Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-17-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ทัศนศิลป์ ม2

64-08-17-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ทัศนศิลป์ ม2

Published by elibraryraja33, 2021-08-17 02:19:05

Description: 64-08-17-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ทัศนศิลป์ ม2

Search

Read the Text Version

คมู ือครูและแผนการเรยี นรู ม.๒ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน กลุมสาระการเรียนรูศลิ ปะ ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ มลู นิธิการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ โดยความรว มมือของ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน



ก คำนำ ด้วยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมุ่งหมายให้การศึกษาบ่มเพาะ สมรรถนะให้แก่ผู้เรียน เพื่อสร้างคุณลักษณะสำคัญ ๔ ประการให้กับคนไทย อันได้แก่ ๑) มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง ๒) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทำ ๔) เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และพระราชปณิธาน ใน การสบื สาน รกั ษา พฒั นาต่อยอด โครงการในพระราชดำริของพระราชบดิ า จึงทรงพฒั นาการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกด้านอาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณ์เทคโนโลยี บุคลากรและกระบวนการจัด การศึกษา เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สร้างโอกาสการเข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย ผ่านการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจำนวน ๑๕ ช่องสัญญาณ ไปยังโรงเรียนต่าง ๆ และ ผสู้ นใจทวั่ ประเทศ เพือ่ ให้ประเทศไทยเปน็ สังคมแหง่ ปญั ญามีจิตอาสาในการสรรค์สร้างและพัฒนาประเทศใหม้ น่ั คง การสอนออกอากาศทางไกลผา่ นดาวเทียม ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ในภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ นี้ เป็นการสอนออกอากาศในแนวใหม่ บันทึกเทปการสอนจากห้องเรียนต้นทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผ่านทางเว็ปไซต์ www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTVของมูลนธิ ิ และมีคมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้รายชวั่ โมงครบทง้ั ๘ กล่มุ สาระการเรียนรู้ ซึ่ง ครูปลายทางสามารถปรับกิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมกับชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน วฒั นธรรมและบริบทของแต่ละโรงเรยี น การจัดทำคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ได้รับความร่วมมือจากคณะทำงาน ประกอบด้วย สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ และครูผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งครูปลายทางใช้ในการเตรียมการสอนล่วงหน้า รวมทั้งจัดเตรียมเอกสารเพื่อส่งเสริมการเรียน ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เกิด ประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในห้องเรียน เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนขยายโอกาสและ โรงเรียนมธั ยมศึกษาขนาดเล็กตอ่ ไป นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมุ่งมั่นพัฒนายกระดับ คุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทยให้เข้มแข็ง สมดัง พระราชปณธิ าน “...การศึกษาคอื ความมน่ั คงของประเทศ...” ขอพระองคท์ รงพระเจรญิ มูลนธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ข บทนำ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นการจัดการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก ครูสอนไม่ครบชั้น โดยจัดการเรียนการสอนของครูห้องเรียนต้นทางจากโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ไปยังห้องเรียนปลายทางในโรงเรียนพื้นที่ต่างๆ ได้แก่ พื้นที่สูง ชายแดน เกาะแก่งและเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ เปน็ การลดความเหลือ่ มลำ้ ในการจัดการศกึ ษาให้ทัว่ ถึง เทา่ เทียมและมคี ุณภาพ คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ๓) ประจำภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ประกอบด้วยเอกสาร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ๑) ภาษาไทย ๒) คณิตศาสตร์ ๓) วิทยาศาสตร์ ๔) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕) สุขศึกษาและพลศึกษา ๖) ศิลปะ ๗) การงานอาชีพ ๘) ภาษาต่างประเทศ แต่ละระดับชั้นมีเอกสารรวม ๘ เล่ม แต่ละเล่มมีรายละเอียด คำชี้แจงการจัดกระบวน การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อ/ใบงาน/แบบฝึก แบบประเมิน ที่ตรงกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด และสาระการเรียนร้แู กนกลาง (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ของแตล่ ะสาระการเรียนรู้ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ การจัดทำคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ๓) เป็นการทำงาน ร่วมกันของหลายหน่วยงาน มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญแต่ละสาขาวิชา คณาจารย์ จากมหาวิทยาลัย คณะศึกษานิเทศก์ คณะครูผู้สอนในสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ และผู้มีส่วนร่วมจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่ช่วยให้คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีความสมบูรณ์และ เหมาะสมต่อการจัดการเรยี นการสอนเพอ่ื เยาวชนไทยทงั้ ประเทศ มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หวังว่าคู่มือครูและแผนการจัด การเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ คณะครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ในโรงเรียนขนาดเล็กและขยายโอกาสในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น เพือ่ ประสิทธิภาพการจดั การเรยี นการสอนให้สงู ข้นึ ตอ่ ไป

สสาราบรญับญั ฃ ปกรอง หหนนา้ ้า คำนำ ก บทนำ ข สารบัญ คำชี้แจงการรบั ชมรายการสอนออกอากาศ ฃ - ฃฅ คำช้ีแจงประกอบการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรกู้ ลมุ่ สาระศิลปะ ฆ -ฃง รหสั วิชา ศ๒๒๑๐๑ และ ศ๒๒๑๐๓ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ คำอธิบายรายวิชาทัศนศลิ ป์ ศ๒๒๑๐๑ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ฃจ มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั ฃฃฉ โครงสรา้ งรายวิชาทัศนศิลป์ ศ๒๒๑๐๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ฃช หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ พื้นฐานสร้างศิลป์ ซ - ญฃ ๑ แผนการการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เร่อื ง รูปแบบของงานทศั นศลิ ป์ ๘ แผนการการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๒ เรอ่ื ง เรยี นร้วู ธิ ีการถ่ายทอดแนวคดิ ในงานทศั นศิลป์ ๒๑ แผนการการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๓ เรอื่ ง สรุปวธิ กี ารถ่ายทอดแนวคดิ ในงานทัศนศลิ ป์ ๓๐ แผนการการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๔ เร่ือง ลักษณะในการถา่ ยทอดในงานทศั นศลิ ป์ ๓๖ แผนการการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๕ เรอ่ื ง นำเสนอลักษณะในการถา่ ยทอดในงานทัศนศิลป์ ๔๗ แผนการการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๖ เรื่อง ทศั นธาตสุ รา้ งสรรคส์ ื่อความหมาย ๕๑ แผนการการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๗ เรอื่ ง สรปุ วิธกี ารนำทัศนธาตุสร้างสรรคส์ ่อื ความหมาย ๕๖ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ สร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์ ๖๑ แผนการการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง วัสดุอปุ กรณ์ในงานจิตรกรรม ๖๘ แผนการการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๒ เรือ่ ง เรยี นรแู้ ละทดลองวัสดุอปุ กรณ์ในงานจติ รกรรม ๗๖ แผนการการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๓ เรอื่ ง อภปิ รายเร่ืองวสั ดุอปุ กรณใ์ นงานจิตรกรรม ๘๔ แผนการการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๔ เรือ่ ง วัสดุอุปกรณ์ในงานประตมิ ากรรม ๘๘ แผนการการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๕ เรอ่ื ง ทดลองใชว้ ัสดอุ ุปกรณใ์ นงานประติมากรรม ๙๖ แผนการการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๖ เรอื่ ง งานทศั นศลิ ปใ์ นการโฆษณา ๑๐๒ แผนการการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๗ เรอ่ื ง สรา้ งสรรคง์ านโฆษณาส่อื ส่งิ พมิ พ์ ๑๐๗ แผนการการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๘ เรื่อง นำเนอผลงานสร้างสรรคง์ านโฆษณาสอ่ื สง่ิ พิมพ์ ๑๑๐

สารบัญ (ตอ่ ) ค สารบญั หนา้ หน้า หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ เทคนคิ การสร้างสรรค์เกดิ ทัศนศิลป์ทีส่ วยงาม ๑๑๖ แผนการการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๑ เรอ่ื ง การวาดเส้น ๑๒๒ แผนการการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๒ เร่ือง สรา้ งสรรค์การวาดเสน้ ๑๒๖ แผนการการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ เรือ่ ง การระบายสี ๑๓๑ แผนการการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ เร่อื ง สรา้ งสรรค์การระบายสี ๑๓๔ แผนการการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๕ เรอ่ื ง การวาดภาพการถ่ายทอดบคุ ลิกลกั ษณะตวั ละคร ๑๓๙ ๑๔๕ บรรณานกุ รมทัศนศิลป์ ศ๒๒๑๐๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ๑๔๖ รายวชิ าดนตรี ศ๒๒๑๐๓ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ๑๔๗ คำอธิบายรายวชิ าดนตรี ศ๒๒๑๐๓ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ๑๔๘ มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด ๑๕๐ โครงสรา้ งรายวชิ า ดนตรี ศ๒๒๑๐๓ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ๑๕๒ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๑ ดนตรี สงั คม และวัฒนธรรม ๑๖๓ ๑๗๒ แผนการการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เร่อื ง องค์ประกอบของดนตรีในสงั คมและวัฒนธรรม ๑๙๑ แผนการการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เร่ือง องคป์ ระกอบของดนตรใี นสงั คมและวัฒนธรรม ๑๙๙ แผนการการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓ เรื่อง ดนตรีในวฒั นธรรมตา่ งประเทศ ๒๐๑ แผนการการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๔ เร่อื ง ดนตรีในวฒั นธรรมต่างประเทศ ๒๑๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ องคป์ ระกอบดนตรีแต่ละวัฒนธรรม ๒๒๕ แผนการการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ เรื่อง องคป์ ระกอบของดนตรใี นแต่ละวฒั นธรรมของไทย ๒๒๗ แผนการการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เร่อื ง องค์ประกอบของดนตรีในแตล่ ะวฒั นธรรมของไทย ๒๓๔ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๓ เครื่องหมายและสัญลกั ษณ์โน้ตดนตรี ๒๔๔ แผนการการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง การฝกึ ตบจงั หวะ และการอ่าน เขียนโนต้ ไทย ๒๔๗ แผนการการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ เรือ่ ง ฟังและแยกแยะโน้ตสากลท่มี ีเคร่อื งหมายแปลงเสียง ๒๖๐ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๔ ร้องเลน่ เป็นเพลง ๒๖๔ แผนการการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ เร่อื ง หลักและเทคนิคการขบั ร้องเพลงไทย ๒๗๖ แผนการการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๒ เรือ่ ง หลักและเทคนคิ การขบั ร้องเพลงไทย แผนการการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๓ เรอื่ ง การบรรเลงดนตรไี ทยเดยี่ ว และรวมวง แผนการการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เร่ือง การบรรเลงดนตรีไทยเดี่ยว และรวมวง

สาสสราาบรรญั บบ(ััญญตอ่ ) ฅ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ รอ้ งเลน่ เป็นเพลง (ตอ่ ) หหหนนนา้้า้า หนว่ แยผกนารกเารรียกนารู้ทจดัี่ ก๔ารรเร้อยี งนเลรนู่้ทเ่ี ป๕็นเพเรลื่อง (อตาอ่ร)มณ์และความรูส้ กึ ท่มี ีต่อบทเพลง ๒๘๗ ๒๘๙๗๓ แผนการการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๖๕ เรอ่ื ง อเทาครมนณิคกแ์ าลระขคบั วราอ้ มงรเู้สพึกลทง่มี ตี ่อบทเพลง ๓๒๐๙๒๓ แผนการการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๗๖ เรื่อง ขเทบั ครน้อิคงเกพาลรงขพบั รระอ้ รงาเชพนลิพง นธ์ ๓๐๒๘ แผนการการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๗๘ เรอ่ื ง ขรวบั มรว้องงดเพนลตงรพี ระราชนพิ นธ์ ๓๐๑๘๓ แผนการการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๘๙ เรอ่ื ง นรวำมเสวนงดอนดตนรตี รี ๓๑๓๙ แผนการการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๙๑๐ เรื่อง นปำรเะสเนมนิอดทนักตษระี ดนตรี ๓๒๑๖๙ หนว่ แยผกนารกเารรยี กนารู้ทจ่ีดั ก๕ารอเราียชนพี รทู้ าี่ ๑งด๐นเตรร่ือีง ประเมินทกั ษะดนตรี ๓๒๖๘ หน่วแยผกนากราเรียกนารจู้ทดั ่ี ก๕ารเอราียชนีพรทู้ ่ีา๑งดนเรตือ่ รงี อาชพี ดนตรแี ละบทบาทดนตรใี นธรุ กิจบันเทงิ ๓๒๓๘๓ แผนการการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑๒ เร่ือง รอะาดชมพี สดมนอตงรอแี าลชะพี บดทนบตารทีแดลนะตบรทีใบนธาทุรกดิจนบตันรเีใทนิงธุรกิจบนั เทงิ ๓๓๙๓ บรรแณผานนกกุ ารรมกดารนจตดั รกี ศาร๒เ๒รีย๑น๐ร๓ูท้ ี่ ช๒ั้นมเธั รยื่อมงศรึกะษดมาปสมีทอี่ ๒งอภาาชคพี เดรนียตนรทีแี่ ล๑ะบทบาทดนตรีในธรุ กิจบันเทิง ๓๓๔๙๑ คบณรระณจัดานทุกำครมู่ ดอื คนรตแู รลี ศะ๒แผ๒น๑ก๐า๓รจชดั น้ักมารัธเยรมยี นศรกึ ู้รษะาดปับีทม่ี ธั๒ยมภศากึคษเรายี ตนอทน่ี ต๑้น ๓๔๑ คเพณอื่ ะกจาดัรทเรำียคนูม่ กือาครรสแูอลนะทแาผงนไกกลาผรจ่านดั ดกาวรเรทียยี นมร(รู้ DะLดTับVม)ธั ยมศึกษาตอนต้น ๓๓๓๓๔๓๔๔๙๐๒๑๑ มเพูล่ือนกธิ าิกราเรศยี กึนษการทสาองไนกทลาผงา่ ไนกดลผาว่าเนทดียามวเทในยี พมร(ะDบLรTมVร)าชปู ถัมภ์ ๓๓๓๔๔๔๑๒๓๓ คมณลู นะธิจิกดั าครมู่ ศือึกคษราูแทลาะงแไกผลนผกา่ านรดจัดาวกเาทรยี เรมยี นใรนู้กพลรุม่ ะสบารรมะรกาาชรปู เรถยี มั นภร์ ูศ้ ลิ ปะ ภาคเรยี นที่ ๑ คณะปจรัดับคป่มู รอื งุ คครมู่ แู อื ลคะรแู ผลนะแกผานรจกัดารกจาัดรกเราียรนเรรยี ู้กนลรมุู่ก้ สลามุ่ รสะากระารกเารรียเรนยี รนูศ้ รลิ ศู้ ปิละปะภาภคาเครเียรนียนทท่ี ๑่ี ๑ คคณณะะตปรรวบั จปปรรุงู๊ฟคแู่มลือะคจรดัแู ทละำรแปูผเนลก่มาครมู่จอืัดคกราูแรเลระยี แนผรนูก้ กลาุม่ รสจาดั รกะากราเรรเยี รนยี รนกู้ รล้ศู มุ่ิลสปาะระภกาาครเรเรยี ยี นนทร่ีู้ศ๑ลิ ปะ คภณาคะเตรียรวนจทป่ี ๑รูฟ๊ และจัดทำรปู เล่มคู่มอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ ภาคเรยี นที่ ๑

ฆ การรับชมรายการ การเรียนการสอนทางไกลผา่ นดาวเทียม มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ใหบ้ รกิ ารการจดั การเรยี นการสอน จากสถานวี ิทยโุ ทรทัศนก์ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม จำนวน ๑๕ ช่องรายการ ทัง้ รายการสด (Live) และรายการย้อนหลัง (On demand) สามารถรับชมผ่าน www.dltv.ac.th Application on mobile DLTV - Android เข้าที่ Play Store/Google Play พมิ พ์คำว่า DLTV - iOS เขา้ ที่ App Store พมิ พ์คำวา่ DLTV การเรยี กหมายเลขชอ่ งออกอากาศสถานีวิทยุโทรทัศน์การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ๑๕ ชอ่ งรายการ เวลาเรยี น / นอกเวลาเรยี น DLTV ๑ (ชอ่ ง ๑๘๖) รายการสอนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ / สถาบันพระมหากษตั ริย์ DLTV ๒ (ช่อง ๑๘๗) รายการสอนช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๒ / ความรรู้ อบตวั DLTV ๓ (ชอ่ ง ๑๘๘) รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ / วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี DLTV ๔ (ช่อง ๑๘๙) รายการสอนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ / ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม DLTV ๕ (ช่อง ๑๙๐) รายการสอนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ / ศิลปวัฒนธรรมไทย DLTV ๖ (ช่อง ๑๙๑) รายการสอนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ / หนา้ ท่พี ลเมอื ง DLTV ๗ (ช่อง ๑๙๒) รายการสอนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ / ภาษาองั กฤษเพอื่ การสือ่ สาร DLTV ๘ (ชอ่ ง ๑๙๓) รายการสอนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ / ภาษาตา่ งประเทศ DLTV ๙ (ช่อง ๑๙๔) รายการสอนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ / การเกษตร DLTV ๑๐ (ชอ่ ง ๑๙๕) รายการสอนชัน้ อนบุ าลปที ่ี ๑ / รายการสําหรับเดก็ -การเลยี้ งดูลูก DLTV ๑๑ (ช่อง ๑๙๖) รายการสอนช้นั อนบุ าลปีท่ี ๒ / สุขภาพ การแพทย์ DLTV ๑๒ (ช่อง ๑๙๗) รายการสอนชนั้ อนบุ าลปที ี่ ๓ / รายการสำหรับผูส้ งู วยั DLTV ๑๓ (ชอ่ ง ๑๙๘) รายการของการอาชีพวงั ไกลกงั วล และมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล DLTV ๑๔ (ช่อง ๑๙๙) รายการของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช DLTV ๑๕ (ช่อง ๒๐๐) รายการพัฒนาวชิ าชีพครู

ง การตดิ ต่อรบั ข้อมูลขา่ วสาร ๑1. มลู นิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ เลขท่ี ๒๑๔ ถนนนครสวรรค์ แขวงวัดโสมนัส เขตปอ้ มปราบศตั รูพา่ ย กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๐๐ โทร ๐ ๒๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒2. สถานีวิทยโุ ทรทัศน์การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ซอยหวั หิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตำบลหัวหิน อำเภอหัวหนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗ - ๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ติดตอ่ เรอื่ งเวบ็ ไซต์) dltv@dltv,ac.th (ติดตอ่ เรื่องทว่ั ไป) 3๓.. โรงเรียนวงั ไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ อำเภอหัวหิน จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ์ ๗๗๑๑๐ โทร ๐๓๒ ๕๒๒ ๓๔๗ , ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ Facebook : โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Website : http://www.kkws.ac.th ๔4. ช่องทางการติดตามขา่ วสาร Facebook : ครูตู้ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

จ คำ�ชีแ้ จง 11 11 ประกอบการใช้แผนการจดั กคคาาําํ รชชเรีแ้แี้ ียจจงงนร้กู ล่มุ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ จจดกแดจกแจรพป๒รปพ๒กส๑ซตสก๑ซตใแสไใแสไแแเรจรหหดดววู้าํําาํําผผ�ื่อาง่ึ่อืาึ่งำััผผลลุรรุมม๑๑งงลลผผรย.ี.ททมมสสปปนนนนนรร๕๕นนะกกะดดาุุนนนนนมม๐๐รรออนนสสออหหวววววรรกยธธาากํํกกี้้ีาารรรกกสส๑๑ดดออนะะดดนนนนรรวอนนกกหหอาาู้ศศ๑๑เเถถาาาา๒เเกกนนชิคคชชบรรววนนบาา๓รรัันนจจ๕๕๕๕รรนนรรกก..อาอเเ๐รรลลยยดววียยีิิดําดํารรนนรรจจดะะววาาบบหออะะกกรรว้ศศนนงงนนียียหหหหววัจัจดดนยยแยยกกกกยดดงงาานสสึึชชาารรนนววกกยยนนนนััผชชตกกดดกกรรกกาาราาวววํํ่รููร้ั้ันนาานนรรรรชชววษษววนวั่่วัเเราบับัรราาิยิยยาารรตตกกรรคคููาายยยยโโยีกสสยยรรเเรรธธสสกาา๓๓ศออียยีมมยยััาาญญกกกกวรราาารร๒๒เเชชาาาาามมแแกกแจแจเเนน๒ววงงออชิีีรราาาารรรยยมมยยรรรหหรร่วั่ัวรรํํขผขผาาิิาาผชชผตตาาีีรรเรร๕๕า๑ยยมมกกเววะะ่ื่ืเเ๔๔ออนนโโรนนรรระะนนนนทเเเเออาาลลตตมมนนรริชชินนชช๑ททยีเเรรรรแแยนนี..๕๕รรววททททกกศออัีสีสงงววงงรราานาายยยีียียียศัศักก๐รรนููศศยยํํบบศศาาััาาันัดดศศผผรรดดตต๑๑ศศนนฐฐนนนนููรไไนน๖๖แแนนรึกึก๓กกาาิิลลรร็็จจบบชชููศนนนนิวิวู้ดดเเ้าารรูรรนนศศผผาาษษรรร..จจ๒รรรสรสปปชิวิชวลิ๖๖ตจตููศศููโโบบนนรราิลิลสสนนศัศัศศจจดดาาีีูู๒๒๒๒๐งงยยิ้้ินนปาาฉฉคค�ำรระะิิยเเลล๐๐รรแแปปชชัักึกึิิกกกกรรแแดดลลนออ๐๐๐๐นนีี์กกวบบปปรรตตแรรลลยีียั้น้ันศศษษศาาาาลลวโโชิกกปปาาสสดดงงััผลลััะะชชนนรรรรววบบ๒๒แแแแดดะะนาารร๒าผผศศาาาา๖๖สสนมมุุททจจเเตตั่ั่ววคคผผผผรรบบชชววด๑๑จจยยนนรรรร๑๒๒าารร๔ีีกััดดรริธธิููําําคคาานนนนี้ี้โโััรรดดววีีะะยยลลจจ๑๑หห๒๒้ีี้นน๑เเ๑ีวีวาคคาากกมมมมิบบิกกกกััาาตดดกกนนหััดดรรดดนน๐๐รจจัดัด๐๐ออ๐ววเเงง๑๑าาววาางงาาททนนรีีนนาาเนยยรรกกััททววแแาา๓๓รรดดรรร๑รรรรััีงงตตรร๐๐ขขํ้้ํููคคกตกตแแวาา่ยยมมศนนยีลลณณเเํํแแเเเเาาาาเเททตตถถออรรยรรรรํํลลรร๑๑ผผกกหหาาเเนรระะจ๒แแรรลลยยจจขขีียียยียียียุุีีํํงงกฑฑปปุุมมนนีียยติติาาาาปอปอ�รำููแแนน๑ฉฉผผสสําําาาะะนนววนนนนจจนู้สสนนกกรรใใมมรรมมธลธลรนนััใใถถิิ๑รจจกกนนบบํํสสาาชชรรรรรระะาาวาานนะะจจรริิะะบบาาเววาาําํานนููููมมููไไ๐ััราากรรกนรราาบบยเเููสสแแสสนนตตปนนปนนลลมม๓๓ยผผีาาเเววะะรร๓วกกาาผผาางงาารรนนรรััศศววนินใิใรรน๓ููนนกเกเยยกกชิะะรรคคนนรรีย๔ยี๔ลลาาตตชชรร้ีี้นนึกึกจฐฐผผรหหาาารระะนนจจษษยยีีนนยยกกุุใใจจมมห๓๓ู้�ษษำทรรรราาลลสสนนหห๒ััานานววนน๒ด๒ดนนาารราานััณณเเนดดศสสาาันนกกฐฐิชิชาาาายยรรนนูู๐รรกกฏฏกก๔๔หหจจวววว่นรราาททฏฏาาเเาามมีีกกยยาาะะววาาววนะะรราายยย๐๐นนาาศศรรแศดดรรํํศศนนรรยยิิาาาาาานนยีชียชเเเเยยจจรรกิิววกกผลลลินนกก๕จจะะิลิลกกรรปปขขรรรรชชนนววัดัดเเาาายยิินปแแตติิปปััตตดดดดถถูปูปศศาารรกก้ึึ้เเิิรว่ัชวั่ชนนกกรรนนหกกก์รรรรีีรรคคกกเยยิิลลนนลลโโมมศูรรูาา๒๒าาิจจิรเเาานมมีีาเเมมีีจจยยแแววรรททาาปปนนํํีีรรยาาีรรศศกกพพคคะะ๒รร..วีคคี่ํํงงยยะะาาาานนียยีผผศััศนแแะะเเเรร๒๒เเรรื่ื่าาย๓ตตออาารมมบบชชรรนนศศรรนนรรนนููรรรผผตตนนกนน๓๓ยีนนัั๑ีียยรรรร่วัวั่เเีีววมมึึวว้ยยูููรรกกววศศชชนนานาา้ํ้ํปปํ้้ํะะูู๑๑๒าากกโาโานน๐นนููกกนนชชริลิลนนททมมษษววมมหหรกก๒๒ดดหห๐๐๐นนรร๑ลลาากกเี้ี้ปปู้งงัักกงงรรรววนนหหัับบาาาา๐๐รููรรนน๓๓าาแแาายี๑๑ููชช๒๒ััษษจาศศแรรเเกัักโโ๕๕มมดดลลรรศศััรรนกกนนงงย้ัั้�ำแแนนผจจคคิิะะ๐๐ห๒ห๒ลลเเัััธธั..๒๒กกียยีใในรวรรเเผผัันดดววรรยยตตนนศศปปนน๐๐้๑๑ูชสสนน๓๓ิพพีีแแยยวแแนนก๒ททกกมมงงววึึกกาาารรููนลลนนตตะะ๑๑ื่ื่..ผผากกแแออ๐สสยยศศาาดููษษมมาา๕๕ชชะะรรรรรนน๐๐าา๓กกรรึึใในตตกกรรงงาาั่่ัโโเททคคููววแแรรแรกก๑๑เเหหาาสสแแษษตใดใดาาหหหุุเเณณลล่ี่ีรรผยโโีกกกกรราารรนนํําานนงงาาคคีียยมมนยยนนนนจจเเรระะยีียรรนนลลหหตตรรรรววกกศว่ใใาําํนนกรเเรรงงนนววะะัักกียยีกกรรกกรรารารออย๒นน้หหูููาาามมรรยยทรทรษษัับบนนรีีายายยยนนลละะกสสรววรร๒ููททฉฉููีีารรกกแแนนเเณณคคเรรารรตตาาววนนดดจาจาททยร๑จจบบ้ัั้ิิงงรตตาารรววรริินนงงนนยีชชััะะััรรวดดัดัดาา๐เบบััยยบูบู๓๓ููผผกกงงรนชิออกกะะาาววกกรร๓๓กก๓ววจจููสสยภภีศศนนาาชชารัันนัันนาดดิิจจหหททิชชิํํนาาออาาทึึู้าารรั้้ั้ีี้กก๓๓ยยปปจพทพทกกนนสสาานนนนคครรรนนนนาาศัศศ�ววำษษรรรรดดุกุก..ึึงงู้ววาาเเเเตตนนงงึึ๒มมิิชชววกกััรรบบปปนนรรสสาารรยยคครรศศศใใวีีแแมมรราานน๐ษษีียยีีาารรธธตตใใกกยยะะนึึนนีีลทิทนนกกมมแแณณชชรรนนะะิิาารรกกาาแนนปกกลลัั๖๖ะะีีศศววกกษษสสคครรีีหห๕ททขขผาาะะ์รระะาาททเเนนงง๐๐้ัั้าาศศ่ี่ีาานนาารรนกกศรรรรููหจจรรผผรรคค๑๑าาศศืื๒๒ออนนียียรรําํากกกกก๒พพดัดันาูาูงงเเิิลลหหจจชชนนํํ้ํํ้าพพํํจจ๒๒รราาาาาารร๒ปป้ื้ืเเฉฉนนวยย่ ปปััร่ั่ัตตนนววรววััีีดดััหหหหหห๑๑ฒฒยยดดยบบ๑ฏฏเววฐฐููรรมมดดโโรก๒๐๒๐นนัันนนนททบบนนศศิิิิ๐ททบบาาชชียยีนนมมยีถถใใาััํํ๐๒๓๐๒๓นนหหํํนน๑ััรรมมตตดดดดนกกาาาาาาาาึึงงงงรูู้ี้ีิิ คคณณะะผผูจจู ััดดททําํา

รหัสวชิ า ศ๒๒๑๐๑ รายวชิ า ทัศนศลิ ป กลมุ สาระการเรยี นรูศลิ ปะ ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง จํานวน ๐.๕ หนว ยกติ ............................................................................................................................................... 2ฉ 2 แตกตา งขศอึกงษศาลิ คปวนามแรลูคะวใชามเ ทเขคานใิคจใในนกเารร่ือคสงํารรอาูปธงแสบิ บรารบยคขรง อาางนยททวัศศั ิชนนาธศพาิลตื้นปุ รปฐูปาระแนเบภบทกตาา รงใๆชวถัสายดทุออุปดกครวณาทม่ีมคีิดคจวินามตเนหามกือานร และ สรอ่ื หคสั ววาิชมาหมศา๒ย๒แ๑ละ๐เ๑รอื่ งราวตางๆ ใหต รงตามรแานยววคชิ วาามทคัศดินแศลิละปว ัตถปุ ระสงคที่เหมาะสกมลกุมบั สราปู รแะบกบารขเอรงยี งนารนูศิลปะ ช้นั มธั ยมโศดกึยษใชากปรทะี่ บ๒วนการคิด ภกราะคบเรวยี นนกทา่ี ร๑สืบคนขอเวมลูลา ก๒ร๐ะบชวัว่นโกมางรปฏิบัติ วาดจสาํ รนาวงนสร๐รค.๕ผลหงานนว ทยกัศิตนศิลป เพ่ือใหเกิด...ค..ว..า..ม...ใ.ฝ...ร..ูใ.ฝ...เ.ร..ีย..น....ม...ุง..ใ.น...ก..า..ร..ถ..า..ย...ท..อ...ด..ค...ว..า..ม..ค...ิด....ค..ว..า..ม...ร..สู ..ึก....ค..ว..า..ม...ช..ื่น...ช..ม...แ..ล..ะ...เ.ห...็น..ค..ณุ....ค..า..ใ..น..ก...า.รนําไปปฏิบัติ และประยกุ ตใชใ นชีวิตประจาํ วันไดอยางเหมาะสม ศึกษาความรูความเขาใจในเรื่องรูปแบบของทัศนธาตุ รูปแบบการใชวัสดุอุปกรณท่ีมีความเหมือนและ แตกตางของศิลปน และใชเทคนิคในการสรางสรรคง านทัศนศิลปป ระเภทตา งๆ ถา ยทอดความคดิ จินตนาการ สอ่ื ความหมายและเรื่องราวตา งๆ ใหต รงตามแนวความคิดและวตั ถปุ ระสงคท ี่เหมาะสมกับรูปแบบของงาน โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการปฏิบัติ วาดสรางสรรคผลงานทัศนศิลป เพ่ือใหเกิดความใฝรูใฝเรยี น มุงในการถายทอดความคิด ความรูสึก ความชนื่ ชมและเห็นคุณคาในการนําไปปฏิบัติ และประยกุ ตใ ชใ นชวี ิตประจําวันไดอยางเหมาะสม ตวั ชว้ี ัด ศ ๑.๑ ม. ๒/๑ ศ ๑.๑ ม. ๒/๒ ศ ๑.๑ ม. ๒/๓ รวม ๓ ตัวชี้วดั ตวั ช้วี ัด ศ ๑.๑ ม. ๒/๑ ศ ๑.๑ ม. ๒/๒ ศ ๑.๑ ม. ๒/๓ รวม ๓ ตัวช้ีวัด

3ช 3 มาตรฐานการเรยี นรู/ตัวชี้วัด รหสั วิชา ศ๒๒๑๐๑ รายวิชาทัศนศลิ ป ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๖๒ รวมเวลา ๒๐ ชัว่ โมง จาํ นวน ๐.๕ หนว ยกิต ............................................................................................................................................................ สาระท่ี ๑ : ทัศนศลิ ป มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรางสรรคงานทศั นศลิ ปต ามจินตนาการ และความคดิ สรางสรรค วิเคราะห วพิ ากษ วจิ ารณคณุ คางานทัศนศลิ ป ถา ยทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ช่นื ชม และประยุกตใชใ นชีวิตประจาํ วนั ตัวชี้วดั ศ ๑.๑ ม. ๒/๑ อภปิ รายเกย่ี วกบั ทศั นธาตใุ นดานรูปแบบและแนวคดิ ของงานทัศนศิลปท ่ีเลอื กมา ศ ๑.๑ ม. ๒/๒ บรรยายเกีย่ วกบั ความเหมือนและความแตกตา งของรูปแบบการใชว สั ดุ อุปกรณ ในงานทัศนศิลป ศ ๑.๑ ม. ๒/๓ วาดภาพดวยเทคนคิ ทีห่ ลากหลายในการสอื่ ความหมายและเร่ืองราวตางๆ

รรหหสสัั ววชชิิ าา ศศ๒๒๒๒๑๑๐๐๑๑ รราายยววรรววิิชชมมาาเเววททลลศััศาานนศศ๒๒ิิลล๐๐ปปโโชชคคว่่วัั รรชชโโงงมม้ั้นันสสงงมมรรธััธจจาา ยยํําางงนนมมรรศศาาววยยนนึกกึ ษษวว๐๐ิิชชาา..ปป๕๕าาทท ่ี่ี หห๒๒นนวว ภภยยาากกคคิตติ เเรรียยี นนทท่่ีี ๑๑ ปปกกาารรศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๒๒ 44 44ซ ชชอื่อื่ หหนนววยยกกาารรเเรรียียนนรรูู มมาาตตรรฐฐาานนกกาารรเเรรยียี นนรร//ูู ตตวัวั ชชี้ี้ววััดด ((งกกป(งกกป(ววผทสคลงคคง(ค((สวก(ถรถรลผวทสสวกวAAPPDDRRาาาาาาููปปาาเธธิิิธิเธิิรราาืัอกร่งัาัก่ัอืงราออวืวืัศศัaarrคคนนeeนนiiรรรรคีกกีกคีีกะยยะรราาาาccแแssคษษคนนiiรรaaถถถถททรรnnงกงกททttตมมตาาาาววททhhบบววณณศศาาoollสูปปูสาาาารรรรttัศัศาาําํามิมิรรััศศiiiiาาออสสบบะะttiissิลิลยยยยrrรถถรถถมหมหแแะะสููสnnนนมมาาeeนนดดttาาttหหขขปปรรททททาาาากกคบบคiiึกึกนนกกgiigหหศศccรรศศคคooccคคททออยยยยสสออออ))าาิดดิรรบบttดดะะลิลิ))มมิิลลววnnผผงง((ททททัศัศuuรราาดดดดรรกกหหสสAAชชเเปปาาาารรปปงง))ลลถถมมนนหหมมrrออออรรงงงงาาํําามมรราาอ่ืือ่bbยยูปูปeeมมแแงงาาาาาาาาววดดดดรรธธมมืืนนออคคงงไไเเss))แแาา((ีียยนนนนลลรรถถบบาารรแดแดแแSSืืออาาtt๓๓ผผััญญททนนบบถถททะะตตือ่ือ่rrสจสจาามมนนนcนcยยออนนังงัaaััศศททททรรบบยย//ออุุติงิตงแแถถuuลลมมเเยยออววววจจccนนคคปูปูปปศัศัททาํําดดลลแแารารllกักัคคคคโโาาดดttรรppววไไศศแแนนปปนนกกนนบบววiiออแแงงษษิดดิิดิดิงงิooดดttาาิลิลบบชรรชนนศศททตตนนดดบบใใใใณณuunnโโ๓๓มมรรปปดัดันนนนบบิลิลําาํยยงงดดัศัศววตตrr))มมคคะะมมาาเเeeปปคคงกงกตตยยนนััดดรรจจนนนนดิดิาาาา))ิดริดรกกใใาาปูปูไไททนนิิยยนนหหรรดดมมแแใใาาแแแแออมมมมนนรรแแลลบบลลนนใใกกะะะะชชบบ  ((ชชเเั่ัว่ววว๑๑โโลลมมาางง)) นนคคะะํ้าํา้ แแหห๕๕นนนนนนักัก หหนนววยยทที่ี่ พพน้ื้ืนฐฐาานนงงาานนศศิลิลปป แศทเศแเทลลนน๑๑ศััศือือววนน..กก๑๑คคธธมมดิิดาามมาาตตขข..ุใุใ๒๒ออนนงง//ดดงง๑๑าาาานนนนออททรรภภูปปูััศศิปปิ นนแแรรบบศศาายยบบลิลิ เเปปแแกกลลททยี่ี่ยะะ่ี่ีววกกัับบ ๒๒ ๑๑ ๒๒ ๑๑๐๐ ๒๒ ๕๕ ๑๑๐๐

ฌ5 หนว ยที่ ช่อื หนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรยี นรู/ตวั ช้วี ัด สาระสาํ คัญ/ความคิด เวลา 5 ๒ สรา งสรรคงานทัศนศลิ ป รวบยอด (ชัว่ โมง) นา้ํ หนัก ศ ๑.๑ ม. ๒/๒ บรรยายเกี่ยวกับ -จิตรกรรม แบง เปนการวาดเสน ๓ คะแนน ความเหมือนและความแตกตาง (Drawing) และการระบายสี ของรปู แบบการใชวสั ดุ อปุ กรณ (Painting) ซ่ึงมวี สั ดุ อุปกรณ ๑๐ ในงานทศั นศลิ ป ในการใชม ากมายทง้ั ทเ่ี หมือนกนั ๑๐ และตางกัน ๑๐ -งานประติมากรรม แบงเปน ๒ การปน (Modeling) ๑๐ การแกะสลกั (Carving) การหลอ (Casting) การทบุ ตี เคาะ (Repose) การเชื่อม ปะ ตอ (Welding) ซึง่ มีวสั ดอุ ปุ กรณท่ี เหมอื นและแตกตางกนั -การโฆษณามกี ารนาํ งานทศั นศิลป ๑ มาใชเพ่ือดึงดดู ความสนใจและ ตอ งการใหส ะดุดตาและซื้อสินคา หรือบรกิ าร งานทัศนศลิ ปจงึ เปน สวนสําคญั อยา งหนึง่ ของเน้ือหาใน ส่งิ พมิ พตางๆ โดยใชง านทัศนศิลป เปน ตวั บรรยายใหค นรับรูเ ขา ใจ แทนตัวอกั ษร ซ่ึงในบางครัง้ งานทัศนศลิ ปจะสือ่ ความหมายให คนเขาใจไดเ ปนอยางดี โดยไมตอ ง ใชตวั อักษรบรรยาย -การใชง านทศั นศิลปในการโฆษณา ๒ มีวธิ กี ารสรา งสรรคไดหลายรูปแบบ เชน ภาพวาด ภาพถาย ภาพพมิ พ ภาพจากคอมพวิ เตอร หรือภาพที่ เกดิ จากการตัด ฉีก แปะ ตดิ ดวยวสั ดตุ าง ๆ เปนตน

ญ6 6 หนวยท่ี ชือ่ หนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ช้วี ัด สาระสําคญั /ความคิด เวลา น้าํ หนัก ๓ เทคนิคสรา งสรรคเกดิ ศ ๑.๑ ม. ๒/๓ วาดภาพดวย รวบยอด (ช่วั โมง) คะแนน ทัศนศลิ ปท ี่สวยงาม เทคนิคท่ีหลากหลายในการสอ่ื -การวาดเสน หมายถงึ การใช ความหมายและเรือ่ งราวตา งๆ เทคนิคหรือกลวิธกี ารสรางสรรค ๒ ๑๐ ผลงานดว ยวัสดุสาํ เร็จรูป โดยการ กสารรา สงสรา้รงรสครใ รหคเ กใ์ หดิ เ้ ลกาดิ ยลเาสยนเหสน้รอืหรอื ๑๐ ภาพแรเงา เนน ความงามของเสน และคานา้ํ หนักของแสงเงาของ ๑๐ สีใดสหี นง่ึ เปนสําคญั การระบายสี หมายถงึ การใช ๒ เทคนคิ หรือกลวธิ กี ารสรา งสรรค ผลงาน ดว ยการใชสีชนดิ ตาง ๆ ระบายบนพ้ืนระนาบรองรบั และใชวัสดอุ ปุ กรณเ ปน ตวั กลาง ชว ยสอื่ ในการถา ยทอด เชน พกู ัน แปรง เกรยี ง เปน ตน การสรางสรรคผลงานภาพวาด ๑ ท่ีสอ่ื ความหมายและถายทอดถงึ บุคลกิ ลักษณะของตวั ละครใน วรรณกรรมตาง ๆ รวมตลอดภาคเรยี น ๒๐ ๑๐๐

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ ๗ 71 ช่อื หน่วยการเรียนรู้ พ้นื ฐานสร้างศิลป์ รหสั วิชา ศ๒๒๑๐๑ รายวชิ า ทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ เวลา ๗ ชวั่ โมง ๑.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั สาระ ทศั นศิลป์ มาตรฐานการเรยี นรู้ ศ ๑.๑ สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณค่า งานทศั นศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ ต่องานศลิ ปะอย่างอิสระ ช่ืนชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตัวชีว้ ัด ศ ๑.๑ ม. ๒/๑ อภปิ รายเกย่ี วกบั ทัศนธาตุในด้านรูปแบบและแนวคิดของงานทัศนศิลปท์ เี่ ลือกมา ๒.สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ศึกษาการสรา้ งสรรค์งานทศั นศลิ ป์ในแตล่ ะรูปแบบ รปู แบบของงานทัศนศิลป์ นยิ มถ่ายทอดความงาม เป็น ๓ รูปแบบ คอื รูปแบบเหมือนจรงิ (Realistic) รปู แบบแบบตดั ทอน (Distortion) และรปู แบบตามความรู้สกึ (Abstraction) วิธีการถ่ายทอดแนวคดิ ในงานทศั นศลิ ป์ลกั ษณะการถา่ ยทอดแนวคดิ ในงานทศั นศิลป์มี ๓ ลกั ษณะ ได้แก่ การถ่ายทอดงานจติ รกรรม (Painting) การถา่ ยทอดงานประตมิ ากรรม (Sculpture) และการถ่ายทอด งานสถาปตั ยกรรม (Architecture) ๓. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ . ๑. รูปแบบของงานทัศนศลิ ป์ ๒. การถ่ายทอดแนวคิดในงานทัศนศิลป์ ทักษะ/กระบวนการ ๑. เขียนอธบิ ายการวิเคราะห์ ๒. พดู นาเสนอการจาแนกประเภทและการเปรยี บเทยี บ ๓. ทกั ษะวาดภาพสรา้ งสรรค์ทัศนธาตุสรา้ งสรรค์ เจตคติ ๑.การรบั รู้ (Perception Evaluation)สุนทรียภาพและศิลปะนสิ ัยท่ดี ี ๔. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา

28 ๕. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ๑. มีวินยั ๒. ใฝ่เรยี นรู้ ๖. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน ๑. การวเิ คราะห์รปู แบบของงานทศั นศิลป์เขียนในรูปแบบ Mind Mapping ๒. การสืบค้นขอ้ มูลและเขียนจาแนกวิธถี ่ายทอดแนวคิดในงานทศั นศลิ ป์ ๓. การแปลความแนวคดิ ในงานทัศนศลิ ป์จากผลงานศิลปนิ พรอ้ มท้งั นาเสนอหน้าช้ันเรียน ๔. ชน้ิ งานภาพวาดทศั นธาตสุ ร้างสรรค์ ช้ินงานหรือภาระงาน หนว่ ยท่ี รหสั ตวั ช้วี ดั แผนการเรยี นรทู้ ี่/เร่ือง ชน้ิ งานหรือภาระงาน หน่วยท่ี ๑ ศ ๑.๑ ม.๒/๑ ๑.รปู แบบของงานทัศนศิลป์ ใบงานที่ ๑ เรื่อง รปู แบบงานทัศนศลิ ป์ Mind Mapping พ้ืนฐานสร้าง ใบงานที่ ๒ เรือ่ ง วธิ ถี ่ายทอดแนวคดิ ในงานทศั นศลิ ป์ ศิลป์ ๒.วธิ ถี า่ ยทอดแนวคิดในงานทัศนศิลป์ ใบงานที่ ๓ เรอ่ื ง แนวคิดในงานทัศนศิลป์ (นาเสนอ) ๓.ลกั ษณะการถา่ ยทอดแนวคดิ ในงาน ทศั นศิลป์ ๔.ทัศนธาตสุ ร้างสรรคส์ ่ือความหมาย ใบงานท่ี ๔ เรอ่ื ง ทศั นธาตุสร้างสรรค์ส่ือความหมาย ๗. เกณฑ์การประเมินผลชิ้นงานหรอื ภาระงาน รายการประเมนิ ๔ (ดมี าก) คาอธบิ ายคณุ ภาพ (Rubric) ๑(ควรปรับปรงุ ) ๓(ด)ี ๒(พอใช้) ๑.ความรู้ (K) ปรนยั ททา�ำ แแบบบบททดดสสออบบไได้ ปรนทยั าแทบ�ำ บแบทบดทสอดบสอไดบ้ ได้ ปรนทัยาแทบ�ำ แบบทบดทสดอสบอไดบ้ได้ ปรนยั ทาทแ�ำ บแบบททดดสสออบบได้ ๑.๑ การทดสอบ ๙-๘ ข้อ ๗-๘ ขอ้ ๕-๖ ข้อ ไดน้ นอ้ อ้ยยกกวว่าา่ ๕๕ขข้อ้อ อตั นยั เขียนอธิบายได้ อัตนัย เขียนอธิบาย อัตนัยเขียนอธบิ ายเน้ือหา อตั นยั เขยี นอธบิ ายไมไ่ ด้ ถูกต้องยกตวั อยา่ งอยา่ ง ถกู ต้องยกตัวอย่างได้ ถกู ตอ้ ง สรา้ งสรรค์ ๒.ทกั ษะ/กระบวนการ กขค-อคกใใบแ-อแคนอ้งาวาวสนยตงวสอแครราามากคาลก่ววตามมก์ปมูลมาป์เิิเมะแล่สสคราไคครสรอดายะะัมัมรวรรวะมัรอกถ้ตงะพพาาาเิ ถกคคพเงอามขะะนัันขคเปมอ์รบหหอ้นสัขธธยีป์าเบรม์ขม์มตัยร์ธข์ีกนะระอะต้ขลา่า์ูอพนณกหะกงเหมาอไ่งกนัขากๆขฑด์องขวลูงห�ำยีธออๆ้ต้าอ้่์บขหแรนน์บบแงมามอ้นะลแนดสยอนมลููลมะห�ำลรเดกกาเกลเูุปกวะแเสเณใสกา่ตณยนนนงณาฑะอฑอม์ใฑผ์น์ล ใแ-คแอบ-ผใแคบใอนนนตยงวยลงวสออสกแกคคาาลกกก่ากากตมามา์ปป์มมแาะแคครรล่สรสรยรอาายวววววะะมัระมัระางะาเิเิเิอกถถพคกคขมคพคมขเงอรอเ้ปอส์ันรรอ้นขสัขคาบมาัมาบธรยมีมัยธีป์ะะะตลูพ์ขะนตขล์ูพนหรหห่าไอกนัากอ่ไะกนดข์ังม์ขด์งองธางกๆ�อ้้ตำธขาอๆ้ต้ห์รบขอหแมรา์เอ้มะาอ้นขนบมะลแนูลมหมลูยมีดห�เะำนลดลูวกเนลเเูกาวะสเกา่ณสใกเา่ณงณนนสรงฑณนอปุฑฑ์ ฑอ์์ ์ แแรว-กไวดใบอค-แแะเิตัตลาสนค้ตตยงวหสอรถะล่ารกคาาวลก่าุปวกคมะามมาปิเ์มะ่าแวอคราะครเงสรอาายระงหวกรวอะมมรัถคสงะาาณเข์ิงถกคกคสพ์ปะงมขอ้คฑคเปาอมั์หรอร้นสัขมป์ ห์ไา์ะพบม์รมมัยธีดลูบระนกะานัตขล์ูพนะ้ชอหอดเกแาธอ่ไกดัขกนักขบด์เยอง์ของียเก�ำคธอๆ้ตกจ้นอบขบหนณร์วมนแาาอง้นะตสแานขมฑเยลเูมมห�่าสำรปลด้อะเ์ใลเงูปุสนกวะ็นนสเขมๆใกมัาต่อณก้อนูลนงณพาผามอฑมลันรูลฑใ์นธ์ ์ ปคขอกสไอผใ-คคขกมไนอม้ัาอ้ลวงาววงรมส่แครราาคามกะมพ่สาวตวมม์ปมกาลูล์ปูนาั มิเเิล่สสรสรไอมไคครธาดวะดะมมััมั ราบรขะ์ ริเอก้ตตพพ้ราพคากอตถงอาะถาะนัันรนัาง่อคกมบหมกาหธธขงธป์�ำบเะาเข์ต์ข์รๆขก์อ้ร์หกรหหอนะ้า่ออะณ้มะณนแงนหม์มงำ�หมลูกๆฑดขลดวูลาเฑลูวใอสเ้อา์่เะเนแา่ข์บกกบแงนมบคแงลแยี ณณยอนูลอวยออะนตกกาาฑงฑกผกลส่แเมคส์ใแใล์ระยน์นนยุปะอะ (P) ๒.๑ทกั ษะการเขียน Mind Mapping -การคดิ วเิ คราะห์ วผัตลถกุปารระวสเิ งคครไ์าดะ้ชหัดม์ เจานเขเยีปน็ สรปุ ผตลามกาวรตั วถเิ คปุ ราะะสหงคม์ ์ไาดเขช้ ยัดี นเจสนรปุ ตผัวลอกยา่ รงวเิ คราะหม์ าเขยี นสรปุ กตารมววเิ คัตรถาุปะรหะ์มสางเคขไ์ ยี ดน้ชสดั รเจุปนตาม ตตวั าอมยวา่ ตังถปุ ระสงคไ์ ดช้ ดั เจน ตเปาน็มตวัวตอถยปุ า่ รงะสงคไ์ ดช้ ดั เจน ตามวตั ถปุ ระสงคไ์ ดช้ ดั เจน วเปตั ็นถตปุ ัวรอะยส่างงคไ์ ดช้ ดั เจนเปน็ เปน็ ตวั อยา่ ง เปน็ ตวั อยา่ ง เปน็ ตวั อยา่ ง ตวั อยา่ ง

๙ 39 รายรกาายรกกาารรปปรระะเมเมนิ นิ คาอธิบายคณุ ภาพ (Rubric) ๔(ดมี าก) ๓(ดี) ๒(พอใช้) ๑(ควรปรบั ปรุง) - การแปลความและ - สามารถกาหนด เกณฑท์ ่ี - สามารถกาหนด เกณฑ์ - สามารถกาหนด เกณฑท์ ี่ - ไมส่ ามารถกาหนดหรอื จาแนกประเภท ได้รับการยอมรับทาง ทไ่ี ด้รบั การยอมรับทาง ไดร้ บั การยอมรับทาง ระบุ เกณฑท์ ่ีได้รับการ วิชาการหรือยอมรบั วิชา การหรอื ยอมรับ วชิ าการหรอื ยอมรบั ยอมรบั ทาง วชิ าการหรือ โดยทว่ั ไป เพือ่ ใชใ้ นการ โดยทวั่ ไป เพื่อใช้ในการ โดยท่วั ไป เพ่ือใชใ้ นการ ยอมรบั โดยทั่วไป เพ่ือใช้ แปลความและจาแนก แปลความและจาแนก แปลความและจาแนก ในการแปลความและ ประเภททขอขงสอง่ิ สติ่งาตงา่ๆงๆ ประะเเภภททของสิง่ ตา่ งๆๆ ปปรระะเเภภททของสง่ิ ต่างๆๆแแยยกก จา�ำ แแนนกกปปรระะเเภภททขอขงอสงงิ่ สิ่ง แยกสง่ิ ตา่ งๆ ตามเกณฑท์ ี่ แยกสงิ่ ต่างๆ ตามเกณฑท์ ี่ สิ่งตา่ งๆ ตามเกณฑท์ ่ีระบุ ต่างๆ แยกส่งิ ต่างๆ ตาม ระบุอธิบายผลการจาแนก ระบอุ ธบิ ายผลการจาแนก อธบิ ายผลการจาแนก เกณฑ์ทร่ี ะบุอธบิ ายผล ประเภทอย่างมหี ลกั เกณฑ์ ประเภทอยา่ งมี ประเภทอย่างมหี ลักเกณฑ์ กกาารรจจาแำ�นแกนกปรระะเภเภทท ไดอ้ ย่างชัดเจน หลกั เกณฑ์ได้เป็นสว่ น ได้เปน็ บางสว่ น อย่างมหี ลักเกณฑไ์ ด้ ใหญ่ - ทกั ษะการเปรยี บเทียบ -สามารถระบไุ ด้วา่ สิ่งท่ี -สามารถระบไุ ด้วา่ ส่ิงท่ี -สามารถระบไุ ดว้ ่าส่งิ ท่ี -ไม่สามารถระบไุ ดว้ า่ สิ่งที่ ตอ้ งการเปรยี บเทียบกันมี ตอ้ งการเปรยี บเทยี บกนั มี ต้องการเปรยี บเทยี บกนั มี ตอ้ งการเปรยี บเทยี บกนั มี ลักษณะเหมอื นกนั หรือ ลักษณะเหมอื นกนั หรอื ลักษณะเหมอื นกนั หรือ ลกั ษณะเหมอื นกันหรอื ต่างกนั อยา่ งไร ไดอ้ ยา่ ง ต่างกันอยา่ งไร ตา่ งกนั อย่างไรได้เปน็ ต่างกันอย่างไร ชดั เจน ได้เปน็ ส่วนใหญ่ บางสว่ น ๒.๒. การนาเสนอ -การนาเสนอมกี าร -การนาเสนอมกี าร -การนา�ำ เสนอมกี าร อภิปรายหน้าชน้ั เรยี น เรยี งลาดบั เน้อื หาจากที่ไดม้ ี เรียงลาดบั เน้อื หาจากทไ่ี ด้ กเรายี รงเรลยี างดลบั �ำ เดนบั ื้อเหนอื้าไหดาพ้ ไดอพ้ใชอ้ใช้ -การนา�ำ เสนอมกี าร กเรายี รงเลรยีาดงลับ�เำนดือ้ับหเนาอ้ื หา การวเิ คราะห์แปลความของ มีการวเิ คราะหแ์ ปลความ มคี วามต่อเนื่องมปี ระโยชน์ ปรับปรุงไม่มคี วาม ความรแู้ ละแยกแยะเนอ้ื หา ของความรู้และแยกแยะ นอ้ ยให้แงค่ ิดน้อย ตอ่ เนอ่ื งมปี ระโยชน์นอ้ ย ไดด้ มี ากอธบิ ายไดเ้ ชอ่ื มโยง เน้อื หาไดด้ ีมีความ ใหแ้ ง่คดิ นอ้ ย มคี วามต่อเนื่องมปี ระโยชน์ ตอ่ เนอื่ งมีประโยชน์ใหแ้ ง่ ให้แง่คิดท่ดี ี คดิ ๒.๓ สร้างสรรคผ์ ลงาน -รูปแบบผลงานความแปลก -รูปแบบผลงานความ -รูปแบบผลงานมกี ารคดิ -รูปแบบผลงานยงั ไมส่ ื่อ ภาพวาดทัศนธาตุ ใหมม่ ีการคดิ อย่าง แปลกใหม่มกี ารคดิ อย่าง อยา่ งสร้างสรรคต์ รงตาม ถงึ การคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ สร้างสรรคต์ รงตามหัวขอ้ สรา้ งสรรคต์ รงตามหัวข้อ หัวขอ้ ทศั นธาตุสรา้ งสรรค์ ตรงตามหัวข้อทศั นธาตุ ทศั นธาตสุ รา้ งสรรค์ ทัศนธาตุสรา้ งสรรค์ จัดองคป์ ระกอบตาม สรา้ งสรรค์ รปู แบบผลงานมีเอกลักษณ์ ขบวนการผลติ โดยใช้ องคป์ ระกอบศลิ ปไ์ ดอ้ ย่าง จัดองคป์ ระกอบยงั ไม่ เฉพาะตวั มขี บวนการผลติ เทคโนโลยหี รอื วธิ กี าร สมบรู ณ์ โดยใชเ้ ทคโนโลยหี รือวธิ กี าร สมัยใหม่ สวยงามชิน้ งานมีความ สมัยใหม่ จดั องคป์ ระกอบตาม สมบรู ณ์ จัดองคป์ ระกอบตาม องคป์ ระกอบศลิ ปไ์ ด้อย่าง องค์ประกอบศลิ ปไ์ ด้อย่าง สวยงามช้นิ งานมีความ สวยงามชน้ิ งานมคี วาม สมบูรณ์ สมบรู ณ์

เกณเฑก์กณาฑร์กตาดั รสตินดั สนิ 10 140 รวมรวามยรกายรการกปารระปเมรนิะเมทนิ้ัง ๒ท้ังห๒วั ขห้อวั ขอ้ ๑๐ ๑๐ ๑. ๑ก.ารกทาดรสทอดบสคอวบาคมวราู้ (ม๕รู้ค(๕ะแคนะนแ)นน) ๒. ๒ท.ักษทะกั /ษกระะ/กบรวะนบกวานรการ ทกั ษทะักสษบื ะคส้นืบแคลน้ ะแกลาะรกเขายี รนเขยี(๑น๐(๑ค๐ะแคนะนแ)นน) ทกั ษทะกั กษาะรกพาูดรนพาดู เสนนาเอสน(๕อค(๕ะแคนะนแ)นน) ทักษทะกั กษาะรกวาดรวสารดา้ สงสรร้ารงสคร์ (ร๑ค๐์ (๑ค๐ะแคนะนแ)นน) คะแคนะนแนน ๑๕ ๑–๕๑–๖ ๑๖ หมาหยมถาึงยถึง ดมี าดกีมาก คะแคนะนแนน ๑๓ ๑–๓๑–๔ ๑๔ หมาหยมถางึ ยถงึ ดี ดี คะแคนะนแนน ๑๑ ๑–๑๑–๒ ๑๒ หมาหยมถาึงยถงึ พอใพช้อใช้ คะแคนะนแนน ๙ -๙๑-๐ ๑๐ หมาหยมถาึงยถงึ ปรบั ปปรรบั งุ ปรงุ เกณเฑก์กณาฑร์กผา่ รนผ่าน ต้งั แตง้ั่ ๙แตข่ ๙ึน้ ไขปน้ึ ผไปา่ นผเก่าณนเฑก์ณฑ์

151 ๑๑ รายการประเมนิ คาอธบิ ายคุณภาพ (Rubric) ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๓.คุณลกั ษณะที่พึง ปฏิบัตติ นตามข้อตกลง ปฏิบตั ิตนตามข้อตกลง ปฏิบตั ิตนตามขอ้ ตกลง ไม่ปฏิบตั ติ นตามขอ้ ตกลง ประสงค์ (A) กฎเกณฑ์ ระเบยี บ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั กฎเกณฑ์ ระเบยี บ มวี นิ ยั ข้อบังคบั ของโรงเรียน และ ขอ้ บงั คบั ของ ตรงต่อเวลา ของโรงเรียน ตรงตอ่ เวลาใน ข้อบังคับของโรงเรยี น ไม่ละเมดิ สทิ ธิของผ้อู น่ื ตรง ในการปฏิบัติกจิ กรรมและ การปฏิบัติกจิ กรรม และ ต่อเวลาในการปฏิบตั ิ รับผิดชอบในการทางาน กิจกรรมและรับผดิ ชอบใน การทางาน ใฝ่เรียนรู้ เขา้ เรียนตรงเวลา ต้งั ใจ เข้าเรยี นตรงเวลา ตง้ั ใจ เขา้ เรียนตรงเวลา ต้ังใจเรยี น ไมต่ ั้งใจเรยี น เรียน เอาใจใส่ในการเรยี น เรยี น เอาใจใสใ่ นการเรยี น เอาใจใสใ่ นการเรยี น และมี ไมศ่ กึ ษาค้นคว้าหาความรู้ และมสี ่วนร่วมในการ และะมมสี สี ่ว่วนนรว่รม่วใมนใกนาร ส่วนร่วมในการเรียนรู้ และ เกรายี รนเรรยี ู้ แนลระู้ แเขลา้ะรเขว่ ม้ารว่ ม เกรายี รนเรรู้ ียแนละรเู้ ขแา้ ลระว่ มเขา้ รว่ ม เข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรตู้ า่ งๆ กิจกรรมการเรียนรตู้ า่ งๆ ตา่ งๆ เป็นบางคร้ัง ท้ังภายในและภายนอก บอ่ ยคร้งั โรงเรยี นเป็นประจา ๔.เจตคติ แสดงความคดิ เหน็ ตอ่ งาน แสดงความคดิ เห็นตอ่ งาน แสดงความคดิ เห็นตอ่ งาน แสดงความคดิ เห็นต่องาน ทัศนศลิ ปอ์ ยา่ งอสิ ระ มี ทัศนศลิ ป์อย่างอิสระ มี ทัศนศิลปอ์ ยา่ งอสิ ระ มี ทัศนศิลป์อยา่ งอสิ ระ มี สนุ ทรยี ภาพ ชนื่ ชมเหน็ สุนทรียภาพ ชนื่ ชมเห็น สุนทรยี ภาพ ชื่นชมเห็น สนุ ทรียภาพ ช่ืนชมเห็น คุณคา่ และมศี ลิ ปะนสิ ยั ท่ีดี คณุ คา่ อยา่ งสม่าเสมอ คณุ คา่ เปน็ ส่วนใหญ่ คุณคา่ เปน็ สว่ นน้อย ๕. สมรรถนะที่สาคัญ -สามารถรบั สง่ สาร ใช้ภาษา สามารถรับส่งสาร ใชภ้ าษา สามารถรบั สง่ สาร ใช้ภาษา สามารถรับส่งสาร ใช้ (C) วิเคราะห์แสดงความคดิ เห็น วเิ คราะห์แสดงความคิดเห็น วิเคราะหแ์ สดงความคิดเหน็ ภาษา วเิ คราะห์แสดง การสอื่ สาร เขยี นบันทึกเหตุการณเ์ ลา่ เขียนบันทึกเหตุการณเ์ ลา่ เขียนบนั ทึกเหตกุ ารณเ์ ลา่ ให้ ความคดิ เหน็ เขียน ใหเ้ พ่อื นฟังไดอ้ ยา่ งชดั เจน ให้เพอ่ื นฟังไดเ้ ป็นส่วนใหญ่ เพ่ือนฟงั ได้เป็นบางสว่ น บนั ทกึ เหตุการณ์เลา่ ให้ เพือ่ นฟังได้เปน็ ส่วนนอ้ ย การคดิ -สามารถคดิ วิเคราะห์ สามารถคิดวเิ คราะห์ สามารถคดิ วเิ คราะห์ สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีทกั ษะในการ สังเคราะห์ มที ักษะในการ สังเคราะห์ มีทักษะในการคดิ สงั เคราะห์ มที ักษะในการ คกาิดรนคอดิ กนกอรกอกบรออยบา่ องยา่ ง กคาิดรนคอดิ กนกอรกอกบรไอดบ้ ได้ นอกกรอบได้บางครั้ง คิดนอกกรอบไม่ได้ สร้างสรรค์ การแกป้ ญั หา สามารถแก้ปัญหาและ สามารถแก้ปัญหาและ สามารถแก้ปัญหาและ ไมส่ ามารถแกป้ ญั หาและ อปุ สรรคต่าง ๆ ทเ่ี ผชญิ ดว้ ย อุปสรรคตา่ ง ๆ ทเ่ี ผชญิ ด้วย อปุ สรรคต่าง ๆ ทีเ่ ผชญิ ด้วย อุปสรรคตา่ ง ๆ ได้ เหตผุ ลตดั สนิ ใจไดเ้ หมาะสม เหตุผลตัดสินใจได้เหมาะสม ตเเเไเตปหปหดาัดน็ตตน็้โมสดสุุผวผสนิย่วยัลว่ลใตนนจตไ้อใดไใัดหงหดโ้ สอญดเ้ญหิานย่่ศมอใัยจาาะคไศดสาัยแม้เคหนต�ำมะาแมนานวะาะยัสนม�ำ ตดัามสวนิ ัยใจได้โเหดมยไามะ่ตส้อมงตอาามศวัย ตาัดมสวินยั ใจไไดดโ้ ้เดหยมตาอ้ ะงสอมาตศาัยมวยั ไคด�ำ้โแดนยะไนมต่�ำ ้องอาศยั คได�ำโ้แดนยะตน้อ�งำบอ้าางศยั คาแนะนา คาแนะนา บ้าง

๑๒๑1๒212 6 แบแบบทบดทสดอสบอหบนห่วนย่วทย่ี ๑ที่ เ๑รื่อเรง่ือพงนื้ พฐ้ืนานฐางนานงาศนลิ ศปิล์ ป์ ศ ๑ศ.๑๑.ม๑.๒ม/.๒๑/อ๑ภอิปภรปิายรเากยีย่ เกวกย่ี วับกทับศั ทนศั ธนาตธุใานตดุในา้ นดา้รนปู รแปูบแบบแบลแะลแะนแวนควดิ คขดิอขงงอางนงาทนัศทนศั ศนิลศปลิ์ทป่เี ลท์ อื เ่ี ลกือมกามา คาคชาแ้ี ชจแี้งจง ให้นใหัก้นเรักียเรนียเลนือเลกือคกาคตาอตบอทบี่ถทูกี่ถตูก้อตงท้อง่ีสทุด่ีสเพุดียเพงขีย้องขเด้อียเดวียว ๑.ส๑ว่ .สนว่ปนรปะกระอกบอทบี่สทาคสี่ ัาญคทัญีส่ ทดุ ่ีสขดุอขงทองัศทนัศธนาตธคุาตือคุอือะอไระไร ๗.ส๗ใี .นสขีในอ้ ขใดอ้ ใใดห้คใหวค้ามวารม้สู กึรู้ส“ึกใจ“เใยจ็นเยสน็ ง่าสงฉา่ ลฉาดลาสดุขสุมุข”มุ ” ก.เกส.น้ เสน้ ข.สขี .สี ก.สกมี .ส่วมีง่วง ข.สขสี .ส้มีส้ม ค.รคูป.รทปู รทงรง ง.แงส.แงเสงงาเงา ค.สคเี .ทสาีเทา ง.สงนี .ส้านีตา้ ลตาล ๒.ข๒อ้ .ขใด้อตใด่อตไป่อนไปี้ไมน่ใี้ไชม่อใ่ ชงค่อป์งคร์ปะกระอกบอขบอขงทองศั ทนัศธนาตธุาตุ ๘.ก๘า.รกจาดัรจอดังคอ์ปงครป์ะกระอกบอศบิลศปิล์ทป่ีต์ท้อี่ตงกอ้ างรกใาหรเ้ใปหน็้เปอน็ั อหันนหึ่งนึ่ง ก.รกปู .รูปา่ งร่างรปู รทปู รทงรงพนื้ พผื้นิวผวิ ข.เขส.้นเสน้ สี สแี สแงเสงงาเงา อนั อเดันยี เดวยีกวันกคนัือคขือ้ ขใด้อใด ค.คคว.คามวาสมสดมลุ ดุลสัดสดัว่ สนว่ จนุดจสดุนสใจนใจง.นง้า.นห้านหักนักท่ีวท่างวี่ า่ ง ก.จกัง.หจังวหะแวะลแะลจะดุ จสดุนสใจนใจ ข.คขว.คามวาเปม็นเปเอน็ กเอภกาภพาพ ๓.เ๓ส.น้ เสท้น่ใี หท้ค่ีใหว้คามวารมู้สึกรสู้แึกขแ็งแขร็งงแมรัน่งมคั่นงคืองคขือ้ ขใด้อใด ค.คคว.คามวาสมสดมุลดุล ง.สงัด.สดัว่ สน่วน ก.เกส.น้ เสตน้ รตงตรางมตาแมนแวนตวง้ั ตัง้ ข.เขส.น้ เสต้นรตงตรางมตาแมนแวนวอนอน ๙.ข๙อ้ .ขใด้อคใดือคกือารกจาดัรจอัดงคอป์งครป์ะกระอกบอศบิลศปิล์ ป์ ค.เคส.น้ เสเอ้นียเองหยี งรหอื เรสือ้นเสทน้ แทยแงยง ง.เสง.น้ เสฟ้นนั ฟปันลปาลา ก.กกา.รกจาัดรจบัดรบเิ วรณิเวใณห้เใหหมเ้ หามะสาะมสม ๔.ข๔อ้ .ขใดอ้ คใดือคลือกั ลษกั ณษะณขะอขงรอปูงรทูปรทงทรงี่ถทกู ถ่ีตกู้อตง้อง ข.กขา.รกนารานแาสแงสเงาเงสาี จสังี หจังวหะมวะามจดัาจรดัว่ มร่วกมันกัน ก.รกปู .รทูปรทงมรีง๒มี ม๒ติ มิ ติ ิ ข.รขปู .รทูปรทงมรีง๓มี ม๓ิตมิ ติ ิ ค.กคา.รกทาราทาัศทนัศธนาตธมุาตาุมปารปะกระอกบอกบนั กใหัน้เใกหดิ เ้ กงาดิ นงาทนศั ทนศั ศนลิ ศปลิ์ ป์ ค.รคปู .รทปู รทงไรมง่มไมนี ่ม้าีนหา้นหกั นัก ง.รงูป.รทปู รทงไรมงม่ไมปี ่มรปีิมรามิตราตร ง.กงา.รกแายรแกยสกว่ สนว่ปนรปะกระอกบอขบอขงทองัศทนัศธนาตธุอาตออุกอใหก้ชใหัดช้เจดั นเจน ๕.ส๕ขี .สนั้ ีขท้นั ี่ ๑ที่ ห๑รหือแรือมแ่สมี ไส่ ดี แ้ไดก้แ่สกอี ่สะีอไระบไรา้ บง า้ ง ๑๐๑.ส๐่ิง.แสว่ิงแดวลด้อลมอ้กมับกบั ารกสาร้าสงรส้ารงสรครรง์ าคน์งาทนศั ทนศั ศนลิ ศปิล์มปี ์มี ควคามวาสมั สพัมนั พธนั์กธนั ก์ อันยอา่ งยไา่ รงไร ก.สกนี .สา้ ีนเง้านิ เงนิ สเี ขสยี ีเขวยี วสแี สดแีงดงข.สขเี .หสลเี หือลงอื สงนี ส้าีนเง้าินเงสินมี ส่วมีงว่ ง ก.สกง่ิ .แสวง่ิ แดวลดอ้ ลมอ้เปมน็เปส็นว่ สน่วสนาคสัญาคใัญนกในารกสาร้าสงรคา้ วงคามวาสมขุ สใหขุ ้กใหบั ้กบั ค.สคแี .สดแีงดสงีสส้มีสส้มมี ส่วมีงว่ ง ง.สงแี .สดีแงดสงเี หสลีเหอื ลงือสงนี สา้ ีนเง้าินเงนิ มนมษุ นยษุ ์ ย์ ๖.ส๖ีข.สน้ั ขีทั้นี่ ๒ที่ เ๒กดิ เกจิดากจแากมแ่สมี ๒่สี ส๒ี ผสสี ผมสกมันกในั อในตั อรตัาสร่วาสนว่ น ข.สขงิ่ .แสว่ิงแดวลด้อลม้อทมาทใหา้มใหน้มษุ นยษุ เ์ รยยี ์เนรยีรนู้การรู้กเาปรลเป่ยี ลน่ียแนปแลปงขลองขงอง เท่าเทไร่าไร ธรรธมรรชมาตชิาติ ก. กอ.ัตอตตัรตาสร่วาสน่ว๑น:๑๑:๑ ข. ขอ.ัตอตัตรตาสรว่าสนว่ ๑น:๒๑:๒ ค.สค่ิง.แสว่ิงแดวลดอ้ ลม้อทมาทใหาม้ใหนม้ ษุ นยุษ์มยีก์มารกี ดารารดงาชรวีงชิตีวมติามแตาแ่โบตร่โบาณราณ ค. คอ.ตั อตตัรตาสรว่าสนว่ ๑น:๓๑:๓ ง. อง.ัตอตัตรตาสรว่าสนว่ ๑น:๔๑:๔ ง.สงงิ่ .แสวง่ิ แดวลด้อลม้อทมาทใหา้มใหน้มษุ นยษุ ์เกยิดเ์ กแิดรงแบรงนั บดันาลดใาจลใในจกในารกสารา้สงรส้ารงรสครร์ ค์ งานงาทนศั ทนัศนิลศปลิ์ ป์

๑๓ 137 เฉลย แบบทดสอบหน่วยท่ี ๑ เร่อื ง พืน้ ฐานงานศิลป์ ศ๑.๑ ม.๒/๑ อภปิ รายเกยี่ วกับทัศนธาตใุ นดา้ นรปู แบบและแนวคิดของงานทัศนศลิ ปท์ ่เี ลือกมา ๑. ก ๒. ค ๓. ก ๔. ข ๕. ง ๖. ก ๗. ค ๘. ข ๙. ค ๑๐. ง

แผนการจัดการเรยียนนรรทู้ ู้ท่ี ่ี ๑๑ ๑๑๔๔ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง รูปแบบบขขอองงงงาานนททัศัศนนศศลิ ลิ ปป์ ์ เวเวลลาา ๑๑ชช่ัววั่ โโมมงง กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ รายวชิ า ศ๒๒๒๑๑๐๐๑๑ ททัศศั นนศศิลิลปป์ ์ ชชนั้ ้ันมมัธธั ยยมมศศกึ กึ ษษาาปปีทีท่ี ๒ี่ ๒ ขอบเขตเนอ้ื หา กิจกรรมการเรยี นรู้ สส่อื ือ่ //แแหหลล่งง่เรเรียยี นนรรู้ ู้ ศึกษาคน้ ควา้ ความหมาย ลักษณะรปู แบบ --ออนิ นิ เตเตออรร์เนเ์ นต็ ต็ ของงานทัศนศิลป์ ขนั้ นา --ภภาาพพจจาากกหหนนงั ังสสืออื ตตา่ า่งงๆๆ – รูปแบบเหมือนจริง (Realistic) ๑. ครูสมุ่ สอบถามนกั เรียนถึงรูปแบบของงานนททศั ัศนนศศลิ ิลปป์ท์ทีน่ ่นี ักักเเรรยี ยี นนเเคคยยพพบบเเหหน็ ็นวว่า่า มมีลีลักักษษณณะะออยย่า่างงไไรร --ใใบบคคววาามมรรู้ ู้ – รูปแบบแบบตดั ทอน (Distortion) ๒. ครูสนทนากับนกั เรยี นเพ่อื เชือ่ มโยงความรร้เู ูเ้ กก่ยี ่ยี ววกกบั ับรรูปปู แแบบบบขขอองงงงาานนททัศัศนนศศิลิลปป์ท์ทีเ่ เ่ีกกิดดิ จจาากก ภภาารระะงงาานน//ชชน้ิ ิ้นงงาานน – รูปแบบตามความรสู้ ึก (Abstraction) การแสดงออกทางความงาม --ใใบบงงาานนทท่ี ๑่ี ๑.๑.๑เรเร่ือื่องงรรปู ปู แแบบบบขขอองงงาานนททศั ศันนศศิลิลปป์ ์ ขนั้ สอน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. ครนู าตวั อยา่ งภาพผลงานทัศนศลิ ป์ทีแ่ สดดงงรรูปูปแแบบบบขขอองงงงาานนททัศัศนนศศลิ ิลปป์ใ์ใหห้น้นักกั เเรรยี ียนนสสงั งั เเกกตตคครรู ู ๑. สามารถอภปิ รายรูปแบบและแนวคิดของ อธิบายเก่ยี วกับความแตกต่างของรูปแบบจากกผผลลงงาานน งานทัศนศลิ ปไ์ ด้ ๒. ครยู กตวั อยา่ งผลงานแล้วอธิบายถึงรูปแบบบบขขอองงผผลลงงาานนททัศัศนนศศิลลิ ปป์ท์ท่มี ่มี ีทีทัศัศนนธธาาตตเุ เุปป็น็นสสว่ ว่ นนปปรระะกกออบบ ๒. มที ักษะในการจาแนกรปู แบบงาน สาคญั ทศั นศลิ ปไ์ ด้ ๓. แบ่งนักเรยี นเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน ร่วมมกกนั ันศศึกกึ ษษาาคค้น้นคควว้า้าคคววาามมหหมมาายยลลกั กั ษษณณะะรรูปปู แแบบบบขขอองงงาานน ดา้ นความรู้ ทัศนศิลป์ ลงในแบบจดบันทึกและวาดภาพปปรระะกกออบบตตาามมหหัวัวขข้ออ้ ดดังงั นนี้ ้ี ๑. รปู แบบของงานทศั นศลิ ป์ – รปู แบบเหมอื นจริง (Realistic) ด้านทักษะและกระบวนการ – รูปแบบแบบตัดทอน (Distortioonn)) ๑. การสบื ค้นขอ้ มลู การวเิ คราะห์ – รปู แบบตามความรสู้ ึก (Abstraccttiioonn)) ๒. การเขยี นจาแนกประเภท ๔. แต่ละกลุ่มออกมาอภปิ รายผลการศึกษาคคววาามมหหมมาายยแแลละะจจาาแแนนกกลลักักษษณณะะรรูปปู แแบบบบงงาานนททศั ศั นนศศิลิลปป์ ์ คณุ ลักษณะ โดยสรา้ งสรรค์แผนผังความคิด ครคู อยอธบิ าายยเเสสรริมิมถถงึ งึ กกาารรสส่ืออ่ื คคววาามมหหมมาายยททีแ่ แี่ สสดดงงออออกกมมาาใในนผผลลงงาานน ๑. มวี นิ ยั ขั้นสรุป ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ๑.ครูและนกั เรยี นร่วมกันบรรยายสรปุ เรื่อง รรูปปู แแบบบบขขอองงงงาานนททัศัศนนศศลิ ิลปป์ ์ททเี่ เี่กกดิ ดิ จจาากกสส่วว่ นนปปรระะกกออบบขขอองง เจตคติ ทัศนธาตซุ ่งึ มีความสาคัญตอ่ การถ่ายทอดควาามมคคดิ ิดจจินินตตนนาากกาารรใในนรรูปูปแแบบบบตต่า่างงๆๆขขอองงผผลลงงาานนททัศัศนนศศิลลิ ปป์ ์ โดยครคู อยให้ความรเู้ สริมในส่วนทนี่ ักเรยี นไมม่เเ่ ขขา้ ้าใใจจหหรรืออื สสรรุปปุ ไไมม่ตต่ รรงงกกับบั จจุดุดปปรระะสสงงคค์กก์ าารรเเรรยี ยี นนรรู้ ู้ มีสนุ ทรยี ภาพและศลิ ปะนิสยั ท่ดี ี 11844

๑๕ 159 การวัดและประเมนิ ผล วิธกี าร เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ เกณฑ์ ส่งิ ท่ตี ้องการวดั /ประเมิน ๑.ดา้ นความรู้ ทดสอบวดั ความรู้ แบบทดสอบ - ทาแบบทดสอบได้ รอ้ ยละ ๖๐ ขน้ึ ไป แผนผังความคดิ ๒.ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ประเมินทกั ษะ แบบประเมิน - มีทกั ษะอยู่ในระดับคณุ ภาพ ดี ขึ้นไปรอ้ ยละ ๘๐ ๓.ดา้ นคณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกต - มีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ อยู่ในระดับคณุ ภาพดขี ้ึน ไป ร้อยละ ๘๐ ๔. เจตคติ สงั เกต แบบสังเกต - มีเจตคติ อยใู่ นระดบั คุณภาพดีขึน้ ไป ร้อยละ ๘๐ มสี ุนทรียภาพและศลิ ปะนิสยั ท่ีดี บันทึกผลหลงั สอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ปญั หาและอุปสรรค ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันที่..........เดอื น..........พ.ศ. ............ ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผทู้ ไี่ ดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................ผูต้ รวจ (.......................................................) วนั ท่.ี .........เดือน..........พ.ศ. ...........

๑๑๖๖ 11606 ใบใบควคาวมามรู้ร๑ู้ ๑.๑.๑เรเ่ือรงอื่ งรปูรปูแบแบบขขององางนานททัศนัศนศลิศปลิ ป์ ์ หหนนว่ ย่วกยากราเรรเียรนยี นรทู้รทู้่ี ี่๑๑เรเอ่ืรง่ืองพพ้นื นื้ฐาฐนานสรสา้รง้าศงลิศปิลป์ ์ รารยาวยิชวชิาาศ๒ศ๒๒๑๑๐๐๑๑ททัศนศั นศลิศปิลป์ ์ ชชัน้ ั้นมมธั ยธั มยมศึศกษึกษาปาปีทีท่ ๒ี่ ๒ ..................................................................................................................................................................... รูปรูปแบแบบขขององางนานททศั นศั นศิลศปิลป์แบ์แบ่งเ่งปเปน็ ็น๓๓รปูรปูแบแบบ ๑๑.๑.๑รปู รูปแบแบบเหเหมมือนือนจรจงิ ริง(R(eRaelaislitsitci)c) หหมามยาถยึงถงึ กากราสรรส้ารง้างงางนานทที่เหีเ่ หมือมนือนจรจิงรดิงงัดทงั ท่ปี ่ีปรารกาฏกฏอยอูใ่ยนู่ในธรธรมรชมาชตาิตโิดโยดยึดยหึดหลกัลกั ากราสรรส้ารงา้ สงรสรคร์คแ์ ลแะลกะากรานรนาเาสเนสนออ ดังดทังทต่ี า่ีตมาอมงอเงหเห็น็นเชเน่ช่นกากราเรขเยีขนียนภภาพาพคนคนเหเหมือมนือนภภาพาพสัตสวตั ์วภ์ ภาพาพททิวทิวทัศนัศน์ ภ์ ภาพาพหหุ่นนุ่ น่ิงใงิ่ นในงางนานจติจรติ กรรกรมรมกากราปรปน้ั นั้ กากราแรกแะกสะลสักลักแลแะลกะากราหรหลอ่ลร่อปูรปูบบุคคุ ลคสลาสคาัญคญั ทท่ี ท่ีาเาปเปน็ น็อนอนสุ าุสวารวียร์ใียนใ์ นงางนานปประรตะิมตาิมการกรมรมเปเป็นน็ต้นต้น กากราสรรสา้รงา้ สงรสรคร์งคา์งนานททัศนัศนศลิศปิลป์รูปร์ ูปแบแบบเหเหมือมนอื นจรจิงริงเปเป็น็นกากรานรนาทาทัศนศั นธาธตาตุ ่าุตง่าๆงๆมามสารสา้รง้าสงรสรคร์คโ์ดโยดกยากราจรดัจัด องอคง์ปค์ประรกะอกบอบศลิศปิลป์ แ์ สแดสงดรงารยาลยะลเะอเียอดยี ขดอขงอผงลผงลางนานใหใหเ้ หเ้ หมือมนือนจรจิงรดงิ ังดทังทตี่ าี่ตมาอมงอเงหเหน็ น็ เชเน่ช่นงางนานจิตจริตกรรกรมรม ทมี่ทามี่ :าh: thttptsp:/s/:/s/itseitse.gs.ogogolgel.ec.ocmom/s/itseit/er/urpubpabeabelbaleaaenaaneawew/r/urpu-pb-abeabe-bla-leaae-an-aneawewkhkihdi-dn-in-ni-gnagna-nth-tahsans-ns-ilspilp ช่อืชภ่อื ภาพาพพพระรบะบาทาทสมสเมดเ็จดพ็จพระรเะจเา้จอ้ายอูห่ยู่หัววั เทเทคนคนิคิคดินดนิสอสถอ่าถน่านชาชโาคโลคแลลแะลสะชีสอชี ลอ์กลบก์ บนนกรกะรดะาดษาษ ผลผงลางนานขอขงอศงักศดักิว์ดุฒ์วิ ุฒิวเิวศเิ ษศษมณมณี ี ผลผงลางนานจติจริตกรรกรมรคมนคนเหเหมือมนือนสือ่สคือ่ วคาวมาหมหมามยาย ใชใโ้ชทโ้ ทนนสีขสอีขงอภงภาพาพเปเปน็ น็สนีสีนา้ ต้าาตลาลโดโยดนยนาทาทัศนศั นธาธตาตุ ่าตุ งา่ ๆงๆมามใาชใ้ใชนใ้ นกากราสรรสา้รง้าสงรสรครผ์คลผ์ งลางนานไดไ้อดย้อ่ายง่ากงลกมลกมลกนืลืนนา่ สา่ นสนใจใจ โดโยดเยฉเพฉพาะากะากรานรนาเาสเน้สน้โคโง้คล้งกัลษักษณณะตะ่าตงา่ ๆงมๆามถา่าถยา่ ทยทอดอรดปูรปูรา่รงา่ งรูปรูปททรงรขงอขงอบงบคุ คุ ลคไลดไ้อดย้อา่ยงา่ เงหเหมือมนือนจรจงิริงมีขมนีขนาดาด สดัสสดั ่วสน่วนทที่ถูก่ีถตูกอ้ตงอ้ ชงัดชเดั จเนจนกากราจรัดจวัดาวงาภงภาพาพบบนนบบริเรวิเณวณว่าวง่าทงทาไาดไ้อดย้อ่ายงา่ เงหเหมามะาสะมสแมสแงสเงเางแาลแะลสะีสมี กีมากี ราใรชใค้ช่าค้ นา่ น้าหา้ หนนักสักทีสีท่ ่ี ดกูดลกู มลกมลกืนลืนศลิศปิลปนิ นิ นาพาพนื้ ้นืผวิผมวิ ามใาชใใ้ชน้ในกากราเรนเน้ น้พพนื้ ื้นหหลงัลขังอขงอภงภาพาพททาใาหใหภ้ ้ภาพาพทท่ใี หีใ่ ห้คว้คาวมารมสู้รึกู้สนกึ นิง่ ๆิ่งๆกลกบัลบัดเูดคเู ลคอ่ืลนื่อนไหไหวว แลแะลมะีเมรีเื่อรงื่อรงารวามวามกายกิ่งยข่งิ ึ้นข้ึน

๑๗ 171 งานประตมิ ากรรม ทมี่ า: https://sites.google.com/site/rupbaeblaeanaew/rup-baeb-laea-naewkhid-ni-ngan-thasn-silp ช่ือผลงาน ปา้ อิน เทคนคิ ปนู ปลาสเตอร์ ผลงานของไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ ผลงาน ประติมากรรมลอยตัว สือ่ ความหมาย เปน็ ผลงานคนเหมือน รปู ผู้หญิงสูงวยั ศิลปินได้นาทัศนธาตุตา่ งๆมาใชใ้ นการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ใหม้ ีลกั ษณะเหมอื นจรงิ มากที่สดุ มีการนาเส้นโค้งลักษณะต่างๆ มาถ่ายทอดรูปร่าง รปู ทรงของบุคคลและ แสดงรายละเอยี ดต่างๆผลงานนมี้ ีขนาดและสัดส่วนทีถ่ ูกต้องชัดเจน มีลักษณะพ้นื ผวิ ทเ่ี หมือนจรงิ ดจู ากผวิ เนื้อ มีการขดั และตกแต่งจนเรียบ สว่ นเสือ้ ผ้ามีลักษณะพนื้ ผิวที่หยาบกวา่ ทาให้ผลงานมีความเดน่ ชดั และให้อารมณ์ ความรสู้ ึกมากยงิ่ ข้นึ

๑๘ 128 ๑.๒ รปู แบบแบบตัดทอน (Distortion) รูปแบบแบบตดั ทอน (Distortion) หมายถึง การสร้างสรรค์งานศิลปะในลักษณะบดิ เบอื นไปจากของจริง โดยจะให้ความสาคัญกับรปู แบบที่เหมือนจริงนอ้ ยลง แต่ให้ความสาคัญกบั รปู แบบจากความคิดของศลิ ปินมากขึ้น เพอ่ื สื่อความงามในการรบั รูใ้ หเ้ ขา้ ใจง่ายและรวดเร็ว การสร้างสรรคง์ านทัศนศิลปร์ ูปแบบแบบตดั ทอน เปน็ การ นาทัศนธาตุมาจัดองค์ประกอบศลิ ป์ของผลงาน โดยการบดิ เบือนไปจากของจรงิ ตามความคิดสร้างสรรคข์ องศลิ ปิน เพือ่ ส่ือความงามในการรบั รู้ให้เข้าใจงา่ ยและรวดเรว็ เช่น ที่มา: https://sites.google.com/site/rupbaeblaeanaew/rup-baeb-laea-naewkhid-ni-ngan-thasn-silp ชอ่ื ผลงาน ดอกไม้ เทคนิค สนี ้ามนั บนผา้ ใบ ผลงานของศาสตราจารย์สวสั ด์ ตันติสุข ผลงาน จติ รกรรม สอื่ ความหมาย เปน็ ผลงานจติ รกรรมหุ่นนิ่งในรปู แบบตัดทอน ศลิ ปนิ สร้างสรรค์ผลงานด้วยทัศนธาตตุ ่างๆไดอ้ ย่างกลมกลนื นา่ สนใจ โดยเฉพาะการใช้เส้นในการตดั ทอนรปู ร่าง รูปทรงของหุน่ น่ิงใหม้ รี ปู แบบตดั ทอนการจดั วางภาพ ลงบนบริเวณว่างทาได้อย่างเหมาะสม ขนาด สัดสว่ นของภาพกับผืนผา้ ใบมกี ารจัดวางได้อยา่ งสมดลุ เชน่ กัน แสงเงาและสีของผลงานมกี ารใช้ค่านา้ หนักของสีท่ีดกู ลมกลนื กนั มกี ารนาสีข้างเคยื งมาใช้ในการสร้างสรรค์ ผลงานทาใหภ้ าพดูกลมกลนื ด้วยสี นอกจากนย้ี งั ถา่ ยทอดลักษณะพน้ื ผวิ ดว้ ยรอยเชงิ ฝแี ปรงของเส้นและสี

๑๙ 1139 งานประติมากรรม ทม่ี า: https://sites.google.com/site/rupbaeblaeanaew/rup-baeb-laea-naewkhid-ni-ngan-thasn-silp ช่อื ผลงาน แม่กบั ลูก เทคนิค ประตมิ ากรรมปูนปลาสเตอร์ ผลงานของสุวิช สถติ วิทยานันท์ ผลงาน ประตมิ ากรรมลอยตัว สื่อความหมาย เป็นผลงานประติมากรรมในรูปแบบตัดทอน รูปแม่กับลูก ศิลปนิ ถ่ายทอดผลงานดว้ ยทศั นธาตุตา่ งๆ ที่เหน็ ได้ อยา่ งชัดเจนคือรปู ร่าง รปู ทรง ท่มี กี ารตัดทอนรายละเอยี ด แสดงเสน้ รอบนอกดว้ ยเสน้ โค้งลกั ษณะต่างๆ ได้อยา่ ง กลมกลืนและสอดคล้องกนั ขนาด สัดส่วนของผลงานกส็ ัมพันธก์ นั เป็นอย่างดี สว่ นสขี องผลงานนั้นเปน็ สีขาว ซึ่งเป็นสขี องวสั ดทุ ใี่ ช้ในการสร้างสรรค์คือปูนปลาสเตอร์ เป็นการส่อื ความหมายถึงความรักอนั บรสิ ุทธ์ิระหวา่ งแม่ กับลูก ในสว่ นของพ้ืนผวิ จะมีลกั ษณะผวิ เรียบ ละเอียด แสดงถงึ ความนุน่ นวล ละมุนละไมใหค้ วามรสู้ ึกปลอดภัย น่าทะนุถนอม

๒๐ 2140 ๑.๓ รปู แบบตามความร้สู ึก (Abstraction) หมายถงึ การสรา้ งสรรคง์ านศิลปะท่ีไมม่ รี ปู แบบและเร่ืองราวเหมอื นจริง แต่มงุ่ แสดงอารมณ์ความรสู้ กึ ของ ศิลปนิ ท่ถี ่ายทอดลงในผลงานการสรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลป์รูปแบบตามความรู้สึก เปน็ การนาทศั นธาตมุ าใชใ้ น การจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์และกระตนุ้ ให้เกิดอารมณ์ความรู้สึกเช่น ความสนุกสนาน ความตื่นเต้น ความน่ากลวั ความเศรา้ ความสับสน ความรอ้ นแรง ความรัก เป็นตน้ ที่มา: https://sites.google.com/site/rupbaeblaeanaew/rup-baeb-laea-naewkhid-ni-ngan-thasn-silp ชอ่ื ผลงาน เปลย่ี นแปลง เทคนิค สีน้ามันบนผา้ ใบ ผลงานของรุง่ ศกั ด์ ดอกบวั ผลงาน จิตรกรรม ส่อื ความหมาย เปน็ ผลงานจติ รกรรมในรูปแบบตามความรสู้ ึก ศลิ ปินได้นาทัศนธาตตุ ่างๆมาใชใ้ นการ สรา้ งสรรคผ์ ลงานดว้ ยสี รูปรา่ ง รปู ทรง อิสระ ไมม่ รี ปู แบบที่ตายตัว ให้ความร้สู ึกเคลื่อนไหว ต่ืนตาตืน่ ใจ และแสดงถึงความเปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา ศิลปนิ ผสมผสานทศั นธาตๆุตไา่ ดงอ้ ๆย่าไงดก้อลยมา่ กงกลลืนมโกดลยืนยดึ ความเป็น เโอดกยภยาดึ พความเป็นเอกภาพ

๒๑ 2151 งานประตมิ ากรรม ที่มา: https://sites.google.com/site/rupbaeblaeanaew/rup-baeb-laea-naewkhid-ni-ngan-thasn-silp ชอื่ ผลงาน ชวี ิตและศรัทธา เทคนิค ประตมิ ากรรมหลอ่ โลหะ ผลงานของเข็มรัตน์ กองสขุ ผลงาน ประตมิ ากรรมลอยตัว สอื่ ความหมาย เปน็ ผลงานประติมากรรมในรูปแบบตามความรู้สึก ที่ทาให้ผชู้ มใชจ้ นิ ตนาการและความรู้สกึ ดว้ ยตนเอง ศลิ ปนิ ถ่ายทอดผลงานด้วยทศั นธาตตุ า่ งๆทเ่ี หน็ ไดอ้ ย่างชดั เจนคอื รปู รา่ ง รปู ทรง และบรเิ วณวา่ ง ทม่ี ีรปู แบบ ตามความร้สู ึก แสดงเส้นรอบนอกดว้ ยเสน้ โค้งและเส้นตรงไดอ้ ยา่ งกลมกลนื และสอดคลอ้ งกนั ขนาด สัดสว่ น ของผลงานกส็ ัมพันธ์กนั เป็นอย่างดี ดมู ีความมั่นคง สว่ นสขี องผลงานนนั้ เป็นสแี ท้ของวัสดุ ศิลปินได้นาบริเวณ ว่างมาสรา้ งจุดสนใจในผลงาน โดยการเจาะจงผลงานใหเ้ กดิ บรเิ วณวา่ ง

๒๒ 2126 ตตวั วั ออยยา่ า่ งงรรูปูปแแบบบบกกาารรเเขขียียนนแแผผนนผทงั ค่ี คววาามมคคิดดิ ทีม่ า : http://www.mindmapinspiration.com

๒๓ 2137 ใบงานท่ี ๑.๑ เร่ือง รปู แบบของงานทัศนศิลป์ รหสั วิชา ศ๒๒๑๐๑ รายวิชา ทัศนศิลป์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนเขียนแผนผังความคดิ สรปุ ความรู้เรือ่ งรปู แบบงานทศั นศิลป์ แสดงใหเ้ หน็ ความสาคัญของรูปแบบงานทัศนศลิ ปแ์ ละ มีทักษะในการจาแนกรปู แบบงานทัศนศิลป์ได้ รปู แบบของงาน ทศั นศิลป์

๒๔ 2184 เกณฑ์การประเมนิ การเขียน Mind Mapping สง่ ผลความคิดวจิ ารณญาณ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ รูปแบบของงานทศั นศิลป์ กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ รหัสวชิ า ศ๒๒๑๐๑ รายวิชาทัศนศิลป์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ คาช้แี จง การประเมินการเขยี น Mind Mapping การประเมนิ ผลผลติ เป็นการวดั ผลงาน (Product) พัฒนาตามแนวคดิ ของ สุวิมล วอ่ งวาณิช (๒๕๔๗) โดยมีรายการท่ีประเมนิ คือ Mind Mapping การสืบคน้ เกี่ยวกับความคดิ เรอื่ งความรอบรูศ้ ิลปะและตอบคาถาม ระบทุ ่ีมาของข้อมูล และมีการแสดงความคดิ เหน็ เพ่ิมเติมแสดงออกถงึ ความคดิ วิจารณญาณ รายการประเมิน ชอื่ -นามสกลุ เขียนเนื้อหาได้ แยกแยะ เสร็จ แก้ปญั หา มีราย รวม ถูกต้องครบถว้ น เนอ้ื หาได้ ตามเวลา ได้ ละเอียดตกแต่ง เข้าใจง่าย (๑คะแนน) (๑คะแนน) น่าสนใจ สมบรู ณ์ (๑คะแนน) (๑คะแนน) (๑คะแนน) ๑. ระดับคะแนน ๕ คะแนน คุณภาพดีมาก ๒. ระดับคะแนน ๔ คะแนน คุณภาพดี ๓. ระดบั คะแนน ๓ คะแนน คุณภาพพอใช้ ๔. ระดบั คะแนน ๑ – ๒ คะแนน คุณภาพควรปรับปรุง ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑ์การประเมิน

๒๕ 2159 แบบสงั เกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ รปู แบบของงานทศั นศิลป์ กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ รหัสวิชา ศ๒๒๑๐๑ รายวิชาทศั นศลิ ป์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ข้อท่ี ๔ ใฝเ่ รยี นรู้ พฤติกรรมบง่ ช้ี ตวั ชี้วดั และพฤติกรรมบง่ ช้ี ๔.๑.๑ ตง้ั ใจเรยี น ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมคี วามเพยี รพยายามในการเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ัด ๔.๑.๓ สนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรตู้ ่างๆ ๔.๑ ต้ังใจ เพียรพยายามในการเรยี น ๔.๒.๑ ศึกษาคน้ ควา้ หาความรจู้ ากหนงั สือ เอกสาร สิง่ พมิ พ์ สื่อเทคโนโลยตี ่างๆ และเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ แหล่งเรียนร้ทู ัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น และเลอื กใช้สอ่ื ได้อยา่ งเหมาะสม ๔.๒ แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรู้ ๔.๒.๒ บนั ทึกความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบจากสง่ิ ท่ีเรยี นรู้ สรปุ เปน็ องค์ความรู้ ตา่ งๆ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียน ๔.๒.๓ แลกเปลีย่ นเรยี นรดู้ ว้ ยวิธกี ารตา่ งๆ และนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน ดว้ ยการเลือกใช้ส่ืออย่างเหมาะสม บนั ทกึ ความรู้ วิเคราะห์ สรปุ เปน็ องค์ ความรู้ แลกเปลยี่ นเรียนรู้ และนาไปใช้ ในชวี ิตประจาวันได้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน (ใช้ขอ้ มูลจากการสงั เกตตามสภาพจรงิ ของครผู ูส้ อน) พฤติกรรมบง่ ช้ี ไม่ผา่ น (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดเี ยยี่ ม (๓) ตามขอ้ ๔.๑ – ๔.๒ ไม่ตัง้ ใจเรียน เขา้ เรียนตรงเวลา เขา้ เรียนตรงเวลา เข้าเรยี นตรงเวลา ไม่ศกึ ษาค้นควา้ หา ตง้ั ใจเรยี น เอาใจใสใ่ น ตั้งใจเรยี น เอาใจใส่ใน ตงั้ ใจเรียน เอาใจใส่ใน ความรู้ การเรยี น และมสี ว่ น การเรยี น และมสี ่วน การเรยี น และมีส่วน รว่ มในการเรยี นรู้ รว่ มในการเรยี นรู้ รว่ มในการเรียนรู้ และเขา้ รว่ มกจิ กรรม และเขา้ ร่วมกจิ กรรม และเขา้ ร่วมกิจกรรม การเรยี นร้ตู า่ งๆ เปน็ การเรยี นรตู้ า่ งๆ การเรยี นร้ตู ่างๆ ทั้ง บางครัง้ บ่อยครงั้ ภายในและภายนอก โรงเรียนเป็นประจา

๒๖ 260 แบบสังเกตเจตคติ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ รูปแบบของงานทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ิลปะ รหสั วชิ า ศ๒๒๑๐๑ รายวชิ าทัศนศิลป์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๑.มสี นุ ทรยี ภาพและศิลปะนิสัยท่ดี ี ระดับคุณภาพ ขอ้ ตวั บ่งชี/้ รายการพฤติกรรม ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ รวม ๑ ชอบและเห็นคุณคา่ ของศลิ ปะ ๒ เขา้ ร่วมกจิ กรรมด้านศิลปะ อย่างมคี วามสขุ ๓ สร้างสรรคผ์ ลงานด้านศลิ ปะ ๔ นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวนั ยอดรวม เกณฑ์ในการพจิ ารณา ระดบั ๕ หมายถึง ปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ไม่มีผแู้ นะนาและสามารถชวนเพ่ือนปฏบิ ัติ ระดบั ๔ หมายถงึ ปฏิบัติไดด้ ้วยตนเองโดยไม่มีผแู้ นะนา ระดับ ๓ หมายถึง ปฏบิ ัติได้ด้วยตนเองเป็นสว่ นใหญ่ และมีผ้ใู หค้ าแนะนาเปน็ บางครงั้ ระดบั ๒ หมายถึง ปฏิบัติไดด้ ้วยตนเองเป็นบางครง้ั และมผี ใู้ หค้ าแนะนาเป็นส่วนใหญ่ ระดับ ๑ หมายถงึ ปฏิบตั ิโดยมีผูใ้ ห้คาแนะนาในการปฏบิ ัติทุกครัง้ **(มาตรฐานที่ ๑ ผูเ้ รยี นมภี าวะท่ดี แี ละมสี ุนทรียภาพตัวบ่งชี้ท่ี ๑.๖ ข้อ ๑.๖.๑ ชอบและเหน็ คุณค่าของศิลปะ)

๒๗ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ เร่ือง เรียนรู้วธิ กี ารถ่ายทอดแนวคดิ ในงานทศั นศิลป์ ขอบเขตเนือ้ หา รายวชิ า ศ๒๒๑๐๑ ทศั นศิลป์ ศกึ ษาประวัติและผลงานของศิลปินและ สามารถอธบิ ายความสาคญั ของวธิ กี าร กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหลง่ เรียนรู้ ถ่ายทอดแนวคิดในงานทัศนศิลป์ ข้ันนา - ใบความรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑.ครสู มุ่ สอบถามนักเรียนวา่ วิธกี ารถา่ ยทอดแนวคิดในงานทัศนศิลปม์ ี - อินเตอร์เนต็ ๑. เข้าใจวิธีการถา่ ยทอดแนวคิดใน มวิธีวกีิธกีาราอรอะไะรไบรบ้างา้ เงพเพื่อื่อปประรเะมเมินนิคควาวมามรคู้รู้ควาวมามเขเข้าใ้าจใจ - ภาพจากหนังสอื ต่างๆ งานทัศนศิลป์ได้ ขัน้ สอน ภาระงาน/ชิน้ งาน ๒. อธิบายเหน็ ถึงความสาคญั ของวธิ กี าร ๑. ครยู กตวั อย่างวิธกี ารถา่ ยทอดแนวคิดในงานทัศนศิลปว์ า่ สามารถทา ใบงาน ท่ี ๑.๒ เรื่อง วิธกี ารถ่ายทอดแนวคิดใน ถ่ายทอดแนวคดิ ในงานทัศนศลิ ปแ์ ละ ได้ ๒ วิธี ไดแ้ ก่ การใชผ้ ังความคดิ หรือผงั มโนทัศน์และการกาหนดช่อื ปฏบิ ัติกจิ กรรมดว้ ยความสนุกสนาน เร่อื ง งานทัศนศิลป์ (แบบสรปุ ความคิดกกลลมุ่ ่มุ )) ดา้ นความรู้ ๒. แบ่งนกั เรยี นเปน็ กลมุ่ กลุม่ ละ ๕ คน รว่ มกนั ปฏิบัติวิธีการถ่ายทอด ๑. วธิ ีการถ่ายทอดแนวคดิ ในงาน แนวคิดในงานทัศนศิลป์ ลงในแบบจดบันทกึ และวาดภาพประกอบ ทศั นศลิ ป์ งตาานมทหัศวั นขศ้อิลดปงั น์ ล้ี งในแบบจดบันทกึ และวาดภาพประกอบตามหวั ข้อดงั น้ี ด้านทักษะและกระบวนการ – การใช้ผังความคดิ หรือผังมโนทศั น์ ๑. การสืบค้นข้อมลู การวิเคราะห์ – การกาหนดชอ่ื เรื่อง ๒. การเขียนจาแนกประเภท ๓. แต่ละกลมุ่ ออกมาอภิปรายผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม ตามวิธีการ คณุ ลกั ษณะ ถา่ ยทอดแนวคิดในงานทศั นศิลป์ โดยครคู อยอธิบายเสรมิ ความเข้าใจ ๑. มวี นิ ัย ของนักเรยี น ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ขนั้ สรปุ ๑.ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั บรรยายสรปุ เร่อื ง วธิ ีการถ่ายทอดแนวคดิ ใน งานทัศนศิลป์ โดยครูคอยให้ความรเู้ สริมในสว่ นท่ีนกั เรียนไม่เข้าใจหรือ สรุปไม่ตรงกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 271

๒๘ 228 การวัดและประเมินผล สิ่งทต่ี ้องการวดั /ประเมิน วธิ กี าร เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์ ๑.ด้านความรู้ ทดสอบวดั ความรู้ แบบทดสอบ - ทาแบบทดสอบได้ ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป แผนผงั ๒.ด้านทักษะ/กระบวนการ ความคิด ๓.ด้านคุณลกั ษณะ ประเมนิ ทักษะ แบบประเมิน - มีทักษะอยู่ในระดับคณุ ภาพ ดี ขึ้นไปร้อยละ ๘๐ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต -มคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับ คณุ ภาพดีขน้ึ ไป ร้อยละ ๘๐ บนั ทึกผลหลงั สอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ลงช่อื ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันท่.ี .........เดอื น..........พ.ศ. ............ ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารหรือผู้ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ลงชือ่ ......................................ผ้ตู รวจ (.......................................................) วันท่.ี .........เดอื น..........พ.ศ. ...........

๒๙ 2239 ใบความรู้ ที่ ๑.๒ เรื่อง เรียนรู้วิธีการถ่ายทอดแนวคดิ ในงานทศั นศิลป์ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๑ เรอื่ ง พ้ืนฐานสรา้ งศลิ ป์ รหัสวชิ า ศ๒๒๑๐๑ รายวชิ าทศั นศลิ ป์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ............................................................................................................................................................... แนวคดิ ในงานทศั นศิลปเ์ กดิ จากเหตุผล งานทัศนศิลปเ์ ป็นสงิ่ ที่มนุษย์สร้างสรรคข์ ้นึ จากความคิด ความรู้สกึ และความประทบั ใจในแงม่ ุมตา่ งๆ อนั เป็นเหตุผลให้เกดิ รูปแบบและวิธกี ารในการถ่ายทอดเป็นผลงานทศั นศิลป์ ซึง่ เกดิ จากเหตผุ ลหลกั ๆ ดังนี้ ๑. ถ่ายทอดเลียนแบบธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม เช่น ท่ีมา : https://sites.google.com/site/rupbaeblaeanaew/rup-baeb-laea-naewkhid-ni-ngan-thasn-silp ช่อีื ผลงาน ลูกม้า ชอ่ื ผลงาน ลกู มา้ เทคนคิ ประติมากรรมปูนปลาสเตอรเท์ คนิค ประตมิ ากรรมปนู ปลาสเตอร์ ผลงานของ ไพฑูรย์ เมอื งสมบูรณ์ ผลงานของไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ ผลงาน ประตมิ ากรรมลอยตวั ผลงาน ประตมิ ากรรมลอยตวั สอื่ ความหมาย สอ่ื ความหมาย เป็นผลงานประติมากรรมท่ีเกิดจากความประทบั ใจในทว่ งท่า และลีลาในการทาความสะอาดตวั เองของลูกม้า

๓๐ 2340 ๒ เก.ิดแจรากงบคเกวนั าดิ ดมจาเาชลคือ่ ใวจาคมวเาชม่อื ศครทัวาธมาใศนรเัทรธือ่ างในดเร่ือง๒ใหด.นเแร่ึง่ือรเงงชบห่นันนชดึง่ าาเตลชิใ่นศจาชสานตาิ ศเาทสพนเาจา้เทกพษเจตั า้ริยก์ ษเปัต็นรติยน้์ เปแน็ ลต้ว้นเกแดิ ลค้ววเากมดิ ความ มุง่ มน่ั ในการสร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะเพือ่ อทุ ิศถวายในสง่ิ ท่ีตนเคารพบชู า รูปแบบในการถ่ายทอดอาจเปน็ ผลงาน ทีเ่ หนือผจลากงาคนวทามี่เหเปนน็ ือจรางิกคซว่ึงาเกมดิ เปจน็ากจจรนิงตซน่ึงเากกิดาจราหกรจือนิ คตวนาามกเาชร่ือหในรือแคบวบาอมุดเชมื่อคใตนิ เแชบน่ บอดุ มคติ เช่น ที่มา : https://sites.google.com/site/rupbaeblaeanaew/rup-baeb-laea-naewkhid-ni-ngan-thasn-silp ชเท่ือคผนลคิงาสนนี ข้�ำอบจนงกทรระงดพารษะเชจรอื่ ญิผลยง่ิงายเนืนทนคขานอนจคิ งสทีนร้างพบรนะกเรจะรดิญายษ่งิ ยนื นาน ผลงานของ เกรกิ บรุ ะ ยมนาค ผลงานของเกริกบรุ ะ ยมนาค ผลงาน จิตรกรรม ผลงาน จิตรกรรม สื่อความหมาย ส่ือความหมาย เป็นผลงานจิตรกรรมท่ีไดร้ บั แรงบันดาลใจมาจากความรกั ความจงรักภักดี และความศรัทธา ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดช

๓๑ 2351 ๓. สญั ลกั ษณ์หรอื สิ่งแทน ๓. สัญลกั ษณ์หรือส่งิ แทน เ กดิ จากคเวกาิดมจตาอ้กงคกวาารมสต่ือ้อสงากราเรพส่อื ่อื ใหสา้ผรูช้ เมพผือ่ ลใหงา้ผนูช้ ไมดผเ้ ขล้างใาจนใไนดค้เขวา้ ใมจหใมนาคยวทาม่ตี ห้องมกาายรทสต่ี ่ืออ้ เงปก็นารกสาอ่ืรเชเป่ือ็นมกโยางรเช่ือมโยง ความคดิ สร้างสรรค์กับส่ิงทต่ี ้องการสอ่ื ความหมาย โดยมรี ปู แบบเป็นสญั ลกั ษณห์ รอื สง่ิ แทน เชน่ ท่ีมา : https://sites.google.com/site/rupbaeblaeanaew/rup-baeb-laea-naewkhid-ni-ngan-thasn-silp ช่อื ผลงาน การลา่ สตั ว์ปกี ชื่อผลงาน การล่าสตั วป์ กี เทคนคิ จิตรกรรมปนู เปียก เทคนิค จิตรกรรมปูนเปยี ก ผลงาน จติ รกรรม ผลงาน จิตรกรรม สื่อความหมาย สื่อความหมาย เปน็ ผลงานจิตรกรรมฝาผนงั ศิลปะอียปิ ต์ มลี ักษณะการแสดงออกทางสญั ลักษณ์สอ่ื ส่งิ แทน เพื่อแสดง ความสาคญั ของฐานะบุคคล ด้วยขนาด สดั ส่วน เชน่ ภาพยนตรห์ รือฟาโรหจ์ ะมขนาดใหญท่ ่ีสุด ทม่ี า : https://sites.google.com/site/rupbaeblaeanaew/rup-baeb-laea-naewkhid-ni-ngan-thasn-silp วีนัสแหง่ วิลเลนดอรฟ์ (Venus of Willendrof) สัญลกั ษณแ์ ทนความอุดมสมบูรณ์ เพศแม่ การเกิด

๓๒ 3226 วิธกี ารถา่ ยทอดแนวคิดในงานทัศนศลิ ป์ การถา่ ยทอดแนวคิดในงานทัศนศิลปส์ ามารถทาได้ ดงั น้ี ๑. การใ๑ช้ผ. กงั คารวใาชม้ผคงั ดิ คหวราือมผคังดิ มหโรนือทผัศงั นม์โเนปทน็ ศักนระ์ เบปวน็ นกกราะรบควดิ นวกิธาีหรนค่ึงดิ วทิธี่แีหสนดึง่ งใทหีแ่ เ้ สหดน็ งภใาหพเ้ หร็นวมภขาอพงรคววมาขมอคงิดคใวนากมาครดิ ในการ สรา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะ โดยแสดงความสัมพนั ธ์ของส่ิงต่างๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องกนั ตัวอย่าง เชน่ ทมี่ า : https://preede.wordpress.com/2011/09/11/%E0% จากผงั ความคิดได้แสดงประเด็นหัวขอ้ ที่เกย่ี วขอ้ งเพ่ือช่วยในการตดั สนิ ใจว่า ควรจะเลอื กปฏบิ ตั ิการสร้างสรรค์ งานประเภทใด เช่น งานเขยี นภาพ งานป้นั –แกะสลัก งานประดษิ ฐส์ รา้ งสรรค์ เปน็ ตน้ เป็นการสอื่ หรือ ถา่ ยทอดให้ทราบและตัดสินใจไดง้ ่ายข้นึ ๒. การก๒าห. นกาดรชก่ือ�ำเหรือ่นงดชท่อืาเใรหื่อ้สงามทา�ำรใหถตส้ ดัามสาินรใถจตไดดั ว้ ส่านิ คใวจรไสดรว้ า้่ งคสวรรรสคร์ผา้ ลงสงารนรคในผ์ ลกังาษนณในะใลดักษเชณน่ ะกใดารเชขน่ียนกภาารพเขียนภาพ การปน้ั –แกะสลกั การประดิษฐส์ ร้างสรรค์ เปน็ ตน้ แลว้ เปรียบเทยี บความแตกต่างของการส่ือความหมาย ส่ือ วัสดุอปุ กรณ์และเทคนิค วิธีการแสดงออก

๓๓ 2337 ใบงาน ท่ี ๑.๒ เรอ่ื ง เรียนรู้วธิ กี ารถา่ ยทอดแนวคิดในงานทัศนศิลป์(แบบสรปุ ความคดิ กลุ่ม) หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรื่อง พ้ืนฐานสรา้ งศลิ ป์ รหัสวชิ า ศ๒๒๑๐๑ รายวิชา ทศั นศิลป์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั ในกลุ่มสืบค้นข้อมลู เร่ืองเรียนรู้วธิ กี ารถ่ายทอดแนวคิดในงานทัศนศิลป์ แลว้ จดลงในแบบจดบนั ทึกและวาดภาพประกอบตามหวั ข้อดงั นี้ – การใชผ้ งั ความคิดหรือผังมโนทัศน์ – การกาหนดช่อื เร่ือง

๓๔ 2384 เกณฑ์การประเมินการเขียน Mind Mapping สง่ ผลความคิดวจิ ารณญาณ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๒ เรยี นรู้วธิ ีการถ่ายทอดแนวคิดในงานทศั นศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ รหัสวชิ า ศ๒๒๑๐๑ รายวิชาทัศนศลิ ป์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ คาชีแ้ จง การประเมินการเขียน Mind Mapping การประเมินผลผลติ เปน็ การวดั ผลงาน (Product)พฒั นา ตามแนวคดิ ของ สวุ ิมล วอ่ งวาณิช (๒๕๔๗) โดยมีรายการทปี่ ระเมนิ คอื Mind Mapping การสืบค้นเกย่ี วกับ ความคิดเร่ืองความรอบร้ศู ลิ ปะและตอบคาถาม ระบุที่มาของข้อมลู และมีการแสดงความคดิ เห็นเพ่มิ เตมิ แสดงออกถึงความคดิ วิจารณญาณ เขียน รายการประเมนิ รวม เน้อื หาได้ แยกแยะ เสรจ็ แกป้ ญั หา มรี าย ถูกต้อง เนอ้ื หาได้ ตามเวลา ได้ ละเอยี ด ชือ่ -นามสกุล ครบถว้ น เขา้ ใจง่าย (๑คะแนน) (๑คะแนน) ตกแต่ง ๑. สมบรู ณ์ (๑คะแนน) น่าสนใจ ๒. (๑คะแนน) (๑คะแนน) ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดับคะแนน ๕ คะแนน คุณภาพดีมาก เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน ๔ คะแนน คณุ ภาพดี ระดบั คะแนน ๓ คะแนน คณุ ภาพพอใช้ ระดับคะแนน ๑ – ๒ คะแนน คุณภาพควรปรบั ปรุง

๓๕ 3259 แบบสังเกตคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๒ เรียนรู้วธิ ีการถ่ายทอดแนวคดิ ในงานทศั นศิลป์ กล่มุ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ รหัสวิชา ศ๒๒๑๐๑ รายวิชาทศั นศลิ ป์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ข้อที่ ๔ ใฝ่เรียนรู้ ตัวชว้ี ดั และพฤตกิ รรมบง่ ชี้ ตวั ช้ีวดั พฤตกิ รรมบ่งช้ี ๔.๑ ตัง้ ใจ เพียรพยายามในการ ๔.๑.๑ ต้ังใจเรียน เกราียรนเรแยี ลนะแเขลา้ ะรเว่ขม้ากรว่ิจมกกรริจมกกรรามร ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมคี วามเพยี รพยายามในการเรียนรู้ เกรายี รนเรียู้ นรู้ ๔.๑.๓ สนใจเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ต่างๆ ๔.๒ แสวงหาความรจู้ ากแหล่ง ๔.๒.๑ ศึกษาค้นคว้าหาความรูจ้ ากหนงั สือ เอกสาร ส่ิงพิมพ์ ส่อื เรียนรตู้ ่างๆ ทัง้ ภายในและภายนอก เทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรยี นรู้ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียน และ โรงเรียน ด้วยการเลือกใชส้ ่อื อย่าง เลือกใช้สอื่ ได้อยา่ งเหมาะสม เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ๔.๒.๒ บันทึกความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบจากส่งิ ทีเ่ รยี นรู้ สรุปเปน็ องค์ สรปุ เป็นองค์ความรู้ แลกเปล่ียน ความรู้ เรยี นรู้ และนาไปใชใ้ น ๔.๒.๓ แลกเปลี่ยนเรียนรดู้ ้วยวิธกี ารต่างๆ และนาไปใช้ใน ชวี ิตประจาวันได้ ชีวติ ประจาวัน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน (ใชข้ ้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผสู้ อน) พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไมผ่ า่ น (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเย่ียม (๓) ตามข้อ ๔.๑ – ๔.๒ ไม่ตั้งใจเรยี น เขา้ เรยี นตรงเวลา เขา้ เรียนตรงเวลา เข้าเรยี นตรงเวลา ไม่ศกึ ษาคน้ คว้าหา ตัง้ ใจเรยี น เอาใจ ตง้ั ใจเรยี น เอาใจ ตัง้ ใจเรียน เอาใจ หควาคามวราู้มรู้ ใส่ในการเรียน ใสใ่ นการเรียน ใสใ่ นการเรยี น และมสี ่วนร่วมใน และมสี ว่ นรว่ มใน และมีส่วนรว่ มใน การเรยี นรู้ และเข้า การเรยี นรู้ และเข้า การเรยี นรู้ และเข้า ร่วมกจิ กรรมการ รว่ มกิจกรรมการ ร่วมกิจกรรมการ เรยี นรู้ตา่ งๆ เป็น เรียนร้ตู า่ งๆ เรียนรูต้ า่ งๆ ทั้ง บางครง้ั บ่อยคร้ัง ภายในและ ภายนอกโรงเรยี น เปน็ ประจา

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ ๓๖ กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ เรอื่ ง สรปุ วธิ กี ารถ่ายทอดแนวคิดในงานทศั นศลิ ป์ เวลา ๑ ชั่วโมง ขอบเขตเนือ้ หา รายวิชา ศ๒๒๑๐๑ ทศั นศิลป์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ เขยี นผงั ความคิดหรอื ผังมโนทัศนแ์ สดง ถึงความคดิ ของการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ ความสาคญั ของวธิ กี ารถา่ ยทอดแนวคิด ขน้ั นา - บัตรภาพ ในงานทัศนศิลป์ ๑.ครทู บทวนความรจู้ ากการเรยี นเก่ยี วกับเรื่องวิธกี ารถา่ ยทอดแนวคิดในงาน - ใบความรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ทัศนศลิ ป์ โดยนาภาพผลงานศิลปินมาให้นกั เรียนชมภาพและอธิบายถึงความ - อินเตทอร์เนต็ ๑.เขียนผงั ความคดิ หรือผงั มโนทัศนไ์ ด้ เป็นมาของภาพที่ศิลปนิ ต้องการสอื่ - ภาพจากหนงั สอื ตา่ งๆ ถกู ต้องและเขา้ ใจงา่ ยแสดงถึงขบวนการ ขน้ั สอน ทางความคดิ ในการสร้างสรรค์ผลงาน ๑. ครูยกตวั อย่างวธิ ีการถา่ ยทอดแนวคิดในงานทัศนศิลป์ การใช้ผงั ความคิดหรือ ด้านความรู้ ผงั มโนทัศน์ วา่ ควรเขยี นในรูปแบบใด สามารถสรา้ งสรรค์ให้สวยงามได้เพ่ิมเติม ภาระงาน/ชน้ิ งาน ๑.วธิ ีการถา่ ยทอดแนวคดิ ในงาน แต่ยงั คงให้ทราบถึง วธิ ีการถา่ ยทอดแนวคิดในงานทัศนศลิ ป์ - ใบงาน ๑.๓ ผังมโนทศั นแ์ สดงแนวคิดใน ทศั นศิลป์ ๒. นกั เรียนปฏิบตั วิ ิธีการถ่ายทอดแนวคิดในงานทศั นศิลป์ การสร้างสรรค์ผลงานของตนเอง ด้านทักษะและกระบวนการ ๑.การสบื คน้ ข้อมลู การวเิ คราะห์ – การใช้ผังความคิดหรือผังมโนทศั น์ ๒.การเขยี นจาแนกประเภท เขยี นสรุป ขั้นสรุป ความ ๑.ครสู ่มุ นกั เรียนใหน้ าแผนผงั ของตนเองมานาเสนอหนา้ ชั้น โดยครูคอยให้ความรู้ คณุ ลกั ษณะ เสริมในส่วนท่ีนักเรียนไม่เขา้ ใจหรอื สรปุ ไมต่ รงกับจุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑.มวี ินัย ๒.ใฝเ่ รยี นรู้ 3306

๓๗ 371 การวดั และประเมินผล ส่งิ ทต่ี ้องการวดั /ประเมนิ วธิ กี าร เครือ่ งมือท่ีใช้ เกณฑ์ ๑.ดา้ นความรู้ ทดสอบวดั ความรู้ แบบทดสอบ - ทาแบบทดสอบได้ รอ้ ยละ ๖๐ ขึ้นไป แผนผงั ๒.ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ประเมินทักษะ ความคดิ ๓.ดา้ นคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมิน -มีทักษะอยู่ในระดับคุณภาพ ดี ขึน้ ไปรอ้ ยละ ๘๐ การนาเสนอ แบบสงั เกต -มคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ อยู่ในระดบั คุณภาพดีข้ึนไป ร้อยละ ๘๐ บันทึกผลหลงั สอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................................ ............................. ลงชื่อ ......................................ผ้สู อน (.......................................................) วนั ท.่ี .........เดอื น..........พ.ศ............. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ........................................................................................................................................................ ..................... ............................................................................................................. ................................................................ ลงชื่อ ......................................ผู้ตรวจ (.......................................................) วนั ท.่ี .........เดอื น..........พ.ศ............

๓๘ 328 บตั รภาพ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑ เรอื่ ง พนื้ ฐานสรา้ งศลิ ป์ รายวิชา ศ๒๒๑๐๑ ทศั นศิลป์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ............................................................................................................................................................... ด้านจติ รกรรม ผลงานช้นิ เอกของ วนิ เซนต์ แวนโกะ๊ (Vincent van Gogh) The Starry Night ท่ีมา https://hilight.kapook.com/view/173318

๓๙ 3933 ใบงาน ที่ ๑.๓ เร่อื ง สรปุ วิธีการถ่ายทอดแนวคดิ ในงานทศั นศลิ ป์ของตนเอง หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เรื่อง พนื้ ฐานสรา้ งศิลป์ รหัสวิชา ศ๒๒๑๐๑ รายวิชา ทัศนศิลป์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ คาชแ้ี จง ผงั ความคิดหรือผังมโนทศั น์ ที่แสดงให้เหน็ ภาพรวมของความคิดในการสรา้ งสรรค์ผลงาน ศิลปะ โดยแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้องกัน ให้ส่ือออกมาเปน็ แนวความคิดที่ตนเองต้องการ สร้างสรรค์

๔๐ 3440 เกณฑก์ ารประเมินการเขยี น Mind Mapping สง่ ผลความคดิ วจิ ารณญาณ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ สรปุ วิธีการถ่ายทอดแนวคิดในงานทัศนศลิ ป์ กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ รหสั วชิ า ศ๒๒๑๐๑ รายวชิ าทัศนศลิ ป์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ คาช้ีแจง การประเมินการเขียน Mind Mapping การประเมนิ ผลผลติ เปน็ การวัดผลงาน (Product)พัฒนา ตามแนวคิดของ สุวมิ ล วอ่ งวาณิช((๒2๕5๔47๗) โดยมรี ายการที่ประเมนิ คือ Mind Mapping การสืบค้นเก่ียวกบั ความคิดเรื่องความรอบรศู้ ิลปะและตอบคาถาม ระบทุ ่ีมาของข้อมูล และมกี ารแสดงความคดิ เห็นเพิม่ เตมิ แสดงออกถึงความคดิ วิจารณญาณ ชอ่ื -นามสกลุ เขยี นเนื้อหาได้ รายการประเมิน มรี าย รวม ถูกตอ้ ง แยกแยะ เสร็จตาม แกป้ ญั หา ละเอียด ครบถว้ น เนือ้ หาได้ เวลา ได้ ตกแต่ง สมบรู ณ์ เข้าใจงา่ ย (๑คะแนน) (๑คะแนน) น่าสนใจ (๑คะแนน) (๑คะแนน) (๑คะแนน) ๑. ระดับคะแนน ๕ คะแนน คณุ ภาพดีมาก ๒. ระดบั คะแนน ๔ คะแนน คุณภาพดี ๓. ระดบั คะแนน ๓ คะแนน คุณภาพพอใช้ ๔. ระดับคะแนน ๑ – ๒ คะแนน คณุ ภาพควรปรับปรงุ ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑ์การประเมนิ

๔๑ 3451 แบบสงั เกตคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓ สรุปวธิ ีการถา่ ยทอดแนวคิดในงานทศั นศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหสั วชิ า ศ๒๒๑๐๑ รายวิชาทัศนศลิ ป์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ข้อท่ี ๔ ใฝ่เรยี นรู้ ตัวช้ีวดั และพฤตกิ รรมบง่ ช้ี พฤตกิ รรมบ่งช้ี ตัวชี้วดั ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการ ๔.๑.๑ ตงั้ ใจเรียน กเรายีรนเรยีแนละแเลขะา้ รเข่ว้ามรกว่ จิ มกกรจิ รกมรกรามร ๔.๑.๒ เอาใจใสแ่ ละมคี วามเพยี รพยายามในการเรียนรู้ กเราียรนเรรียู้ นรู้ ๔.๑.๓ สนใจเข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ตา่ งๆ ๔.๒ แสวงหาความรจู้ ากแหล่ง ๔.๒.๑ ศกึ ษาค้นควา้ หาความรจู้ ากหนังสอื เอกสาร ส่งิ พิมพ์ สอ่ื เรียนรูต้ า่ งๆ ทง้ั ภายในและภายนอก เทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรยี นรูท้ ้งั ภายในและภายนอกโรงเรียน และ โรงเรยี น ดว้ ยการเลือกใชส้ อ่ื อยา่ ง เลือกใช้สอื่ ได้อยา่ งเหมาะสม เหมาะสม บนั ทึกความรู้ วเิ คราะห์ ๔.๒.๒ บนั ทึกความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบจากส่ิงท่เี รยี นรู้ สรุปเป็น สรปุ เป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยน องค์ความรู้ เรียนรู้ และนาไปใชใ้ น ๔.๒.๓ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆ และนาไปใช้ใน ชวี ติ ประจาวันได้ ชีวิตประจาวัน เกณฑก์ ารให้คะแนน (ใช้ขอ้ มูลจากการสงั เกตตามสภาพจริงของครผู ูส้ อน) พฤติกรรมบ่งช้ี ไม่ผ่าน (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดเี ยยี่ ม (๓) ตามข้อ ๔.๑ – ๔.๒ ไม่ตง้ั ใจเรยี น เข้าเรียนตรงเวลา เขา้ เรยี นตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ศึกษาค้นคว้าหา ตง้ั ใจเรยี น เอาใจ ตง้ั ใจเรยี น เอาใจ ตั้งใจเรียน เอาใจ ความรู้ ใส่ในการเรยี น ใสใ่ นการเรียน ใส่ในการเรยี น และมสี ว่ นร่วมใน และมีส่วนร่วมใน และมีสว่ นรว่ มใน การเรียนรู้ และเข้า การเรยี นรู้ และเข้า การเรยี นรู้ และเข้า รว่ มกิจกรรมการ รว่ มกิจกรรมการ ร่วมกิจกรรมการ กเราียรนเรรยี ตู้ น่ารง้ตูๆา่ เงปๆ็น กเรายี รนเรรีย้ตู น่ารงๆู้ตา่ ง ๆ กเราียรนเรรียตู้ น่ารงูต้ๆ่าทง งั้ๆ ทั้ง เบปาน็ งบคราง้ั ครงั้ บอ่ ยคร้งั ภายในและ ภายนอกโรงเรียน เป็นประจา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook