Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาการบัญชีเบื้องต้น

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาการบัญชีเบื้องต้น

Published by kanyaporn.s, 2020-06-24 00:33:37

Description: การจัดการเรียนการสอนแบบ E-book ในรายวิชา การบัญชีเบื้องต้น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 สาขาวิชการบัญชี

Keywords: การจัดการเรียนการสอนออนไลน์

Search

Read the Text Version

1 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1 สอนครงั้ ท่ี 1 (1-2) รหัสวชิ า 20200 - 1002 วิชา การบญั ชเี บอ้ื งตน้ ชอ่ื หน่วย/เรอ่ื ง ปฐมนิเทศ จานวน 2 ชั่วโมง สาระสาคัญ การศึกษาวชิ าการบัญชีเบื้องต้น เป็นวชิ าทฝ่ี ึกใหน้ กั เรยี นมีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับหลกั การ วิธกี าร และข้ันตอนการจดั ทาบญั ชสี าหรับกจิ การเจ้าของคนเดยี วประเภทธุรกิจบรกิ าร มีทกั ษะปฏบิ ัติงาน บญั ชเี บอื้ งต้น ตามหลักการบัญชีทร่ี บั รองทั่วไป สาหรับกิจการเจา้ ของคนเดยี วประเภทธรุ กิจบริการ รวมทง้ั มีกจิ นสิ ัย ความมี ระเบียบ ละเอยี ดรอบคอบ มีวนิ ัยตรงตอ่ เวลา และมเี จตคติทด่ี ีต่อวิชาชีพบัญชี สามารถนาไปประยุกต์ใชเ้ พ่ือเป็น เครือ่ งมอื ทสี่ าคัญในการแก้ปัญหาในชีวิตประจาวนั อกี ดว้ ย สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ แสดงความรูเ้ บื้องต้นเกี่ยวกับบญั ชีและนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกจดุ ประสงคร์ ายวชิ า มาตรฐานรายวิชา และคาอธบิ ายรายวิชาตามหลกั สตู รฯ ได้ 2. บอกแนวทางวดั ผลและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ได้ 3. ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการเรียนรว่ มกับผูอ้ ื่นได้ 4. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่ีครสู ามารถสังเกตได้ขณะทาการสอนในเร่ือง 4.1 ความมีมนุษยสัมพันธ์ 4.2 ความมีวินัย 4.3 ความรบั ผดิ ชอบ 4.4 ความซ่ือสัตย์สจุ ริต 4.5 ความเช่อื มัน่ ในตนเอง 4.6 การประหยดั 4.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 4.8 การละเวน้ ส่งิ เสพตดิ และการพนนั 4.9 ความรักสามัคคี 4.10 ความกตัญญกู ตเวที สาระการเรียนรู้ 1. จุดประสงค์รายวิชามาตรฐานรายวิชาและคาอธิบายรายวิชาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พทุ ธศกั ราช 2562 ของสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา 2. แนวทางวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้ 3. จดั กจิ กรรมเพือ่ สร้างความคุ้นเคย

2 กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันนาเขา้ สู่บทเรียน 1. ให้นกั เรยี นแข่งขนั ทายของศัพทบ์ ัญชี โดยแบง่ กลุม่ ตามความเหมาะสมเพ่ือให้นักเรียนได้คนุ้ เคยและ รจู้ ักกนั ตวั แทนเขียนตอบในกระดาษ หรือออกมาเขยี นตอบบนกระดานหนา้ ชัน้ เรียน โดยครูจะบอก คาศัพทจ์ ากทา้ ยหน่วยการเรียนโดยการอา่ นให้นักเรยี นฟัง เม่อื นกั เรียนคดิ วา่ ตนเองตอบถูกต้องแลว้ กอ็ อกมาเขียนหน้าช้ันเรยี นบนกระดานหรือเขยี นลงในกระดาษสมุดตามที่ครชู ี้แจง หรือเห็นวา่ เหมาะสมต่อสภาพการเรียนการสอน ให้แตล่ ะกลุ่มเปลี่ยนตัวผู้ท่ีออกมาเขียนตอบคนละหน่ึงข้อ ครู ชมเชยกลุ่มท่ีตอบได้คะแนนมากท่ีสุด เม่ือเฉลยแต่ละขอ้ ให้เขียนคะแนน แต่ละกลุ่มบนกระดาน ขน้ั สอน 2. นักเรียนกับครู ช่วยกันสรุปความสาคัญของการศึกษาวิชาการบัญชีเบื้องต้น ท่ีใช้กันโดยทั่วไป นักเรยี นจดบันทกึ ไว้ 3. นักเรียนรับฟังคาช้ีแจงสังเขปรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น และการวัดประเมินผล ซักถามข้อปัญหา รวมทงั้ แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับการเรียนวิชาน้ี 4. นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยที่ 1 ใช้เวลาประมาณ 10 นาที ขน้ั สรุปและการประยุกต์ 5. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยท่ี 1 โดยใชแ้ ผน่ ใสเฉลยหน้าชัน้ เรยี น 6. นักเรียนวางแผนการนาบัญชีไปประยุกต์ใชก้ ับงานในธรุ กจิ และชีวิตประจาวนั ทจ่ี าเป็นโดยท่ัวไป ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรียน วิชาการบัญชเี บอ้ื งต้น ของสานกั พมิ พ์เอมพันธ์ 2. กจิ กรรรมการเรียนการสอน 3. คาศัพท์ 4. แบบทดสอบก่อนเรยี น/แบบฝึกปฏิบตั ิ หลกั ฐาน 1. การตรวจใบงาน กิจกรรม คาถาม 2. การเช็คช่อื เข้าเรยี นในวชิ า การวัดผลและการประเมนิ ผล วธิ วี ัดผล 1. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ นเรียน 2. สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 3. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม 4. สงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม 5. ตรวจแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ 6. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

3 เครือ่ งมือวัดผล 1. แบบประเมนิ ผลการเรียนรกู้ ่อนเรยี น 2. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล 3. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกล่มุ (โดยครู) 4. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยนักเรียน) 5. แบบฝึกปฏิบัติ 6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ โดยครแู ละนักเรยี นร่วมกัน ประเมนิ เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑ์ผา่ นแบบประเมนิ ผลการเรยี นร้กู อ่ นเรียนคือ 50% 2. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง 3. เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ข้ึนไป) 4. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ คือ ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 5. แบบฝกึ ปฏบิ ัติ เกณฑผ์ า่ น คือ 50% 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมนิ ตามสภาพจริง

4 แบบประเมินผลการเรยี นร้กู อ่ นเรียนหน่วยท่ี 1 จงเลือกคาตอบท่ีถกู ต้องเพียงขอ้ เดียว 1. ขอ้ ใดคือ “การบญั ชี” ก. Bookkeeping ข. Bookkeeper ค. Accounting ง. Account 2. หนว่ ยงานใดรบั ผิดชอบรา่ งมาตรฐานการบญั ชใี นปัจจบุ ัน ก. สมาคมนักบญั ชีและผู้สอบบัญชีรบั อนญุ าตแห่งประเทศไทย ข. กรมพฒั นาธรุ กจิ การค้า กระทรวงพาณิชย์ ค. สภาวิชาชีพบญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ง. ถกู ทุกข้อ 3. ขอ้ ใดถือเป็นการรวบรวมข้อมูล ก. บนั ทกึ รายการค้าในสมุดรายวัน ข. จดั หมวดหมู่บญั ชี ค. หลกั ฐานการรับและจา่ ย ง. การทางบการเงิน 4. การทาบัญชี คือข้อใด ก. Bookkeeping ข. Bookkeeper ค. Accounting ง. Report 5. ผู้มหี นา้ ทใ่ี นการจัดทาบญั ชคี ือใคร ก. Bookkeeping ข. Bookkeeper ค. Accounting ง. Auditor 6. ข้อมูลทางการเงนิ มีประโยชนต์ ่อบุคคลตามข้อใดบ้าง ก. ผลู้ งทุน ข. เจา้ หน้ี ค. รฐั บาล ง. ถกู ทุกข้อ 7. ขอ้ ใดแสดงถงึ การให้ข้อมูลทางการเงนิ ก. ใบกากับสนิ ค้า ข. งบกาไรขาดทุน ค. งบประมาณเงินสด ง. การบันทึกรายการค้า 8. ข้อใดหมายถึง “Collecting” ก. การรวบรวม ข. การบนั ทกึ ค. การจาแนก ง. การสรุป 9. ข้อใดหมายถงึ “Recording” ก. การรวบรวม ข. การบนั ทึก ค. การจาแนก ง. การสรุป 10. ขอ้ ใดเป็นลกั ษณะของการสรุปข้อมลู ก. ใบกากับสินคา้ ข. งบกาไรขาดทุน ค. การวางระบบบัญชี ง. สมุดรายวนั ขั้นต้น

5 เฉลยแบบประเมนิ ผลการเรียนร้กู อ่ นเรียนหนว่ ยที่ 1 จงเลอื กคาตอบท่ถี ูกต้องเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดคือ “การบญั ชี” ค. Accounting 2. หน่วยงานใดรับผดิ ชอบร่างมาตรฐานการบัญชีในปจั จบุ ัน ค. สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ 3. ข้อใดถอื เป็นการรวบรวมข้อมูล ค. หลกั ฐานการรบั และจา่ ย 4. การทาบญั ชี คือ ข้อใด ก. Bookkeeping 5. ผมู้ ีหนา้ ที่ในการจดั ทาบญั ชีคือใคร ข. Bookkeeper 6. ขอ้ มูลทางการเงนิ มีประโยชนต์ อ่ บคุ คลตามข้อใดบา้ ง ง. ถกู ทกุ ข้อ 7. ขอ้ ใดแสดงถึงการให้ขอ้ มลู ทางการเงิน ค. งบประมาณเงินสด 8. ขอ้ ใดหมายถงึ “Collecting” ก. การรวบรวม 9. ข้อใดหมายถึง “Recording” ข. การบนั ทกึ 10. ขอ้ ใดเปน็ ลกั ษณะของการสรุปขอ้ มูล ข. งบกาไรขาดทนุ

6 บันทกึ หลังการสอน ข้อสรปุ หลงั การสอน .................................................................................................................. .......................... .............................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. ............ ............................................................................................................................................ .................................................................................................................. .......................... ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................ .................................................................................................................. .......................... .................................................................................................... ....................................... ................................................................................................................. ............................. ปัญหาท่ีพบ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................ ................. .................................................................................................................. .......................... ................................................................................................. ........................................... .................................................................................................................. ........................... ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .............. .................................................................................................................. .......................... ...................................................................................................... ...................................... แนวทางแกป้ ัญหา .................................................................................................................. .......................... .............................................................................................................................................. .................................................................................................................. ..........................

7 แผนการจดั การเรยี นรู้ (ต่อ) หน่วยที่ 1 สอนคร้ังท่ี 1 (3-4) รหสั วิชา 202001 1002 วชิ า การบัญชเี บอื้ งต้น จานวน 2 ชว่ั โมง ช่ือหน่วย/เรือ่ ง ความรู้เบอ้ื งต้นเก่ียวกับการบัญชี สาระสาคญั การบญั ชมี บี ทบาทและมีความสาคัญในกจิ การทุกประเภท ไม่ว่าจะดาเนนิ การโดยหวงั ผลกาไรหรือไม่ก็ ตาม เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในการนาไปปฏบิ ตั ิงานด้านบัญชี หรือการประยกุ ต์ใช้บญั ชีแบบครัวเรอื น ตามแนวคิด หลักเศรษฐกจิ พอเพียง จงึ ควรเขา้ ใจความหมายของการบัญชี จุดประสงค์ของการบัญชี ประโยชน์ของขอ้ มลู การ บญั ชี ขอ้ แนะนาการเรยี นวชิ าบญั ชี รวมทง้ั ความรู้เก่ยี วกับแม่บทการบัญชี เพื่อประยุกต์ใชก้ บั งานดังกล่าวข้างต้น ให้มีประสทิ ธิภาพยิ่งข้ึน สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ แสดงความร้เู บ้ืองต้นเกี่ยวกับบัญชแี ละนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของการบัญชีได้ 2. บอกจดุ ประสงค์ของการบัญชีได้ 3. บอกประโยชน์ของขอ้ มลู การบญั ชไี ด้ 4. แนะนาการเรยี นวชิ าบัญชีได้ 5. อธบิ ายแมบ่ ทการบญั ชีได้ 6. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ที่ครูสามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรื่อง 6.1 ความมมี นุษยสัมพันธ์ 6.2 ความมวี นิ ัย 6.3 ความรบั ผดิ ชอบ 6.4 ความซอื่ สตั ย์สุจรติ 6.5 ความเชื่อมนั่ ในตนเอง 6.6 การประหยดั 6.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 6.8 การละเวน้ สง่ิ เสพติดและการพนัน 6.9 ความรักสามัคคี 6.10 ความกตญั ญูกตเวที สาระการเรยี นรู้ 1. ความหมายของการบัญชี 2. จดุ ประสงค์ของการบญั ชี 3. ประโยชนข์ องข้อมูลการบญั ชี 4. ข้อแนะนาการเรียนวิชาบัญชี 5. แม่บทการบญั ชี

8 กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั นาเข้าสู่บทเรยี น 1. ครใู หน้ ักเรยี นจดบนั ทึกรายได้ และคา่ ใชจ้ า่ ยประจาวนั ของแต่ละวันวา่ เมื่อได้รับเงนิ มาแล้วไดจ้ า่ ยค่า อะไรไปบ้าง หลงั จากนน้ั ครูได้นาบันทึกรายได้และค่าใช้จ่ายของนักเรยี นอภิปราย เพอื่ ส่ือความหมาย คาวา่ “การบัญชี” ให้นักเรียนฟงั เพ่ือให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจย่ิงขึ้น 2. นักเรียนสรปุ ข้ันตอนการจดบันทกึ ของตนเองในแตล่ ะวัน ดังน้ี การรวบรวม (Collecting) การบนั ทกึ (Recording) การจาแนก (Classifying) การสรุปข้อมลู (Summarizing) 3. นกั เรียนให้ข้อมูลทางการเงนิ ของตนเองในสมุดบันทึกของแต่ละคน เพ่อื ประโยชนแ์ กต่ นเองและผู้ท่ี เกยี่ วข้อง เชน่ พ่อแม่ พ่นี ้อง เพ่อื ตดั สินใจทางการเงินภายในครอบครัวต่อไป 4. นักเรียนจดบนั ทกึ คะแนนจากการทาแบบทดสอบก่อนเรยี นไวใ้ นสมดุ ปฏิบตั ิการบญั ชขี องตนเอง ขัน้ สอน 5. ครูอธิบายความหมายของการบัญชี จุดประสงค์ของการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชี ข้อแนะนาการเรียนวิชาบัญชี และแม่บทการบัญชี พร้อมตัวอย่างการเรียนการสอนและส่ือแผ่นใส ประกอบ 6. นกั เรยี นยกตัวอย่างประกอบคาอธิบาย เพื่อให้ผูจ้ ัดทาและผู้ใช้งบการเงินเขา้ ใจถึงทม่ี าและเนื้อหาของ มาตรฐานการบัญชีได้ลกึ ซึ้งยิ่งข้ึน เพ่อื สามารถนาไปใช้อา้ งอิงในการนามาตรฐานการบัญชีที่มีอยมู่ าถือ ปฏิบัติ รวมทั้งการปฏิบัติทางบัญชีในเรื่องที่ยังไมม่ มี าตรฐานการบญั ชีกาหนดไว้ ดังนั้นผู้จัดทาและผู้ใช้ งบการเงนิ ควรคานงึ ถงึ แม่บทบญั ชีเป็นสาคัญ เพื่อให้ปฏิบตั ิไปในแนวทางเดียวกัน 6. ครแู นะนาการเรยี นวชิ าบัญชโี ดยการสาธิตวธิ กี ารเขยี นตวั เลขให้ชดั เจน เช่น 5,250.75 15,000.- 25,200.50 ขน้ั สรปุ และการประยกุ ต์ 7. สมุ่ นักเรยี นออกมาอธิบายหน้าห้องเรียนประมาณ 5 คน และร่วมแสดงความคิดเห็นภายในห้องเรียน นาผลงานทกุ ช้นิ สง่ ครผู สู้ อนเพ่อื ประเมนิ ผล 8. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 1 จานวน 10 ข้อ ใช้เวลาประมาณ 10 นาที โดยวธิ ีเปลี่ยน กนั ตรวจ ครเู ฉลยในแผ่นใสหน้าชั้นเรยี น

9 ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี น วชิ าการบัญชีเบือ้ งตน้ ของสานักพิมพเ์ อมพนั ธ์ 2. กจิ กรรรมการเรยี นการสอน 3. ใบงาน 4. แผน่ ใส 5. แบบทดสอบหลังเรียน/แบบฝึกปฏบิ ัติ หลกั ฐาน 1. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม 2. การเช็คช่ือเข้าเรยี นในวิชา การวัดผลและการประเมนิ ผล วิธีวดั ผล 1. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้หลงั เรียน 2. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 3. ประเมินกจิ กรรมใบงาน 4. ประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม 5. สงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ 6. ตรวจแบบฝกึ ปฏิบัติ 7. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เคร่อื งมือวดั ผล 1. แบบประเมินผลการเรยี นรู้หลังเรียน 2. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 3. แบบประเมินใบงาน 4. แบบประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยครู) 5. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยนักเรียน) 6. แบบฝึกปฏิบัติ 7. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรยี นร่วมกัน ประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑผ์ า่ นแบบประเมินผลการเรยี นรู้หลงั เรียนคือ 50% 2. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มีชอ่ งปรับปรงุ 3. เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป) 4. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป) 5. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้นึ ไป) 6. แบบฝึกปฏิบัติ เกณฑผ์ า่ น คอื 50% 7. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจรงิ กิจกรรมเสนอแนะ ให้นักเรียนทาตัวอย่างงบการเงินท่ีมีความสอดคล้องกับแม่บทการบัญชีจากสถานประกอบการจริงมา ประกอบการเรียนพร้อมทง้ั อธิบายให้เข้าใจ

10 ใบความรู้ หนว่ ยท่ี 1 สอนครงั้ ที่ 1 (3-4) รหสั วชิ า 202001 1002 วชิ า การบัญชีเบ้อื งต้น จานวน 2 ชั่วโมง ช่อื หน่วย/เร่ือง ความรเู้ บ้อื งต้นเกย่ี วกบั การบัญชี แมบ่ ท บญั ชี สาหรบั การจดั ทา และ นาเสนอ งบการเงนิ

11 แบบประเมินผลการเรยี นรหู้ ลังเรียนหน่วยที่ 1 จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องเพียงขอ้ เดียว 1. ขอ้ ใดเปน็ วตั ถุประสงค์ของการจัดทาบญั ชี ก. ควบคุมรกั ษาสินทรัพยก์ จิ การ ข. ทราบผลการดาเนินงานกิจการ ค. ทราบฐานะการเงินของกิจการ ง. ถกู ทุกข้อ 2. ขอ้ ใดคือประโยชนข์ องข้อมูลการบญั ชี ก. ช่วยวางแผนและตัดสินใจ ข. ชว่ ยหาแหล่งเงนิ ทนุ ค. ชว่ ยควบคมุ ภายในที่ดี ง. ถูกทุกข้อ 3. ข้อใดเปน็ การเขยี นตวั เลขทใ่ี ส่เครอ่ื งหมายถูกตอ้ ง ก. 5,550 ข. 6,956.- ค. “5,250” ง. 2,500.25.- 4. ข้อใดหมายถงึ แมบ่ ทการบัญชี ก. Financial Statements ข. Accounting Framework ค. Accounting ง. Framework 5. การเกบ็ ใบเสร็จรับเงินหรอื หลักฐานการซ้ือและขายเกยี่ วกบั การดาเนนิ ธุรกิจคือลักษณะข้อใด ก. การรวบรวมขอ้ มูล ข. การจดบันทึก ค. การจาแนก ง. การสรปุ ขอ้ มลู 6. การจดบนั ทกึ รายการคา้ ที่เกิดขน้ึ แต่ละครัง้ ตามหลักการบัญชีที่รับรองท่วั ไปคือลักษณะข้อใด ก. Collecting ข. Recording ค. Classifying ง. Summarizing 7. รายงานทางการเงิน เปน็ ลักษณะของการบัญชีตามข้อใด ก. การบันทกึ ขอ้ มลู ข. การจาแนกข้อมูล ค. การสรปุ ข้อมลู ง. ถกู ทุกข้อ 8. การแบ่งหมวดหมู่ของบัญชีประเภทต่างๆ คอื ขอ้ ใด ก. การบันทกึ ข. การจาแนก ค. การสรุปขอ้ มลู ง. การให้ข้อมูล 9. การรบั รรู้ ายการ ณ วันที่เสนอรายงาน หมายถงึ ข้อใด ก. เนอ้ื หาสาคญั กว่ารปู แบบ ข. ตวั แทนอันเท่ยี งธรรม ค. ความเปน็ กลาง ง. ความครบถว้ น 10. ข้อใดเปน็ ข้อมูลปราศจากการช้นี าผู้ใช้งบการเงิน ก. ตัวแทนอันเที่ยงธรรม ข. ความเปน็ กลาง ค. ความระมัดระวงั ง. ความครบถ้วน

12 แบบประเมนิ ผลการเรียนรหู้ ลงั เรียนหนว่ ยท่ี 1 จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องเพียงขอ้ เดยี ว 1. ขอ้ ใดเป็นวตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดทาบัญชี ง. ถกู ทกุ ข้อ 2. ข้อใดคือประโยชนข์ องข้อมลู การบัญชี ง. ถูกทกุ ข้อ 3. ข้อใดเป็นการเขียนตวั เลขท่ใี ส่เครอ่ื งหมายถูกต้อง ข. 6,956.- 4. ขอ้ ใดหมายถงึ แมบ่ ทการบัญชี ข. Accounting Framework 5. การเก็บใบเสร็จรับเงินหรอื หลักฐานการซ้ือและขายเกย่ี วกับการดาเนินธุรกิจคือลกั ษณะข้อใด ก. การรวบรวมขอ้ มลู 6. การจดบันทกึ รายการค้าทีเ่ กิดขน้ึ แต่ละคร้ังตามหลักการบัญชที ีร่ ับรองท่ัวไปคอื ลักษณะข้อใด ข. Recording 7. รายงานทางการเงิน เป็นลกั ษณะของการบัญชีตามข้อใด ง. ถูกทกุ ข้อ 8. การแบ่งหมวดหมู่ของบญั ชีประเภทตา่ งๆ คือขอ้ ใด ข. การจาแนก 9. การรบั รรู้ ายการ ณ วนั ทีเ่ สนอรายงาน หมายถงึ ข้อใด ข. ตวั แทนอันเที่ยงธรรม 10. ขอ้ ใดเปน็ ข้อมูลปราศจากการชีน้ าผ้ใู ชง้ บการเงิน ข. ความเปน็ กลาง

13 กิจกรรมใบงานท่ี 1.1 ชอื่ ......................................................………………........เลขที่..................ระดบั ชั้น.................................…... เรอ่ื ง..............................................………….......….............วิชา..................................................................… สง่ั งานวันที่........................……....….....กาหนดส่งงาน..................................คะแนนทไ่ี ด้.................………..... ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั : อธิบายความหมายของการบญั ชีได้ กิจกรรมปฏิบัติ : ให้นักเรียนบอกความหมายของการบัญชีตามคานิยามของสมาคมผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า (AICPA) ท่ียอมรับกนั โดยท่ัวไป ดังนี้ (3 คะแนน)

14 กิจกรรมใบงานท่ี 1.2 ช่อื ......................................................………………........เลขที่..................ระดับช้ัน.................................…... เรื่อง..............................................………….......….............วชิ า..................................................................… สั่งงานวนั ท่ี........................……....….....กาหนดสง่ งาน..................................คะแนนที่ได้.................………..... ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง : บอกประโยชน์ของข้อมลู การบัญชไี ด้ กิจกรรมปฏบิ ตั ิ : ให้นกั เรยี นระบปุ ระโยชนข์ องข้อมลู การบัญชีในช่องว่างที่กาหนดให้ (2 คะแนน) ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชี

15 บนั ทึกหลังการสอน ข้อสรปุ หลังการสอน ............................................................................................................... ............................. .................................................................................................................. .......................... .................................................................................................................. .......................... .................................................................................................................. .......................... .................................................................................................................. .......................... ........................................................................................ .................................................... .................................................................................................................. .......................... ............................................................................................................................................ .................................................................................................................. .......................... ............................................................................................................................................ ปญั หาท่ีพบ .................................................................................................................. .......................... ........................................................................................................ .................................... .................................................................................................................. .......................... ............................................................................................................................................ .................................................................................................................. .......................... ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............... .................................................................................................................. .......................... .................................................................................................................. .......................... .................................................................................................................. .......................... แนวทางแก้ปญั หา .................................................................................................... ........................................ .................................................................................................................. .......................... ............................................................................................................................................ .................................................................................................................. ..........................

16 แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 2 รหสั วิชา 202001 1002 วิชา การบัญชเี บ้อื งต้น สอนครงั้ ที่ 2 (5-8) ชอ่ื หน่วย/เรื่อง สมการบญั ชีและงบดุล (Accounting Equation and Balance Sheet) จานวน 4 ชว่ั โมง สาระสาคัญ การจัดทาบัญชีของกิจการทุกประเภทมีความจาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสินทรัพย์ หน้ีสิน และส่วนของเจา้ ของ เพื่อนาไปคานวณหาตัวเลขของข้อมูลทางบัญชีต่างๆ ของรายการค้าได้อย่างถูกต้อง สามารถ เขียนและคานวณในรูปสมการบัญชีได้ถูกต้อง ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานในการจัดทางบดุลเพ่ือแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วนั ใดวันหนึ่งได้ สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ คานวณสมการบัญชีและจัดทางบดลุ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายและคานวณสนิ ทรพั ย์ หนีส้ นิ และส่วนของเจา้ ของได้ 2. อธิบายและคานวณสมการบัญชไี ด้ 3. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่ีครสู ามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเรอ่ื ง 3.1 ความมีมนุษยสมั พันธ์ 3.2 ความมวี ินัย 3.3 ความรบั ผิดชอบ 3.4 ความซ่ือสัตยส์ ุจรติ 3.5 ความเชือ่ ม่นั ในตนเอง 3.6 การประหยดั 3.7 ความสนใจใฝ่รู้ 3.8 การละเว้นสงิ่ เสพตดิ และการพนนั 3.9 ความรกั สามัคคี 3.10 ความกตัญญกู ตเวที เนอื้ หาสาระ 1. สินทรพั ย์ หนส้ี ินและส่วนของเจา้ ของ (Asset Liability and Owner’s Equity) 2. สมการบญั ชี (Accounting Equation) กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรยี น 1. ครูกล่าวถึงสินทรัพย์ ซึ่งเป็นทรัพยากรที่อยู่ในความควบคุมของกิจการ อาจเป็นสิ่งที่มีตัวตน หรือไม่มี ตัวตนก็ได้ ซึ่งสามารถตีราคามูลค่าเป็นเงินได้ ทรัพยากรดังกล่าวเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีตซึ่ง กจิ การคาดวา่ จะไดร้ ับประโยชน์เชงิ เศรษฐกจิ จากทรพั ยากรนั้นในอนาคต

17 2. นักเรียนยกตัวอย่างสินทรัพย์ ได้แก่ เงินสด (Cash) เงินฝากธนาคาร (Deposits at financial institutions) ลูกหน้ี (Account receivables) รถยนต์ อาคาร เคร่ืองใช้สานักงาน ที่ดิน ลิขสิทธิ์ (Copyright) สิทธิบัตร (Patent) ค่าความนิยม (Goodwill) สัมปทาน (Franchises) เครื่องหมาย การค้า (Trademarks) เปน็ ตน้ 3. ครกู ล่าวถึงหนสี้ นิ (Liability) ซึ่งเปน็ ภาระผูกพนั ในปจั จบุ นั ของกิจการที่ตอ้ งจ่ายชาระคนื แก่ บคุ คลภายนอกในอนาคต ซึ่งเปน็ ผลของเหตกุ ารณ์ในอดตี ซ่ึงการชาระภาระผูกพนั น้นั คาดว่าจะสง่ ผล ใหก้ จิ การสญู เสยี ทรัพยากรท่ีมีประโยชนเ์ ชิงเศรษฐกิจ และให้นักเรียนยกตวั อยา่ งได้แก่ เจ้าหน้กี ารค้า เงนิ กู้ เงินเบิกเกนิ บญั ชี เป็นต้น นอกจากนั้นครไู ด้กล่าวถึงส่วนของเจา้ ของ (ทนุ ) ซึง่ เปน็ ส่วนไดเ้ สยี คงเหลือในสินทรัพย์ของกจิ การ หลังจากหกั หน้สี ินท้ังส้ินออกแลว้ กรรมสิทธ์ิท่ีเจา้ ของกิจการที่มใี น สนิ ทรัพย์ เรยี กว่าสินทรพั ย์สุทธิ (สินทรัพย์-หนี้สนิ ) ลักษณะสว่ นของเจ้าของกิจการแบ่งได้ 3 ประเภท คอื 1. สว่ นของเจ้าของกิจการเจา้ ของคนเดียว 2. ส่วนของเจา้ ของกจิ การห้างหุ้นส่วน 3. ส่วนของเจา้ ของกิจการบริษัทจากัด 4. นักเรยี นจดบนั ทึกคะแนนจากการทาแบบประเมนิ ผลก่อนเรียนไว้ในสมดุ ปฏิบัติการบัญชี ของตนเอง ขน้ั สอน 5. ครูสาธิตการคานวณหาสินทรัพย์ หน้ีสินและส่วนของเจ้าของ และสมการบัญชี โดยให้นักเรียนฝึก ปฏิบตั ไิ ปพรอ้ มๆ กนั 6. ครูอธิบายและสาธิตการคานวณสมการบญั ชี ตามสูตรดังน้ี สินทรพั ย์ = หน้สี นิ +ส่วนของเจา้ ของ (ทนุ ) Assets = Liabilities + Owner's Equity (Proprietorship) แสดงเป็นสญั ลกั ษณ์ยอ่ ได้ดังนี้ A = L+OE (P) 7. นกั เรยี นทาแบบฝึกปฏบิ ัติ เพื่อให้เกดิ ทกั ษะการเรยี นรใู้ นเรื่องสมการบญั ชี ขัน้ สรปุ และการประยกุ ต์ 8. นักเรยี นสรุปโดยแทนค่าลงในสมการบญั ชตี ามโจทยท์ ่ีครูกาหนดให้ ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรียน วชิ าการบัญชีเบ้ืองตน้ ของสานักพมิ พ์เอมพันธ์ 2. กจิ กรรรมการเรยี นการสอน 3. ใบงาน 4. แผ่นใส 5. แบบทดสอบหลังเรียน/แบบฝึกปฏบิ ตั ิ หลกั ฐาน 1. การตรวจใบงาน กิจกรรม คาถาม 2. การเช็คชอื่ เข้าเรยี นในวิชา

18 การวดั ผลและการประเมนิ ผล วิธีวดั ผล 1. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรูห้ ลงั เรยี น 2. สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล 3. ประเมินกิจกรรมใบงาน 4. ประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ 5. สังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม 6. ตรวจแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 7. การสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครื่องมือวดั ผล 1. แบบประเมินผลการเรียนรูห้ ลงั เรยี น 2. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 3. แบบประเมนิ ใบงาน 4. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยครู) 5. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยนักเรยี น) 6. แบบฝึกปฏิบัติ 7. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรยี นร่วมกัน ประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑผ์ ่านแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้หลงั เรียนคือ 50% 2. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไม่มีช่องปรับปรงุ 3. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขนึ้ ไป) 4. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ข้ึนไป) 5. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 6. แบบฝึกปฏิบัติ เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 7. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง

19 ใบความรู้ หน่วยท่ี 2 รหัสวชิ า 202001 1002 วิชา การบญั ชเี บอื้ งต้น สอนครงั้ ที่ 2 (5-8) ชอื่ หน่วย/เรือ่ ง สมการบญั ชีและงบดุล(Accounting Equation and Balance Sheet) จานวน 4 ช่ัวโมง ตัวอย่าง : เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2550 นายประเสริฐได้สารวจตนเองพบว่ามีทรัพยส์ นิ ส่วนตวั ดงั น้ี เงนิ สด 25,000 บาท รถยนต์ 86,000 บาท อปุ กรณ์สานักงาน 185,000 บาท รวม 296,000 บาท หมายเหตุ : 1. ทรพั ย์สิน ดงั กล่าวนใ้ี นทางบัญชี เรยี กว่า \"สนิ ทรพั ย์ (Assets)” 2. จะเหน็ ได้วา่ นายประเสรฐิ มสี ินทรัพยส์ ว่ นตวั ทั้งส้นิ จานวน 296,000 บาท ตวั อยา่ ง : ต่อไปนี้เป็นรายการสินทรัพย์ของรา้ นจักจ่นั ซง่ึ มนี างสาวจกั จัน่ เปน็ เจ้าของ (บุคคลธรรมดา) เงนิ สด 50,000 บาท รา้ นจกั จน่ั มีสินทรพั ย์ เงินฝากธนาคาร 30,000 บาท ทั้งสนิ้ 530,000 บาท เครอื่ งตกแต่ง 50,000 บาท อาคาร 100,000 บาท ซ่ึงเป็นสนิ ทรพั ยส์ ว่ นตัว รถยนต์ 300,000 บาท รวม 530,000 บาท

20 ใบความรู้ หนว่ ยที่ 2 รหสั วชิ า 202001 1002 วชิ า การบญั ชีเบอื้ งตน้ สอนครั้งที่ 2 (5-8) ชื่อหน่วย/เร่อื ง สมการบัญชีและงบดุล(Accounting Equation and Balance Sheet) จานวน 4 ช่วั โมง ตวั อยา่ ง : เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2550 ร้านแมนการค้า มีสนิ ทรัพยต์ ่างๆ ดังนี้ เงินสด 23,200 บาท ร้านแมนการค้า ลูกหนี้ 17,000 บาท มสี ินทรัพยท์ ้ังสนิ้ 518,600 เคร่ืองตกแตง่ รา้ น 25,500 บาท อุปกรณ์สานักงาน 52,900 บาท บาท รถยนต์ 400,000 บาท รวม 518,600 บาท คานวณสมการบญั ชี ตามสูตรดังน้ี สินทรพั ย์ = หนสี้ นิ +สว่ นของเจา้ ของ (ทุน) Assets = Liabilities + Owner's Equity (Proprietorship) แสดงเปน็ สัญลักษณย์ อ่ ไดด้ ังน้ี A = L+OE (P) ต่อไปนเ้ี ปน็ สินทรัพย์ของนายแดน เสยี งดี ซึ่งเปน็ บคุ คลธรรมดา ดงั นี้ เงนิ สด 30,000 บาท เงินฝากธนาคาร 20,000 บาท เครื่องตกแต่งบ้าน 45,000 บาท รถยนต์ 200,000 บาท บ้าน 350,000 บาท ท่ดี ิน 300,000 บาท แทนคา่ สมการบัญชไี ดด้ ังน้ี : สินทรพั ย์ = สว่ นของเจ้าของ (ทุน) A = OE (P) 30,000+20,000+45,000+200,000+350,000+300,000 = ส่วนของเจ้าของ 945,000 = สว่ นของเจ้าของ ดังนน้ั สว่ นของเจา้ ของนางสาวลูกเกดมี 945,000 บาท เนอ่ื งจากสนิ ทรพั ย์มีค่าเทา่ กบั ส่วนของเจา้ ของ สนิ ทรัพย์ 945,000 = ส่วนของเจ้าของ 945,000 บาท

21 แบบประเมินผลการเรยี นรู้กอ่ นเรยี นหน่วยที่ 2 จงเลอื กคาตอบทถ่ี ูกต้องเพียงข้อเดยี ว 1. ขอ้ ใดคอื สินทรพั ย์ ข. Liability ก. Assets ค. Owner’s Equity ง. Current Assets 2. ขอ้ ใดคือสินทรพั ยห์ มนุ เวยี น ก. ทด่ี นิ ข. เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ค. เงนิ ฝากธนาคาร ง. รถยนต์ 3. ขอ้ ใดคือหน้ีสนิ หมนุ เวยี น ก. เงนิ กูร้ ะยะเวลา 2 ปี ข. เจา้ หน้ี ค. เงินกรู้ ะยะยาว ง. เงนิ ลงทุน 4. ขอ้ ใดคือสินทรัพย์ไม่หมนุ เวยี น ก. เงินสด ข. สินค้า ค. เคร่ืองพิมพด์ ีด ง. เงนิ ฝากธนาคาร 5. นายพอล มีสนิ ทรัพย์ หน้ีสิน ซ่ึงเป็นของส่วนตวั ดังน้ี เงนิ สด 10,000 บาท เงนิ ฝากธนาคาร 5,000 บาท รถยนต์ 200,000 บาท บา้ น 300,000 บาท ท่ีดนิ 100,000 บาท กู้เงินจากธนาคารมา 120,000 บาท อยากทราบว่านายพอล มสี ินทรพั ย์ทัง้ สนิ้ จานวนเท่าใด ก. 615,000 บาท ข. 735,000 บาท ค. 495,000 บาท ง. 120,000 บาท 6. จากข้อ 5. อยากทราบว่านายพอลมหี น้สี นิ ท้ังสนิ้ จานวนเทา่ ใด ก. 615,000 บาท ข. 735,000 บาท ค. 495,000 บาท ง. 120,000 บาท 7. จากข้อ 6. อยากทราบว่านายพอลมสี ว่ นของเจา้ ของทั้งสน้ิ จานวนเทา่ ใด ก. 615,000 บาท ข. 735,000 บาท ค. 495,000 บาท ง. 120,000 บาท 8. “เงินเบกิ เกนิ บญั ชธี นาคาร” เปน็ รายการซ่งึ จดั อยใู่ นประเภทใด ก. สินทรพั ย์หมนุ เวียน ข. สินทรพั ย์ไมห่ มนุ เวียน ค. หนสี้ นิ หมุนเวียน ง. หนส้ี ินไม่หมุนเวยี น 9. ข้อใดหมายถึงส่วนของเจา้ ของ ก. สนิ ทรพั ย์+หนส้ี ิน ข. สินทรพั ย์-หน้ีสนิ ค. หน้สี นิ +สว่ นของเจา้ ของ ง. ถูกทุกข้อ 10. ข้อใดคอื สมการบัญชตี ามการแสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างสินทรัพย์ หน้สี นิ และส่วนของเจ้าของ ก. A=L+OE ข. A=L-OE ค. L=A+OE ง. OE=A+OE

22 เฉลยแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ก่อนเรียนหน่วยที่ 2 จงเลอื กคาตอบทีถ่ ูกต้องเพียงข้อเดยี ว 1. ข้อใดคอื สินทรพั ย์ ก. Assets 2. ข้อใดคอื สินทรัพยห์ มนุ เวยี น ค. เงินฝากธนาคาร 3. ข้อใดคอื หนี้สนิ หมนุ เวยี น ข. เจ้าหนี้ 4. ขอ้ ใดคือสินทรพั ย์ไม่หมนุ เวยี น ค. เคร่ืองพมิ พด์ ีด 5. นายพอลมีสินทรัพย์ หนสี้ นิ ซ่ึงเปน็ ของสว่ นตัวดงั น้ี เงินสด 10,000 บาท เงนิ ฝากธนาคาร 5,000 บาท รถยนต์ 200,000 บาท บา้ น 300,000 บาท ที่ดนิ 100,000 บาท กู้เงนิ จากธนาคารมา 120,000 บาท อยากทราบวา่ นายพอล มีสินทรพั ยท์ ง้ั สน้ิ จานวนเท่าใด ก. 615,000 บาท 6. จากข้อ 5. อยากทราบว่านายพอลมีหนส้ี ินท้ังส้ิน จานวนเท่าใด ง. 120,000 บาท 7. จากข้อ 6. อยากทราบว่านายพอลมสี ว่ นของเจ้าของท้งั สิ้นจานวนเท่าใด ค. 495,000 บาท 8. “เงินเบกิ เกินบญั ชีธนาคาร” เป็นรายการซึ่งจัดอยู่ในประเภทใด ค. หนี้สินหมนุ เวียน 9. ขอ้ ใดหมายถงึ สว่ นของเจา้ ของ ข. สินทรัพย์-หนสี้ นิ 10. ข้อใดคอื สมการบัญชีตามการแสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างสินทรัพย์ หน้ีสินและสว่ นของเจา้ ของ ก. A=L+OE

23 กจิ กรรมใบงานที่ 2.1 ช่อื ......................................................………………........เลขท่ี..................ระดับชัน้ .................................…... เร่อื ง..............................................………….......….............วชิ า..................................................................… ส่ังงานวนั ท่ี........................……....….....กาหนดส่งงาน..................................คะแนนทไ่ี ด้.................………..... ผลการเรียนร้ทู ่คี าดหวงั :อธบิ ายสนิ ทรัพย์ หนีส้ ิน และสว่ นของเจา้ ของได้ กิจกรรมปฏิบัติ :ใหอ้ ธิบายความหมายของสนิ ทรพั ย์ หนสี้ ิน และสว่ นของเจา้ ของ (5 คะแนน) ,

24 บนั ทึกหลังการสอน ข้อสรปุ หลงั การสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปญั หาท่ีพบ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแก้ปญั หา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

25 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 2 สอนคร้งั ที่ 3 (9-12) รหัสวชิ า 202001 1002 วิชา การบญั ชเี บือ้ งต้น ชอื่ หน่วย/เรอื่ ง สมการบญั ชีและงบดลุ (Accounting จานวน 4 ช่ัวโมง Equation and Balance Sheet) สาระสาคญั การจัดทาบัญชีของกิจการทุกประเภทมีความจาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจา้ ของ เพ่ือนาไปคานวณหาตัวเลขของข้อมูลทางบัญชีต่างๆ ของรายการค้าได้อย่างถูกต้อง สามารถ เขียนและคานวณในรูปสมการบัญชีได้ถูกต้อง ซึ่งเป็นพ้ืนฐานในการจัดทางบดุลเพ่ือแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วนั ใดวันหนงึ่ ได้ สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ คานวณสมการบัญชแี ละจัดทางบดุล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2. อธบิ ายและแสดงการจดั ทางบดลุ ได้ 3. อธบิ ายและคานวณสมการบัญชีได้ 4. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทคี่ รูสามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเร่ือง 4.1 ความมีมนุษยสมั พนั ธ์ 4.2 ความมวี ินยั 4.3 ความรับผิดชอบ 4.4 ความซื่อสัตยส์ ุจรติ 4.5 ความเชือ่ มัน่ ในตนเอง 4.6 การประหยัด 4.7 ความสนใจใฝ่รู้ 4.8 การละเวน้ ส่ิงเสพตดิ และการพนัน 4.9 ความรักสามัคคี 4.10 ความกตญั ญูกตเวที เนือ้ หาสาระ 2. สมการบัญชี (Accounting Equation) ตอ่ 3. งบดุล (Balance Sheet) กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรียน 1. ครูกล่าวถึงสมการบัญชีซ่ึงเป็นพื้นฐานเบื้องต้นของการทางบดุล ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 (ปรบั ปรุง) เพื่อแสดงฐานะทางการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหน่ึง ซึ่งรูปแบบของงบดุลตามประกาศ กรมทะเบียนการค้า เรื่องกาหนดรายการย่อท่ีต้องมีในงบการเงนิ พ.ศ. 2544 ของพระราชบัญญัติการ บัญชี พ.ศ. 2543 มีรูปแบบเดียวคือรูปแบบรายงาน แต่ก็ยังมีการจัดทางบดุลแบบบัญชีอยู่ใน

26 ประเทศไทย เน่ืองจากหลักการบัญชีที่รับรองท่วั ไปรับแบบอย่างมาจากสมาคมผสู้ อบบัญชีรับอนญุ าต แห่งสหรฐั อเมรกิ า (AICPA) และจากประเทศองั กฤษ 2. นกั เรียนร่างแบบฟอร์มงบดลุ ตามสูตรสมการบัญชี เพ่อื เชื่อมโยงเขา้ ส่กู ารเรียนการสอนดังน้ี A = L+OE (P) ขัน้ สอน 3. ให้นักเรียนอธบิ ายความหมายของสนิ ทรัพย์ หน้ีสิน และส่วนของเจา้ ของ 4. นักเรียนสาธิตการคานวณสมการบัญชี (Accounting Equation) ต่อจากสัปดาห์ท่ีผ่านมา เพื่อให้ เชือ่ มโยงกับเน้อื หาของงบดลุ (Balance Sheet) ดงั นี้ ขั้นสรุปและการประยกุ ต์ 5. สรุปโดยให้นักเรียนคานวณหาสินทรัพย์ หน้ีสิน และส่วนของเจ้าของในรูปสมการบัญชี เพ่ือให้ นกั เรยี นเขา้ ใจถึงสมการบัญชี และงบดลุ โดยเช่อื มโยงให้เหน็ กระบวนการนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั 6. ทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นหลังเรยี น ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสือเรยี น วชิ าการบัญชเี บอื้ งตน้ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ 2. กจิ กรรรมการเรยี นการสอน 3. ใบงาน 4. แผ่นใส 5. แบบทดสอบหลังเรยี น/แบบฝึกปฏิบตั ิ หลักฐาน 1. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม 2. การเช็คชอ่ื เข้าเรยี นในวชิ า การวัดผลและการประเมนิ ผล วธิ วี ดั ผล 1. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนร้หู ลงั เรยี น 2. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 3. ประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 4. ประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม 5. สังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม 6. ตรวจแบบฝึกปฏิบัติ 7. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครอ่ื งมือวดั ผล 1. แบบประเมินผลการเรียนรหู้ ลงั เรียน 2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 3. แบบประเมินใบงาน 4. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยครู) 5. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยนักเรียน) 6. แบบฝึกปฏิบัติ

27 7. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและนักเรยี นร่วมกัน ประเมนิ เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑผ์ ่านแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้หลงั เรยี นคอื 50% 2. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ีช่องปรบั ปรงุ 3. เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป) 4. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป) 5. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 6. แบบฝกึ ปฏิบัติ เกณฑผ์ า่ น คือ 50% 7. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ กิจกรรมเสนอแนะ ให้นกั เรยี นรา่ งแบบฟอร์มงบดลุ และบญั ชี และแบบรายงานมาสง่ ครูคนละ 1 ชุด

28 ใบความรู้ หนว่ ยที่ 2 สอนครั้งท่ี 3 (9-12) รหัสวชิ า 202001 1002 วิชา การบัญชีเบือ้ งตน้ ชื่อหน่วย/เร่อื ง สมการบัญชีและงบดลุ (Accounting จานวน 4 ช่ัวโมง Equation and Balance Sheet) สมการบญั ชี (Accounting Equation) งบดลุ (Balance Sheet) ตัวอยา่ ง : รายการสนิ ทรัพย์ หน้ีสินของร้าน ช. ประดบั ยนต์ ของนายโชค มชี ยั ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2550 เงนิ สด 20,000 บาท เงนิ ฝากธนาคาร 50,000 บาท อุปกรณ์ในการซ่อม 60,000 บาท อาคาร 200,000 บาท รถยนต์ 300,000 บาท เจา้ หนี้ 80,000 บาท 1. แทนค่าในสมการบัญชี สนิ ทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ 630,000 = 80,000 + 550,000 (630,000 - 80,000) 630,000 = 630,000 บาท งบดุล-แบบบญั ชี ร้าน ช. ประดับยนต์ งบดุล ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2550 สินทรพั ย์ บาท สต. หนสี้ นิ และส่วนของเจา้ ของ บาท สต. สินทรพั ย์หมุนเวียน หนส้ี นิ หมนุ เวียน 80,000 - เงินสด 550,000 - เงินฝากธนาคาร 20,000 - เจา้ หนี้ สินทรัพยไ์ ม่หมนุ เวียน 50,000 - ส่วนของเจา้ ของ 630,000 - อปุ กรณ์ในการซ่อม อาคาร ทุน-นายโชค มชี ัย รถยนต์ 60,000 - 200,000 - 300,000 - 630,000 -

29 งบดลุ แบบรายงาน สินทรัพยห์ มนุ เวยี น รา้ น ช. ประดบั ยนต์ 70,000.- เงนิ สด งบดลุ เงนิ ฝากธนาคาร 560,000.- รวมสินทรพั ย์หมุนเวยี น ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2550 630,000.- สินทรัพย์ 80,000.- สินทรพั ยไ์ ม่หมุนเวียน 20,000.- 550,000.- อุปกรณ์ในการซ่อม 50,000.- 630,000.- อาคาร รถยนต์ 60,000.- รวมสนิ ทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวยี น 200,000.- 300,000.- รวมสินทรัพย์ หนีส้ ินหมุนเวียน หนีส้ ินและส่วนของเจา้ ของ เจ้าหนี้ ส่วนของเจ้าของ ทนุ -นายโชค มชี ัย รวมหน้สี ินและส่วนของเจา้ ของ

30 แบบประเมินผลการเรียนรหู้ ลังเรียนหนว่ ยท่ี 2 จงเลอื กคาตอบที่ถกู ต้องเพียงข้อเดียว 1. ต่อไปนีเ้ ป็นรายการสินทรัพย์ หนส้ี ินของรา้ นเพง้ บรกิ าร ซ่ึงมนี ายพงศ์เป็นเจา้ ของ ดงั นี้ เงินสด 15,000 บาท อุปกรณ์ 30,000 บาท รถยนต์ 220,000 บาท อาคาร 200,000 บาท และเจ้าหน้ี 55,000 บาท อยากทราบว่า นายพงศ์มสี นิ ทรพั ย์ท้งั สน้ิ จานวนเทา่ ใด ก. 520,000 บาท ข. 465,000 บาท ค. 410,000 บาท ง. 55,000 บาท 2. จากข้อ 1. นายพงศ์มีหน้ีสนิ ท้ังสิ้นจานวนเทา่ ใด ก. 520,000 บาท ข. 465,000 บาท ค. 410,000 บาท ง. 55,000 บาท 3. จากข้อ 1. อยากทราบว่ามีสว่ นของเจา้ ของจานวนเท่าใด ก. 520,000 บาท ข. 465,000 บาท ค. 410,000 บาท ง. 55,000 บาท โจทยป์ ระกอบ ใช้ตอบคาถามข้อ 4 - 8 ต่อไปนีเ้ ปน็ สนิ ทรพั ย์ของนายเคน ซง่ึ เป็นบคุ คลธรรมดา ดังน้ี เงินสด 30,000 บาท เงินฝากธนาคาร 20,000 บาท รถยนต์ 200,000 บาท บ้าน 300,000 บาท 4. จากโจทยส์ ามารถเขยี นสมการบญั ชไี ดต้ ามขอ้ ใด ก. สินทรพั ย์ = ส่วนของเจา้ ของ ข.สินทรัพย์ = หน้ีสิน + ส่วนของเจา้ ของ ค. หนีส้ นิ = สนิ ทรพั ย์ – สว่ นของเจา้ ของ ง.สว่ นของเจ้าของ = สินทรัพย์ - หนีส้ นิ 5. จากข้อ 4. ให้แทนคา่ สมการบัญชที ถ่ี กู ต้อง ก. 550,000 = 550,000 ข. 550,000 = หนีส้ นิ + สว่ นของเจา้ ของ ค. หนสี้ นิ = 550,000 - ส่วนของเจ้าของ ง. ส่วนของเจา้ ของ = 550,000 - หนีส้ นิ 6. จากโจทยป์ ระกอบ นายเคนมีเงินกจู้ านวน 50,000 บาท สามารถเขยี นสมการไดต้ ามขอ้ ใด ก. สินทรัพย์ = ส่วนของเจา้ ของ ข. สนิ ทรพั ย์ = หน้สี นิ + ส่วนของเจา้ ของ ค. หนี้สิน = สินทรัพย์ – ส่วนของเจ้าของ ง. สว่ นของเจ้าของ = สินทรพั ย์ – หนี้สิน 7. จากข้อ 6. ใหแ้ ทนคา่ สมการบัญชที ่ถี ูกต้อง ก. 550,000 = 550,000 ข. 550,000 = 50,000 + ส่วนของเจา้ ของ ค. 50,000 = 550,000 – สว่ นของเจา้ ของ ง. ส่วนของเจา้ ของ = 550,000 - 50,000 8. จากข้อ 7. ส่วนของเจ้าของมีค่าเท่ากับข้อใด ก. 550,000 บาท ข. 500,000 บาท ค. 600,000 บาท ง. 650,000 บาท 9. ตอ่ ไปนเี้ ปน็ งบดลุ ของรา้ นอนันดาบริการ ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2550

31 สินทรัพย์ ร้านอนนั ดาบรกิ าร บาท สต. งบดุล 70,000 - สนิ ทรัพยห์ มนุ เวียน ................. - เงินสด ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2550 เงนิ ฝากธนาคาร ................. - สนิ ทรพั ยไ์ ม่หมุนเวียน บาท สต. หนี้สินและส่วนของเจ้าของ อปุ กรณ์ อาคาร หน้สี นิ หมนุ เวียน ที่ดนิ 10,000 - เจา้ หนี้ 30,000 - ส่วนของเจา้ ของ ทุน-นายอนนั ดา 60,000 - 150,000 - 200,000 - ................ - จากโจทย์อยากทราบวา่ มีทุนนายอนันดาซึ่งเปน็ สว่ นของเจ้าของจานวนท้ังสิ้นเท่าใด ก. 450,000 บาท ข. 520,000 บาท ค. 380,000 บาท ง. 70,000 บาท 10. จากข้อ 9. อยากทราบวา่ สนิ ทรพั ย์ท้งั สน้ิ มจี านวนเท่าใด ก. 450,000 บาท ข. 520,000 บาท ค. 380,000 บาท ง. 70,000 บาท

32 เฉลยแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้หลงั เรียนหนว่ ยท่ี 2 จงเลอื กคาตอบท่ถี ูกต้องเพียงขอ้ เดยี ว 1. ต่อไปนี้เป็นรายการสินทรัพย์ หน้ีสินของร้านเพ้งบริการ ซ่ึงมีนายพงศ์เป็นเจ้าของ ดังน้ี เงินสด 15,000 บาท อุปกรณ์ 30,000 บาท รถยนต์ 220,000 บาท อาคาร 200,000 บาท และเจ้าหนี้ 55,000 บาท อยากทราบว่านาย พงศม์ สี ินทรัพย์ทงั้ สิ้นจานวนเท่าใด ข. 465,000 บาท 2. จากข้อ 1. นายพงศ์มหี นส้ี นิ ทั้งสิน้ จานวนเท่าใด ง. 55,000 บาท 3. จากข้อ 1. อยากทราบวา่ มีส่วนของเจา้ ของจานวนเท่าใด ค.410,000 บาท โจทย์ประกอบ ใชต้ อบคาถามข้อ 4 - 8 ตอ่ ไปนี้เป็นสนิ ทรัพย์ของนายเคน ซ่ึงเปน็ บุคคลธรรมดา ดังน้ี เงนิ สด 30,000 บาท เงินฝากธนาคาร 20,000 บาท รถยนต์ 200,000 บาท บา้ น 300,000 บาท 4. จากโจทยส์ ามารถเขยี นสมการบญั ชีได้ตามข้อใด ก. สินทรพั ย์ = สว่ นของเจ้าของ 5. จากข้อ 4. ใหแ้ ทนคา่ สมการบัญชที ถ่ี ูกต้อง ก. 550,000 = 550,000 6. จากโจทยป์ ระกอบ นายเคนมีเงนิ กจู้ านวน 50,000 บาท สามารถเขยี นสมการได้ตามข้อใด ข. สินทรัพย์ = หนส้ี นิ + ส่วนของเจา้ ของ 7. จากข้อ 6. ให้แทนค่าสมการบัญชีที่ถกู ต้อง ข. 550,000 = 50,000 + สว่ นของเจ้าของ 8. จากข้อ 7. ส่วนของเจา้ ของมีค่าเทา่ กบั ข้อใด ข. 500,000 บาท 9. ต่อไปนี้เปน็ งบดุลของร้านอนันดาบริการ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2550 ร้านอนันดาบริการ งบดุล ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2550 สนิ ทรพั ย์ บาท สต. หนี้สนิ และสว่ นของเจ้าของ บาท สต. สินทรพั ย์หมนุ เวยี น หน้สี นิ หมุนเวียน เงินสด 10,000 - เจา้ หนี้ 70,000 - เงินฝากธนาคาร 30,000 - ส่วนของเจ้าของ สินทรพั ย์ไม่หมุนเวียน ทนุ -นายอนนั ดา ................. - อปุ กรณ์ 60,000 - อาคาร 150,000 - ทด่ี นิ 200,000 - ................ - ................. - จากโจทยอ์ ยากทราบวา่ มีทนุ นายอนนั ดาซงึ่ เป็นสว่ นของเจ้าของจานวนท้ังสน้ิ เทา่ ใด ค. 380,000 บาท 10. จากข้อ 9. อยากทราบวา่ สินทรพั ยท์ ง้ั ส้นิ มจี านวนเท่าใด ก. 450,000 บาท

33 กิจกรรมใบงานท่ี 2.2 ชื่อ......................................................………………........เลขท่ี..................ระดบั ชน้ั .................................…... เรื่อง..............................................………….......….............วิชา..................................................................… สงั่ งานวันท่ี........................……....….....กาหนดส่งงาน..................................คะแนนท่ไี ด้.................………..... ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวัง : อธิบายและคานวณสมการบัญชีได้ กิจกรรมปฏิบัติ : ให้คานวณหาสินทรัพย์ หน้ีสิน และส่วนของเจ้าของ ในรูปสมการบัญชี (5 คะแนน) ร้านเคน บรกิ าร (บุคคลธรรมดา) มสี นิ ทรพั ย์ หน้สี ิน และส่วนของเจ้าของ ดังนี้ เงินสด 20,000 บาท จากโจทยเ์ ขียน ........................................... เงินฝากธนาคาร 10,000 บาท สมการบัญชไี ดโ้ ดย ................................... เครื่องซักรีด 50,000 บาท เครื่องอบไอนา้ 80,000 บาท แทนคา่ สมการบัญชี รถยนต์ 200,000 บาท อาคาร 300,000 บาท ท่ดี นิ 300,000 บาท เจา้ หนี้ 120,000 บาท เงนิ เบกิ เกินบัญชี 80,000 บาท ................................................................................... ...................................................................................

34 บนั ทึกหลังการสอน ข้อสรุปหลงั การสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาทีพ่ บ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแก้ปัญหา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

35 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 สอนคร้งั ที่ 4 (13-16) รหสั วิชา 202001 1002 วชิ า การบญั ชีเบอ้ื งตน้ จานวน 4 ช่ัวโมง ชือ่ หน่วย/เรื่อง การวิเคราะหร์ ายการค้า (Transaction Analysis) สาระสาคญั การวิเคราะห์รายการค้าเป็นข้ันตอนท่ีสาคัญท่ีสุดในการจัดทาบัญชี ถือเป็นจุดเร่ิมต้นของวงจรบัญชี เพราะหากวิเคราะห์รายการค้าผิด ก็จะทาให้ข้ันตอนต่างๆ ในลาดับถัดไปผิดไปด้วย ดังนั้นหากมีความผิดพลาด เกิดข้ึนแล้ว ก็จะทาให้ผูใ้ ช้ข้อมูลทางการบัญชีน้ันตดั สินใจผิดพลาดด้วย จึงควรให้ความสนใจและทาความเข้าใจให้ ถกู ต้อง โดยก่อนจะทาการวิเคราะห์ต้องตรวจสอบรายการคา้ ทุกรายการที่เกดิ ข้ึนให้รอบคอบ จงึ วิเคราะห์ตามหลัก ในการวิเคราะห์รายการค้าต่อไป สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้ วเิ คราะหร์ ายการคา้ ทเี่ กิดข้นึ ในแต่ละวนั ของกจิ การ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกรปู แบบของกิจการได้ 2. อธิบายรายการค้าได้ 3. วเิ คราะห์รายการคา้ ตามหลักการได้ 4. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ท่ีครูสามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรือ่ ง 4.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 4.2 ความมีวินัย 4.3 ความรบั ผิดชอบ 4.4 ความซื่อสัตยส์ จุ ริต 4.5 ความเช่ือมน่ั ในตนเอง 4.6 การประหยดั 4.7 ความสนใจใฝ่รู้ 4.8 การละเว้นส่งิ เสพติดและการพนนั 4.9 ความรักสามัคคี 4.10 ความกตญั ญกู ตเวที เนอ้ื หาสาระ 1. รปู แบบของกิจการ 2. รายการคา้ (Business Transaction) 3. หลักในการวเิ คราะห์รายการค้า

36 กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั นาเข้าสบู่ ทเรียน 1. ครูกล่าวถึงรูปแบบของกิจการค้าแต่ละประเภทจะแตกต่างกันออกไปตามสภาพการลงทุนในกิจการ ลกั ษณะการจัดต้งั การดาเนินงานและความสาคัญทางเศรษฐกิจ สามารถแบ่งไดด้ งั นี้ รูปแบบกิจการ เจ้าของคนเดียว ห้างห้นุ สว่ น บริษทั จากัด 2. นักเรยี นยกตัวอย่างกิจการท่ีมีลักษณะเป็นเจ้าของคนเดยี ว ห้างหุน้ ส่วน หรอื บรษิ ทั จากดั ทีพ่ บเห็นกัน อยู่ท่ัวไปในปัจจุบนั 3. นักเรียนทาแบบประเมนิ ผลก่อนเรยี น ใช้เวลา 10 นาที โดยสลบั กันตรวจแลว้ ให้เก็บคะแนนบนั ทึกใส่ สมดุ ของตนเอง ขน้ั สอน 4. ครูอธิบายรายการค้า (Business Transaction) โดยใช้ส่ือแผ่นใสประกอบ พร้อมตัวอย่างเพื่อส่ือ ความหมายใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจยิง่ ขน้ึ 5. นกั เรยี นยกตัวอย่างรายการค้าประกอบ โดยแบ่งรายการค้าใดที่เป็นรายการค้าปกติ และรายการใดที่ ไม่ใช่รายการค้า 6. ครูใชว้ ธิ ีการสอนแบบ Jigsaw โดยใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ ออกเปน็ กล่มุ ยอ่ ย กลุม่ ละ 5 คน เลือกประธาน และเลขานุการ สมาชิกในแต่ละกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกนั ในแตล่ ะกลุ่มตัง้ ชื่อวา่ เปน็ กลุม่ บ้าน กล่มุ บ้าน ก กลมุ่ บ้าน ข กลุ่มบ้าน ค กลุ่มบา้ น ง กลุม่ บา้ น จ สมาชกิ ทง้ั 5 คน ในแต่ละกลมุ่ บ้านยอ่ ยๆ นั้น จะได้รับใบงานไปปฏิบตั ิเหมอื นกนั ดงั น้ี  สมาชิกคนท่ี 1 ในกลุ่ม ก ,ข , ค, ง, จ ใบงานที่ 1 เรอื่ ง หลักในการวิเคราะห์รายการคา้ -ชุดท่ี 1  สมาชิกคนท่ี 2 ในกลมุ่ ก ,ข , ค, ง, จ ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง หลักในการวิเคราะห์รายการค้า-ชุดที่ 2  สมาชิกคนท่ี 3 ในกลุม่ ก ,ข , ค, ง, จ ใบงานที่ 3 เรื่อง หลักในการวิเคราะห์รายการคา้ -ชุดที่ 3  สมาชิกคนท่ี 4 ในกลุ่ม ก ,ข , ค, ง, จ ใบงานที่ 4 เรอื่ ง หลักในการวิเคราะห์รายการค้า-ชดุ ที่ 4  สมาชิกคนที่ 5 ในกลุ่ม ก ,ข , ค, ง, จ ใบงานที่ 5 เรื่อง หลักในการวิเคราะหร์ ายการค้า-ชุดท่ี 5 เม่ือได้รับใบงานครบ ครูให้นักเรียนที่ได้รับใบงานเรื่องเดียวกันเข้ารวมกลุ่มกัน เรียกช่ือ ใหมว่ ่ากลมุ่ ผู้เช่ียวชาญ แต่ละกลุ่มใน 5 กลุ่ม เลือกประธานและเลขานกุ าร

37 7. นักเรียนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแต่ละกลุ่มทากิจกรรมท่ีกาหนดในใบงาน โดยร่วมกันค้นคว้าอภิปรายแสดง ความคิดเห็นหาข้อสรุปและบันทึกในใบงานของตน ประธานกลุ่มสังเกตพฤติกรรมการทากจิ กรรมกลุ่ม ของสมาชกิ ขน้ั สรปุ และการประยกุ ต์ 8. นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลับมายังกลุ่มเดิม คือกลุ่มบ้าน ก, ข, ค แล้วผลัดเปล่ียนกัน อธบิ ายเร่ืองทต่ี นค้นควา้ และได้ขอ้ สรุปมาให้เพื่อนสมาชิกในกลุ่มฟัง 9. ครสู ังเกตพฤติกรรมกลมุ่ 10. จัดกิจกรรมต่อเนอ่ื ง โดยให้วเิ คราะหห์ ลกั การบัญชีคู่ แล้ววเิ คราะหส์ รปุ ผล 11. นักเรียนทาแบบประเมินผลการเรียนรู้ และประเมินตนเองจากแบบประเมินตนเอง รวมทั้งกิจกรรม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อใหเ้ กิดทักษะการเรยี นรู้และนาไปใชไ้ ดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี น วชิ าการบญั ชีเบ้ืองตน้ ของสานักพิมพเ์ อมพนั ธ์ 2. กจิ กรรรมการเรียนการสอน 3. ใบงาน 4. แผน่ ใส 5. แบบทดสอบหลังเรียน/แบบฝึกปฏบิ ัติ หลกั ฐาน 1. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม 2. การเชค็ ชอื่ เข้าเรียนในวิชา การวดั ผลและการประเมนิ ผล วธิ วี ัดผล 1. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นร้หู ลังเรียน 2. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 3. ประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 4. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ 5. สังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม 6. ตรวจแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 7. การสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เคร่อื งมอื วดั ผล 1. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรูห้ ลังเรยี น 2. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล 3. แบบประเมินใบงาน 4. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกล่มุ (โดยครู) 5. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยนักเรียน) 6. แบบฝึกปฏิบัติ 7. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียนร่วมกัน ประเมนิ

38 เกณฑ์การประเมนิ ผล 1. เกณฑผ์ า่ นแบบประเมินผลการเรียนรหู้ ลังเรยี นคือ 50% 2. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ีช่องปรบั ปรุง 3. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่ คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป) 4. เกณฑ์ผา่ นการประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขนึ้ ไป) 5. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (50% ข้นึ ไป) 6. แบบฝกึ ปฏบิ ัติ เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 7. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง

39 แบบประเมินผลการเรียนร้กู อ่ นเรียนหน่วยที่ 3 จงเลอื กคาตอบที่ถกู ต้องเพียงข้อเดียว 1. กิจการรูปแบบใดท่ีดาเนินงานโดยมีจานวนเงนิ ทุนจากัด และขยายกจิ การไดย้ าก ก. เจ้าของคนเดียว ข. หา้ งหนุ้ ส่วน ค. บรษิ ทั จากัด ง. บริษทั มหาชนจากัด 2. ข้อใดไม่ใช่เป็นรายการค้า ก. ซ้ือคอมพิวเตอร์เปน็ เงนิ สด ข. จ่ายชาระหน้ี ค. กู้เงินจากธนาคาร ง. การสาธติ สนิ คา้ 3. ข้อใดเปน็ รายการคา้ ก. การส่งรายการสนิ ค้าใหล้ ูกค้า ข. การเชญิ ชวนซ้ือสินค้า ค. การถอนเงินจากธนาคาร ง. ถูกทุกข้อ 4. ข้อใดเป็นรายการค้าภายนอก ก. การนาเงนิ สดมาลงทุน ข. การถอนเงินไปใช้ส่วนตวั ค. การรบั ชาระหน้ีจากลูกคา้ ง. การนาที่ดนิ มาลงทนุ 5. ข้อใดคือรายการที่กอ่ ให้เกดิ การแลกเปลี่ยนระหวา่ งกิจการกบั บคุ คลอน่ื ก. Business Transaction ข. Non-Business Transaction ค. Transaction Analysis ง. Transaction 6. การวเิ คราะหร์ ายการคา้ ขอ้ ใดมีผลทาใหส้ ินทรพั ยเ์ พม่ิ (+) และส่วนของเจา้ ของเพม่ิ (+) ก. นาเงินสดมาลงทนุ ข. นาเงินฝากธนาคาร ค. รับชาระหนี้จากลกู คา้ ง. ซ้ืออปุ กรณเ์ ขา้ ร้านเป็นเงนิ เชื่อ 7. การวเิ คราะหร์ ายการค้าข้อใดมผี ลทาให้สินทรัพย์ลด (-) และส่วนของเจ้าของลด (-) ก. ชาระหน้เี งินกู้ ข. ซ้อื เคร่ืองตกแต่ง ค. จ่ายเงนิ เดือนคนงานในร้าน ง. รับรายได้คา่ บริการ 8. การวเิ คราะห์รายการค้าข้อใดมีผลทาให้สนิ ทรัพย์เพม่ิ (+) และหนสี้ ินเพมิ่ (+) ก. นาเงินสดมาลงทนุ ข. ซือ้ คอมพิวเตอร์เป็นเงนิ สด ค. รบั บลิ คา่ ไฟฟา้ จากการไฟฟ้านครหลวง ง. กูเ้ งนิ จากธนาคาร 9. รายการ “ส่งบลิ เกบ็ เงินจากลูกคา้ ค่าซอ่ มรถยนต์” มผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงอย่างไรบา้ ง ก. สนิ ทรพั ย์เพ่ิม (+) สว่ นของเจ้าของเพ่มิ (+) ข. สนิ ทรัพย์ลด (-) สว่ นของเจา้ ของลด (-) ค. สินทรพั ย์เพม่ิ (+) หนสี้ นิ เพิม่ (+) ง. สนิ ทรัพยล์ ด (-) หนี้สนิ ลด (-) 10. รายการ “รบั บลิ คา่ ไฟฟ้าเดือนนจ้ี ากการไฟฟา้ นครหลวง” มีผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงอย่างไรบา้ ง ก. สินทรัพยเ์ พิ่ม (+) สว่ นของเจา้ ของเพ่ิม (+) ข. สนิ ทรัพย์ลด (-) สว่ นของเจา้ ของลด (-) ค. สนิ ทรัพยเ์ พิ่ม (+) หนสี้ นิ เพิ่ม (+) ง. สินทรัพย์ลด (-) หน้ีสนิ ลด (-)

40 เฉลยแบบประเมนิ ผลการเรียนรกู้ อ่ นเรียนหน่วยท่ี 3 จงเลอื กคาตอบทถี่ กู ต้องเพียงข้อเดียว 1. กิจการรปู แบบใดทดี่ าเนินงานโดยมีจานวนเงนิ ทุนจากัด และขยายกิจการไดย้ าก ก. เจ้าของคนเดียว 2. ขอ้ ใดไม่ใช่เป็นรายการคา้ ง. การสาธิตสินคา้ 3. ขอ้ ใดเปน็ รายการค้า ค. การถอนเงินจากธนาคาร 4. ข้อใดเป็นรายการคา้ ภายนอก ค. การรบั ชาระหนจ้ี ากลูกคา้ 5. ข้อใดคือรายการที่กอ่ ให้เกิดการแลกเปล่ยี นระหว่างกจิ การกับบุคคลอื่น ก. Business Transaction 6. การวิเคราะหร์ ายการค้าข้อใดมผี ลทาให้สนิ ทรัพยเ์ พ่มิ (+) และส่วนของเจ้าของเพิม่ (+) ก. นาเงินสดมาลงทนุ 7. การวเิ คราะห์รายการคา้ ขอ้ ใดมผี ลทาให้สนิ ทรัพย์ลด (-) และสว่ นของเจา้ ของลด (-) ค. จ่ายเงนิ เดือนคนงานในร้าน 8. การวิเคราะห์รายการคา้ ขอ้ ใดมผี ลทาใหส้ ินทรพั ยเ์ พ่มิ (+) และหนีส้ ินเพิ่ม (+) ง. กเู้ งินจากธนาคาร 9. รายการ “ส่งบลิ เก็บเงินจากลูกคา้ ค่าซอ่ มรถยนต์” มีผลต่อการเปล่ยี นแปลงอย่างไรบา้ ง ก. สนิ ทรพั ย์เพิ่ม (+) สว่ นของเจา้ ของเพม่ิ (+) 10. รายการ “รับบลิ ค่าไฟฟา้ เดือนน้จี ากการไฟฟา้ นครหลวง” มีผลต่อการเปลย่ี นแปลงอยา่ งไรบา้ ง ค. สนิ ทรพั ยเ์ พมิ่ (+) หนี้สนิ เพิ่ม (+)

41 เฉลยใบงานท่ี 3.1 ชอื่ ......................................................………………........เลขท่ี..................ระดบั ชั้น.................................…... เร่อื ง..............................................………….......….............วิชา..................................................................… สัง่ งานวันท่ี....................…....….....กาหนดสง่ งาน............................คะแนนท่ีได้.................………..... ผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวัง : บอกรปู แบบของกิจการได้ กิจกรรมปฏบิ ตั ิ : ให้บอกรูปแบบของกจิ การมกี ่ีประเภทอะไรบา้ ง (3 คะแนน) รปู แบบของกจิ การ ....................................... ................................... .......................................... ................................ ............................. .................................. ................................... ................................... ................................... ............................. ............................... ................................... .......................... .............................................. .............................................. ...............................

42 เฉลยใบงานท่ี 3.2 ช่ือ......................................................………………........เลขท่ี..................ระดับช้นั .................................…... เร่อื ง..............................................………….......….............วิชา..................................................................… สงั่ งานวนั ท่ี........................….....กาหนดส่งงาน..............................คะแนนที่ได้.................………..... ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง : อธบิ ายและวเิ คราะห์รายการคา้ ได้ กิจกรรมปฏบิ ัติ : ใหอ้ ธิบายและยกตวั อย่างรายการคา้ และรายการทไ่ี มใ่ ชร่ ายการค้า (2 คะแนน) ........................................................................................ .......................................... ........................................................................................ ............................................... ........................................................................................ ..................................... ........................................................................................ .......................................... ........................................................................................ .......................................... ........................................................................................ ........................................................................................ .......................................... ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................  ข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ ................................................................................................................................................................

43 บนั ทึกหลังการสอน ขอ้ สรุปหลงั การสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาที่พบ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแก้ปญั หา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

44 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 3 สอนครงั้ ที่ 5 (17-20) รหสั วชิ า 202001 1002 วิชา การบัญชเี บ้อื งตน้ ช่ือหน่วย/เรอื่ ง การวิเคราะห์รายการคา้ (Transaction จานวน 4 ช่ัวโมง Analysis) สาระสาคญั การวิเคราะห์รายการค้าเป็นขั้นตอนท่ีสาคัญที่สุดในการจัดทาบัญชี ถือเป็นจุดเริ่มต้นของวงจรบัญชี เพราะหากวิเคราะห์รายการค้าผิด ก็จะทาให้ขั้นตอนต่างๆ ในลาดับถัดไปผิดไปด้วย ดังนั้นหากมีความผิดพลาด เกิดขึ้นแล้ว ก็จะทาให้ผใู้ ชข้ ้อมลู ทางการบัญชีน้ันตัดสินใจผิดพลาดด้วย จึงควรให้ความสนใจและทาความเข้าใจให้ ถกู ต้อง โดยก่อนจะทาการวเิ คราะหต์ ้องตรวจสอบรายการค้าทกุ รายการท่ีเกดิ ข้ึนให้รอบคอบ จงึ วิเคราะห์ตามหลัก ในการวเิ คราะหร์ ายการคา้ ตอ่ ไป สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ วิเคราะหร์ ายการคา้ ท่เี กดิ ข้ึนในแต่ละวันของกจิ การ จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. วเิ คราะหร์ ายการค้าตามหลักการได้ 4. วเิ คราะห์รายการคา้ ตามหลกั การบัญชีค่ไู ด้ 5. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทคี่ รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเร่อื ง 5.1 ความมีมนุษยสัมพนั ธ์ 5.2 ความมีวนิ ัย 5.3 ความรบั ผิดชอบ 5.4 ความซื่อสตั ยส์ ุจรติ 5.5 ความเชอ่ื ม่ันในตนเอง 5.6 การประหยัด 5.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 5.8 การละเว้นสงิ่ เสพตดิ และการพนนั 5.9 ความรักสามัคคี 5.10 ความกตญั ญูกตเวที เน้อื หาสาระ 3. หลกั ในการวเิ คราะห์รายการค้า (ตอ่ ) 4. การวเิ คราะห์รายการค้าตามหลักการบญั ชคี ู่ (Double- Entry) กิจกรรมการเรียนรู้

45 ขนั้ นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูและนักเรียนช่วยกันอภิปราย แบะทบทวนความรู้เก่ียวกับหลักการวิเคราะห์รายการค้า โดยช้ีให้ นกั เรยี นเหน็ วา่ ในการดาเนนิ ธุรกิจย่อมมรี ายการค้าและเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขน้ึ ตลอดเวลา รายการค้า ท่ีเกิดขึ้นจะมีผลทาให้สินทรัพย์ หน้ีสินและส่วนของเจ้าของเปล่ียนแปลงไปในทางเพ่ิมขึ้นหรือลดลง และเม่อื วิเคราะห์รายการค้าไดถ้ ูกต้องเรียบร้อยแลว้ จงึ นาไปบนั ทกึ ลงในสมุดบัญชตี ่างๆ ดงั น้ี 2. นักเรียนแสดงตัวอย่างการวิเคราะห์รายการค้า แต่ละรายการเพ่ือให้เกิดความเชื่อมโยง และส่ือ ความหมายให้เข้าใจได้ง่ายขนึ้ ขั้นสอน 3. ครูสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนแบบ TAI (Team Assisted Individualization) เพื่อเน้นการเรียน ของแต่ละบุคคล เนื่องจากหลักการในการวิเคราะห์รายการค้าเป็นหลักการบัญชีที่นักเรียนแต่ละคน ตอ้ งทาความเข้าใจเพอ่ื ใหเ้ กิดทักษะและปฏิบตั ิได้ 4. ครูอธิบายและสาธิตการวิเคราะห์รายการค้าตามหลักการบัญชีคู่ (Double- Entry ) ซึ่งเป็นหลักการ บัญชีท่ีได้รับการยอมรับและใช้กันทั่วไปในปัจจุบัน ซึ่งก็คือ รายการค้าทุกรายการที่เกิดข้ึน เม่ือได้ทา การวเิ คราะหแ์ ล้วกจ็ ะนาไปบนั ทกึ บัญชี 2 ดา้ นเสมอ คือ ขัน้ สรุปและการประยุกต์ 5. ครูสรุปโดยให้เขียนหลักการวิเคราะห์รายการค้าขั้นต้น มาพร้อมกับตัวอย่างประกอบ และให้ วเิ คราะหร์ ายการคา้ ในรูปแบบงบดลุ ตามรายการท่คี รกู าหนดให้ 6. นักเรยี นทาแบบฝึกปฏิบตั ิ และกจิ กรรมที่กาหนดไว้ พรอ้ มทาแบบประเมนิ ผลหลังเรียนใชเ้ วลา 10 นาที โดยให้สลับกนั ตรวจ แลว้ บนั ทกึ คะแนนไวใ้ นสมุดบัญชีของแต่ละคน สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสือเรียน วิชาการบัญชเี บอื้ งตน้ ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 2. กจิ กรรรมการเรยี นการสอน 3. ใบงาน 4. แผ่นใส 5. แบบทดสอบหลังเรียน/แบบฝึกปฏิบัติ หลักฐาน 1. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม 2. การเช็คช่อื เข้าเรยี นในวิชา การวดั ผลและการประเมินผล วธิ วี ัดผล 1. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรหู้ ลังเรียน 2. สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล 3. ประเมินกิจกรรมใบงาน 4. ประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 5. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 6. ตรวจแบบฝกึ ปฏิบตั ิ

46 7. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครื่องมอื วัดผล 1. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้หลังเรยี น 2. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 3. แบบประเมินใบงาน 4. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู) 5. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยนกั เรียน) 6. แบบฝึกปฏิบัติ 7. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรยี นร่วมกัน ประเมิน เกณฑ์การประเมนิ ผล 1. เกณฑ์ผ่านแบบประเมนิ ผลการเรียนรูห้ ลังเรยี นคอื 50% 2. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไม่มชี อ่ งปรบั ปรงุ 3. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป) 4. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 % ขึ้นไป) 5. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50% ขึน้ ไป) 6. แบบฝกึ ปฏบิ ัติ เกณฑ์ผา่ น คือ 50% 7. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมนิ ตามสภาพจริง

ใบความรู้ 47 รหัสวชิ า 202001 1002 วิชา การบัญชเี บ้ืองต้น หน่วยท่ี 2 ชอ่ื หน่วย/เร่ือง การวิเคราะห์รายการคา้ (Transaction สอนครงั้ ที่ 5(17-20) Analysis) จานวน 4 ช่ัวโมง หลักในการวเิ คราะห์รายการค้าข้นั ต้น มีดังน้ี 1. สนิ ทรพั ย์เพ่ิม (+) ส่วนของเจ้าของเพ่ิม (+) 2. สนิ ทรพั ยล์ ด (-) สว่ นของเจา้ ของลด (-) 3. สินทรพั ย์อยา่ งหนง่ึ เพิ่ม (+) สินทรพั ยอ์ ีกอย่างหน่งึ ลด (-) 4. สนิ ทรพั ย์เพ่ิม (+) หนี้สินเพิม่ (+) 5. สินทรัพยล์ ด (-) หน้ีสินลด (-) ว.ด.ป. รายการคา้ สนิ ทรัพย์ หน้สี นิ ส่วนของเจ้าของ 2550 เพิ่ม ลด เพม่ิ ลด เพ่มิ ลด  ม.ค.1 นายชลาชลนาเงินสดมาลงทนุ     2 นาเงนิ สดไปฝากธนาคาร  3 จ่ายคา่ นา้ ค่าไฟ   4 ซ้อื อุปกรณ์เสรมิ สวยเปน็ เงินสด 5 ซ้ือเคร่ืองตกแต่งรา้ นเปน็ เงินเช่ือ ดา้ นเดบติ (Debit) หรือใช้ตัวย่อวา่ ดา้ นเครดติ (Credit) หรอื ใช้ตัวย่อวา่ Dr. หมายถึง Cr. หมายถงึ 1. จานวนเงนิ ทแ่ี สดงทางด้านซ้ายของบัญชี 1. จานวนเงนิ ทแี่ สดงทางด้านขวาของบัญชี 2. การลงรายการทางด้านซ้ายของบญั ชี หรือการ 2. การลงรายการทางด้านขวาของบัญชี หรือ ผ่านบัญชีท่ีทาให้สินทรัพย์หรือค่าใช้จ่าย การผ่านบัญชีที่ทาให้สินทรัพย์หรือค่าใช้จ่าย เพม่ิ ขึ้น ลดลง 3. การลงรายการทางด้านซ้ายของบัญชีหรือการ 3. การลงรายการทางด้านขวาของบัญชี หรือ ผ่านบัญชีที่ทาให้หนี้สิน รายการเงินทุนหรือ การผ่านบัญชีท่ีทาให้หนี้สิน รายการเงินทุน รายไดล้ ดลง หรอื รายไดเ้ พ่ิมขึ้น

48 การวิเคราะห์รายการคา้ รายการคา้ เกีย่ วกับ รายการคา้ เกีย่ วกบั 1. สินทรพั ย์เพิม่ ขน้ึ 1. สินทรพั ย์ลดลง 2. หนีส้ นิ ลดลง 2. หนีส้ นิ เพิ่มขน้ึ 3. สว่ นของเจ้าของลดลง 3. ส่วนของเจา้ ของเพิม่ ข้นึ บนั ทึกบัญชดี ้านเดบิต (Dr.) บันทึกบญั ชดี า้ นเครดิต หลกั การบันทกึ บัญชตี ามหลักการบัญชคี ู่ (Cr.) 1. การบันทกึ บญั ชีประเภทสินทรัพย์  สินทรพั ย์เพ่มิ ขึน้ ใหบ้ นั ทกึ บัญชสี ินทรัพย์ ด้านเดบติ (Dr.)  สินทรพั ย์ลดลง ใหบ้ ันทกึ บัญชีสินทรพั ย์ ด้านเครดิต (Cr.) เดบิต สินทรพั ย์ เครดติ บนั ทกึ สินทรัพยเ์ พิ่ม (+) บนั ทกึ สนิ ทรัพยล์ ด (-) 2. การบนั ทกึ บญั ชีประเภทหนี้สิน  หน้ีสินเพ่มิ ขนึ้ ให้บันทึกบัญชีหน้สี ิน ดา้ นเครดติ (Cr.)  หนีส้ นิ ลดลง ใหบ้ ันทึกบัญชีหนีส้ ิน ด้านเดบิต (Dr.) เดบิต หนส้ี ิน เครดติ บนั ทึกหน้สี นิ ลด (-) บันทกึ หนี้สินเพ่ิม (+) 3. การบนั ทกึ บัญชีประเภทส่วนของเจ้าของ (ทนุ )  ส่วนของเจา้ ของ (ทุน) เพ่ิมข้นึ ใหบ้ ันทึกที่บัญชสี ว่ นของเจ้าของ ด้านเครดิต (Cr.)  สว่ นของเจา้ ของ (ทนุ ) ลดลง ใหบ้ ันทึกทบี่ ัญชีสว่ นของเจ้าของ ด้านเดบิต (Dr.) เดบิต สว่ นของเจ้าของ เครดติ บันทึกส่วนของเจา้ ของ (ทนุ ) ลด (-) บนั ทึกสว่ นของเจ้าของ (ทนุ ) เพิม่ (+)

49 แบบประเมินผลการเรียนรู้หลังเรยี นหน่วยที่ 3 จงเลือกคาตอบทถี่ กู ต้องเพียงขอ้ เดยี ว 1. รายการซ้ือรถยนต์เปน็ เงินเชื่อ มีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงตามขอ้ ใด ก. สินทรัพย์ลด หนสี้ นิ เพิม่ ข. สินทรพั ยเ์ พ่ิม หนีส้ ินเพิ่ม ค. สินทรพั ย์ลด สว่ นของเจ้าของลด ง. หนี้สินเพ่ิม สว่ นของเจา้ ของเพ่มิ 2. ขอ้ ใดมีผลทาใหส้ ินทรัพยเ์ พ่ิม และส่วนของเจ้าของเพิ่ม ก. นาเงนิ สดมาลงทุนในกจิ การ ข. ถอนเงนิ ของกิจการใชส้ ว่ นตวั ค. ซ้ือเคร่ืองตกแต่งเป็นเงนิ สด ง. รับชาระหนจี้ ากลกู คา้ 3. ขอ้ ใดมผี ลทาใหส้ ินทรัพย์อยา่ งหน่ึงเพม่ิ และสนิ ทรัพย์อีกอยา่ งหน่งึ ลด ก. รบั ค่าบริการเสรมิ สวยจากลูกคา้ ข. จ่ายชาระหน้ี ค. รับชาระหนีจ้ ากลูกคา้ ง. ซ้อื อุปกรณ์เปน็ เงนิ เชือ่ 4. ขอ้ ใดมผี ลทาให้สินทรัพย์เพิ่ม และหนี้สนิ เพิม่ ก. ส่งบลิ ไปเกบ็ เงินจากลกู ค้า ข. ถอนเงนิ จากธนาคาร ค. รับรายไดค้ า่ บริการซ่อมเครื่องปรับอากาศ ง. ซื้อเคร่ืองตกแตง่ เปน็ เงนิ เชื่อ 5. ตามหลกั การบัญชคี ู่ถา้ สนิ ทรัพยเ์ พ่ิมข้นึ ควรบนั ทึกบญั ชีด้านใด ก. ด้านเดบติ (Dr.) ข. ด้านเครดติ (Cr.) ค. บนั ทกึ ทั้งสองดา้ น ง. ถูกทุกข้อ 6. “จ่ายเงินเดือนให้พนักงาน” มผี ลต่อบัญชใี ด ก. เงินสดลด ทนุ ลด ข. เงินสดลด ค. เงนิ เดอื น เพิ่มทนุ ลด ง. เงินสดลด หนี้สนิ ลด โจทย์ประกอบ ใช้ตอบคาถามข้อ 7-10 ต่อไปนี้เป็นรายการค้าบางส่วนของร้านอินเทรนด์บริการ ซ่ึงยังไม่ได้วิเคราะห์รายการ “ถอนเงินของ กจิ การมาใช้สว่ นตัว 12,000 บาท” จงึ ไดท้ าการวเิ คราะหใ์ หเ้ สรจ็ สน้ิ ในวนั ที่ 31 ธนั วาคม 2550 ดังนี้ ร้านอินเทรนดบ์ ริการ งบดลุ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2550 สินทรัพย์ ส ส บาท ต. หน้สี นิ และส่วนของเจา้ ของ บาท ต. สินทรัพยห์ มนุ เวยี น เงินสด หนี้สินหมุนเวียน 5,000 - สินทรัพยไ์ ม่หมุนเวียน 200,00 - เจา้ หนี้ 80,000 - อุปกรณ์ หนีส้ ินไม่หมนุ เวียน เคร่ืองตกแตง่ 200,00 - 80,000 - เงนิ กู้-ธนาคารกรุงทอง 285,000 - 5,000 - สว่ นของเจ้าของ ทนุ -นายดอม 285,000 - 7. เมื่อนารายการมาวเิ คราะห์ในรูปงบดุลแลว้ จะทาใหเ้ งนิ สด มีจานวนท้ังส้นิ เท่าใด ก. 200,000 บาท ข. 188,000 บาท ค. 212,000 บาท ง. 285,000 บาท

50 8. จากรายการที่ 1 มผี ลทาให้ส่วนของเจา้ ของเปลีย่ นแปลงอย่างไรบ้าง ก. ทุน-นายดอมเพม่ิ ขน้ึ 12,000 บาท ข. ทุน-นายดอมลดลง 12,000 บาท ค. ทุน-นายดอมคงที่ไม่เปล่ยี นแปลง ง. ทุน-นายดอมลดลง 188,000 บาท 9. ยอดรวมทง้ั สนิ้ ของงบดุลท้ังสองด้านมีจานวนท้ังส้นิ เทา่ ใด ก. 273,000 บาท ข. 285,000 บาท ค. 297,000 บาท ง. 261,000 บาท 10. จากโจทยส์ รุปได้วา่ รายการดังกลา่ วมีผลกระทบต่อสนิ ทรัพย์ หน้สี ิน และส่วนของเจ้าของคือ ก. สนิ ทรัพยล์ ด ส่วนของเจา้ ของลด ข. สนิ ทรพั ย์เพ่ิม สว่ นของเจา้ ของลด ค. สนิ ทรพั ยเ์ พิ่ม ส่วนของเจ้าของเพ่มิ ง. สนิ ทรพั ย์เพ่ิม สนิ ทรัพยล์ ด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook