Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-07-29-คู่มือครู สุขศึกษา ป.3

64-07-29-คู่มือครู สุขศึกษา ป.3

Published by elibraryraja33, 2021-07-29 03:09:19

Description: 64-07-29-คู่มือครู สุขศึกษา ป.3

Search

Read the Text Version

๒๕ นรู ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ ฏบิ ัตติ นเพอื่ ใหมกี ารเจริญเตบิ โตตามวยั รเรยี นรูที่ ๑ เรอื่ ง สุขภาพดชี วี ีมีสุข จาํ นวน ๑ ชั่วโมง แนวการจดั การเรียนรู การประเมนิ กิจกรรมนกั เรยี น ส่ือการเรียนรู การเรียนรู ปแอฟรกิ า ๑. นกั เรียนดภู าพแลวแสดงความรูสึก ๑. PowerPoint ใหน กั เรยี น ทมี่ ตี อ ภาพแลว รวมกันบอกสาเหตุ ภาพเดก็ พและแสดง ของลักษณะบคุ คลในภาพ ทวีปแอฟรกิ า ลกั ษณะ (แนวคาํ ตอบ : ขาดสารอาหาร ทเ่ี ปนโรคขาด ขาดแคลนอาหาร เปน ตน ) สารอาหาร นหัวขอ ริญเติบโต ามคิดเห็น ๑. นักเรยี นรวมกนั ตอบคําถาม ๑. PowerPoint แบบประเมนิ (แนวคําตอบ : รับประทานอาหารทม่ี ี เร่ือง การปฏิบตั ิ ผลงาน ยา งไร ประโยชน ออกกาํ ลังกาย เปนตน) ตนเพื่อใหมกี าร ย เจรญิ เตบิ โต วาดรูป ๒. นกั เรียนจนิ ตนาการและวาดรปู ตามวยั ษท่คี รู ตัวเองในอนาคตลงในการดาษทคี่ รู แจกให

๒๖ ลาํ ดบั จุดประสงค ข้นั ตอนการจดั เวลา แ ท่ี การเรียนรู การเรยี นรู ทใ่ี ช กจิ กรรมครู ๓. ๒. ปฏบิ ตั ิตน ขัน้ ปฏิบัติ ๑๕ ๓. ครูสุม ตัวแทนนักเรียน ๒-๓ เพอื่ ใหมกี าร นาที ออกมาแสดงผลงานของตัวเอง เจริญเตบิ โต และใหบ อกแนวทางการปฏิบัต ทางดา นรา งกาย มกี ารเจริญเตบิ โตท่สี มวยั จิตใจ อารมณ ๔. ครูใหความรเู พิม่ เติม เร่อื ง ก และสติปญ ญาท่ี ตนเพอ่ื ใหมีการเจรญิ เติบโตตา เหมาะสมตามวยั โดยใชส ื่อ PowerPoint เร่ือง ก ตนเพอ่ื ใหมกี ารเจริญเตบิ โตตา ๕. ครูชแ้ี จงการทํากจิ กรรมกลมุ นกั เรยี นแบงกลุมออกเปน ๗ ก กลมุ ละ ๔ คน แตละกลมุ รว มก วิธกี ารปฏบิ ตั ติ นใหม ลี ักษณะแ เจริญเติบโตตามวัยเปนแผนภา พรอมนําเสนอหนา ช้ันเรียน ๔. ๓. เห็นความสําคญั ข้ันสรปุ ๕ ๑. ครูและนักเรียนสรุปความรู ของการปฏิบตั ิตน นาที การปฏบิ ตั ติ นเพ่ือใหมีการเจริญ เพอ่ื ใหม กี าร เจรญิ เติบโตตามวัย ตามวยั รวมกนั ดงั นี้ การปฏิบ มกี ารเจรญิ เตบิ โตตามวัยสามา โดยการรับประทานอาหารท่ีเห กับวยั มีประโยชน ครบ ๕ หม การพักผอ นใหเพยี งพอ ออกกํา สมาํ่ เสมอ ทําจิตใจใหแจมใส

คูมือครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) แนวการจัดการเรียนรู ส่ือการเรยี นรู การประเมนิ กจิ กรรมนกั เรียน การเรยี นรู ๓ คน ๓. นกั เรียนตัวแทนออกมาแสดง งหนาหอ ง ผลงานของตวั เองหนาหอง และให ตติ นเพ่ือให บอกแนวทางการปฏบิ ตั ติ นเพ่ือใหม ี การเจรญิ เติบโตทสี่ มวยั การปฏบิ ัติ ๔. นักเรียนฟงครูอธิบายเพิ่มเตมิ ามวัย การปฏบิ ัติ ามวัย ม โดยให ๕. นักเรียนฟงคําชี้แจงและรว มกนั กลมุ ทาํ กิจกรรมกลมุ พรอมนําเสนอ กนั สรุป หนา ชั้นเรยี น และการ าพความคิด เรอื่ ง ๑. นักเรียนรวมกันสรุปความรู เรื่อง ๑. PowerPoint ญเติบโต การปฏิบัตติ นเพ่ือใหม ีการเจริญเตบิ โต สรุปความรู เรอ่ื ง บตั ิตนเพ่ือให ตามวยั การปฏบิ ัติตน ารถทาํ ได เพอื่ ใหมี หมาะสม การเจริญเติบโต มู รวมทั้ง ตามวยั าลังกาย

หนว ยการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง สุขภาพดชี วี มี สี ขุ ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ๒๗ ๘. สือ่ การเรียนร/ู แหลงเรียนรู ๑. สื่อ PowerPoint เรือ่ ง การปฏบิ ตั ิตนเพื่อใหม ีการเจริญเตบิ โตตามวัย ๙. การประเมินผลรวบยอด ชิน้ งานหรือภาระงาน แผนภาพความคดิ เร่ือง วธิ กี ารปฏิบัตติ นใหมีลกั ษณะและการเจริญเติบโตตามวยั เกณฑการประเมินผลชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ประเดน็ ระดบั คุณภาพ การประเมิน ๑. เน้ือหา ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรับปรุง) เนอื้ หาถูกตองสมบูรณ เน้อื หาไมสอดคลอ ง ๒. ความสวยงาม ครบถวน สอดคลอง เน้อื หาสอดคลอ งกบั เนือ้ หาไมคอย กับหัวขอที่กาํ หนด กับหัวขอ ที่กําหนดให หวั ขอทก่ี ําหนด สอดคลอ งกบั หวั ขอท่ี ๓. การนําเสนอ แตผ ดิ พลาด ๑ จดุ กําหนด แตผดิ พลาด ความสมบูรณ ความสมบูรณ ๒ จุด ความเรียบรอยของ ความเรยี บรอ ยของ ใบงาน ใบงาน มีการตกแตง ความสมบรู ณ ความสมบูรณ นําเสนอไดไมคอย ใบงานเพ่ิมเติม ความเรียบรอ ยของ ความเรยี บรอยของ นา สนใจ เสียงเบา นาํ เสนอไดนาสนใจ ใบงาน มีการตกแตง ใบงาน มกี ารตกแตง อานตามผลงาน เสียงดงั ฟง ชัด ใบงาน ใบงานบา งบางสวน ไมอานตามผลงาน มปี ฏบิ ตั สิ ัมพนั ธกับ นาํ เสนอไดนาสนใจ นาํ เสนอไดดี ผูฟง เชน การถาม เสียงดัง ฟงชัด มีอา น เสยี งคอ นขางดัง คาํ ถาม ตามผลงานบาง มีอา นตามผลงานบาง มีปฏิบัตสิ มั พนั ธก ับ มีปฏบิ ัตสิ ัมพนั ธกับ ผฟู ง เชน การถาม ผูฟง เชน การถาม คําถาม คาํ ถาม เกณฑการตัดสนิ คะแนน ๙-๑๒ หมายถงึ ดมี าก คะแนน ๗-๘ หมายถงึ ดี คะแนน ๔-๖ หมายถงึ พอใช คะแนน ๑-๓ หมายถึง ปรบั ปรุง เกณฑการผาน ตง้ั แตร ะดับ พอใช

๒๘ คมู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) ๑๐. บันทึกผลหลังสอน ผลการจดั การเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสําเร็จ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญหาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ จาํ กดั การใชแผนการจัดการเรยี นรู และขอ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ......................................................ผสู อน (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคดิ เห็น/ขอเสนอแนะของผบู รหิ ารหรือผทู ่ไี ดร บั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ...................................................... ผตู รวจ (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

หนว ยการเรียนรทู ี่ ๑ เร่อื ง สุขภาพดชี วี มี สี ขุ ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๓ ๒๙ สื่อสาํ หรับครู หนวยการเรยี นรูท ่ี ๑ สุขภาพดชี ีวีเปน สขุ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๒ เรื่อง ลักษณะการเจริญเตบิ โตของวยั เรยี น รายวิชา สขุ ศึกษาและพลศึกษา (สขุ ศกึ ษา) รหสั วิชา พ๑๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชัน้ ประถมศึกษา ๓ ภาพเด็กทวีปแอฟรกิ าท่เี ปน โรคขาดสารอาหาร

๓๐ คมู อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๔ เรื่อง การช่ังนาํ้ หนกั และวัดสวนสูง หนวยการเรียนรทู ่ี ๑ เรอื่ ง สุขภาพดชี ีวมี ีสุข เวลา ๑ ชัว่ โมง รายวชิ า สุขศึกษาและพลศกึ ษา (สุขศกึ ษา) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๓ ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชว้ี ัด พ ๑.๑ เขา ใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย พ ๑.๑ ป.๓/๒ เปรยี บเทียบการเจริญเตบิ โตของตนเองกับเกณฑมาตรฐาน ๒. สาระสําคัญ/ความคดิ รวบยอด การชั่งนํ้าหนักและวัดสวนสูงเปนการตรวจสอบการเจริญเติบโตของรางกายซ่ึงจะทําใหทราบวามี การเจรญิ เตบิ โตเปน ไปตามวัยหรือไม การชงั่ นาํ้ หนักและวดั สวนสูงทําไดโ ดยใชเครอื่ งทไี่ ดม าตรฐาน ๓. จุดประสงคการเรียนรู ๓.๑ ดา นความรู ความเขาใจ (K) ๑. บอกขน้ั ตอนการช่งั นํา้ หนกั และวัดสวนสงู ๓.๒ ดา นทักษะ/กระบวนการ (P) ๑. ชั่งน้ําหนักและวดั สว นสงู ไดตามขนั้ ตอนและบันทึกผล ๓.๓ ดา นคุณลักษณะ เจตคติ คา นิยม (A) ๑. เห็นความสําคัญของการชั่งนาํ้ หนักและวัดสว นสูง ๔. สาระการเรยี นรู ๑. วิธีการชั่งนาํ้ หนักและวดั สว นสงู ๕. สมรรถนะสําคญั ของผูเ รยี น ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแกปญหา ๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ติ ๖. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรียนรู ๗. กจิ กรรมการเรียนรู

หนวยการเรียนรูท ี่ ๑ เรอื่ ง สขุ ภาพดชี วี ีมสี ุข ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๓ การจัดกิจกรรมการเรียนร แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๔ เรือ่ รายวชิ า สุขศกึ ษาและพลศึกษา (สุขศึกษา) หนว ยการ แ ลําดับ จุดประสงค ขัน้ ตอนการจดั เวลา ที่ การเรยี นรู การเรียนรู ที่ใช กจิ กรรมครู ๑. ขั้นนํา ๕ ๑. ครูสุมตัวแทนนกั เรียนชาย นาที นกั เรียนหญิง ๓ คน จากน้ันให รว มกันทายวา เพื่อนคนใดหนัก อันดบั หนงึ่ อันดบั สองและอันด ตามลาํ ดบั พรอมตอบคาํ ถามต - นักเรียนทราบไดอยางไรวา เพ หนกั มากท่ีสดุ - นักเรยี นมีวิธอี ยางไรท่ีจะทรา หนกั เทาไหร ๒. ๑. บอกขัน้ ตอน ข้ันสอน ๒. ครูเชือ่ มโยงเขา สบู ทเรียนใน การชงั่ นา้ํ หนักและ “การชั่งนา้ํ หนกั และวัดสวนสงู วัดสวนสูง ๔๐ ๑. ครใู หน กั เรยี นรวมกนั สนทน นาที ใชค ําถาม ดังนี้ - ปจ จุบันนกั เรียนอายเุ ทา ไหร - นกั เรียนทราบหรอื ไมว า ตนเอ เทาไหร และสวนสงู เทา ไหร - นกั เรียนมีวิธีการชัง่ น้ําหนักแ สว นสงู อยางไร

๓๑ รู ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ อง การชง่ั นํา้ หนักและวดั สวนสูง รเรยี นรูที่ ๑ เรอื่ ง สุขภาพดีชวี ีมีสุข จํานวน ๑ ชั่วโมง แนวการจัดการเรยี นรู กจิ กรรมนกั เรยี น สื่อการเรียนรู การประเมนิ การเรยี นรู ๓ คน และ ๑. ตัวแทนนกั เรียนออกมาหนาหอง ๑. PowerPoint หน กั เรียน ใหเ พื่อนกนั ทายนํ้าหนัก เร่อื ง การชั่ง กมากเปน นักเรยี นรว มกนั ตอบคาํ ถาม นาํ้ หนกั และวัด ดับสาม (แนวคาํ ตอบ : ตอบตาม สวนสูง ตอ ไปน้ี ประสบการณ) พ่อื นคนใด (แนวคําตอบ : ชง่ั นํา้ หนัก) าบวา เพอ่ื น นหวั ขอ ๑. PowerPoint แบบประเมนิ ง” เรือ่ ง การช่งั ผลงาน นา โดยครู ๑. นักเรยี นรว มกันตอบคําถาม น้าํ หนกั และวดั สวนสูง (แนวคาํ ตอบ : ร - ๘ ป ๙ ป) องมนี ้ําหนัก - ทราบ/ไมท ราบ) และวัด - ช่งั นาํ้ หนกั ใหย ืนตวั ตรงไมมีสง่ิ ของ ๒. อุปกรณในการ ทม่ี ีนํา้ หนักไวใ นเสอ้ื แลวใหเพ่ือน ชัง่ น้ําหนกั และวัด ชว ยอานคา การวัดสว นสูง ตองยนื สวนสูง

๓๒ แ ลาํ ดับ จดุ ประสงค ข้ันตอนการจดั เวลา กจิ กรรมครู ที่ การเรียนรู การเรียนรู ทใ่ี ช ๓. ๒. ชง่ั นํ้าหนักและ ขนั้ ปฏบิ ัติ - นักเรยี นจะทราบไดอยางไรว วัดสว นสูงไดต าม ขัน้ สรปุ และสวนสงู ของตนเอง เพิม่ ขึ้น ขนั้ ตอนและบันทึก ๒. ครสู าธติ วิธีการช่งั นา้ํ หนกั แ ผล สว นสูง โดยใชอปุ กรณท่ีใชชั่งน วัดสวนสูง และใหค วามรูเ พ่ิมเ ๔. ๓. เหน็ ความสาํ คัญของการชั่งน้ําหนัก ความสาํ คัญของ สวนสูง โดยใชส่อื PowerPoin การช่งั นํา้ หนกั และ การชง่ั นํ้าหนกั และวัดสว นสงู วดั สวนสูง ๓. ครูชแี้ จงการทาํ กจิ กรรมแล นกั เรยี นแตล ะคนวัดสว นสูงแล ของตนเองแลวบันทึกขอมูลลง บนั ทกึ ๕ ๑. ครแู ละนักเรยี นรว มกันสรุป นาที ดงั น้ี ทุกคนสามารถทราบการ ของตนเองไดโ ดยการช่ังน้ําหน สวนสูง

คูมือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) แนวการจดั การเรยี นรู สอื่ การเรยี นรู การประเมิน กิจกรรมนกั เรยี น การเรียนรู ตัวตรง สนเทาชิด ไมเงยหนา หรอื (เครอื่ งช่ังนํ้าหนกั กมหนา) ที่วดั สวนสูง) วา นํา้ หนกั - เปรยี บเทียบจากตอน ป.๒/ ๓. แบบบันทึก นหรอื ลดลง จดบนั ทึกไว นาํ้ หนกั และสวนสงู และวัด ๒. นักเรียนฟงครสู าธิตวิธกี ารชง่ั นํ้าหนกั และ น้ําหนกั และวัดสวนสงู และให เตมิ เกีย่ วกับ ความรเู พ่มิ เตมิ เกย่ี วกบั ความสาํ คญั กและวัด ของการชง่ั นาํ้ หนกั และวดั สว นสงู nt เรื่อง ละให ๓. นักเรยี นฟงครูชแ้ี จงและทํา ละชั่งน้าํ หนัก กจิ กรรม งในแบบ ปความรู ๑. นกั เรยี นรวมกนั สรปุ ความรูทไี่ ด ๑. PowerPoint รเจริญเตบิ โต เรอื่ ง การช่งั นา้ํ หนักและวัดสว นสูง สรุปความรู เรอ่ื ง นักและวัด การชงั่ นา้ํ หนักและ วดั สวนสูง

หนวยการเรยี นรูที่ ๑ เร่อื ง สุขภาพดชี วี ีมสี ุข ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๓ ๓๓ ๘. สือ่ การเรยี นรู/แหลง เรียนรู ๑. สอ่ื powerPoint เรอื่ ง การชง่ั นา้ํ หนักและวัดสว นสูง ๙. การประเมินผลรวบยอด ชนิ้ งานหรือภาระงาน แบบบันทกึ นํา้ หนกั และสว นสูง เกณฑการประเมนิ ผลชนิ้ งานหรอื ภาระงาน ประเดน็ ระดับคุณภาพ การประเมิน ๑.ความรวมมือ ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรับปรุง) ในการปฏบิ ัติงาน สมาชิกทกุ คนมี สวนรวมใน สมาชิกสวนใหญม ี สมาชกิ ในกลุม สมาชกิ สวนใหญ ๒. ช่งั นํ้าหนักและ การปฏบิ ัติกจิ กรรม สว นรวมใน บางสวนไมมีสว นรวม ไมม สี ว นรว มใน วัดสว นสูง และ อยา งเต็มท่ี การปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม การปฏิบตั กิ ิจกรรม บันทึกผล ช่ังน้าํ หนกั และวัด ชั่งน้าํ หนกั และวดั ชั่งนํา้ หนกั และวดั ชั่งนํ้าหนักและวัด สว นสูง และบันทกึ สวนสูง และบันทึก สวนสูง และบนั ทึก สว นสงู และบนั ทกึ ผลไดถูกตอง ผลไดดวยตนเอง แต ผลไดถ ูกตอง ผลไดถกู ตอง โดยมี ครบถวนดวยตนเอง ไมค รบถวนบางสว น ครบถว นโดยมผี อู นื่ ผอู ืน่ คอยแนะนํา คอยแนะนําบางสว น ทง้ั หมด เกณฑการตัดสนิ หมายถงึ ดมี าก คะแนน ๗-๘ หมายถงึ ดี คะแนน ๕-๖ หมายถงึ พอใช คะแนน ๔-๓ หมายถงึ ปรับปรุง คะแนน ๑-๒ เกณฑการผาน ต้ังแตร ะดับ พอใช

๓๔ คูมือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) ๑๐. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการจดั การเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสําเร็จ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญหาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอจาํ กดั การใชแผนการจัดการเรยี นรู และขอเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรุงแกไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................................ผสู อน (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคดิ เห็น/ขอ เสนอแนะของผูบรหิ ารหรือผูทีไ่ ดรบั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ...................................................... ผตู รวจ (..........................................................) วันที่ .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๑ เรอื่ ง สขุ ภาพดชี ีวมี สี ขุ ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ๓๕ แบบบนั ทกึ น้ําหนัก สวนสูง และเปรียบเทียบนาํ้ หนกั กับสว นสงู ตามเกณฑมาตรฐาน หนว ยการเรียนรูที่ ๑ สุขภาพดชี วี เี ปนสุข แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๔ เร่อื ง การชัง่ นา้ํ หนกั และวดั สวนสูง รายวชิ า สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศกึ ษา) รหัสวิชา พ๑๓๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ คาํ ชแ้ี จง : ใหน ักเรยี นบนั ทึกน้ําหนกั และสว นสูงของตนเองตามความเปนจริง ชอ่ื …………………………………………………………………………………………ชั้น……………. เลขท่ี ………… คร้งั ที่ นํา้ หนกั สว นสูง เปรียบเทยี บน้าํ หนกั กบั สว นสูง ตามเกณฑม าตรฐาน

๓๖ คูมือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๕ เร่ือง การเปรียบเทียบนํ้าหนกั สวนสูงกับเกณฑมาตรฐาน หนวยการเรียนรทู ี่ ๑ เร่อื ง สุขภาพดชี ีวมี ีสขุ เวลา ๑ ชว่ั โมง รายวชิ า สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา (สขุ ศกึ ษา) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๓ ๑. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้วี ัด พ ๑.๑ เขา ใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย พ ๑.๑ ป.๓/๒ เปรียบเทยี บการเจริญเติบโตของตนเองกับเกณฑม าตรฐาน ๒. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด การเจริญเติบโตของรางกายตรวจสอบไดโดยการช่ังนํ้าหนักและวัดสวนสูง แลวนําผลไปเปรียบเทียบ กับเกณฑมาตรฐาน ซึ่งจะทําใหเราทราบวาเรามีการเจริญเติบโตตามวัยหรือไม ถานํ้าหนักและสวนสูงเปนไป ตามเกณฑมาตรฐานแสดงวามกี ารเจริญเติบโตทีเ่ หมาะสมตามวยั ๓. จุดประสงคก ารเรยี นรู ๓.๑ ดานความรู ความเขาใจ (K) ๑. บอกวธิ อี า นกราฟเกณฑม าตรฐานการเจรญิ เติบโต ๓.๒ ดา นทักษะ/กระบวนการ (P) ๑. เปรียบเทยี บนํา้ หนักและสว นสูงกับเกณฑม าตรฐาน ๓.๓ ดานคุณลักษณะ เจตคติ คานยิ ม (A) ๑. เหน็ ความสาํ คญั ของการเจรญิ เติบโตตามเกณฑม าตรฐาน ๔. สาระการเรียนรู ๑. การเปรยี บเทยี บน้ําหนกั สว นสงู กับเกณฑม าตรฐาน ๒. วิธกี ารอานกราฟเกณฑม าตรฐานการเจริญเตบิ โต ๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รียน ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแกปญหา ๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวติ ๖. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินยั ๒. ใฝเ รยี นรู ๗. กจิ กรรมการเรียนรู

หนวยการเรยี นรูท ี่ ๑ เรือ่ ง สขุ ภาพดชี ีวมี สี ุข ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๓ การจัดกิจกรรมการเรยี นร แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๕ เรอื่ ง การเปรีย รายวิชา สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศกึ ษา) หนว ยการ แ ลาํ ดับ จดุ ประสงค ขั้นตอนการจัด เวลา ที่ การเรียนรู การเรียนรู ทใ่ี ช กจิ กรรมครู ๑. ขัน้ นาํ ๕ ๑. ครใู หน กั เรียนดภู าพ ๓ นาที ดงั นี้ ภาพท่ี ๑ เด็กในวัยเรียนท เกินเกณฑ ภาพท่ี ๒ เดก็ ในวยั เรยี นท ตามเกณฑ ภาพที่ ๓ เด็กในวยั เรยี นท ต่ํากวา เกณฑ และใหน ักเรียนแสดงควา โดยใชคาํ ถามตอไปน้ี - นกั เรยี นคดิ บคุ คลในภา รา งกายแข็งแรงที่สดุ เพร ๒. ครูเช่ือมโยงเขาสูบ ทเร ในหวั ขอ “การเปรียบเทีย นา้ํ หนักสว นสงู กับเกณฑ มาตรฐาน”

๓๗ รู ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ยบเทยี บนํา้ หนกั สว นสงู กับเกณฑมาตรฐาน รเรียนรทู ี่ ๑ เร่อื ง สุขภาพดีชวี ีมีสุข จํานวน ๑ ชั่วโมง แนวการจัดการเรยี นรู กิจกรรมนักเรยี น ส่ือการเรียนรู การประเมนิ การเรยี นรู ๓ ภาพ ๑. นกั เรยี นดภู าพแลว รวมกนั ตอบ ๑. PowerPoint คาํ ถาม เร่อื ง การเปรยี บเทยี บ ทีน่ ํา้ หนัก (แนวคาํ ตอบ : ภาพท่ี ๒ เพราะมี น้ําหนักสวนสูงกับ นาํ้ หนกั ตามเกณฑเหมาะสมกับวัย) เกณฑมาตรฐาน ทน่ี าํ้ หนัก ๒. ภาพที่ ๑ เดก็ ในวยั เรยี นทนี่ ้ําหนัก ที่นาํ้ หนกั เกนิ เกณฑ ภาพท่ี ๒ เด็ก ามคิดเห็น ในวยั เรยี นท่ีน้ําหนัก ตามเกณฑ าพใด ภาพท่ี ๓ เด็ก ราะอะไร ในวยั เรียนท่นี ้ําหนกั ตาํ่ กวาเกณฑ รยี น ยบ

๓๘ ลาํ ดบั จดุ ประสงค ข้นั ตอนการจัด เวลา แ ที่ การเรียนรู การเรียนรู ทีใ่ ช ๒. ๑. บอกวธิ อี า นกราฟ กิจกรรมครู เกณฑมาตรฐาน การเจริญเติบโต ขนั้ สอน ๒๕ ๑. ครูและนกั เรยี นรวมกนั นาที โดยใชค ําถาม ดงั น้ี - นกั เรยี นจะรไู ดอยางไรว มกี ารเจริญเติบโตเหมาะส หรือไม ๒. เปรยี บเทยี บน้าํ หนัก ขั้นปฏบิ ัติ ๒. ครูใหน ักเรียนดูกราฟเ และสว นสงู กับเกณฑ มาตรฐานการเจริญเตบิ โต มาตรฐาน นํา้ หนักตามเกณฑสวนสงู ๓. เดก็ ไทย และอธิบายวธิ กี า กราฟ - ครสู ุม นกั เรยี น ๑ คน อ หนา ชัน้ เรยี น แลวถามขอ น้ําหนักและสว นสูงแลว เปรยี บเทียบกบั เกณฑม า การเจรญิ เตบิ โต เพ่ือวิเคร การเจรญิ เตบิ โตวา สมวยั ห ๑๕ ๓. ครชู ้แี จงการทํากิจกรร นาที นักเรยี นแตล ะคนนาํ ขอม เกยี่ วกับนํา้ หนักและสวน ตนเองนํามาวิเคราะหการ

คมู อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) แนวการจดั การเรยี นรู สอ่ื การเรียนรู การประเมิน กจิ กรรมนกั เรยี น การเรยี นรู นสนทนา ๑. นักเรยี นรวมกันตอบคําถาม ๑. PowerPoint แบบประเมิน (แนวคาํ ตอบ : นาํ คานา้ํ หนักและ เรอ่ื ง การเปรยี บเทยี บ ผลงาน นาํ้ หนักสวนสงู กบั วา ตนเอง สวนสูงไปเปรียบเทียบกบั เกณฑ เกณฑมาตรฐาน สม มาตรฐาน) เกณฑ ๒. นักเรียนฟงครูอธบิ ายวธิ กี าร ต อา นกราฟเกณฑมาตรฐาน งของ การเจริญเติบโต ารอา น ออกมา อมลู าตรฐาน ราะห หรอื ไม รมโดยให ๓. นกั เรียนบันทึกนํ้าหนักและ มูล สวนสงู ของตนเองลงในแบบบันทึก นสงู ของ และวิเคราะหการเจรญิ เติบโตของ รเจริญ ตนเอง

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๑ เรอ่ื ง สขุ ภาพดชี วี มี ีสุข ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๓ ลําดบั จดุ ประสงค ขัน้ ตอนการจัด เวลา แ ที่ การเรียนรู การเรยี นรู ท่ใี ช กิจกรรมครู เตบิ โตวามกี ารเจรญิ เตบิ โ ตามเกณฑหรือไม อยางไ พรอ มบนั ทกึ ลงในแบบบนั ๔. ๓. เห็นความสาํ คญั ของ ข้นั สรปุ ๕ ๑. นักเรยี นและครรู ว มกนั การเจริญเติบโตตาม นาที ความรู ดงั น้ี การเปรยี บเท เกณฑมาตรฐาน น้ําหนกั และสวนสงู กับเก อางอิงการเจรญิ เติบโต จ ทราบภาวะการเจริญเติบ รา งกายวา อยูในระดบั ใด

๓๙ แนวการจดั การเรยี นรู สื่อการเรียนรู การประเมิน กิจกรรมนกั เรยี น การเรยี นรู โตทสี่ มวยั ๑. PowerPoint ไร สรุป เรอื่ ง นทึก การเปรยี บเทียบ นสรุป ๑. นกั เรียนรว มกนั สรุป เร่อื ง นํ้าหนักสว นสงู กับ ทียบ การเปรียบเทยี บนํ้าหนักและ เกณฑมาตรฐาน กณฑ สว นสูงกบั เกณฑ จะทาํ ให บโตของ

๔๐ คมู อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) ๘. สอ่ื การเรียนรู/แหลง เรยี นรู ๑. ส่ือ PowerPoint เร่อื ง การเปรยี บเทยี บนํ้าหนกั สวนสูงกบั เกณฑม าตรฐาน ๙. การประเมินผลรวบยอด ชนิ้ งานหรือภาระงาน แบบบนั ทกึ นํ้าหนักและสวนสูง เกณฑก ารประเมนิ ผลชิ้นงานหรือภาระงาน ประเดน็ ระดบั คณุ ภาพ การประเมิน ๑. ความรว มมือ ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรับปรุง) ในการปฏิบัตงิ าน สมาชิกทกุ คนมี สมาชิกสวนใหญมี สมาชกิ บางสว นไมมี สมาชิกสว นใหญไมมี ๒. การบันทึกผล สว นรวมในการปฏิบัติ สวนรว มในการปฏิบตั ิ สว นรว มในการปฏบิ ตั ิ สวนรว มในการปฏบิ ัติ กิจกรรมอยา งเต็มท่ี กจิ กรรม กจิ กรรม กจิ กรรม บนั ทกึ ผลไดถูกตอง บนั ทกึ ผลไดด วย บนั ทึกผลไดถกู ตอง บนั ทกึ ผลไดถูกตอง ครบถวนดว ยตนเอง ตนเองแตไมครบถว น ครบถว นโดยมผี อู ่นื ครบถว นโดยมีผูอืน่ บางสวน คอยแนะนําบางสว น คอยแนะนําทั้งหมด เกณฑการตดั สิน หมายถึง ดีมาก คะแนน ๗-๘ หมายถงึ ดี คะแนน ๕-๖ หมายถงึ พอใช คะแนน ๔-๓ หมายถงึ ปรับปรงุ คะแนน ๑-๒ เกณฑการผาน ตั้งแตระดับ พอใช

หนว ยการเรียนรูท่ี ๑ เรือ่ ง สขุ ภาพดชี วี มี ีสุข ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ๔๑ ๑๐. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการจดั การเรยี นการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสําเร็จ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญ หาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ จาํ กดั การใชแผนการจัดการเรยี นรู และขอเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ......................................................ผสู อน (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคิดเห็น/ขอ เสนอแนะของผบู รหิ ารหรือผูท่ไี ดรับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ...................................................... ผตู รวจ (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

๔๒ คมู ือครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) แบบบนั ทึกนํา้ หนกั สวนสงู และเปรียบเทียบนา้ํ หนกั กับสวนสงู ตามเกณฑม าตรฐาน หนว ยการเรียนรูที่ ๑ สุขภาพดชี วี เี ปน สขุ แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๕ เรือ่ ง การเปรียบเทียบการเจรญิ เติบโตของตนเองกบั เกณฑมาตรฐาน รายวิชา สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (สุขศึกษา) รหสั วิชา พ๑๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ คาํ ช้ีแจง : ใหน กั เรยี นบนั ทึกน้ําหนักและสว นสูงของตนเองตามความเปน จรงิ ชอื่ …………………………………………………………………………………………ช้ัน……………. เลขท่ี ………… ครงั้ ที่ น้ําหนัก สวนสูง เปรยี บเทียบนํา้ หนกั กับสว นสูง ตามเกณฑมาตรฐาน

หนว ยการเรียนรูที่ ๑ เรอ่ื ง สุขภาพดชี วี ีมีสขุ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๓ ๔๓ สื่อสาํ หรบั ครู หนว ยการเรียนรทู ี่ ๑ สุขภาพดชี วี เี ปนสขุ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๕ เรื่อง การเปรยี บเทยี บการเจริญเตบิ โตของตนเองกบั เกณฑมาตรฐาน รายวิชา สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (สขุ ศึกษา) รหัสวิชา พ ๑๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ภาพท่ี ๑ เด็กในวัยเรยี นทนี่ ํา้ หนักเกินเกณฑ ภาพท่ี ๒ เดก็ ในวยั เรียนทน่ี าํ้ หนกั ตามเกณฑ

๔๔ คมู ือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) ภาพท่ี ๓ เดก็ ในวยั เรียนท่ีน้ําหนักต่าํ กวา เกณฑ

หนว ยการเรยี นรูที่ ๑ เรื่อง สขุ ภาพดชี วี ีมสี ขุ ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๓ ๔๕ สอ่ื สําหรับครู หนวยการเรยี นรทู ่ี ๑ สุขภาพดีชีวเี ปนสุข แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๕ เรื่อง การเปรียบเทยี บการเจริญเติบโตของตนเองกับเกณฑมาตรฐาน รายวชิ า สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา (สขุ ศกึ ษา) รหสั วิชา พ๑๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๓ กราฟแสดงเกณฑอางองิ การเจริญเติบโต น้ําหนักตามเกณฑสว นสงู ของเพศชาย อายุ ๕-๑๘ ป กราฟแสดงเกณฑอา งองิ การเจริญเติบโต นํ้าหนกั ตามเกณฑส วนสูงของเพศหญิง อายุ ๕-๑๘ ป

๔๖ คูมือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๖ เรอ่ื ง ปจจัยที่มผี ลตอการเจรญิ เตบิ โต หนว ยการเรยี นรูท ี่ ๑ เร่ือง สุขภาพดชี ีวมี ีสขุ เวลา ๑ ชัว่ โมง รายวิชา สุขศึกษาและพลศกึ ษา (สขุ ศึกษา) ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชว้ี ดั พ ๑.๑ เขาใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย พ ๑.๑ ป.๓/๓ ระบปุ จจัยทมี่ ผี ลตอการเจรญิ เติบโต ๒. สาระสาํ คัญ/ความคดิ รวบยอด ปจจัยท่ีสงผลตอการเจริญเติบโตของรางกายประกอบไปดวย พันธุกรรม อาหาร การออกกําลังกาย และการพกั ผอ นท่เี หมาะสมเพ่ือใหการเจริญเติบโตเปน ไปตามวยั ๓. จุดประสงคก ารเรยี นรู ๓.๑ ดานความรู ความเขาใจ (K) ๑. อธบิ ายปจจัยทมี่ ผี ลตอการเจริญเตบิ โต ๓.๒ ดานทักษะ/กระบวนการ (P) ๑. เขยี นแผนภาพปจจัยทีส่ งผลตอ การเจริญเติบโต ๓.๓ ดานคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คานยิ ม (A) ๑. เห็นความสําคัญของปจจยั ที่สง ผลตอการเจรญิ เติบโต ๔. สาระการเรยี นรู ๑. ปจจัยทม่ี ผี ลตอ การเจรญิ เตบิ โต - พนั ธกุ รรม - อาหาร - การออกกาํ ลังกาย - การพกั ผอน ๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผูเรยี น ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกป ญ หา ๔. ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ ๖. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ๑. มีวนิ ัย ๒. ใฝเ รยี นรู ๗. กิจกรรมการเรยี นรู

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๑ เร่อื ง สุขภาพดชี ีวีมสี ุข ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๓ การจัดกิจกรรมการเรยี น แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๖ เรือ่ ง รายวชิ า สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา (สุขศกึ ษา) หนวยการ แนว ลําดบั จุดประสงค ขนั้ ตอนการจัด เวลา ท่ี การเรียนรู การเรยี นรู ท่ใี ช กจิ กรรมครู ๑. ๑. อธิบายปจ จยั ขน้ั นํา ๕ ๑. ใหนกั เรยี นดภู าพตน ไมแ ละ ทมี่ ผี ลตอ นาที ภาพมนุษย จากนั้นเปรยี บเทียบ การเจริญเตบิ โต การเจรญิ เตบิ โตของทั้ง ๒ สง่ิ ดังน - นักเรยี นคิดวา การทต่ี น ไมและ มนุษยเ จริญเติบโตไดต องอาศัยปจ ดานใดบา งเหมือนหรือแตกตางกนั อยา งไร ๒. ๒. เขยี น ขน้ั สอน ๒. ครเู ช่ือมโยงเขาสบู ทเรียน แผนภาพปจ จัย ในหวั ขอ “ปจจัยท่ีมผี ลตอ ที่สง ผลตอ การเจรญิ เตบิ โต” การเจริญเติบโต ๒๕ ๑. ครูและนักเรยี นรว มกันสนทนา นาที โดยครใู ชคาํ ถาม ดังนี้ - ถา เปรยี บเทยี บนกั เรียนในปจจุบ กับนักเรียนตอนทเี่ รยี นอยู ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๑ นกั เรียนม การเปลย่ี นแปลงดานรา งกายอยา

นรู ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ๔๗ ปจจัยท่ีมีผลตอการเจรญิ เติบโต การประเมนิ รเรยี นรูท ่ี ๑ เร่อื ง สุขภาพดีชีวีมีสขุ จาํ นวน ๑ ชัว่ โมง การเรยี นรู วการจดั การเรยี นรู กจิ กรรมนักเรยี น สื่อการเรียนรู ๑. นักเรยี นเปรยี บเทยี บภาพทงั้ ๒ ๑. ภาพ แลวรว มกนั แสดงความคิดเห็น การเจรญิ เตบิ โต น้ี (แนวคาํ ตอบ : อาศยั ปจ จัยที่คลา ยกัน ของตน ไมและ เชน อาหาร การพักผอน การดูแล มนุษย จจัย เอาใจใส) น ๒. PowerPoint เรอ่ื ง ปจ จัยทมี่ ผี ล ตอ การเจริญเตบิ โต า ๑. นักเรยี นรว มกนั สนทนา ๑. PowerPoint แบบประเมนิ (แนวคําตอบ : เรือ่ ง ปจ จยั ท่มี ผี ล ผลงาน บัน - ตัวใหญข้ึน สูงขน้ึ นา้ํ หนกั เพิ่มขึ้น ฯลฯ ตอการเจริญเติบโต - ออกกําลังกาย รับประทานอาหาร ฯลฯ มี - รบั ประทานอาหารมากข้นึ างไร ออกกําลงั กายมากข้ึน

๔๘ ลาํ ดบั จุดประสงค ขนั้ ตอนการจดั เวลา แนว ท่ี การเรยี นรู การเรียนรู ทใ่ี ช กจิ กรรมครู - นักเรียนคดิ วาการที่นักเรยี นโตข สงู ขน้ึ หรือนา้ํ หนักเพิ่มขน้ึ เปนเพ อะไร - หากนกั เรยี นอยากโตขน้ึ หรือสงู มากกวาเดิม นักเรียนควรทําอยา ๒. ครูใหค วามรเู พมิ่ เติมเกยี่ วกับเร ปจ จยั ทส่ี งผลตอการเจริญเติบโต ๓. ขน้ั ปฏบิ ัติ ๑๕ ๓. ครชู ้ีแจงและใหน ักเรียนทํา นาที กิจกรรมเกมใบคาํ โดยครสู มุ นักเร ออกเปนคนใบค าํ ท่ีเกี่ยวกบั ปจจัย สง ผลตอ การเจริญเตบิ โต แลวให เพ่อื นรว มกนั ทายคาํ ตอบโดยจะ แบง ออกเปนหมวด ๆ ดงั น้ี ตัวอยา งคํา - หมวดพนั ธุกรรม ไดแ กคาํ วา ครอบครัว โรคตาบอดสี สายส้ัน มาตงิ่ หู - หมวดอาหาร ไดแกคําวา ขา วผดั นมกลอง นํ้า

คมู ือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) วการจดั การเรียนรู ส่อื การเรียนรู การประเมิน กิจกรรมนักเรยี น การเรียนรู ข้นึ พราะ งขึน้ างไร รอื่ ง ๒. นักเรียนฟงครูใหความรเู พ่ิมเติม อยา งต้งั ใจ ๓. นกั เรยี นฟงคําช้แี จงและทํากจิ กรรม รียน ยที่ ดหมู

หนวยการเรียนรทู ่ี ๑ เร่อื ง สุขภาพดีชีวมี ีสุข ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๓ ลาํ ดับ จดุ ประสงค ขัน้ ตอนการจดั เวลา แนว ที่ การเรยี นรู การเรียนรู ทใี่ ช กจิ กรรมครู - หมวดการออกกาํ ลังกาย ไดแก คาํ วา กีฬาฟตุ บอล กฬี าวา ยนํ้า ปนจกั รยาน - หมวดการพักผอน ไดแกค าํ วา นอนหลับ ๔. ๓. เหน็ ขั้นสรุป ๔. ครูช้ีแจงและใหนักเรยี นทําใบง ความสาํ คญั ของ เรอ่ื ง ปจ จัยทส่ี ง ผลตอการ ปจ จัยท่ีสงผลตอ เจรญิ เตบิ โต โดยใหน ักเรียนให การเจริญเตบิ โต นกั เรียนเขยี นอธิบายปจจยั ท่ีมผี ล สขุ ภาพแตล ะดานมาพอสังเขป ๕ ครูและนักเรียนรว มกนั สรุป ดังน้ี นาที ปจจัยทม่ี ีผลตอการเจรญิ เติบโต ของรา งกายคือ อากาศ น้ํา อาหา การออกกาํ ลังกายและการพักผอ เปนสงิ่ ทจ่ี ะทําใหร างกายมีพัฒนา และมีสุขภาพท่ีดตี ามวยั ดํารงชวี ติ อยา งมีความสขุ

๔๙ วการจัดการเรยี นรู สือ่ การเรียนรู การประเมิน กจิ กรรมนักเรียน การเรียนรู งาน ๔. นกั เรียนทําใบงาน เร่ืองปจ จยั ทส่ี ง ผล ตอ การเจริญเตบิ โต ลตอ ๑. นกั เรยี นรวมสรุปความรเู ก่ียวกับ ๑. PowerPoint เรอ่ื ง ลกั ษณะการเจริญเตบิ โตของ สรปุ เรื่อง ปจ จยั าร รา งกาย ท่มี ีผลตอ อน การเจริญเติบโต าการ ตได

๕๐ คูมือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) ๘. ส่อื การเรยี นร/ู แหลงเรียนรู ๑. สือ่ PowerPoint เร่อื ง ปจจยั ทีม่ ผี ลตอการเจรญิ เตบิ โต ๙. การประเมินผลรวบยอด ชนิ้ งานหรือภาระงาน กิจกรรมเกมใบคาํ และใบงาน เรื่อง ปจจยั ทสี่ ง ผลตอการเจริญเติบโต เกณฑก ารประเมนิ ผลชิ้นงานหรือภาระงาน ประเดน็ ๔ (ดมี าก) ระดับคณุ ภาพ ๑ (ปรับปรุง) การประเมนิ ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑. ความรว มมือใน สมาชกิ ในกลุมทกุ คน สมาชิกในกลุม สมาชิกในกลมุ สมาชกิ ในกลุมไม การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม มีสวนรว มใน สว นใหญม ีสว นรว ม บางสว นไมมีสวนรวม ชว ยกันปฏิบตั ิ ในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ในการปฏิบัติกิจกรรม กิจกรรม การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม อยา งเต็มท่ี ๒. เนื้อหา เน้อื หาถูกตองสมบรู ณ เนอ้ื หาสอดคลอ งกบั เน้ือหาไมคอย เนื้อหาสอดคลองกบั ครบถวน สอดคลอง หวั ขอ ท่กี ําหนดให สอดคลองกบั หัวขอ หวั แตข อผิดตัง้ แต กับหัวขอ ที่กําหนดให แตผ ดิ พลาด ๑ จุด หรอื เร่ืองที่กาํ หนด ๓ จุดขนึ้ ไป แตผ ดิ พลาด ๒ จุด ๓. ความสวยงาม ความสมบูรณ ความสมบรู ณ ความสมบรู ณ ความสมบรู ณ ความเรยี บรอ ยของ ความเรียบรอยของ ความเรียบรอยของ ความเรียบรอ ยของ ใบงาน มกี ารตกแตง ใบงาน มกี ารตกแตง ใบงาน มีการตกแตง ใบงาน ใบงานเพ่ิมเติม ใบงาน ใบงานบางบางสวน เกณฑการตดั สิน หมายถึง ดมี าก คะแนน ๑๐-๑๒ หมายถงึ ดี คะแนน ๗-๙ หมายถงึ พอใช คะแนน ๔-๖ หมายถึง ปรับปรงุ คะแนน ๑-๓ เกณฑการผาน ตง้ั แตร ะดบั พอใช

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๑ เร่อื ง สขุ ภาพดีชวี ีมีสุข ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ๕๑ ๑๐. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการจดั การเรยี นการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาํ เร็จ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญหาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอจาํ กดั การใชแ ผนการจัดการเรยี นรู และขอ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรุงแกไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ......................................................ผสู อน (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคดิ เห็น/ขอเสนอแนะของผูบ ริหารหรือผูทีไ่ ดรบั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ ...................................................... ผูตรวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

๕๒ คูมอื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) ใบงานท่ี ๑ เรือ่ ง ปจจยั ทมี่ ีผลตอ การเจรญิ เตบิ โต หนวยการเรยี นรทู ี่ ๑ สุขภาพดีชวี ีเปนสุข แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๖ เรื่อง ปจจัยที่มผี ลตอการเจริญเติบโต รายวชิ า สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศกึ ษา) รหัสวิชา พ๑๓๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ คําชีแ้ จง : ใหนกั เรยี นเขียนอธิบายปจจัยท่ีมผี ลตอการเจรญิ เตบิ โต พันธกุ รรม อาหาร ออกกําลังกาย การพักผอ น ชื่อ………………………….…………………………………..………………..ช้นั ………. เลขที่ ………..

หนวยการเรียนรูท่ี ๑ เรอ่ื ง สขุ ภาพดชี ีวมี สี ขุ ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ ๕๓ เฉลยใบงานที่ ๑ เร่อื ง ปจจัยทม่ี ีผลตอการเจริญเตบิ โต หนวยการเรียนรทู ี่ ๑ สุขภาพดีชวี เี ปนสขุ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๖ เร่ือง ปจ จัยที่มีผลตอการเจริญเติบโต รายวิชา สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (สุขศึกษา) รหสั วิชา พ๑๓๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๓ คําชี้แจง : ใหน ักเรียนเขียนอธิบายปจ จัยท่มี ีผลตอการเจริญเตบิ โต พันธุกรรม ]ลกั ษณะท่ีถายทอดจากพอแมไปสูลูก เชน สผี วิ หนาตา รว มถึงโรคทางพนั ธกุ รรม อาหาร เลอื กรบั ประทานอาหารที่มีประโยชนและ ออกกาํ ลังกาย ครบท้ัง ๕ หมู การพักผอน ออกกําลังกายสมาํ่ เสมอ เชน การวิ่ง การเลนกฬี า จะทาํ ใหรา งกายแข็งแรง นอนหลบั ในท่ีทม่ี อี ากาศถา ยเทสะดวก อยางนอ ยวันละ ๘ ช่วั โมง ชอ่ื ………………………….…………………………………..………………..ช้นั ………. เลขที่ ………

๕๔ คูมอื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) สื่อสําหรับครู หนวยการเรียนรทู ี่ ๑ สุขภาพดชี วี ีเปนสขุ แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๖ เร่อื ง ปจ จัยที่มผี ลตอการเจรญิ เติบโต รายวิชา สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (สขุ ศึกษา) รหสั วิชา พ ๑๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ ภาพการเจรญิ เตบิ โตของมนษุ ย ภาพการเจรญิ เตบิ โตของตน ไม

หนว ยการเรยี นรูท ี่ ๑ เร่ือง สขุ ภาพดชี ีวีมีสขุ ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๓ ๕๕ แผนการจัดการเรียนรูท ี่ ๗ เรือ่ ง องคป ระกอบของสมรรถภาพทางกาย เวลา ๑ ช่ัวโมง หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๑ เรื่อง สุขภาพดชี ีวมี ีสขุ รายวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา (สขุ ศึกษา) ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชว้ี ดั สาระท่ี ๔ การสรา งเสรมิ สุขภาพ สมรรถภาพ แลการปอ งกันโรค พ ๔.๑ : เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกันโรคและ การสรา งเสรมิ สมรรถภาพเพือ่ สุขภาพ พ ๔.๑ ป.๓/๕ สรา งเสรมิ สมรรถภาพทางกายไดตามคําแนะนาํ ๒. สาระสาํ คัญ/ความคิดรวบยอด สมรรถภาพทางกายคือสภาพความสามารถและความพรอมในการปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ โดยไม เหน่ือยงายและทําไดนานตามความตองการ ประกอบดวย ความแข็งแรง ความคลองแคลววองไว ความเร็ว เปนตน ๓. จุดประสงคก ารเรยี นรู ๓.๑ ดานความรู ความเขา ใจ (K) ๑. บอกองคประกอบของสมรรถภาพทางกาย ๓.๒ ดานทกั ษะ/กระบวนการ (P) ๑. เขียนแผนภาพองคป ระกอบของสมรรถภาพทางกาย ๓.๓ ดา นคณุ ลักษณะ เจตคติ คา นยิ ม (A) ๑. เห็นความสําคญั ขององคประกอบของสมรรถภาพทางกาย ๔. สาระการเรียนรู ๑. องคป ระกอบของสมรรถภาพทางกาย ๕. สมรรถนะสําคญั ของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกปญ หา ๔. ความสามารถในการใชทักษะชวี ิต ๖. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ๑. มีวินัย ๒. ใฝเรยี นรู ๗. กจิ กรรมการเรียนรู

๕๖ การจดั กจิ กรรมการเรียน แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ เร่ือง อง รายวิชา สุขศึกษาและพลศกึ ษา (สุขศกึ ษา) หนว ยการ ลําดับ จุดประสงค ขน้ั ตอนการจัด เวลา แนว ที่ การเรยี นรู การเรียนรู ทใ่ี ช กิจกรรมครู ๑. ข้ันนํา ๕ ๑. ครูสุมตัวแทนนักเรยี น นาที ๓ คน ออกมาหนา ชน้ั เรียน โดยให เพอื่ น ๆ รว มกนั ทายใครสามารถ เคลอ่ื นไหวไดค ลองแคลว วอ งไวที่ส เพราะอะไร ๒. ๑. บอก ข้นั สอน ๒.ครเู ช่อื มโยงเขาสูบ ทเรยี นในหวั องคประกอบ “องคป ระกอบของสมรรถภาพ ของสมรรถภาพ ทางกาย” ทางกาย ๒๕ ๑. ครูและนักเรียนรว มกนั สนทนา นาที โดยครใู ชคําถาม ดังนี้ - นักเรียนเคยไดย นิ คําวา สมรรถภ ทางกายหรือไม แลว นักเรยี นคิดว คํานห้ี มายความวา อยางไร - นักเรียนคดิ วา การสรา งเสริม สมรรถภาพทางกายมีประโยชน หรอื ไม อยางไร - นักเรียนคดิ วาการสรา งเสริม สมรรถภาพทางกายทําไดอยางไรบ

คูม ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) นรู ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๓ งคป ระกอบของสมรรถภาพทางกาย รเรยี นรทู ี่ ๑ เรือ่ ง สุขภาพดชี วี ีมีสุข จํานวน ๑ ช่วั โมง วการจัดการเรียนรู สอ่ื การเรียนรู การประเมิน การเรียนรู กิจกรรมนักเรียน ๑. นักเรียนดูภาพแลวรว มกันตอบ ๑. PowerPoint ห คําถาม เรอ่ื ง องคประกอบ (แนวคําตอบ : ตอบตามประสบการณ) ของสมรรถภาพ สุด ทางกาย ๒. ตัวแทน นักเรียน ๓ คน วขอ า ๑. นกั เรียนรว มกนั สนทนา ๑. PowerPoint แบบประเมิน (แนวคําตอบ : เรือ่ ง องคประกอบ ผลงาน ของสมรรถภาพ ภาพ - เคยไดย ิน หมายถึง การมสี ุขภาพทด่ี ี ทางกาย วา การมคี วามพรอมในการทํากจิ กรรม ๒. ใบงาน เร่อื ง องคป ระกอบของ - มปี ระโยชน ชว ยใหรา งกายแข็งแรง สมรรถภาพ สามารถทํากจิ กรรมตางไดอยางมี ทางกาย ประสิทธิภาพ บา ง - เดนิ /วงิ่ ลุกนัง่ ฯลฯ )

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๑ เรื่อง สุขภาพดชี ีวีมสี ขุ ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๓ ลาํ ดบั จุดประสงค ขนั้ ตอนการจดั เวลา แนว ที่ การเรียนรู การเรียนรู ทใ่ี ช กจิ กรรมครู ๓. ๒. กระบวนการ ขนั้ ปฏิบตั ิ ๑๕ ๒. ครูใหค วามรเู พิ่มเตมิ เรอ่ื ง กลุม นาที องคประกอบของสมรรถภาพทาง โดยใชส่ือ PowerPoint เรอ่ื ง องคประกอบของสมรรถภาพ ทางกาย ๔. ๓. เหน็ ขัน้ สรปุ ๓. ครูชแ้ี จงในการทาํ กิจกรรมโดย ความสําคญั ของ นักเรยี นแบง กลุม ๆ ละ ๔ คน องคป ระกอบ ทาํ ใบงาน เร่ือง องคประกอบของ ของสมรรถภาพ สมรรถภาพทางกาย โดยใหนักเรยี ทางกาย รวมกันเขยี นสรุปองคประกอบขอ สมรรถภาพทางกาย ๕ ๑. ครูและนกั เรียนรว มกนั สรุปคว นาที ดังน้ี สมรรถภาพทางกาย คือ ความสามารถของรางกายในการท กิจกรรมตา ง ๆ โดยไมเหน็ดเหนื่อ โดยมอี งคป ระกอบ คือ ความแข็ง ความทนทาน ความเร็ว ความออ น การทรงตัว พลงั และประสาทสมั

วการจดั การเรียนรู ส่ือการเรยี นรู ๕๗ กิจกรรมนกั เรียน การประเมนิ การเรยี นรู ๒. นักเรียนฟงอยางตั้งใจ งกาย พ ยให ๓. นักเรียนฟงคําช้ีแจงและแบง กลมุ กัน ทําใบงาน ง ยน อง วามรู ๑. นักเรียนรวมกนั สรุปความรเู ก่ยี วกับ ๑. PowerPoint เร่อื ง องคป ระกอบของสมรรถภาพ สรุป เรอื่ ง องคป ระกอบของ ทํา ทางกาย สมรรถภาพ อย ทางกาย งแรง นตัว มผัส

๕๘ คูม อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) ๘. สื่อการเรียนรู/แหลงเรียนรู ๑. สอื่ PowerPoint เร่ือง องคประกอบของสมรรถภาพทางกาย ๙. การประเมินผลรวบยอด ชน้ิ งานหรือภาระงาน ใบงาน เรอ่ื ง องคประกอบของสมรรถภาพทางกาย เกณฑก ารประเมินผลช้นิ งานหรือภาระงาน ประเด็น ๔ (ดมี าก) ระดบั คณุ ภาพ ๑ (ปรบั ปรุง) การประเมิน ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑. นกั เรยี นในกลุม สมาชิกในกลมุ ทุกคน สมาชิกในกลมุ สมาชกิ ในกลุม สมาชิกในกลมุ ไม มีความรว มมือใน มีสว นรวมในการ สว นใหญม สี วนรวม บางสว นไมม สี ว นรว ม ชวยกันปฏบิ ัติ การปฏิบตั กิ จิ กรรม ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ในการปฏิบตั กิ ิจกรรม ในการปฏบิ ัติกิจกรรม กจิ กรรม อยา งเต็มที่ ๒. เน้ือหา เนอ้ื หาถูกตองสมบรู ณ เนอื้ หาสอดคลองกับ เนื้อหาไมคอย เนื้อหาสอดคลองกบั ครบถวน สอดคลอง หวั ขอ ทก่ี ําหนดให สอดคลองกบั หวั ขอ หัวแตข อ ผิดตัง้ แต กับหัวขอท่ีกําหนดให แตผ ดิ พลาด ๑ จดุ หรอื เรือ่ งทก่ี าํ หนด ๓ จดุ ขึ้นไป ไมพ บขอผิดพลาด แตผ ดิ พลาด ๒ จุด ๓. ความสวยงาม ความสมบูรณ ความสมบรู ณ ความสมบรู ณ ความสมบรู ณ ความเรยี บรอยของ ความเรยี บรอยของ ความเรยี บรอ ยของ ความเรียบรอ ยของ ใบงาน มีการตกแตง ใบงาน มีการตกแตง ใบงาน มีการตกแตง ใบงาน ใบงานเพ่ิมเติม ใบงาน ใบงานบางบางสวน เกณฑการตัดสนิ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๐-๑๒ หมายถึง ดี คะแนน ๗-๙ หมายถึง พอใช คะแนน ๔-๖ หมายถงึ ปรับปรุง คะแนน ๑-๓ เกณฑการผา น ต้งั แตระดบั พอใช

หนว ยการเรียนรูที่ ๑ เรือ่ ง สขุ ภาพดีชวี ีมสี ุข ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ๕๙ ๑๐. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการจดั การเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสําเร็จ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ จํากัดการใชแ ผนการจัดการเรียนรู และขอ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรุงแกไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ......................................................ผูสอน (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคดิ เห็น/ขอ เสนอแนะของผูบ รหิ ารหรือผทู ่ีไดรับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ...................................................... ผูตรวจ (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๖๐ คูมอื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (สุขศึกษา ป.๓) ใบงานท่ี ๒ เรือ่ ง องคป ระกอบของสมรรถภาพทางกาย หนว ยการเรียนรูท่ี ๑ สุขภาพดชี วี เี ปนสุข แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๗ เรื่อง องคประกอบของสมรรถภาพทางกาย รายวชิ า สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา (สขุ ศึกษา) รหสั วิชา พ๑๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ คําช้แี จง : ใหนักเรียนเขยี นอธิบายองคประกอบของสมรรถภาพทางกายแตล ะองคประกอบใหถ ูกตอง องคประกอบของสมรรถภาพทางกาย ช่อื ………………………….…………………………………..………………..ชน้ั ………. เลขที่ ………..

หนวยการเรยี นรทู ่ี ๑ เรอ่ื ง สขุ ภาพดชี วี มี ีสขุ ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๓ ๖๑ เฉลยใบงานท่ี ๒ เร่อื ง องคป ระกอบของสมรรถภาพทางกาย หนวยการเรียนรทู ี่ ๑ สุขภาพดีชวี ีเปนสขุ แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๗ เร่ือง องคป ระกอบของสมรรถภาพทางกาย รายวิชา สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (สุขศกึ ษา) รหสั วิชา พ๑๓๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ คาํ ชีแ้ จง : ใหนกั เรยี นเขยี นอธิบายองคป ระกอบของสมรรถภาพทางกายแตล ะองคประกอบใหถูกตอ ง องคป ระกอบของสมรรถภาพทางกาย องคป ระกอบของ ความอดทนของ ความแขง็ แรงของ ความทนของ ความออ นตวั คอื รางกาย คอื ระบบหายใจและ กลา มเน้ือ คือ กลา มเน้ือ คอื ความสามารถของ สัดสว นปริมาณ ระบบไหลเวยี น ความสามารถของ ความสามารถของ รางกายใน ไขมนั ในรางกาย โลหิต คือ กลามเนอื้ ท่ีออก กลามเน้ือที่ทํา การเคลื่อนไหว ความอดทนของ แรงกระทาํ ตอวัตถุ กิจกรรมซํา้ ๆ ได กลามเนือ้ ใหม ี ปอดและหวั ใจตอ เชน การยก เปน เวลานาน ความยดื หยุน เพื่อ การปฏิบัติ การดึง การดนั ทํากจิ กรรมไดด ี กิจกรรมหนัก ๆ เปน เวลานาน

๖๒ คูมอื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (สุขศกึ ษา ป.๓) แผนการจดั การเรียนรูที่ ๘ เร่อื ง การสรางเสริมสมรรถภาพทางกาย หนว ยการเรียนรูที่ ๑ เร่อื ง สขุ ภาพดีชวี ีมีสุข เวลา ๑ ชวั่ โมง รายวิชา สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศกึ ษา) ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๓ ๑. มาตรฐานการเรียนรู/ตวั ช้วี ัด สาระท่ี ๔ การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการปองกนั โรค พ ๔.๑ : เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกันโรคและ การสรางเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ พ ๔.๑ ป.๓/๕ สรางเสริมสมรรถภาพทางกายไดตามคาํ แนะนํา ๒. สาระสําคญั /ความคิดรวบยอด การสรางเสริมสมรรถภาพทางกาย เปนชวยใหรางกายมีความสมบูรณในทุกดาน เพ่ือใหทํางานตาง ๆ ไดต อเนื่องยาวนาน เชน ดา นความแขง็ แรง ดา นความทนทาน ดานความเร็ว เปนตน ๓. จุดประสงคการเรียนรู ๓.๑ ดานความรู ความเขาใจ (K) ๑. บอกการสรา งเสริมสมรรถภาพทางกายดา นตาง ๆ ได ๓.๒ ดา นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ๑. ฝกปฏบิ ตั กิ ารสรางเสริมสมรรถภาพทางกายในแตล ะดาน ๓.๓ ดา นคุณลกั ษณะ เจตคติ คา นิยม (A) ๑. เห็นความสาํ คัญของการสรางเสริมสมรรถภาพทางกายในทกุ ดาน ๔. สาระการเรยี นรู ๑. การสรา งเสริมสมรรถภาพทางกายในดา นตา ง ๆ - ดา นความแขง็ แรง - ดา นความทนทาน - ดา นความเร็ว - ดา นความออ นตวั - ดา นความคลองแคลว ๕. สมรรถนะสําคัญของผเู รยี น ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแกป ญ หา ๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต ๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ๑. มีวนิ ัย ๒. ใฝเ รียนรู ๗. กจิ กรรมการเรียนรู

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๑ เรอ่ื ง สขุ ภาพดชี วี มี ีสขุ ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ การจัดกจิ กรรมการเรยี น แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๘ เรอื่ ง ก รายวิชา สุขศกึ ษาและพลศึกษา (สุขศึกษา) หนวยการ แนว ลําดับ จุดประสงค ขัน้ ตอนการจดั เวลา ที่ การเรยี นรู การเรยี นรู ท่ีใช กิจกรรมครู ๑. ๑. บอกการสราง ข้นั นํา ๕ ๑. ครูและนักเรยี นรวมกนั ทบท เสรมิ สมรรถภาพ นาที องคประกอบของสมรรถภาพท ทางกายดานตาง ๆ ในช่ัวโมงท่ีผา น ได ๒. ครูและนกั เรียนรว มกนั สนท โดยครใู ชค าํ ถาม ดังน้ี - นกั เรยี นคดิ วา การสรางเสริม สมรรถภาพหมายถึงอะไร ๒. ๒. ฝก ปฏบิ ัตกิ าร ขั้นสอน ๓. ครเู ชื่อมโยงเขา สูบ ทเรียนใน สรา งเสริม “การสรา งเสริมสมรรถภาพทา สมรรถภาพทางกาย ๒๕ ๑. ครใู หค วามรู เร่ือง การสราง ในแตละดาน นาที สมรรถภาพทางกาย และสาธติ กิจกรรมสรางเสริมสมรรถภาพ ๒. ครชู ้แี จงกจิ กรรมการฝกเพื่อ สรางเสรมิ สมรรถภาพดานตาง ๒.๑ ฝกดา นความแขง็ แรงของก ๒.๒ ฝกดานความทนทานของก ๒.๓ ฝก การทรงตัว ๒.๔ ฝกดา นความออนตัว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook