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ความเปน็ มาของระบบบัญชาการเหตกุ ารณ์ ระบบบญั ชาการเหตกุ ารณถ์ กู พฒั นาขน้ึ ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า โดยเรม่ิ จาก - ปี พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) จากเหตุการณ์ไฟป่าคร้ังใหญ่ทางตอนใต้ ของมลรฐั แคลฟิ อร์เนยี กนิ เวลา 13 วนั มีผูเ้ สียชวี ติ 16 ราย อาคารบ้านเรอื น ถกู ทำ� ลายไปกวา่ 700 หลงั พนื้ ทป่ี า่ กวา่ 300 ลา้ นไร่ ไดร้ บั ความเสยี หาย คดิ เปน็ มลู คา่ ความเสยี หายมากกวา่ 18 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ถงึ แมว้ า่ จะมหี นว่ ยงานจำ� นวน มากเข้าร่วมปฏิบัติการเผชิญเหตุอย่างสุดความสามารถ แต่ก็ปรากฏปัญหา 16 ภาพรวมระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์

ในการประสานงาน การส่ือสาร และการสนับสนุนทรัพยากร ที่ไม่มีมาตรฐาน ขาดเอกภาพ และขาดแผนปฏิบัติการ - ปี พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) รัฐสภาสหรัฐอเมริกา อนุมัติงบประมาณ ให้กรมป่าไม้ (U.S. Forest Service) พัฒนาระบบการประสานงานระหว่าง หนว่ ยงาน และการสนบั สนนุ ทรพั ยากรการเผชญิ เหตใุ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ ระบบ น้เี ปน็ ท่ีรู้จกั กันท่ัวไปว่า FIRESCOPE : Fire fighting Resources Organized for Potencial Emergencies - ปี พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) จัดตัง้ ทมี เทคนิค FIRESCOPE เพื่อศกึ ษา ค้นคว้าและออกแบบระบบ ผลผลิตที่ส�ำคัญคือ การออกแบบระบบ 2 ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบบัญชาการเหตกุ ารณ์ (Incident Command System : ICS) และ ระบบการประสานงานระหว่างหน่วยงาน (Multi - Agency Coordination System : MACS) - ปี พ.ศ. 2517 - 2522 (ค.ศ. 1974 - 1982) มีการใช้ระบบบัญชาการ เหตุการณ์ในการเผชิญเหตุไฟป่าระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย ในมลรัฐแคลิฟอร์เนีย และมีการพัฒนาระบบให้สามารถใช้ในการปฏิบัติงาน ประสานงานระหว่างหน่วยงานระดับภาค (Regional) และระดับประเทศ จนกระท่ังน�ำไปบรรจุอยู่ใน “ระบบการประสานการจัดการเหตุการณ์ระหว่าง หน่วยงานระดับประเทศ” (National Interagency Incident Management System: NIIMS) - ปี พ.ศ. 2544 (ค.ศ.2001) ระบบบญั ชาการเหตุการณ์ไดร้ ับการพฒั นา ปรับปรุงจากประสบการณ์การปฏิบัติงานเผชิญเหตุจริงในพื้นท่ีอย่างต่อเนื่อง จากระบบท่ีต้องการน�ำมาใช้ในเหตุการณ์ไฟป่า พัฒนาจนเป็นระบบท่ีสามารถ นำ� ไปจดั การภาวะฉกุ เฉนิ ไดก้ บั ทกุ ประเภทภยั (All Hazard) ถงึ แมจ้ ะมหี นว่ ยงาน จ�ำนวนมาก โดยเฉพาะในระดับท้องถิ่นและมลรัฐรับเอาระบบบัญชาการ เหตุการณ์ไปใช้เป็นระบบมาตรฐานในการจัดการภาวะฉุกเฉิน แต่ก็ยังไม่มีผล ระบบบัญชาการณเ์ หตกุ ารณก์ ับการจัดการในภาวะฉกุ เฉนิ ของประเทศไทย 17

บงั คบั ใชก้ บั ทกุ มลรฐั ทว่ั ประเทศ จนกระทงั่ เกดิ เหตกุ ารณ์ 9/11 ทม่ี ลรฐั นวิ ยอรก์ จงึ ไดม้ คี ำ� สงั่ ประธานาธบิ ดเี พอ่ื ความมนั่ คงแหง่ มาตภุ มู ิ ที่ 5 และ 8 (Homeland Security Presidential Directive : HSPD 5 & 8) ใหท้ กุ หนว่ ยงานทกุ ระดับ ในประเทศ ใช้ “ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ” (National Incident Management System : NIMS) ซ่ึงมีระบบบัญชาการเหตุการณ์เป็น องคป์ ระกอบ 1 ใน 5 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก ่ 1) การเตรยี มความพรอ้ ม 2) การสอ่ื สาร และการจัดการข้อมูล ข่าวสาร 3) การจัดการทรัพยากร 4) การสั่งการและ การจัดการ และ 5) ความตอ่ เน่ืองในการจัดการและบำ� รุงรกั ษา เปา้ ประสงค์ของการใชร้ ะบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ 1) ความปลอดภัยของผปู้ ฏิบัติงานและผูท้ ่ีเกย่ี วข้องในเหตกุ ารณท์ ้ังหมด 2) บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ ยุทธวธิ ี 3) ใชท้ รพั ยากรอยา่ งคุ้มค่าและมีประสทิ ธิภาพ ประโยชน์ของระบบบัญชาการเหตกุ ารณ์ 1) สามารถใชใ้ นการจดั การเหตฉุ กุ เฉนิ ไดท้ กุ รปู แบบ ทกุ ประเภท ทกุ ขนาด และยังใช้ในการจัดการเหตุการณ์ท่ีไม่ฉุกเฉินได้ด้วย เช่น การจัดการประชุม สมั มนา การฝกึ อบรม การจดั งานเลี้ยงหรืองานร่ืนเรงิ ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น 2) เสริมสร้างการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานอย่างเป็นระบบ รวดเรว็ ภายใตโ้ ครงสรา้ งการจดั การเหตกุ ารณเ์ ดยี วกนั (Common Management Structure) 3) ใหก้ ารสนบั สนนุ ดา้ นทรพั ยากรและการบรหิ ารแกเ่ จา้ หนา้ ทผ่ี ปู้ ฏบิ ตั งิ าน ในภาคสนาม 4) ลดการท�ำงานท่ีซ้�ำซ้อน ท�ำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและ ประหยัด 18 ภาพรวมระบบบัญชาการเหตกุ ารณ์

หลักการพื้นฐานของระบบบญั ชาการเหตุการณ์ (Basic Feature of ICS) ลักษณะเฉพาะในการจัดการของระบบบัญชาการเหตุการณ์ มีทั้งส้ิน 14 ประการ ซึ่งแต่ละประการต่างสนับสนุนและเพิ่มความเข้มแข็งให้กับท้ังระบบ ในภาพรวมดงั นี้ 1. การใช้ศพั ทม์ าตรฐาน (Common Terminology) การใช้ศัพท์มาตรฐาน เป็นจุดเริ่มต้นในการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่าง หนว่ ยงานท่ดี ที ่ีสุด ในเหตุการณ์ฉุกเฉิน เราไม่มีเวลาที่จะมาเรียนรู้ ภาษา ค�ำศัพท์ สญั ลกั ษณ์ ใหม่ ๆ ของแตล่ ะหนว่ ยงาน ไมว่ า่ จะเปน็ คำ� ศพั ทท์ างเทคนคิ ศพั ทท์ ใ่ี ช ้ เฉพาะภายในหนว่ ยงาน หรอื รหัสวทิ ยุ ซงึ่ จะทำ� ใหก้ ารสอ่ื สารแลกเปลย่ี นขอ้ มูล ความเขา้ ใจระหวา่ งกนั มคี วามผดิ พลาด คลาดเคลอ่ื น นำ� มาซง่ึ การรบั มอบภารกจิ ในการปฏบิ ตั งิ านเกดิ ความสบั สนขนึ้ ได้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในสงั คมไทยทม่ี กั จะมี ความเข้าใจในการใช้ค�ำศัพท์ที่ไม่ตรงกันหรือต้องมีการแปลความหมายอยู่ ค่อนข้างมาก เช่น คนไทยไม่เคยเรียกผงซักฟอก แต่จะเรียกว่า “แฟ๊บ” แต่ม ี ความหมายว่า “ผงซักฟอก” เราเรียกก๊าซ เติมรถยนต์ว่า “NGV” แต่เรา หมายความวา่ “CNG” เพราะ NGV มาจากคำ� วา่ Natural Gas Vehicle หมายถงึ รถทีใ่ ช้กา๊ ซธรรมชาติ ในขณะที่ CNG: Compress Natural Gas เปน็ ก๊าซทใ่ี ช้ ในรถยนต์ เป็นตน้ ระบบบญั ชาการณ์เหตกุ ารณ์กบั การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ของประเทศไทย 19

20 ภาพรวมระบบบัญชาการเหตกุ ารณ์ ค�ำศัพทม์ าตรฐาน ทร่ี ะบบบญั ชาการเหตุการณ์ใช้รว่ มกนั ในทกุ หนว่ ยงาน ได้แก่ ชอ่ื เรยี ก โครงสร้างตำ� แหนง่ โครงสร้าง ตำ� แหนง่ ต�ำแหนง่ สนับสนุน ต�ำแหน่ง (ภาษาองั กฤษ) บัญชาการ ผ้บู ญั ชาการเหตกุ ารณ์ รองผบู้ ญั ชาการ Incident Command เจา้ หน้าทส่ี นับสนนุ เจ้าหนา้ ท่ี ผชู้ ่วย Command Staff การบัญชาการ เจา้ หนา้ ที่ปฏิบตั ิงาน หัวหน้าส่วน รองหวั หน้าส่วน General Staff แผนก หัวหนา้ แผนก รองหวั หน้าแผนก Branch กลมุ่ พื้นท่ี / กลุ่มภารกจิ หัวหนา้ รองหัวหน้า Division or Group ชดุ ปฏบิ ัติการ หวั หน้าชุด ผู้ชว่ ยหัวหนา้ ชดุ Unit

2. โครงสรา้ งองคก์ รแบบโมดลู าร์ (Modular Organization) โครงสร้างองค์กรแบบโมดูลาร์ เป็นลักษณะเด่นของระบบบัญชาการ เหตุการณ์ เพ่ือให้องค์กรมีความยืดหยุ่น และสามารถปรับเปล่ียนได้ตาม สถานการณ์ ความจำ� เปน็ ของแตล่ ะเหตกุ ารณ์ มรี ปู แบบทขี่ ยายตวั จากบนลงลา่ ง (Top Down) สามารถปรับเปล่ียนขยายหรือลดขนาดได้ตามความเหมาะสม ของภัยแตล่ ะประเภท และความซบั ซ้อนของแตล่ ะเหตกุ ารณ์ โครงสร้างองค์กร แบบนจี้ งึ มคี วามคลอ่ งตวั สงู ทำ� ใหป้ ระสานการทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งหนว่ ยงาน ได้อยา่ งรวดเร็ว อนั เนอ่ื งมาจาก 1) วัตถุประสงค์ของแต่ละเหตุการณ์เป็นปัจจัยก�ำหนดจ�ำนวน ขนาดและโครงสรา้ งขององค์กร 2) การแต่งตั้งต�ำแหน่งต่าง ๆ ในโครงสร้างระบบบัญชาการ เหตกุ ารณจ์ ะแตง่ ตง้ั ขน้ึ ตามความจำ� เปน็ ของแตล่ ะเหตกุ ารณเ์ ทา่ นน้ั เปน็ ไปตาม หนา้ ทภ่ี ารกจิ ทต่ี อ้ งการจะปฏบิ ตั ิ และสามารถยบุ เลกิ ไดเ้ มอ่ื เสรจ็ สน้ิ ภารกจิ หรอื หมดความต้องการ 3) โครงสร้างในแต่ละส่วนท่ีจัดตั้งขึ้นจะต้องมีผู้รับผิดชอบชัดเจน ไมม่ ีการสวมหมวกหลายใบในระบบบัญชาการเหตุการณ์ 4) โครงสร้างทีจ่ ัดตงั้ ขนึ้ ในรปู แบบเฉพาะกจิ เมือ่ มีเหตกุ ารณเ์ กิดขึน้ เจา้ หนา้ ทผี่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านจะออกจากหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบประจำ� มาสวมบทบาท หนา้ ทภี่ ายใตโ้ ครงสรา้ งในระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ และขนึ้ การบงั คบั บญั ชากบั ผบู้ ญั ชาการเหตกุ ารณโ์ ดยตรง เชน่ หวั หนา้ หนว่ ยปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ปน็ ผอู้ ำ� นวยการสว่ นปฏบิ ตั กิ าร มหี วั หนา้ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล ทำ� หนา้ ทห่ี วั หนา้ ชดุ พยาบาลฉกุ เฉนิ ภายใต้การบัญชาการเหตุการณ์ของนายอ�ำเภอ และเม่ือเสร็จสิ้นภารกิจก็จะ กลบั ไปปฏบิ ตั ิหน้าท่ตี ามตน้ สงั กัดของตนตามเดิม ดงั นั้น ภายใตโ้ ครงสร้างแบบ โมดูลาร์ จึงไมม่ ีโครงสรา้ งทีก่ ำ� หนดไวเ้ ป็นการตายตัว ระบบบญั ชาการณ์เหตกุ ารณก์ บั การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ของประเทศไทย 21

ลักษณะโครงสร้างแบบ top down หมายถึง เม่ือชุดปฏิบัติการชุดแรกท่ีไปถึง ที่เกิดเหตุจะเป็นผู้สถาปนาระบบบัญชาการ เหตุการณ์ โดยเข้าท�ำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการ เหตุการณ์ และเร่ิมการปฏิบัติงานในการ ระงบั เหตเุ ทา่ ทสี่ ามารถกระทำ� ได้ หรอื เทา่ ทมี่ ี ทรัพยากรอยู่ในขณะน้ัน เม่ือมีชุดปฏิบัติการ ชุดอ่ืนเข้ามาถึงท่ีเกิดเหตุ จะเกิดการส่ังการ แบ่งมอบภารกิจ จัดล�ำดับการบังคับบัญชา หรือจะมีการโอนการบังคับบัญชาให้กับ ชุดปฏิบัติการท่ีเข้ามาใหม่ (ถ้ามีคุณสมบัติเหมาะสมกับเหตุการณ์มากกว่า ขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น) และจะมีการด�ำเนินการไปในลักษณะน้ีจนกว่า เหตกุ ารณจ์ ะสนิ้ สดุ 3. การจัดการโดยยดึ วตั ถุประสงค์ (Management by Objective) ระบบบัญชาการเหตุการณ์ เป็นระบบที่ถูกออกแบบมาส�ำหรับการ จัดการในภาวะฉุกเฉิน ใช้จัดการ ณ ท่ีเกิดเหตุโดยเฉพาะ แต่สามารถน�ำไปใช ้ ในการจดั การกจิ กรรมทม่ี กี ารวางแผนไวล้ ว่ งหนา้ เชน่ การจดั การประชมุ สมั มนา หรอื งานรนื่ เรงิ ตา่ ง ๆ ได้ และยงั สามารถนำ� หลกั การไปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านภายใน ของกองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ ได้ในทุกระดับ รวมถึงศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินอ่ืน ๆ (Emergency Operation Center) ได้เช่นกัน ในการจัดการเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน ต้องมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ (แนวทางในการปฏบิ ตั )ิ โดยการจดั ลำ� ดับความส�ำคญั ในการปฏบิ ัติงานในแตล่ ะ หว้ งเวลาปฏิบัตงิ าน (Operation Period) ไว้อย่างชัดเจน (โดยปกตจิ ะก�ำหนด 22 ภาพรวมระบบบัญชาการเหตุการณ์

ห้วงเวลาละ 24 ช่ัวโมง แตท่ ัง้ นจี้ ะข้นึ อย่กู บั ความซบั ซ้อน และจำ� นวนทรัพยากร ของแตล่ ะเหตกุ ารณ)์ ดงั นน้ั ทกุ เหตกุ ารณต์ อ้ งมกี ารกำ� หนดวตั ถปุ ระสงค์ แนวทาง การปฏิบตั ิท่ีชัดเจน และต้องมีการสือ่ สารแจ้งใหผ้ ูป้ ฏิบัติงานทราบตลอดเวลา ข้ันตอนส�ำคัญในการก�ำหนดวัตถุประสงค์ ประกอบด้วย 6 ข้ันตอน หลกั ดังน้ี ข้ันตอนที่ 1 : ท�ำความเข้าใจนโยบายและแนวทางของหน่วยงาน (Understand agency policy and direction) ข้นั ตอนที่ 2 : ประเมนิ สถานการณ์ (Assess Incident Situation) ข้ันตอนท่ี 3 : ก�ำหนดวัตถุประสงค์ในการจัดการกับเหตุการณ ์ (Establish Incident Objectives) ข้ันตอนท่ี 4 : เลอื กกลยทุ ธท์ เ่ี หมาะสมเพอ่ื ใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านได้ ตามวัตถปุ ระสงคท์ ่กี ำ� หนด (Select appropriate strategy or strategies to achieve objectives) ขนั้ ตอนที่ 5 : ดำ� เนนิ การตามยทุ ธวธิ ี (Perform tactical direction) ข้ันตอนที่ 6 : ติดตามผลการดำ� เนินการ ขอ้ ควรพจิ ารณาในการจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ในการกำ� หนดวตั ถปุ ระสงค์ 3 ประการ คอื 1. ความปลอดภัยในชีวิต (Life Safety) 2. การควบคุมสถานการณ์ (Incident Stability) 3. การรกั ษาสภาพแวดล้อม (Property Preservation) ระบบบญั ชาการณ์เหตกุ ารณ์กับการจดั การในภาวะฉกุ เฉินของประเทศไทย 23

ถึงแม้ว่าการรักษาความปลอดภัยในชีวิตจะถูกก�ำหนดเป็นล�ำดับแรก แต่ในบางสถานการณ์ผู้บัญชาการเหตุการณ์ต้องค�ำนึงถึงความสามารถในการ ปฏบิ ตั งิ านและทรพั ยากรทม่ี อี ยู่ ซงึ่ อาจจำ� เปน็ ตอ้ งเลอื กการควบคมุ สถานการณ์ ไม่ให้ลุกลามออกไปจนท�ำให้มีผู้ประสบภัยบาดเจ็บ เสียชีวิต เพิ่มข้ึนอีกเป็น จ�ำนวนมาก อีกท้ังยังต้องเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมไม่ให้เกิดผลกระทบ กับสภาพแวดล้อมที่อาจเป็นการสร้างสถานการณ์ใหม่ข้ึนได้ เช่น การดับเพลิง สารเคมบี างประเภทโดยการใชน้ ำ้� ฉดี ทำ� ใหส้ ารเคมไี หลลงสแู่ หลง่ นำ้� ทอ่ ระบายนำ�้ เปน็ เหตุให้เกดิ ปญั หากบั ราษฎรตามเสน้ ทางไหลของนำ้� ตามมา เปน็ ตน้ เคร่ืองมือที่จะช่วยให้การก�ำหนดวัตถุประสงค์ ให้มีความเป็นรูปธรรม สามารถวัดผลส�ำเร็จได้ คือการก�ำหนดวัตถุประสงค์แบบ “S-M-A-R-T Objective” S : Specific (ชดั เจน) เป็นการก�ำหนดเป้าหมายการปฏบิ ัติทชี่ ัดเจน โดยหลีกเล่ียงการใช้ค�ำศัพท์ที่เป็นนามธรรม เช่น ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คณุ ภาพ ซึง่ แต่ละบุคคลมเี กณฑ์ทแี่ ตกต่างกนั เป็นต้น M : Measureable (วดั ได)้ ก�ำหนดหนว่ ยนับท่ีสามารถวดั ผลสัมฤทธ์ิ ของการปฏิบัตไิ ด้ A : Achievable/Attainable (ท�ำได้) เป็นการก�ำหนดภารกิจ ท่ีสามารถปฏิบัติงานไดด้ ้วยทรัพยากรทม่ี อี ยู่ในขณะน้ัน R : Realistic/Relevant (สมเหตุสมผล) เป็นไปตามองค์ความรู้ ในการจัดการภัยแต่ละชนิดไมต่ ้งั สมมตฐิ านเกินกวา่ ท่จี ะทำ� ได้ T : Timeline (ระยะเวลา) กำ� หนดระยะเวลาการปฏบิ ตั งิ านทเี่ หมาะสม ไม่นานเกินไปหรือส้ันเกินไป เนื่องจากสถานการณ์ฉุกเฉินมีการเปล่ียนแปลง ตลอดเวลา จนเจ้าหน้าที่ต้องเร่งปฏิบัติงาน เพราะจะท�ำให้เกิดความผิดพลาด นำ� ไปสู่การบาดเจ็บได้ 24 ภาพรวมระบบบญั ชาการเหตุการณ์

4. แผนเผชญิ เหตุ (Incident Action Plan) ทกุ เหตกุ ารณใ์ นระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ เมอ่ื กำ� หนดวตั ถปุ ระสงคแ์ ลว้ จะตอ้ งมกี ารกำ� หนดแผนเผชญิ เหตขุ น้ึ ทกุ ครง้ั ซง่ึ ในเหตกุ ารณข์ นาดเลก็ ทใี่ ชเ้ วลา ไม่เกนิ 6 ชั่วโมง โดยปกติจะไม่ไดจ้ ัดทำ� เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร เพยี งแต่กำ� หนด ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิโดยผบู้ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ ใน 4 ประเดน็ ได้แก่ 1) สิง่ ที่จะต้องท�ำ (What must be done?) 2) ใครรบั ผดิ ชอบ (Who is Responsible?) 3) จะสอ่ื สารขอ้ มลู กนั อยา่ งไร (How information be communicate?) 4) การปฏบิ ตั ิหากมผี ไู้ ด้รบั บาดเจ็บ (What should be done if someone is injured?) แต่หากเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนต้องใช้เวลาและทรัพยากรในการจัดการ มากกว่าเหตกุ ารณ์ปกติ และมีการจดั ตั้งสว่ นอำ� นวยการขึน้ จะตอ้ งมีการจัดทำ� แผนเผชิญเหตเุ ป็นลายลักษณอ์ ักษร แผนเผชิญเหตุในระบบบัญชาการเหตุการณ์จึงเป็นแผนที่ไม่ได้มีการ จัดท�ำไว้เป็นการล่วงหน้าเหมือนแผนปฏิบัติการอื่น ๆ แต่จะถูกก�ำหนดหรือ จัดท�ำเม่ือเกิดเหตุการณ์ข้ึนแล้ว โดยที่ผู้บัญชาการเหตุการณ์จะรวบรวมข้อมูล สถานการณ์ แนวโน้ม และทรัพยากรท่ีมีอยู่ในขณะน้ัน มาเป็นองค์ประกอบ ส�ำคัญเพื่อก�ำหนดแนวทางและความมุ่งหมายในการปฏิบัติออกมาเป็นแผน เผชญิ เหตุ มสี าระสำ� คญั ไดแ้ ก่ 1) วัตถปุ ระสงค์ของเหตุการณ์ (Incident Objectives) 2) รายละเอียดภารกิจ และยุทธวิธีท่ีต้องด�ำเนินการ รวมถึงก�ำหนด ผรู้ บั ผิดชอบที่ชดั เจน 3) ห้วงเวลาปฏบิ ตั ิงาน (Operation Period) ระบบบัญชาการณเ์ หตุการณก์ ับการจดั การในภาวะฉุกเฉนิ ของประเทศไทย 25

5. ชว่ งการควบคมุ (Span of Control) หมายถึง ส่ิงซึ่งแสดงให้ทราบว่าผู้บังคับ บัญชาคนหน่ึง มีขอบเขตความรับผิดชอบเพียงใด มผี ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชากค่ี น มหี นว่ ยงานอยใู่ นความควบคมุ รับผิดชอบกี่หน่วยงาน มีทรัพยากรที่ต้องจัดการ กีป่ ระเภท/ชนิด (kind/type) ทั้งนี้เน่อื งจากผ้บู ังคับ บญั ชาหรอื หวั หนา้ จะตอ้ งสามารถกำ� กบั ดแู ล ควบคมุ การปฏบิ ตั งิ าน จดั การทรพั ยากร ตลอดจนสอื่ สารกบั ผู้ใต้บังคับบัญชาได้อย่างท่ัวถึง การสั่งการในการ ปฏิบัติงานจึงจะมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน ช่วงของการควบคุมจึงเป็นหัวใจส�ำคัญ ในการจดั การเหตกุ ารณท์ ่มี ปี ระสทิ ธิภาพ ชว่ งการควบคุมข้ึนอยกู่ ับปัจจัยส�ำคัญ 3 ประการ 1) ประเภทและขนาดของเหตกุ ารณ์ 2) ปัจจัยความเสีย่ งอนั ตราย และความปลอดภัย 3) จ�ำนวนทรพั ยากรและผู้ปฏิบตั ิงาน ชว่ งการควบคมุ ทเี่ หมาะสมควรอยรู่ ะหวา่ ง 3-7 แตช่ ว่ งของการควบคมุ ท่ีเหมาะสมทส่ี ดุ คือ 5 ดงั น้นั ภายใต้โครงสรา้ งองคก์ รท่ยี ืด หด ได้แบบโมดูลาร์ ไมว่ า่ จะเปน็ การขยายขนาดของโครงสรา้ งใหใ้ หญข่ นึ้ หรอื ลดขนาดใหเ้ ลก็ ลงกต็ าม จะต้องรักษาระดบั ของช่วงการควบคมุ ให้เหมาะสมตลอดเวลา 6. พืน้ ท่ีปฏบิ ตั ิงานและส่ิงอ�ำนวยความสะดวก (Incident Facilities) สถานท่ีปฏิบัติงานหลักในระบบบัญชาการเหตุการณ์ ซ่ึงเม่ือเห็น สัญลักษณ์ หรือการเรียกช่ือสถานที่เหล่าน้ี จะท�ำให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนเข้าใจ ได้ทันทีว่าสถานที่เหล่านี้มีภารกิจ หน้าท่ี และความรับผิดชอบอย่างไร จัดต้ัง เพื่อวัตถุประสงค์ใด และอาจบ่งบอกถึงขนาดและความรุนแรงของเหตุการณ ์ ได้ดว้ ย ประกอบดว้ ย 26 ภาพรวมระบบบัญชาการเหตุการณ์

1) ศูนย์บญั ชาการเหตุการณ์ (Incident Command Post: ICP) สถานทท่ี ผ่ี บู้ ญั ชาการเหตกุ ารณใ์ ชใ้ นการบญั ชาการ เหตุการณ์ จัดตั้งขึ้น ณ พื้นท่ีเกิดเหตุ เมื่อเกิดเหตุการณ์ข้ึน เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบส�ำคัญท่ีผู้บัญชาการเหตุการณ ์ จะตอ้ งสถาปนาระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ (สง่ั การ) เพอื่ ประสาน การปฏิบัติ โดยจะต้องก�ำหนดล�ำดับการบังคับบัญชา และระบบการส่ือสาร ในท่ีเกิดเหตุที่ชัดเจน วิธีการส�ำคัญประการหนึ่งในการสถาปนาระบบสั่งการ คือ การจัดตั้งสถานที่ที่เป็น “ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์” เพื่อใช้ในการส่ังการ ก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานในภาพรวม ในแต่ละเหตุการณ์จะต้องมีการจัดต้ัง ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ และจัดต้ังเพียงแห่งเดียวเท่าน้ัน ถึงแม้ว่าเหตุการณ์ ดังกล่าวจะเป็นการสนธิก�ำลังจากหลายหน่วยงานมาร่วมปฏิบัติงาน และมีการ จดั โครงสร้างท่เี รียกว่า “การบญั ชาการรว่ ม” กต็ าม ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ อาจเป็นสถานท่ีช่ัวคราว เช่น ใต้ต้นไม้ เต็นท์ ศาลา อาคาร หรือยานพาหนะ ก็ได้ แต่ควรเป็นสถานที่ที่สามารถ สังเกตการณ์พื้นที่เกิดเหตุ ควบคุม ดูแล ก�ำกับ และสั่งการการปฏิบัติงานได้ สามารถเข้าถึงได้ง่าย มีระบบการส่ือสาร และควรอยู่ภายในบริเวณที่ใกล้เคียง กับจุดเกดิ เหตมุ ากทส่ี ดุ เท่าที่จะเปน็ ไปได้ แต่ต้องอยูภ่ ายนอกเขตอันตราย หรือ บรเิ วณท่มี คี วามเสยี่ งที่จะได้รบั ผลกระทบจากเหตุการณ์ เชน่ จดั ตง้ั อยเู่ หนือลม 2) จดุ ระดมทรพั ยากร (Staging Area : S) สถานที่ที่ต้ังขึ้นเพื่อเป็นที่รวมของทรัพยากรที่ “พรอ้ มปฏบิ ตั งิ าน” เพอ่ื รอรบั มอบหมายภารกจิ ออกปฏบิ ตั งิ าน จุดระดมทรัพยากรอาจจัดตั้งได้มากกว่า 1 แห่ง ขึ้นอยู่กับ ขนาด จำ� นวนของทรัพยากร และสภาพภมู ปิ ระเทศ ในกรณีท่ี สถานการณข์ ยายตวั ลกุ ลามจำ� เปน็ ตอ้ งใชท้ รพั ยากรในการปฏบิ ตั งิ านเพมิ่ มากขน้ึ อาจมกี ารกำ� หนดจดุ ระดมทรพั ยากรหลายแหง่ เพอื่ ใหส้ ะดวกแกก่ ารเขา้ ปฏบิ ตั งิ าน ระบบบญั ชาการณเ์ หตุการณ์กบั การจัดการในภาวะฉุกเฉนิ ของประเทศไทย 27

ก็ได้ แต่การจัดต้ังจุดระดมทรัพยากรแต่ละแห่งจะต้องมีการแต่งต้ังผู้จัดการ (Staging Area Manager) เพื่อท�ำหน้าที่ควบคุม ดูแล ทรัพยากรในจุดระดม ทรพั ยากรเสมอ สถานท่ีที่ต้ังของจุดระดมทรัพยากร ควรจะต้ังอยู่ใกล้กับบริเวณ ที่เกิดเหตุ เพื่อให้สามารถส่งทรัพยากรเข้าปฏิบัติงานได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทนั เวลา แตค่ วรมรี ะยะหา่ งพอสมควรเพอ่ื ความปลอดภยั และพน้ จากผลกระทบ ของเหตุการณ์ทีอ่ าจเกิดข้ึนอย่างฉับพลัน ปัจจัยท่ีเป็นข้อพิจารณาส�ำคัญในการเลือกและก�ำหนดสถานท่ีต้ัง ของจดุ ระดมทรพั ยากร ไดแ้ ก่ ก. ระยะห่างจากพื้นท่ีเกิดเหตุ โดยหลักการจุดระดมทรัพยากร ไม่ควรต้ังอยู่ห่างจากสถานทีเ่ กิดเหตุ ในระยะเวลาเดินทางเกิน 5 นาที ซ่ึงอาจ เปน็ ไปไดย้ ากในทางปฏบิ ตั ขิ น้ึ อยกู่ บั แตล่ ะเหตกุ ารณ์ แตท่ ง้ั นค้ี วรอยใู่ กลก้ บั พน้ื ท่ี ปฏิบตั งิ านมากท่สี ุดเท่าท่จี ะเป็นไปได้ ข. เสน้ ทางในการเขา้ ถงึ พนื้ ท่ี (Access Routes) ถนนทเี่ ปน็ เสน้ ทาง เขา้ ถงึ พน้ื ทเี่ กดิ เหตเุ ปน็ ถนนประเภทใด รองรบั รถยนตข์ นาดหนกั ไดก้ ต่ี นั มเี สน้ ทาง สำ� รองหรอื ไม่ หากเปน็ เสน้ ทางเลก็ เพอื่ ความปลอดภยั ของเจา้ หนา้ ทอ่ี าจกำ� หนด ใหเ้ ปน็ ถนนเดนิ รถทางเดียว (one way) ค. ขนาดพน้ื ท่ี ตอ้ งมพี นื้ ทบ่ี รเิ วณทกี่ วา้ งเพยี งพอทจ่ี ะสามารถรองรบั ทรพั ยากรทม่ี อี ยไู่ ด้ รวมถงึ การจดั การพน้ื ทส่ี ำ� หรบั เจา้ หนา้ ที่ ขณะเดยี วกนั ควรมี พนื้ ทกี่ วา้ งเหลอื พอทจ่ี ะทำ� การขยายบรเิ วณออกไปได้ ถา้ หากสถานการณข์ ยายตวั และต้องการใชท้ รัพยากรเพมิ่ มากขนึ้ ง. ความปลอดภัย มีมาตรการรักษาความปลอดภัยในพน้ื ท่ี ไฟฟา้ ส่องสวา่ ง ปา้ ยสัญญาณจราจร และอ่ืน ๆ จุดระดมทรพั ยากรอยูภ่ ายใตก้ ารบงั คบั บญั ชาและความรบั ผิดชอบ ของผอู้ �ำนวยการส่วนปฏบิ ตั กิ าร 28 ภาพรวมระบบบญั ชาการเหตุการณ์

3) ฐานปฏิบัติการ (Base: B) สถานที่ส�ำหรับปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีอ�ำนวย การปฏิบัติงาน (General Staff) ได้แก่ส่วนอ�ำนวยการ สว่ นสนบั สนนุ และเจา้ หนา้ ทบี่ งั คบั บญั ชา (Command Staff) ที่ปฏิบัติหน้าท่ี ณ ท่ีเกิดเหตุ การจัดต้ัง “ฐานปฏิบัติการ” เพอื่ เปน็ สถานทใี่ นการใหบ้ รกิ ารและสนบั สนนุ ขอ้ มลู ตา่ งๆทเี่ กยี่ วกบั เหตกุ ารณน์ นั้ ๆ ในเหตกุ ารณ์หนงึ่ เหตกุ ารณ์จะมี “ฐานปฏิบัติการ” เพยี งแห่งเดียว เชน่ เดียวกับ ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ (ICP) รวมทั้งอาจมีการต้ังช่ือให้กับฐานปฏิบัติการ ตามสถานทเี่ กดิ เหตกุ ็ได้ 4) แคมป์ (Camp : C) พ้ืนท่ีส�ำหรับใช้ในการสนับสนุนเสบียงอาหาร ที่พัก สุขภัณฑ์ สถานพยาบาล แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนสนับสนุน อาจใช้เป็นสถานท ี่ ในการซอ่ มบำ� รงุ ยานพาหนะและเกบ็ รกั ษาทรพั ยากรอนื่ ๆ ดว้ ย แคมป์อาจตั้งขึ้นได้หลายแห่งในเหตุการณ์เดียวกัน ซ่ึงต้องม ี การจัดต้ังผู้จัดการแคมป์ ท�ำหน้าท่ีรับผิดชอบการจัดการภายในแคมป์ใน ภาพรวม (การตง้ั ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวสำ� หรบั ผปู้ ระสบภยั เปน็ ความรบั ผดิ ชอบของ ส่วนปฏบิ ตั ิการ) 5) ฐานเฮลคิ อปเตอร์ (Helibase) และลานจอดเฮลคิ อปเตอร์ (Helispot) ฐานเฮลิคอปเตอร์ (Helibase)เป็นสถานท่ี ควบคมุ การปฏบิ ตั กิ ารทางอากาศ เปน็ ฐานจอดเฮลคิ อปเตอร์ ระยะยาว เพอ่ื เตมิ น�ำ้ มนั เชือ้ เพลิง ซอ่ มบำ� รงุ จอดขณะท่ไี มม่ ี การปฏบิ ตั ิการทางอากาศ (เปรยี บเสมอื นอรู่ ถยนต์) ระบบบัญชาการณ์เหตกุ ารณก์ ับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศไทย 29

ลานจอดเฮลิคอปเตอร์ (Helispot) เป็นสถานท่ี ลงจอดเพื่อปฏิบัติงานของอากาศยานในลักษณะช่ัวคราว เป็นจุดรบั -ส่ง ทรัพยากร (Drop Point : DP) อาจมีไดม้ ากกวา่ 1 จุด (เปรยี บเสมือนปา้ ยจอดรถประจ�ำทาง) 7. การจดั การทรพั ยากร (Resource Management) ทรพั ยากรในระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ หมายถงึ บคุ คล ชดุ ปฏบิ ตั กิ าร วัสดุ อุปกรณ์ สถานที่ ฯลฯ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามวัตถุประสงค์ของ การใช้งาน ได้แก่ 1) ทรัพยากรปฏิบตั ิการ (Tactical Resource) หมายถงึ บคุ ลากร และวสั ดอุ ปุ กรณห์ ลกั ทใี่ ชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน เชน่ รถดบั เพลงิ รถพยาบาล เปน็ ตน้ 2) ทรพั ยากรสนับสนุน (Support Resource) หมายถึง ทรัพยากร อื่นใดที่ใช้ในการสนับสนุนการปฏิบัติงาน เช่น อาหาร อุปกรณ์ เคร่ืองมือ การส่อื สาร ทปี่ รึกษาหรือผูเ้ ชยี่ วชาญ เป็นตน้ ในบางกรณีทรัพยากรบางชนิดสามารถก�ำหนดให้เป็นได้ทั้งทรัพยากร สนบั สนนุ และทรพั ยากรปฏบิ ตั กิ าร เชน่ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นสารเคมี หากกำ� หนดให้ มหี น้าท่ีเปน็ ท่ปี รกึ ษาปฏิบตั ิงานกับส่วนอำ� นวยการ ก็จะมีสถานะเป็นทรพั ยากร สนบั สนุน แต่หากมอบหนา้ ท่ีใหอ้ ยกู่ ับสว่ นปฏิบัติการร่วมกบั ชุดปฏิบตั ิงาน กจ็ ะ มสี ถานะเปน็ ทรัพยากรปฏบิ ัติการ เปน็ ต้น กระบวนการจดั การทรพั ยากร ประกอบดว้ ยขั้นตอนหลัก 4 ข้นั ตอน 1) การจดั แบง่ ชนดิ /ประเภทของทรพั ยากร (Categorizing Resources) ชนิด (Kind) หมายถึง คุณสมบัติของทรัพยากร เช่น รถดับเพลิง รถพยาบาล รถต�ำรวจ รถบรรทกุ น�้ำ เปน็ ตน้ 30 ภาพรวมระบบบัญชาการเหตุการณ์

ประเภท (Type) หมายถึง ความสามารถของทรัพยากรชนิดนั้น รวมถงึ ขนาด ศกั ยภาพ เชน่ รถบรรทุกน�ำ้ (ชนิด) ขนาด 2,000 ลิตร 6,000 ลติ ร 10,000 ลิตร เปน็ ตน้ 2) การขอรบั การสนบั สนุนทรัพยากร (Ordering Resources) ตอ้ งมกี ารกำ� หนดขน้ั ตอนการขอรบั การสนบั สนนุ ทชี่ ดั เจน เพอ่ื ปอ้ งกนั การซ้�ำซ้อน และเป็นการช่วยลดภาระของผู้บัญชาการเหตุการณ์ให้สามารถ ใชเ้ วลาทง้ั หมดในการแกป้ ัญหาท่เี กิดข้ึนในพ้นื ทีเ่ กดิ เหตุ มากกวา่ ท่จี ะตอ้ งพะวง กับการขอรับการสนับสนุนทรัพยากรที่จ�ำเป็นให้มาทันเวลากับความต้องการ ในเหตุการณ์ขนาดเล็กมักใช้รูปแบบการร้องขอสนับสนุน ณ จุดเดียว (Single Point Ordering) เช่น นายอ�ำเภอขอสนับสนุนเรือท้องแบน จ�ำนวน 10 ล�ำ ถงุ ยังชีพจำ� นวน 100 ถุง ยารักษาโรค จ�ำนวน 100 ชุด ไปยงั ศนู ยบ์ ัญชาการ เหตุการณ์จังหวัด ซ่ึงศูนย์ฯ จะท�ำหน้าที่รวบรวมและจัดส่งไปยังสถานที่ ตามเวลาทน่ี ดั หมายตอ่ ไป แตใ่ นเหตกุ ารณข์ นาดใหญท่ ต่ี อ้ งใชท้ รพั ยากรจำ� นวนมาก และมีพ้ืนที่เกิดเหตุหลายพ้ืนท่ี อาจต้องมีการขอรับการสนับสนุนทรัพยากร ไปยังหลายจุด (Multi Point Ordering) ซึ่งจะเพิ่มความยุ่งยากในการขอรับ การสนบั สนุนทรัพยากร และเหตกุ ารณน์ ้ี ส่วนใหญจ่ ะมกี ารจดั ตัง้ ส่วนสนบั สนุน ข้ึนในโครงสร้างของระบบบัญชาการเหตุการณ์ (แบบฟอร์มการขอรับการ สนับสนุนทรัพยากรเปน็ แบบฟอร์มทค่ี วรใช้เปน็ มาตรฐานเดียวกันทงั้ ประเทศ) 3) การติดตามการใชท้ รัพยากร (Tracking Resources) การติดตามสถานะ ปัจจบุ ันของทรพั ยากร ความถูกตอ้ งของขอ้ มลู ทรัพยากร และจ�ำนวน เป็นองค์ประกอบท่ีส�ำคัญยิ่งในการจัดการเหตุการณ์ เราสามารถแบง่ กลมุ่ สถานะของการปฏบิ ตั งิ านของทรพั ยากร เปน็ 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่ ระบบบัญชาการณเ์ หตุการณ์กบั การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ของประเทศไทย 31

รกาลังอย-ท่รู ระปัพหฏยวบิาา่กัตงรกิงกำ�าาลนรังอ-อปยปยฏรู่ ฏู่ ะบิ(ิบหAตััตวsหิา่ิงsงาiนกgนาnา้อรeทยปูd่ฏ่ีต(บิ)าAัตมsหิหsภiนมgา้าnาทรeยีต่กdถาจิ)มึงภหามรากยิจถึง - พร้อมปฏ-ิบพัตรอ้ิงมาปนฏิบ(Aตั งิvาaนil(aAvbalileab) lหe)มหามยายถถึงงึ รที่มีสภาทพรพัพยรา้อกรมทใ่ีมชีส้งภาานพพสร้อามมใชา้งราถนอสอามกาปรถฏอิบอกัตปิงฏาิบนัตไิงาดน้ รทับรมัพอยบากห-ไหหรมดยมท้ทาไุดามนัี่ไยพยมท่พถักอ่ีทึงกรไ่ียา้ดอทร่ใู้รปมรนบั ัฏพปมสิบ-ยอฏภัตไาบมกิิงบาห่พารพัตมนรทา้อพิง่ีไยอมมารยป่นอ้อู่รฏยะมิบู่ใ(หOนปัตวสิง่าฏuาภงนิบtกาาพัต(รOoพซิงu่อารft้มอนบมoS�ำปfหeรฏSยุงrิeบvุด(rัตiชvcพิงi�ำceารักeนุด)) ติงาน อชยวั่ ู่รคะราหว)วเ่าปง็นกต้นารซ่อมบารุง (ชารุดชั่วคราว) 4) การน�ำทรัพยากรกลับมาใช้และการบ�ำรุง 4) กราักรษนาา(RทeรcัพovยeาriกngรกReลsบัouมrcาeใsช)แ้ ละการ ษา (Recoveri8n.gกRารeบsูรoณuาrกcาeรรsะ)บบการส่ือสาร (Integrated Communication 8. การบรูMณanาaกgาeกmรารรeะสnื่อบt)สบารกมาีครวสามื่อสส�ำคาัญรอย(I่าnงมtาeกgในraกาtรeจdัดกCารoในmภาmวะuฉุกnเฉicินaเtปio็นn ment) ช่องทางท่ีส�ำคัญท่ีสุดในการแลกเปลี่ยนข้อมลู เหตกุ ารณ์ การสั่งการ มอบหมาย ทกาี่สารารกคสิจัญ่ือกสทาาหสคโ่ีสทรร่ืออืนุดรคมสา้ ศรใทาีวคพัะนรี่ ภบบททวกาบม์กุาคราสีวรมกุมระิทาจิยบสแยกกบสุไาลาราอ่ืทคส้รกรส่ีใคาัชญปเายวปใ้รบฏนดอลคทากิบยวมุ่ียี่มาเ่กราัีหตทนถางลยีิรา่ขมมากปยย้อาทรฏาชะมกอบิรว่บดตัูงลใสบคขินกเื่ออวอ้หากนิามสรมตเาูลสตาถรอุื่รกอร่ีะสจรตาหใาเ์ ้ังัรนดนรวแต็ใณา่กทตนงแ่ทาเ์ี่นจลSกนี่รiา้ะี้n้ีใหารหหgนะนรมlบeมา้ภสาบทยาั่Sงาทถ่ี ยiกไdวงใึี่มชถeาะร่วอ้ ะรึ่างฉยBบจา่aุกมบะรงnเแเกะอปdฉพาบ็นบรริน:รตห่บหSะดิลSบเกมตาปBบอย่าา, ็นยร สารทุกระUบltrบa-ทHี่ใigชh้ใFนreกqาuรeถn่cาyย:ทUอHดFข, V้อeมryูล-HรiะghหFวr่าeqงuเจen้าcหyน: ้าVทHFี่ ไ ม่ว่าจะเป็น รศัพท์มีสาย ไร้สกาายรเผดชาิญวเหเทตุใียนมภารวะะฉบุกบเฉอินทินี่มเีหตลอารย์หเนน็ต่วยงแาลนเะขร้ามะาบร่วบมทเผ่ีใชชิญ้อเหยต่าุ ง กยltคาraรือเ-ผHรชะigิบญhจไใบดนเำ� Fห้ใชเวนปr่วิทตภน็eงุเใทายqวนวจ่ีุสลuะะภาื่อฉeตปกุาสอ้nกเวงฉาตcมินะริ yแี เฉพผท:ุกนื่อมี่กUใเหฉาหี Hร้ทินลตุกFดิทาห,ตยน่ีมVอ่ ่วชีสหeย่วอื่ งลrสงาyาานค-รยรHวรับหะาiรgหมนู้แhวลถ่วา่ ะงี่Fยเกตชrงนั e้ังื่อาทแมqนเตี่ตuปเ่อ่น็ขeสSท้าัnญiเี่nมขcญา้gyาาใlณรจe:ร่วคว่VมวSมาHiเกมdผนัFถeชไ่ีรว่วิญต้Bมง้ั aกเแหันnต่ตdุ จะตอ้ งมีแผนการตดิ ต่อส่อื สารระหวา่ งกัน ทเี่ ป็นท่ีเข้าใจร่วมกันไว้ตั้งแต่ ลาปก3ต2 ิ เพ่ือภใาพหรท้ วมกุ รหะบนบบ่วญั ยชงากาานรเรหตบั กุ รารแู้ ณล์ ะเชอื่ มตอ่ สญั ญาณความถ่ีร่วมกันได้ ฉกุ เฉิน

9. การโอนการบงั คับบัญชา (Transfer of Command) หมายถงึ การมอบอ�ำนาจ หนา้ ท่ี ความรับผดิ ชอบ หรือการปฏิบัตงิ าน จากผู้หนึง่ สอู่ ีกผูห้ นงึ่ ทมี่ คี วามรู้ความสามารถเท่ากันหรอื สูงกวา่ ในกรณกี ารยก ระดับการจัดการสาธารณภัย หรือน้อยกว่าในกรณีที่มีการลดระดับการจัดการ สาธารณภัย ซึ่งการโอนอ�ำนาจการบงั คับบัญชาในแต่ละคร้งั น้ัน ตอ้ งมกี ารสรุป สถานการณ์ และแจง้ ผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งใหท้ ราบกอ่ นโอนการบงั คบั บญั ชาทกุ ครงั้ ทงั้ น้ี อาจกระท�ำเป็นลายลักษณ์อักษร หรือด้วยวาจาก็ได้ (แต่ต้องมีการบันทึกเป็น ลายลกั ษณอ์ กั ษร ในโอกาสแรกที่สามารถกระทำ� ได้) การโอนการบงั คับบัญชา จะเกดิ ข้ึนไดห้ ลายกรณี เชน่ ก. มีบุคคลท่ีมีความเหมาะสมมากกว่าเข้ามาปฏิบัติงาน (มีความรู้ ประสบการณ์) ซ่ึงในระบบบัญชาการเหตุการณ์ไม่จ�ำเป็นที่ผู้โอนหรือผู้รับโอน การบังคับบญั ชาจะตอ้ งเป็นผ้ทู ดี่ ำ� รงตำ� แหน่งสงู กวา่ หรอื ตำ่� กว่าเสมอไป ข. สถานการณม์ กี ารเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา สง่ ผลใหต้ อ้ งปรบั เปลย่ี น การบังคับบัญชาให้เหมาะสม และสอดคล้องตามระเบียบ กฎหมาย เช่น การขยายตัวลุกลามของเหตุการณ์ จากอ�ำนาจการจัดการเหตุการณ์ในระดับ ทอ้ งถน่ิ ไปยงั อ�ำเภอ จังหวัด หรือระดับชาติ ค. เมอื่ สถานการณม์ ีความยืดเยือ้ ยาวนาน และมีความจำ� เป็นตอ้ ง มกี ารผลดั เปล่ียนตวั เจา้ หน้าทผี่ ู้ปฏิบัตงิ านเพือ่ ความต่อเนื่อง‫‏‬ในการปฏบิ ตั งิ าน ง. เม่อื เสร็จสน้ิ ภารกจิ จะสง่ มอบความรบั ผดิ ชอบคืนใหห้ น่วยงาน เจา้ ของพน้ื ท่ี 10. ล�ำดับการบังคับบัญชา (Chain of Command) และเอกภาพ ในการบังคบั บญั ชา (Unity of Command) ล�ำดับการบังคับบัญชา หมายถึง การจัดล�ำดับความสัมพันธ์ของ อ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของแต่ละบุคคลหรือหน่วยงาน ที่ลดหล่ัน กันลงมาตามลำ� ดับชัน้ ท�ำใหเ้ กดิ ระบบการทำ� งานที่ชดั เจน ระบบบญั ชาการณ์เหตกุ ารณก์ บั การจัดการในภาวะฉกุ เฉนิ ของประเทศไทย 33

เอกภาพในการบงั คบั บญั ชา หมายถงึ ขอบเขตการควบคมุ ดแู ล บงั คบั บญั ชา ตามอำ� นาจหนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบ หลกั การของเอกภาพในการบงั คบั บญั ชา คอื การมผี บู้ งั คบั บญั ชาไดห้ ลายคน แตต่ อ้ งมหี วั หนา้ โดยตรงเพยี งคนเดยี ว ซ่ึงจะท�ำให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีหน้าท่ีต้องรับมอบงาน/ภารกิจและรายงาน ตรงตอ่ บคุ คลเพยี งคนเดยี ว ภายใตร้ ะบบบัญชาการเหตุการณ์ การยึดหลกั สายบังคับบญั ชา และ เอกภาพในการบังคับบัญชาจะช่วยสร้างความชัดเจน ลดความสับสน ซึ่งมัก เกดิ จากความขัดแย้งกนั ในการสง่ั การของผ้บู งั คบั บญั ชา 11. การบัญชาการร่วม (Unified Command) หมายถงึ การจดั การเหตกุ ารณท์ หี่ ลายหนว่ ยงาน ซงึ่ มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ ด้านต่าง ๆ สามารถประสานแผนการปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุร่วมกัน ภายใต้ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และยุทธวิธีการปฏิบัติงานเดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพ การบัญชาการร่วมจะท�ำให้ผู้บัญชาการเหตุการณ์ที่มีมากกว่า 1 คน สามารถ ร่วมกันตัดสินใจภายใต้โครงสร้างการบัญชาการเดียว (Single Command Structure) ถึงแม้จะมีผู้ใต้บังคับบัญชาจะมาจากหลายหน่วยก็ตาม ซึ่ง 34 ภาพรวมระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์

ผู้ใต้บังคับบัญชาเหล่าน้ันจะต้องรักษาไว้ซึ่งเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) โดยจะต้องรับมอบหน้าที่ความรับผิดชอบจากหัวหน้า เพียงผู้เดียวเช่นกัน การปฏิบัติงานเป็นทีมในลักษณะของการบัญชาการร่วม จะสามารถลดการทำ� งานทซ่ี ำ้� ซอ้ นและขาดประสทิ ธภิ าพ อนั เกดิ จากการทำ� งาน แบบตา่ งคนต่างทำ� ของแตล่ ะหน่วย ทม่ี ีขอบเขตหน้าที่ ภารกจิ ความรบั ผดิ ชอบ พื้นที่และอ�ำนาจการบริหารการปกครองท่ีแตกต่างกัน ซึ่งแต่ละหน่วยงาน มักจะให้ความส�ำคัญในส่ิงท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของตนเองมากกว่าภาพรวม ของการจดั การเหตกุ ารณ์ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ในการเผชญิ เหตุ ก่อนทกุ ครัง้ จดุ เดน่ ของการบญั ชาการรว่ มทสี่ ำ� คญั คอื การสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การสนบั สนนุ การสนธิก�ำลัง การบูรณาการทรัพยากร การมีโครงสร้างการท�ำงานเดียวกัน (Common System or Organizational Framework) ผ่านกระบวนการ วางแผน การกำ� หนดวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ และการกำ� หนดแนวทางปฏบิ ตั เิ ชงิ ยทุ ธวธิ ใี นการจดั การกบั เหตกุ ารณร์ ว่ มกนั ระหวา่ งเจา้ หนา้ ทจ่ี ากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ระบบบญั ชาการณ์เหตุการณ์กบั การจัดการในภาวะฉกุ เฉนิ ของประเทศไทย 35

กกู้ภู้ภยั ัย คควาวมามปปลลออดดภภยั ยั กกู้ชู้ชพี ีพ กกาารรบบัญัญชชาากกาารรรร่วว่มม ผผู้อ้อูานานวยวยกการาสรสว่ นว่ นปปฏฏบิ ิบตั ตักิ กิาราร UUnnifiifeieddCCoommmmaanndd โคโครรงสงสรร้า้างงกกาารร บบญั ัญชชาากกาารรเดเดยี ยีวว SSininggleleCCoommmmaanndd SStrturucctuturere เอเอกกภภาาพพ กกาารรบบังคังคับับบบญั ัญชชาา เจเจา้ า้หหนนา้ ้าททีผ่ ผ่ีผ้ปู ู้ปู้ปฏฏฏบิิบบิ ตัตั ัตงิงิ ิงาาานนนภภภาาคาคคสสนสนนาามามม 12. การสนบั สนุนและการจัดสง่ ทรัพยากร (Dispatch and Deployment) เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินขึ้น หน่วยงานจะจัดส่งทรัพยากรไปสนับสนุน ผบู้ ญั 1ช12า2.ก.กากราเารหรสตสนกุ นาับรบั สณสนเ์ นมนุ อ่ืนุ แไแดลลร้ะบัะกกกาาารรรจรจัดอ้ ดั สงขสง่ อง่ทเททรรัพา่ ัพนยนั้ ยาาทกกงั้รนร(เี้ Dพ(Dอ่ืisiปpspอ้ aงatกctนัchคhวaาanมndซdำ�้ ซอ้ น DDeepploจแlo�ำลyนyะmวmลนeดeภn3nาt0)รt0)ะขนอางยพื้นไปทยี่ใังนจกังาหรวดัดูแพลรทะรนัพคยราศกรรีอยเุธชย่นาโดมยีกทารี่จจังหัดวสัด่งเไจม้า่ไดห้ขนอ้ารทับ่ีกกู้ภาัยร สนับสนนุ ท�ำให้ไม่ได้มีการเตรียมมอบภารกิจ ท่ีพัก อาหาร เจ้าหน้าทเี่ หล่าน้นั รระะบบบบบดจบึงัญแู เัญลรชทมิ่ชารเากขพักาา้ ยารปรเาฏหเกหบิตรตเัตุกหุกงิาลาารา่นรณนณใก์น้ันก์บัพบัซกืน้ ง่ึกาทรารว่ีเรจอมจดังถดักงึ ทกาคำ�าร่าใรใใหนใชน้เภจ้ปภา่า็นยาวปทวะญัะฉีเ่ กฉกุหดิ กุเาขฉเกฉึ้นนิ ับินดขจขว้อังยองหปงวเปรดั ระน็ใะนเตทเกน้ทศาศไรทไจทัดยยการ และ 36 ภาพรวมระบบบัญชาการเหตกุ ารณ์

13. ความรบั ผิดชอบ (Accountability) เป็นการแสดงออกถึงความเป็นมืออาชีพของเจ้าหน้าท่ีเผชิญเหต ุ ดว้ ยการยดึ หลักการปฏิบตั งิ านทเี่ ปน็ มาตรฐาน ประกอบดว้ ย 1) การรายงานตวั (Check-In / Check-Out) เจ้าหน้าที่เผชิญเหตุทุกคนไม่ว่าจะสังกัดหน่วยงานใด จ�ำเป็น ต้องมีการรายงานตัวรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งตามความเหมาะสม ที่ก�ำหนดโดย ผู้บัญชาการเหตุการณ์ เพ่ือรับมอบหมายภารกิจเสมอ ในเหตุการณ์ที่เร่งด่วน อาจใช้วิทยุสื่อสารรายงานตัวเพื่อขอรับมอบภารกิจจากผู้บัญชาการเหตุการณ์ โดยตรง หรือในเหตุการณ์ขนาดใหญ่ ที่ใช้ระยะเวลานานอาจก�ำหนดสถานท่ี รายงานตวั ณ แคมปท์ พ่ี กั เพอื่ ใหเ้ จา้ หนา้ ทที่ ม่ี าถงึ ไดพ้ กั ผอ่ นกอ่ นรบั มอบภารกจิ กไ็ ด้ 2) แผนเผชญิ เหตุ เจ้าหน้าที่เผชิญเหตุทุกคน จะต้องถือปฏิบัติตามภารกิจ หน้าท ี่ ท่ไี ด้รบั มอบหมายตามแผนเผชญิ เหตุ โดยไมม่ ขี ้อขดั แย้งใด ๆ 3) เอกภาพการบงั คับบญั ชา เจ้าหน้าท่ีเผชิญเหตุทุกคนจะรับค�ำสั่งจากหัวหน้าชุดปฏิบัติงาน ของตนเทา่ นนั้ 4) ช่วงการควบคมุ ผบู้ งั คับบญั ชาในแตล่ ะระดับ ต้องรักษาชว่ งการควบคุมผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชา ทเ่ี หมาะสมตลอดเวลา 14. การจัดการขอ้ มูล และขา่ วสาร (Information and Intelligence Management) ข้อมูล ข่าวสาร เป็นสิ่งท่ีส�ำคัญต่อการจัดการเหตุการณ์ และ การตัดสินใจของผู้บัญชาการเหตุการณ์ ข้อมูลท่ีได้รับการกลั่นกรองยืนยัน ความถูกตอ้ งมคี ุณค่าอยา่ งยิง่ ระบบบัญชาการณ์เหตุการณ์กับการจดั การในภาวะฉกุ เฉินของประเทศไทย 37

การจัดการข้อมูล ข่าวสาร ในระบบบัญชาการเหตุการณ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คอื 1) ข้อมูล ข่าวสารภายในองค์กร เป็นข้อมูล ข่าวสารทั้งในแนวดงิ่ (ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา) และในแนวระนาบ (ระหว่าง เจา้ หนา้ ทผี่ ปู้ ฏบิ ตั งิ าน) ผบู้ งั คบั บญั ชาในทกุ ระดบั ตอ้ งจดั ใหม้ รี ะบบการถา่ ยทอด ขอ้ มลู ขา่ วสารระหวา่ งกนั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดเวลา ไมว่ า่ จะผา่ นการประชมุ ยอ่ ย การแจกจ่ายบันทึกช่วยจ�ำ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนเข้าใจสถานการณ์และ มองภาพการปฏบิ ัติการท่เี หมือนกัน (Common Operating Picture) 2) ข้อมลู ขา่ วสารภายนอกองคก์ ร เป็นการส่ือสารท�ำความเขา้ ใจ กบั ประชาชนทว่ั ไป ผปู้ ระสบภยั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี หรอื กบั สอื่ มวลชน ทตี่ อ้ งการ ข้อมูล ข่าวสารอยา่ งตอ่ เน่อื ง ตลอดเวลาในเหตกุ ารณข์ นาดใหญ่ ทเี่ ปน็ ทสี่ นใจ ของสาธารณชน ผบู้ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ ตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั อยา่ งมากในการ ที่จะน�ำเสนอข้อมูลท่ีถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ เพ่ือไม่ก่อให้เกิด ความต่ืนตระหนก หรือข่าวลือ โดยเฉพาะกับสื่อมวลชน ในเหตุการณ์ระดับน ี้ การพิจารณาจัดตัง้ เจา้ หน้าทปี่ ระชาสัมพันธม์ ีความจำ� เปน็ อยา่ งยิ่ง 38 ภาพรวมระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์

โครงสรา้ งองคก์ ร หนา้ ท่ี และความรบั ผิดชอบ ระบบบัญชาการณ์เหตุการณก์ ับการจดั การในภาวะฉุกเฉนิ ของประเทศไทย 39

ระบบบญั ชาการณเ์ หตกุ ารณ์ กบั การจัดการในภาวะฉกุ เฉินของประเทศไทย

โครงสรา้ งองค์กร หน้าท่ี และความรับผิดชอบ โครงสรา้ งการจดั องค์กรของระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ การจดั องคก์ รเพอื่ ตอบโตเ้ หตฉุ กุ เฉนิ ในระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ เปน็ การ จัดองค์กรตามภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบ (Functional Responsibility) ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ 1) เจ้าหน้าท่ีสนับสนุนการบัญชาการ (Command Staff) และ 2) เจา้ หน้าทป่ี ฏบิ ัติงาน (General Staff) โดยแตล่ ะ สว่ นประกอบดว้ ยโครงสร้างการรบั ผดิ ชอบตามหน้าที่ ดงั น้ี เจ้าหน้าท่ี สนับสนุน การบญั ชาการ (Command Staff) เจ้าหน้าที่ ปฏิบตั ิงาน (General Staff) โครงสรา้ งองคก์ รระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ ระบบบญั ชาการณเ์ หตกุ ารณก์ บั การจัดการในภาวะฉุกเฉนิ ของประเทศไทย 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook