Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ประวัติศาสตร์ ม.3-05271359

64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ประวัติศาสตร์ ม.3-05271359

Published by elibraryraja33, 2021-08-25 03:56:11

Description: 64-08-25-คู่มือและแผนการเรียนรู้_ประวัติศาสตร์ ม.3-05271359

Search

Read the Text Version

ก คำนำ ด้วยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมุ่งหมายให้การศึกษาบ่มเพาะ สมรรถนะให้แก่ผู้เรียน เพื่อสร้างคุณลักษณะสำคัญ ๔ ประการให้กับคนไทย อันได้แก่ ๑) มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง ๒) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทำ ๔) เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และพระราชปณิธาน ใน การสืบสาน รักษา พฒั นาตอ่ ยอด โครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา จึงทรงพฒั นาการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกด้านอาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณ์เทคโนโลยี บุคลากรและกระบวนการจัด การศึกษา เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สร้างโอกาสการเข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย ผ่านการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจำนวน ๑๕ ช่องสัญญาณ ไปยังโรงเรียนต่าง ๆ และ ผู้สนใจทัว่ ประเทศ เพอื่ ให้ประเทศไทยเปน็ สังคมแหง่ ปัญญามจี ติ อาสาในการสรรค์สร้างและพัฒนาประเทศใหม้ น่ั คง การสอนออกอากาศทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ในภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ นี้ เป็นการสอนออกอากาศในแนวใหม่ บันทึกเทปการสอนจากห้องเรียนต้นทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผ่านทางเว็ปไซต์ www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTVของมูลนิธิ และมีค่มู อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรูร้ ายช่ัวโมงครบทง้ั ๘ กล่มุ สาระการเรียนรู้ ซึ่ง ครูปลายทางสามารถปรบั กจิ กรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับชมุ ชน ท้องถนิ่ วฒั นธรรมและบริบทของแต่ละโรงเรยี น การจัดทำคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ได้รับความร่วมมือจากคณะทำงาน ประกอบด้วย สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ และครูผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งครูปลายทางใช้ในการเตรียมการสอนล่วงหน้า รวมทั้งจัดเตรียมเอกสารเพื่อส่งเสริมการเรียน ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เกิด ประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในห้องเรียน เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนขยายโอกาสและ โรงเรียนมัธยมศกึ ษาขนาดเลก็ ตอ่ ไป นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมุ่งมั่นพัฒนายกระดับ คุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทยให้เข้มแข็ง สมดัง พระราชปณธิ าน “...การศึกษาคือความมน่ั คงของประเทศ...” ขอพระองค์ทรงพระเจรญิ มลู นธิ ิการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ข บทนำ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นการจัดการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก ครูสอนไม่ครบชั้น โดยจัดการเรียนการสอนของครูห้องเรียนต้นทางจากโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ไปยังห้องเรียนปลายทางในโรงเรียนพื้นที่ต่างๆ ได้แก่ พื้นที่สูง ชายแดน เกาะแก่งและเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ เปน็ การลดความเหลือ่ มลำ้ ในการจัดการศกึ ษาให้ทัว่ ถึง เทา่ เทียมและมคี ุณภาพ คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ๓) ประจำภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ประกอบด้วยเอกสาร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ๑) ภาษาไทย ๒) คณิตศาสตร์ ๓) วิทยาศาสตร์ ๔) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕) สุขศึกษาและพลศึกษา ๖) ศิลปะ ๗) การงานอาชีพ ๘) ภาษาต่างประเทศ แต่ละระดับชั้นมีเอกสารรวม ๘ เล่ม แต่ละเล่มมีรายละเอียด คำชี้แจงการจัดกระบวน การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อ/ใบงาน/แบบฝึก แบบประเมิน ที่ตรงกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด และสาระการเรียนร้แู กนกลาง (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ของแตล่ ะสาระการเรียนรู้ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ การจัดทำคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ๓) เป็นการทำงาน ร่วมกันของหลายหน่วยงาน มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญแต่ละสาขาวิชา คณาจารย์ จากมหาวิทยาลัย คณะศึกษานิเทศก์ คณะครูผู้สอนในสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ และผู้มีส่วนร่วมจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่ช่วยให้คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีความสมบูรณ์และ เหมาะสมต่อการจัดการเรยี นการสอนเพอ่ื เยาวชนไทยทงั้ ประเทศ มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หวังว่าคู่มือครูและแผนการจัด การเรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ คณะครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ในโรงเรียนขนาดเล็กและขยายโอกาสในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น เพือ่ ประสิทธิภาพการจดั การเรยี นการสอนให้สงู ข้นึ ตอ่ ไป

ฃ สารบัญ สารสบาัญรบัญสารบญั หนา้ หนา้ หนห้านา้ ปกรปอกงรองปกรอง กก ก คำนคำำนำ คำนำ บทนบำทนำ บทนำ ขข ข สารบสาญั รบญั สารบัญ ฃ - ฆฃ - ฆ ฃ - ฆ คำชคแ้ี ำจชงกี้แาจครงรำกชบั าี้แรชรจมบังรกชาายมรกรราับยรชสกมอารนาสอยออกนกาอรอาสกออานศาอกอากศอากาศ ง - จง - จ ง - จ คำชคแ้ี ำจชงรี้แาจคยงวำรชิายแ้ีาสวจังิชครามาสยศงั ควกึ ิชมษาศาสึกศงัษคาาสมนศากึ สษแนาลาะศวแาัฒลสะนวาธัฒรแรนลมธะรวรัฒมนธรรม ฉ - ชฉ - ช ฉ - ช รหสั รวหิชาัสวสิชรา๒ห๓ัสว๑๒ิช๐๓า๑๑สช๐้นั๒๑ม๓ชธั ๑นั้ย๐ม๑ศัธยกึ ชมษน้ั ศามึกปธัษที ยา่ี ม๓ปศีทภกึ ี่ ษา๓คาภเปราีทยคน่ี ๓เทรยี ่ีภ๑นาทคี่เ๑รยี นที่ ๑ คำอคธิบำอาธยบิรคาำยอวรธชิาบิยาสาวยงัชิ ครามาสยศังควกึ ิชมษาศาสกึ ศังษคาาสมนศาึกสษแนาลาะศวแาัฒลสะนวาธัฒรแรนลมธะรวรฒั มนธรรม ซซ ซ รหสั รวหิชาัสวสิชร๒าห๓สสั ๑ว๒๐ิช๓า๑๑สช๐้นั๒๑ม๓ชธั ๑น้ัย๐ม๑ศธั ยกึ ชมษ้นั ศามึกปธัษีทยา่ี ม๓ปศีทภกึ ่ี ษา๓คาภเปราทียคนี่ ๓เทรียี่ภ๑นาทค่ีเ๑รียนท่ี ๑ มาตมรฐาาตนรฐกมานารตเกรรายี ฐรนาเรนยีู้/กตนาวัรชู้/เรตวี้ ยีัดวนชร้วี ู้/ัดตัวชีว้ ัด ฌ - ฌญ - ญฌ - ญ โครงโสครา้งงสรรโาค้ายงรวรงชิาสยารสวา้ งัิชครามาสยศังควกึ ชิมษาศาสกึ ศังษคาาสมนศากึ สษแนาลาะศวแาฒัลสะนวาธฒั รแรนลมธะรวรฒั มนธรรม ฎ - ฎฑ - ฑ ฎ - ฑ รหัสรวหิชาสั วสิชร๒าห๓สสั ๑ว๒๐ิช๓า๑๑สช๐ัน้๒๑ม๓ชธั ๑ัน้ย๐ม๑ศัธยึกชมษั้นศามึกปธัษีทยาี่ ม๓ปศที ภึกี่ ษา๓คาภเปราทียคนี่ ๓เทรยี ่ีภ๑นาทคี่เ๑รยี นที่ ๑ หน่วหยนก่วายรเกหรานียรน่วเรยียู้ทกนา่ี ๑รทู้เรช่ี ยี ๑ื่อนหชรนทู้่อื ว่ ี่หย๑นป่วชรย่ือะหปวนตัรว่ะิแยวลัตะปแิครลวะะาวคมตั วสิแาำลมคะสัญคำวขคาอัญมงสขพำอรคงะพญั รุทขะอธพศงทุพาธสรศนะาพาสุทนธาศาสนา ๑๑ ๑ แผนแกผานรจกัดาแกรผจารนัดเกราียรนเจรัดู้ทียกนี่ ๑ารรู้ทเร่ี ๑ียือ่ นงเรกู้ทอ่ื างี่ร๑เกผาเยรรแื่อเผงยพ่ กแราผะรพ่เผรทุ ยะธแพศผทุา่พสธรนศะาพใสนทุนทธาศวในปีาทสเอนวเปีาชใเยี นอเทชวียีปเอเชยี ๔๔ ๔ แผนแกผานรจกดั าแกรผจารนดั เกรายี รนเจรัดู้ทียกน่ี ๒ารรทู้ เรี่ ๒ยีอ่ื นงเรก้ทู่ือาง่ีร๒เกผาเยรรแื่อเผงย่พกแราผะรพ่เผรทุ ยะธแพศผุทา่พสธรนศะาพใสนทุนทธาศวในีปาทสตนว่าีปงาใตๆน่าทงวๆปี ต่าง ๆ ๑๐ ๑๐ ๑๐ แผนแกผานรจกัดาแกรผจารนัดเกรายี รนเจรัดู้ทียกนี่ ๓ารรู้ทเร่ี ๓ยีอ่ื นงเรพทู้อ่ื รงี่ ะ๓พเรุทระธอ่ื พศงทุาพสธรนศะาพกสุทนับธากศกาาับรสเกสนารารมิ กเสบั รก้ามิ างสรอรเาส้ารงรยอิมธาสรรยา้มธงแรอลรามะรคแยลวธาระมรคมสวแงาบมลสะคุขงบใวหาสมแุ้ขกสใหโ่งลบแ้ กสกุขโ่ ลใหกแ้ ก่โลก ๑๕ ๑๕ ๑๕ แผนแกผานรจกัดาแกรผจารนดั เกราียรนเจรดั ู้ทยี กน่ี ๔ารรู้ทเร่ี อื่๔ียงนเรพ่อืูทุ้ ง่ีธ๔พปทุรเระธ่ือวปงตั รจิพะาวทุ กตั ธพจิปราระกะพวทุัตระจิธพราูปกุทพปธรางะปู ตพป่าทุางงธตๆรา่ปู งปๆางต่าง ๆ ๒๐ ๒๐ ๒๐ แผนแกผานรจกัดาแกรผจารนดั เกราียรนเจรัด้ทูยี กนี่ ๕ารรทู้ เรี่ ๕ยีอ่ื นงเรสู้ท่ือรงีุ่ป๕สแรลเรุปะื่อวแงเิลคสะรรวาุปเิะคแหรลพ์าะะุทวหธิเคพ์ปรุทราะธะวปหตั รพ์ ิะุทวัตธปิ ระวัติ ๓๓ ๓๓ ๓๓ แผนแกผานรจกัดาแกรผจารนดั เกรายี รนเจรัดทู้ียกน่ี ๖ารรทู้ เร่ี อ่ื๖ียงนเรพือู่้ทุ ง่ีธ๖พสาทุเรวธ่ือกสงาพพวุทกทุ ธธพสสาุทาวธวกิ สกาาพว:กิพุทารธะส:อพาวัญรกิ ะญาอาัญ:โพกญณราะฑโอกญั ณญฑะาญั โกญณะฑัญญะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ พระมพหระาปมชหพาบปรดะชมเีาถบหรดาี พปเี ถรชระาี เบพขดรมะีเาถเขรถีมรพาี แรเถะลรเะขี พแมลราะเถเพจรรา้ี ะแปเลเจสะ้านพปทรเสะิโกนเจศทา้ลิโปกเศสลนทิโกศล แผนแกผานรจกดั าแกรผจารนดั เกราียรนเจรดั ทู้ยี กน่ี ๗ารรทู้ เร่ี ๗ียื่อนงเรนู้ทื่อทิ ง่ี ๗านเทิชราือ่ ดนงกชนา:ิทดนากนั :ทชนาวิ ันดิสกทาลวิ :ชสิ นาันดลทกชาวิ สดิสุวกาัณลสชณุวาหณัดังกณสสชหวุาังดัณสกชณาหดกังสชาดก ๔๖ ๔๖ ๔๖ แผนแกผานรจกัดาแกรผจารนัดเกรายี รนเจรดั ู้ทยี กน่ี ๘ารรู้ทเร่ี ๘ยี่อื นงเรศู้ทอ่ื างี่ส๘นศิกเารสชอ่ื นงกิตศชวั านอสยตนา่วั ิกงอชย:น่าหตงมวั :อ่ อหมยมเ่าจอ่ง้ามห:เหญจา้มงิ หพ่อญมนู เงิพจพศิ้าูนหมพญัยศิ งิดมพิศยั ูนกพดุลิศกมุลัย ดศิ กลุ ๔๙ ๔๙ ๔๙ และศแลาสะตศราแาสจลตาะรรศายจา์ าสรตัญยรญ์าสจาญั าธรญรยาร์ สมธัญศรกัรญมดาศ์ิ กัธรดร์ิ มศักด์ิ หนว่ หยนกว่ายรเกหรานียรน่วเรยยีทู้กนา่ี ๒รู้ทเรช่ี ยี ๒ื่อนหชรนทู้ื่อว่ ่ีหย๒นห่วชลย่อื กัหหธนลรว่ กัรยมธรนหราลมชกั นวี ธาติ รชรีวมิตนาชีวิต ๕๔ ๕๔ ๕๔ แผนแกผานรจกดั าแกรผจารนดั เกรายี รนเจรดั ทู้ียกน่ี ๙ารรทู้ เรี่ ๙ียื่อนงเรสทู้ื่องั ง่ีฆ๙คสณุงัเรฆือ่ ค๙งุณสงั๙ฆคณุ ๙ ๕๗ ๕๗ ๕๗ แผนแกผานรจกัดาแกรผจารนดั เกราียรนเจรดั ู้ทยี กนี่ ๑ารร๐้ทู เร่ี เ๑ียรน๐อ่ื รงเู้ทรท่ีอื ๑ุกงข๐ท์ เุกรขอื่ ์ง ทกุ ข์ ๖๑ ๖๑ ๖๑ แผนแกผานรจกดั าแกรผจารนัดเกราียรนเจรัดูท้ยี กน่ี ๑ารร๑ทู้ เรี่ เ๑ียรน๑่ือรงเทู้ รสี่ือม๑งุท๑สยั มเรทุ ่อื ยัง สมทุ ัย ๖๗ ๖๗ ๖๗ แผนแกผานรจกดั าแกรผจารนัดเกรายี รนเจรัดู้ทียกนี่ ๑ารร๒ู้ทเร่ี เ๑ียรนอื่๒งรเู้ทรม่อืีร๑งรค๒มร(เมรือ่รครง(คมร๘รคไต๘(รมสไรกิตรขรคาส๘กิปขัญไาตญรปสาัญกิ ๓ญขา)าป๓ญั )ญา ๓ ) ๗๒ ๗๒ ๗๒ แผนแกผานรจกัดาแกรผจารนัดเกราียรนเจรัดู้ทียกน่ี ๑ารร๓้ทู เร่ี เ๑ยี รน๓อ่ื รงเู้ทรม่ีอื ๑รงร๓คมเร(รสร่ือคัปงป(มสุรรปัิสรปธครุ รสิ(สมธปั ร๗รป)มรุ ิส๗ธ)รรม ๗) ๗๗ ๗๗ ๗๗ แผนแกผานรจกัดาแกรผจารนดั เกรายี รนเจรดั ทู้ยี กนี่ ๑ารร๔ูท้ เร่ี เ๑ยี รน๔อ่ื รงเู้ทรบ่ีอื ๑ญุ ง๔กบริ เญุ ยิรื่อากวงิรตัิยบถาุญุว๑ัตก๐ถริ ิยุ ๑า๐วตั ถุ ๑๐ ๘๒ ๘๒ ๘๒ แผนแกผานรจกดั าแกรผจารนดั เกรายี รนเจรดั ู้ทยี กนี่ ๑ารร๕ทู้ เรี่ เ๑ยี รน๕่อื รงเ้ทู รอ่ีือบุ๑งา๕อสบุเกรธา่ือรสงรกมอธบุร๗รามสก๗ธรรม ๗ ๘๗ ๘๗ ๘๗ แผนแกผานรจกดั าแกรผจารนดั เกรายี รนเจรดั ู้ทียกนี่ ๑ารร๖ู้ทเรี่ เ๑ยี รน๖ื่อรงเทู้ รม่ีอื ๑งงค๖ลมเง๓รคื่อ๘ลง๓ม๘งคล ๓๘ ๙๑ ๙๑ ๙๑ แผนแกผานรจกัดาแกรผจารนดั เกรายี รนเจรดั ทู้ยี กน่ี ๑ารร๗ู้ทเร่ี เ๑ยี รน๗ือ่ รงเู้ทรน่ีือ๑ิโงร๗ธน(เโิ อรือ่ตัธงถ(อะนัตโิ๓รถ)ธะ(๓อ)ตั ถะ ๓) ๙๗ ๙๗ ๙๗

ค สารบญั (ตอ่ ) หนา้ หน้า หนา้ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรัดกเกรายีารรนจเรัดู้ทียกนี่า๑ร๘เู้ทรี่ยเ๑รน๘ือ่ รงู้ทเรพี่ ๑่ือรง๘ะอพเภรอ่ืะธิ รงอรภพมิธรประิฎรอมกภปิธิฎรกรมปฎิ ก ๑ห๐น๑้า๑๐๑ ๑๐๑ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรัดกเกราียารรนจเรัดทู้ียกนี่า๑ร๙เูท้ รี่ยเ๑รน๙อ่ื รงู้ทเรพ่ี ๑ื่อุทง๙ธพปเรทุณื่อธิธงปาพณนุทธิ ๔ธาปนณ๔ธิ าน ๔ หน้าหน๑า้ ๐ห๔๑น๐้า๔ ๑๐๔ แผนแกผารนจกัดาแกรผาจนรดั กเกรายีารรนจเรัดทู้ียกนี่า๒๑ร๐๘เทู้ ร่ียีเ๒๑รน๐๘ื่อรงู้ทเรพ่ี ๒่อื๑รทุ ง๐ะ๘ธอพศเภราทุ อื่สะธิ ธรงอนศรภสาพมสิธุภุทรปรนาะธฎิรษสอศมกุภิตาปาสธิ ิฎษนรกริตสมุภปาิฎษกิต ๑๐๑๗๑๐๑๗ ๑๐๗๑ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรดั กเกรายีารรนจเรดั ทู้ียกนี่า๒๑ร๙๑เทู้ ร่ียีเ๑๒รน๑๙ื่อรงทู้ เรพ่ี ๒อ่ื๑ุทง๑๙ธพศปเราุทณอ่ืสธิธงนศปาสาพณนสภุ ุทธิ น๔าธาษสศนปุภติาณ๔าส(ษธิพนาติสทุ นุภธ(พป๔าษทุณิตธธิ ปา(พณนทุ ิธ๔ธาปนในณ๔มธิ หใานาปม๔หรินาใปิพนรพมินหาพินาปพสูตราินร)พิสูตพรา)นสูตร) ๑๐๑๔๓๑๑๐๓๔ ๑๑๐๓๔ แหผนน่วหแกยผานกรนา่วจกรยดั เาหกแรกราผยีนาจรนรว่ัดเเกยรกร้ทูียาการน่ีารจ๓เรรดัเ้ทู ียรชก่ียนือ่า๓๒นรห๐ู้ทเรชนรู้ท่ีอืียเว่๒ร่ีหนย๓๐ื่อรนงหทู้ชเ่วรพนี่ือยื่อ๒ุท้าหง๐หทธนพศนี่ช่วเาทุร้ ยสือ่ทวธนงศพหชี่ สาพนุทสภุวทุ้าธนาพทธษสศช่ีุทภุิตาธาสวษนพติสุทุภธาษติ ๑๑๐๙๗๑๑๐๙๗ ๑๑๐๙๗ แผนแกผารนจกัดาแกรผาจนรดั กเกรายีารรนจเรัดทู้ียกนี่า๒ร๒๑เู้ทร่ียีเ๒รน๒๑อ่ื รงู้ทเรหพี่ ๒อ่ื นทุ ง๒๑้าธทพหศเรนข่ีาทุ อื่ส้าธงนทศพสี่ขาหพสรุภอนทุ ะนงา้ธภพษสทศกิรุภตขี่าะษาสอ(ภษุใพนงนิกพตุทสกษรภุธ(าุใะพปารนภษทุปณกกิ ติธฏาิธษปรบิา(ุใปณพนตันฏุทิตธก๔ิบาธนมปตัรในปหณติ ๔มฏลาธิ มหกัิบใานหธานตั ปรมลิตร๔หักามินธามใวปิพรนหินรพมลัยมนิ ากัหวพินธาินพรสปัยรูตารมนิรว)สิพนิ ูตพัยรา)นสูตร) ๑๑๒๒๓๑๑๒๒๓ ๑๒๑๒๓ แหลนะว่ จแหยรลนกิยะาว่ วจรยตั รเแกหริยลาอยีนวระยนตัว่ เจ่ารยรงทู้อยีกยิเนยห่ีาว๓า่รมตั งเทู้ารชเะห่ีอย่อื๓สมยนหมา่ รชนงะทู้อื่เ่วสหี่หยม๓มนหาชว่ ะนยือ่ สา้หมหทนนช่ี ่วา้ ยทวพชี่หาุทนว้าธพทุทช่ี ธาวพุทธ ๑๑๙๑๑๙ ๑๑๙ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรดั กเกราียารรนจเรัดู้ทยีกน่ีา๒ร๓๒เู้ทร่ียีเ๒รน๓๒่อื รงทู้ เรกหี่ ๒ื่อานงร๓๒า้ แทหกเสารนขี่ ดรื่อ้างแงทตสพขี่กหนดรอานเงะปรงตา้ภแพ็นทนสกิรพ่ขีเดะษปุทอภงใุ็นงธตนิกพมนกษรุทาเาใุปมะธรนภก็นมปกกิะพาฏามษุทรบิ กุใปธัตนะฏมติ กาิบามตัรกหปติ ะลาฏมักบิ หธตั รลติ รักามธมวรหินรลัยมักวธินรัยรมวนิ ัย ๑๒๒๗๑๒๒๗ ๑๒๗๒ แลผะนจแกรผลาิยระนวจกัตดราแรกยิรผลอวาจนะยรัตดจกเา่รกงราอียาเยิรยหรนจวเา่มรัตดงูท้ายีรกเะหนี่อา๒สมยรม๔เู้ทา่ ระง่ียเ๒สรหนมื่อ๔มรงทู้าเรศะี่ ื่อ๒าสสง๔มนศเาารพสือ่ ิธนงี าศพาิธสี นาพธิ ี ๑๓๐๑๓๐ ๑๓๐ แผนแกผารนจกัดาแกรผาจนรดั กเกราียารรนจเรดั ทู้ยีกนี่า๒ร๕๓เทู้ ร่ียีเ๒รน๕๓อ่ื รง้ทู เรกี่ ๒อ่ื างร๕๓ปแกเสฏารดรบิือ่ งปแงตั ตสฏติกนดบิัวาเงตปัรตปอ่แติ็นนพสฏวัพเตดปริบุทะ่องน็ตั ธตภพติพมนิกรวัทุาเะษตมปธภใุอ่กม็นกิพะาพงษมราทุ ใุะกนนธภะศมงิกาาษสนมนุใศกนพาะงสธิานีนพศธิาีสนพธิ ี ๑๓๒๕๗๑๓๒๗๕ ๑๓๒๕๗ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรัดกเกราียารรนจเรดั ู้ทียกนี่า๒ร๔๖เทู้ รี่ยีเ๒รน่อื๔๖รงู้ทเรศกี่ อื่๒าสงร๖๔นบศกเารารพหิสรอ่ื ธินบางีรารกศจพหิ าติธาสรเีรจบนจราติ ิญพหเิธจาปีรญั จิญญติ ปเาจญั รญิญาปัญญา ๑๓๐๗๑๓๗๐ ๑๓๗๐ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรัดกเกราียารรนจเรัดู้ทียกนี่า๒ร๗๕เทู้ ร่ียีเ๒รน๕๗ื่อรงู้ทเรกว่ี ๒่ือนัางร๗๕สปวกำเฏันคารริบอ่ืญัสปงัตำทฏคิตวกาบิวัญนางตัรสพท่อปติ ำราพัวฏคะงตริบญัพะ่อตัรุทภพิตะธาิกรัวพศงะษตพทุาภุใอ่ สนรธิกพะนศงษราพุใะนสในทุ ภนศนงธกิาปาศสษนรใานุใศะสนพาเปนทงสธิราศนีะนใไพเนศทธิปายศีสรไนะทพเยทิธศี ไทย ๑๓๔๑๕๑๓๔๑๕ ๑๔๓๑๕ แผนแกผารนจกัดาแกรผาจนรดั กเกราียารรนจเรัดทู้ียกนี่า๒ร๘๖เทู้ รี่ยเี๒รน่อื๘๖รงงู้ทเทรก่ี ่ือิศ๒างงร๘๖ทบกเิศเ:รารทหิอื่รื่อ๖งศิบางรเ:รทบจกทิหิศือ้ติาิศางรเ๖รเขจบจวร:รอื้ติาญิทหิงเขจศิปาวรเญับาิญจอื้ญิตปงเาขญัจวรญาิญาปัญญา ๑๓๔๗๑๔๓๗ ๑๔๓๗ แผนแกผารนจกัดาแกรผาจนรัดกเกรายีารรนจเรัดู้ทียกนี่า๒ร๙๗เู้ทรี่ยเี๒รนอื่๙๗รงงทู้เสรวี่ อ่ืัม๒นั งมง๙๗สนสวำเาัมเรันครพมอื่ ญัื่อสรนงงำะทาสคพวามั ัญุทนรงมะธพสทนศพำราาุทคะงพสธพญั รนศะรทุาาพะแธสาพุทลศนงะธุทพาหศแสธราลนศะสักะพานปหสใทุารนลนแชัธกปลาศญประใารนะหสขัชเปลนอทญักรงาศปะเใขศไเรนทอรชั ปษงยศญเรฐศไากะทรขจิเษยอทพฐงศอกเศไเจิ พทรพษยี อฐงเกพิจียพงอเพียง ๑๔๕๐๑๑๕๔๐๑ ๑๕๔๐๑ แผนแกผารนจกัดาแกรผาจนรดั กเกรายีารรนจเรัดทู้ียกน่ีา๒๓ร๘๐เู้ทรี่ยเี๒๓รนอ่ื๘๐รงงทู้เทรพ่ี ื่อิศ๓๒ฒังง๐๘๖นทพเาศิ:รัฒชท่ือ๖ีวนิศงติ เา:ทบพดชทศิ้ือวฒัีิศงยติ๖เขนบวดวาธิ:ือ้วาชทีคงยวีขิดศวิตวเแิธบาดบีค้อืวิดบงยแขโวยบวิธนาบีคิโดิโสยแมนบนโิ บสโมกิ ยนานรสโิ กิสามรนสิการ ๑๕๔๗๕๑๕๔๕๗ ๑๕๔๕๗ แผนแกผารนจกัดาแกรผาจนรดั กเกราียารรนจเรดั ู้ทียกน่ีา๓๒ร๙๑เทู้ ร่ียเี๓๒รน่ือ๙๑รงงทู้เสรศ่ี อ่ืัม๓๒างมงส๑๙นสนศาัมเสราพม่อืสมั รนงนพะาสพนัศมั ุทธารมพส์ะธนศพนั าสทุธพส์ัมธนรศพะาาันพแสธลทุน์ะธาหศแลาสกัะนปหารลแัชกลญปะราหขัชลอญักงาปเขศรอรชั ษงญเฐศากรขจิษอพฐงอกเศเิจพรพษียองฐเกพจิยี พงอเพยี ง ๑๖๕๐๑๖๕๐ ๑๖๕๐ แผนแกผารนจกัดาแกรผาจนรดั กเกราียารรนจเรดั ู้ทยีกน่ีา๓ร๒๐เทู้ ร่ียีเ๓รน๒๐ื่อรงทู้ เรพก่ี ๓ือ่ าฒั งร๒๐นธกพำเาารัฒชรือ่งีวนธรงิตำากั กพรดชษงา้วีัฒารยิตพักธนวดำษราธิ ้วระชาีคยงพีวิดรวติุทรักแิธดะธบษคี พ้วศดิบายาทุพแโวสยธบริธนศะบคี าพโิ โดิสยทุ แมนธบนาโิศบสามโิกสยนานนรสาโิ ิกสามรนสิการ ๑๕๖๔๕๑๖๕๔๕ ๑๖๕๔๕ หแผนนว่ หแกยผานกรนาว่ จกรยดั เาหกแรกราผยีนาจรนร่วัดเเกยรกรู้ทียาการน่ีารจ๔เรรดัเู้ทยีรชก่ียนอ่ืา๔๓นรห๑ทู้เรชนรูท้่ีอืยีเว่๓รี่หนย๔๑อ่ื รนงกทู้ชเว่ รศฎี่ือยอ่ื๓าหงส๑กมนศฎา่วเสาหรยยสัมอ่ืนมนพงกา่ สันรฎยศมัู้ธนาหพ์สา่มันราู้ธสย์ัมนพา่ ันรู้ธ์ ๑๖๙๐๑๖๙๐ ๑๖๙๐ แผนแกผารนจกัดาแกรผาจนรดั กเกรายีารรนจเรดั ทู้ยีกนี่า๓ร๓๒เทู้ ร่ียีเ๓รน๓๒อ่ื รงทู้ เรกี่ ๓อ่ื ฎางร๓๒หธกมำเฎารรอ่ืยหงธรงแมำักพการษยง่ฎาารแหพกัธพมษำรง่าระายงพรแทุรกัพะธษ่งพศาาุทพสธรนศะาพสุทนธาศาสนา ๑๗๖๒๔๑๗๖๔๒ ๑๗๖๒๔ แหผนน่วหแกยผานกรนา่วจกรยัดเาแกหรกรผายีนาจรนร่วดั เกเรยกราู้ทยีการนี่ราจ๔เรรดั เทู้ ยีชรกี่นย่ือา๔๓นรห๔เทู้รชน้ทูี่ยอืเ่ว๓ร่ีนหย๔ื่อรนงก้ทู เช่วรตฎี่ ยือ่๓วัหหงอ๔กมนยตฎาเ่วาัรหยงยอ่ื นมกยงก่า่าตรยฎงกู้วันกหรอ่ามะยราทา่กู้ ยงำรนกคะา่วทราำกู้มครผวะิดาทมทำผาคงดิ วแทาพาม่งผแ:ิดพกท่งาารง:ทแกำพาผรง่ ดิท:สำกญัผาิดญรสทาญั ำกผญาดิ ารสทกญั ำาญลระทาเำมกลิดาะรเทมำดิ ละเมดิ ๑๖๗๙๘๑๖๗๙๘ ๑๗๖๘๙ แผนแกผารนจกัดาแกรผาจนรัดกเกราียารรนจเรดั ทู้ยีกนี่า๓ร๓๕เู้ทร่ียีเ๓รน๕๓่อื รงทู้ เรกี่ ๓อื่ ฎง๕๓หกมเฎราอ่ืยหงแอมพากญยง่ฎแอาหพามญง่าายอแาพญ่งา ๑๘๗๒๑๘๗๒ ๑๘๗๒ แผนแกผารนจกัดาแกรผาจนรัดกเกรายีารรนจเรดั ทู้ยีกน่ีา๓ร๔๖เูท้ ร่ียีเ๓รน๔๖ื่อรงู้ทเรตี่ ๓ือ่ ัวงอ๖๔ยตเ่าัวรงอื่ กยงาา่ ตรงกวักรอาะยรท่ากงำรกคะาวทราำกมครผวะดิาทมทำผาคงดิ วแอทาพาามญง่ ผแอา:ดิ พากท:ญ่งาคารา:งวทอแาก:ำมาพคผญรง่วดิทา:สำมเก:ญัผคาย่ีิดญรวสเทกาญั มำบั่ยี กผญทวาิดการสเับพทกญั ทำยี่าลญ์รวะัพทกาเบัำยมกล์ทดิ าะรเัพทมยิดำล์ ะเมิด ๑๘๗๘๕๑๗๘๘๕ ๑๘๗๕๘ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรัดกเกรายีารรนจเรัดู้ทยีกน่ีา๓ร๕๗เทู้ รี่ยีเ๓รน๕๗่ือรงทู้ เรคก่ี ๓อ่ื ฎวง๗า๕หมกคมเแฎวราตาอ่ืยหมกงอมตแาคกตา่ญยวฎงกอารหตมาะมา่ญแหงาตวารยกา่ะองตหาค่าวญวงา่ ารงมะคหผวดิวาา่มทงผาคงิดวอทาาามญงผอาดิ กาทญบั าคางกวอาบั มญคผวาิดากมทับผาคงิดวแทาพาม่งผแิดพท่งางแพ่ง ๑๘๒๙๑๘๙๒ ๑๘๙๒ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรัดเกกราียารรนจเรดั ทู้ยี กน่ี า๓ร๖ทู้เรี่ ยีเ๓รน๖ื่อรงทู้เรตี่ ือ่๓วั งอ๖ยตเา่ัวรงอื่ กยงา่ารตงกวักรอาะยรทกา่ ำงรคกะาวทราำกมครผวะดิาทมทำผาคงิดวอทาามญงผอาดิ า:ทญคาาวงอา:มาคญผวิดามเก:ผยี่คิดวเกามับยี่ ผทวิดกรเบัพกทย่ี ์รวพักยับ์ทรพั ย์ ๑๘๕๑๘๕ ๑๘๕ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรดั เกกรายีารรนจเรัดทู้ยี กน่ี า๓ร๗ู้ทเร่ี ยีเ๓รน๗่ือรงู้ทเรคี่ ื่อ๓วงา๗มคเแวรตาอ่ื มกงตแคตา่ วงการตมะา่ หแงตวร่ากะงตหค่าววงา่ ารงมะคผหวิดาวมทา่ งผาคงดิ วอทาามญงผอาดิ กาทญับาคางกวอาับามคญผวาิดากมทับผาคงิดวแทาพาม่งผแิดพทง่ างแพ่ง ๑๘๙๑๘๙ ๑๘๙ หน่วหยกนาว่ รยเกรหยีานนรว่เรยู้ทียกี่นา๕รู้ทเชร่ีือยี๕หนชนรทู้ื่อวห่ีย๕นส่วชิทยือ่ ธหิมสนิท่วุษธยิมยนชสุษิทนยธิมชนษุ ยชน ๑๙๕๑๙๕ ๑๙๕ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรัดกเกราียารรนจเรดั ทู้ยีกน่ีา๓ร๘เทู้ รี่ยเ๓รน๘อ่ื รงู้ทเรคี่ ๓่ือวง๘ามคเหวรมาอ่ื มางยหคแมวลาะยมคแหวลมาะามคยสวแำาลคมะัญสคำขวคอาญั งมสขสิทอำคธงิมสญั ิทนขุษธอมิยงนสชุษิทนยธิมชนุษยชน ๑๙๗๑๙๗ ๑๙๗ แหผนนว่ แหกยผกานรนา่วจรกยเดั การแหกียราผนาจนรนร่วเัดรกเยกทู้รยี ากยีา่นร๕ารนจรเรู้ทดัเชรทู้ยี่กือีย๕นี่าหน๓รชนร๙เทู้ รือ่ทู้ว่ียหเ่ี๓ร๕นน๙อ่ืสรว่ชงิทู้ เยื่อรธสี่ ห๓ิื่อมสิทนงิท๙ธ่วุษธิแสเยิมลิทยรนอ่ืะชธสเงษุแินทสลยสธระิชมภีทเนาธสพแิษุรลภีขยะอาชเพงนสปขรรอภี ะงาชปพารขชะอนชงตาปชารมนะรตชฐั าาธมชรรนรัฐมตธนารมูญรรมฐันธญู รรมนูญ ๑๒๙๐๕๒๑๒๙๐๕๒ ๒๑๐๙๒๕ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรัดกเกรายีารรนจเรดั ู้ทยีกน่ีา๔๓ร๐๘เ้ทู ร่ียีเ๔๓รน๐๘อ่ื รงทู้ เรแค่ี ๔ื่อ๓วนง๐า๘วมแคทเหวนรามา่อืงวมางกทยหาแาคแรมงนวลมากาวะยสีามทคแว่รหาวลมนมงาะสีรกามค่วยาสวมนแรำาปมรลคม่วกะสีัญสมคปว่ำขปวนค้ออากรัญงม่วปคสขสมุ้อทิ อำปคงธคกมิสรัญ้มุอปทินขงคษุธอ้ อสิมรงยงทิอคนชสธงุ้มษนิทสมิ คยธิทนชรมิ ธอษุนมิงยษุ สนชยทิุษนชธยนมิชนุษยชน ๑๒๐๙๗๒๑๙๐๗ ๒๑๐๙๗ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรดั กเกรายีารรนจเรดั ู้ทียกนี่า๔๓ร๑๙เู้ทร่ียีเ๔๓รน๑๙อ่ื รงทู้ เรอส่ี ๔อ่ื๓ิทงงค๑๙ธ์กิแอสเรลิทงรดคือ่ะธา้์กเงแิ สนรลอสรดะีภงิท้าเคาสธนก์พิแรมสรีภขลทินดอะาุษธ้าพเงมินสยปขนรสชรอีภุษทินะงายธชปพมิชารขชนะอนษุชงตายปชารมนะรตชฐั าาธมชรรนรฐั มตธนารมญูรมรัฐนธูญรรมนญู ๒๐๑๒๒๐๑๒ ๒๑๐๒ หแผนนว่ หแกยผกานรนาว่ จรกยเดั การหแกยีรานผาจนรน่วรเดัรเยกก้ทูรยี กาียา่นรา๖รนรจเรูท้เชัดรูท้ีย่กือีย๖น่ี หาน๔รชนร๐ู้ทเู้ทือ่รวี่ ียห่เ๔๖รน๐ื่อวรว่ชงฒั ทู้เยื่อรแนี่ห่ือ๔วนธนงัฒ๐รวว่ รแทนยเมนราธไื่อวงรทกรฒังทยมาาแนไรงนลทธมกระยวีสารวแท่วรมฒั ลามนไะงนทีสรวกธยว่ ฒัารแมนรนลปรมะธ่วกสีวรมปา่วรัฒปกมน้อนลกสงรธปคา่วรกมุ้อรลปคงมครกสุม้อาปกงค้อสลรงทิอคธง้มุ สิมคทินรธุษอิมงยนสชิทุษนธยมิชนษุ ยชน ๒๑๐๖๗๒๑๐๖๗ ๒๑๐๖๗ แผนแกผารนจกัดาแกรผาจนรัดกเกราียารรนจเรัดทู้ยีกน่ีา๔ร๑๒เทู้ รี่ยีเ๔รน๑๒อ่ื รงทู้ เรอว่ี ๔ื่อฒังงค๒๑น์กอวธเรัฒงรดคอ่ืรนา้์กมงธนรไวรอสทดรัฒงิทา้ยมคนธไก์ ิมสทธรรทินยดรษุธา้มิมนยไนทชสุษนิทยยธชิมนษุ ยชน ๒๑๘๒๒๑๒๘ ๒๑๘๒ แหผนนว่ หแกยผกานรนาว่ จรกยเดั การแหกยีราผนาจนรนรว่เัดรกเยกทู้รยี ากยีา่นร๖ารนจรเรูท้ัดเชรู้ทยี่กอืีย๖น่ีาหน๔รชนร๓เทู้ ร่อืู้ทวี่ยหเ่ี๔ร๖นน๓อ่ืวรว่ชงัฒทู้ เย่อืรภ่ีนห๔อ่ืวูมธนงัฒ๓ริป่วรภนัญเยมรูมธญไอ่ืรปิวทงราัฒญยมไภแทนญไูมลทยธาะิปยรไวรแทัญมฒั ลยญไะนทวาธยไัฒรทแรนลยมธะสรวารฒั กมนลสธารกรลมสากล ๒๑๒๖๒๒๑๒๖๒ ๒๒๑๒๖ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรดั กเกรายีารรนจเรัดทู้ยีกน่ีา๔ร๔๒เู้ทร่ียีเ๔รน๔๒อ่ื รง้ทู เรกว่ี ๔อ่ืฒัางร๔๒นอกวธเนฒัารุรอ่ืรนกัอมงธษนไกรวทว์ุรรัฒาัฒกยมรษนอไนทธว์นธรัฒยรุ รรักนมมษธไแทว์รลรฒัยะมนภแธมูลระปิ รภัญมูมแญิปลาญัะไภทญูมยาปิ ไทญั ยญาไทย ๒๒๑๘๖๒๑๒๘๖ ๒๒๑๖๘ แผนแกผารนจกดั าแกรผาจนรดั เกกรายีารรนจเรัดทู้ยี กน่ี า๔ร๓ทู้เร่ี ยีเ๔รน๓อ่ื รงทู้เรภี่ อ่ื๔ูมง๓ปิ ภัญเูมรญอ่ืปิ างัญไภทญมูยาปิ ไทญั ยญาไทย ๒๒๒๒๒๒ ๒๒๒ แผนแกผารนจกัดาแกรผาจนรดั เกกราียารรนจเรัดทู้ียกน่ี า๔ร๔ทู้เรี่ ยีเ๔รน๔อ่ื รงทู้เรกี่ อ่ื๔างร๔อกนเารรุ ื่อกัองษนกว์ุราฒักรษนอ์วนธฒั รุ รกันมษธแร์วลรฒั ะมนภแธมูลระิปรภญัมมู แญปิลาญัะไภทญูมยาปิ ไทัญยญาไทย ๒๒๖๒๒๖ ๒๒๖

ฅ สารบัญ (ต่อ) แผนแกผานรกจาแดั รผกจนาดั รกเารรยี จเนรดั รียกู้ทนา่ีร๔ู้ทเ๕รี่ ยี๔เนร๕รอื่ ทู้เงรี่ ือ่ว๔ัฒง๕วนเฒั ธรรื่อนรงธมรวสรฒั ามกนสลธารกรลมสากล หนหา้ นา้ หนห้านา้ ๒๓๒๑๓๑ ๒๓๑ แผนแกผานรกจาแัดรผกจนาดั รกเารรียจเนรัดรียกทู้ นา่ีร๔ู้ทเ๖ร่ี ีย๔เนร๖รื่อทู้เงร่ี ่อื๔งิท๖ธอเพิทรล่อืธขพิงอลองขทิ วอธัฒงพิ วนลัฒธขรนอรธงมรวสรัฒามกนสลธารกรลมสากล ๒๓๒๗๓๗ ๒๓๗ แผนแกผานรกจาแัดรผกจนาัดรกเารรยี จเนรัดรียกู้ทนาี่ร๔ู้ทเ๗ร่ี ยี๔เนร๗รอ่ื ทู้เงร่ี อื่ก๔งา๗รกเเลารรอื่ เกงลรอืกบั กาวรฒับเลวนือัฒธกรนรรบัธมรวสรัฒามกนสลธารกรลมสากล ๒๔๒๔๒ ๒๔๒ หนห่วยนกว่ ายรกหเารนียร่วเนรยรยี กูท้นาี่ร๗ทู้เรี่ชย๗ือ่นหชรนทู้่อื ่วหี ๗ยน่วสชยงัอ่ื คหสมนงั ดค่วมียสีดสุขมี ังสีคขุมดมี สี ุข ๒๔๒๗๔๗ ๒๔๗ แผนแกผานรกจาแัดรผกจนาัดรกเารรียจเนรดั รยี กทู้ นาี่ร๔ทู้เ๘รี่ ยี๔เนร๘รอื่ ู้ทเงร่ี ื่อล๔งกั๘ษลเณักรษื่อะงณขอละงักขสษอังงณคสมะงั ไขคทอมยงไสทังยคมไทย ๒๕๒๐๕๐ ๒๕๐ แผนแกผานรกจาแัดรผกจนาัดรกเารรยี จเนรดั รยี กู้ทนาี่ร๔ทู้เ๙รี่ ยี๔เนร๙รอ่ื ทู้เงร่ี ่ือป๔งัจ๙จปเยั จัรทจ่อื ีก่ยังอ่ทปใก่ี ัจหอ่ จ้เใกัยหดิท้เคก่ี วิด่อาคใมหวข้เากดัมิดแขคยดั วง้แายมง้ ขดั แยง้ ๒๕๒๙๕๙ ๒๕๙ แผนแกผานรกจาแดั รผกจนาดั รกเารรียจเนรดั รยี กทู้ นา่ีร๕ู้ทเ๐ร่ี ยี๕เนร๐ือ่รงทู้เรี่ปอื ๕งัญ๐ปหเญัารสื่อหังาคสปมังัญแคลหมะแาแสลนงัะควแทมนาแวงลทแะากแง้ไนแขกวทไ้ ขางแก้ไข ๒๗๒๗๒ ๒๗๒ แผนแกผานรกจาแัดรผกจนาดั รกเารรยี จเนรัดรยี กทู้ นา่ีร๕ู้ทเ๑รี่ ีย๕เนร๑ื่อรงู้ทเร่ีปือ๕งัญ๑ปหเัญารใอ่ืหนงาชใปมุนญัชชนุมหแชาลในนะแชแลุมนะชวแทนนาแวงลทแะากแง้ไนแขกวทไ้ ขางแก้ไข ๒๘๒๘๒ ๒๘๒ แผนแกผานรกจาแัดรผกจนาัดรกเารรียจเนรัดรียกทู้ นา่ีร๕ทู้เ๒รี่ ีย๕เนร๒รื่อู้ทเงรี่ ่ือแ๕งน๒วแทเนราว่อื งทงกาแางรนกสวารทร้าสางงรคกา้ วงาาครมสวสารมา้ างสนคมวฉาานั มทฉส์ันมทา์นฉันท์ ๒๙๒๑๙๑ ๒๙๑ แผนแกผานรกจาแดั รผกจนาดั รกเารรียจเนรัดรียกทู้ นา่ีร๕ู้ทเ๓รี่ ยี๕เนร๓รอ่ื ู้ทเงร่ี ื่อเ๕รง๓่อื เงรเร่ือกอื่งางรกใเาชรรช้ือ่ ใวีงชิตช้กตีวาาติรมใตชา้ชมีวิตตาม ๓๐๓๑๐๑ ๓๐๑ พระพบรระมบรรพามโรรชะาวบโาชรทวมาหรทาลโักหชกวลาักรทกทาหรงลทงักรากงนงาแารลนทะแรปงลงระาัชปนญรแัชาลขญะอาปงขรเอศชั งรญเษศาฐรขกษอจิ ฐงพเกศอิจรเพษพอฐียเกงพขิจียอพงงอขพเอพรงะยีพบงรขาะอทบงสาพมทรเสดะมบจ็ เพาดทร็จะสพเมรจเะ้าดเอจ็ ย้าพูห่อรวัยะ่หูเจัว้าอยู่หัว หนห่วยนกว่ ายรกหเารนียร่วเนรยรยี กู้ทนา่ีร๘ู้ทเร่ีกย๘านรกรเ้ทูามร่ีือ๘เงมกือกางารกรปเามกรอืคปงรกกอคางรรอปงกครอง ๓๑๓๒๑๒ ๓๑๒ แผนแกผานรกจาแดั รผกจนาัดรกเารรียจเนรดั รียกู้ทนา่ีร๕ูท้เ๔รี่ ยี๕เนร๔รอ่ื ทู้เงรี่ ่ือร๕ูปง๔แรบเูปรบแื่อบกงาบรรกูปปาแกรบคปบรกกอคางรใรอนปงยกใคุนคปยรัจอุคจงปใุบัจนนัจยุบุคันปัจจุบนั ๓๑๓๕๑๕ ๓๑๕ แผนแกผานรกจาแัดรผกจนาดั รกเารรียจเนรดั รียกู้ทนาี่ร๕ู้ทเ๕รี่ ีย๕เนร๕รอ่ื ทู้เงร่ี อ่ืก๕งา๕รกปเารกรอ่ื คปงรกกอคางรแรอปบงกบแคบปรบรอะปงชรแาะบธชบปิ าปไธตริปยะไชตายธปิ ไตย ๓๒๓๑๒๑ ๓๒๑ แผนแกผานรกจาแัดรผกจนาัดรกเารรยี จเนรดั รียกูท้ นา่ีร๕ู้ทเ๖ร่ี ีย๕เนร๖รอ่ื ทู้เงร่ี ื่อก๕งา๖รกปเารกรอ่ื คปงรกกอคางรรอะปงบกรอคะบรอเผงบดรเะ็จผบกดาอ็จรบกเาผรด็จการ ๓๒๓๗๒๗ ๓๒๗ แผนแกผานรกจาแดั รผกจนาดั รกเารรียจเนรดั รียกทู้ นาี่ร๕ู้ทเ๗รี่ ยี๕เนร๗รอ่ื ู้ทเงรี่ ่ือเ๕ขง๗า้ เใขจเรา้รื่อใะจงบรเอะขบา้ เใอผจบดรเะ็จผบกดาอ็จรบกเาผรดจ็ การ ๓๓๓๒๓๒ ๓๓๒ แผนแกผานรกจาแัดรผกจนาดั รกเารรยี จเนรัดรยี กู้ทนาี่ร๕ทู้เ๘ร่ี ีย๕เนร๘ร่ือทู้เงร่ี ่อืเ๕ปง๘รเียปเบรร่ือเียทงบยี เปบทรกียยีาบบรกปเาทกรยีคปบรกกอคางรขรอปองกงขไคอทรงยอไกทงบัขยปอกงบัรไะปทเรทยะกศเบัทป่ีศรทกะคป่ี เรทกอคศงรทแอีป่บงกบแคบปรบรอะปงชรแาะบธชบิปาปไธตริปยะไชตายธิปไตย ๓๓๓๘๓๘ ๓๓๘ แผนแกผานรกจาแดั รผกจนาัดรกเารรียจเนรัดรียกู้ทนาี่ร๕ู้ทเ๙ร่ี ีย๕เนร๙รอ่ื ู้ทเงรี่ ื่อร๕ัฐง๙ธรรเัฐรธมื่อรนงรญูมรัฐนฉธญูบรับฉรมบปนับจูญจปุบัจฉันจบเบุักันป่ียเวัจกกจ่ียับุ วกนั าับเกรกีย่เลาวรือกเกลบั ตือก้งักาตรกเง้ัาลรกือมากีสรต่วมั้งนีสกรว่ ว่านมรรมทว่ ีสามว่งทกนาารงรว่กเมมาทรอื เางมงือกงารเมอื ง ๓๔๓๔๔๔ ๓๔๔ แผนแกผานรกจาแดั รผกจนาดั รกเารรียจเนรัดรียกทู้ นา่ีร๖ู้ทเ๐รี่ ยี๖เนร๐ร่อื ู้ทเงร่ี ือ่ป๖งัญ๐ปหเญัราือ่กหงาารปกพาัญฒัรหพนาฒั ากปนาราะพปชัฒราะธนชิปาาปไสธตรปิายะไรแชตบลายะธัญแิปแลนไสะตวแายทนรแาวบลงทแะญั าแกงนไ้แขวกท้ไขางแกไ้ ข ๓๔๓๙๔๙ ๓๔๙ ๓ห๕น๓๕า้ ๕๕ ๓ห๕น๕า้ บปรกรบรณอรรงาณนกุ าบปรนรกมุกรรณรอมงานุกรม รายวิชาปรราะยววัตชิ ิศาาปสรตะรว์ ัติศาสตร์ คำชแี้ จงรคายำชวิชแ้ี าจปงราะยววัตชิศาปสตระรว์ รตั หิศัสาวสชิ ตาร์๒ร๓หัส๑ว๐ิช๒า ช๒้ัน๓ม๑ัธ๐ย๒มศชกึ ัน้ ษมาัธปยที มี่ ศ๓กึ ภษาคปเที รีย่ ๓นทภ่ีา๑คเรยี นที่ ๑ ๓๕๘ ๓๕๘ คำอธบิ ายครำาอยธวิบชายปราะยววัติชศาปสตระรว์ รตั หศิ สั าวสิชตาร์๒ร๓หสั๑ว๐ิช๒า ๒ช้นั๓ม๑ัธ๐ย๒มศชึกั้นษมาัธปยีทมี่ ศ๓กึ ภษาคปเีทรยี่ ๓นทภี่า๑คเรียนท่ี ๑ ๓๖๐ ๓๖๐ มาตรฐานมกาาตรรเรฐยี านรกู้/าตรวัเรชยี ว้ี นดั รู้/ตัวช้วี ดั ๓๖๑ ๓๖๑ โครงสร้างโรคารยงวสชิ รา้ ปงราะยววตั ชิศาปสตระรว์ รตั หิศสั าวสชิ ตาร์๒ร๓หัส๑ว๐ิช๒า ๒ช้ัน๓ม๑ธั ๐ย๒มศชึกั้นษมาัธปยีทม่ี ศ๓ึกภษาคปเที รีย่ ๓นทภี่า๑คเรียนท่ี ๑ ๒๖๒ ๒๖๒ หน่วยการหเนรีย่วนยกรู้ทารี่ ๑เรียชนอื่ รห้ทู นี่ ว่๑ยชกอื่ าหรนใช่วว้ยธิ กี ารใทชาว้ งธิ ปีกราะรวทัตาิศงาปสรตะรว์ ัตศิ าสตร์ ๓๖๔ ๓๖๔ แผนการจแดั ผกนารกเารรยี จนัดรกู้ทาี่ ร๑เรเยีรนอ่ื รง้ทู คี่ ว๑ามเรหอ่ื มงาคยวขาอมงหวธิมกี าายรขทอางงวปธิ รีกะาวรตัทิศาางปสตระรว์ ตั ิศาสตร์ ๓๖๗ ๓๖๗ แผนการจแัดผกนารกเารรียจนัดรกู้ทา่ี ร๒เรเียรนอ่ื รงูท้ หี่ ล๒ักเฐราือ่ นงทหาลงปักฐราะนวัตทศิาางปสตระรว์ ตั ศิ าสตร์ ๓๗๖ ๓๗๖ แผนการจแดั ผกนารกเารรยี จนดั รกู้ทา่ี ร๓เรเียรนื่อรง้ทู ขี่ ัน้๓ตเอรนอ่ื ขงอขงั้นวติธอกี นารขทอางงวปิธรีกะาวรัตทิศาางปสตระรว์ ตั ศิ าสตร์ ๓๘๙ ๓๘๙ แผนการจแัดผกนารกเารรียจนัดรกู้ทา่ี ร๔เรเยีรนื่อรงทู้ ก่ี า๔รนเรำอ่ื วงธิ กี ารทนาำงวปธิ รีกะาวรัตทิศาางปสตระรวม์ ัตาใศิ ชาใ้สนตกราม์ ราศใกึชษใ้ นากเราื่อรงศรกึ าษวาเร่ืองราว ๓๙๕ ๓๙๕ ท่ีเกย่ี วข้องทก่ีเกับีย่ตวนขเอ้ งกคบั รตอนบเคอรงัวคแรลอะบทคอ้ รงวัถแิ่นลขะอทงอ้ตงนถิ่นของตน หนว่ ยการหเรนยี ่วนยรกูท้ า่ีร๒เรชยี นื่อหร้ทูนี่ว๒ยชพ่ือัฒหนา่วกยาพรขัฒอนงภากูมาภิ ราขคอตงา่ภงูมๆภิ าขคอตงา่ โงลกๆ ของโลก ๔๐๑ ๔๐๑ แผนการจแดั ผกนารกเารรียจนัดรกู้ทา่ี ร๕เรเียรนอ่ื รงู้ทกี่ า๕รเขรา้่อื มงากขาอรงเชขา้ วมยาโุขรอปงใชนาทววยปี โุ รอปเมในรกิทาวเปี หอนเอืมแรลกิ ะาเอหเมนรือกิแาลใะตอ้ เมริกาใต้ ๔๐๖ ๔๐๖ แผนการจแัดผกนารกเารรยี จนัดรกทู้ าี่ ร๖เรเยีรนอ่ื รงู้ทพ่ี ัฒ๖นเรา่ือกงารพทัฒางนกาากราเรมทอื างงสกงัาครเมมแอื ลงะสเศงั รคษมฐแกลิจะขเศอรงษทฐวกีปจิอขเมอรงกิทาวเีปหอนเอืมริกาเหนอื ๔๑๘ ๔๑๘ แผนการจแัดผกนารกเารรียจนดั รกทู้ า่ี ร๗เรเยีรนื่อรงู้ทพี่ ัฒ๗นเราื่อกงารพทัฒางนกาากราเรมทอื างงสกงัาครเมมแอื ลงะสเศังรคษมฐแกลจิะขเศอรงษทฐวกีปจิอขเมอรงกิทาวใีปตอ้ เมรกิ าใต้ ๔๓๔ ๔๓๔ แผนการจแัดผกนารกเารรียจนดั รกทู้ าี่ ร๘เรเยีรนอ่ื รงู้ทพ่ี ฒั๘นเราื่อกงารพทฒั างนกาากราเรมทอื างงการเมือง ๔๔๙ ๔๔๙ สงั คมและสเศงั รคษมฐแกลิจะขเศอรงษปฐรกะจิเทขศอองอปสระเตเทรเศลอยี อสเตรเลีย แผนการจแัดผกนารกเารรยี จนัดรก้ทู า่ี ร๙เรเียรนื่อรงทู้ พี่ ัฒ๙นเรา่ือกงารพทฒั างนกาากราเรมทือางงการเมือง ๔๖๑ ๔๖๑

โครงสโรคา้ รงงรสารย้าวงชิ ราปยรวะิชวาัตปศิ ราะสวตั รศิ ์ ารสหตสั รว์ ชิราหสั๒ว๓ชิ ๑า๐๒๒๓๑ชั้น๐ม๒ธั ยชมัน้ ศมกึธั ษยมาปศึกีทษี่ ๓าปภที าี่ค๓เรภียานคทเ่ีร๑ยี นที่ ๑ ๒๖๒ ๒๖๒ หน่วยหกนาว่รเยรกยี านรรเ้ทูรียี่ ๑นรช้ทู ือ่ ี่ ๑หนชว่ ือ่ ยหกนา่วรยใชกว้ าิธรกีใชารว้ ทิธีกางาปรทระาวงปัตศิระาวสัตศิร์าสตร์ ๓๖๔ ๓๖๔ แผนกแารผจนัดกกาารรจเดัรียกนารเ้ทู รี่ย๑นรเรูท้ อ่ื ี่ ๑ง คเรวอ่ืามงหคมวายมขหอมงาวยิธขีกอางรวทธิ าีกงาปรรทะาวงตั ปศิ ราะสวตั รศิ ์ าสตร์ ๓๖๗ ๓๖๗ ฆ แแผผนนกกแแาารรผผจจนนดััดกกกกาาาารรรรจจเเัดดัรรีียยกกนนาารรเเู้ทู้ทรร่ี่ียย๒๓นนรรเเรรูู้้ททื่อื่อี่่ี ๓๒งง หขเเรร้นัลอ่ืือ่ ตกั งงอฐาขหนนั้นลขทตักอาอฐงงวานปธินขีกรทอะาางวรงวทตั ปธิ ศิาีกรงาะาปสวรรตทั ะรศิาว์ งาสัตปสาิศรตราะรบสว์ ตญัั รศิ ์ (าตสอ่ต)ร์ แผนกแารผจนัดกกาารรจเดัรยีกนารเ้ทู รี่ย๔นรเร้ทู ื่อ่ี ๔ง กเราอ่ืรนงำกวาิธรกี นาำรวทธิ ากี งาปรรทะาวงัตปิศราะสวตั รศิ ม์ าาสใตชรใ้ ม์นากใาชรใ้ ศนึกกษาารเศรึกือ่ ษงราาเรวอื่ งราว ๓๗๖ ๓๗๖ ทเ่ี กี่ยวทข่ีเ้อกงย่ี กวับขตอ้ นงกเอบั งตคนรเองบครัวอแบลคะรทัว้อแงลถะิน่ทข้อองถงตน่ิ นของตน ๓๘๙ ๓๘๙ หน่วยหกนาร่วเยรกียานรรเูท้รยี่ ๒นรชู้ท่อื ่ี ห๒นช่วอ่ืยหพนัฒว่ ยนาพกัฒารนขาอกงาภรูมขิภองาภคูมติภา่ งาคๆตข่างองๆโลขกองโลก ๓ห๙น๕า้ ๓๙๕ แผนกแารผจนดั กกาารรจเดัรยีกนารเทู้ ร่ีย๕นรเรูท้ อ่ื ่ี ๕ง กเรา่ือรเงขก้ามาราเขขอ้างมชาาขวอยงโุ ชราปวใยนโุทรวปีปในอทเมวรปี กิ อาเมหรนกิ อื าแเหลนะอื เแมลระิกอาเใมตร้ ิกาใต้ แผนกแารผจนดั กกาารรจเัดรยีกนารเู้ทรี่ย๖นรเร้ทู ื่อี่ ๖ง พเรัฒ่ือนงาพกัฒารนทาากงากราทราเมงกอื างรสเมงั คอื งมแสลงั ะคเมศแรลษะฐเกศจิรขษอฐงกทิจวขปี อองทเมวรีปิกอาเมหรนิกอื าเหนือ ๔๐๑ ๔๐๑ แผนกแารผจนดั กกาารรจเัดรยีกนารเ้ทู รี่ย๗นรเรทู้ อ่ื ี่ ๗ง พเรัฒอ่ื นงาพกฒัารนทาากงากราทราเมงกือางรสเมังคืองมแสลงั ะคเมศแรลษะฐเกศจิรขษอฐงกทิจวขีปอองทเมวรีปิกอาเใมตร้ ิกาใต้ ๔๐๖ ๔๐๖ แผนกแารผจนัดกกาารรจเัดรยีกนารเทู้ ร่ีย๘นรเรทู้ ื่อี่ ๘ง พเรฒั ่อื นงาพกฒัารนทาากงากราทราเมงกอื างรเมือง ๔๑๘ ๔๑๘ สงั คมแสลังะคเมศแรลษะฐเกศิจรขษอฐงกปิจรขะอเงทปศรอะอเทสเศตอรอเลสียเตรเลยี ๔๓๔ ๔๓๔ แผนกแารผจนดั กกาารรจเดัรียกนารเทู้ รี่ย๙นรเรทู้ อ่ื ่ี ๙ง พเรัฒือ่ นงาพกัฒารนทาากงากราทราเมงกือางรเมอื ง ๔๔๙ ๔๔๙ สังคมแสลังะคเมศแรลษะฐเกศจิรขษอฐงกนิจิวขซอีแงลนนิวซดีแ์ ลนะโดอ์แเชลยีะโเนอเียชียเนีย แผนกแารผจนดั กกาารรจเดัรยีกนารเทู้ รี่ย๑น๐รู้ทเร่ี ๑ื่อง๐พเรัฒอ่ื นงาพกัฒารนทาากงากราทราเมงกือางรสเมงั คอื งมแสลงั ะคเมศแรลษะฐเกศิจรขษอฐงกทิจวขีปอแงทอฟวปีริกแาอฟริกา ๔๖๑ ๔๖๑ (ยคุ โบ(รยาุคณโบถรึงยาณุคกถลงึ ายงุค)กลาง) แผนกแารผจนัดกกาารรจเดัรยีกนารเู้ทร่ีย๑น๑รทู้ เรี่ ๑อ่ื ๑ง พเรัฒื่อนงาพกัฒารนทาากงากราทราเมงกือางรสเมงั คอื งมแสลงั ะคเมศแรลษะฐเกศจิรขษอฐงกทจิ วขีปอแงทอฟวปีรกิแาอฟรกิ า ๔๗๕ ๔๗๕ (ยุคให(มย่ถุคึงใยหคุ มป่ถัจงึ ยจุบคปันจั) จบุ นั ) แผนกแารผจนัดกกาารรจเดัรียกนารเทู้ รี่ย๑น๒รทู้ เรี่ ๑ื่อง๒เเรร่อื ื่องงพเฒั รื่อนงาพกัฒารนทาากงาสรังทคามงขสองั คงทมวขปี อยงทโุ รวปีปยโุ รป ๔๘๗ ๔๘๗ แผนกแารผจนัดกกาารรจเดัรียกนารเทู้ ร่ีย๑น๓รทู้ เรี่ ๑่อื ง๓พเรัฒอ่ื นงาพกัฒารนทาากงาเศรทรษางฐเกศจิรขษอฐงกทจิ วขปี อยงทุโรวปปี ยโุ รป แผนกแารผจนัดกกาารรจเดัรียกนารเู้ทร่ีย๑น๔ร้ทู เร่ี ๑ื่อ๔ง อเรทิ อ่ื ธงิพอลิทขอธพิงตละขวอนั งตกะตวนัอ่ สตงักคตมอ่ โสลังกคมโลก ๕๐๒ ๕๐๒ แผนกแารผจนัดกกาารรจเัดรียกนารเทู้ ร่ีย๑น๕รทู้ เร่ี ๑อ่ื ง๕กเราอ่ืรเงลกือากรรเบัลอื ทิกรธับพิ อลทิขอธิพงตละขวอันงตกะตวนั่อโตลกกต่อโลก ๕๐๙ ๕๐๙ หน่วยหกนาร่วเยรกียานรรเ้ทูรยี่ ๓นรชทู้ ื่อี่ ห๓นช่วื่อยหคนวว่ ายมคขวัดาแมยขง้ แัดลแะยค้งแวลามะคร่วมามรอื ว่ ในมมครือสิในตคศ์ รตสิ วตรศ์รษตทวร่ี ๒รษ๐ท่ี ๒๐ ๕๑๕ ๕๑๕ แผนกแารผจนดั กกาารรจเดัรียกนารเทู้ ร่ีย๑น๖รู้ทเรี่ ๑่อื ง๖เเรร่อื ื่องงสเงรคอื่ รงาสมงโคลรกาคมรโ้งัลทกี่ ค๑รง้ั ที่ ๑ ๕๒๓ ๕๒๓ แผนกแารผจนดั กกาารรจเดัรยีกนารเู้ทร่ีย๑น๗รู้ทเี่ ร๑ื่อ๗ง เเรร่ือื่องงสเงรคอื่ รงาสมงโคลรกาคมรโ้ังลทกี่ ค๒ร้งั ท่ี ๒ ๕๓๐ ๕๓๐ แผนกแารผจนัดกกาารรจเดัรยีกนารเ้ทู ร่ีย๑น๘รูท้ เี่ร๑อ่ื ๘ง สเรงอ่ืคงราสมงเคยรน็ ามเยน็ ๕๓๓ ๕๓๓ แผนกแารผจนัดกกาารรจเดัรยีกนารเทู้ รี่ย๑น๙รทู้ เี่ร๑ือ่ ๙ง อเรง่อืคง์กาอรงรคะ์กหาวร่ารงะปหรวะ่าเงทปศรดะ้าเทนศสดงั คา้ นมแสลงั คะมกแารลเะมกอื างรเมอื ง ๕๔๐ ๕๔๐ ๕๔๗ ๕๔๗ คณะจดั ท�ำ คูม่ อื ครูและแผนการจัดการเรียนรรู้ ะดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ๕๕๔ ๕๕๔ เพ่ือการเรียนการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ๕๗๔ มูลนธิ กิ ารศึกษาทางไกลผ่ายดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ คณะจัดคู่มือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ๕๗๔ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภาคเรยี นที่ ๑ ๕๗๕ คณะปรับปรงุ ค่มู อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ๕๗๗ กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภาคเรียนที่ ๑ คณะตรวจปรูฟ๊ และจดั ท�ำ รปู เลม่ คู่มอื ครู และแผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภาคเรยี นท่ี ๑

ง การรับชมรายการ การเรียนการสอนทางไกลผา่ นดาวเทียม มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ใหบ้ รกิ ารการจดั การเรยี นการสอน จากสถานวี ิทยโุ ทรทัศนก์ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม จำนวน ๑๕ ช่องรายการ ทัง้ รายการสด (Live) และรายการย้อนหลัง (On demand) สามารถรับชมผ่าน www.dltv.ac.th Application on mobile DLTV - Android เข้าที่ Play Store/Google Play พมิ พ์คำว่า DLTV - iOS เขา้ ที่ App Store พมิ พ์คำวา่ DLTV การเรยี กหมายเลขชอ่ งออกอากาศสถานีวิทยุโทรทัศน์การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ๑๕ ชอ่ งรายการ เวลาเรยี น / นอกเวลาเรยี น DLTV ๑ (ชอ่ ง ๑๘๖) รายการสอนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ / สถาบันพระมหากษตั ริย์ DLTV ๒ (ช่อง ๑๘๗) รายการสอนช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๒ / ความรรู้ อบตัว DLTV ๓ (ชอ่ ง ๑๘๘) รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ / วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี DLTV ๔ (ช่อง ๑๘๙) รายการสอนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ / ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม DLTV ๕ (ช่อง ๑๙๐) รายการสอนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ / ศิลปวัฒนธรรมไทย DLTV ๖ (ช่อง ๑๙๑) รายการสอนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ / หนา้ ท่พี ลเมอื ง DLTV ๗ (ช่อง ๑๙๒) รายการสอนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ / ภาษาองั กฤษเพอื่ การสือ่ สาร DLTV ๘ (ชอ่ ง ๑๙๓) รายการสอนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ / ภาษาตา่ งประเทศ DLTV ๙ (ช่อง ๑๙๔) รายการสอนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ / การเกษตร DLTV ๑๐ (ชอ่ ง ๑๙๕) รายการสอนชัน้ อนบุ าลปที ่ี ๑ / รายการสําหรับเดก็ -การเลยี้ งดูลูก DLTV ๑๑ (ช่อง ๑๙๖) รายการสอนช้นั อนบุ าลปีท่ี ๒ / สุขภาพ การแพทย์ DLTV ๑๒ (ช่อง ๑๙๗) รายการสอนชนั้ อนบุ าลปที ี่ ๓ / รายการสำหรับผูส้ งู วยั DLTV ๑๓ (ชอ่ ง ๑๙๘) รายการของการอาชีพวงั ไกลกงั วล และมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล DLTV ๑๔ (ช่อง ๑๙๙) รายการของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช DLTV ๑๕ (ช่อง ๒๐๐) รายการพัฒนาวชิ าชีพครู

จ การตดิ ต่อรบั ข้อมูลขา่ วสาร ๑1. มลู นิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ เลขท่ี ๒๑๔ ถนนนครสวรรค์ แขวงวัดโสมนัส เขตปอ้ มปราบศตั รูพา่ ย กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๐๐ โทร ๐ ๒๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒2. สถานีวิทยโุ ทรทัศน์การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ซอยหวั หิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตำบลหัวหิน อำเภอหัวหนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗ - ๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ติดตอ่ เรอื่ งเวบ็ ไซต์) dltv@dltv,ac.th (ติดตอ่ เรื่องทว่ั ไป) 3๓.. โรงเรียนวงั ไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ อำเภอหัวหิน จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ์ ๗๗๑๑๐ โทร ๐๓๒ ๕๒๒ ๓๔๗ , ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ Facebook : โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Website : http://www.kkws.ac.th ๔4. ช่องทางการติดตามขา่ วสาร Facebook : ครูตู้ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

1 คำชแ้ี จง ๑ ฉ กำรใช้แผนกำรจัดคกำำ�รชเ้แีรยีจนงรู้ รำยวชิ ำสังคมศกึ ษำ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษำตอนตน้ กล่มุ สำระกำรเรียนรสู้ งั คมศกึ ษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม ประกอบการใช้แผนการจดั การเรียนรู้กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พื้นฐำน ร่วมกับมลู นิธิกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทยี มได้ดำเนินกำร พัฒนำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ และส่ือกำรเรียนกำรสอนเพ่ือกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม (DLTV) ระดับ มัธยมศึกษำตอนต้น สำหรับโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมรำชูปถัมภ์ เพ่ือเผยแพร่เป็นสื่อทำงไกลแก่ครูผู้สอน ทวั่ ประเทศ โดยมีเป้ำหมำยในกำรยกระดบั คณุ ภำพกำรศึกษำ และลดควำมเหลอื่ มลำ้ ทำงกำรศกึ ษำ คณะทำงำนกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม ได้จัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ และสอ่ื กำรเรียนกำรสอนเพื่อกำรศกึ ษำทำงไกลผำ่ นดำวเทียม (DLTV) ภำคเรยี นที่ ๒ ดงั นี้ ชั้นมธั ยมศึกษำปีที่ ๑  รำยวิชำ ส ๒๑๑๐๑ สงั คมศึกษำ จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต เวลำ ๖๐ ช่ัวโมง ชน้ั มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๒  รำยวิชำ ส ๒๒๑๐๑ สังคมศึกษำ จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต เวลำ ๖๐ ช่วั โมง ช้นั มธั ยมศึกษำปีที่ ๓  รำยวิชำ ส ๒๓๑๐๑ สังคมศกึ ษำ จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ เวลำ ๖๐ ช่วั โมง กำรนำแผนกำรจดั กำรเรียนร้ไู ปใช้ กำรนำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้รำยวิชำสังคมศึกษำ ระดับชั้นมัธยมศึกษำตอนตน้ ไปใชใ้ ห้เกิดประสิทธิภำพ และประสิทธิผลสงู สุดไดน้ ัน้ ผ้สู อนจำเป็นตอ้ งคำนึงถึงบรบิ ทและเงอ่ื นไขบำงประกำรตำมประเด็นตอ่ ไปนี้ ๑. ศึกษำมำตรฐำน ตัวชี้วัด และคำอธิบำยรำยวิชำ เพ่ือเป็นกำรทำควำมเข้ำใจเป้ำประสงค์ของหลักสูตร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรมและสำระกำรเรียนรู้โดยภำพรวมของรำยวิชำสังคมศึกษำ ในแตล่ ะระดับชั้น ๒. ศึกษำโครงสร้ำงรำยวิชำ เพอ่ื ให้เข้ำใจถึงมโนทัศน์และแนวคิดสำคัญในแตล่ ะองค์ประกอบของรำยวิชำ อนั จะเปน็ กำรสนบั สนุนใหผ้ ู้สอนได้เหน็ ถึงกรอบโครงสรำ้ งทีส่ ะท้อนธรรมชำตขิ องรำยวิชำสงั คมศึกษำ ๓. ศึกษำกำหนดกำรสอนรำยชว่ั โมงเพ่ือให้เห็นถงึ กลยุทธแ์ ละแนวทำงกำรจัดกำรเรียนรู้โดยภำพรวมในแต่ ละช่วั โมงเรยี น ๔. ศึกษำและทำควำมเข้ำใจรำยละเอียดในแต่ละองค์ประกอบของแผนกำรสอนรำยช่ัวโมง เพื่อให้เห็นถึง องค์ประกอบเกี่ยวกับตัวช้ีวัด ขอบเขตเน้ือหำ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ทั้ง ๓ ด้ำน กิจกรรมกำรเรียนรู้ สื่อ แหล่งเรียนรู้ ภำระงำน/ชิ้นงำน กำรวัดกำรประเมินผลและบันทึกผลหลังกำรสอน ที่มีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงเป็น ระบบ

๒ 2ช ๕. ศึกษำแนวกำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอน สื่อกำรเรียนกำรสอนและแหล่งกำรเรียนรู้ในแต่ละชั่วโมง อันจะเป็นประโยชน์ต่อกำรออกแบบกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนและจัดเตรียมสื่อและแหลง่ กำรเรียนรู้ให้สอดคล้อง กับแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ท้ังน้ีกิจกรรมกำรเรียนรู้ท่ีประกอบไปด้วยกระบวนกำรเรียนกำรสอน ๓ ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ๑) ขั้นนำเข้ำสู่บทเรียน ๒) ข้ันสร้ำงองค์ควำมรู้ และ ๓) ขั้นสรุปควำมคิดรวบยอด อำจมีกำรปรับเปล่ียนใน บำางแผนกำารรจจัดัดกกำารรเเรรียียนนรรู้ ทู้ ที่มี่มกีกำรานรนำขำ�้ันขตั้นอตนอกนำกราเรียเรนียกนำกราสรอสนอทนี่ยทึดี่ยจึำดกจราูปกแรบูปบแกบำบรกสาอรนสอกนระกบรวะนบกวำนรกเราียรนเรกียำนร สกอารนสอวิธนีสวอธิ นสี อแนละแเลทะคเนทิคกนำคิ รกสาอรนสอเนพ่ือเพใหอ่ื ้เใหมเ้ หำมะาสะมสตม่อตสอ่ ำสราะรกะำกราเรเียรนยี นรู้ใรนใุ้ นวิชวชิำสาสังงคั คมมศศึกกึ ษษำาทท้ังง้ันนี้ผผ้ี ู้สสู้ ออนนสสำามำารถปรับ แนวทำงกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนให้สัมพันธ์กับบริบทของผู้เรียน สถำนศึกษำและชุมชน เพื่อประโยชน์ สูงสุดแกผ่ เู้ รยี น คณะผ้จู ดั ทำ

๓ 3ซ คำอธบิ ำยรำยวิชำ รหสั วชิ ำ ส23101 รำยวชิ ำ สังคมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศึกษำปีที่ 3 จำนวน 1.5 หน่วยกิต รวมเวลำ 60 ชวั่ โมง ศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก ความสาคัญของพระพุทธศาสนา ในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรมและความสงบสุขแก่โลก พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่างๆ อธิบาย สังฆคุณและข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ 4 ในเร่ืองทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) ประกอบด้วยขันธ์ 5 (ไตรลักษณ์) สมุทัย (ธรรมทค่ี วรละ) ประกอบด้วย หลักกรรม (วัฏฏะ 3) ปปัญจธรรม 3 (ตณั หา, มานะ, ทฏิ ฐิ) นิโรธ (ธรรม ท่ีควรรู้) ประกอบดว้ ย อัตถะ 3 มรรค (ธรรมท่ีควรเจรญิ ) ประกอบด้วย มรรคมีองค์ 8 ปัญญา 3 สัปปุรสิ ธรรม 7 บุญกริ ิยาวัตถุ 3 อบุ าสกธรรม มงคล 38 (มีศิลปวิทยา พบสมณะ ฟังธรรมตามกาล สนทนาธรรมตามกาล) พุทธศาสนสุภาษิต (อตฺตา หเวชิตเสยโฺ ย ธมฺมจารี สุข เสติ ปมาโท มจฺจโุ น ปท และ สุสฺสูสลภเต ปญ ) พุทธ ปณิธาน 4 ในมหาปรนิ พิ พานสูตร หน้าที่และบทบาทของสาวกและการปฏบิ ตั ิตนต่อสาวกไดถ้ กู ต้อง ประวตั ิวัน สาคัญทางพระพุทธศาสนา การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การเสนอแนวทางในการธารงรักษาศาสนาท่ีตนนับ ถือ ความแตกต่างของการกระทาความผิดระหว่างคดีอาญาและคดีแพ่ง ปัจจัยท่ีก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้ง ในประเทศ และการเสนอแนวคิดในการลดความขัดแยง้ การดารงชีวติ อย่างมคี วามสุขในประเทศและสังคมโลก ระบอบการปกครองต่าง ๆ ท่ีใช้ในปัจจบุ ัน เปรียบเทยี บระบอบการปกครองของไทยกบั ประเทศอื่น ๆ ที่มีการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันในมาตรต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการเลือกต้ัง การมีส่วน รว่ มและการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ปญั หาที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธปิ ไตยของประเทศไทยและ แนวทางแกไ้ ข โดยใช้กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางขัดเกลาสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม การประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิต และข้อคิดจากประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่างเพื่อนาไปพัฒนาและแก้ปัญหาของ ชุมชนและสังคม การปฏิบัติตนตามหลักธรรม ในการพัฒนาตนเพ่ือเตรียมความพร้อมสาหรับการทางานและ การมีครอบครัว การพัฒนาจิตเพ่ือการเรียนรแู้ ละดาเนินชีวติ ด้วยวธิ ีคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร (วิธีคดิ แบบอริยสัจ วิธคี ิดแบบสืบสาวเหตปุ ัจจัย) สวดมนต์แปล แผเ่ มตตา บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ ปฏิบัติตน อย่างเหมาะสมต่อบคุ คลตา่ ง ๆ ตามหลกั ศาสนาตามหน้าทข่ี องศาสนกิ ชนทด่ี ี ศาสนพธิ ี พิธกี รรม เพ่ือให้เกิดความตระหนักในความสาคัญของพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและการพัฒนาอย่างย่ังยืน สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม การยอมรับ ความแตกต่างและวิถีการดาเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอ่ืน การมีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครองผู้อ่ืน ตามหลักสิทธิมนุษยชน การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากลท่ีเหมาะสม รกั ความเป็นไทย อยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ เป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม สามารถดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและ สงั คมโลก ตวั ชีว้ ดั มม.๓.3/๕/5 มม.๓.3/๖/6 ม.ม3./๓7/๗ สส๑1.๑.1 มม.๓.3/๑/1 มม.๓.3/๒/2 มม.๓.3/๓/3 มม.๓.3/๔/4 มม.๓.3/๕/5 มม.๓.3/๖/6 ม.ม3./๓7/๗ มม.๓.3/๘/8 มม.๓.3/๙/9 มม.๓.3/๑/1๐0 สส๑1.๒.2 มม.๓.3/๑/1 มม.๓.3/๒/2 มม.๓.3/๓/3 มม.๓.3/๔/4 สส๒2.๑.1 มม.๓.3/๑/1 มม.๓./3๒/ 2 ม.ม3.๓/3/๓ ม.ม3.๓/5/๕ สส๒2.๒.2 มม.๓./3๑/ 1 ม.ม3.๓/2/๒ ม.3/3ม.๓/ม๓. 3/4 ม.ฟ๓/๔ รวม ๒2๕5 ตตวั ัวชชีว้ ้ีวดั ดั

ฌ4 ๔ มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชี้วดั รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหัสวิชา ส23101 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 รวมเวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หนว่ ยกิต สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐานการเรียนรู้ ส 1.1 รแู้ ละเข้าใจประวตั ิความสาคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา ศาสนา ท่ตี นนบั ถือและศาสนาอน่ื มศี รทั ธาที่ถกู ตอ้ ง ยดึ มัน่ และปฏิบตั ติ ามหลักธรรม เพอ่ื อยรู่ ว่ มกัน อยา่ งสันติสขุ ตวั ชีว้ ัด ส 1.1 ม.3/1 อธิบายการเผยแพร่พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถอื สปู่ ระเทศ ต่าง ๆ ทตัว่ ่าโลงๆก ทัว่ โลก ม.3/2 วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนบั ถือในฐานะที่ ชว่ ยสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรม และความสงบสขุ แก่โลก ม.3/3 อภปิ รายความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ตี นนบั ถือ กับปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งและการพฒั นาอย่างยัง่ ยืน ม.3/4 วเิ คราะหพ์ ทุ ธประวตั จิ ากพระพทุ ธรปู ปางต่างๆ หรอื ประวตั ศิ าสตรท์ ี่ตนนบั ถอื ตามกาหนด ม.3/5 วิเคราะหแ์ ละประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนนิ ชวี ิตและข้อคดิ จากประวัติ สาวก ชาดก/เรอ่ื งเลา่ และศาสนกิ ชนตัวอยา่ งตามทก่ี าหนด ม.3/6 อธบิ ายสงั ฆคุณและขอ้ ธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลกั ธรรมของศาสนา ท่ตี นนับถอื ตามทกี่ าหนด ม.3/7 เห็นคณุ คา่ และสเิ คราะหก์ ารปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมในการพัฒนาตนเพ่ือ เตรียมความพร้อมสาหรับการทา งานและการมคี รอบครวั ม.3/8 เห็นคณุ คา่ ของการพฒั นาจติ เพ่อื การเรียนร้แู ละการดาเนินชีวติ ดว้ ยวิธีคดิ แบบ โยนิโสมนสกิ าร คอื วิธีคิดแบบอรยิ สจั และวิธคี ิดแบบสืบสาวเหตปุ ัจจยั หรอื การพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนบั ถือพัฒนาการเรียนรู้ดว้ ยวธิ คี ิด แบบโยนโิ สมนสกิ าร 2 วิธี คือวิธคี ิดแบบอริยสัจและวธิ ีคดิ แบบสืบสาวเหตุ ปัจจยั ม.3/9 สวดมนตแ์ ผเ่ มตตา บริหารจิตและเจริญปัญญาอานาปานสติหรือตามแนวทาง ของศาสนาทีต่ นนับถอื สวดมนต์แปลและแผ่เมตตา - รู้และเขา้ ใจวธิ ีปฏบิ ัติและประโยชนข์ องการบรหิ ารจิตและเจรญิ ปญั ญา - ฝกึ การบริหารจติ และเจริญปัญญาตามหลกั สติปฏั ฐานเนน้ อานา อปานาสปตาิ นสติ - นาวธิ กี ารบรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ม.3/10ยอมรบั ความแตกต่างและวถิ ีการดาเนนิ ชีวิตของศาสนกิ ชนในศาสนาอืน่ ๆ - วถิ กี ารดาเนินชวี ิตของศาสนกิ ชนศาสนาอนื่ ๆ

ญ5 ๕ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏบิ ัตติ นเปน็ ศาสนิกชนทีด่ ีและธารงรกั ษาพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถือ ตวั ชี้วัด ส 1.2 ม.3/1 วิเคราะห์หน้าทแ่ี ละบทบาทของสาวกและปฏบิ ัติตนต่อสาวกตามท่ีกาหนดได้ ถกู ต้อง ม.3/2 ปฏบิ ัตติ นอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลกั ศาสนา ตามทกี่ าหนด ม.3/3 ปฏบิ ัตหิ น้าทข่ี องศาสนิกชนท่ีดี ม.3/4 ปฏิบัติตนในศาสนพิธกี รรมได้ถกู ต้อง ม.3/5 อธิบายประวตั ิวนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนาตามทกี่ าหนดและปฏบิ ัตติ นได้ ถไดูกถ้ ตูก้อตงอ้ ง ม.3/6 แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนาท่ตี นนบั ถือ ม.3/7 นาเสนอแนวทางในการธารงรักษาศาสนาท่ตี นนบั ถือ สาระท่ี 2 หนา้ ท่พี ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสังคม มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหนา้ ทีข่ องการเปน็ พลเมืองทดี่ ีมคี า่ นยิ มทด่ี งี ามและ ดารงรกั ษาประเพณี และวัฒนธรรมไทยดารงชวี ติ อยรู่ ่วมกันในสงั คมไทยและ สงั คมโลกอย่างสันตสิ ุข ตัวช้ีวัด ส 2.1 ม.3/1 อธบิ ายความแตกต่างของการกระทาความผิดระหว่างคดีอาญาและคดแี พ่ง ม.3/2 มสี ว่ นรว่ มในการปกป้องคุ้มครองผู้อน่ื ตามหลกั สทิ ธมิ นุษยชน ม.3/3 อนุรกั ษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมทีเ่ หมาะสม ม.3/4 วิเคราะหป์ จั จัยที่กอ่ ให้เกิดปัญหาความขดั แย้งในประเทศและเสนอแนวคดิ ใน การลดความขัดแยง้ ม.3/5 เสนอแนวคิดในการดารงชวี ิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.2 เข้าในระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจั จุบัน ยึดม่นั ศรทั ธาและธารง รักษาไว้ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็น ประมุข ตัวช้ีวัด ส 2.2 ม.3/1 อธิบายระบอบการปกครองแบบตา่ งๆ ที่ใช้ในยุคปจั จุบัน ม.3/2 วิเคราะห์เปรยี บเทียบระบอบการปกครองของไทยกับประเทศอนื่ ๆ ท่ีมี กทามี่ รกี ปากรคปรกอคงรอรงะบรอะบอปบระปชราะธชิปาธไตปิ ยไตย ม.3/3 วิเคราะหร์ ัฐธรรมนญู ในมาตราต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกบั การเลอื กตั้ง การมีสว่ นรว่ ม และการตรวจสอบการใช้อานาจรฐั ม.3/4 วิเคราะห์ประเดน็ ปญั หาทเี่ ป็นอุปสรรคตอ่ การพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศ ไทยและเสนอแนะแนวทางแก้ไข

๖ ฎ6 โครงสร้างรายวิชา รายวชิ า สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส23101 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2562 จานวน 1.5 หน่วยกิต รวมเวลา 60 ชวั่ โมง หนว่ ย ช่ือหน่วยการเรียนร้/ู มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสาคัญ/ความคิดรวบ เวลา น้าหนัก ท่ี ตวั ชี้วัด ยอด (ช่ัวโมง) คะแนน 1 ประวตั ิและ ส 1.1 พระพุทธศาสนาไดเ้ ผยแผ่ 8 10 ความสาคญั ของ ม.3/1 อธิบายการเผยแผ่ เขา้ สดู่ นิ แดนตา่ ง ๆ ทว่ั โลก 13 5 พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาหรือ สง่ ผลใหม้ อี ทิ ธิพลต่อการ ศาสนาท่ตี นนบั ถือสู่ สกราร้าสงสรรา้ รงสครอ์ ราครอ์ยาธรยรธมรแรลมะและ 2 หลกั ธรรมนาชวี ิต ประเทศตา่ ง ๆ ทั่วโลก ความสงบสุขในดินแดนมกี าร ม.3/2 วเิ คราะห์ นกาบั รถนือบั พถรือะพพรุทะธพศทุ าธสศนาาสอนยาา่ องย่าง ความสาคญั ของ กวา้ งขวาง พระพทุ ธศาสนาหรือ การศึกษาพุทธประวัติ ศาสนาทตี่ นนบั ถือใน ประวตั สิ าวก ชาดก เรื่องเล่า ฐานะทีช่ ว่ ยสรา้ งสรรค์ ทางศาสนา และศาสนิกชน อารย-ธรรม และความ ตัวอย่างยอ่ มทาให้ไดข้ ้อคิดและ สงบสุขแก่โลก แบบอย่าง การดาเนนิ ชวี ิตไป ม.3/4 วิเคราะห์พทุ ธ เป็นแนวทางในการปฏบิ ัติตน ประวัตจิ ากพระพุทธรูป อยา่ งเหมาะสม ปางต่างๆ หรือประวัติ ศาสดาทต่ี นนับถอื ตามที่ กาหนด ม.3/5 วเิ คราะหแ์ ละ ประพฤติตนตาม แบบอย่างการดาเนนิ ชวี ติ และข้อคิดจากประวัติ สาวก ชาดก เรอื่ งเล่า และศาสนิกชนตวั อย่าง ตามที่กาหนด ส 1.1 การท่ศี าสนิกชนศรทั ธาและ ม.3/6 อธิบายสงั ฆคุณ นอ้ มนาคาสอนทางศาสนาทตี่ น และข้อธรรมสาคญั ใน นบั ถือไปปฏบิ ตั จิ ะเกดิ การ กรอบอริยสจั 4 หรือ พกาัฒรนพาฒั ทนั้งาททา้ังทคาวงาคมวคาดิ มคจดิตใจจติ ใจ หลกั ธรรมของศาสนาท่ตี น และการดาเนนิ ชีวติ ทส่ี ่งเสริม นบั ถือตามทก่ี าหนด คุณภาพชวี ติ ของตนเองและ ม.3/7 เห็นคุณค่า และ สงั คม วเิ คราะห์การปฏบิ ตั ิตน ตามหลกั ธรรมในการ พกาัฒรนพาัฒตนนาเตพน่ือเพ่อื

๗ 7ฏ หนว่ ย ช่อื หน่วยการเรยี นร/ู้ มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสาคัญ/ความคิดรวบ เวลา นา้ หนกั ท่ี ตัวชวี้ ดั ยอด (ชว่ั โมง) คะแนน 3 หนา้ ทชี่ าวพทุ ธ เตรยี มพร้อมสาหรับ 11 5 การทางานและการมี ครอบครัว ส 1.1 การที่ศาสนิกชนศรทั ธาและ ม.3/9 สวดมนต์ แผ่ น้อมนาคาสอนทางศาสนาที่ตน เมตตา บริหารจติ และ นับถือไปปฏบิ ัตจิ ะเกิดการ เจรญิ ปญั ญาดว้ ยอานา พกาัฒรนพาัฒทน้งั าททาง้ั ทคาวงาคมวคาิดมคจดิตใจติ ใจ ปอานนาสปตาินหสรตือิ หตรมอื แตนมวแทนาวงทาง และการดาเนนิ ชีวิตทส่ี ่งเสริม ของศาสนาที่ตนนับถือ คณุ ภาพชวี ิตของตนเองและ ม.3/10วิเคราะห์ความ สงั คม แตกตา่ งและยอมรบั วิถี การดาเนินชวี ติ ของ ศาสนิกชนในศาสนาอื่น ๆ ส 1.2 ม.3/1 วิเคราะหห์ น้าที่ และบทบาทของสาวกและ ปฏิบตั ติ นตอ่ สาวกตามท่ี กาหนดได้ถกู ต้อง ม.3/2 ปฏบิ ัตติ นอย่าง เหมาะสมต่อบคุ คลตา่ ง ๆ ตามหลักศาสนา ตามท่ี กาหนด ม.3/3 ปฏบิ ัติหน้าที่ของ ศาสนิกชนท่ดี ี ม.3/4 ปฏบิ ัตติ นใน ศาสนพธิ ีกรรมได้ถูกต้อง ม.3/5 อธิบายประวัติวัน สาคญั ทาง พระพทุ ธศาสนาตามที่ กาหนดและปฏบิ ัตติ นได้ ถูกต้อง ม.3/6 แสดงตนเป็นพทุ ธ มามกะ หรอื แสดงตน เป็นศาสนกิ ชนของศาสนา ทตี่ นนับถือ ม.3/7 นาเสนอแนวทาง ในการธารงรกั ษาศาสนาท่ี ตนนบั ถอื

๘๘ 8ฐ หหนน44ททว่ว่ ่ี่ี ยย ชช่ือื่อหหนน่่ววยยกกาารรเเรรียยี นนรรู้//ู้ คคกสคสกครรวดดวมม22ะะาาอีอี าามม..ททาา11ตตแแญญาารรคคตตมมาาฐฐววกก..แแตตาา33าาตตลลนนัววัมม//า่่าะะ11ชชกกผผงงคคาาี้วว้ีขขิดิดดดออรรัดดัออรรธธแีีแเเะะงงรริบิบพพกกหหยียี าาง่่งาาววนนยยรรา่า่ รรงง/ู้/ู้ กสปกเเสกปรราังงัฎฎฏฏยีียสสคครรริบบิบบาาปมมะะัตัตรรกกรรฏไไเเะะ้อ้อิิบบาาดดบิ สสรรยย้้ออยีียัตททาานนยยบบิคคมี่ี่ม้นัั้น่าา่ ญััญเเนนงงปปยยยยมมษุุษ//น็น็อออ่อ่ีรีรคคยยหหดดะะมมวว์ออ์ เเลลตตาาบบยยักกัอ้้อมมรู่รู่ียียใใงง่ว่วคคบบนนมมมมดิดิ กกีี กกรราานัันววรรบบใในน ((ชชเเ่ัวั่ววว55โโลลมมาางง)) นนคคะะา้้าแแหห55นนนนนนักกั กออกาาฎฎญญหหาามมาายยแแพพ่่งงแแลละะ 55 สสิทิทธธมิมิ นนษุษุ ยยชชนน มใผสสใผมนนู้อ2อู้2นนกกนื่่ืนษุษุ..11าาตตยยรราาชชมมปปมมนน..กก33หหปป//ลล้้ออ22กักั งงสสคคมมิททิ ุ้มุ้มสีสี ธธ่วว่คคิินนรรออรรว่ว่งงมม สเไแไแสเชชมมมมลลิทิท้ือ้ือนน่ว่วะะธธชช่า่าษุษุสสิแแิ จจาายยีผผีลละะตตท์ท์ิววิะะมมิิ ใใเเศศกุุกฐีฐีดดสสาาคคาารรกกสสนนนนภีภี็ตต็ นนยยะะาาาาาาอ่่อททพพมมมมาาคคเเสสงงมมววเเมมีศศีาาศศออมมัักกรรภภเเษษดดชชาา์ศิิ์ศฐฐอื่่ือคคกกรรกกีีเเิจิจพพนันั ศศ 44 55 66 ววววฒััฒัฒฒั นนนนธธธธรรรรรรรรมมมมสไไสททาายยกกแแลลลละะ สไมเวมสไเวหหททฒััฒ..3322มมยยนน//าาแแ..1133ธธะะลลรรสสะะรรออมมเเมมนนลลสสอืือุรุราาักกักกกกษษรรลลัับบว์ว์ ททัฒัฒ่ี่ี นนธธรรรรมม แสวเตแวเตสชชลัฒฒัลงัังาาอื่ื่อคคะมมะนนบมมใใปปบกกธธนนรจัจัราารรแแบิบิบรรจจรรตตทเเยััยมมททมม่ล่ลทททททททืืออะะาาาี่แี่แาางงสสงงงงงตตกกเงังัภภเเศกกาาคคศศูมมูรรรตตมมรรษิิปปศศ่าา่ษษยยาากกกงง่ออ่ฐฐสสกกจิคคกกมมตตแันนัรริจจิมมรรลออออแแีี์์ะงงออคคลลสกกววะะงั ไไาาคปปมมม 66 1100 77 สสังงั คคมมไไททยย สขเกสคคมกมมสเคขกสมคกสสัดัดังงัอ่าอ่าวววว....3333นน22คครราาาาใใแแออหห////ดดมมมม..มมยย115445แแาา้เเ้ขสสขโโง้้งกกลลรรนนใใดััดขุขุ ววเเดิดิงนงนกกสสววใใแแิเเิชชปปนนปปคคคคนนยยวีวี ัญญัปปรรรรดิดิอ้อ้งงติิตาาะะรรใใแแหหออะะนนเเะะนนททาายยหหกเกเคคววทท่า่าศศ์ปป์าาคคววงงศศรรจัจั มแมแาาดิิดลลแแจจมมลลีีใใดดลลัยัยนนะะะะทที่่ี ปโเอโปเอหหลลาารรกก็นน็รรัชัชใใมมคคกกญญนนณณุณุณาาาาแแรร์์ขขคคงงดดด่ด่ออา่่ารราาใใจู้้จูงงีีเเนนเเนนกักัสสศศตตินินบบรรรรนนชชา้้ารรษษเเงงิโิโีวีวออฐฐภภททิตติ กกงงคคกักัตติจิจดดษษาาพพรรว้ว้มมะะู้จ้จู ออยยหหททกักั เเลลพาพามมงงักักยีียอองงงง 66 55

ฑ9 ๙ หน่วย ช่อื หน่วยการเรียนร/ู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสาคัญ/ความคดิ รวบ เวลา น้าหนกั ที่ ตัวชวี้ ดั ยอด (ช่ัวโมง) คะแนน 8 การเมืองการปกครอง ส2.2 75 ในยุคปัจจบุ ัน ม.3/1 อธิบายระบอบการ ปกากรคปรกอคงรแอบงบแตบา่บงตๆา่ งทๆ่ใี ทชใ่ี้ ช้ ในยคุ ปจั จุบนั ม.3/2 วิเคราะห์ เปรยี บเทยี บระบอบการ ปกากรคปรกอคงรของขไทองยไกทับยกับ ประเทศอ่ืน ๆ ที่มีการ ปกากรคปรกอคงรอะบงรอะบบอบ ประชาธปิ ไตย ม.3/3 วเิ คราะห์ รฐั ธรรมนูญฉบบั ปัจจบุ ัน ในมาตราต่าง ๆ ท่ี เกยี่ วขอ้ งกับการเลือกตัง้ การมสี ่วนร่วม และการ ตการรวตจรสวอจบสอกบารกใาชร้อใชาอ้ น�ำ านจารจัฐรฐั ม.3/4 วเิ คราะหป์ ระเดน็ ปัญหาที่เปน็ อุปสรรคตอ่ การพัฒนาประชาธิปไตย ของประเทศไทยและเสนอ แนวทางแก้ไข สอบกลางภาค 1 20 สอบปลายภาค 1 30 รวมทั้งหมด 60 100

๑๐ 110 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 1 ช่ือหน่วยการเรียนรู้ ประวัติและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา รหสั วิชา ส23101 รายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 เวลา 8 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ัด มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนับถือและศาสนาอ่ืน มศี รัทธาที่ถูกตอ้ ง ยดึ มน่ั และปฏิบัติ ตปาฏมบิ หตั ลติ ักาธมรหรลมักเธพร่ือรมอยเ่รูพ่วอื่ มอกยนั ู่รอ่วมยก่างันสอันยต่าสิงสขุ ันตสิ ขุ ตวั ชีว้ ัดท่ี ม.3/1 อธิบายการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาทีต่ นนบั ถอื สู่ประเทศตา่ งๆ ท่ัวโลก ม.3/2 วเิ คราะห์ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือในฐานะท่ี ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรม และความสงบสุขแก่โลก ม.3/4 วเิ คราะหพ์ ุทธประวัตจิ ากพระพุทธรปู ปางตา่ งๆ หรือประวัติศาสดาทีต่ น นทับตี่ นถอืนตับาถมือทต่ีกามาหทนก่ี ดำ�หนด ม.3/5 วเิ คราะห์และประพฤติตนตามแบบอยา่ งการดาเนินชวี ิตและข้อคดิ จาก ประวัตสิ าวก ชาดก เรอ่ื งเล่า และศาสนกิ ชนตวั อย่างตามที่กาหนด 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายแนวทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในทวีปเอเชีย ทวปี ยุโรป ทวีปอเมริกาเหนือ ทวีป อเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกาได้ 2. เปรียบเทียบการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในสมันโบราณและสมัยปัจจุบนั ได้ 3. ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ในการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในสังคมไทยได้ 4. อธิบายลกั ษณะการเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในภมู ิภาคตา่ ง ๆ ทัว่ โลก 5. วเิ คราะห์ลักษณะการเข้ามาเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในภมู ิภาคตา่ ง ๆ ทว่ั โลก 6. วิเคราะหค์ วามสาคญั ของการศึกษาเร่ืองความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา 7. อธบิ ายความสาคญั ของพระพุทธศาสนาในฐานะทช่ี ว่ ยสร้างความสงบสุขให้แก่ชาวโลกได้ 8. วเิ คราะห์ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาในฐานะท่ชี ว่ ยสร้างความสงบสุขใหแ้ ก่ชาวโลกได้ 9. นาความรู้เรื่องความสาคญั ของพระพุทธศาสนาในฐานะท่ชี ว่ ยสร้างความสงบสขุ ให้แก่ชาวโลก ไป เผยแพรใ่ หก้ บั เพื่อนในโรงเรยี นไดท้ ราบในรูปแบบการจดั ทาบอร์ดใหค้ วามรู้ 10. เลา่ เร่ืองพุทธประวัตขิ องพระพทุ ธเจา้ ไดพ้ อสังเขป 11. วิเคราะหเ์ หตุการณส์ าคัญในพุทธประวตั จิ ากพระพุทธเจา้ ได้ 12. วิเคราะหค์ ุณค่าของความสาคญั ของการศึกษาเรื่องพุทธประวตั ิ 13. วเิ คราะห์พุทธประวตั ติ อนแสดงปฐมเทศและแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ได้ 14. ยกตัวอย่างการปฐมเทศนาของเหลา่ สาวกได้ 15. วิเคราะห์ความสาคัญของการศึกษาเรื่องปฐมเทศนาชาดก

๑๑ 121 16. วเิ คราะหค์ ุณธรรมอันเป็นแบบอย่างในการดาเนนิ ชวี ติ ของพุทธสาวก พุทธสาวกิ า และศาสนกิ ชนตวั อย่างได้ 17. ปฏบิ ัติตนตามแบบอย่างการดาเนนิ ชีวติ ของพุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า และศาสนกิ ชนตัวอยา่ งได้ 18. วเิ คราะห์ความสาคัญของการศึกเร่ืองเรื่องคุณธรรมอนั เปน็ แบบอยา่ งของพุทธสาวกและศาสนิก แชลนะตศวั าอสยน่ากิงชนตัวอย่าง 19. นาหลกั คณุ ธรรมจากเรือ่ งชาดกมาประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจาวนั 20. วิเคราะห์คุณธรรมจากการศกึ ษาชาดก 21. อธบิ ายเรื่องราวของชาดกได้อย่างพอสงั เขป 22. อธบิ ายข้อคิดและคุณธรรมท่เี ป็นแบบอย่างในการดาเนนิ ชีวติ ของพระพุทธสาวสกาสวากิ วาิกไาดไ้ด้ 23. วิเคราะห์พุทธประวัติผ่านพระพุทธรูปในอริ ิยาบถต่าง ๆ ได้ 24. นาความรเู้ รอ่ื งการศึกษาจากพระพุทธประวตั ิจากพระพทุ ธรูปปางต่าง ๆ ไปเผยแพร่ใหก้ ับเพ่ือน ในโรงเรียนไดท้ ราบในรปู แบบการจัดทาบอรด์ ใหค้ วามรู้ 3. สาระสาคญั ความคิดรวบยอด พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้าสู่ดินแดนต่าง ๆ ทว่ั โลก ส่งผลให้มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์อารยธรรม และความสงบสุขในดินแดนมีการนับถือพระพุทธศาสนาอย่างกว้างขวาง การศกึ ษาพทุ ธประวตั ิ ประวตั ิสาวก ชาดก เรือ่ งเลา่ ทางศาสนา และศาสนิกชนตัวอยา่ งย่อมทาให้ได้ ข้อคิดและแบบอย่าง การดาเนินชวี ติ ไปเป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิตนอยา่ งเหมาะสม 4. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ 1. การเผยแผพ่พร่พระรพะทุพธทุ ศธาศสานสานเขาเ้าขส้าู่ปสร่ปู ะรเทะเศทตศ่าตงๆา่ งทๆว่ั ทโล่วั กโลแกลแะลกะารกนารบั นถบัอื ถพือรพะพระทุ พธศุทาธสศนาาสนา ของประเทศเหล่าน้นั ในปัจจุบัน 2. ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่ชว่ ยสรา้ งสรรค์อารยธรรมและความสงบสขุ ให้แก่โลก 3. ศกึ ษาพทุ ธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่างๆ 4. สรปุ และวเิ คราะห์พทุ ธประวตั ิ 5. พทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา 6. ชาดก 7. ศาสนกิ ชนตัวอย่าง ทกั ษะกระบวนการ สบื คน้ การเผยแผพพ่ รรพ่ ะรพะทุพธุทศธาศสานสานใานใสนมสัยมโยับโรบณรแาลณะแสลมะัยสวมเิ คยั รวาิเคะหราป์ ะัจหจป์ ัยัจทจ่ีสยั ง่ ทผีส่ลตง่ ผอ่ ลกตาอ่รการ เผยแพรพ่ ระพุทธ พุทธประวตั ิ พระสาวกศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง และชาดก เจตคติ ค1ุณ. ธคครรววมาามมจสสรำ�าิยคคธัญญั รขขรอมองงกกาารรเเผผยยแแผพ่พรร่พะรพะุทพธุทศธาศสานสานเขเขา้ ไ้าปไปในในดดนิ นิแแดดนนตา่ตง่าๆง ขๆอขงอโลงกโลก 2. เหน็ คณุ ค่าของพุทธประวตั ิ พระสาวกศาสนกิ ชนตวั อย่าง และชาดก 5. สมรรถณะสาคัญของผูเ้ รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ

๑๒ 123 6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผ้เู รยี น 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน 7.การประเมนิ ผลรวบยอด รายงานเรื่อง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสูภ่ ูมภิ าคต่าง ๆ ของโลกและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา เกณฑก์ ารประเมนิ ผลภาระงาน รายการประเมนิ คาอธบิ ายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน 1. การอธบิ าย การเผยแผ่ ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) และการนบั ถือ พระพทุ ธศาสนา อธิบายการเผยแผแ่ ละ อธิบายการเผยแผแ่ ละ อธบิ ายการเผยแผแ่ ละ อธบิ ายการเผยแผแ่ ละ ในทวปี ต่างๆ การนับถือพระพุทธ- การนับถือพระพุทธ- การนับถือพระพุทธ- การนบั ถือพระพุทธ- 2. การวิเคราะห์ ศาสนาในทวีปตา่ ง ๆ ศาสนาในทวปี ตา่ งๆ ศาสนาในทวปี ต่างๆ ศาสนาในทวีปตา่ งๆ ความสาคัญของ ได้ถูกตอ้ ง ครอบคลมุ ได้ถูกตอ้ ง 4-6 ไดถ้ ูกตอ้ ง 2-3 ไดถ้ ูกต้อง 1 ประเทศ พระพุทธศาสนา สาระสาคญั ของแตล่ ะ ประเทศ ประเทศ ทวปี อภปิ รายความสาคัญ วเิ คราะห์ความสาคัญ วเิ คราะหค์ วามสาคญั วิเคราะหค์ วามสาคัญ ของพระพทุ ธศาสนา ของพระพทุ ธศาสนา ของพระพทุ ธศาสนา ของพระพุทธศาสนา ท่ชี ว่ ยสร้างสรรค์ ทช่ี ่วยสร้างสรรค์ ท่ีชว่ ยสร้างสรรค์ ท่ชี ว่ ยสรา้ งสรรค์ อารยธรรมและความ อารยธรรมและความ อารยธรรมและความ อารยธรรมและความ สงบสุขแก่ทวีปตา่ ง ๆ สงบสุขแก่โลกได้ สงบสขุ แก่โลกได้ สงบสขุ แก่โลกได้ ไดถ้ ูกต้อง ชัดเจน ถกู ต้องพร้อม ถกู ต้อง แต่ไม่สมบูรณ์ ถูกต้อง แต่ไม่สมบูรณ์ พรอ้ มยกตวั อย่าง ยกตัวอยา่ งประกอบ และยกตัวอยา่ ง และยกตวั อย่าง ประกอบ 3-4 ตัวอยา่ ง ประกอบได้เปน็ ประกอบได้เปน็ สว่ นใหญ่ บางส่วน เกณฑ์การตดั สิน ดมี าก คะแนน 7 - 8 ดี คะแนน 5 - 6 พอใช้ คะแนน 3 - 4 ปรบั ปรุง คะแนน 1 - 2 เกณฑ์การผ่าน ต้งั แต่ระดับ ดีข้ึนไป

๑๓ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง ประวตั ิและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา เวลา 1 ชั่วโมง กลุม่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ฯ รายวิชาสังคมศกึ ษา ฯ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ตวั ชีว้ ัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ ส 1.1 ม.3/1 อธิบายการเผยแผ่ ข้นั นา 1. หนังสือเรยี นรายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนา 1. ครใู หน้ ักเรียนดูรูปภาพแผนทีแ่ สดงการนับถอื ศาสนาของโลก และวัฒนธรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถอื สปู่ ระเทศ ตา่ งๆ ทัว่ โลก 2. ห้องสมดุ 3. อนิ เทอร์เนต็ สาระสาคญั การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในทวีปเอเชยี เกิด สอ่ื จากความศรัทธาและสันติสขุ จากการปฏิบัตติ าม 1. รูปภาพแผนที่แสดงการนับถอื ศาสนาของ หลกั คาสอน สง่ ผลใหพ้ ระพุทธศาสนาไดร้ บั ความ ท่ีมา : https://bit.ly/22TTKK66TTFFXX ขโลอกงโลก นยิ มในหลายประเทศ 2. ปา้ ยแผนทแ่ี ละรายละเอียดของการ ขอบเขตเน้อื หา จากนนั้ ครใู หน้ ักเรยี นรว่ มกันตอบคาถามจากภาพ ดังนี้ เผยแผ่พระพุทธศาสนาในแต่ละประเทศ 3. กจิ กรรม “เส้นทางพุทธธรรม” การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย ได้แก่ 1) ศาสนาใดมีผู้นบั ถือมากทีส่ ดุ และน้อยที่สุด” (ศาสนาทม่ี ี ภาระงาน/ชนิ้ งาน ประเทศอินเดีย ศรีลังกา เนปาล ภูฏาณ เขต ผูน้ บั ถือมากที่สุดในโลก คือ ศาสนาครสิ ต์ และศาสนาท่มี ีผู้นบั ถอื 1. ใบงาน เรอื่ ง การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาสู่ ปกครองพเิ ศษทิเบต จีน เกาหลี และญ่ปี ่นุ น้อยทสี่ ุดในโลก คือ การนบั ถือผีหรือความเช่ือพน้ื ถิ่น) ประเทศตา่ ง ๆ ในทวีปเอเชีย จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ดา้ นความรู้ 2) ในประเทศไทยมีการนบั ถอื ศาสนาใดมากทสี่ ุด” 1. นกั เรยี นสามารถระบุเส้นทางการเผยแผ่ (ศาสนาพุทธ) 2. จากคาตอบของนักเรียนครูกลา่ วเช่อื มโยงส่บู ทเรียนเรือ่ งการเผย พระพทุ ธศาสนาของประเทศต่าง ๆ ไดถ้ ูกต้อง แผพ่ ระพุทธศาสนาสปู่ ระเทศตา่ ง ๆ ในทวีปเอเชยี 134

๑๔ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่อื ง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวปี เอเชยี หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เร่อื ง ประวตั ิและความสาคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 1 ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษา ฯ รายวิชาสังคมศึกษา ฯ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ด้านทกั ษะและกระบวนการ ข้ันสอน 2. นักเรยี นสามารถวิเคราะห์ปจั จยั ทส่ี ่งผลตอ่ 3. ครนู าป้ายแผนที่เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในแต่ละ ความสาเรจ็ ในการนาพระพทุ ธศาสนาไปเผยแผย่ งั ประเทศพร้อมรายละเอียดการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศ ประเทศน้นั ๆ ต่าง ๆ พอสังเขป ติดไว้บริเวณมุมห้อง รวม 8 จุด ไดแ้ ก่ ดา้ นคุณลักษณะ 3. นกั เรยี นสามารถนาเสนอวิธกี ารสง่ เสริมการ - จดุ ท่ี 1 การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศอินเดีย นับถอื พระพุทธศาสนาของตนเองได้อย่างเหมาะสม - จดุ ท่ี 2 การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลังกา - จดุ ท่ี 3 การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศเนปาล - จุดท่ี 4 การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศภูฏาน - จดุ ที่ 5 การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตการปกครองทเิ บต - จุดท่ี 6 การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศจีน - จุดท่ี 7 การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศเกาหลี - จดุ ที่ 8 การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศญี่ปุ่น 4. ครแู จกใบงาน เรอ่ื ง การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาสู่ประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชยี ใหน้ กั เรียนทากิจกรรม “เสน้ ทางพทุ ธธรรม” 5. ครูชี้แจงกติกาการทากิจกรรม “เส้นทางพุทธธรรม” ให้นักเรียน ทราบ ดงั ตอ่ ไปน้ี 5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนเลือกจุดของแผนทเี่ ส้นทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาที่ตนสนใจ พร้อมศึกษารายละเอียด และตอบ คาถามลงในใบกจิ กรรม 154

๑๕ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในทวปี เอเชยี หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่อื ง ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 1 ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา ฯ รายวชิ าสังคมศึกษา ฯ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 5.2 เม่ือศึกษารายละเอียดข้อมูลจุดแรกเสร็จแล้ว ให้นักเรียน เวียนตามเข็มนาฬิกาไปศกึ ษารายละเอียดยังจุดถัดไป จนครบท้ัง 8 จทุดง้ั ๘โดจยดุกาโหดนยกด�ำเวหลนาดในเวกลาารใศนกึ ษาราศขึก้อษมาูลขจอ้ ุดมลูละจ3ุดลนะา๓ที นาที 6. เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรม “เส้นทางพุทธธรรม” ครูสุ่มนักเรียนบอก การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของประเทศที่ตนช่ืนชอบพร้อมเหตุผล สนับสนนุ ขั้นสรุป 7. ครใู ห้นักเรียนนาเสนอแนวทางการส่งเสรมิ การนับถือ พระพทุ ธศาสนาที่เหมาะสมของตนเองอย่างสมเหตสุ มผล จากนัน้ ครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ใหส้ มบรู ณ์เพ่ือความเขา้ ใจที่ถูกต้องของนักเรียน 8. ครใู หน้ ักเรียนอภิปรายปจั จัยทสี่ ง่ ผลทาให้การเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในทวปี เอเชียประสบผลสาเร็จ (การเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาในทวีปเอเชยี เกิดจากความศรทั ธาและสันติสุขจาก การปฏิบัตติ ามหลกั คาสอน ส่งผลใหพ้ ระพุทธศาสนาไดร้ บั ความ นิยมในหลายประเทศ) 156

176 16 7. การวดั และประเมนิ ผล วธิ กี าร เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ เกณฑ์ ส่ิงท่ีต้องการวดั /ประเมนิ ตรวจใบงาน ใใบบงงาานนเรเอ่ืร่อืงงกากราเรผเยผแยผ่ ระดับดขี ้ึนไป ทาใบงาน ดา้ นความรู้ สงั เกตพฤตกิ รรม แผพพ่ รระะพพทุ ุทธศธศาสานสานสาู่สู่ ถูกต้องร้อยละ 80 1. เขียนข้อสรุปจาก ปปรระเทศตา่ ง ๆ ใน การศึกษาเสน้ ทางการเผยแผ่ สงั เกตพฤติกรรม พระพุทธศาสนาของประเทศ ทวปี เอเชยี ในทวีปเอเชยี ได้ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ แบบสังเกต ระดบั ดีขึ้นไป 1. นาเสนอผลการศึกษาท่ี พฤติกรรม ตนเองเลือกเก่ยี วกบั เสน้ ทาง การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาใน แบบสังเกต ระดบั ดีข้นึ ไป ทวีปเอเชีย พฤติกรรม 2. ใชก้ ระบวนการสบื เสาะ ข้อมูลจากมุมความรู้เกี่ยวกบั การเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน ทวปี เอเชยี ด้านคุณลกั ษณะ 1. สามารถนาเสนอวิธีการ ส่งเสรมิ การนบั ถือ พระพทุ ธศาสนาของตนเองได้ สมเหตสุ มผล

187 17 8. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชื่อ ..................................................... ผ้สู อน (.......................................................) วันท.ี่ .........เดอื น......................พ.ศ............. 9. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหารหรอื ผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ........................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื .................................................. ผตู้ รวจ (......................................................) วนั ที.่ .........เดือน......................พ.ศ.............

18 189 ใบงานที่ 1 เรอ่ื ง การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาสู่ประเทศตา่ ง ๆ ในทวีปเอเชีย จุดประสงค์ นักเรยี นสามารถระบเุ ส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของประเทศต่าง ๆ ไดถ้ ูกต้อง คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนศึกษาความรูเ้ กย่ี วกบั การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาของแตล่ ะประเทศในทวปี เอเชียจาก กจิ กรรม “เส้นทางพุทธธรรม” จากน้ันตอบคาถามต่อไปนี้ 1. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในอดีตน้นั มีวธิ ีการอยา่ งไร ............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................ 2. จงอธบิ ายแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในปจั จุบัน ...................................................................................................................................... ........................................ ........................................................................................... ................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................ 3. สรุปวิธีการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย ประเทศ ผู้มสี ่วนสาคญั ในการเผยแผ่ สถานการณ์ของศาสนาพทุ ธในปัจจบุ นั อนิ เดีย ศรีลงั กา เนปาล ภฏู าน เขตการปกครองทเิ บต จีน เกาหลี ญป่ี ุ่น 4. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาประเทศทีต่ นชน่ื ชอบมา 1 ประเทศ พรอ้ มเหตุผลสนับสนุน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ช่ือ................................................นามสกุล..............................................เลขท่ี...................ช้ัน...........................

๑๙ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปตา่ ง ๆ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรอื่ ง ประวตั ิและความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา เวลา 1 ชวั่ โมง กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ฯ รายวิชาสังคมศกึ ษา ฯ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ตวั ช้ีวัด กิจกรรมการเรยี นรู้ แหล่งเรยี นรู้ ส 1.1 ม.3/1 อธิบายการเผยแผ่พระพุทธ ขนั้ นา 1. หนังสือเรียนรายวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนา 1. ครูเชิญชวนให้นกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายประเด็นเก่ยี วกับ และวัฒนธรรม ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนบั ถือสูป่ ระเทศต่าง ๆ ประเทศในแถบเอเชียท่ีมคี วามเจรญิ รุ่งเรอื งด้านพระพุทธศาสนา 2. ห้องสมุด ทว่ั โลก 2. ครกู ลา่ วเชอ่ื มโยงสู่บทเรียนว“า่ น“อนกจอากกจทากวปีทเวอีปเชเอยี เแชลียว้ แล้ว 3. อินเทอร์เน็ต สาระสาคญั พระพทุ ธศาสนายังมีการเผยแผไ่ ปยงั ทวีปอ่ืน ๆ ท้ังทวีปยโุ รป สอ่ื อเมริกาเหนอื อเมรกิ าใต้ ออสเตรเลยี และแอฟริกา ดงั นน้ั ในวันน้ี 1. ภาพ วัดอมราวดี ในประเทศอังกฤษ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวปี ต่าง ๆ เราจะมาเรยี นเรื่อง การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในทวีปต่าง ๆ” 2. ภาพ พระสงฆ์ในประเทศเบลเยยี ม ท่ัวโลกแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความศรทั ธาในหลักคาสอนท่ี ข้ันสอน ภาระงาน/ชิ้นงาน ถทูกถี่ นูกานไำ�ปไปปฏฏิบบิัติตั แิ ลและมะมสี สีว่ นว่ นชชว่ ว่ยยสสรรา้ า้งสงสันนั ตติสสิ ขุ ขุ ใหให้กก้ ับับ 3. ครูให้นักเรยี นดภู าพแลว้ อภิปรายประเด็นเก่ียวกบั การที่ 1. แผนทคี่ วามคดิ หัวข้อเร่อื ง การเผยแผ่ สังคม พระพุทธศาสนาแผ่ขยายไปยังทวีปตา่ ง ๆ ทั่วโลก พระพุทธศาสนาในภมู ิภาคต่าง ๆ ท่ัวโลก ขอบเขตเนอื้ หา ภาพท่ี 1 วดั อมราวดี ณ ประเทศอังกฤษ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในทวปี ยุโรป อเมริกา ที่มา : https://bit.ly/2SUEZag เอหเมนรอื ิกอาเหมนริกือาอใตเม้ อรอิกสาใเต้รอเลอียสเแตลรเะลแียอแฟลระิกแาอฟรกิ า จุดประสงค์การเรียนรู้ ดา้ นความรู้ 1. นักเรียนสามารถอธบิ ายวิธกี ารเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในแตล่ ะทวปี ไดถ้ ูกต้อง 2. นักเรยี นสามารถอธบิ ายพัฒนาการของ พระพทุ ธศาสนาในทวีปต่าง ๆ ได้ถกู ต้อง 190

๒๐ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในทวปี ต่าง ๆ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่ือง ประวัติและความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา เวลา 1 ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ฯ รายวิชาสังคมศึกษา ฯ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ดา้ นทักษะและกระบวนการ 1. นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมให้การ เใผหย้กแาผรพ่ เรผะยพแทุผ่พธศราะสพนทุ าธใศนาทสวนีปาตในา่ งทวๆปี ปตรา่ ะงสๆบประสบ ความสาเรจ็ ไดถ้ ูกต้อง ด้านคุณลกั ษณะ 1. นักเรียนบอกคุณคา่ ของการเผยแผ่ ภาพที่ 2 พระสงฆ์ในประเทศเบลเยยี ม พระพทุ ธศาสนาไปยงั ทวีปตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ทีม่ า : https://1th.me/11LLeeOO 4. อธบิ ายความรู้เรื่อง การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในทวปี ต่าง ๆ ในประเด็นท่ีเกย่ี วข้องกับบุคคลสาคญั วิธกี าร และผลของการ ดาเนนิ การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในแต่ละทวปี 5. ครแู บง่ กลุม่ นกั เรียนให้ร่วมกนั สรา้ งแผนทค่ี วามคิดหวั ข้อเรอื่ ง “การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในภูมภิ าคต่าง ๆ ท่วั โลก” พร้อมสุ่ม นักเรียนออกมานาเสนอหนา้ ช้ันเรยี น ข้นั สรุป 6. ครูให้นักเรยี นร่วมกันบอกคุณค่าของการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาไปยังทวปี ตา่ ง ๆ ทวั่ โลก จากนั้นครูสรปุ ความรู้ ดงั นี้ “การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในทวปี ต่าง ๆ ทั่วโลกแสดงให้ เหน็ ถงึ ความศรทั ธาในหลักคาสอนทถี่ ูกนาไปปฏิบัติ และมสี ่วน ชว่ ยสร้างสันตสิ ขุ ใหก้ ับสงั คม” 2110

7. การวดั และประเมนิ ผล วธิ กี าร เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ 21 2121 สิ่งท่ีต้องการวดั /ประเมนิ การเขียน แบบประเมินชิ้นงาน เกณฑ์ แผนทค่ี วามคดิ เรือ่ ง ระดบั ดีขน้ึ ไป ด้านความรู้ การเผยแผ่ 1. อธิบายวธิ ีการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาใน ระดับดขี ึน้ ไป พระพุทธศาสนาในแตล่ ะทวีป ภมู ภิ าคต่าง ๆ ท่ัวโลก ระดบั ดขี นึ้ ไป ได้ถูกตอ้ ง 2. อธิบายพฒั นาการของ พระพุทธศาสนาในทวีปตา่ ง ๆ ได้ถูกตอ้ ง ดา้ นทักษะ/กระบวนการ การตอบคาถาม แบบสังเกต 1. วเิ คราะห์ปัจจยั ท่ีสง่ เสรมิ สงั เกตพฤตกิ รรม พฤติกรรม ใหก้ ารเผยแผ่พระพุทธศาสนา สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกต ในทวปี ตา่ ง ๆ ประสบ พฤติกรรม ความสาเรจ็ ได้ถูกต้อง ด้านคุณลกั ษณะ 1. บอกคณุ ค่าของการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาไปยงั ทวปี ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

2123 22 8. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชือ่ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันที.่ .........เดือน..........พ.ศ............. 9. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผ้บู ริหารหรอื ผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ..................................................................................................... ...................................................................... ลงชื่อ ......................................ผตู้ รวจ (.......................................................) วนั ที.่ .........เดอื น...................พ.ศ.............

23 2134 ใบงานท่ี 2 เรอ่ื งการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในทวปี ตา่ ง ๆ จุดประสงค์ สรา้ งแผนทค่ี วามคดิ เร่อื ง การเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในภูมภิ าคตา่ ง ๆ ท่วั โลกได้ถกู ตอ้ ง คำช้แี จง ให้นกั เรียนเขียนแผนทคี่ วามคิด เรื่อง การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในภมู ิภาคตา่ ง ๆ ทว่ั โลก ชือ่ -สกุล.....................................................................................เลขที.่ ..............................ชั้น............................

๒๔ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 3 เร่อื ง พระพุทธศาสนากบั การเสรมิ สร้างอารยธรรมและความสงบสุขให้แก่โลก หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 1 ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ฯ รายวชิ าสังคมศกึ ษา ฯ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ตัวชีว้ ัด กิจกรรมการเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ ส 1.1 ม.3/2 วิเคราะห์ความสาคัญของ ขน้ั นา 1. หนงั สอื เรียนรายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนา 1. ครูให้นกั เรยี นดภู าพและอภิปรายประเดน็ เกย่ี วกับความสาคญั และวฒั นธรรม ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือในฐานะท่ี ของสถานทีใ่ นภาพทมี่ ีส่วนในการสรา้ งสรรค์อารยธรรม 2. หอ้ งสมุด ชว่ ยสร้างสรรค์อารยธรรม และความสงบสขุ แกโ่ ลก สาระสาคญั 3. อินเทอรเ์ นต็ พระพุทธศาสนาเปน็ รากฐานทางสงั คม ศิลปวัฒนธรรม และระเบยี บแบบแผนของ ภาพวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม สอ่ื อารยธรรมท่งี ดงาม ซึ่งมีส่วนช่วยให้ประเทศมั่นคง ที่มา : https://bit.ly/22HHddJJPP00WW 1. ภาพวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม และสงบสุข 2. จากคาตอบของนักเรียน ครูกลา่ วเชื่อมโยงสบู่ ทเรยี น ดังน้ี “วดั 2. Power point เร่อื ง “อารยธรรมจาก ขอบเขตเนอ้ื หา เปน็ ศาสนสถานสาคญั ทส่ี ะท้อนให้เหน็ ถงึ ความเก่ียวพันกบั วถิ ีชีวิต พระพทุ ธศาสนา” ของคนในสงั คม วันนเี้ ราจะมาเรียนเรื่อง พระพุทธศาสนากับการ 3. ภาพเหตุการณ์ชมุ นมุ ประทว้ งทางการเมอื ง อิทธิพลของพระพุทธศาสนาในดา้ นต่าง ๆ ไดแ้ ก่ เสริมสรา้ งอารยธรรมและความสงบสขุ ใหแ้ ก่โลก” ในประเทศไทย - ดา้ นการปกครอง ขั้นสอน 4. วีดทิ ัศน์ เร่ือง “ทรูมฟู เอช การให้ คือการ - ดา้ นการศกึ ษา 3. ครใู ช้ Power point เรือ่ ง “อารยธรรมจากพระพุทธศาสนา” สอ่ื สารที่ดที ี่สุด” - ด้านศลิ ปะ อธิบายความรูเ้ กี่ยวกบั พระพุทธศาสนากับการเสริมสร้าง ภาระงาน/ชน้ิ งาน - ดา้ นวัฒนธรรมและประเพณีด้านวิถชี วี ติ อารยธรรมและความสงบสุขใหแ้ กโ่ ลกในด้านต่าง ๆ ดงั น้ี 1. การวิเคราะหอ์ ิทธิพลพระพทุ ธศาสนาท่ีมี - การสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมและความสงบสุขแก่โลก ตอ่ การดาเนินชีวิตของคนในสังคม จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ดา้ นความรู้ 1. นกั เรียนสามารถยกตวั อย่างผลของ พระพทุ ธศาสนาท่ีมีอิทธิพลต่อสงั คมได้ถูกต้อง 2154

๒๕ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3 เรื่อง พระพทุ ธศาสนากบั การเสรมิ สรา้ งอารยธรรมและความสงบสุขให้แก่โลก หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ ง ประวัติและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา เวลา 1 ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ฯ รายวิชาสังคมศกึ ษา ฯ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 2. นักเรียนสามารถวเิ คราะห์ความสาคัญของ - ด้านการปกครอง พระพุทธศาสนาในฐานะท่ชี ว่ ยสรา้ งความสงบสขุ - ดา้ นการศกึ ษา ใหแ้ กช่ าวโลกได้ - ด้านศิลปะ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ - ดา้ นวฒั นธรรมและประเพณี และวิถีชวี ิต 1. นักเรียนสามารถเสนอแนวทางการดาเนินชีวิต 4. ครูให้นกั เรียนดูรูปภาพเหตุการณ์ชุมนมุ ประทว้ งทางการเมอื ง เพอ่ื สงั คมท่ีสงบสขุ ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ ในประเทศไทย แล้วอภิปรายประเดน็ การนาหลักธรรมทาง ด้านคุณลักษณะ พระพุทธศาสนามาใชใ้ นการแก้ไขปัญหาทางการเมือง 1. นักเรียนสามารถบอกแนวทางการอนุรักษ์มรดก มทราดงพกทระาพงพทุ รธะศพาุทสนธศาาทส่มี นคี าุณทคม่ี ่าคี ไุณด้เคหา่ มไดาะ้เหสมมาะสม ภาพเหตกุ ารณ์ชุมนมุ ประทว้ งทางการเมอื งในประเทศไทย ท่ีมา : https://11tthh..mmee//j4j4QQee 5. ครใู ห้นกั เรยี นดูวดี ิทศั น์เก่ยี วกบั คณุ ธรรมความเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ ของคนในสังคม เร่ือง “ทรูมูฟเอช การให้ คือ การสื่อสารท่ีดี ทสี่ ดุ ” (3 นาท)ี พร้อมใช้คาถามกระตุน้ ความคดิ นักเรยี น ดังนี้ 2156

๒๖ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 เร่ือง พระพุทธศาสนากับการเสริมสร้างอารยธรรมและความสงบสขุ ให้แกโ่ ลก หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง ประวตั ิและความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา เวลา 1 ชวั่ โมง กล่มุ สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ฯ รายวิชาสังคมศึกษา ฯ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 วีดทิ ศั น์ “ทรมู ฟู เอช การให้ คือ การส่ือสารท่ีดที ี่สุด” ที่มา : https://www.yyoouuttuubbee..ccoomm//wwaattcchh??vv==77s2s2H2XH1X81w8DwYDY 1) เรือ่ งนเี้ ปน็ เร่อื งเก่ียวกบั อะไร (การช่วยเหลอื กันในสังคม) 2) การกระทาดังกลา่ วสง่ ผลตอ่ สังคมอยา่ งไร (ชว่ ยให้สงั คม นา่ อยู่ ผคู้ นมคี ุณธรรม อยรู่ ว่ มกนั ด้วยความเอื้อเฟือ้ เผ่ือแผ่ รู้จัก การเปน็ ผใู้ ห้เม่ือไดร้ ับ) ข้ันสรปุ 6. ครใู ช้คาถามกระตนุ้ ความคดิ นักเรียน ดังน้ี 1) พระพทุ ธศาสนามีอิทธพิ ลกบั การดาเนินชีวิตของคนในสงั คม อย่างไร (พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานทางสังคม ศิลปวัฒนธรรม และระเบียบแบบแผนของอารยธรรมท่ีงดงาม มีส่วนช่วยให้ ประเทศม่นั คงและสงบสขุ ) 1276

7. การวัดและประเมินผล วธิ ีการ เคร่ืองมือท่ีใช้ 27 2187 ส่งิ ท่ีต้องการวัด/ประเมิน การอภปิ ราย รูปภาพ, คาถาม เกณฑ์ ระดบั ดขี ้ึนไป ดา้ นความรู้ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกต 1. ยกตัวอย่างผลของ สังเกตพฤติกรรม พฤติกรรม ระดบั ดขี ึน้ ไป พระพทุ ธศาสนาท่มี ีอิทธิพล แบบสงั เกต ระดับดขี น้ึ ไป ตอ่ สงั คมได้ถูกต้อง พฤติกรรม 2. วเิ คราะห์ความสาคัญของ พระพทุ ธศาสนาในฐานะที่ ช่วยสรา้ งความสงบสขุ ใหแ้ ก่ ชาวโลกได้ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ 1. เสนอแนวทางการดาเนนิ ชวี ิตเพื่อสงั คมทีส่ งบสขุ ได้ อย่างสร้างสรรค์ ด้านคณุ ลักษณะ 1. บอกแนวทางการอนรุ ักษ์ มรดกทางพระพุทธศาสนาท่มี ี คณุ คา่ ได้เหมาะสม

28 2189 8. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ............................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................................................ ............... ลงชื่อ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วนั ท่.ี .........เดือน..........พ.ศ............. 9. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผู้ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย .................................................................................................................................................................... ....... ลงชอื่ ......................................ผู้ตรวจ (.......................................................) วันที่..........เดอื น...................พ.ศ.............

๒๙ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 เรอ่ื ง พทุ ธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่าง ๆ เวลา 1 ชัว่ โมง หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เร่อื ง ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ฯ รายวชิ าสังคมศกึ ษา ฯ ตวั ชว้ี ัด กิจกรรมการเรียนรู้ แหล่งเรยี นรู้ ส 1.1 ม.3/4 วิเคราะห์พุทธประวัติจาก ข้นั นา 1. หนงั สอื เรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ 1. ครูใช้ Power point แสดงภาพพระพุทธรูปจานวน วัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 พระพุทธรูปปางตา่ ง ๆ หรือประวัติศาสดาท่ีตน 1 ภาพ โดยครใู ชโ้ ปรแกรม Power point สร้างแผน่ 2. ห้องสมดุ นับถือตามทีก่ าหนด ปา้ ยจานวน 9 แผน่ ป้าย และใสห่ มายเลข 1-9 ปดิ ทบั 3. อนิ เทอรเ์ นต็ สาระสาคญั รปู ภาพพระพทุ ธรูปไว้ สอ่ื 2. ครูใหน้ กั เรยี นทายวา่ เปน็ ภาพอะไร โดยให้นักเรยี น 1. รูปภาพพระพุทธชินราช ณ วดั พระศรี- พระพุทธรปู ปางตา่ ง ๆ ในพระพุทธศาสนา คือ เลอื กหมายเลข แลว้ ครเู ปิดแผ่นป้ายตามหมายเลขที่ รตั นมหาธาตวุ รมหาวหิ าร จังหวดั พิษณโุ ลก ตัวแทนของพระสัมมาสัมพุทธเจา้ ทส่ี อดแทรกความ นักเรยี นเลอื ก 2. วดี ทิ ัศน์ เรือ่ ง พระประจาวนั เกดิ เชือ่ คาสอน รวมถึงพุทธประวัติที่สามารถศึกษาและ 3. เมือ่ สน้ิ สุดการทายภาพ ครูชีแ้ จงใหน้ ักเรียนทราบ 3. ใบความรู้ เร่ือง พระประจาวนั เกิด นาคาสอนไปปฏบิ ัตเิ พ่ือเกิดความสงบสุขแก่ตนเอง เกี่ยวกับพระพุทธรปู ในรูปภาพน้ีคือ รปู ภาพพระพทุ ธ 4. กระดาษเอสี่ และสงั คม ชินราช ประดิษฐาน ณ วดั พระศรีรตั นมหาธาตุ ภาระงาน/ชิ้นงาน ขอบเขตเนื้อหา วรมหาวหิ าร จังหวดั พิษณุโลก โดยครูเลา่ เกยี่ วกับ - กิจกรรม “สารวจพทุ ธลกั ษณะพระประจาวนั เกดิ ” ประวตั พิ ระพุทธชนิ ราชพอสงั เขป และกล่าวเชอ่ื มโยง โดยวเิ คราะห์ลกั ษณะและอธิบายความเป็นมาของ ลกั ษณะของพระพทุ ธรปู ปางตา่ ง ๆ และพุทธ เข้าสบู่ ทเรยี น เร่ือง พุทธประวัตจิ ากพระพุทธรปู ปาง พระพุทธรูปปางต่าง ๆ ประวตั ิจากพระพทุ ธรูปปางต่าง ๆ ตา่ ง ๆ ตา่ ง ๆ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ดา้ นความรู้ 1. นกั เรยี นสามารถอธิบายพุทธประวัติจาก พระพุทธรปู ปางตา่ ง ๆ ได้ถกู ต้อง ด้านทักษะและกระบวนการ 2. นกั เรียนสามารถเขียนลกั ษณะของพระพุทธรูปปาง ประจาวนั เกิดของตนได้ถูกต้อง 290

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 เรอ่ื ง พทุ ธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ๓๐ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 1 ช่วั โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ฯ รายวชิ าสังคมศกึ ษา ฯ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ด้านคุณลักษณะ 1. นักเรียนเห็นคุณค่าของการศกึ ษาพุทธประวตั จิ าก พระพุทธรูปปางต่าง ๆ และสามารถบอกประโยชน์ ของการศึกษาพระพทุ ธรูปปางต่าง ๆ ได้ พระพทุ ธชนิ ราช ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวหิ าร จังหวดั พิษณุโลก ทมี่ า : https://bit.ly/22FFBBooKKfifi ขั้นสอน 4. ครูอธิบายความรู้ทีม่ าของพระพทุ ธรปู จากตานาน พระแกน่ จนั ทร์ 5. ครใู หน้ ักเรียนทากจิ กรรม “สารวจพทุ ธลักษณะ พระประจาวันเกิด” โดยครูติดแผน่ ใบความรู้ไวท้ ผ่ี นัง ห้องเรยี นจานวน 8 จดุ ไดแ้ ก่ - จดุ ท่ี 1 พระประจาวันอาทติ ย์ - จดุ ท่ี 2 พระประจาวนั จันทร์ - จุดท่ี 3 พระประจาวันอังคาร - จดุ ท่ี 4 พระประจาวันพุธ (กลางวนั ) - จดุ ที่ 5 พระประจาวนั พุธ (กลางคนื ) - จุดท่ี 6 พระประจาวันพฤหัสบดี 2310

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 เรอ่ื ง พทุ ธประวตั จิ ากพระพุทธรปู ปางตา่ ง ๆ ๓๑ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่อื ง ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 1 ช่วั โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ฯ รายวชิ าสังคมศึกษา ฯ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 - จุดท่ี 7 พระประจาวนั ศุกร์ - จดุ ท่ี 8 พระประจาวันเสาร์ 6. ครูแจกแผ่นกระดาษ เอ 4 ใหน้ ักเรียนคนละ 1 ๑แผแ่นผน่แลแะลชะแ้ี ชจี้แงจกงตกิกตากิ ใาหใ้นหัก้นเักรเียรนียทนทรารบาบดดังนงั น้ี ี้ 6.1 ให้นักเรยี นศึกษาขอ้ มูลเก่ียวกับพระประจาวัน เกดิ ให้ครบท้งั 8 จุด (5 นาที) 6.2 ให้นักเรียนวาดภาพ (หรือนารปู ภาพมาตดิ ใน ภายหลงั )และเขียนอธบิ ายลักษณะและความเปน็ มา ของพระพทุ ธรปู ประจาวันเกิดของตนเอง 7. ครสู ุ่มนกั เรยี นออกมานาเสนอหน้าช้นั เรยี น ขั้นสรปุ 8. ครใู หน้ ักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายในประเด็นคุณค่า ของพระพทุ ธรปู ปางตา่ ง ๆ จากน้นั ครแู ละนกั เรยี น รว่ มกันสรุปความรู้ ดังน้ี “พระพุทธรูปปางตา่ ง ๆ ใน ศาสนาพทุ ธเปน็ ตัวแทนของพระสมั มาสมั พุทธเจา้ ที่ สทอส่ี ดอแดทแทรกรคกวคาวมามเชเช่ืออื่ คคาสำ�สออนนรรววมมถถึงงึพพุทุทธธปปรระะววัตัตทิ ิ ี่ สทาส่ี มาามราถรศถึกศษกึ ษาแาลและนะนาคำ�คาสำ�สออนนไปไปปปฏฏิบิบตั ตั เิ พิเพ่ือ่อื เกเกดิ ดิ คคววาามม สงบสุขแก่ตนเองและสงั คม) 2321

32 3223 7. การวัดและประเมนิ ผล ส่ิงท่ีต้องการวดั /ประเมนิ วิธกี าร เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ การอภิปราย แบบประเมิน ระดับดขี นึ้ ไป 1. อธบิ ายพุทธประวตั จิ าก การเขยี นอธบิ าย ระดับดีข้ึนไป พระพทุ ธรูปปางตา่ ง ๆ ได้ ใบงาน ด้านทักษะ/กระบวนการ การอธิบาย ระดับดีข้ึนไป 1. เขียนลักษณะของ แบบประเมิน พระพุทธรูปปางประจาวนั เกดิ ของตนได้ถูกต้อง ด้านคุณลกั ษณะ 1. เหน็ คุณค่าของการศกึ ษา พทุ ธประวัตจิ ากพระพุทธรปู ปางตา่ ง ๆ และสามารถบอก ประโยชน์ของการศึกษา พระพุทธรปู ปางตา่ ง ๆ ได้

33 3234 8. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................ ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................... ...... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................. .............................................................................. ลงชือ่ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันที.่ .........เดือน..........พ.ศ............. 9. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผ้บู ริหารหรอื ผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ..................................................................................................... ...................................................................... ลงชื่อ ......................................ผตู้ รวจ (.......................................................) วนั ที.่ .........เดอื น...................พ.ศ.............

2354 34 ใบความรู้ เรอื่ ง พระประจาวนั เกิด พระประจาวันอาทิตย์ ปางถวายเนตร ลักษณะพระพุทธรูป : พระพุทธรูปที่อยู่ในพระอริยาบถยืน ลืมพระเนตรทั้งสองเพ่งไปข้างหน้า พระ หพตัระถห์ทัต้งสถอ์ทงั้งหส้อยงหลง้อมยาลปงรมะาสปารนะกสันานอกย่รูันะอหยวู่ร่าะงหพวร่าะงเพพรละาเพ(ตลักา)(พตรักะ) หพตั รถะ์ขหวัตาถซ์ข้อวนาเซห้อลนื่อเมหพลรื่อะมหพตั รถะ์ซหา้ ัตยถอ์ซย้ายู่ในพระ อยากู่ในาพรสรงัะวอราทกอาดรสพังรวะรเทนอตดรพดูตระน้ เพนรตะรศดรตู ีมน้ หพารโะพศธริ์ มี หาโพธ์ิ ความเป็นมา : เมื่อครั้งพระบรมศาสดาได้ตรัสรู้พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ก็ได้ประทับเสวย เวสิมวุตยตวิสมุขตต(สิ ุขอ(สันขุเกอิดนั จเกาิดกจคาวกาคมวสางมบส)งอบย) ู่ใอตย้ตู่ใ้นต้ตพน้รพะศระรีมศรหมี าหโพาโธพ์ิเปธเ์ิ็นปรน็ ะรยะะยเะวเลวาลา7๗วันวันจจากากนน้ัน้ันไดได้เสเ้ สดด็จ็จไไปปปปรระะททับับ ยืน ณ ที่กลางแจ้งทางทิศอีสานของต้นพระศรีมหาโพธ์ิ ทอดพระเนตรต้นพระศรีมหาโพธ์ิโดยไม่กระพริบพระ พเนรตะรเนเลตยรตเลยอตดลรอะยดะระเวยละาเว7ลาวัน๗ ซวึ่ังนสซถึ่งาสนถทา่ีปนรทะี่ปทรับะยทืนับนย้ีไืนด้นมีน้ไดา้มีนปารมากปฏราวก่าฏ\"วอ่านิม“ิสอเนจิมดิสียเ์\"จดมียาจ์”นมปาัจจจนุบปันัจจเปุบ็นั เปหน็ตเแุ หหต่งแุ กหาง่ รกสารร้าสงรพา้ งรพะพระุทพธทุ รธูปรปปู าปงานงี้เนรเ้ียรกยี กว่าวา่ ปปาางงถถววาายยเเนนตตรร นิยมสรา้ งเปน็นพพรระะพพทุ ุทธธรรปู ปู เพเพอ่ื ื่อสสกั ักากราะรบะชูบาูชปารปะรจะ�ำ จวนัา ของคนเกิดวนั อาทติ ย์

35 3256 ใบความรู้ เรื่อง พระประจาวนั เกิด พระประจาวันจันทร์ ปางหา้ มญาติ หรอื ห้ามสมุทร ลักษณะพระพุทธรูป : พระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถยืน ยกพระหัตถ์ทั้งสองยกข้ึนเสมอพระอุระ (อก) ตงั้ ฝ่าพระหัตถย์ ื่นออกไปขา้ งหนา้ เป็นกริ ิยาห้าม เป็นปางเดยี วกันกับปางห้ามสมุทร ต่างกันตรงท่ีปางห้าม ญปาางตหิจา้ ะมยญกามตือจิ ขะยวกาขม้ึนอื ขหว้าามขเนึ้พหีย้างมมเือพเียดงียมวอื เสด่วยี นวปสาว่ งนหป้าามงสหม้ามุทสรมจุทะรยจกะมยือกทม้ัอืงสทอง้ั สงขอึ้นงขหึน้ ้าหมา้ มแตแ่สต่วสน่วนใหใหญญ่มม่ ักกั จจะะนนิยิยมม สรา้ งเปน็ ปางหา้ มญาติ และนยิ มทาเป็นแบบพระทรงเครอื่ ง ความเป็นมา : ปางห้ามญาติเกดิ ขนึ้ เน่ืองจากพระญาติฝา่ ยพทุ ธบดิ าคือกรุงกบลิ พัสด์ุ และพระญาติ ฝ่ายพทุ ธมารดา คือ กรุงเทวทหะ ซง่ึ อาศยั อยู่บนคนละฝง่ั ของแมน่ ้าโรหิณี เกิดทะเลาะววิ าทแย่งน้าเพ่ือไป เพอ่ืาะไปปลเพูกากะันปขล้นึ กู กถนัึงขนึ้ าถดึงจขะนยากดทจพัะยทกาทสพังคทราาสมงกคนัราเลมยกทันเี ลดยี ทวีเพดียรวะพพทุ รธะอพงทุ คธ์จองึ งตค้อ์จงึ เตสอ้ ดงจ็ เสไปดเจ็ จไรปจเจารหจ้าามหท้าัพมทคพั ือคือ ห้ามพระญาติมิให้ฆา่ ฟนั กัน สว่ นปางห้ามสมุทรเป็นพุทธประวัติ ตอนเสด็จไปโปรดพวกชฎิล (นักบวชประเภทหนึ่งท่ีน่งุ หม่ หนังเสือ และนิยมบูชาไฟ) 3 พี่น้องได้แก่ อุรุเวลกัสสปะ นทีกัสสปะ และคยากัสสปะ ที่ต้ังตัวเป็นใหญ่อยู่ริมฝ่ังแม่น้า เนรัญชราพร้อมบริวาร 1,000 คน โดยได้แสดงพุทธปาฏิหาริย์หลายอย่างเพื่อทาลายทิฎฐิมานะของชฎิล ทั้งหลาย เช่น ห้ามลม ห้ามฝน ห้ามพายุ และห้ามน้าท่วมท่ีเจิ่งนองตลิ่งมิให้มาต้องพระวรกายได้ อีกท้ังยัง สามารถเดนิ จงกรมอยูใ่ ตพ้ น้ื น้าได้ ทาให้พวกชฎลิ เห็นเปน็ ท่อี ัศจรรย์ และยอมบวชเปน็ พทุ ธสาวก

2376 36 ใบความรู้ เรอ่ื ง พระประจาวนั เกิด พระประจาวันอังคาร ปางไสยาสน์ หรอื ปางปรินพิ พาน ลักษณะพระพุทธรูป : พระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถนอนตะแคงขวา พระบาทท้ังสองข้างซ้อนทับ เสมอกัน พระหัตถ์ซ้ายทาบไปตามพระวรกาย พระหตั ถ์ขวาต้ังข้ึนรับพระเศียรและมีพระเขนย (หมอน) รองรับ บางแบบพระเขนยวางอยใู่ ตพ้ ระกจั ฉะ (รกั แร)้ ความเป็นมา : ปางไสยาสน์ หรือบางทีก็ เรียก ปางปรินิพพาน เป็นพุทธประวัติตอนท่ีพระ พุรทะธพอุทงคธอ์ไดงค้รั์บไดส้รั่งับใสหั่ง้พใหระ้พจรุนะทจุนะทเถะรเะถประูอปาูอสานสะนละงลทง่ี รทะี่รหะหว่าวง่าตงต้น้นรังรคังคู่หู่หนนึ่งึ่งแแลล้ว้วททรรงงปปรระะททับับบบรรรรมมททมมแแบบบบ สีหไสยา ต้ังพระทัยไม่เสด็จลุกขึ้นอีก แต่ก็ยังได้ โปรดสุภัททะปริพาชกเป็นอรหันต์องค์สุดท้ายก่อน เสด็จดับขันธปรินิพพาน บรรดาพุทธบรษิ ทั ทงั้ หลาย พากันเศร้าโศก ร่าไห้ คร่าครวญถึงพระองค์ พระอานนท์และพระอนุรุทธเถระได้แสดงธรรมเพื่อปลอบโยน มหาชน พทุ ธศาสนิกชนเม่ือราลึกถึงการเสดจ็ ปรินิพพานของพระองค์ จึงไดส้ ร้างพระพุทธรูปปางนี้ขึน้ เพ่อื บชู า พระพุทธองค์ นอกจากน้ี ยังมีเร่ืองเล่าถึงปางนี้อีกนัยหนึ่งคือ ในสมัยพุทธกาล เมื่อพระพุทธองค์ประทับอยู่ท่ีพระ เชตวันมหาวิหาร \"อสุรินทราหู\" หรือ \"พระราหู\" ผู้ครองอสูรพิภพ ได้สดับคาสรรเสริญถึงพระเกียรติคุณของ พระบรมศาสดาจากสานักเทพยดาทง้ั หลาย ก็มีความปรารถนาอยากจะไปเฝ้าพระผมู้ ีพระภาคเจ้าบ้าง แตก่ ็คิด คานึงไปเองว่าพระพุทธเจ้าเป็นมนุษย์ คงต้องมีพระวรกายที่เล็ก หากตนจะไปเฝ้าก็จะต้องก้มมองเป็นความ ลาบากมาก อีกทง้ั ตนกไ็ ม่เคยก้มเศียรใหใ้ คร คิดแล้วก็ไม่ไปเฝ้า ต่อมาได้ยินพวกเทวดาสรรเสริญพระพุทธองค์อีก ก็เกิดความอยากไปเฝ้าอีก จึงวันหน่ึงได้ตั้งใจไปเฝ้า พระพุทธเจ้าก็ทรงทราบด้วยญาณ รวมทั้งทราบถึงความในใจของอสุรินทราหู จึงทรงเนรมิตพระวรกายให้ ใหญโ่ ตกวา่ กายของอสุรทิ ราหหู ลายเทา่ ขณะเสด็จบรรทมรอรับ ดังน้นั เมื่อมาเขา้ เฝา้ แทนท่ีอสุรินทราหูจะต้อง ก้มมอง กลับต้องแหงนหน้าดูพระพุทธองค์ จึงเกิดความอัศจรรย์ใจย่ิง พระพุทธเจ้าจึงได้ตรัสสอนว่า ข่าวลือ หรือเร่ืองใด ๆ หากไม่เห็นด้วยตนเอง หรือยังไม่พิจารณาให้ถ่องแท้ ก็ไม่ควรติชมไปก่อน อีกทั้งได้พาอสุรินท ราหูไปเที่ยวพรหมโลก ได้เห็นบรรดาพรหมท่ีมาเฝ้ามีร่างกายใหญ่โตกว่าตนท้ังส้ิน แต่พระพุทธเจ้าก็ยังมีพระ วรกายใหญ่กวา่ พรหมเหลา่ นั้นอีก อสุรินทราหูจึงลดทฐิ ิและหันมาเลอ่ื มใสในพระบรมศาสดา

2387 37 ใบความรู้ เรอ่ื ง พระประจาวนั เกดิ พระประจาวนั พธุ (กลางวัน) ปางอุ้มบาตร ลักษณะพระพุทธรูป : พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ท้ังสองประคองบาตรราวสะเอว ความเป็นมา : เม่ือพระพุทธเจ้าได้สาแดงอิทธิปาฏหิ ารย์ เหาะขนึ้ ไปในอากาศตอ่ หน้าพระประยูรญาติ ท้ังหลาย เพ่ือให้พระญาติผู้ใหญ่ได้เห็น และละทิฐิถวายบังคมแล้ว จึงได้ตรัสเทศนาเร่ืองพระมหาเวสสันดร ชาดก ครั้นแล้วพระญาติท้ังหลายก็แยกย้ายกันกลับโดยไม่มีใครทูลอาราธนาฉันพระกระยาหารเช้าในวันรุ่งข้ึน ด้วยเข้าใจผิดคิดว่าพระองค์เป็นราชโอรสและพระสงฆ์ก็เป็นศิษย์ คงต้องฉนั ภตั ตาหารที่จัดเตรยี มไว้ในพระราช นิเวศน์เอง แต่พระพุทธองค์กลับพาพระภิกษุสงฆ์สาวกเสด็จจาริกไปตามถนนหลวงในเมือง เพ่ือโปรดเวไนย สัตว์ (ผู้ท่ีพึงส่ังสอนได้)อันเป็นกิจของสงฆ์ และนับเป็นคร้ังแรกที่ชาวเมืองกบิลพัสดุ์ได้มีโอกาสชมพระพุทธ จริยาวัตรขณะทรงอุ้มบาตรโปรดสัตว์ ประชาชนจึงต่างแซ่ซ้องอภิวาทอย่างสุดซ้ึง แต่ปรากฏว่าพระเจ้าสุทโธท นะ พุทธบิดาทรงทราบเข้า ก็เข้าใจผิดและโกรธพระพุทธองค์ หาว่าออกไปขอทานชาวบ้าน ไม่ฉันภัตตาหารที่ เตรียมไว้ พระพุทธเจ้าจึงตอ้ งทรงอธิบายว่า การออกบณิ ฑบาตเป็นการไปโปรดสัตว์ มิใช่การขอทาน จึงเป็นท่ี เข้าใจกนั ในทีส่ ดุ

ใบความรู้ เรอ่ื ง พระประจาวันเกิด 3289 38 พระประจาวนั พุธ (กลางคนื ) ปางป่าเลไลย์ ลกั ษณะพระพุทธรูป : พระพุทธรูปอยู่ในพระอริ ิยาบถประทับ (นง่ั ) บนกอ้ นศลิ า พระบาททั้งสองวาง บนดอกบัว พระหัตถ์ซ้ายวางคว่าบนพระขนุ (เข่า) พระหัตถ์ขวาวางหงาย นิยมสร้างช้างหมอบใช้งวงจับ กระบอกน้า อีกดา้ นหนึง่ มีลิงถือรวงผึง้ ถวาย ความเป็นมา : สาหรับปางน้ีกล่าวถึงเมื่อพระพุทธองค์ประทับอยู่ที่เมืองโกสัมพี คร้ันนั้นพระภิกษุมี มีมาการกูปรูปดด้วย้วยกกันันแแลละะไมไม่ส่สามามัคัคคีปีปรรอองงดดอองงไมไม่อ่อยยู่ในู่ในพพุทุทธธโโออววาาททปปรระะพพฤฤตติติตาามมใใจจตตัวัว พพระองค์จึงเสด็จจาริกไปอยู่ ตามลาพังพระองค์เดียวในป่าท่ีชื่อว่าปาลิไลยกะ โดยมีมีพญาช้างเชือกหน่ึงชื่อ \"ปาลิไลยกะ\" เช่นเดียวกัน มี มควีคาวมามเลเล่ือ่ือมมใสใสในในพพรระะพพุทุทธธอองงคค์ ม์ มาาคคออยยปปฏฏิบิบัตัติบิบาารรุงุงแแลละะคคออยยพพิทิทักั ษ์รักษามิให้สัตว์ร้ายมากล้ากราย ททาาใใหห้พ้พรระะ พุทธองค์เสด็จประทับอยู่ในป่านั้นด้วยความสงบสุข และป่าน้ันต่อมาก็ได้ช่ือว่า \"รักขิตวัน\" ครั้นพญาลิงเห็น พญาช้างทางานปรนนิบัติพระพุทธเจ้าด้วยความเคารพ ก็เกิดกุศลจิตทาตามอย่างบ้าง ต่อมาชาวบ้านไปเฝ้า พระพุทธเจ้าแต่ไม่พบ และทราบเหตุ ก็พากันตาหนิติเตียน และไม่ทาบุญกับพระเหล่าน้ัน พระภิกษุเหล่านี้จึง ได้สานึก ขอให้พระอานนท์ไปทูลเชิญเสด็จพระพุทธองค์กลับมา ช้างปาลิไลยกะก็มาส่งเสด็จด้วยความเศร้า เสยี ใจ จนหวั ใจวายล้มตายไป ด้วยกศุ ลผลบญุ จึงไดไ้ ปเกดิ เป็น \"ปาลิไลยกะเทพบุตร\"

390 39 ใบความรู้ เร่อื ง พระประจาวันเกดิ พระประจาวนั พฤหสั บดี ปางสมาธิ หรือปางตรสั รู้ ลักษณะพระพุทธรูป : พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถประทับ (น่ัง) ขัดสมาธิ พระหัตถ์ท้ังสองวาง หงายซอ้ นกันบนพระเพลา (ตัก) พระหตั ถ์ขวาทับพระหัตถซ์ า้ ย พระชงฆ์ (แขง้ ) ขวาทบั พระชงฆ์ซา้ ย ความเปน็ มา : ปางตรัสรู้ คือ ปางที่เจ้าชายสิทธัตถะหรือพระโพธิสัตว์ทรงประทับขัดสมาธิบนบัลลังก์ หญ้าคาใต้ต้นมหาโพธ์ิ ใกล้ฝั่งแม่น้าเนรัญชรา และได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เม่อื วันเพญ็ ข้ึน 15 ค่าเดอื น 6 ก่อนพุทธศักราช 45 ปี ซ่ึงก็ตรงกับวนั วิสาขบชู า

3410 40 ใบความรู้ เรอ่ื ง พระประจาวนั เกดิ พระประจาวันศกุ ร์ ปางราพึง ลกั ษณะพระพุทธรูป : พระพุทธรูปอยใู่ นพระอริ ิยาบถยนื พระหตั ถท์ ้ังสองประสานกันยกขึ้นประทับที่ พระอรุ ะ (อก) พระหัตถ์ขวาทบั พระหตั ถซ์ า้ ย ความเป็นมา : ภายหลังจากท่ีตรัสรู้ได้ไม่นาน พระพุทธเจ้าซ่ึงประทับอยู่ภายใต้ต้นไทร (อชปาลนิโครธ) ก็ได้ทรงราพึงพิจารณาถึงธรรมที่ตรัสรู้ว่าเป็นธรรมที่มีความละเอียดลึกซึ้ง ยากที่มนุษย์ปุถุชน จะรู้ตามได้ จึงเกิดความท้อพระทัยท่ีจะไมส่ ่งั สอนชาวโลก ด้วยราพงึ ว่าจะมใี ครสักก่ีคนท่ีฟงั ธรรมะของพระองค์ เข้าใจ ร้อนถึงท้าวสหัมบดีพรหมได้มากราบทูลอาราธนาเพ่ือทรงแสดงธรรมว่าในโลกนี้บุคคลที่มีกิเลสเบาบาง พอฟังธรรมได้ยังมีอยู่ พระพุทธองค์ได้ทรงพิจารณาแล้วก็เห็นชอบด้วย อีกทั้งทรงราพึงถึงธรรมเนียมของ พระพุทธเจ้าทั้งหลายแต่ปางก่อน ว่าตรัสรู้แล้วก็ย่อมแสดงธรรมโปรดสัตว์โลกเพ่ือประโยชน์สุขแก่ชนทั้งปวง จึงได้น้อมพระทัยในอันท่ีจะแสดงธรรมต่อชาวโลกตามคาอาราธนาน้ัน และต้ังพุทธปณิธานจะใคร่ดารงพระ ชนม์อยู่จนกว่าจะได้ประกาศพระพุทธศาสนา ให้แพร่หลายประดษิ ฐานให้ม่ันคงสาเร็จประโยชนแ์ ก่ชนนิกรทุก หมู่เหล่าต่อไป พระพุทธจริยาท่ีทรงราพึงถึงธรรมที่จะแสดงโปรดชนนิกรผู้เป็นเวไนยบุคคลนั้นแล เป็นเหตุให้ สร้างพระพทุ ธรูปที่เรยี กว่า ปางราพงึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook