โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนธิ ิการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั พืน ฐาน สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ชดุ เอกสารส่อื ๖๐ พรรษา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ลขิ สทิ ธ์ขิ อง สํานกั งานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ สงวนลิขสิทธติ์ ามพระราชบญั ญตั ิลขิ สทิ ธ์ิ พมิ พค รัง้ ท่ี พ.ศ. ๒๕๖๓ จาํ นวน เลม จัดพมิ พโดย
คำ�ชแ้ี จง ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) หน่วยที่ ๗ เงิน เล่มนี้ เป็น ๑ ใน ๙ เล่ม ของชุดการจัดกิจกรรม การเรียนรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ใช้กบั นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๓ ซ่งึ ผ่านการวเิ คราะห์มาตรฐานและตวั ช้วี ัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เมื่อสอนครบทั้ง ๙ เล่ม นักเรียนจะไดเ้ รียนรู้ครบถว้ นครอบคลุมทุกมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลกั สูตร ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) หน่วยที่ ๗ เงิน เล่มนี้ เป็นเอกสารที่นำ�เสนอแนวทางในการจัดการ เรยี นรู้คณติ ศาสตร์ เรือ่ งเงิน ให้กับนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ประกอบด้วย (๑) คำ�แนะนำ�สำ�หรบั ครผู ู้สอน (๒) โครงสร้างชุดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (๓) กำ�หนดการสอนคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ (๔) โครงสร้างหนว่ ยการเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๗ เงิน (๕) มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัดของหน่วยการเรียนรู้ หน่วยท่ี ๗ เงนิ (๖) แผนการจดั การเรยี นรู้ จำ�นวน ๑๖ แผน (๗) เฉลยแบบฝึกหัดของนักเรียน (๘) เฉลยใบกิจกรรมของนักเรียน (๙) แบบประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ กอ่ นการสอนเรื่องเงนิ ครผู สู้ อนควรศกึ ษาแผนการจัดการเรียนรู้จากเอกสารเลม่ นอ้ี ยา่ งละเอยี ด จะทำ�ใหร้ วู้ ่าต้องสอน แตล่ ะเนอ้ื หาอยา่ งไร และตอ้ งเตรยี มสอ่ื /อปุ กรณป์ ระกอบการสอนอะไรบา้ ง ซง่ึ จะทำ�ใหก้ ารจดั การเรยี นรขู้ องครมู ปี ระสทิ ธภิ าพ ส่งผลให้นักเรยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเนอื้ หาทีส่ อน คณะผู้จดั ทำ�หวังเปน็ อยา่ งยิ่งว่า ชุดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (สำ�หรับครูผู้สอน) หน่วยท่ี ๗ เงินเลม่ นี้ จะเปน็ ประโยชน์ ต่อครูผู้สอน ในการนำ�ไปใช้จัดการเรียนรู้ เรื่องเงิน ให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ เรยี นรขู้ องครูและการเรียนรู้ของนักเรยี นให้สงู ข้ึนตอ่ ไป สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (ส�ำ หรับครูผู้สอน) กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ I
สารบัญ ๑ ๔ คำ�แนะนำ�สำ�หรับครูผูส้ อน ๕ โครงสรา้ งชดุ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ๖ กำ�หนดเวลาการสอนคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๗ โครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้ หน่วยท่ี ๗ เงิน ๘ มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชว้ี ดั ของหนว่ ยการเรียนรู้ หน่วยท่ี ๗ เงนิ ๙ แผนการจดั การเรียนรู้ ๒๑ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ ๓๒ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๒ ๔๔ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๓ ๕๕ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๔ ๖๓ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๕ ๗๐ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๖ ๗๘ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๗ ๘๖ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๘ ๙๕ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๙ ๑๐๓ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑๐ ๑๑๐ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๑ ๑๑๗ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑๒ ๑๒๔ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑๓ ๑๓๔ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๔ ๑๔๐ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑๕ ๑๔๔ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑๖ ๑๔๕ ภาคผนวก ๑๙๓ ภาคผนวก ก เฉลยแบบฝกึ หัด ๒๐๑ ภาคผนวก ข เฉลยใบกิจกรรม ภาคผนวก ค แบบประเมินทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ II ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผสู้ อน) กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓
ค�ำ แนะน�ำ สำ�หรบั ครผู ้สู อน ๑. แนวคดิ หลัก การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์มุ่งให้ผู้เรียนมีความสามารถด้านการสื่อสารและการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถ ตั้งขอ้ สนั นษิ ฐาน สืบเสาะและเลือกสรรสารสนเทศ ให้เหตผุ ล แกป้ ญั หาโดยเลือกใช้ยุทธวธิ ตี า่ ง ๆ การจัดกจิ กรรมจงึ ควรเนน้ การเรยี นรู้รว่ มกนั เปน็ กล่มุ ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผ้เู รียนได้รว่ มกันคิด ปรึกษาหารอื อภิปราย แก้ปญั หา แสดงความคดิ เหน็ และสะท้อนความคิด (reflective thinking) ช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และ คุณธรรม จริยธรรม ในการจัดกลุ่ม อาจจัดเป็นกลุ่ม ๒ คน หรือกลุ่ม ๓ – ๔ คน หรืออาจจัดกิจกรรมร่วมกันทั้งชั้น ทั้งนี้ ขน้ึ อย่กู บั วัตถปุ ระสงค์ของการจัดกิจกรรมการเรียนรูน้ ้ัน ๆ ในการดำ�เนนิ กจิ กรรมการเรยี นการสอนคณติ ศาสตร์ สง่ิ สำ�คญั ทผ่ี สู้ อนควรคำ�นงึ ถงึ เปน็ อนั ดบั แรกคอื ความรพู้ น้ื ฐานของ ผเู้ รยี น ผสู้ อนอาจทบทวนโดยใชค้ าํ ถามหรอื ยทุ ธวธิ ตี า่ ง ๆ เพอ่ื นำ�ไปสกู่ ารเรยี นรเู้ นอ้ื หาใหม่ ขน้ั การสอนเนอ้ื หาใหม่ ผสู้ อนอาจ กำ�หนดสถานการณ์ที่เชื่อมโยงกับเรื่องราวในขั้นทบทวนความรู้ และใช้ยุทธวิธีต่าง ๆ ที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถสรุปหรือเข้าใจ หลักการ แนวคิด กฎ สูตร สัจพจน์ ทฤษฎีบท หรือบทนิยามด้วยตนเอง ในขณะที่ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม ผู้สอนควรให้อิสระ ทางความคิดกับผ้เู รยี น โดยผสู้ อนคอยสังเกต ตรวจสอบความเขา้ ใจและให้คำ�แนะนาํ อย่างใกล้ชิด ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ผสู้ อนควรใหผ้ เู้ รยี นแตล่ ะคนหรอื แตล่ ะกลมุ่ ไดน้ ำ�เสนอแนวคดิ เพราะผเู้ รยี นมโี อกาส แสดงแนวคิดเพม่ิ เตมิ รว่ มกัน ซักถาม อภิปรายขอ้ ขัดแย้งด้วยเหตแุ ละผล ผู้สอนมโี อกาสเสริมความรู้ ขยายความรู้หรอื สรุป ประเด็นสำ�คัญของสาระที่นําเสนอนั้น ทำ�ให้การเรียนรู้ขยายวงกว้างและลึกมากขึ้น สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ นอกจากนย้ี งั ทำ�ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ เจตคตทิ ด่ี ี มคี วามภมู ใิ จในผลงาน เกดิ ความรสู้ กึ อยากทำ� กลา้ แสดงออก และจดจาํ สาระทต่ี นเอง ไดอ้ อกมานําเสนอได้นาน รวมท้ังฝึกการเปน็ ผูน้ ำ� ผตู้ าม รบั ฟงั ความคิดเห็นของผอู้ ื่น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำ�หรับชั้นประถมศึกษา ผู้สอนควรให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ ฝึกทักษะการสังเกต ฝึกให้เหตผุ ลและหาข้อสรุปจากส่ือรูปธรรมหรอื แบบจำ�ลองต่าง ๆ ก่อน แล้วขยายวงความรู้ส่นู ามธรรมตามความสามารถของ ผู้เรียน สำ�หรับบางเนอ้ื หาทีย่ ากต่อการทำ�ความเข้าใจของนกั เรียนบางคน ผูส้ อนควรหายุทธวิธีตา่ ง ๆ ทเ่ี หมาะสมกับผูเ้ รยี น ในการอธิบาย เช่น ใช้วิธีลดรูปของปัญหา หรือเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้การเรียนรู้ง่ายขึ้น และเพื่อให้ ผู้เรียนตระหนักในคุณค่าของคณิตศาสตร์ ผู้สอนควรใช้สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตจริงเป็นตัวอย่างในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ๒. กระบวนการจดั การเรียนรู้ การนำ�ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรไู้ ปใช้ ครผู ูส้ อนควรเตรียมตัวล่วงหน้า ดงั นี้ ๑. ศึกษาโครงสร้างชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่าตลอดทั้งปีการศึกษา นักเรียนต้องเรียนรู้ทั้งหมด กีห่ นว่ ย แตล่ ะหน่วยมีหน่วยยอ่ ยอะไรบา้ ง ใชเ้ วลาสอนกชี่ ัว่ โมง และมีกแี่ ผน ๒. ศึกษาโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ ว่าแต่ละหน่วยการเรียนรู้มีเนื้อหาอะไรบ้าง เนื้อหาละกี่ชั่วโมง ซึ่งจะช่วยให้ ครูผู้สอนมองเหน็ ภาพรวมของการสอนในหน่วยดังกล่าวได้อย่างชดั เจน ๓. ศึกษาแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งอยู่หน้าแผนแต่ละแผน เป็นการสรุปแนวการจัดกิจกรรมในแต่ละขั้นตอน การสอน ทำ�ให้ครูผสู้ อนมองเหน็ ภาพรวมของการจดั การเรยี นรูใ้ นชั่วโมงน้ัน ๆ ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ (ส�ำ หรับครผู ูส้ อน) กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๓ 1
๔. ศกึ ษาแผนการจัดการเรยี นรู้ ตามหัวข้อตอ่ ไปนี้ ๔.๑ ขอบเขตเนอื้ หา เป็นเนื้อหาทน่ี ักเรยี นต้องเรยี นรู้ในแผนท่กี ำ�ลงั ศกึ ษา ๔.๒ สาระสำ�คญั เป็นความคดิ รวบยอดหรอื หลกั การทีน่ ักเรียนควรจะได้หลังจากได้เรียนรตู้ ามแผนทก่ี ำ�หนด ๔.๓ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ แบง่ เปน็ ด้านความรู้ และด้านทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ๔.๔ กจิ กรรมการเรียนรู้ แบ่งเปน็ ข้นั นำ� ขน้ั สอน และขัน้ สรุป ซง่ึ แตล่ ะขัน้ ครผู ูส้ อนควรศกึ ษาทำ�ความเข้าใจอยา่ ง ละเอียด นอกจากนค้ี รูผสู้ อนควรพิจารณาด้วยว่า ในแตล่ ะข้นั ตอนการสอน ครูผู้สอนจะตอ้ งศกึ ษาว่ามี ส่ือ/อปุ กรณ์อะไรบ้าง ๔.๕ สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้ เป็นการบอกรายการสอื่ อปุ กรณ์ และแหล่งเรียนรูท้ ่ตี อ้ งใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ในช่ัวโมงนน้ั ๔.๖ การประเมิน เป็นการบอกทง้ั วิธีการ เครือ่ งมือ และเกณฑก์ ารประเมนิ สำ�หรับเครือ่ งมือการประเมินในชุด การจดั กิจกรรมการเรียนรฯู้ น้ี ไดจ้ ดั เตรียมไว้ใหค้ รผู สู้ อนเรียบรอ้ ยแลว้ ๓. สื่อการจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ สอื่ การจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ประกอบด้วย ๓.๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ สำ�หรบั ครูผสู้ อนใช้เปน็ แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ หก้ บั นักเรียน ๓.๒ แบบฝึกหัด สำ�หรับนักเรียนใช้ฝึกทักษะหลังจากทำ�ความเข้าใจบทเรียน แนวคิดและความคิดรวบยอด ทส่ี ำ�คญั ในบทเรยี นเรอ่ื งน้นั ๆ ไปแลว้ ๓.๓ ใบกจิ กรรม สำ�หรับนกั เรียนใชฝ้ ึกทักษะปฏิบัติ หรอื สร้างความคดิ รวบยอดในบทเรียน แบบฝึกหดั และใบกจิ กรรมของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ได้มกี ารกำ�หนดสัญลักษณ์รปู ดาว ๕ แฉก จำ�นวน ๓ ดวง และแถบสเี ขียว โดย ฝ. หมายถงึ แบบฝกึ หดั ก. หมายถงึ ใบกิจกรรม ผ. หมายถึง แผนการจัดการเรียนรู้ เช่น ฝ.๑.๖/ผ.๔ เปน็ แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ ๑ ลำ�ดบั ท่ี ๖ อย่ใู นแผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๔ ฝ.๓.๗/ผ.๖ เปน็ แบบฝึกหดั หน่วยที่ ๓ ลำ�ดบั ที่ ๗ อยใู่ นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๖ ก.๒.๑/ผ.๓ เปน็ ใบกจิ กรรมหนว่ ยท่ี ๒ ลำ�ดับท่ี ๑ อยใู่ นแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓ หมายเหตุ ลำ�ดบั ท่ขี องแบบฝึกหดั ใบกิจกรรม และแบบทดสอบจะเรียงต่อกนั จนครบทุกแผนในแต่ละหน่วย เมื่อขึน้ หน่วยใหมล่ ำ�ดับทข่ี องแบบฝึกหัดและใบกิจกรรม จะเริ่มต้นใหม่ 2 ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครผู ูส้ อน) กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓
๔. ลกั ษณะชดุ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ จัดทำ�เป็นหน่วยการเรียนรู้ (Learning Unit) โดยผา่ นการวิเคราะห์มาตรฐานและตวั ชวี้ ัดกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มาจัดทำ�เปน็ หน่วยการเรียนร้ใู นแตล่ ะภาคเรียน ดังน้ี ภาคเรยี นที่ ๑ ประกอบด้วย หนว่ ยการเรียนรู้ ๗ หนว่ ย ดังน้ี หนว่ ยที่ ๑ จำ�นวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ หนว่ ยท่ี ๒ การดำ�เนนิ การของจำ�นวน หนว่ ยย่อยที่ ๒.๑ การบวก การลบ หนว่ ยที่ ๓ เรขาคณติ หน่วยท่ี ๔ เวลา หนว่ ยท่ี ๕ เศษส่วน หน่วยที่ ๖ สถิติ หนว่ ยที่ ๗ เงนิ ภาคเรียนท่ี ๒ ประกอบด้วย หนว่ ยการเรียนรู้ ๒ หน่วย ดังนี้ หน่วยท่ี ๒ การดำ�เนินการของจำ�นวน หน่วยยอ่ ยที่ ๒.๒ การคณู การหาร หน่วยที่ ๘ การวดั หนว่ ยยอ่ ยที่ ๘.๑ การวดั ความยาว หนว่ ยย่อยที่ ๘.๒ การวัดน้ำ�หนกั หน่วยยอ่ ยที่ ๘.๓ การวดั ปรมิ าตร ๕. แผนการจดั การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ การจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ กำ�หนดให้สอดคล้องกับ หน่วยการเรยี นรู้ แต่ละหน่วยการเรยี นรปู้ ระกอบด้วยแผนการจัดการเรยี นรู้หลายแผน แผนละ ๑ ชัว่ โมง โดยมีองคป์ ระกอบ ของแผนการจัดการเรียนรู้คือ ขอบเขตเนื้อหา สาระสำ�คัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ซึ่งมีทั้งด้านความรู้และด้านทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ /แหล่งเรียนรู้ และการประเมิน สำ�หรบั แผนการจดั การเรียนรู้ทุกแผนจะ มีแนวการจดั กจิ กรรมการเรียนร้อู ยู่หน้าแผนทุกแผนซึ่งเปน็ การสรปุ ภาพรวมของการจดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ นช่วั โมงนนั้ ๆ ในทุกขน้ั ตอนการสอนตั้งแต่ขน้ั นำ� ข้นั สอน ข้ันสรปุ และการวัดและประเมินผล ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ (ส�ำ หรับครผู ูส้ อน) กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ 3
โครงสรา้ งชดุ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ หน่วยที่ ๘ หน่วยที่ ๑ หน่วยที่ ๒ การวดั จ�ำ นวนนบั การดำ�เนินการของจำ�นวน (๔๖ ชว่ั โมง) ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ (๑๑ ช่ัวโมง) (๖๙ ชั่วโมง) หนว่ ยท่ี ๗ ป.๓ หน่วยท่ี ๓ เงิน ๒๐๐ เรขาคณติ ชวั่ โมง/ปี (๑๐ ชั่วโมง) (๑๖ ช่ัวโมง) หน่วยท่ี ๖ หน่วยท่ี ๔ สถิติ เวลา (๑๑ ช่ัวโมง) (๑๔ ช่วั โมง) หน่วยท่ี ๕ เศษส่วน (๑๗ ชวั่ โมง) หมายเหต ุ เวลารวมของทุกหนว่ ยเป็น ๑๙๔ ชว่ั โมงรวมกับการวัดผลประเมนิ ผล และกจิ กรรมเสรมิ การเรยี นรูค้ ณติ ศาสตรเ์ ปน็ ๒๐๐ ชั่วโมง/ปี 4 ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรับครูผสู้ อน) กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓
ก�ำ หนดเวลาการสอนคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ รวม ๙ เลม่ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ หน่วยการเรยี นรู้ จ�ำ นวน หนว่ ยการเรียนรู้ จำ�นวน ชั่วโมง ชว่ั โมง หนว่ ยท่ี ๑ จ�ำ นวนนบั ไม่เกนิ ๕๐ ๑๐๐,๐๐๐ ๑๑ หนว่ ยที่ ๒ การด�ำ เนินการของ หน่วยที่ ๒ การด�ำ เนนิ การของ จ�ำ นวน ๑๖ จำ�นวน ๑๖ หนว่ ยยอ่ ยที่ ๒.๑ การบวก การลบ ๑๙ หน่วยย่อยท่ี ๒.๒ การคูณ การหาร ๑๘ หนว่ ยที่ ๓ เรขาคณติ ๔๖ หน่วยท่ี ๔ เวลา - การคณู ๑๕ หน่วยที่ ๕ เศษสว่ น ๑๕ หน่วยท่ี ๖ สถิติ - การหาร ๑๖ หน่วยที่ ๗ เงิน ๑๐ - การบวก ลบ คูณ หารระคน ๔ กจิ กรรมเพมิ่ เติมส�ำ หรับโรงเรยี น ๑๔ หน่วยที่ ๘ การวัด ๑๐๐ รวม ๑๗ - การวดั ความยาว ๑๑ - การวัดนำ้ �หนกั ๑๖ - การวดั ปริมาตร ๒ กจิ กรรมเพิ่มเติมส�ำ หรับโรงเรียน ๑๐๐ รวม รวม ๒๐๐ ชั่วโมง ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครผู ู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ 5
โครงสร้างหนว่ ยการเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๗ เงิน การแลกเงนิ การบอกและการเขยี น (๒ ช่วั โมง) จ�ำ นวนเงิน (๒ ชวั่ โมง) ชนิดและคา่ ของเงิน (๒ ช่วั โมง) การบวก การลบ การคณู หนว่ ยที่ ๗ การเปรียบเทยี บจ�ำ นวนเงิน การหาร จำ�นวนเงนิ เงิน (๑ ชว่ั โมง) (๓ ชวั่ โมง) เงนิ ทอน (๑๖ ชั่วโมง) การอา่ นและเขยี นบนั ทึก (๑ ชัว่ โมง) รายรับรายจา่ ย (๒ ชัว่ โมง) โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั เงนิ รว่ มคิดรว่ มท�ำ (๒ ชั่วโมง) เล่นขายของ (๑ ชั่วโมง) 6 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (ส�ำ หรบั ครูผสู้ อน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓
กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชี้วดั ของหนว่ ยการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี ๗ เงิน กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๓ สาระท่ี ๒ การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพน้ื ฐานเกย่ี วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ท่ีตอ้ งการวดั และน�ำ ไปใช้ ตัวชี้วัด ค ๒.๑ ป.๓/๑ แสดงวธิ ีการหาคำ�ตอบของโจทยป์ ัญหาเกยี่ วกับเงนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ๑. การแกป้ ัญหา ๒. การให้เหตุผล ๓. การส่อื สารและการส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์ ๔. การเชื่อมโยง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ 7
แผนการจดั การเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (ส�ำ หรับครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ แนวการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ น�ำ สนทนาเก่ียวกบั วิวฒั นาการของเงินและการใชจ้ ่ายเงนิ ในชีวิตประจ�ำ วัน และกิจกรรม “ส�ำ รวจเงนิ เหรยี ญ” ข้ันสอน แนะนำ�ให้รูจ้ ัก เงินเหรยี ญหนึง่ บาท เหรยี ญสองบาท เหรยี ญหา้ บาท เหรียญสบิ บาท เหรียญหา้ สิบสตางค์ และเหรยี ญย่สี ิบหา้ สตางค์ ค่าของเงินเหรยี ญและการเปรียบเทยี บค่าของเงนิ เหรยี ญ ข้นั สรุป ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุป ตรวจสอบความเข้าใจ ชนิด และคา่ ของเงินเหรยี ญแตล่ ะชนดิ และท�ำ แบบฝึกหดั 7.1 การวัดและประเมินผล - ประเมินจากการตอบคำ�ถามและการท�ำ แบบฝกึ หัด 7.1 - ประเมินจากการแก้ปญั หา การใหเ้ หตุผล และการสื่อสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ 9
10 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑ ช้นั ป. ๓ หนว่ ยที่ ๗ เงนิ เวลา ๑ ชั่วโมง ขอบเขตเน้อื หา กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ 1. ชนิดและค่าของ ขนั้ นำ� 1. เงินเหรยี ญชนิดต่าง ๆ เงินเหรียญ 1. ครสู นทนากบั นกั เรยี นเกย่ี วกบั เงนิ ทใ่ี ชใ้ นประเทศไทย ซง่ึ จะไดว้ า่ มที ง้ั เหรยี ญและธนบตั ร จากนน้ั 2. เงินเหรียญจำ�ลอง 2. การเปรยี บเทยี บคา่ ของ ครจู ดั กจิ กรรม “ส�ำ รวจเงนิ เหรยี ญ” โดยแบง่ นกั เรยี นเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละ 3 - 4 คน แจกชดุ เงนิ เหรยี ญ 3. ชุดกระปกุ ออมสนิ เงินเหรียญ ไดแ้ ก่ เหรยี ญหนง่ึ บาท เหรียญสองบาท เหรียญหา้ บาท และเหรยี ญสบิ บาท อยา่ งละ 4 เหรียญ ประกอบดว้ ยแก้วพลาสติกใส ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั จ�ำ แนกเงนิ เหรยี ญ จากนน้ั สมุ่ นกั เรยี นออกมาน�ำ เสนอเกณฑก์ ารจ�ำ แนก ฝา และเทปใสเท่ากับ สาระส�ำ คญั เช่น ขนาด สี หรือชนดิ ของเหรียญ จำ�นวนกลมุ่ ข้นั สอน 4. แบบฝึกหัด 7.1 1. เงินเหรียญเปน็ สิ่งท่ใี ช้ 2. ครูแนะนำ�วา่ เงินเหรียญเป็นสิง่ ทใ่ี ชเ้ ปน็ ส่อื กลางในการซอ้ื ขาย ซง่ึ เงนิ เหรียญทใี่ ชห้ มุนเวียน เป็นสื่อกลางในการซ้ือขาย ในปัจจบุ นั เป็นเงินเหรียญที่ผลิตในรชั สมัยของรชั กาลท่ี 10 และรชั กาลที่ 9 จากนนั้ ครใู ห้นกั เรยี น การประเมนิ 2. เงนิ เหรียญชนิดตา่ ง ๆ สังเกตจาก รูปร่าง ขนาด สี และสง่ิ ทปี่ รากฏบนเหรียญท้งั สองด้าน แล้วเรยี งขนาดของเงินเหรียญ มคี ่า ดงั นี้ จากขนาดเลก็ ไปขนาดใหญ่ ซ่ึงอาจได้ดังนี้ 1. วิธกี าร 1.1 สงั เกตพฤตกิ รรม - เหรียญย่ีสิบห้าสตางค์ ครูให้นักเรยี นทกุ คนหยิบเงนิ เหรียญที่มีขนาดเลก็ ที่สุดแล้วถามวา่ เหรยี ญนีเ้ ป็นเหรยี ญชนดิ ใด การเรยี นรู้ 1 เหรยี ญ มคี า่ 25 สตางค์ (เหรยี ญชนดิ ราคา 1 บาท หรอื เหรยี ญหนง่ึ บาท) ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั บอกสง่ิ ทส่ี งั เกตไดจ้ ากเหรยี ญ 1.2 ตรวจแบบฝกึ หดั หนึง่ บาท ซึ่งควรจะได้ว่า ลกั ษณะส�ำ คญั ของเหรียญหน่งึ บาทมองจากด้านบนมลี ักษณะเปน็ วงกลม 2. เคร่ืองมือ - เหรียญห้าสิบสตางค์ มีสีเงนิ 2.1 แบบฝึกหดั 7.1 1 เหรยี ญ มคี า่ 50 สตางค์ 2.2 แบบประเมนิ ทกั ษะ และกระบวนการทาง - เหรียญหน่งึ บาท คณิตศาสตร์ 1 เหรยี ญ มีค่า 1 บาท หรอื 100 สตางค์ - เหรยี ญสองบาท 1 เหรยี ญ มีค่า 2 บาท
กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๑ ชั้น ป. ๓ หนว่ ยที่ ๗ เงิน เวลา ๑ ช่ัวโมง ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ - เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ เงนิ เหรียญท่ผี ลิตในรัชกาลที่ 10 ดา้ นหนงึ่ ของเหรียญหน่งึ บาทเป็นพระบรมสาทิสลกั ษณ์สมเดจ็ 3. เกณฑ์ มีค่า 5 บาท พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณบดนิ ทรเทพยวรางกรู (รชั กาลท่ี 10) ถอื วา่ เปน็ ดา้ นหนา้ อกี ดา้ นหนง่ึ 3.1 ผลงานมีความถูกต้อง (ด้านหลงั ) เปน็ ตราพระปรมาภไิ ธยประจ�ำ พระองค์ และมีตวั เลขก�ำ กบั เป็นตวั เลขไทยและตวั เลข ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 - เหรยี ญสบิ บาท 1 เหรยี ญ ฮินดอู ารบกิ แสดงคา่ ของเงิน 1 บาท ดงั ภาพ 3.2 คะแนนรวม ดา้ นทกั ษะ มคี า่ 10 บาท และกระบวนการทาง 3. เงินเหรยี ญเรียงตามค่า เหรยี ญชนิดราคา 1 บาท หรือเหรยี ญหนึ่งบาท คณติ ศาสตรไ์ ม่นอ้ ยกว่า จากนอ้ ยไปมากได้ดงั น้ี ร้อยละ 60 เหรียญยสี่ บิ ห้าสตางค์ เหรียญหา้ สบิ สตางค์ ดา้ นหน้า ด้านหลัง เหรยี ญหน่งึ บาท เงนิ เหรยี ญทผ่ี ลติ ในรชั กาลท่ี 9 ดา้ นหนา้ เปน็ พระบรมสาทสิ ลกั ษณพ์ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร เหรียญสองบาท มหาภมู พิ ล อดลุ ยเดช (รชั กาลท่ี 9) ดา้ นหลงั เปน็ ภาพของพระศรรี ตั นเจดยี ์ วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เหรียญหา้ บาท กรงุ เทพมหานคร และมตี วั เลขก�ำ กบั เปน็ ตวั เลขไทยและตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ แสดงคา่ ของเงนิ 1 บาท เหรยี ญสบิ บาท ดงั ภาพ 4. ผลการเปรียบเทยี บ เหรยี ญชนิดราคา 1 บาท หรอื เหรยี ญหนึง่ บาท คา่ ของเงินเหรยี ญอาจ มากกว่ากัน หรือนอ้ ยกว่ากัน หรือเทา่ กนั ด้านหนา้ ดา้ นหลัง ครแู นะน�ำ คา่ ของเหรยี ญหนง่ึ บาทวา่ เหรยี ญหนง่ึ บาทมคี า่ 1 บาท เชน่ ถา้ ซอ้ื สง่ิ ของราคา 1 บาท จะตอ้ งใหเ้ งินแกร่ า้ นคา้ เปน็ เหรียญหน่ึงบาท 1 เหรยี ญ ถ้าซือ้ สงิ่ ของราคา 3 บาท จะต้องใหเ้ งินแก่ ร้านคา้ เป็นเหรยี ญหนงึ่ บาท 3 เหรยี ญ เป็นต้น 11
12 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ช้นั ป. ๓ หนว่ ยที่ ๗ เงิน เวลา ๑ ช่ัวโมง จุดประสงค์การเรียนรู้ ครถู ามค�ำ ถามเพ่อื ตรวจสอบวา่ นกั เรียนรู้ค่าของเงินเหรยี ญหน่งึ บาท เช่น - มีเงนิ เหรยี ญหน่งึ บาท 7 เหรยี ญ มเี งินกี่บาท (7 บาท) ด้านความรู้ - ตอ้ งการซอื้ ยางลบราคา 2 บาท ต้องจ่ายเงนิ ดว้ ยเหรียญหนึง่ บาทกเ่ี หรยี ญ (2 เหรยี ญ) เพือ่ ใหน้ ักเรยี นสามารถ - ต้องการซื้อไม้บรรทดั ราคา 5 บาท ต้องจ่ายเงนิ ดว้ ยเหรียญหนงึ่ บาทกเี่ หรยี ญ (5 เหรยี ญ) - มีเงนิ เหรียญหนง่ึ บาท 8 เหรยี ญ ซื้อสมดุ ราคา 7 บาทไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (ได้ เพราะ 1. จำ�แนกและบอกค่าเงิน มเี งิน 8 บาท ซอ้ื สมุดราคา 7 บาทได)้ เหรยี ญได้ 3. ครูใหน้ ักเรียนทุกคนหยิบเงนิ เหรยี ญลำ�ดบั ตอ่ มา แลว้ ถามวา่ เป็นเหรียญชนดิ ใด (เหรยี ญชนิด 2. เปรียบเทียบค่าของเงนิ ราคา 2 บาท หรือ เหรยี ญสองบาท) ให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันบอกสง่ิ ที่สังเกตได้จากเหรยี ญ เหรียญ สองบาท ซงึ่ ควรจะไดว้ ่า ลักษณะส�ำ คญั ของเหรยี ญสองบาท มลี ักษณะเปน็ วงกลม มีสีทอง ด้านทกั ษะและกระบวนการ มีขนาดใหญ่กวา่ เหรียญหน่งึ บาท ดงั ภาพ ทางคณติ ศาสตร์ เหรยี ญชนิดราคา 2 บาท หรอื เหรียญสองบาท เพื่อให้นักเรียนสามารถ เหรยี ญทผ่ี ลิตในรชั สมยั ของรชั กาลที่ 10 เหรียญท่ีผลติ ในรชั สมัยของรัชกาลท่ี 9 1. แกป้ ญั หา 2. ใหเ้ หตุผล 3. ส่อื สารและส่อื ความหมาย ทางคณติ ศาสตร์ ดา้ นหนา้ ด้านหลัง ด้านหน้า ดา้ นหลัง ครแู นะนำ�คา่ ของเหรียญสองบาทวา่ มคี า่ 2 บาท เชน่ ถ้าซอ้ื สงิ่ ของราคา 2 บาท จะสามารถ ใหเ้ งนิ แกร่ า้ นคา้ เปน็ เหรยี ญสองบาท 1 เหรยี ญ หรอื เหรยี ญหนง่ึ บาท 2 เหรยี ญ หรอื ถา้ ซอ้ื สง่ิ ของ ราคา 4 บาท จะตอ้ งใหเ้ งนิ แกร่ า้ นคา้ เปน็ เหรยี ญสองบาท 2 เหรยี ญ หรอื เหรยี ญหนง่ึ บาท 4 เหรยี ญ ครถู ามค�ำ ถามเพื่อตรวจสอบว่านกั เรียนรคู้ า่ ของเงนิ เหรยี ญสองบาท เช่น
กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ ชนั้ ป. ๓ หน่วยที่ ๗ เงิน เวลา ๑ ช่ัวโมง ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ - มเี งนิ เหรยี ญสองบาท 5 เหรียญ มีเงนิ กบี่ าท (10 บาท) - ตอ้ งการซือ้ กบเหลาดนิ สอราคา 8 บาท ตอ้ งจ่ายเงินด้วยเหรียญสองบาทก่ีเหรยี ญ (4 เหรยี ญ) - ตอ้ งการซ้ือปากการาคา 12 บาท ตอ้ งจา่ ยเงนิ ด้วยเหรียญสองบาทกี่เหรียญ (6 เหรียญ) - มีเงินเหรียญสองบาท 10 เหรยี ญ ซ้ือขนมราคา 14 บาทได้หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (ได้ เพราะ เหรียญสองบาท 10 เหรยี ญ มีคา่ 20 บาท แต่ขนมราคา 14 บาท) 4. ครูใหน้ กั เรยี นทกุ คนหยบิ เงนิ เหรียญลำ�ดบั ต่อมา แลว้ ถามว่า เป็นเหรยี ญชนดิ ใด (เหรียญชนดิ ราคา 5 บาทหรือเหรียญห้าบาท) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกันบอกส่ิงท่สี ังเกตไดจ้ ากเหรยี ญ หา้ บาท ซงึ่ ควรจะไดว้ า่ ลักษณะส�ำ คัญของเหรียญหา้ บาท มีลักษณะเปน็ วงกลม มสี ีเงิน มีขนาด ใหญก่ วา่ เหรียญหนึ่งบาทและเหรียญสองบาท ดงั ภาพ เหรยี ญชนิดราคา 5 บาท หรอื เหรยี ญหา้ บาท เหรียญทผี่ ลติ ในรัชสมัยของรชั กาลที่ 10 เหรียญที่ผลิตในรัชสมยั ของรัชกาลท่ี 9 ดา้ นหนา้ ด้านหลัง ด้านหนา้ ดา้ นหลงั ครแู นะน�ำ คา่ ของเหรียญห้าบาทว่า มคี า่ 5 บาท เช่น ถา้ ซ้ือสิง่ ของราคา 5 บาท จะสามารถให้ เงินแก่รา้ นคา้ เป็นเหรียญห้าบาท 1 เหรยี ญ หรอื เหรียญหนงึ่ บาท 5 เหรยี ญ หรอื ถ้าซ้อื ส่งิ ของราคา 10 บาท จะตอ้ งให้เงินแกร่ า้ นคา้ เป็นเหรยี ญห้าบาท 2 เหรียญ หรือเหรียญหนึ่งบาท 10 เหรยี ญ ครูถามค�ำ ถามเพ่ือตรวจสอบวา่ นกั เรียนรู้ค่าของเงินเหรีญหา้ บาท เช่น - มีเงนิ เหรยี ญห้าบาท 4 เหรียญ มีเงินก่บี าท (20 บาท) - ตอ้ งการซื้อยางลบราคา 15 บาท ตอ้ งจา่ ยเงนิ ดว้ ยเหรียญหา้ บาทกเ่ี หรยี ญ (3 เหรยี ญ) 13
14 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑ ชัน้ ป. ๓ หนว่ ยท่ี ๗ เงนิ เวลา ๑ ช่วั โมง - มีเงินเหรียญหา้ บาท 5 เหรียญ ซอื้ ดินสอสรี าคา 40 บาทไดห้ รือไม่ เพราะเหตุใด (ไมไ่ ด้ เพราะ เหรยี ญห้าบาท 5 เหรยี ญ มคี า่ 25 บาท แตด่ นิ สอสีราคา 40 บาท จึงมีเงินไม่พอซื้อดินสอส)ี - เหรียญห้าบาท 1 เหรยี ญ กับเหรียญสองบาท 1 เหรยี ญ เหรียญใดมคี ่ามากกวา่ เพราะเหตุใด (เหรียญห้าบาท 1 เหรยี ญมีคา่ มากกว่า เพราะ เหรียญห้าบาท 1 เหรียญ มีคา่ 5 บาท แตเ่ หรียญ สองบาท 1 เหรยี ญ มีคา่ 2 บาท และ 5 มากกว่า 2 ดังนน้ั เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรียญมคี ่ามากกวา่ เหรียญสองบาท 1 เหรยี ญ) 5. ครใู ห้นักเรยี นทกุ คนหยิบเหรยี ญทใ่ี หญท่ ีส่ ุด แลว้ ถามวา่ เป็นเหรียญชนิดใด (เหรียญชนิดราคา 10 บาท หรอื เหรยี ญสบิ บาท) ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกันบอกส่งิ ที่สงั เกตได้จากเหรยี ญสบิ บาท ซ่งึ ควรจะไดว้ า่ ลักษณะส�ำ คัญของเหรยี ญสิบบาท มลี ักษณะเป็นวงกลม โดยวงนอกเปน็ โลหะสีขาว วงในเป็นโลหะสีทอง ดังภาพ เหรยี ญชนิดราคา 10 บาท หรือเหรยี ญสบิ บาท เหรยี ญทีผ่ ลิตในรชั สมยั ของรชั กาลที่ 10 เหรียญทผ่ี ลิตในรชั สมยั ของรชั กาลที่ 9 ด้านหนา้ ดา้ นหลัง ดา้ นหนา้ ด้านหลัง ครูแนะน�ำ ค่าของเหรียญสบิ บาทวา่ มคี า่ 10 บาท เชน่ ถ้าซือ้ ส่งิ ของราคา 10 บาท จะสามารถ ให้เงนิ แกร่ า้ นคา้ เป็นเหรยี ญสิบบาท 1 เหรยี ญ หรอื เหรียญหนึ่งบาท 10 เหรยี ญ ถ้าซอ้ื ส่ิงของ ราคา 20 บาท จะตอ้ งให้เงนิ แก่ร้านค้าเป็นเหรยี ญสบิ บาท 2 เหรียญ หรือเหรียญหนึง่ บาท 20 เหรยี ญ
กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ ชัน้ ป. ๓ หนว่ ยท่ี ๗ เงิน เวลา ๑ ชัว่ โมง ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ครูถามคำ�ถามเพือ่ ตรวจสอบว่านกั เรยี นรู้ค่าของเงนิ เหรยี ญสิบบาท เช่น - มีเงนิ เหรียญสิบบาท 3 เหรยี ญ มเี งินกบ่ี าท (30 บาท) - ตอ้ งการซ้อื ปากกาสีราคา 40 บาท ต้องจา่ ยเงนิ ด้วยเหรียญสิบบาทกเ่ี หรียญ (4 เหรยี ญ) - มเี งนิ เหรยี ญสบิ บาท 5 เหรยี ญ ซอ้ื ดนิ สอสรี าคา 49 บาทไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (ได้ เพราะ เหรยี ญสิบบาท 5 เหรยี ญ มีคา่ 50 บาท ซ้อื ดินสอสีราคา 49 บาทได)้ - เหรยี ญสิบบาท 1 เหรยี ญ กบั เหรียญห้าบาท 1 เหรียญ เหรยี ญใดมีคา่ มากกวา่ เพราะ เหตใุ ด (เหรยี ญสบิ บาท 1 เหรียญมีคา่ มากกว่า เพราะเหรยี ญสบิ บาท 1 เหรยี ญ มีค่า 10 บาท แต่ เหรียญหา้ บาท 1 เหรียญ มีคา่ 5 บาท และ 10 มากกว่า 5 ดังน้ัน เหรยี ญสิบบาท 1 เหรียญมคี า่ มากกวา่ เหรียญหา้ บาท 1 เหรยี ญ) 6. ครแู นะน�ำ เหรียญห้าสิบสตางค์และเหรียญยส่ี บิ ห้าสตางค์ แล้วให้นักเรยี นสังเกตสิง่ ท่เี หมอื นกนั และต่างกันระหว่างเงนิ เหรยี ญทง้ั สองชนดิ นี้ ทง้ั รูปร่าง ลกั ษณะ สี และสิง่ ทีป่ รากฏบนเหรยี ญ ทั้งสองหน้า ซง่ึ จะได้วา่ ลกั ษณะส�ำ คัญของเหรียญทง้ั สองชนดิ มลี กั ษณะเป็นวงกลมเหมือนกนั สีทองแดงเหมือนกัน แต่เหรียญหา้ สบิ สตางค์มีขนาดใหญก่ ว่าเหรยี ญยี่สิบห้าสตางค์ ดงั ภาพ เหรียญชนดิ ราคา 50 สตางค์ หรือเหรียญหา้ สบิ สตางค์ เหรียญท่ผี ลติ ในรัชสมยั ของรชั กาลที่ 10 เหรียญที่ผลติ ในรชั สมยั ของรัชกาลท่ี 9 ดา้ นหน้า ด้านหลัง ดา้ นหนา้ ด้านหลงั 15
16 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๑ ชน้ั ป. ๓ หน่วยที่ ๗ เงนิ เวลา ๑ ช่วั โมง เหรียญชนดิ ราคา 25 สตางค์ หรือเหรียญยส่ี บิ หา้ สตางค์ เหรยี ญทผ่ี ลิตในรชั สมัยของรชั กาลที่ 10 เหรียญที่ผลติ ในรัชสมยั ของรชั กาลที่ 9 ดา้ นหนา้ ด้านหลัง ดา้ นหนา้ ดา้ นหลัง ครูแนะน�ำ ว่า เงนิ เหรยี ญยสี่ บิ ห้าสตางค์ 1 เหรยี ญ มีคา่ 25 สตางค์ แล้วครถู ามว่า - เงินเหรียญยส่ี ิบห้าสตางค์ 2 เหรียญ มคี า่ เทา่ ไร (50 สตางค)์ ทราบได้อย่างไร (25 + 25 = 50) - เงนิ เหรยี ญยสี่ ิบห้าสตางค์ 3 เหรียญ มีค่าเทา่ ไร (75 สตางค)์ ทราบได้อยา่ งไร (25 + 25 + 25 = 75) - เงินเหรยี ญยสี่ บิ หา้ สตางค์ 4 เหรยี ญ มคี า่ เท่าไร (100 สตางค)์ ทราบไดอ้ ยา่ งไร (25 + 25 + 25 + 25 = 100) ครแู นะนำ�ว่า เงนิ เหรยี ญห้าสบิ สตางค์ 1 เหรียญ มีคา่ 50 สตางค์ แลว้ ครถู ามว่า - เงินเหรียญหา้ สบิ สตางค์ 2 เหรยี ญ มคี ่าเทา่ ไร (100 สตางค)์ ทราบได้อย่างไร (50 + 50 = 100) ครแู นะน�ำ วา่ 100 สตางค์ มคี า่ เทา่ กับ 1 บาท ครถู ามว่า - เหรียญย่สี ิบหา้ สตางคก์ เี่ หรยี ญ มีค่าเทา่ กบั 1 บาท (4 เหรยี ญ) เพราะเหตุใด (100 สตางค์ เทา่ กับ 1 บาท และเหรยี ญยี่สิบห้าสตางค์ 4 เหรยี ญ เท่ากบั 100 สตางค์) - เหรยี ญห้าสิบสตางคก์ เ่ี หรียญ มคี า่ เทา่ กับ 1 บาท (2 เหรียญ) - เหรียญย่ีสบิ ห้าสตางคก์ ีเ่ หรยี ญ มีค่าเท่าเหรยี ญหา้ สบิ สตางค์ 1 เหรยี ญ (2 เหรยี ญ)
กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๑ ชั้น ป. ๓ หนว่ ยที่ ๗ เงนิ เวลา ๑ ชัว่ โมง ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปวา่ - 1 บาท มีคา่ เท่ากับ 100 สตางค์ - เหรยี ญหนึง่ บาท 1 เหรยี ญ มคี า่ เทา่ กับเหรียญย่สี บิ ห้าสตางค์ 4 เหรียญ - เหรียญหน่งึ บาท 1 เหรยี ญ มีคา่ เท่ากับเหรยี ญหา้ สบิ สตางค์ 2 เหรยี ญ - เหรียญยี่สิบหา้ สตางค์ 2 เหรียญ มีคา่ เท่ากบั เหรียญห้าสบิ สตางค์ 1 เหรียญ - เหรียญหน่ึงบาท 1 เหรยี ญ มีคา่ มากกวา่ เหรียญห้าสิบสตางค์ 1 เหรียญ - เหรยี ญหา้ สิบสตางค์ 1 เหรยี ญ มคี า่ มากกวา่ เหรียญยีส่ ิบหา้ สตางค์ 1 เหรยี ญ ครูอาจแนะน�ำ ว่า เงนิ เหรียญท่ีกล่าวมาทง้ั หมดเรยี กว่า เหรยี ญกษาปณ์ นอกจากนป้ี ระเทศไทย ยังมีเหรียญกษาปณ์ที่ใช้หมุนเวียนอีกสามชนิด ได้แก่เหรียญสิบสตางค์ เหรียญห้าสตางค์ และ เหรยี ญหนึง่ สตางค์ แต่อาจไม่ไดน้ ำ�มาใช้ในการใช้จา่ ยทว่ั ไป ดังภาพ เหรยี ญสบิ สตางค์ เหรยี ญหา้ สตางค์ เหรียญหน่งึ สตางค์ 8. ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันประดิษฐ์กระปกุ ออมสนิ เพื่อใชอ้ อมเงิน ในการเรยี นรู้หนว่ ยท่ี 7 เร่อื งเงนิ โดยใชแ้ กว้ พลาสติกใส ฝา และเทปใส ดังภาพ เมือ่ นักเรยี นทำ�เสรจ็ ให้เขยี นชอื่ กลุ่มตดิ ท่ีกระปกุ ออมสิน 17
18 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๑ ชั้น ป. ๓ หน่วยที่ ๗ เงิน เวลา ๑ ชว่ั โมง ข้ันสรุป 7. ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเกย่ี วกับค่าของเงินเหรียญ โดยครแู จกเหรียญจำ�ลอง ชนิดต่าง ๆ อย่างละ 10 เหรียญ ให้นักเรยี นกลมุ่ ละ 1 ชดุ ครูกำ�หนดเง่ือนไขให้นกั เรยี นปฏิบตั ติ าม กลุม่ ใดปฏิบัตติ ามเง่ือนไขไดถ้ ูกต้องครูอาจให้รางวัลเป็นเหรยี ญจำ�ลองขอ้ ละ 2 บาท เช่น - หยบิ เหรยี ญหน่ึงบาท 4 เหรยี ญ หยบิ เหรยี ญสองบาท 3 เหรยี ญ - หยบิ เหรยี ญหา้ บาท 2 เหรียญ หยบิ เหรียญสิบบาท 4 เหรยี ญ - หยิบเหรียญบาทให้มคี ่า เท่ากบั 5 บาท - หยิบเหรยี ญห้าบาทให้มคี ่า เทา่ กับ 20 บาท - หยิบเหรยี ญสบิ บาทให้มีค่า เท่ากับ 60 บาท - หยิบเหรยี ญสองชนิดใหม้ ีค่าเท่ากนั จากนน้ั ครูติดแผนภาพสรปุ ชนิดของเงนิ เหรียญต่าง ๆ บนกระดาน ชนดิ เงินเหรยี ญ ชนิดของเงนิ เหรยี ญ ภาพด้านหน้าและดา้ นหลงั ค่าของเงินเหรยี ญ เหรียญสิบบาท 10 บาท เหรียญหา้ บาท 5 บาท
กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๑ ชั้น ป. ๓ หน่วยท่ี ๗ เงิน เวลา ๑ ชัว่ โมง ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ชนิดของเงนิ เหรยี ญ ภาพดา้ นหน้าและดา้ นหลัง ค่าของเงนิ เหรียญ เหรียญสองบาท 2 บาท เหรียญหนง่ึ บาท 1 บาท เหรยี ญหา้ สิบสตางค์ 50 สตางค์ เหรยี ญย่ีสิบหา้ สตางค์ 25 สตางค์ เหรยี ญสบิ สตางค์ 10 สตางค์ เหรยี ญหา้ สตางค์ 5 สตางค์ เหรียญหนง่ึ สตางค์ 1 สตางค์ 19 ทม่ี า http://www.royalthaimint.net/ewtadmin/ewt/mint_web/ewt_news.php?nid=784
20 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๑ ช้ัน ป. ๓ หน่วยที่ ๗ เงนิ เวลา ๑ ช่วั โมง ครูถามว่า - เงินเหรยี ญที่ใชอ้ ยู่ในปัจจบุ นั นม้ี ที ั้งหมดกช่ี นิด มีเหรยี ญอะไรบ้าง แต่ละเหรียญมคี า่ เท่าไร (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจ) - เงนิ เหรียญชนิดใดมคี ่านอ้ ยทสี่ ุด (เหรียญยีส่ บิ หา้ สตางค์) - เงินเหรยี ญชนิดใดมีค่ามากท่สี ุด (เหรยี ญสิบบาท) - เหรยี ญหา้ บาทกับเหรียญสองบาท เหรยี ญใดมคี ่ามากกว่า (เหรยี ญหา้ บาท) - เหรียญหนึ่งบาทกับเหรียญสิบบาท เหรยี ญใดมคี า่ น้อยกวา่ (เหรียญหนึ่งบาท) - เหรยี ญสองบาท 1 เหรยี ญ เทา่ กบั เหรยี ญหน่งึ บาทก่เี หรยี ญ (2 เหรยี ญ) - เหรยี ญหนง่ึ บาท 5 เหรยี ญเท่ากบั เหรียญห้าบาทก่เี หรยี ญ (1 เหรียญ) จากน้นั ให้นักเรยี นทำ�แบบฝึกหัด 7.1
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ขนั้ นำ� แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ ขั้นสอน ขนั้ สรุป แนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล ทบทวนเงินเหรียญและคา่ ของเงินเหรยี ญ โดยใหน้ ักเรยี นแสดงเหรยี ญตามเง่อื นไขทก่ี ำ�หนด แนะน�ำ ใหร้ ้จู กั ธนบัตรชนิดต่างๆ ค่าของธนบัตร ค่าของเงนิ และการเปรยี บเทียบค่าของเงนิ ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุป ตรวจสอบความเขา้ ใจเกย่ี วกับชนิดและค่าของธนบัตรชนดิ ต่าง ๆ และท�ำ แบบฝึกหดั 7.2 - ประเมนิ จากการตอบค�ำ ถามและการท�ำ แบบฝกึ หดั 7.2 - ประเมินจากการแกป้ ัญหา การใหเ้ หตุผล และการสือ่ สารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 21
22 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๒ ชน้ั ป. ๓ หน่วยท่ี ๗ เงิน เวลา ๑ ชัว่ โมง ขอบเขตเนือ้ หา กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. เงินเหรยี ญชนิดต่าง ๆ ข้ันนำ� 1. เงนิ เหรยี ญชนดิ ตา่ ง ๆ 2. ธนบตั รชนดิ ตา่ ง ๆ 1. ครทู บทวนเกย่ี วกบั คา่ ของเงนิ เหรยี ญแตล่ ะชนดิ โดยครแู จกเหรยี ญทกุ ชนดิ (ชนดิ ละ 10 เหรยี ญ) 2. เงนิ เหรยี ญจำ�ลอง ธนบัตร ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ครบู อกชนดิ ของเงนิ เหรยี ญ ใหน้ กั เรยี นชเู งนิ เหรยี ญทค่ี รบู อก พรอ้ มบอกคา่ จำ�ลอง สาระสำ�คัญ ของเงนิ เหรยี ญนน้ั ๆ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นแสดงเหรยี ญตามเงอ่ื นไขทค่ี รกู �ำ หนด ดงั น้ี 3. กระปุกออมสิน 1) แสดงเหรยี ญสองชนดิ ใหม้ คี า่ เทา่ กนั โดยใหไ้ ดแ้ บบมากทส่ี ดุ 4. แบบฝกึ หัด 7.2 1. เงนิ เหรยี ญและธนบตั ร (นกั เรยี นจดั แสดงเหรยี ญตามความเขา้ ใจ เชน่ เป็นส่งิ ทใ่ี ชเ้ ปน็ ส่ือกลาง เหรยี ญสบิ บาท 1 เหรยี ญ กบั เหรยี ญหา้ บาท 2 เหรยี ญ การประเมนิ ในการซื้อขาย เหรยี ญหา้ บาท 4 เหรยี ญ กบั เหรยี ญสบิ บาท 2 เหรยี ญ 2. เงนิ เหรียญชนิดต่าง ๆ เหรยี ญสองบาท 2 เหรยี ญ กบั เหรยี ญหนง่ึ บาท 4 เหรยี ญ) 1. วิธีการ มีค่า ดังนี้ 2) แสดงวธิ กี ารจา่ ยเงนิ ในการซอ้ื ดนิ สอราคา 10 บาท ใหพ้ อดี 1.1 สงั เกตพฤตกิ รรม - เหรยี ญย่สี บิ หา้ สตางค์ การเรยี นรู้ 1 เหรียญ มคี า่ 25 สตางค์ (นกั เรยี นจดั แสดงเหรยี ญตามความเขา้ ใจ เชน่ 1.2 ตรวจแบบฝกึ หดั - เหรยี ญห้าสบิ สตางค์ - เหรยี ญสบิ บาท 1 เหรยี ญ 2. เครอ่ื งมือ 1 เหรยี ญ มคี ่า 50 สตางค์ - เหรยี ญหา้ บาท 2 เหรยี ญ 2.1 แบบฝกึ หดั 7.2 - เหรยี ญหนง่ึ บาท 1 เหรยี ญ - เหรยี ญสองบาท 5 เหรยี ญ 2.2 แบบประเมินทกั ษะ มคี า่ 1 บาท หรือ - เหรยี ญหนง่ึ บาท 10 เหรยี ญ และกระบวนการทาง 100 สตางค์ - เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ กบั เหรยี ญหนง่ึ บาท 5 เหรยี ญ คณิตศาสตร์ - เหรยี ญสองบาท 1 เหรยี ญ - เหรยี ญสองบาท 4 เหรยี ญ กบั เหรยี ญหนง่ึ บาท 2 เหรยี ญ มคี า่ 2 บาท - เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ กบั เหรยี ญหา้ สบิ สตางค์ 10 เหรยี ญ) - เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ มีคา่ 5 บาท
กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๒ ชน้ั ป. ๓ หนว่ ยท่ี ๗ เงนิ เวลา ๑ ชว่ั โมง ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ - เหรยี ญสิบบาท 1 เหรียญ ข้ันสอน มีค่า 10 บาท 2. ครนู ำ�สนทนาถงึ ธนบตั รท่ีใช้ในปจั จุบัน พรอ้ มน�ำ ธนบัตรชนดิ ต่าง ๆ มาติดบนกระดาน ให้ 23 3. ธนบัตรชนิดตา่ ง ๆ มีคา่ นกั เรยี นออกมาชธี้ นบตั รทน่ี กั เรยี นรจู้ กั พรอ้ มบอกชอ่ื ธนบัตรนน้ั แลว้ ให้ตัวแทนนักเรยี นเปน็ ผู้ ดงั น้ี แนะน�ำ ธนบตั รทลี ะชนดิ พรอ้ มบอกคา่ ของธนบตั รชนดิ นน้ั ๆ ครแู จกธนบตั รจ�ำ ลองใหน้ กั เรยี นแตล่ ะ - ธนบตั รยีส่ บิ บาท 1 ฉบบั กลมุ่ สังเกต รปู ร่าง สี ขนาด และส่ิงท่ปี รากฏบนธนบตั รทั้งสองดา้ น จากนนั้ ใหน้ กั เรียนท้งั หมด มคี า่ 20 บาท ช่วยกนั สรปุ ลกั ษณะสำ�คัญและค่าของธนบัตรแตล่ ะชนดิ ซงึ่ ควรจะได้วา่ - ธนบตั รหา้ สบิ บาท 1 ฉบบั มีค่า 50 บาท ธนบัตรชนดิ ราคา 20 บาท หรือธนบตั รย่ีสบิ บาท - ธนบัตรหนง่ึ รอ้ ยบาท ธนบัตรยีส่ บิ บาท มสี เี ขียว ภาพประธานด้านหน้าพระบรมสาทิสลักษณส์ มเด็จพระเจา้ อยหู่ วั 1 ฉบบั มคี ่า 100 บาท มหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกรู ในฉลองพระองคเ์ ครื่องแบบทหารอากาศ ภาพประธาน - ธนบตั รห้าร้อยบาท ด้านหลังพระบรมสาทิสลกั ษณ์พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช และพระบรม 1 ฉบบั มคี ่า 500 บาท สาทสิ ลกั ษณ์พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย ธนบตั รทั้งสองด้านปรากฏค่าของธนบตั ร - ธนบตั รหนง่ึ พันบาท ด้วยตวั เลขไทยและตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ 1 ฉบับมคี ่า 1,000 บาท ครแู นะน�ำ ค่าของธนบัตรยส่ี ิบบาทว่า ธนบัตรยี่สิบบาท 1 ฉบับ มคี า่ 20 บาท เช่น ถา้ ซอ้ื สิง่ ของ 4. ธนบัตรเรยี งตามคา่ จาก ราคา 20 บาท สามารถให้เงนิ แกร่ ้านคา้ เปน็ ธนบตั รยส่ี บิ บาท 1 ฉบับได้ จากนน้ั ครถู ามวา่ น้อยไปมาก ไดด้ งั น้ี - มีธนบัตรยสี่ ิบบาท 2 ฉบับ มเี งนิ ก่ีบาท (40 บาท) ธนบตั รย่สี บิ บาท - ธนบตั รยสี่ บิ บาท 1 ฉบับ เทา่ กบั เหรียญสบิ บาทกี่เหรียญ (2 เหรียญ) ธนบตั รหา้ สบิ บาท - ตอ้ งซื้อของราคา 100 บาท ต้องจา่ ยเงินด้วยธนบัตรยส่ี ิบบาทกีฉ่ บบั (5 ฉบับ) ธนบตั รหน่งึ ร้อยบาท ธนบัตรหา้ ร้อยบาท และธนบตั รหนง่ึ พันบาท
24 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลุม่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ ช้นั ป. ๓ หน่วยที่ ๗ เงนิ เวลา ๑ ชว่ั โมง 5. ผลการเปรยี บเทยี บ ธนบัตรชนดิ ราคา 50 บาท หรือธนบตั รหา้ สิบบาท ค่าของเงนิ ธนบตั รอาจ ธนบัตรห้าสบิ บาท มีสนี ้ำ�เงิน ภาพประธานดา้ นหน้าพระบรมสาทิสลักษณส์ มเด็จพระเจ้าอย่หู ัว มากกว่ากนั หรอื น้อยกวา่ กัน มหาวชริ าลงกรณบดนิ ทรเทพยวรางกรู ในฉลองพระองคเ์ คร่อื งแบบทหารอากาศ ภาพประธาน หรอื เทา่ กนั ด้านหลงั พระบรมสาทิสลกั ษณ์พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจา้ อยู่หัว และพระบรมสาทสิ ลักษณ์ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ธนบัตรทัง้ สองดา้ นปรากฏค่าของธนบัตรดว้ ยตัวเลขไทย จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ และตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ครแู นะน�ำ คา่ ของธนบตั รห้าสบิ บาทว่า ธนบตั รหา้ สิบบาท 1 ฉบบั มีคา่ 50 บาท เช่น ถ้าซือ้ ดา้ นความรู้ ส่งิ ของราคา 50 บาท สามารถให้เงนิ แกร่ า้ นคา้ เปน็ ธนบัตรหา้ สิบบาท 1 ฉบบั ได้ จากน้นั ครูถามวา่ เพอื่ ให้นกั เรยี นสามารถ - มธี นบัตรห้าสบิ บาท 2 ฉบับ มเี งินกี่บาท (100 บาท) 1. จำ�แนกและบอกคา่ เงิน - ธนบัตรหา้ สิบบาท 1 ฉบับ เทา่ กบั เหรยี ญสิบบาทกเี่ หรยี ญ (5 เหรียญ) เหรียญและธนบตั รได้ - ธนบัตรห้าสบิ บาท 2 ฉบบั เท่ากับธนบตั รยี่สิบบาทกี่ฉบบั (5 ฉบับ) 2. เปรียบเทียบค่าของ - ตอ้ งซือ้ ของราคา 200 บาท ตอ้ งจ่ายเงนิ ดว้ ยธนบตั รหา้ สบิ บาทกฉ่ี บับ (4 ฉบับ) ธนบัตรได้ - ธนบัตรหา้ สบิ บาท 1 ฉบับ กบั ธนบัตรยี่สิบบาท 1 ฉบับ ธนบตั รชนดิ ใดมคี ่ามากกวา่ เพราะ ด้านทกั ษะและกระบวนการ เหตใุ ด (ธนบัตรหา้ สบิ บาท 1 ฉบับ เพราะ ธนบัตรหา้ สบิ บาท 1 ฉบบั มีค่า 50 บาท แต่ธนบัตร ทางคณิตศาสตร์ ยี่สบิ บาท 1 ฉบบั มีค่า 20 บาท และ 50 มากกวา่ 20) เพอ่ื ให้นกั เรยี นสามารถ 1. แก้ปัญหา 2. ใหเ้ หตุผล 3. สอ่ื สารและส่ือ ความหมายทางคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ ชน้ั ป. ๓ หน่วยท่ี ๗ เงิน เวลา ๑ ชว่ั โมง ธนบตั รชนิดราคา 100 บาท หรือธนบตั รหน่ึงร้อยบาท ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ธนบัตรหนงึ่ รอ้ ยบาท มีสีแดง ภาพประธานด้านหนา้ พระบรมสาทิสลกั ษณส์ มเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณบดนิ ทรเทพยวรางกูร ในฉลองพระองค์เครือ่ งแบบทหารอากาศ ภาพประธาน ดา้ นหลงั พระบรมสาทสิ ลกั ษณพ์ ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และ พระบรมสาทสิ ลกั ษณ์ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หัว ธนบตั รท้งั สองด้านปรากฏคา่ ของธนบตั รด้วยตัวเลขไทย และตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ครูแนะน�ำ ค่าของธนบตั รหนึ่งร้อยบาทว่า ธนบัตรหนง่ึ ร้อยบาท 1 ฉบบั มีค่า 100 บาท เช่น ถ้าซื้อสิ่งของราคา 100 บาท สามารถใหเ้ งินแกร่ ้านคา้ เป็นธนบตั รหน่งึ รอ้ ยบาท 1 ฉบับได้ จากนนั้ ครูถามวา่ - มธี นบัตรหนึ่งรอ้ ยบาท 5 ฉบบั มเี งินกบ่ี าท (500 บาท) - ธนบัตรหนึง่ รอ้ ยบาท 1 ฉบับ เทา่ กับธนบัตรยี่สบิ บาทกฉ่ี บบั (5 ฉบบั ) - ธนบตั รหนง่ึ รอ้ ยบาท 1 ฉบบั เท่ากบั ธนบตั รห้าสบิ บาทกีฉ่ บบั (2 ฉบับ) - ตอ้ งซอ้ื อาหารราคา 700 บาท ตอ้ งจา่ ยเงินด้วยธนบตั รหนึ่งรอ้ ยบาทกฉ่ี บับ (7 ฉบับ) 25
26 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๒ ชั้น ป. ๓ หนว่ ยที่ ๗ เงิน เวลา ๑ ชัว่ โมง ธนบัตรชนิดราคา 500 บาท หรอื ธนบตั รห้ารอ้ ยบาท ธนบัตรห้าร้อยบาท มีสีม่วง ภาพประธานด้านหน้าพระบรมสาทสิ ลักษณ์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณบดนิ ทรเทพยวรางกูร ในฉลองพระองค์เครือ่ งแบบทหารอากาศ ภาพประธาน ดา้ นหลังพระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยหู่ วั และพระบรมสาทสิ ลกั ษณ์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ธนบัตรทงั้ สองด้านปรากฏคา่ ของธนบัตรด้วย ตัวเลขไทยและตัวเลขฮินดอู ารบกิ ครูแนะน�ำ คา่ ของธนบัตรห้าร้อยบาทว่า ธนบตั รห้าร้อยบาท 1 ฉบับ มีคา่ 500 บาท เช่น ถ้าซอ้ื ส่ิงของราคา 500 บาท สามารถให้เงนิ แก่ร้านคา้ เป็นธนบัตรหา้ รอ้ ยบาท 1 ฉบับได้ จากนัน้ ครูถามวา่ - มธี นบตั รห้ารอ้ ยบาท 2 ฉบบั มีเงินกีบ่ าท (1,000 บาท) - ธนบตั รห้ารอ้ ยบาท 1 ฉบับ เท่ากบั ธนบัตรหนง่ึ รอ้ ยบาทกฉ่ี บับ (5 ฉบับ) - ตอ้ งซอ้ื เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ราคา 2,000 บาท ตอ้ งจา่ ยเงนิ ดว้ ยธนบตั รหา้ รอ้ ยบาทกฉ่ี บบั (4 ฉบบั ) - มธี นบตั รหา้ รอ้ ยบาท 6 ฉบบั สามารถซ้อื ตรู้ าคา 2,500 บาทได้หรือไม่ เพราะเหตใุ ด (ได้ เพราะธนบตั รห้ารอ้ ยบาท 6 ฉบบั มคี ่า 3,000 บาท แตต่ รู้ าคา 2,500 บาท)
กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ ชัน้ ป. ๓ หนว่ ยที่ ๗ เงนิ เวลา ๑ ชัว่ โมง ธนบัตรชนิดราคา 1,000 บาท หรือธนบัตรหนง่ึ พันบาท ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ 27 ธนบตั รหนง่ึ พนั บาท มสี นี �ำ้ ตาล ภาพประธานดา้ นหนา้ พระบรมสาทสิ ลกั ษณส์ มเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ในฉลองพระองคเ์ ครอื่ งแบบทหารอากาศ ภาพประธาน ดา้ นหลงั พระบรมสาทิสลักษณพ์ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช และ พระบรม สาทสิ ลักษณส์ มเด็จพระเจ้าอย่หู ัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร ธนบตั รท้ังสองดา้ น ปรากฏค่าของธนบตั รด้วยตวั เลขไทยและตวั เลขฮินดูอารบิก ครแู นะน�ำ คา่ ของธนบตั รหนง่ึ พนั บาทวา่ ธนบตั รหนง่ึ พนั บาท 1 ฉบบั มคี า่ 1,000 บาท เชน่ ถา้ ซอ้ื สิ่งของราคา 1,000 บาท สามารถให้เงนิ แก่รา้ นค้าเป็นธนบัตรหนึง่ พนั บาท 1 ฉบับได้ จากน้นั ครูถามวา่ - มีธนบัตรหนง่ึ พันบาท 3 ฉบบั มเี งินกบ่ี าท (3,000 บาท) - ธนบตั รหนงึ่ พันบาท 1 ฉบับ เท่ากบั ธนบตั รหนึ่งรอ้ ยบาทกีฉ่ บบั (10 ฉบบั ) - ธนบัตรหน่ึงพันบาท 1 ฉบับ เทา่ กบั ธนบตั รหา้ รอ้ ยบาทกีฉ่ บับ (2 ฉบับ) - ต้องซื้อของราคา 9,000 บาท ต้องจา่ ยเงินด้วยธนบตั รหน่งึ พันบาทกฉ่ี บับ (9 ฉบับ) - มีธนบัตรหนง่ึ พันบาท 10 ฉบบั สามารถซือ้ โทรทศั น์ราคา 12,000 บาทได้หรือไม่ เพราะเหตุใด (ไมไ่ ด้ เพราะธนบตั รหนึ่งพันบาท 10 ฉบับ มีคา่ 10,000 บาท แตโ่ ทรทัศนร์ าคา 12,000 บาท)
28 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ ช้ัน ป. ๓ หน่วยท่ี ๗ เงิน เวลา ๑ ช่วั โมง 3. ครูแนะน�ำ วา่ ธนบตั รเป็นส่ือกลางท่ใี ชใ้ นการซ้ือขาย ซึ่งธนบัตรทใี่ ชห้ มุนเวียนในปจั จุบนั อาจมี ดังนี้ สบื คน้ ณ วันท่ี 5 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ทม่ี า: https://www.bot.or.th/Thai/Banknotes/HistoryAndSeriesOfBanknotes/Pages/ Current_Series_of_Banknotes.aspx
กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ ชน้ั ป. ๓ หนว่ ยที่ ๗ เงิน เวลา ๑ ชัว่ โมง ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ 4. ครูจดั กิจกรรม “สะสมทรัพย”์ โดยครูแจกธนบัตรจ�ำ ลองชนิดละ 10 ฉบับ และเหรยี ญสิบบาท จ�ำ ลอง 10 เหรยี ญ ใหน้ กั เรียนกล่มุ ละ 1 ชดุ จากนั้นใหน้ กั เรียนแสดงเงนิ เหรียญหรอื ธนบตั รให้ สอดคลอ้ งกับเงือ่ นไขทคี่ รกู �ำ หนด กลุ่มใดทำ�ถูกตอ้ งได้รบั เงินรางวลั ตามท่ีครูก�ำ หนด รางวัลมลู ค่า 2 บาท - ธนบตั รท่ีมีคา่ นอ้ ยท่ีสุด (ธนบตั ร 20 บาท) - ธนบัตรทม่ี คี ่ามากทสี่ ุด (ธนบัตร 1,000 บาท) - ธนบตั รท่มี สี แี ดงกับธนบตั รทสี่ มี ่วง ธนบัตรสีใดมีคา่ มากกวา่ เพราะอะไร (ธนบัตรสมี ว่ ง เพราะธนบตั รท่ีมสี มี ว่ งมคี ่า 500 บาท ซึ่งมากกวา่ ธนบตั รทมี่ ีสแี ดงที่มคี ่า 100 บาท) รางวลั มูลคา่ 5 บาท - แสดงเงนิ 200 บาท ดว้ ยธนบตั รชนดิ เดียวกัน (ธนบตั รยส่ี ิบบาท 10 ฉบับ ธนบตั ร หา้ สบิ บาท 4 ฉบับ หรือธนบัตรหนึง่ ร้อยบาท 2 ฉบบั ) - แสดงเงิน 1,000 บาท ดว้ ยธนบัตรชนิดเดียวกัน (ธนบัตรห้ารอ้ ยบาท 2 ฉบบั ธนบัตร หนงึ่ ร้อยบาท 10 ฉบับ หรือธนบตั รหนง่ึ พันบาท 1 ฉบบั หมายเหตแุ บบอื่นไมไ่ ดเ้ น่อื งจากธนบตั ร จ�ำ ลองของนักเรยี นไม่เพียงพอ) รางวัลมูลคา่ 10 บาท - ถา้ มี 2 ฉบบั จะเทา่ กบั มธี นบตั รหนง่ึ พนั บาท 1 ฉบบั ฉนั คอื ธนบตั รใด (ธนบตั รหา้ รอ้ ยบาท) - ถ้ามี 5 ฉบับ จะเท่ากบั มีธนบัตรรอ้ ยบาท 1 ฉบบั ฉันคือธนบตั รใด (ธนบัตรย่ีสิบบาท) - ถา้ มเี หรยี ญสบิ บาท 10 เหรยี ญ จะเทา่ กบั มฉี นั 2 ใบ ฉนั คอื ธนบตั รใด (ธนบตั รหา้ สบิ บาท) - ฉนั มคี ่ามากกวา่ ธนบตั รทม่ี ีสเี ขยี วแตน่ ้อยกวา่ ธนบัตรที่มสี แี ดง ฉนั คอื ธนบตั รใด (ธนบัตร ห้าสิบบาท) 29
30 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ ชั้น ป. ๓ หน่วยท่ี ๗ เงิน เวลา ๑ ชัว่ โมง จากนน้ั ครใู ห้นกั เรียนเรยี งลำ�ดบั ค่าของธนบตั รจากนอ้ ยไปมากบนกระดาน ซ่ึงจะไดด้ ังน้ี ข้นั สรปุ 6. ครตู รวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี น โดยใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ แสดงธนบัตรตามเง่ือนไขที่ครู ก�ำ หนด ดังนี้ 1) แสดงธนบัตรสองชนิดใหม้ ีคา่ เท่ากัน โดยให้ไดแ้ บบมากทส่ี ดุ (นกั เรียนจดั แสดงธนบัตรตามความเขา้ ใจ เชน่ ธนบัตรยส่ี บิ บาท 5 ฉบับ กับ ธนบัตรหา้ สิบบาท 2 ฉบับ ธนบัตรหน่ึงรอ้ ยบาท 1 ฉบับ กบั ธนบัตรยีส่ บิ บาท 5 ฉบบั ธนบตั รหน่งึ พันบาท 1 ฉบับ กบั ธนบัตรห้าร้อยบาท 2 ฉบับ ธนบตั รหนึ่งพันบาท 1 ฉบับ กับ ธนบตั รหนง่ึ รอ้ ยบาท 10 ฉบบั )
กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๒ ชั้น ป. ๓ หนว่ ยที่ ๗ เงนิ เวลา ๑ ชัว่ โมง ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ 2) แสดงวธิ กี ารจ่ายเงนิ ในการซ้ือเสอ้ื ราคา 600 บาท ให้พอดี (นกั เรียนจดั แสดงธนบัตรตามความเข้าใจ เช่น - ธนบัตรหนง่ึ รอ้ ยบาท 6 ฉบบั - ธนบัตรหา้ สิบบาท 12 ฉบับ - ธนบัตรยี่สบิ บาท 30 ฉบับ - ธนบตั รห้าร้อยบาท 1 ฉบับ กับ ธนบัตรหนง่ึ ร้อยบาท 1 ฉบับ - ธนบัตรห้ารอ้ ยบาท 1 ฉบบั กบั ธนบตั รห้าสบิ บาท 2 ฉบบั ) จากน้ันใหน้ ักเรยี นทำ�แบบฝกึ หัด 7.2 31
32 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ข้นั น�ำ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ ขั้นสอน ขั้นสรปุ แนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล สนทนาเกย่ี วการใช้จ่ายเงนิ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั เพือ่ นำ�ไปสู่การแลกเงนิ แนะนำ�การแลกเงินโดยให้นักเรียนใชเ้ งินเหรียญจ�ำ ลองแสดงจ�ำ นวนเงินทต่ี อ้ งการแลก ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปเก่ยี วกบั ความสัมพันธ์ของเงนิ เหรยี ญแตล่ ะชนิด และท�ำ แบบฝึกหัด 7.3 - ประเมินจากการตอบค�ำ ถามและการท�ำ แบบฝกึ หัด 7.3 - ประเมนิ จากการแก้ปญั หา การใหเ้ หตุผล และการสอ่ื สารและสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์
กล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ ช้นั ป. ๓ หน่วยที่ ๗ เงนิ เวลา ๑ ชวั่ โมง สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. เงินเหรยี ญ หรอื เงินเหรียญ 1. เงนิ เหรยี ญชนดิ ตา่ ง ๆ ข้ันนำ� จำ�ลอง 2. การแลกเงนิ เหรียญ 1. ครสู นทนากบั นกั เรยี นเกย่ี วกบั การแลกเงนิ วา่ “ฟา้ มเี หรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ ไปซอ้ื ของราคา 2. แบบฝกึ หดั 7.3 3 บาท แตแ่ มค่ า้ บอกวา่ ตอ้ งจา่ ยเงนิ ใหพ้ อดกี บั ราคาสนิ คา้ ” ครถู ามวา่ สาระสำ�คญั - ฟา้ ตอ้ งท�ำ อยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ เชน่ ไปแลกเงนิ ) การประเมิน ขน้ั สอน 1. เงินเหรียญชนดิ ตา่ ง ๆ 2. จากสถานการณใ์ นขน้ั น�ำ ครถู ามวา่ จะแลกเงนิ ไดอ้ ยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ) เชน่ 1. วิธกี าร มีค่าดงั น้ี วธิ ที ่ี 1 เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ แลกเปน็ เหรยี ญหนง่ึ บาท 5 เหรยี ญ 1.1 สงั เกตพฤตกิ รรม - เหรียญยส่ี ิบหา้ สตางค์ การเรยี นรู้ 1 เหรียญ มีค่า 25 สตางค์ แลกได้ 1.2 ตรวจแบบฝกึ หดั - เหรยี ญห้าสบิ สตางค์ 2. เคร่อื งมอื 1 เหรียญ มีคา่ 50 สตางค์ เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ เหรยี ญหนง่ึ บาท 5 เหรยี ญ 2.1 แบบฝกึ หดั 7.3 - เหรยี ญหนึ่งบาท 1 เหรยี ญ 2.2 แบบประเมนิ ทกั ษะ มคี า่ 1 บาท หรอื 100 สตางค์ ครแู นะน�ำ วา่ เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ มคี า่ เทา่ กบั เหรยี ญหนง่ึ บาท 5 เหรยี ญ และกระบวนการทาง - เหรียญสองบาท 1 เหรียญ ดงั นน้ั เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ จงึ แลกได้ เหรยี ญหนง่ึ บาท 5 เหรยี ญ คณติ ศาสตร์ มีค่า 2 บาท 3. เกณฑ์ - เหรียญหา้ บาท 1 เหรยี ญ 3.1 ผลงานมคี วามถูกตอ้ ง มคี ่า 5 บาท ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 - เหรียญสบิ บาท 1 เหรยี ญ 3.2 คะแนนรวม ดา้ นทกั ษะ มคี ่า 10 บาท และกระบวนการทาง คณิตศาสตรไ์ ม่น้อยกวา่ 33 รอ้ ยละ 60
34 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ ชน้ั ป. ๓ หนว่ ยที่ ๗ เงนิ เวลา ๑ ช่วั โมง 2. เงินเหรียญแลกเปลยี่ น วธิ ที ่ี 2 เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ แลกเปน็ เหรยี ญสองบาท 2 เหรยี ญ กบั เหรยี ญหนง่ึ บาท กนั ได้โดยจำ�นวนเงนิ ทนี่ �ำ ไป 1 เหรยี ญ แลกกับจ�ำ นวนเงินที่ได้รับ ตอ้ งเทา่ กนั แลกได้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ เหรยี ญสองบาท 2 เหรยี ญกบั เหรยี ญหนง่ึ บาท 1 เหรยี ญ ครูแนะน�ำ วา่ เหรียญสองบาท 2 เหรยี ญ มีคา่ 4 บาท ด้านความรู้ เหรียญหน่ึงบาท 1 เหรยี ญ มีคา่ 1 บาท เพือ่ ใหน้ ักเรยี นสามารถ แลกเปลีย่ นเงนิ เหรียญได้ จะได้วา่ เหรยี ญสองบาท 2 เหรยี ญกับเหรยี ญหนึ่งบาท 1 เหรยี ญ มีค่า 5 บาท ด้านทักษะและกระบวนการ ดงั น้ัน เหรยี ญห้าบาท 1 เหรียญ จึงแลกได้ เหรยี ญสองบาท 2 เหรียญกบั เหรียญหนงึ่ บาท ทางคณติ ศาสตร์ 1 เหรยี ญ วธิ ที ่ี 3 เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ แลกเปน็ เหรยี ญสองบาท 1 เหรยี ญ กบั เหรยี ญหนง่ึ บาท เพื่อใหน้ ักเรียนสามารถ 3 เหรยี ญ 1. แกป้ ัญหา 2. ให้เหตผุ ล แลกได้ 3. ส่ือสารและสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ เหรยี ญสองบาท 1 เหรยี ญกบั เหรยี ญหนง่ึ บาท 3 เหรยี ญ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๓ ชั้น ป. ๓ หน่วยที่ ๗ เงิน เวลา ๑ ชัว่ โมง ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ครแู นะน�ำ วา่ เหรยี ญสองบาท 1 เหรยี ญ มีคา่ 2 บาท เหรยี ญหนึ่งบาท 3 เหรียญ มคี ่า 3 บาท 35 จะไดว้ ่า เหรยี ญสองบาท 1 เหรียญกบั เหรยี ญหนงึ่ บาท 3 เหรียญ มีค่า 5 บาท ดงั นัน้ เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรียญ จึงแลกได้ เหรียญสองบาท 1 เหรยี ญกบั เหรียญหนงึ่ บาท 3 เหรยี ญ ครูถามเพ่มิ เตมิ ว่า ฟ้าควรแลกเงินวิธใี ดทสี่ ามารถนำ�เงนิ ไปจ่ายให้แม่คา้ ได้ (ได้ทงั้ 3 วธิ )ี เพราะ เหตใุ ด (เพราะทั้ง 3 วธิ ี มเี หรยี ญทสี่ ามารถจ่ายเงนิ 3 บาทได้พอด)ี 3. ครูจดั กจิ กรรมแลกเงิน โดยแบง่ นกั เรียนเป็นกลมุ่ กล่มุ ละ 3 - 4 คน แจกเงนิ เหรียญจ�ำ ลอง ดงั น้ี เหรยี ญหนง่ึ บาท เหรยี ญสองบาท เหรยี ญหา้ บาท และเหรยี ญสบิ บาท อยา่ งละ 10 เหรยี ญ จากนน้ั ให้นกั เรยี นแสดงการแลกเงินเหรยี ญสบิ บาท 1 เหรียญ เป็นเงินเหรยี ญชนิดต่าง ๆ จากนัน้ สุ่ม นกั เรยี นน�ำ เสนอ ซ่งึ อาจได้ว่า วธิ ที ี่ 1 แลกไดเ้ หรยี ญชนิดเดยี วกัน ก. เหรียญห้าบาท 2 เหรยี ญ ข. เหรียญสองบาท 5 เหรยี ญ ค. เหรียญหนึ่งบาท 10 เหรยี ญ
36 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ ชน้ั ป. ๓ หนว่ ยท่ี ๗ เงนิ เวลา ๑ ชั่วโมง วธิ ีท่ี 2 แลกได้เหรยี ญต่างชนดิ กนั ง. เหรยี ญห้าบาท 1 เหรยี ญ เหรียญสองบาท 2 เหรียญ เหรยี ญหนึ่งบาท 1 เหรียญ จ. เหรียญห้าบาท 1 เหรยี ญ เหรยี ญสองบาท 1 เหรียญ เหรียญหนง่ึ บาท 3 เหรยี ญ ฉ. เหรียญห้าบาท 1 เหรยี ญ เหรียญหนงึ่ บาท 5 เหรียญ ช. เหรียญสองบาท 4 เหรียญ เหรียญหนึ่งบาท 2 เหรยี ญ ซ. เหรียญสองบาท 3 เหรยี ญ เหรียญหนง่ึ บาท 4 เหรียญ ฌ. เหรียญสองบาท 2 เหรียญ เหรียญหนึ่งบาท 6 เหรยี ญ ซ. เหรียญสองบาท 1 เหรียญ เหรยี ญหน่ึงบาท 8 เหรยี ญ
กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ ช้ัน ป. ๓ หนว่ ยที่ ๗ เงิน เวลา ๑ ชว่ั โมง ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ครูถามวา่ - มวี ิธีการจัดเหรียญให้แลกอยา่ งไร (ตอบตามความเขา้ ใจ ซึ่งอาจได้ว่า จดั เหรียญให้นบั รวมกนั ได้ 10 บาท) - ถ้าน้�ำ มีเหรยี ญสิบบาท 1 เหรียญ ต้องการเตรียมเงนิ จา่ ยค่าโดยสารให้พอดี 8 บาท นำ�้ ควร เลือกแลกเหรียญแบบใด (แบบ ข. ค. ง. จ. ฉ. ช. ซ. ฌ. และญ.) เพราะเหตุใด (เพราะมเี หรียญ ทนี่ ำ�มารวมกนั ได้ 8 บาท พอด)ี ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ วา่ เงนิ เหรยี ญสามารถแลกเปลย่ี นกนั ไดโ้ ดยจ�ำ นวนเงนิ ทน่ี �ำ ไปแลก กบั จำ�นวนเงินทีไ่ ด้รบั ต้องเท่ากัน 4. ครแู บ่งนักเรยี นเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 3 - 4 คน ให้นกั เรียนทำ�กจิ กรรม “แลกเงนิ สะสมทรพั ย”์ โดย ครูแจกชดุ เหรยี ญจำ�ลองให้นักเรยี นเพมิ่ เติม ดังน้ี เป็นเหรยี ญย่ีสบิ ห้าสตางค์ เหรียญห้าสบิ สตางค์ เหรยี ญหนึ่งบาท เหรียญสองบาท เหรียญหา้ บาท และเหรียญสิบบาท อย่างละ 10 เหรียญ และ อธบิ ายกติกาว่าเม่อื ครูเปิดบัตรโจทย์ใหน้ กั เรยี นแสดงเงนิ ทีใ่ ห้แลกตามเง่ือนไขที่กำ�หนด กลมุ่ ใด ทำ�ได้ถกู ต้องรับเงินรางวัลเป็นรอบ ๆ ดังน้ี รอบท่ี 1 เงนิ รางวัล 5 บาท ปมู เี หรยี ญหนงึ่ บาท 30 เหรียญ ตอ้ งการแลกเงนิ เป็นเหรียญสบิ บาท เพอ่ื ไปหยอดเครื่องซกั ผ้า เม่ือนักเรยี นได้แสดงคำ�ตอบแลว้ ครูและนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายถึงวธิ ีการคดิ จะได้ดงั นี้ 37
38 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ ชนั้ ป. ๓ หนว่ ยท่ี ๗ เงิน เวลา ๑ ชั่วโมง แลกได้ แลกได้ แลกได้ เหรียญหนง่ึ บาท 10 เหรียญ แลกเป็นเหรยี ญสิบบาทได้ 1 เหรยี ญ ดังนั้น เหรียญหน่งึ บาท 30 เหรยี ญ จึงแลกเปน็ เหรยี ญสิบบาทได้ 3 เหรียญ ครูจัดกิจกรรมท�ำ นองเดียวกันอกี 4 รอบ ดงั น้ี รอบที่ 2 เงินรางวลั 10 บาท จนิ มีเหรยี ญสิบบาท 1 เหรยี ญ ต้องการแลกเงนิ เพอื่ จา่ ยให้แมค่ า้ ได้ 7 บาทพอดี เม่ือนกั เรยี นไดแ้ สดงคำ�ตอบแลว้ ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายถงึ วธิ ีการคดิ จะได้ดังน้ี แลกได้ เหรียญห้าบาท 1 เหรยี ญ เหรยี ญสองบาท 2 เหรียญ เหรยี ญหน่ึงบาท 1 เหรยี ญ แลกได้ เหรียญหา้ บาท 1 เหรียญ เหรยี ญสองบาท 1 เหรียญ เหรียญหนึง่ บาท 3 เหรียญ
กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ ชน้ั ป. ๓ หนว่ ยท่ี ๗ เงนิ เวลา ๑ ชัว่ โมง แลกได้ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ เหรยี ญห้าบาท 1 เหรยี ญ เหรียญหนงึ่ บาท 5 เหรยี ญ แลกได้ เหรยี ญสองบาท 4 เหรียญ เหรยี ญหนงึ่ บาท 2 เหรียญ แลกได้ เหรียญสองบาท 3 เหรยี ญ เหรียญหนึง่ บาท 4 เหรยี ญ แลกได้ เหรียญสองบาท 2 เหรียญ เหรยี ญหน่ึงบาท 6 เหรียญ แลกได้ เหรยี ญสองบาท 1 เหรียญ เหรียญหนึ่งบาท 8 เหรยี ญ แลกได้ เหรียญหน่งึ บาท 10 เหรียญ 39
40 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓ ชน้ั ป. ๓ หน่วยท่ี ๗ เงนิ เวลา ๑ ช่ัวโมง รอบท่ี 3 เงินรางวลั 15 บาท กุ้งมีเหรยี ญสองบาท 20 เหรียญ ตอ้ งการแลกเงินเปน็ เหรียญสบิ บาท เพอื่ ไปหยอดเคร่อื งเล่น เมอ่ื นักเรียนได้แสดงคำ�ตอบแลว้ ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายถึงวธิ ีการคิด จะไดด้ ังน้ี เหรยี ญสองบาท 5 เหรียญ แลกเปน็ เหรียญสบิ บาทได้ 1 เหรียญ ดงั นนั้ เหรียญสองบาท 20 เหรยี ญ จงึ แลกเปน็ เหรียญสิบบาทได้ 4 เหรยี ญ แลกได้ แลกได้ แลกได้ แลกได้ รอบที่ 4 เงินรางวัล 20 บาท โอมมเี หรยี ญยีส่ บิ หา้ สตางค์ 20เพเื่อหไรปียหญยอตดอ้ ตงู้นกำ�้ารแลกเงินเปน็ เหรียญหนึ่งบาท
กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๓ ชนั้ ป. ๓ หนว่ ยท่ี ๗ เงิน เวลา ๑ ชว่ั โมง ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ เมอื่ นกั เรยี นไดแ้ สดงคำ�ตอบแลว้ ครูและนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายถงึ วธิ ีการคดิ จะได้ดงั นี้ เหรียญยส่ี ิบหา้ สตางค์ 4 เหรียญ แลกเป็นเหรยี ญหน่งึ บาทได้ 1 เหรยี ญ ดังนั้น เหรียญยี่สบิ หา้ สตางค์ 20 เหรยี ญ จึงแลกเปน็ เหรียญหน่ึงบาทได้ 5 เหรียญ แลกได้ แลกได้ แลกได้ แลกได้ แลกได้ รอบที่ 5 เงินรางวัล 25 บาท ตอ้ มมีเหรยี ญห้าสบิ สตางค์ 8 เหรยี ญ ต้องการแลกเงนิ ใหไ้ ด้ จ�ำ นวนเหรยี ญนอ้ ยทสี่ ุด เมือ่ นักเรยี นไดแ้ สดงคำ�ตอบแลว้ ครูและนกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายถึงวิธกี ารคดิ จะได้ดังน้ี เหรียญหา้ สิบสตางค์ 4 เหรียญ แลกเป็นเหรียญสองบาทได้ 1 เหรียญ ดังนนั้ เหรียญหา้ สิบสตางค์ 8 เหรียญ จงึ แลกเป็นเหรยี ญสองบาทได้ 2 เหรยี ญ 41
42 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๓ ชน้ั ป. ๓ หน่วยที่ ๗ เงิน เวลา ๑ ช่วั โมง แลกได้ แลกได้ ขน้ั สรปุ 5. ครตู ดิ บตั รภาพเงนิ เหรยี ญทลี ะชนดิ ใชค้ �ำ ถามน�ำ อภปิ รายเกย่ี วกบั ความสมั พนั ธข์ องคา่ เงนิ เหรยี ญ แต่ละชนิด เพ่ือชว่ ยในการแลกเงนิ เช่น - เหรยี ญย่ีสิบหา้ สตางค์ 2 เหรยี ญ แลกเป็นเหรียญอะไรไดบ้ ้าง ก่ีเหรยี ญ (เหรียญหา้ สบิ สตางค์ 1 เหรยี ญ) - เหรียญหา้ สบิ สตางค์ 2 เหรยี ญ แลกเปน็ เหรียญอะไรไดบ้ า้ ง กเ่ี หรียญ (เหรียญหนึง่ บาท 1 เหรยี ญ) - เหรยี ญหน่ึงบาท 2 เหรยี ญ แลกเป็นเหรยี ญสองบาทได้ก่เี หรยี ญ (เหรียญสองบาท 1 เหรียญ) - เหรียญหน่ึงบาท 5 เหรียญ แลกเปน็ เหรียญห้าบาทได้ก่เี หรียญ (เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรยี ญ) - เหรยี ญห้าบาท 2 เหรียญ แลกเปน็ เหรียญสิบบาทได้ก่เี หรยี ญ (เหรียญสบิ บาท 1 เหรยี ญ) จะได้ความสัมพันธข์ องค่าเงินเหรยี ญแตล่ ะชนิดดงั แผนภาพ แลกได้ แลกได้
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๓ ชนั้ ป. ๓ หน่วยที่ ๗ เงนิ เวลา ๑ ช่ัวโมง แลกได้ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ แลกได้ แลกได้ ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ สาระส�ำ คัญเกี่ยวกบั เงนิ เหรยี ญและธนบตั รอีกครัง้ วา่ เงนิ เหรยี ญ สามารถแลกเปล่ียนกันได้โดยจ�ำ นวนเงนิ ทนี่ �ำ ไปแลกกบั จำ�นวนเงินที่ไดร้ ับตอ้ งเท่ากนั จากนัน้ ให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 7.3 43
44 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ขั้นนำ� แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๔ ข้นั สอน ขน้ั สรปุ แนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล สนทนาเกีย่ วการใชจ้ า่ ยเงนิ ในชวี ิตประจำ�วันเพื่อนำ�ไปสูก่ ารแลกเงิน แนะนำ�การแลกเงินโดยให้นักเรียนใช้ธนบตั รจ�ำ ลองแสดงจ�ำ นวนเงินที่ตอ้ งการแลก ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุป ตรวจสอบความเขา้ ใจเกี่ยวกับการแลกเงนิ และทำ�แบบฝกึ หดั 7.4 - ประเมนิ จากการตอบคำ�ถามและการท�ำ แบบฝกึ หดั 7.4 - ประเมนิ จากการแกป้ ญั หา การใหเ้ หตุผล และการสือ่ สารและสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๔ ชัน้ ป. ๓ หน่วยที่ ๗ เงนิ เวลา ๑ ชว่ั โมง ส่อื /แหล่งเรยี นรู้ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผู้สอน) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ขอบเขตเน้ือหา กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ธนบัตรจำ�ลอง ธนบัตรชนิดตา่ งๆ และ ข้นั นำ� 2. เงินเหรยี ญจ�ำ ลอง การแลกเงิน 1. ครกู �ำ หนดสถานการณ์ ดงั น้ี 3. แบบฝกึ หัด 7.4 สาระสำ�คัญ ปมุ้ มีธนบเตัพร่อื ยน่สี �ำ ิบไปบหาทยอ1ดตฉูซ้บื้อบั กตรอ้ะดงกาษารชเำ�หรระียหญนหา้ ้าหบอ้ างทนำ�้ 1 เหรียญ การประเมนิ ครถู ามวา่ ปมุ้ ตอ้ งท�ำ อยา่ งไร (ตอบตามความเขา้ ใจ เชน่ ไปแลกเงนิ ) 1. เงินเหรียญชนิดต่าง ๆ ครแู จกเงนิ เหรยี ญจ�ำ ลองชนดิ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ เหรยี ญหนง่ึ บาท เหรยี ญสองบาท เหรยี ญหา้ บาท 1. วธิ กี าร มคี า่ ดังนี้ และเหรยี ญสบิ บาท อยา่ งละ 10 เหรยี ญ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นแสดงวธิ กี ารแลกเงนิ ตามสถานการณ์ 1.1 สงั เกตพฤตกิ รรม - เหรยี ญย่ีสิบห้าสตางค์ โดยใหไ้ ดม้ ากแบบทส่ี ดุ จากนน้ั สมุ่ นกั เรยี นน�ำ เสนอ การเรยี นรู้ 1 เหรยี ญ มีค่า 25 สตางค์ ตวั อยา่ งวธิ กี ารแลกเงนิ 1.2 ตรวจแบบฝกึ หดั แบบท่ี 1 2. เครอ่ื งมอื - เหรยี ญห้าสบิ สตางค์ 2.1 แบบฝกึ หัด 7.4 1 เหรียญ มคี า่ 50 สตางค์ แบบที่ 2 2.2 แบบประเมนิ ทักษะ และกระบวนการทาง - เหรียญหน่งึ บาท แบบที่ 3 คณิตศาสตร์ 1 เหรยี ญ มคี ่า 1 บาท 3. เกณฑ์ หรอื 100 สตางค์ 3.1 ผลงานมคี วามถูกต้อง - เหรยี ญสองบาท ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 1 เหรียญ มีคา่ 2 บาท 3.2 คะแนนรวม ดา้ นทกั ษะ และกระบวนการทาง - เหรยี ญห้าบาท 1 เหรียญ คณิตศาสตร์ไมน่ อ้ ยกว่า มคี ่า 5 บาท ร้อยละ 60 - เหรียญสิบบาท 1 เหรยี ญ มคี า่ 10 บาท 45
46 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ส�ำ หรบั ครูผ้สู อน) กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๔ ชนั้ ป. ๓ หนว่ ยที่ ๗ เงิน เวลา ๑ ช่ัวโมง 2. ธนบัตรชนดิ ตา่ ง ๆ มีค่า แบบท่ี 4 ดงั นี้ ครถู ามวา่ มวี ธิ กี ารแลกเงนิ อยา่ งไร (ตอบตามความเขา้ ใจ เชน่ ในการแลกครง้ั นต้ี อ้ งมเี หรยี ญ - ธนบัตรยีส่ บิ บาท หา้ บาทอยา่ งนอ้ ย 1 เหรยี ญ จากนน้ั นบั เพม่ิ ใหค้ รบ 20 บาท) 1 ฉบับมีคา่ 20 บาท ครแู นะน�ำ เพม่ิ เตมิ วา่ ธนบตั รยส่ี บิ บาทมคี า่ เทา่ กบั เหรยี ญสบิ บาท 2 เหรยี ญ - ธนบัตรหา้ สบิ บาท 1 ฉบับมคี า่ 50 บาท และเหรยี ญสบิ บาท 1 เหรยี ญมคี า่ เทา่ กบั เหรยี ญหา้ บาท 2 เหรยี ญ ดงั นน้ั สามารถแลกเงนิ ไดด้ งั น้ี - ธนบตั รหนง่ึ ร้อยบาท 1 ฉบบั มคี า่ 100 บาท - ธนบัตรห้าร้อยบาท 1 ฉบับมคี า่ 500 บาท - ธนบัตรหน่ึงพนั บาท 1 ฉบบั มีคา่ 1,000 บาท 3. เงนิ แลกเปลย่ี นกันไดโ้ ดย จำ�นวนเงินที่นำ�ไปแลกกบั จำ�นวนเงนิ ท่ไี ด้รบั ตอ้ งเท่ากนั จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นสามารถ แลกเปล่ยี นเงินเหรยี ญได้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213