Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือหลักสูตร คณะมนุษย์ศาสตรและสังคมศาสตร์ ปี 2561

คู่มือหลักสูตร คณะมนุษย์ศาสตรและสังคมศาสตร์ ปี 2561

Published by Regis, 2019-08-04 21:44:00

Description: คู่มือหลักสูตร คณะมนุษย์ศาสตรและสังคมศาสตร์ ปี 2561

Search

Read the Text Version

ท ย า ลั ย ส ว ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิว น ดุ ส น ดุ ส ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิวท ย า ลั ย ส วน ดุ สิ ต น ดุ สิ ต

2

ส า ร บั ญ 5 ประวตั ิความเป็นมาของคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 9 รายนามผบู้ ริหารและอาจารย์ หลักสตู รของคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ 13 สาขาวชิ าบรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ระดบั ปริญญาตรี 17 แผนการเรยี นตลอดหลกั สตู ร สาขาวชิ าบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ 19 คำ�อธบิ ายรายวิชา สาขาวชิ าบรรณารักษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ 29 สาขาวชิ าภาษาและการสื่อสาร ระดบั ปรญิ ญาตรี 34 แผนการเรยี นตลอดหลกั สูตร สาขาวชิ าภาษาและการส่ือสาร 36 คำ�อธิบายรายวิชา สาขาวชิ าภาษาและการส่อื สาร 49 สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ระดับปรญิ ญาตรี 57 แผนการเรียนตลอดหลกั สตู ร สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 59 ค�ำ อธบิ ายรายวิชา สาขาวิชาภาษาองั กฤษ 79 สาขาวิชาภาษาอังกฤษธรุ กิจ ระดับปริญญาตรี 83 แผนการเรยี นตลอดหลักสูตร สาขาวิชาภาษาอังกฤษธรุ กิจ 85 คำ�อธบิ ายรายวชิ า สาขาวชิ าภาษาองั กฤษธรุ กิจ 95 สาขาวชิ าจิตวทิ ยาอุตสาหกรรมและองคก์ าร ระดบั ปรญิ ญาตรี 100 แผนการเรียนตลอดหลกั สตู ร สาขาวิชาจิตวทิ ยาอุตสาหกรรมและองคก์ าร 102 ค�ำ อธบิ ายรายวิชา สาขาวิชาจติ วทิ ยาอุตสาหกรรมและองค์การ ภาคผนวก 116 หมวดวชิ าศกึ ษาศาสตรท์ ัว่ ไป 3

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ Suan Dusit

ประวตั คิ วามเป็นมาคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ประวัตคิ วามเป็นมา คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ กอ่ ตงั้ ขน้ึ ตามพระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครู พ.ศ. 2518 เดมิ เรยี กวา่ “คณะวชิ ามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์” มีภาควชิ าในสังกดั 11 ภาควชิ า ในปี พ.ศ. 2523 ไดเ้ รมิ่ เปดิ สอนหลกั สตู รระดับปริญญาตรี 4 ปี ภาคปกติ มวี ชิ าเอก 4 วชิ า คอื วิชาเอกภาษาไทย ภาษาองั กฤษ สังคมศึกษา และศิลปศกึ ษา ต่อมาไดม้ กี ารพัฒนาหลักสตู รปริญญาตรีเพม่ิ ขน้ึ ตามล�ำ ดับ ดงั นี้ พ.ศ. 2528 หลงั จากทไี่ ดแ้ กไ้ ขปรบั ปรงุ พระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครู (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2527 ใหว้ ทิ ยาลยั ครสู ามารถ เปดิ สอนสายวชิ าการอน่ื ได้ นอกเหนอื จากสายวชิ าชพี ครู คณะฯ จงึ เรม่ิ เปดิ สอนสายวชิ าการอน่ื เปน็ ปแี รก โดยเรมิ่ เปดิ สอน ในระดบั อนปุ ริญญา คอื อนปุ ริญญาศิลปศาสตร์ (อ.ศศ.) 2 วิชาเอก ไดแ้ ก่ ภาษาองั กฤษ และออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ และเปิดรับนักศึกษาชายเป็นสหศึกษาเป็นปแี รก พ.ศ. 2529 ขยายการเปิดสอนระดบั ปริญญาตรีสายวชิ าการอน่ื โดยเปิดสอนระดับปรญิ ญาตรี (4 ป)ี หลักสตู ร ศลิ ปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) วชิ าเอกภาษาองั กฤษ และเปิดสอนระดบั อนปุ รญิ ญาศิลปศาสตร์เพิ่ม คอื วิชาเอกภาษา องั กฤษธุรกจิ และเปดิ สอนในโครงการจดั การศกึ ษาส�ำ หรบั บคุ ลากรประจำ�การ (กศ.บป.) พ.ศ. 2531 ขยายการเปดิ สอนเพ่ิม ระดับปรญิ ญาตรี (4 ปี) หลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) และ (2 ปี หลงั อนปุ ริญญา) วชิ าเอกศลิ ปกรรม (ออกแบบนเิ ทศศิลป์) พ.ศ. 2533 เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตรี (2 ปี หลงั อนปุ รญิ ญา) หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ า บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศึกษา 2533 ส�ำ หรับนักศกึ ษาภาคสมทบ) พ.ศ. 2534 เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตรี (4 ป)ี หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ าบรรณารกั ษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ สำ�หรับนักศึกษาภาคปกติ และภาคสมทบ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานชอื่ “สถาบนั ราชภฏั ” แก่วทิ ยาลัยครทู ัว่ ประเทศ พ.ศ. 2538 ไดม้ กี ารประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั สิ ถาบนั ราชภฏั พ.ศ. 2538 สง่ ผลใหว้ ทิ ยาลยั ครู สวนดสุ ติ เปลย่ี น ชื่อเปน็ “สถาบันราชภฏั สวนดสุ ติ ” สงั กดั สำ�นักงานสภาสถาบนั ราชภฏั กระทรวงศกึ ษาธิการ คณะวชิ ามนษุ ยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ จึงได้เปลี่ยนเป็น “คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์” และตำ�แหน่งหัวหน้าคณะได้เปล่ียนเป็น “คณบดี” พ.ศ. 2541 เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) โปรแกรมวิชาภาษา ฝรัง่ เศสธรุ กิจ ส�ำ หรับนกั ศึกษาภาคปกติ พ.ศ. 2542 เปดิ สอนภาคปกติ ระดบั ปรญิ ญาตรี (4 ป)ี หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ า บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ และระดับอนปุ ริญญาศิลปศาสตร์ โปรแกรมวิชาออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ ณ ศูนย์ ธนาลงกรณ์ นอกจากนี้ยังเปิดสอนภาคสมทบ ระดับปริญญาตรี (4 ปี) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชา รฐั ประศาสนศาสตร์ ณ ศูนย์ปราจนี บุรี พ.ศ. 2543 เปิดสอนระดับปรญิ ญาตรี (4 ปี) หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวิชาภาษาไทย และโปรแกรมวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ ไดข้ ยายการเปดิ โปรแกรมวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ ณ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกสถาบนั เพ่ิมอีก 7 ศนู ย์ ได้แก่ ส�ำ หรับนักศกึ ษาภาคปกติ ณ ศูนยส์ ุโขทยั และ ส�ำ หรบั นกั ศึกษาภาคสมทบ ณ ศนู ย์นครปฐม ศูนย์นครนายก ศูนยช์ ลบรุ ี ศูนย์พัทยา ศนู ย์สระบรุ ี ศนู ย์พะเยา - เปิดสอนระดับปริญญาตรี (4 ปี) หลักสตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ าบรรณารกั ษศาสตร์และ สารนเิ ทศศาสตร์ ณ ศนู ยพ์ ณชิ การสยาม กรุงเทพมหานคร - เปดิ สอนระดับปริญญาตรี (4 ป)ี หลักสตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ าภาษาอังกฤษธุรกิจ ณ ศูนยช์ ลบรุ ี พ.ศ. 2544 ขยายการจดั การศกึ ษา ตามโครงการความรว่ มมือกบั ศนู ย์บริการการศกึ ษานอกโรงเรียน อ�ำ เภอ บ้านแพ้ว จงั หวัดสมทุ รสาคร เปิดสอนระดับปรญิ ญาตรี (4 ปี) หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ า รัฐประศาสนศาสตร์ 5

พ.ศ. 2545 เปดิ สอนระดับปริญญาตรี (4 ปี) หลักสูตรนติ ิศาสตรบณั ฑิต (น.บ.) โปรแกรมวชิ านติ ิศาสตร์ ภาค สมทบในมหาวทิ ยาลยั ศนู ยต์ รงั และศนู ยห์ วั หนิ เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตร(ี 4 ป)ี หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ โปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษธรุ กจิ และโปรแกรมวิชาพฒั นาชุมชน ภาคสมทบ ศูนย์ หวั หิน พ.ศ. 2546 เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตรี (4 ป)ี หลกั สตู รนติ ศิ าสตรบณั ฑติ (น.บ.) โปรแกรมวชิ านติ ศิ าสตร์ ตามโครงการ ความรว่ มมอื จดั การศกึ ษาหลกั สตู รนติ ศิ าสตร์ ส�ำ หรบั บคุ ลากรส�ำ นกั งานศาลปกครอง ณ อาคารเอม็ ไพรท์ าวเวอร์ ชนั้ 33 เลขที่ 195 ถนนสาธรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร - เ ปลย่ี นสาขาวชิ าจากสาขาศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ เปน็ สาขารฐั ประศาสน ศาสตรบณั ฑติ (รป.บ.) โปรแกรมวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ แทน พ.ศ.2547 สถาบนั ราชภฏั สวนดสุ ติ ไดป้ รบั เปลยี่ นสถานภาพจาก“สถาบนั ”เปน็ “มหาวทิ ยาลยั ”ตามพระราชบญั ญตั ิ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 เม่ือวันที่ 15 มิถนุ ายน พ.ศ. 2547 ชือ่ ว่า “มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนดุสิต” พ.ศ. 2548 เปดิ เพมิ่ หลกั สตู รปรญิ ญาตรี (4 ป)ี ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ โปรแกรมวชิ าออกแบบแฟชน่ั และโปรแกรม วิชาออกแบบสอ่ื ส่งิ พมิ พ ์ พ.ศ. 2549 คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ เปน็ สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ ตามประกาศ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ือง การแบง่ สว่ นราชการมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนดสุ ติ ลงวันท่ี 22 พฤษภาคม 2549 และ เปล่ียนการจัดการศึกษาระดับหลักสูตรจากโปรแกรมวิชาเป็นหลักสูตร โดยมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นผู้รับ ผิดชอบจัดการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2551 ไดเ้ ปดิ หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าออกแบบการแสดงนทิ รรศการ จดั สอนทศ่ี นู ยส์ พุ รรณบรุ ี และหลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553 จากการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารของมหาวิทยาลัย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา คหกรรมศาสตร์ได้ถูกโอนไปสังกัดโรงเรียนการเรือน และสาขาวิชาออกแบบการแสดงและนิทรรศการโอนไปสังกัด โรงเรียนการทอ่ งเทย่ี วและการบรกิ ารซงึ่ เป็นนโยบายเทยี บเท่าคณะที่จดั ต้ังใหม่ พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้เปล่ียนสถานะเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ ตามพระราช บญั ญตั ิมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ พ.ศ. 2558 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 17 กรกฎาคม 2558 มีผลบงั คบั ใช้ ต้งั แต่วันท่ี 18 กรกฎาคม 2558 โดยใช้ชอ่ื วา่ “มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ ” ในปีการศึกษา 2561 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รับผิดชอบจัดการศึกษาในการผลิตบัณฑิตระดับ ปรญิ ญาตรี ดังน้ี ระดับปรญิ ญาตรี จ�ำ นวน 1 หลักสตู ร 5* สาขาวิชา ประกอบด้วย หลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑติ (ศศ.บ.) จ�ำ นวน 5 สาขาวิชา 1. สาขาวชิ าภาษาและการสื่อสาร 2. สาขาวิชาภาษาองั กฤษ 3. สาขาวชิ าภาษาองั กฤษธุรกิจ 4. สาขาวิชาจติ วทิ ยาอุตสาหกรรมและองค์การ 5. สาขาวิชาบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ 6

ปรัชญา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต “เป็นมหาวิทยาลัยท่ีมีความสามารถในการสร้างความเข้มแข็งในการอยู่รอด (Survivability)” คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ตระหนักถึงปรัชญาของมหาวิทยาลัย ในการพัฒนากำ�ลังคน เพ่ือตอบสนองความต้องการของสังคมแห่งคุณภาพ และสังคมแห่งการเรียนรู้ จึงเน้นปรัชญาในการดำ�เนินการ คือ “คณุ คา่ ของมนุษยอ์ ยทู่ ี่การพัฒนาตนและสังคมอยา่ งต่อเนอ่ื งบนพ้นื ฐานของคุณธรรมและจริยธรรม” วสิ ัยทัศน์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เป็นคณะที่จัดการศึกษาเฉพาะทางท่ีเน้นในสาขาวิชาที่มีความเช่ียวชาญ เปน็ เลศิ ผลติ บณั ฑติ ทม่ี คี ณุ ภาพ สรา้ งองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ไดใ้ นภมู ภิ าคอาเซยี น ภายใตก้ ารบรหิ าร จัดการเชงิ พลวัต พันธกิจ ผลิตบัณฑิตสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและต้องการของสังคม โดยมีจุด เด่นด้านบุคลิกภาพเฉพาะตามวัฒนธรรมสวนดุสิต สร้างสรรค์ พัฒนางานวิจัย และเผยแพร่องค์ความรู้ทั้งทางด้าน มนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สชู่ มุ ชน สงั คม ประเทศชาติ และนานาชาติ ทำ�นบุ ำ�รุง พัฒนามาตรฐาน และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมไทย ให้เป็นที่ยอมรับในระดับภูมิภาคอาเซียน ตามหลักการบริหารจัดการเชิงพลวัต มีความยืดหยุ่น สามารถปรบั ตัวให้สอดรับกบั สภาวการณไ์ ด้เป็นอยา่ งดี เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนไดร้ ับโอกาสการเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ืองตามศักยภาพ 2. บัณฑิตมคี ุณภาพตามมาตรฐานของหลักสูตร เปน็ ทย่ี อมรับในระดบั ภมู ิภาคอาเซียน 3. นักศกึ ษา บุคลากร และประชาชน ตระหนักในคุณค่าของศลิ ปะและวฒั นธรรมไทย 4. คณะ มหาวทิ ยาลยั ชุมชน และสงั คม ไดป้ ระโยชน์จากองคค์ วามรู้ท่สี ร้างข้ึน 5. พัฒนาศกั ยภาพบุคลากร และเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ในการอยรู่ อดของมหาวทิ ยาลยั 7

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ รายนามผูบ้ รหิ ารและอาจารย์ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ Suan Dusit

Faculty of Humanities and Social Sciences รายนามผบู้ รหิ ารและอาจารย์ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ผบู้ ริหารคณะ ดร.มนรดา เลิศจิรวณิชย์ LMPihn.A.gD.u.(iM(sDtiacossct)etorrooffCLhiningeusiseticlasnganuadgAep) plied ผlPahศn.g.Dดu.รa(.gTฉeeตั a-รcTแhEiกnFว้gLเEภ)nาgวliิเsศhษas a foreign ศปสศารขะ.บาธ.วา(ชินทากศั ภรนารศษมิลากปจานี์)รบริหารหลกั สูตร คกคศ.ณบ.ม.บ(.ดก(คีการณาสระสอมอนนนภุษภาษายษาศอาาองัสกังตกฤรฤษ์แษ)ล )ะสงั คมศาสตร์ สศผศปาศศรศร...ด.มบนด...ิเร(ท((เ.บบบทศรรรคศรรรโาณณนพสาาโตตลรรรักยัก)์พสีษษิจาศศิตราาสรสสนกตตเ�ำรรท์แแ์เศนลลคดิะะุณส าภรานพิเ)ทศ ผศ.ดร.ยุทธพงษ์ ลีลากิจไพศาล ปศสาารสขะาตธวาริช)์น ากบร รรรมณกาารรักบษริหศ์ าารสหตลรกัแ์ ลสะูตสรารสนเทศ ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) ศาสตร์ พบ.ม. (รฐั ประศาสนศาสตร)์ กผจศ.ด.ดร(ก.สาุดรจาดั รกัตานก์ าเรทรพศพกึ ษมิ าล) รป.บ. (บรหิ ารงานบคุ คล) ปคค..รบมะ..ธ((าศศนิลิลกปปรศศรึกึกมษษกาาา))รบรหิ ารหลักสูตร รองคณบดีฝา่ ยวชิ าการ สาขาวิชาศิลปศึกษา ศอศาจ.มา.ร(ยจติศ์ วุภทิ มยติ ารอุตบสัวาเหสกนราระมและ รวออทงคง.บค์ก.ณา(รจบ)ติ ดวฝี ิทา่ ยยาก) จิ การนักศึกษา ผศ.ปรศิ นา ฟองศรณั ย์ ศศศศ..มบ.. ((ภภาาษษาาไไททยย)) ปสารขะาธวาิชนากภรารษมากไาทรยบรหิ ารหลกั สตู ร ดร.ศุภศริ ิ บญุ ประเวศ คศศษษ.ด...บม(..บ((รกภิหาาารษรสากอไาทนรยภศ)ากึ ษ ษาาไ )ทย) หปรละกั ธสาูตนรกสรารขมากวาชิ ราบภราหิ ษาารและการสือ่ สาร ผศ.ดร. ชยาพล ชมชยั ยา ศตPษา่hง..Dมป.ร((ะInกเทาEรศdส)u อcนaภtiาoษnา) อังกฤษในฐานะภาษา ศปสศารขะ.บาธ.วา(ิชนภากาภษราราษมอากังอกางัรฤกบษฤร)ิหษารหลักสูตร สปศอศศษาารขะจ..มบาธา..วาร((ิชนยภภาก์กาาภษรษนาราากษมศอวากาังอรสากรังรตฤกณบรษฤร์ป)หิษก ระาธุลรยรุสหกุกทุ ลตจิ ธกั์) ิ์ สูตร ผสวทสศ...มดด..ร((.จกสติาฤรวษบิทรดยหิ าิ์ ศาอรรตุ สีโสยงั าคธหมินก) ร รม) วสปทารขะ.บาธ.วา(ชินจาติกจวรติ รทิ วมยทิ กาย)า ารอบตุริหสาาหรหกลรรักมสแูตลระองคก์ าร 9

อาจารยป์ ระจำ�หลักสูตร คศดศ.รด..ม.อ(.ภก(ิราภดราศีษผกึ าษลอปาังนกรอฤะกเษสรสระำ�ิฐบห บรบัโรวงิทเรยียานศ)าสตร์และ อาจารย์ประจำ�หลักสูตร สาขาวชิ าภาษาและการสอ่ื สาร คเท.บค.โน(ภโลาษย)ีาองั กฤษ) สาขาวิชาภาษาองั กฤษธุรกิจ ผศ.ดร.วรวิทย์ กิจเจรญิ ไพบูลย ์ ศดคษ.รด...ศม(.ภุบ(ศรกหิริาาิรบรสกุญอานปรภศราึกะษเษวาาศไ)ท ย) ศศPศศh...Dมบ... (((ภภCาาlaษษnาาgเอuพังaือ่กgกฤeาษรa)สn่ือdสCารoภmาmษาuอnังicกaฤtiษo)n) อศศาจ.มา.ร(ยภ์กาษนากศวารสรตณรป์ กระุลยสุกุทตธ)์ ์ ิ ศษ.บ. (ภาษาไทย) EDดdร.Eu.วdcน.a(ดิtLioาannอ)gญัuaชgลeวี aิทnยdกLุลi teracy ศษ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ศอศาจ.มา.ร(ยไท์ธยนศัญึกษชยา)์ ชัยวฒุ ิมากร คศศ.บ.ม. (.ภ(กาษาราสออังนกฤภษาษ) าอังกฤษ) Mอา.Aจ.า(รTยE์ขFจLนี) ุช เชาวนปรชี า ศศ.บ. (นาฏศิลป)์ ผศ.สุดสวาท จันทรด์ ำ� บMธ.B.บ.A. .(ก(Mารaเลrkขeาtนinุกgา)ร) ศศอาศษจ..มบา.ร. (ย(ภภ์กาาญั ษษจาาณไไทท์ปยยภ))ัสส์ สวุ รรณวหิ ค อศ.ศบ.ม. (.ภ(ญาษ่ปี า่นุ อศงั กึกษฤษา)) ดร.วลิ าสนิ ี พลอยเลอื่ มแสง ศอศาจ.มา. ร(ยภพ์าษราเพไท็ญย)เหล็กดีเศษ อาจารยพ์ มิ พวัลคุ์ สุวรรณทัต Mศคศ.ด.A.บ. .(.(ห(MภลAักาษTสEตูาอSรแงั Lกล) ฤะษกา) รสอน) ศศ.บ. (ภาษาไทย) M(ปกรaาะîรtเrสทisอศeน) Fภrาaษnาçฝaรis่งั เLศaสnใgนuฐeานÉะtrภaาnษgาèตreา่ ง ผศศศศศ...บมส..ุด((ภภาราาัตษษนาาแอ์ ลเงั จกะตฤกนษาร์ป)สญั อื่ สจาภรคั ) Pดhร..Dส.ร(พEลngจliริsะhสaวsสั aดnิ ์ In ternational ศศ.บ. (ภาษาฝรั่งเศส) อMวทา.S.จบcา..ร((ยเIศn์ลรteลษrติฐnศaาtาiพoสnูลตaทรl์สรBหัพuกยsรi ์ nณe์)s s) ตศLaศา่ nง.มปg.uร(ะaกเgาทeรศ)ส)อนภาษาองั กฤษเปน็ ภาษา Dดร.E.ยd.ุพ(ินLaพngิพuฒั agนeพ์ aวnงdทอLงite racy อBา.Sจcา.ร(ยC์Joamnpaulytenr RScaimenocse ) อ.บ. (ภาษาองั กฤษ) ศศEศศdu..มบc..a((tภภioาาnษษ)าาฝฝรรั่งง่ั เเศศสสศ) กึ ษา) ดปปศศศศรรระ....ดมมแเ.ท..ว(((ศน่กฝก)แาารร่งัรกสเส้วศออสนลนศภพีภกึ าาึง่ษษษธาาาร)แฝรลรมะั่ง เวศัฒสนในธฐรรามนตะภา่ งาษา อาจารยป์ ระจ�ำ หลกั สูตร อาจารย์ประจำ�หลักสูตร ตศศึกศา่ งษ.บปา.ร)(ะภเทาษศาแฝลระัง่ สเศาขสา) เท คโนโลยีเพ่อื การ สาขาวิชาจติ วิทยาอุตสาหกรรมและ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คปดมรร...ดพ(.บร(พรภิหาศิ าษรงากาศามารสพศตงกึ รษษ์) ์ า) องค์การ ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ศตศPผศษ่าhศง....Dบมปด...รร(((ะ.ภIกnเชทาายษEรศสdาา) ออพuนcงัลกaภtฤชาioษษมn)าช)อัยงั ยกาฤ ษในฐานะภาษา Bอา.Aจ.าHรoยn์ As n(Mdrueswic)C o ltrane ผสสศ..ดด.ร(.กสาฤรษบรดิห์ิ ศารรสีโยงั คธมนิ ) ผศ.ดร.สมโภชน์ พนาวาส Bอา.Aจ.า(รEยc์ HonIoRmOiTcsO)S HI IKURINO ววทท..บม.. ((จจิติตววทิทิ ยยาาอ) ตุ สาหกรรม) ศศศษ..มด.. ((หหลลกัักสสูตูตรรกกาารรสสออนนภภาาษษาาออังงั กกฤฤษษ)) อาจารย์ IVAN NEW อาจารยป์ ทุมพร โพธิ์กาศ กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) LMBa..AAn.g. Hu(Taoegnaesc) h(HinisgtoErnygalinsdh as a Foreign ววทท..มบ.. ((จจติติ ววิทิทยยาาอ) ุตสา หกรรม) ผEdศ..Dด.ร(.TนEวSรOัตlน/A์ เpตpชliiะeโdชควิวัฒน์ Sociology) ผศ.อมั พร ศรปี ระเสริฐสขุ กอLiศ.nบ.gม. u(.ภi(sภาtiษาcษsา)เา ยอองั รกมฤนั ษ)) อBา.Aจ.า(รEยc์Tonaokmenicosr)i O kajima กกศศ..มบ.. ((จภติาษวิทาไยทายพ)ฒั นาการ) ผศ.ธนศร วสิ ุทธิ์วารนิ ทร์ อBา.Aจ.า(รEยcT์onHoAmIicDs)U O NG ผศ.พัศรนิ ท์ ก่อเลิศวรพงศ ์ ภศศาษ.มา.อ(ภงั กาฤษษาศแบาสบตพรึ่งป์ ตรนะเยอกุ งต) ์ ด้านการเรียนรู้ อาจารย์ Olivia Patricia Laurene กคศ.บ.ม. (.ส(จุขศติ ึกวิทษยาา) และการแนะแนว) วท.บ. (เทคโนโลยที างอาหาร) MBM..aSEncda..g((HeDmoisteetanl nta)cned ERdeusctaatuiorann) t อาจารย์ศุภมิตร บัวเสนาะ Mอา.Aจ.า(รAยpส์ pุณlieาdกLงั inแgฮu istics) ศวทศ..บม.. ((จจิติตววทิทิ ยยาา)อุตสาหกรรมและองค์กร) ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ศผศศ..มส.ทุ (ภธาาษสานิ ศี าเกสสตรรเ์ป์ พรื่อะกทาุมร อาจารย์ประจำ�หลักสูตร สคฝรอ่ื.บ่งัส.เาศ(รภส)า) ษ องั กฤษและภาษา สาขาวชิ าบรรณารักษศาสตร์และ ผMBศ..SA.cน..(ีร(EูCnชhgสู elัตimshยis)ส์ trกyลุ) สารสนเทศศาสตร์ ศศอศศาจ..บมา..ร((ยภก์นาารษทเาดี ศเนิ พาทสชาตรงรสแ์ปลุทระธะทธิยอ่ นุกงตสเท)์าี่ยรว ) ดศPศhร...Dมณ.. ฐั ((กCพาlรaรnแโgปอuลวaา)gทeนaพุ nัฒd นC์ ommunication) กรศจ..ดด.ร(.กสาุขรมุ จดั เกฉาลรยสทือ่ สรพัารย) ์ ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษ) ศกศ.บ.ม. (.ภ(บมู ริศราณสตารรัก)์ ษศาสตร)์ ผศ.ดร.บรรพต พจิ ติ รก�ำ เนิด ศศปศารส..ดมต..ร((์)เบท รครโณนาโลรักยสีษาศราสสนตเรทแ์ ศลคะณุ สาภรานพิเ)ทศ ศศศาส.บต.ร(์)บ รร ณารักษศาสตรแ์ ละสารนิเทศ ผศ.ดร.ปรศิ นา มชั ฌมิ า วสวปททารร...ดบมส...น(((เเเวททททิ คศคยโ)โานน ศโโลาลสยยตีสกี ราาส์รรสง่ิจแนัดวกเทดาลศร้อร)ะมบ) บ 10

ผปศษรศ..ด.มด..ร((เ.เบททญุคคโโญนนโลโลลักยยษเี ีกทมาคร์ นศตคิึก�ำศษนึกาษา)นา)จ ติ ร กลุม่ วิชาปรชั ญาและศาสนา อาจารยป์ ระจำ�คณะ ค.บ. (เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา) ศอรอ..ศมาม..จบ. ((า.กปร(ารรยรัฐชั ปว์ศญกราาคสว)รตลอรัญง)์ )ช์ นติ ย์จินต์ อบธาจ.มา.ร(ยกาธ์ รนจญั ดั กภาัสรรธ์ุรศกริจเี ขนนธายิ ดวกศลินาง และ ดปรร..ดน.นั (เททวคันโนเโรลอื ยงีกอารรศ่ามึกษ า) ขศนศา.บด.ย(่อกมาร)จดั การ) กบศธ..มบ.. ((เกทาครโจนดั โกลายรกี )ารศกึ ษา) พบพผธศธธ....มบดด...ร(((.กพเอศารทุ รระษัยจพดัฐุทสศกธตาาศสรมิ า)ตั่น สร น)์ า) ผศ. ปริศนา ฟองศรณั ย์ ดร.จติ ชนิ จติ ตสิ ุขพงษ ์ ศศศศ..มบ.. ((ภภาาษษาาไไททยย)) ปบศศธร...ดมม... (((เกบทารครรโตณนลาโาลรดกัย)ีเษทศคานสิคตศรึกแ์ ษละาส) า รนเิ ทศ กลมุ่ วชิ าภูมศิ าสตร์ อาจารย์รักษศ์ ริ ิ ชุณหพันธรักษ์ ศศศาศาสส.บตต.รร()์)์บ รรณารกั ษศาสตร์และสารนเิ ทศ คศโรศ.มง.เบ.ร(.ียก(นาภ)รา สษอานไทภยาษ-กาไาทรศยึก) ษานอกระบบ ผศ.ดร.เอกชัย พมุ ดวง ผคกศ.ศบ..ม.ส(.ำ�ภ(เภานษายี ษางไาทไฟทย้า)ย ก)ระจา่ ง ศศษษ..ดม.. ((สสิง่ง่ิ แแววดดลลอ้อ้ มมศศกึกึ ษษาา)) ศเศผศศปทศาศารศคสส...ด.บมโดตตน...รรร((โ())์์น.บลบส วยรราตัรร)ี ย ณณกสราาดุรรรมาักกั กษษปาศศ้นัราาเตรสสียรตตนะรรกรแ์แ์ ้แูลลลู ละะะ สสาารรสนนิเทเทศศ ศ.บ. (เศรษฐศาสตรก์ ารคลงั ) ศศผศศศ...บมเบ.. ((ญภภจาาษษมาาาศไศทายสข)ต�ำ รส์)ก ุล ปผรศ.ด.ด. ร(ป.ยรุสะนชาียก์ โรสศมกึ ษทาัศ)น ์ LดPihรn..gDมu.นi(sรDtiดcosาc)toเลrศิ oจf ริLวinณguชิ iยst ์ ics and Applied คกศ.บ.ม. (.ส(ภงั คมู มิศศากึสษตรา์)) Mศศ.A.บ. .((Mทaัศsนteศrิลoปf์)Chinese language) อาจารย์ประจำ�หลักสูตร อาจารย์พิษฐา พงษ์ประดิษฐ อาจารย์ณภัคกัญญา ตราร่งุ เรอื ง สาขาวิชาศลิ ปศึกษา ทววททรพั..บมย.. า((เเกทกรษค) โตนรโศลายสีทตี่เรห)์ มาะสมเพอื่ การพัฒนา ผกจศ.ด.ด.(รก.สารุดจาดั รกัตานรก์ าเรทศพึกพษิมา)ล กลุม่ วิชานาฏศลิ ป ์ oMBt..hAAe..r((CTLheaianncgehusiaenggLeaCsn)h ginu easgee to Speakers of คค..มบ.. ((ศศลิลิ ปปศศกึกึ ษษาา)) and Culture) รศ.ดร.เน้อื อ่อน ขรวั ทองเขยี ว กAEผศddศ..mDม.ด..inร((iอEs.รดุtdrสมautรcศioaนิกึ ntษio)ส าn)ุทalองหล่อ คอคศ.ศ..ดมบ.ม... (((.ปศศ(ปิลิลระปปรวะศศัตวึกกึ ิศัตษษาศิ าาสา))ตสรต์)ร ์ศ ลิ ปะ) ค.บ. (นาฏศลิ ป์) Mอoกtศา.hAจ.บe.าr.(ร(TLยกeaจ์าanรติcgสhตuอianพิ นggรภeCาsชษ)hัย าinปจ eรีนsะ)eกอtoบSวpิรeยิ aะke rs of ผคปศศ.รศม..ด.บ.ด.(.รศ((ห.ิลศปลปลิ ฤักปศณสกึกตูษัตรรรามแน) ล)ัจะนกฤารตสยอ์ น) ศอศาจ.มา.ร(ยนเ์าอฏอื้ ยมศลิพปร์ไทเยน)า ว์เยน็ ผล ผศคศ.ศบ..ม.ว(.ุฒศ(กลิ ินาปนั รศอทกึ อ์ษรกาัตแ)บส บขุ ) ศคษ.บ..บ(.น(าปฏฐศมิลวปัย))์ Mศอotศา.hAจ.บe.าr.(ร(TLยจeaนี์ดanศาcghรึกuาiษanรgาgตัe) Csน)h์ อi nินesทeรกto�ำ เSหpนeดิakers of ศศอศ.ามจ.บ. า(.ปร(ยศระ์ฆิลยปนกุ กาตร์ศรวมลิีรป)ะ เศดกึ ชษะา ) ดร.วรกมล วงษ์สถาปนาเลศิ ศศรศ..มบ.พ.. ((ิเจจชติิตษรรฐกกรรสรรนุมมท)) รโช ต ิ ศศศปปศ...ดมบ... (((นนนาาาฏฏฏยยยศศศิลิลลิ ปปปไ์ไ์์ไทททยยย))) oMอtา.hAจe.าr(รTLยeaน์ ancพghuรianัตggนe์Csข)h นinบeธseรรtมoกSลุ p eakers of B.A. (Bachelor of Art) กล่มุ วิชาดนตร ี Mอา.Aจ.า(รTยeป์ acรhะiภnสัgรC์ นhiกnเeลsิศeพtoันธSุ์ peakers of oBt.hAe. r(CLhainngeusaegLeasn) gu age and Literature) ศกคผศษ.ศม..บ.บ.อ(..อร((ดุดปณุ มรุฐิยีศมากึวโงคยัษค)าตศ)าร สสตมร)์บ ตั ิ อาจารยป์ ระจ�ำ คณะ กลุ่มวชิ าประวัติศาสตร์ กลุ่มวชิ าสงั คมวทิ ยา ผปรศ.ด.ด. (รโ.บดรวางณกคมดลีสมอัยปศั รวะมวาัตศศิ าสตร์) ผศ.ธวชั ชัย เพง็ พนิ ิจ ศศศศ..บม.. ((โภบารษาาณอคงั กดฤีสษม)ยั ก่อนประวัติศาสตร์) ศศศศ..มบ.. ((พพัฒฒั นนาาชชนนบบททศศกึกึ ษษาา)) 11

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ Suan Dusit

หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ ระดับปริญญาตรี 1. ชอื่ หลักสตู ร : หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ ภาษาไทย สาขาวชิ าบรรณารักษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ : Bachelor of Arts Program in Library and Information Science ภาษาองั กฤษ 2. ชือ่ ปริญญา ภาษาไทย ช่อื เตม็ : ศลิ ปศาสตรบัณฑติ (บรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร)์ ช่อื ย่อ : ศศ.บ. (บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร)์ ภาษาองั กฤษ ชื่อเตม็ : Bachelor of Arts (Library and Information Science) ช่ือยอ่ : B.A. (Library and Information Science) 3. วตั ถุประสงคข์ องหลกั สตู ร เพื่อผลติ บณั ฑิตมีคุณลกั ษณะดงั ต่อไปนี้ 1) มคี วามรู้ในด้านการจัดการห้องสมุดและสารสนเทศ ที่สามารถปฏิบัตงิ านไดจ้ รงิ 2) มคี วามใฝร่ ู้ สามารถพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ และปรบั ตวั ใหก้ า้ วทนั ความเปลยี่ นแปลงของสงั คม การเมอื งและ เศรษฐกจิ โลก 3) มที กั ษะการสื่อสาร การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถประยุกต์ใชใ้ นวชิ าชพี ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4) มใี จรกั บรกิ าร มีความเป็นผ้นู ำ�และผตู้ ามที่ดี และสามารถท�ำ งานร่วมกับผอู้ ่ืนได้ 5) มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มจี ิตส�ำ นึกต่อวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม 4. คุณสมบัติของผเู้ ข้าศึกษา 1) สำ�เรจ็ การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า และ 2) ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ/หรือ เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับการคัดเลือกของมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต 5. อาชพี ที่สามารถประกอบได้หลังส�ำ เร็จการศึกษา 1) บรรณารักษ์ 2) นกั วิชาการสารสนเทศ 3) เจา้ หนา้ ทด่ี ูแลและจัดการขอ้ มูล 4) นกั จดั การเน้ือหา 5) เจา้ หน้าท่ีบริการสารสนเทศ 6) บรรณาธิการวารสาร 7) อาชพี อิสระด้านสารสนเทศ 13

โครงสร้างหลักสตู ร จ�ำ นวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลกั สตู รไม่นอ้ ยกวา่ 134 หน่วยกติ มีสัดสว่ นจ�ำ นวนหน่วยกิต แยกตามหมวดวิชา และกลมุ่ วชิ า ดงั น้ี 1. หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป 33 หนว่ ยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ 95 หน่วยกติ 2.1 วิชาบังคบั 60 หนว่ ยกติ 2.2 วชิ าเลอื ก ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ 2.3 วิชาประสบการณว์ ชิ าชีพ 5 หน่วยกติ 3. หมวดวิชาเลอื กเสร ี 6 หน่วยกติ การจดั การเรยี นการสอน 30 หนว่ ยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 6(6-0-12) 1500119 ภาษาไทยเพื่อพัฒนาความเป็นผรู้ อบรู ้ 4(4-0-8) Thai for Being Scholars 4(4-0-8) 1500120 ภาษาอังกฤษเพือ่ การน�ำ ตน 4(2-4-6) English for Self-direction 4(2-4-6) 1500121 ภาษาองั กฤษเพื่อการสะทอ้ นคิด 4(2-4-6) English for Reflective Thinking 4(2-4-6) 1500201 ความเปน็ สวนดุสิต 3(2-2-5) Suan Dusit Spirit 2500116 สงั คมอารยชน Civilized People Societies 2500117 พลเมืองไทยและพลโลกทด่ี ี Smart Thai and Global Citizens 4000112 วิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ในชวี ติ ประจำ�วัน Science and Mathematics in Daily Life 4000113 ความเขา้ ใจและการใช้ดิจทิ ัล Digital Literacy หมวดวชิ าเฉพาะ 95 หนว่ ยกติ วชิ าบังคบั 60 หนว่ ยกิต 1631103 สารสนเทศ ห้องสมดุ และสงั คม Information, Library and Society 3(3-0-6) 1631104 ทกั ษะการร้สู ารสนเทศ Information Literacy Skills 1631105 ทักษะจำ�เป็นของนกั สารสนเทศในยคุ ดจิ ิทลั 3(2-2-5) Necessary Skills of Information Professional in Digital Age 3(2-2-5) 1631207 การพฒั นาทรพั ยากรห้องสมดุ Collection Development 1631208 การทำ�รายการทรพั ยากรสารสนเทศ 3(2-2-5) Information Resources Cataloging 3(2-2-5) 1631306 การส่งเสริมการอา่ นและการเรยี นรู้ตลอดชีวติ Promotion of Reading and Lifelong Learning 3(2-2-5) 14

1631307 การบรกิ ารสารสนเทศ 3(3-0-6) Information Services 1631308 การคน้ คืนสารสนเทศและบรกิ ารอ้างอิง Information Retrieval and Reference Services 3(2-2-5) 1631603 การอา่ นภาษาอังกฤษสำ�หรบั นักสารสนเทศ 3(3-0-6) English Reading for Information Professional 1631604 การเขยี นภาษาองั กฤษสำ�หรบั นักสารสนเทศ English Writing for Information Professional 3(3-0-6) 1631605 ภาษาอังกฤษเพ่ือการบรกิ ารผ้ใู ช้ 3(3-0-6) English for User Service 1632209 การจดั หมทู่ รพั ยากรสารสนเทศ Information Resources Classification 3(2-2-5) 1632313 การพัฒนาเว็บหอ้ งสมดุ และสารสนเทศ 3(2-2-5) Library and Information Web Development 1632402 การจัดการห้องสมุดและองคก์ รสารสนเทศ Library and Information Organization Management 3(2-2-5) 1633121 การจดั การฐานขอ้ มูลห้องสมดุ และสารสนเทศ 3(2-2-5) Library Database Management and Information 1633124 พืน้ ฐานการเริ่มต้นธุรกิจสารสนเทศ Introduction to Starting Information Business 3(3-0-6) 1633417 การประชาสัมพันธ์และการตลาดสารสนเทศ 3(2-2-5) Public Relations and Information Marketing 1633418 การจัดการความรใู้ นองค์กรสารสนเทศ Knowledge Management in Information Organization 3(3-0-6) 1634419 เทคโนโลยแี ละสอื่ ใหม่ในหอ้ งสมดุ 3(3-0-6) Technologies and New Medias in Library 1634903 สมั มนาทางบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ Seminar in Library and Information Science 3(2-2-5) วิชาเลือก (เลอื กเรียนไมน่ ้อยกวา่ ) 30 หนว่ ยกติ 1632102 พื้นฐานการจัดการข้อมลู 3(3-0-6) Introduction to Data Management 1632210 การจดั หมรู่ ะบบหอสมดุ รฐั สภาอเมรกิ ัน 3(2-2-5) Library of Congress Classification 1632314 การศกึ ษาผูใ้ ช้ 3(2-2-5) User Studies 1632609 ภาษาไทยเพ่อื การสือ่ สารในงานหอ้ งสมุดและสารสนเทศ 3(3-0-6) Thai for Communication in Library and Information Work 1632610 ภาษาอังกฤษเพื่ออาชพี 3(3-0-6) English for Professional 1633118 การเขยี นโปรแกรมขนั้ พน้ื ฐานส�ำ หรับงานห้องสมดุ และสารสนเทศ 3(2-2-5) Basic Programming for Library and Information Work 1633123 การพฒั นาฐานข้อมลู บนเว็บห้องสมุดและสารสนเทศ 3(2-2-5) Library and Information Web Database Development 15

1633125 โปรแกรมประยกุ ตส์ �ำ หรบั งานหอ้ งสมุดและสารสนเทศ 3(2-2-5) Application Software for Library and Information Work 3(2-2-5) 1633126 การวเิ คราะห์และการออกแบบระบบงานห้องสมุดและสารสนเทศ Systems Analysis and Design for Library and Information Work 1633127 การวเิ คราะห์สอ่ื และเครอื ขา่ ยสังคม 3(2-2-5) Social Network and Media Analysis 3(2-2-5) 1633128 แหลง่ สารสนเทศและการบรกิ ารสารสนเทศทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ Information Sources and Services in Science, Technology, 3(2-2-5) Humanities, and Social Sciences 3(2-2-5) 1633129 การใช้สารสนเทศเพื่อความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ Use of Information for Creativity and Imagination 1633130 การจดั การข้อมูลสาธารณมติ 3(2-2-5) Data Management on Public Opinion Poll 3(2-2-5) 1633206 การสรา้ งและการจัดการเน้ือหาสารสนเทศ Information Content Creation and Management 1633419 การจดั การสารสนเทศส�ำ หรับเด็ก 3(2-2-5) Information Management for Children 3(2-2-5) 1634415 การจดั การสารสนเทศส�ำ หรับเยาวชน Information Management for Youth 1634416 การจัดการสารสนเทศส�ำ หรบั ผูส้ ูงอายุ 3(2-2-5) Information Management for Elderly People 3(2-2-5) 1634417 การจัดการสารสนเทศส�ำ หรบั ผูด้ อ้ ยโอกาส Information Management for the Disadvantaged 1634420 การจดั การโครงการหอ้ งสมดุ และสารสนเทศ 3(2-2-5) Library and Information Project Management 1634904 การวจิ ัยเบอ้ื งต้นทางบรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ Introduction to Research in Library and Information Science หมวดวิชาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ 3 หน่วยกติ 1634806 การฝึกประสบการณว์ ิชาชีพบรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ 5(450) Field Experience in Library and Information Science 6 หนว่ ยกิต หมวดวิชาเลอื กเสรีไมน่ ้อยกวา่ ให้เลอื กเรยี นรายวชิ าใดๆ ทีเ่ ป็นไปตามข้อบังคบั ของมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ โดยไม่ซำ�้ กับวิชาท่ีเคยเรยี น มาแลว้ และตอ้ งไมเ่ ปน็ รายวิชาท่ีกำ�หนดให้เรยี นโดยไมน่ บั หน่วยกติ รวมในเกณฑ์การสำ�เร็จการศกึ ษาของหลักสูตร 16

แผนการเรยี นตลอดหลกั สตู ร นักศึกษารหัส 61 สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ระดบั ปริญญาตรี จำ�นวนหนว่ ยกติ รวม 134 หน่วยกิต ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561 หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป 1500119 ความเปน็ สวนดุสิต 4(2-4-6) 1500201 ภาษาไทยเพื่อพฒั นา 6(6-0-12) หมวดวชิ าเฉพาะ วิชาบงั คับ ความเปน็ ผ้รู อบรู้ 1631103 สารสนเทศ หอ้ งสมุด และสังคม 3(3-0-6) 1631104 ทกั ษะการรสู้ ารสนเทศ 3(2-2-5) หมวดวิชาเฉพาะ วิชาบงั คับ 1631105 ทกั ษะจำ�เปน็ ของนกั สารสนเทศ 3(2-2-5) 1631207 การพฒั นาทรพั ยากรห้องสมดุ 3(2-2-5) ในยุคดจิ ิทัล 1631208 การทำ�รายการทรพั ยากร 3(2-2-5) 1631307 การบรกิ ารสารสนเทศ 3(3-0-6) สารสนเทศ 1631603 การอา่ นภาษาองั กฤษสำ�หรบั 3(3-0-6) 1631306 การสง่ เสรมิ การอา่ นและ 3(2-2-5) นกั สารสนเทศ การเรียนรู้ตลอดชีวติ 1631308 การคน้ คืนสารสนเทศและ 3(2-2-5) บรกิ ารอา้ งองิ 1631604 การเขยี นภาษาองั กฤษส�ำ หรบั 3(3-0-6) นกั สารสนเทศ รวม 19 หน่วยกิต รวม 21 หน่วยกติ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาท 1 ปีการศกึ ษา 2562 ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาท 2 ปกี ารศึกษา 2562 หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป 4(4-0-8) 1500120 ภาษาองั กฤษเพ่ือการนำ�ตน 4(4-0-8) 1500121 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสะท้อนคดิ 4(2-4-6) 4000113 ความเข้าใจและการใช้ดิจิทัล 3(2-2-5) 2500116 สังคมอารยชน 3(2-2-5) หมวดวิชาเฉพาะ วชิ าบังคบั หมวดวิชาเฉพาะ วิชาบังคบั 3(2-2-5) 1632209 การจดั หมูท่ รพั ยากรสารสนเทศ 3(2-2-5) 1632402 การจัดการห้องสมดุ และองคก์ ร 1632313 การพฒั นาเว็บห้องสมุดและ 3(2-2-5) สารสนเทศ 3 นก. สารสนเทศ 1633121 การจัดการฐานข้อมลู ห้องสมุด 3 นก. หมวดวชิ าเฉพาะ วิชาเลือก และสารสนเทศ xxxxxxx วิชาเลือก 3 นก. หมวดวิชาเฉพาะ วิชาเลอื ก xxxxxxx วชิ าเลือก 3 นก. xxxxxxx วิชาเลือก xxxxxxx วิชาเลือก รวม 19 หนว่ ยกิต รวม 20 หนว่ ยกิต 17

ปีที่ 3 ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 ปีท่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป 2500117 พลเมืองไทยและพลโลกท่ดี ี 4(2-4-6) 4000112 วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 4(2-4-6) หมวดวิชาเฉพาะ วิชาบงั คับ ในชีวิตประจาวนั 1631605 ภาษาองั กฤษเพ่อื การบริการผใู้ ช้ 3(3-0-6) หมวดวิชาเฉพาะ วิชาบังคบั 1633417 การประชาสัมพันธ์และการตลาด 3(2-2-5) 1633124 พ้ืนฐานการเรมิ่ ตน้ ธุรกิจสารสนเทศ 3(3-0-6) สารสนเทศ 1633418 การจดั การความรู้ในองคก์ ร 3(3-0-6) หมวดวิชาเฉพาะ วชิ าเลอื ก สารสนเทศ xxxxxxx วิชาเลือก 3 นก. หมวดวิชาเฉพาะ วชิ าเลือก xxxxxxx วิชาเลอื ก 3 นก. xxxxxxx วชิ าเลือก 3 นก. หมวดวชิ าเลอื กเสรี xxxxxxx วิชาเลอื ก 3 นก. xxxxxxx วชิ าเลอื กเสรี 3 นก. หมวดวชิ าเลอื กเสรี xxxxxxx วิชาเลือกเสรี 3 นก. รวม 19 หนว่ ยกติ รวม 19 หนว่ ยกติ ปีท่ี 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ปที ่ี 4 ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 หมวดวิชาเฉพาะ วชิ าบังคบั หมวดวิชาเฉพาะ วชิ าประสบการณ์วชิ าชีพ 5(450) 1634419 เทคโนโลยีและสอื่ ใหมใ่ นหอ้ งสมดุ 3(2-2-5) 1634806 การฝึกประสบการณ์ 1634903 สมั มนาทางบรรณารักษศาสตร์ 3(2-2-5) วิชาชพี บรรณารกั ษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ หมวดวิชาเฉพาะ วชิ าเลอื ก xxxxxxx วชิ าเลือก 3 นก. xxxxxxx วิชาเลอื ก 3 นก. รวม 12 หน่วยกิต รวม 5 หน่วยกติ 18

คำ�อธบิ ายรายวิชา สาขาวชิ าบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ 1631103 สารสนเทศ หอ้ งสมุด และสงั คม 3(3-0-6) Information, Library and Society แนวคดิ และหลกั การของสารสนเทศ หอ้ งสมดุ และสงั คมพฒั นาการของหอ้ งสมดุ ความส�ำ คญั ของหอ้ งสมดุ และสารสนเทศ นโยบายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั หอ้ งสมดุ และสารสนเทศ แนวคดิ ขององคก์ รจดั เกบ็ และจดั การความรคู้ วาม ทรงจ�ำ ของมนษุ ย์ พิพิธภัณฑ์ จดหมายเหตุ บทบาทและสถานภาพของบรรณารักษ์ และนกั สารสนเทศ Concepts and principles of information, library and social, development of library, the importance of libraries and information, policies relating to libraries and information, conceptual of the organizations store and manage about knowledge, memory of human, museum, archives, and the role and status of librarians and information professionals 1631104 ทกั ษะการรสู้ ารสนเทศ 3(2-2-5) Information Literacy Skills แนวคดิ และหลกั การของการรสู้ ารสนเทศ ทรพั ยากรและแหลง่ สารสนเทศ การวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการใช้ สารสนเทศ การคน้ หาสารสนเทศ การประเมนิ สารสนเทศ จรยิ ธรรมการใชส้ ารสนเทศ การอา้ งองิ และการท�ำ รายงาน วิชาการ Concept and principles of information literacy, resources and information sources, information needs analysis, information search query, information evaluation, ethic and fair use, referencing, and writing academic report 1631105 ทกั ษะจ�ำ เปน็ ของนักสารสนเทศในยุคดจิ ทิ ลั 3(2-2-5) Necessary Skills of Information Professional in Digital Age แนวคดิ และหลกั การของทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ทกั ษะทจี่ �ำ เปน็ ในการท�ำ งานยคุ ดจิ ทิ ลั ของบรรณารกั ษ์ และนกั วชิ าชพี สารสนเทศ อาทิ การแกป้ ญั หาทซ่ี บั ซอ้ น การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ ความคดิ สรา้ งสรรค์ การบรหิ าร บคุ คล การรว่ มมอื กบั ผอู้ น่ื ความฉลาดทางอารมณ์ การลงความเหน็ และการตดั สนิ ใจ การใสใ่ จความตอ้ งการของลกู คา้ การต่อรอง และความยืดหย่นุ ทางปญั ญา Concepts and principles of 21st century skills, neccessary working skills of librarians and information professionals in digital age such as solving complex problems, critical thinking, creativity, personnel management, collaboration with others, emotional intelligence, judgments and decisions, customer care, negotiation, and intellectual flexibility 1631207 การพฒั นาทรพั ยากรหอ้ งสมุด 3(2-2-5) Collection Development แนวคดิ และหลกั การของการพฒั นาทรพั ยากรหอ้ งสมดุ ประเภท ลกั ษณะของทรพั ยากรสารสนเทศ รวม ถงึ ทรัพยากรสารสนเทศดิจทิ ัล แหลง่ ทรพั ยากรสารสนเทศ กระบวนการพัฒนา ทรัพยากรห้องสมุด ความร่วมมือ และเครอื ขา่ ยดา้ นการพฒั นาทรพั ยากรหอ้ งสมดุ การจดั ท�ำ ขอ้ ก�ำ หนด ของผวู้ า่ จา้ ง การเจรจาตอ่ รอง การประยกุ ต์ เทคโนโลยสี ารสนเทศในการพัฒนาทรพั ยากรหอ้ งสมดุ จริยธรรมในการใชส้ ารสนเทศดจิ ิทลั Concepts and principles of information resources development, types and characteristics of information resources, digital collection, information sources, processes of information resources development, collaboration and network for information resources development, term of reference, negotiation, application of information technology for information resources development, ethics use of digital information 19

1631208 การทำ�รายการทรัพยากรสารสนเทศ 3(2-2-5) Information Resources Cataloging แนวคิดและหลักการของการทำ�รายการทรัพยากรสารสนเทศ หลักเกณฑ์การทำ�รายการทรัพยากร สารสนเทศรปู แบบแองโกลอเมรกิ นั เมตะดาตา และอารด์ เี อ เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการท�ำ รายการ ทรพั ยากรสารสนเทศ การทำ�รายการทรพั ยากรสารสนเทศด้วยระบบคอมพวิ เตอร์ (MARC) Concepts and principles of information resources cataloging, rules of information resources cataloging using Anglo-American Cataloguing Rules (AACR), metadata, and resource description and access (RDA), tools for information resources cataloging, information resources cataloging with machine-readable cataloging (MARC) 1631306 การสง่ เสริมการอ่านและการเรียนร้ตู ลอดชีวิต 3(2-2-5) Promotion of Reading and Lifelong Learning แนวคดิ และหลกั การของการอา่ นและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ พฤติกรรมการอา่ น เทคนคิ การอา่ น ทกั ษะ การอ่านเพ่ือให้เขา้ ใจและเขา้ ถงึ องค์ความรู้ ทักษะการอา่ นเพอ่ื สร้างปญั ญา ปญั หาการอา่ น ของบุคคลกลมุ่ ต่าง ๆ การจัดบริการและกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นและการเรียนรตู้ ลอดชีวติ Concepts and principles of reading and lifelong learning, reading behavior, reading techniques, reading skills to understand and access knowledge, reading skills to create wisdom, reading problems of various groups, services and activities to promote reading and lifelong learning 1631307 การบริการสารสนเทศ 3(3-0-6) Information Services แนวคดิ และหลกั การของการบรกิ ารหอ้ งสมดุ การบรกิ ารสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ และสอ่ื ดจิ ทิ ลั ประเภทของการบรกิ าร ความตอ้ งการสารสนเทศและบรกิ าร วัฏจักรของห้องสมดุ และการบรกิ าร การออกแบบ บรกิ ารสารสนเทศ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในงานบริการห้องสมุด กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับห้องสมุดและการบริการ จิตบริการ แนวโน้มของการบริการสารสนเทศ นวตั กรรมการบริการสารสนเทศ Concepts and principles of library services, printed media and digital mediaservices, type of services, information and service requirements, library and service circle,information service design, ICT usage in library services, law related to library and services, service mind, trend to library services, information service innovations 1631308 การค้นคนื สารสนเทศและบริการอา้ งอิง 3(2-2-5) Information Retrieval and Reference Services แนวคดิ และหลกั การคน้ หาขอ้ มลู พน้ื ฐาน เทคนคิ การคน้ คนื สารสนเทศขน้ั สงู การเลอื กฐานขอ้ มลู การใช้ ระบบสารสนเทศตา่ ง ๆ การประเมนิ ผลการสบื คน้ ปรชั ญาของการบรกิ ารอา้ งองิ การวเิ คราะหค์ �ำ ถาม การสมั ภาษณ์ การใหบ้ ริการอา้ งอิง การบรกิ ารอา้ งอิงแบบเสมือน บทบาท ของผูใ้ หบ้ รกิ ารอ้างอิงในสังคมดจิ ิทัล Concepts and principles of searching, strategies of advanced information retrieval, database selections, types of information systems, evaluations of information retrieval, philosophies of reference services, question analysis, interviews, reference services, virtual reference services, roles of librarians in digital society 1631603 การอา่ นภาษาองั กฤษส�ำ หรับนกั สารสนเทศ 3(3-0-6) English Reading for Information Professional ทบทวนโครงสร้างประโยค ฝึกหาใจความสำ�คัญและคำ�สำ�คัญ การตีความและสรุปความการใช้ พจนานุกรมและคำ�ศพั ทส์ มั พนั ธ์ ศกึ ษาคำ�ศพั ทแ์ ละสำ�นวน ฝึกอ่านบทความวชิ าการและบทความ ทั่วไปทางด้าน บรรณารักษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ ฝกึ อา่ นงานเขียนประเภทอนื่ ๆ Reviewing sentence structures, identifying main idea and key words, content interpretation and summary, usage of dictionary and thesaurus, studying vocabularies and idioms, reading academic and non-academic articles related with library and information science, reading various types of documents 20

1631604 การเขียนภาษาองั กฤษส�ำ หรบั นักสารสนเทศ 3(3-0-6) English Writing for Information Professional ทบทวนไวยากรณ์พ้ืนฐานภาษาอังกฤษ ศึกษาและวิเคราะห์โครงสร้างประโยคและประโยคตัวอย่าง ประเภทตา่ ง ๆ ฝึกเขียนประโยคความเดยี ว ประโยคความรวม ประโยคความซ้อน ประโยคความ รวมและประโยค ความซอ้ น ศกึ ษาสว่ นประกอบของการเขยี นยอ่ หนา้ ฝกึ เขยี นยอ่ หนา้ ศกึ ษาโครงสรา้ ง ของการเขยี นเรยี งความ ฝกึ เขยี น เรียงความทั่วไปและท่เี กี่ยวกบั บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ Reviewing english grammar, studying and analyzing sentence structures and various sentence examples, writing simple, compound, complex and compound-complex sentences, studying elements of a paragraph, writing paragraphs, studying structure of an essay, writing essays for general and library and information science purposes 1631605 ภาษาอังกฤษเพ่ือการบรกิ ารผใู้ ช้ 3(3-0-6) English for User Service การใชภ้ าษาองั กฤษเพอื่ การสอื่ สารในงานบรกิ าร การสนทนาตามสถานการณ์ ค�ำ ศพั ทเ์ กย่ี วกบั การบรกิ าร มารยาทการบรกิ าร การกล่าวทกั ทาย การเสนอความช่วยเหลือผู้ใช้ การจดั การ ขอ้ รอ้ งเรยี น การนำ�เสนอบรกิ าร English communication for user service, conversation on situational, vocabularies related service, manner, greeting, offering help to user, handling with complaints, service presentation 1632209 การจดั หม่ทู รัพยากรสารสนเทศ 3(2-2-5) Information Resources Classification แนวคิด หลักการและหลักเกณฑ์ของการจดั หมูท่ รัพยากรสารสนเทศ การจัดหมู่ทรพั ยากรสารสนเทศ ดว้ ยระบบทศนิยมดิวอ้ี การกำ�หนดสญั ลกั ษณแ์ ทนเนอื้ หาของทรพั ยากรสารสนเทศ และการวิเคราะห์เรอ่ื ง Concepts, principles, and rules for cataloging and classification of information resources with Dewey Decimal System, symbols definition representing information resources, subject analysis 1632313 การพัฒนาเว็บหอ้ งสมุดและสารสนเทศ 3(2-2-5) Library and Information Web Development แนวคดิ และหลกั การของการพฒั นาเวบ็ โครงสรา้ งเวบ็ การออกแบบเวบ็ การจดั การเนอื้ หาบนเวบ็ การ ประชาสมั พนั ธแ์ ละการตลาดบนเวบ็ การประเมนิ และการดแู ลรกั ษาเนอ้ื หาบนเวบ็ การใช้ โปรแกรมออกแบบและ จดั การเน้ือหาบนเวบ็ จริยธรรมทีเ่ กีย่ วข้องกบั การพัฒนาเวบ็ Concepts and principles of web development, web structures, web design, web content management, public relations and information marketing on web, web evaluation, maintaining web content, using web design and content management software, the ethics involved in web development 1632402 การจดั การห้องสมุดและองคก์ รสารสนเทศ 3(2-2-5) Library and Information Organization Management แนวคดิ และหลกั การของการจดั การหอ้ งสมดุ และองคก์ รสารสนเทศ การวางแผน การจดั การทรพั ยากร มนษุ ย์ การจดั การงบประมาณ การจดั การความเปลย่ี นแปลง การจดั การความเสยี่ ง ภาวะผนู้ �ำ และการจงู ใจ เครอ่ื งมอื ส�ำ หรับการบริหารจดั การห้องสมุดสมยั ใหม่ องค์กรสารสนเทศดจิ ทิ ลั เทคนคิ การส่อื สารทางวชิ าการ มาตรฐาน และการประกนั คณุ ภาพห้องสมดุ และองค์กรสารสนเทศ Concepts and principles of library and information organization management, planning, human resources management, budget management, change management, risk management, leadership and motivation, trend to library administration tools, digital information organization, communication techniques for scholar, standard and quality assurance of libraries and information organizations 21

1633121 การจดั การฐานขอ้ มูลหอ้ งสมุดและสารสนเทศ 3(2-2-5) Library Database Management and Information โครงสรา้ งขอ้ มลู ระบบการจดั การฐานขอ้ มลู แบบจ�ำ ลองขอ้ มลู แนวคดิ และหลกั การออกแบบหอ้ งสมดุ และสารสนเทศทด่ี ี เทคนคิ การท�ำ ใหเ้ ปน็ บรรทดั ฐาน แผนผงั ความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู ภาษา แบบสอบถาม พจนานกุ รม ข้อมูล ความปลอดภัยของฐานข้อมลู การใชโ้ ปรแกรมประยุกต์ในการจดั การ ฐานข้อมลู ห้องสมุดและสารสนเทศ Data structure, database management systems, database models, database system development for library and information, data normalization techniques, entity relationship, query languages, data dictionary, database security, the use of application software for library database management and information 1633124 พ้นื ฐานการเริ่มตน้ ธรุ กจิ สารสนเทศ 3(3-0-6) Introduction to Starting Information Business แนวคดิ และหลกั การเรมิ่ ตน้ ธรุ กจิ สารสนเทศ องคป์ ระกอบของการเรมิ่ ตน้ ธรุ กจิ กระบวนการเรม่ิ ตน้ ธรุ กจิ วัฎจักรของธรุ กิจสารสนเทศ กฎหมายพ้นื ฐานสำ�หรบั การเริ่มต้นธรุ กิจสารสนเทศ Concepts and principles of starting an information business, elements of starting a business, the process of starting a business, information business cycle, basic law for starting an information business 1633417 การประชาสมั พนั ธ์และการตลาดสารสนเทศ 3(2-2-5) Public Relations and Information Marketing แนวคิดและหลักการของการประชาสัมพันธ์และการตลาดสารสนเทศ กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ และการตลาดสารสนเทศ การสร้างตราสินค้า การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ ของการประชาสัมพันธ์ และการตลาดสารสนเทศ คุณธรรมและจริยธรรมของการประชาสัมพันธ์ และการตลาดสารสนเทศกรณีศึกษา การประชาสัมพนั ธแ์ ละการตลาดสารสนเทศส�ำ หรับห้องสมุด และองค์กรสารสนเทศ Concepts and principles of public relations and information marketing, strategies of public relations and information marketing, customer relationship management, relationship of public relations and information marketing, morality and ethics of public relations and information marketing, case studies on public relations and information marketing for libraries and information organizations 1633418 การจดั การความรู้ในองค์กรสารสนเทศ 3(3-0-6) Knowledge Management in Information Organization แนวคิดและหลักการการจัดการความรู้ กระบวนการและรูปแบบการจัดการความรู้ ระบบสารสนเทศ เพอื่ การจัดการความรู้ องคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ โครงสร้างพ้ืนฐานของการจัดการความรู้ ปฏบิ ตั ิการ จัดการความรู้ การวดั และประเมินผล คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมส�ำ หรับนกั จดั การความรู้ Concepts and principles of knowledge management, process and knowledge management model, information system for knowledge management, organization of learning, basic structure of knowledge management, action for knowledge management,measurement and evaluation, moral and ethics for knowledge managers 1634419 เทคโนโลยีและส่ือใหม่ในหอ้ งสมุด 3(3-0-6) Technologies and New Medias in Library แนวคดิ และหลกั การของเทคโนโลยแี ละสอ่ื ใหมใ่ นหอ้ งสมดุ พฒั นาการ ประเภทของเทคโนโลยแี ละสอ่ื ใหม ่ในหอ้ งสมดุ การวางแผน ทกั ษะการใชง้ าน การประเมนิ การบ�ำ รงุ รกั ษา ผลกระทบของ เทคโนโลยใี นหอ้ งสมดุ และ แนวโน้มของเทคโนโลยีและสือ่ ใหม่ในห้องสมดุ Concepts and principles of library technologies and new medias, evolution, types of library technologies and new medias, planning, application skills, evaluation, maintenance, the impact of library technologies, and the trend of library technologies and new medias 22

1634903 สมั มนาทางบรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ 3(2-2-5) Seminar in Library and Information Science รปู แบบและวธิ กี ารจดั สมั มนา ประเดน็ ส�ำ คญั ทเี่ กยี่ วกบั วชิ าชพี บรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ การนำ�เสนอและอภิปราย กรณศี ึกษาทางบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ Models and methods for seminar organization, important issues on library and information science, presentation and discussion of case studies on library and information science 1632102 พ้นื ฐานการจัดการขอ้ มลู 3(3-0-6) Introduction to Data Management แนวคิดพื้นฐานด้านการจัดการข้อมูล ประโยชน์ของข้อมูล การเพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้วยข้อมูล ซอฟตแ์ วรแ์ ละเทคโนโลยสี มยั ใหมใ่ นการจดั การ วเิ คราะห์ เกบ็ รวบรวม แสดงผลขอ้ มลู เทคนคิ พน้ื ฐานการวเิ คราะห์ ข้อมูล การประยุกตก์ ารจัดการขอ้ มูลในการแกป้ ัญหา Basic concepts of data management, usefulness of data, Increasing competition with information, the software and modern technology in the management, analysis, collection, data output, basic techniques of data analysis, the apply of data management in problem solving 1632210 การจดั หมู่ระบบหอสมุดรฐั สภาอเมริกัน 3(2-2-5) Library of Congress Classification แนวคดิ และหลักการของระบบการจดั หมขู่ องหอสมดุ รัฐสภาอเมริกัน การจดั หมู่หนังสอื ทางการแพทย์ การก�ำ หนดเลขหมู่ หวั เร่อื ง การใชฐ้ านข้อมูลออนไลนเ์ พ่อื การวิเคราะหเ์ ลขหมู่ Concepts and principles of Library of Congress classification system, National Library of Medicine classification, class number, subject headings, and the use of online database for classification analysis 1632314 การศกึ ษาผู้ใช ้ 3(2-2-5) User Studies แนวคดิ และหลกั การของการใชห้ อ้ งสมดุ และสารสนเทศ ความส�ำ คญั ของผใู้ ช้ จติ วทิ ยาผใู้ ชพ้ ฤตกิ รรมการ แสวงหาและการใชส้ ารสนเทศ เทคโนโลยใี หมส่ �ำ หรบั การวดั และการวเิ คราะหผ์ ใู้ ช้ การให้ การศกึ ษาผใู้ ช้ การสอ่ื สาร กับผูใ้ ช้ การประเมินการใช้ และกรณีศกึ ษาเกี่ยวกับการศึกษาผู้ใชห้ อ้ งสมุด และสารสนเทศ Concepts and principles of library and information usage, importance of users, users psychology, behaviors of information search and information usage, new technology for users evaluation and analysis, users education guides, communication with users, usage assessment and case studies concerned with library and information users studies 1632609 ภาษาไทยเพ่ือการสอ่ื สารในงานห้องสมุดและสารสนเทศ 3(3-0-6) Thai for Communication in Library and Information Work หลกั การสอ่ื สาร จติ วทิ ยาการสอ่ื สาร กลยทุ ธก์ ารสอ่ื สาร ทกั ษะการใชภ้ าษา ไดแ้ ก่ การพดู การฟงั การอา่ น การเขียนและการสรุปใจความสำ�คัญ ทกั ษะการคิด ได้แก่ การใชเ้ หตุผล การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การตคี วาม และการส่ือสาร การเขยี นงานทางวิชาการ การอา้ งองิ Communication principles, communication psychology, communication strategies, linguistic skills: speaking, listening, reading, writing and summarizing, thinking skills: reasoning, analyzing, synthesizing, interpreting and communicating, academic writing, referencing 23

1632610 ภาษาองั กฤษเพือ่ อาชีพ 3(3-0-6) English for Professional การสนทนาท่ีเก่ียวข้องกับการปฏิบัติงานในห้องสมุด การสมัครงาน การเขียนประวัติส่วนตัวการ สมั ภาษณ์งาน การติดตอ่ ผู้ใช้ การนำ�เสนองาน การรายงานผลการดำ�เนนิ งาน การจดั การประชุม Conversation related to library practices, job application, resume writing, job interviewing, user contacting, work presenting, results reporting, meeting arrangement 1633118 การเขยี นโปรแกรมขน้ั พ้ืนฐานสำ�หรับงานหอ้ งสมุดและสารสนเทศ 3(2-2-5) Basic Programming for Library and Information Work แนวคิดและหลักการของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ข้ันตอนของการพัฒนาโปรแกรม การเขียนผังงาน การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบอัลกอริทึม การฝกึ ปฏบิ ัตเิ ขยี นโปรแกรมสำ�หรับงานห้องสมดุ และสารสนเทศ Concepts and principles of computer programming, programming development process, flowchart writing, algorithm analysis and design, practice in programming for library and information work 1633123 การพัฒนาฐานข้อมลู บนเว็บห้องสมดุ และสารสนเทศ 3(2-2-5) Library and Information Web Database Development แนวคิดและหลักการของการพัฒนาฐานข้อมูลบนเว็บ การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูลบนเว็บ หอ้ งสมดุ และสารสนเทศ เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการเชอื่ มตอ่ ฐานขอ้ มลู กบั ระบบเครอื ขา่ ย เครอ่ื งมอื จดั การ ฐานขอ้ มลู บน เว็บ การฝกึ ปฏบิ ัตพิ ฒั นาฐานขอ้ มูลบนเวบ็ Concepts and principles of web database development, analysis and design of library and information web database, connecting tools to database and network systems, web database administration tools, practice in web database development 1633125 โปรแกรมประยกุ ตส์ ำ�หรับงานห้องสมดุ และสารสนเทศ 3(2-2-5) Application Software for Library and Information Work แนวคิดและหลักการของโปรแกรมประยุกต์ การใช้โปรแกรมประยุกต์ในงานห้องสมุดการบริการ การเผยแพร่ การสื่อสาร และการใชโ้ ปรแกรมห้องสมดุ อัตโนมตั ิ Concepts and principles of application software, using application software in library, services, dissemination, communication, and library automation usage 1633126 การวิเคราะหแ์ ละการออกแบบระบบงานหอ้ งสมุดและสารสนเทศ 3(2-2-5) Systems Analysis and Design for Library and Information Work แนวคิดและหลักการของการวิเคราะห์และการออกแบบระบบ ตัวแบบระบบและเทคนิคการวิเคราะห์ และการออกแบบระบบ การประเมนิ คัดเลอื กและจดั การระบบ กรณีศกึ ษาการวิเคราะห์ และการออกแบบระบบ ห้องสมุดอัตโนมัติ Concepts and principles of system analysis and design, system models and techniques of system analysis and design, evaluation, selection and management of system, case studies on system analysis and design for library automation 24

1633127 การวเิ คราะห์ส่อื และเครอื ขา่ ยสงั คม 3(2-2-5) Social Network and Media Analysis แนวคิดและหลกั การวิเคราะห์เครือขา่ ยสงั คมและสอ่ื สังคม การเกบ็ ข้อมลู บนเครือข่ายสังคมการตรวจ สอบและการวาดภาพนทิ ัศน์ของเครือข่ายสงั คม พลวตั และการเตบิ โตของเครือข่ายสังคม ความเช่อื มโยงของเครอื ขา่ ยสงั คม การสอื่ สารและการเผยแพรน่ วตั กรรมบนเครอื ขา่ ยสงั คม หลกั กฎหมาย เกยี่ วขอ้ งกบั สอ่ื และเครอื ขา่ ยสงั คม Concepts and principles for analyzing social networks and social media, data collection on social networks, examination and visualization of the social networks, the dynamics and growth of social networks, the link of social networks, communication and dissemination of innovations on social networks, principles of law relating to media and social networks 1633128 แหลง่ สารสนเทศและการบริการสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลย ี 3(2-2-5) มนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ Information Sources and Services in Science, Technology, Humanities, and Social Sciences สารสนเทศ แหลง่ สารสนเทศและการบรกิ ารสารสนเทศทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยมี นษุ ยศาสตรแ์ ละ สงั คมศาสตร์ เครือขา่ ย/ข่ายงานสารสนเทศ เทคนิคการคน้ คนื สารสนเทศในสาขาตา่ ง ๆ การจัดกิจกรรมและการ ประเมนิ การบรกิ ารสารสนเทศทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี มนษุ ยศาสตร์และ สงั คมศาสตร์ Information related to sciences, technology, humanities, and social sciences, information sources and services, network/information group, information retrieval techniques in various fields, activities and evaluation of information services for sciences, technology, humanities, and social sciences 1633129 การใชส้ ารสนเทศเพ่อื ความคดิ สร้างสรรค์และจินตนาการ 3(2-2-5) Use of Information for Creativity and Imagination ความหมายและความแตกตา่ งของความคดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และจนิ ตนาการ ประเภทของความคดิ ความคดิ แบบตรรกะ ความคดิ แบบมเี หตผุ ล การวเิ คราะห์ สงั เคราะหข์ อ้ มลู เพอ่ื ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละจนิ ตนาการ การน�ำ สารสนเทศมาใชอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล การน�ำ สารสนเทศมาใชใ้ นการคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละจนิ ตนาการ การใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรค์ 3 ระดับ การใช้ความคดิ โดยตรงกับข้อมลู สารสนเทศ การใช้ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ชงิ ซ้อน การใช้ความ คดิ สรา้ งสรรคแ์ ละจินตนาการกบั องค์ความรูใ้ หม่ การคิด สรา้ งองคค์ วามร้ใู หมแ่ ละนวตั กรรม Meaning and difference of ideas, creativity, and imagination, types of ideas, logical thinking, and rational thinking, information analysis and synthesis for creativity and imagination, reasonable use of information, application of bringing information in creative thinking and imagination, 3 levels of creativity use, direct creativity use, complex creativity use, application of new knowledge with creativity and imagination use, new knowledge creation and innovation 1633130 การจดั การขอ้ มลู สาธารณมต ิ 3(2-2-5) Data Management on Public Opinion Poll แนวคดิ ทฤษฎี ความหมาย ประเภท และบทบาทของสาธารณมติ กระบวนการส�ำ รวจสาธารณมติ อาทิ การรวบรวม การจดั เกบ็ การเผยแพร่ และการใชเ้ ทคโนโลยนี �ำ เสนอขอ้ มูลสาธารณมติ ตอ่ สงั คม กรณีศกึ ษาและ การส ารวจสาธารณมตภิ าคสนาม Concepts, theories, definitions, types and roles of public opinion poll, processes of conducting the poll such as gathering, storage, disseminating, and using technology for presenting public information to society, case studies and surveys of public opinion poll 25

1633206 การสร้างและการจดั การเนอ้ื หาสารสนเทศ 3(2-2-5) Information Content Creation and Management แนวคิดและหลักการของการสร้างและจัดการเน้ือหาสารสนเทศ การวิเคราะห์พฤติกรรมและ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย การสร้างและการปรับแต่งเนื้อหาสารสนเทศให้เหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมาย การใชเ้ ทคโนโลยเี พอื่ การสร้างและการจัดการเนื้อหาสารสนเทศ Concepts and principles of information content creation and management, analysis of behaviors and needs of the target groups, creation and repackaging of information content to match the needs of the target groups, the use of technology for information content creation and management 1633419 การจัดการสารสนเทศส�ำ หรับเดก็ 3(2-2-5) Information Management for Children แนวคดิ และหลกั การเกย่ี วกบั สารสนเทศส�ำ หรบั เดก็ พฒั นาการของเดก็ จติ วทิ ยาส�ำ หรบั เดก็ พฤตกิ รรม และความตอ้ งการสารสนเทศของเดก็ ประเภท รปู แบบและขอบขา่ ยเนอ้ื หาสารสนเทศส�ำ หรบั เดก็ แหลง่ ผลติ และ บริการสารสนเทศส�ำ หรับเด็ก การจดั การสารสนเทศสำ�หรับเด็ก กิจกรรมสง่ เสรมิ การใช้ สารสนเทศ บทบาทและ สมรรถนะของผใู้ ห้บรกิ ารและจริยธรรมท่เี กี่ยวข้องในสังคมดจิ ทิ ลั Concepts and principles of information for children, development of children, psychology for children, information and behavioral needs of children, types, format and scopes of content for children, information sources and services for children, information management for children, promotion of information usage, roles and capability of service providers, and related ethics in digital society 1634415 การจัดการสารสนเทศส�ำ หรับเยาวชน 3(2-2-5) Information Management for Youth แนวคดิ และหลกั การของการจดั การสารสนเทศส�ำ หรบั เยาวชน ความส�ำ คญั ของเยาวชนจติ วทิ ยาเยาวชน พฤตกิ รรมและความตอ้ งการสารสนเทศของเยาวชน ประเภท รปู แบบและขอบขา่ ยเนอื้ หา สารสนเทศส�ำ หรบั เยาวชน แหล่งผลิตและบริการสารสนเทศสำ�หรับเยาวชน การจัดการสารสนเทศสำ�หรับ เยาวชน กิจกรรมส่งเสริมการใช้ สารสนเทศ บทบาทและสมรรถนะของผู้ใหบ้ รกิ ารและจรยิ ธรรมท่ีเกยี่ วขอ้ ง ในสังคมดิจิทลั Concepts and principles of information management for youth, importance of youth, youth psychology, behaviors and information needs of youth, types, format and scopes of information content for youth, information sources and services for the youth, information management for youth, promotion of information usage, roles and capability of service providers, and related ethics in digital society 1634416 การจดั การสารสนเทศส�ำ หรบั ผู้สงู อายุ 3(2-2-5) Information Management for Elderly People แนวคดิ และหลกั การของการจดั การสารสนเทศส�ำ หรบั ผสู้ งู อายุ ความส�ำ คญั ของผสู้ งู อายุ จติ วทิ ยาผสู้ งู อายุ พฤตกิ รรมและความตอ้ งการสารสนเทศของผสู้ งู อายุ ประเภท รปู แบบและขอบขา่ ย เนอ้ื หาสารสนเทศส�ำ หรบั ผสู้ งู อายุ แหล่งผลติ และบริการสารสนเทศส�ำ หรบั ผสู้ งู อาย ุ การจัดการสารสนเทศ สำ�หรบั ผูส้ ูงอายุ กิจกรรมสง่ เสรมิ การใช้ สารสนเทศ บทบาทและสมรรถนะของผูใ้ ห้บรกิ ารและจรยิ ธรรม ที่เกี่ยวขอ้ งในสงั คมดิจิทัล Concepts and principles of information management for elderly people, importance of elderly people, aging psychology, behaviors and information needs of elderly people, types and scopes of information content for elderly people, information sources and services for elderly people, information management for elderly people, promotion of information usage, roles and capability of service providers and related ethics in digital society 26

1634417 การจดั การสารสนเทศสำ�หรบั ผู้ด้อยโอกาส 3(2-2-5) Information Management for the Disadvantaged แนวคิดและหลักการของการจัดการสารสนเทศสำ�หรับผู้ด้อยโอกาส ความสำ�คัญของผู้ด้อยโอกาส จิตวิทยาผู้ด้อยโอกาส พฤติกรรมและความต้องการสารสนเทศของผู้ด้อยโอกาส ประเภท รูปแบบและขอบข่าย เนอ้ื หาสารสนเทศส�ำ หรบั ผดู้ อ้ ยโอกาส แหลง่ ผลติ และบรกิ ารสารสนเทศส�ำ หรบั ผดู้ อ้ ยโอกาส การจดั การสารสนเทศ สำ�หรับผู้ด้อยโอกาส กิจกรรมส่งเสริมการใช้สารสนเทศ บทบาท และสมรรถนะของผู้ให้บริการและจริยธรรมท่ี เกยี่ วข้องในสงั คมดิจิทัล Concepts and principles of information management for the disadvantaged, importance of the disadvantaged, psychology of the disadvantaged, behaviors and information needs of the disadvantaged, types and scopes of information content for the disadvantaged, information sources and services for the disadvantaged, information management for the disadvantaged, promotion of information usage for the disadvantaged, roles and capability of service providers and related ethics in digital society 1634420 การจดั การโครงการห้องสมุดและสารสนเทศ 3(2-2-5) Library and Information Project Management ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโครงการ กระบวนการจัดการโครงการห้องสมุดและสารสนเทศ การประเมนิ ความต้องการจำ�เป็นของโครงการ การศึกษาความเป็นไปไดข้ องโครงการ การจดั การโครงการในดา้ น ทรัพยากรมนุษย์ การเงินและงบประมาณเพ่ือการบริหารจัดการโครงการ เคร่ืองมือและเทคโนโลยีการจัดการ โครงการ การประเมินโครงการห้องสมดุ และสารสนเทศ Introduction to project management, process of library and information project management, assessment of necessary need of project, project feasibility, project management of human resources, finance and budget for project management, tools and technology for project administration, evaluation of library and information projects 1634904 การวจิ ยั เบ้ืองต้นทางบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร ์ 3(2-2-5) Introduction to Research in Library and Information Science แนวคดิ และขอบเขตของการวจิ ยั ทางบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ ประเภทและรปู แบบของ การวจิ ยั ระเบยี บวธิ วี จิ ยั การออกแบบการวจิ ยั การเขยี นเคา้ โครงการวจิ ยั เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ ในการวจิ ยั การวเิ คราะหข์ อ้ มลู สถติ เิ พอ่ื การวจิ ยั การใชโ้ ปรแกรมส าเรจ็ รปู ทางสถติ เิ พอ่ื การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การเขยี นและเผยแพรร่ ายงานการวจิ ยั ทางบรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ Concepts and scope of library and information science researches, types and formats of researches, research methodology, research design, research proposal writing, research instrument, data analysis, research statistics, statistical package for data analysis, writing and dissemination of library and information science researches 1634806 การฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี บรรณารักษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ 5(450) Field Experience in Library and Information Science การฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นหอ้ งสมดุ และองคก์ รสารสนเทศ ประเดน็ ปญั หาและการแกไ้ ขปญั หาในสภาวะแวดลอ้ ม จรงิ ของห้องสมุดและองคก์ รสารสนเทศท้งั ภาครฐั และภาคเอกชน Field training in libraries and information organizations, issue management in real-life scenario of public and private libraries and information organizations 27

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ หลักสตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาภาษาและการสื่อสาร Suan Dusit

รหสะลาดขกับั าปสวรูตสรหิชิญะรลาดาศขญักบั ภาปิลสาาวรตปตูษชิญิรศราาี ศญาแบสลิลารตตปะรรกรศบณีาารัณสาสตรฑรอื่ กัติ บสษณั าศรฑาิตสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ 1. ช่อื หลักสตู ร หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาและการส่อื สาร ภาษาไทย : Bachelor of Arts Program in Language Literacy and Communication ภาษาองั กฤษ : 2. ชอื่ ปริญญา ภาษาไทย ชือ่ เต็ม : ศิลปศาสตรบณั ฑิต (ภาษาและการสอื่ สาร) ช่ือยอ่ : ศศ.บ. (ภาษาและการส่อื สาร) ภาษาอังกฤษ ชอ่ื เต็ม : Bachelor of Arts (Language Literacy and Communication) ช่อื ย่อ : B.A. (Language Literacy and Communication) 3. วตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สูตร 1) มีทักษะการสอื่ สารทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ สามารถฟงั พดู อ่าน และเขียนทง้ั สองภาษาได้ 2) มองเห็นคุณค่าและความสำ�คัญของการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับ สถานการณ์ 3) มีความเชี่ยวชาญในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่ออำ�นวยความสะดวกในการศึกษาและ การท�ำ งาน 4) มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี สามารถทำ�งานร่วมกันเป็นหมู่คณะ กล้าคิดกล้าแสดงออกแสดงบทบาทของผู้นำ�และ ผู้ตามที่ดี มีบุคลิกภาพตามวัฒนธรรมสวนดสุ ติ 5) มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ หน้าที่ เคารพกฎระเบียบขอ้ บงั คับ อยใู่ นระเบยี บวินัย และสามารถปรับตัวอย่รู ่วมกนั ในสังคมพหวุ ฒั นธรรมได้ 4. คณุ สมบตั ิของผูเ้ ขา้ ศึกษา 1) สำ�เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการ รับรองวทิ ยฐานะ 2) ผา่ นการคดั เลอื กบคุ คลเข้าศึกษาในสถาบนั อดุ มศึกษาระบบกลาง (Admissions) 3) ผ่านการคัดเลอื กตามเกณฑ์ของมหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต 4) ในกรณีที่เป็นนกั ศึกษาตา่ งประเทศจะตอ้ งสามารถพูด ฟงั อ่าน เขียน และเข้าใจภาษาไทยเป็นอยา่ งดี และ จะต้องมคี ุณสมบัติตามขอ้ 1) และ 2) หรือ 3) โดยจะตอ้ งผ่านการทดสอบของหลักสตู ร 5. อาชพี ที่สามารถประกอบได้หลังส�ำ เร็จการศกึ ษา 1) นกั วิชาการ ผสู้ อน และวทิ ยากรด้านภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 2) เจ้าหนา้ ทก่ี ระทรวงการต่างประเทศ พนกั งานในองคก์ รระหวา่ งประเทศ 3) พนกั งานต้อนรบั ภาคพืน้ ดิน ลูกเรือ 4) เลขานุการ 5) นกั ขา่ ว ผู้ประกาศขา่ ว ผดู้ �ำ เนินรายการ พิธกี ร 6) กองบรรณาธิการ นักพสิ ูจน์อักษร 7) นกั เขยี น นกั เขยี นประกาศโฆษณา นักประชาสมั พนั ธ์ 8) นักแปล ล่าม 9) อาชีพอื่น ๆ ทต่ี ้องใช้ทกั ษะและความรดู้ ้านภาษา (ภาษาไทย-ภาษาองั กฤษ) 29

โครงสร้างหลักสตู ร จำ�นวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมน่ ้อยกว่า 134 หนว่ ยกิต มสี ดั ส่วนจำ�นวนหนว่ ยกติ แยกตามหมวดวิชา และกล่มุ วิชา ดงั นี้ 1. หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป 33 หนว่ ยกิต 2. หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น 95 หนว่ ยกิต - กลุม่ วชิ าบงั คับ 71 หน่วยกิต - กลมุ่ วิชาเลือก 24 หนว่ ยกิต 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หนว่ ยกิต การจัดการเรียนการสอน 33 หน่วยกติ หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป 6(6-0-12) 1500119 ภาษาไทยเพอื่ พฒั นาความเปน็ ผรู้ อบร้ ู 4(4-0-8) Thai for Being Scholars 4(4-0-8) 1500120 ภาษาองั กฤษเพ่ือการน�ำ ตน 4(2-4-6) English for Self-direction 4(2-4-6) 1500121 ภาษาองั กฤษเพื่อการสะทอ้ นคิด 4(2-4-6) English for Reflective Thinking 4(2-4-6) 1500201 ความเปน็ สวนดุสติ 3(2-2-5) Suan Dusit Spirit 2500116 สงั คมอารยชน Civilized People Societies 2500117 พลเมืองไทยและพลโลกท่ีด ี Smart Thai and Global Citizens 4000112 วทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตรใ์ นชวี ิตประจ�ำ วนั Science and Mathematics in Daily Life 4000113 ความเขา้ ใจและการใช้ดิจิทัล Digital Literacy หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น 95 หน่วยกิต กล่มุ วชิ าบงั คบั 71 หน่วยกติ 1541115 หลักภาษาและการใชภ้ าษาไทย Thai Grammar and Language Usage 3(3-0-6) 1551138 หลักภาษาและการใช้ภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Grammar and Language Usage 3(3-0-6) 1551139 การออกเสียงเพื่อการสอื่ สาร 3(3-0-6) Pronunciation for Communication 3(3-0-6) 1541116 ศลิ ปะและลีลาของการอ่าน 3(3-0-6) Art and Style of Reading 3(3-0-6) 1541117 ศลิ ปะและลลี าของการฟังและการพดู Art and Style of Listening and Speaking 1541118 ศิลปะและลลี าของการเขยี น Art and Style of Writing 1531205 ภาษาเพอ่ื การปฏิสัมพันธท์ างสงั คม Language for Social Interaction 30

1551140 วากยสัมพันธ ์ 3(3-0-6) Syntax 3(3-0-6) 1542216 ภาษากบั สังคมไทยปจั จุบัน 3(3-0-6) Language and Modern Thai Society 3(3-0-6) 1552205 ภาษาเพอื่ การอาชพี 3(3-0-6) Language for Occupation 3(3-0-6) 1553406 ภาษาเพ่ือการบรกิ าร 3(2-2-5) Language for Hospitality Sector 3(3-0-6) 1542217 ภาษาเพ่ือการสอ่ื สารระหว่างวฒั นธรรม 3(2-2-5) Language for Intercultural Communication 3(3-0-6) 1542304 วัฒนธรรมอาเซียน 3(2-2-5) ASEAN Culture 3(2-2-5) 1542409 วรรณคดีวิจารณ ์ 3(2-2-5) Literature Criticism 3(2-2-5) 1552204 การแปลอังกฤษเปน็ ไทย 3(2-2-5) English to Thai Translation 5(0-30-0) 1543608 นวัตกรรมการสอื่ สารในยคุ ดจิ ทิ ลั Communication Innovation in the Digital Age 24 หนว่ ยกิต 1543225 ภาษาเพื่อการส่ือสารในองค์การ 3(3-0-6) Language for Organizational Communication           3(3-0-6) 1533201 ภาษามอื เบอื้ งตน้ เพอื่ การสอ่ื สาร 3(2-2-5) Introduction to Thai Sign Language for Communication 3(3-0-6) 1553407 การส่ือสารบนสอื่ สังคม 3(3-0-6) Communication on Social Media 1553215 การแปลไทยเป็นอังกฤษ 31 Thai to English Translation 1534203 การล่าม Interpretation 1544907 การวจิ ยั ทางภาษาและการสอ่ื สาร Research in Language Literacy and Communication 1534801 การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพทางภาษาและการส่ือสาร Field Experience in Language Literacy and Communication กลมุ่ วชิ าเลอื ก ไมน่ ้อยกว่า 1553132 การน�ำ เสนอและการพูดในท่ชี มุ ชน Presentation and Public Speaking 1533206 การพูดจูงใจทางธุรกิจ Persuasive Speaking for Business 1533204 การเลา่ เร่ืองดิจิทลั Digital Storytelling 1553131 การอภปิ รายและการโต้แยง้ Discussion and Debate 1553128 เทคนิคการอา่ น Reading Techniques

1553129 การอา่ นเพ่อื ความเข้าใจและการวพิ ากษ ์ 3(3-0-6) Reading for Comprehension and Criticism 3(3-0-6) 1533105 การอา่ นและการเขยี นในชีวิตประจำ�วัน 3(3-0-6) Reading and Writing in Daily Life 3(2-2-5) 1553127 การอ่านเขียนส่อื ดิจทิ ลั 3(3-0-6) Digital Media Literacy 3(2-2-5) 1533212 การย่อและการสรุปความ 3(2-2-5) Summary and Conclusion 3(3-0-6) 1553125 การเขียนอนุเฉท 3(3-0-6) Paragraph Writing 3(3-0-6) 1533203 การเขยี นวพิ ากษ์เชิงสรา้ งสรรค์ 3(3-0-6) Creative Criticism Writing 3(2-2-5) 1533202 การเขียนเชิงวชิ าการ 3(3-0-6) Academic Writing 3(2-2-5) 1533205 การเขยี นสารคดแี ละบนั เทงิ คดี 3(3-0-6) Non-Fiction and Fiction Writing 3(3-0-6) 1533107 ศิลปะและลีลาของการสื่อสาร 3(2-2-5) Art and Style of Communication 3(3-0-6) 1533106 จิตวทิ ยาการสือ่ สาร 3(2-2-5) Communication Psychology 3(3-0-6) 1543226 ภาษาศาสตร์เพอื่ การสอ่ื สาร 3(3-0-6) Linguistics for Communication 3(3-0-6) 1534205 ภาษามอื อเมรกิ ันเพอื่ การสื่อสาร American Sign Language for Communication 1534204 การสอ่ื สารกับการพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ Communication and Personality Development 1544908 สัมมนาภาษาและการสอื่ สาร Seminar in Language Literacy and Communication 1533207 วฒั นธรรมสมยั นยิ ม Popular Culture 1533208 คติชนเพ่อื การสร้างมลู คา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกิจ Folklore for Creation of Value-added Economy 1533209 ภาษาในศลิ ปะการแสดง Language in Performing Arts 1533210 การสรา้ งสรรคว์ รรณกรรมส�ำ หรับเดก็ Creation of Children Literary Work 1543227 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ Teaching Thai as a Foreign Language 1533108 ภาษากับศาสนา Language and Religion 1553626 ภาษาเพอ่ื การท่องเท่ียว Language for Tourism 1553627 ภาษาเพือ่ ธรุ กิจการบนิ Language for Airline Business 32

1553628 ภาษาเพอ่ื งานประชาสัมพนั ธ ์ 3(3-0-6) Language for Public Relations Work 3(3-0-6) 1553629 ภาษาและการส่ือสารผา่ นภาพยนตร์ 3(2-2-5) Language and Communication through Film 1554401 การศกึ ษาอิสระ Independent Study หมวดวชิ าเลือกเสรไี มน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ ให้เลอื กเรียนรายวชิ าอน่ื ๆ อีกไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ ในหลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรขี องมหาวิทยาลยั สวนดุสิต โดยไม่ซำ้�กับรายวิชาท่ีเคยเรียนมาแล้วและไม่เป็นรายวิชาท่ีกำ�หนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์ การสำ�เรจ็ หลักสตู ร 33

แผนการเรยี นตลอดหลกั สูตร นักศกึ ษารหัส 61 สาขาวชิ าภาษาและการสอื่ สาร ระดบั ปริญญาตรี จำ�นวนหน่วยกิตรวม 134 หนว่ ยกติ ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป หมวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป 1500120 ภาษาองั กฤษเพ่อื การน�ำ ตน 4(4-0-8) 1500119 ภาษาไทยเพื่อพฒั นา 6(6-0-12) 4000112 วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ 4(2-4-6) ความเปน็ ผรู้ อบร้ ู ในชวี ิตประจ�ำ วนั หมวดวิชาบังคบั หมวดวิชาบังคบั 1541117 ศิลปะและลีลาของการฟงั และ 3(3-0-6) 1541115 หลกั ภาษาและการใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) การพดู 1551138 หลกั ภาษาและการใช้ 3(3-0-6) 1541118 ศิลปะและลีลาของการเขียน 3(3-0-6) ภาษาอังกฤษ 1531205 ภาษาเพอื่ การปฏิสัมพันธ์ 3(3-0-6) 1551139 การออกเสียงเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) ทางสังคม 1541116 ศิลปะและลลี าของการอ่าน 3(3-0-6) 1551140 วากยสัมพนั ธ ์ 3(3-0-6) รวม 20 หนว่ ยกติ รวม 18 หน่วยกติ ปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป 1500121 ภาษาองั กฤษเพ่อื การสะท้อนคดิ 4(4-0-8) 1500201 ความเป็นสวนดสุ ติ 4(2-4-6) หมวดวิชาบังคับ 4000113 ความเข้าใจและการใช้ดิจิทลั 3(2-2-5) 1542216 ภาษากบั สงั คมไทยปจั จุบนั 3(3-0-6) หมวดวิชาบังคับ 1552205 ภาษาเพือ่ การอาชพี 3(3-0-6) 1542304 วฒั นธรรมอาเซียน 3(3-0-6) 1553406 ภาษาเพ่อื การบรกิ าร 3(3-0-6) 1542409 วรรณคดีวิจารณ์ 3(2-2-5) 1542217 ภาษาเพอ่ื การส่ือสาร 3(3-0-6) 1552204 การแปลอังกฤษเป็นไทย 3(3-0-6) ระหวา่ งวัฒนธรรม 1543608 นวัตกรรมการส่ือสาร 3(2-2-5) ในยุคดิจทิ ัล หมวดวชิ าเลอื กเสรี 3 นก. หมวดวชิ าเลอื กเสรี วชิ าเลือกเสรี 1 วิชาเลอื กเสรี 2 3 นก. รวม 19 หน่วยกิต รวม 22 หนว่ ยกติ 34

ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 ปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป หมวดวิชาบังคบั 2500116 สงั คมอารยชน 4(2-4-6) 1553407 การส่อื สารบนสือ่ สงั คม 3(2-2-5) 2500117 พลเมืองไทยและพลโลกทด่ี ี 4(2-4-6) 1553215 การแปลไทยเป็นองั กฤษ 3(2-2-5) หมวดวชิ าบงั คับ หมวดวิชาเลอื ก 1543225 ภาษาเพ่ือการสือ่ สารในองค์การ 3(3-0-6) วชิ าเลือก 3 3 นก. 1533201 ภาษามอื เบอ้ื งต้นเพอ่ื การสือ่ สาร 3(2-2-5) วชิ าเลอื ก 4 3 นก. หมวดวิชาเลอื ก วชิ าเลือก 5 3 นก. วิชาเลือก 1 3 นก. วิชาเลือก 6 3 นก. วชิ าเลือก 2 3 นก. รวม 20 หนว่ ยกติ รวม 18 หนว่ ยกติ ปีที่ 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 ปีท่ี 4 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 หมวดวชิ าบงั คับ หมวดวชิ าเฉพาะ 1534203 การลา่ ม 3(2-2-5) วชิ าประสบการณว์ ชิ าชพี 1544907 การวิจัยทางภาษาและ 3(2-2-5) 1534801 การฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ 5(0-30-0) การส่อื สาร ทางภาษาและการสือ่ สาร หมวดวชิ าเลือก วิชาเลือก 7 3 นก. วิชาเลอื ก 8 3 นก. รวม 12 หน่วยกิต รวม 5 หน่วยกติ 35

คำ�อธบิ ายรายวิชา สาขาวชิ าภาษาและการสื่อสาร 1541115 หลกั ภาษาและการใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) Thai Grammar and Language Usage การใชภ้ าษาไทยดา้ นเสยี งพยางค์ค�ำ วลีประโยคและภาษาตา่ งประเทศทส่ี มั พนั ธก์ บั ภาษาไทยส�ำ นวนไทย ภาษาสุภาพ ราชาศัพท์ หลักเกณฑ์การอ่านการเขียนคำ�ไทย ตลอดจนการใช้ภาษาตามระเบียบวิธีใช้ และตาม ความนยิ ม Thai use in sounds, syllables, words, phrases, sentences, and foreign languages related to Thai, expressions, polite languages, royal words, rules of reading and writing Thai, as well as language use according to methodology and trend 1551138 หลกั ภาษาและการใชภ้ าษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Grammar and Language Usage ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษพนื้ ฐาน ค�ำ นามและค�ำ ก�ำ กบั นาม ค�ำ สรรพนาม ค�ำ กรยิ า กาล และค�ำ ชว่ ยกรยิ า คำ�คณุ ศัพท์ ค�ำ วิเศษณ์ และการเปรียบเทียบ ค�ำ บพุ บท คำ�สนั ธาน การล�ำ ดับคำ�และการเรียบเรยี งประโยค และ โครงสร้างต่าง ๆ Fundamental English grammatical structures; nouns and determiners, pronouns, verbs, tenses, and model auxiliaries, adjectives, adverbs, and comparison, prepositions, conjunctions, word order and sentence organization as well as various structures 1551139 การออกเสยี งเพ่ือการสื่อสาร 3(3-0-6) Pronunciation for Communication ความรู้และทักษะการออกเสียงภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สัทอักษรสากล อวัยวะในการออกเสียง การเปลีย่ นแปลงเสียง การออกเสยี งสระ สระควบ พยัญชนะ พยัญชนะควบ และประโยค โดยเนน้ การออกเสียง สงู ตำ�่ และเสยี งหนกั เบาในคำ�และประโยค ฝึกการออกเสยี งจากสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ด้วยตนเอง Knowledge and skills in Thai and English pronunciation, International Phonetic Alphabets (IPA), articulation organs, liaisons, pronunciation of vowels, diphthongs, consonants, cluster consonants, and sentences with emphasis on making stresses and intonations in words and sentences, self- practice pronouncing English from various electronic media 1541116 ศลิ ปะและลีลาของการอา่ น 3(3-0-6) Art and Style of Reading หลกั การและกระบวนการอา่ น การอา่ นเพ่อื จับใจความสำ�คัญ การอา่ นวเิ คราะห์สาร การอ่านตคี วาม การอา่ นวนิ จิ สาร การอา่ นอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และประเมนิ คณุ คา่ จากสง่ิ ทอี่ า่ น โดยคดั สรรจากบทความภาษาไทย และภาษาองั กฤษทเ่ี หมาะสมกบั ผูเ้ รียนและจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การพัฒนาการอ่าน Principles and processes of reading, reading for getting main idea, analytical reading, interpretative reading, reading diagnosis, critical reading, and evaluating value from what to read by selecting from appropriated Thai and English article for learners and providing activities to promote reading development 36

1541117 ศลิ ปะและลีลาของการฟังและการพูด 3(3-0-6) Art and Style of Listening and Speaking หลักการและเทคนิคการฟังอย่างมีวิจารณญาณและการพูดในชีวิตประจำ�วัน การฟังเพ่ือจับใจความ ส�ำ คญั การฟงั วเิ คราะหส์ าร การฟงั ตคี วาม และการฟงั ประเมนิ คา่ การใชน้ �้ำ เสยี ง จงั หวะ ลลี าการพดู กริ ยิ าทา่ ทาง และบุคลิกภาพ เพอื่ การบรรยาย การอภปิ ราย สมั มนา ปาฐกถา ตลอดจนฝกึ การฟังและการพดู ภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษในโอกาสและสถานการณต์ ่าง ๆ Principles and techniques of critical listening and speaking in daily life, listening for getting main idea, analytical listening, interpretative listening, listening for evaluation, use of tones, rhythms, speaking styles, motions and personalities for narration, discussion, seminar, and speech, as well as practice listening and speaking Thai and English in various opportunities and situations 1541118 ศิลปะและลีลาของการเขียน 3(3-0-6) Art and Style of Writing หลกั การและเทคนคิ การเขยี น การเปรยี บเทยี บระหวา่ งภาษาพดู กบั ภาษาเขยี น การใชค้ �ำ โวหาร ส�ำ นวน สภุ าษิต และค�ำ พังเพย ระบบการอ้างอิง ฝึกการเขียนเรอ่ื งภาษาไทยและภาษาอังกฤษจากประสบการณ์ อนุทนิ ชวี ประวตั ิ แนะน�ำ หนงั สอื หรอื แหลงทอ่ งเทย่ี ว เรอื่ งสน้ั บทความแสดงความคดิ เหน็ และวพิ ากษว์ จิ ารณอ์ ยา่ งมเี หตผุ ล Principles and techniques of writing, comparison of spoken and written language, use of words, locutions, expressions, proverbs, and aphorisms, reference systems, practice writing Thai and English stories from experiences, diaries, biographies, introducing book or tourist attraction, short stories, articles to express opinion and rationally criticize 1531205 ภาษาเพื่อการปฏิสมั พนั ธ์ทางสังคม 3(3-0-6) Language for Social Interaction บทสนทนาสัน้ ๆ และบทสนทนาภาษาไทยและภาษาองั กฤษเชงิ ลกึ เพือ่ การมปี ฏสิ มั พนั ธ์ทางสังคมใน สถานการณท์ เ่ี กดิ ข้ึนในชีวิตประจ�ำ วัน ไดแ้ ก่ การตอ้ นรบั แขก การพดู คยุ เร่อื งทว่ั ไปอย่างเป็นทางการ การวางแผน ทอ่ งเท่ยี วร่วมกนั และการพดู คุยแลกเปล่ยี นประสบการณ์ Short dialogues and extended Thai and English conversations for a variety of every day social interactions: welcoming visitors, engaging in small talk, planning travel, and sharing experiences 1551140 วากยสมั พนั ธ์ 3(3-0-6) Syntax การวิเคราะห์โครงสร้างของคำ� วลี อนุประโยค และประโยคในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ แก่นคำ� อปุ สรรค ปัจจัย หน่วยคำ� หนว่ ยคำ�ย่อย โครงสรา้ งวลีและประโยค และทฤษฎวี ากยสมั พันธ์ Analysis of structures of Thai and English words, phrases, clauses, and sentences, word roots, prefixes, suffixes, morphemes, allomorphs, phrasal and clausal structures, as well as syntactic theories 1542216 ภาษากับสงั คมไทยปัจจบุ ัน 3(3-0-6) Language and Modern Thai Society ลักษณะและความเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยและภาษาอังกฤษในสังคมไทยปัจจุบัน ภาษาในฐานะ เครื่องมอื การสื่อสารในสงั คม การศกึ ษาภาษาแชต ค�ำ ศพั ทว์ ัยรนุ่ และพจนานกุ รมคำ�ใหม่ ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาษาไทยและภาษาองั กฤษกบั สงั คมปจั จบุ นั การเปลย่ี นแปลงของภาษาตามบรบิ ทชองสงั คม โดยวเิ คราะห์อิทธิพลของสงั คมท่ีมตี ่อภาษา และอทิ ธิพลของภาษาท่มี ีตอ่ สงั คม Characteristics and changes of Thai and English in modern Thai society, languages as a tool for social communication, study of chat speak, vocabularies for teenager, and new word dictionary of Office of the Royal Society, relationship between Thai and English with modern society, language changes as social context by analyzing influences of society on language and vice versa 37

1552205 ภาษาเพื่อการอาชีพ 3(3-0-6) Language for Occupation การพูดและการเขียนเพ่ือการสื่อสารสำ�หรับสถานท่ีทำ�งานในสถานการณ์ต่าง ๆ การเริ่มบทสนทนา ต้อนรับลูกคา้ โทรศพั ท์ นดั หมาย ให้ค�ำ แนะนำ� จดบนั ทึก ตอบกลับจดหมาย การสัมภาษณ์งาน ฝกึ เขียนประวตั ิ ยอ่ จดหมายสมคั รงาน เอกสารทางราชการ รายงานการประชมุ โฆษณาข่าวและสารในวาระสำ�คญั ของหนว่ ยงาน ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การใช้เทคโนโลยีในสำ�นักงาน ฝึกพูดนำ�เสนอข้อมูลของตนเองและหน่วยงานเป็นภาษา ไทยและภาษาองั กฤษ ตลอดจนฝกึ ประชมุ ในสถานการณ์จ�ำ ลอง Workplaces oral and written communication in various situations: having conversations, receiving customers, telephoning, making appointments, giving directions, taking notes, replying mails, job interview, practice writing resumes, letters of application, official documents, transactions, job advertisements and archives in vital opportunities of organization, e-mails, technology use in the offices, practice oral presenting information of oneself and organization in Thai and English as well as meetings on simulation 1553406 ภาษาเพ่ือการบรกิ าร 3(3-0-6) Language for Hospitality Sector การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในรูปแบบตา่ ง ๆ เพ่อื สือ่ สารในบรบิ ทของบรกิ าร การสื่อสารแบบ เผชญิ หนา้ ทางโทรศัพท์ ออนไลน์ การกรอกแบบฟอรม์ ทางธรุ กิจ การเขียนเอกสารทางธรุ กิจ การจัดประชุมทาง ธรุ กิจ การตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของลูกค้า ตลอดจนการศึกษาวฒั นธรรมนานาชาติ โดยเน้นการสือ่ สารและ การแก้ปัญหาในสถานการณก์ ารท�ำ งานที่หลากหลาย Various functions of Thai and English use for communication in hospitality context, face- to-face, telephone, online communication, filling business forms, composing business documents, conducting business meeting, quick response auditing on customer requirements, as well as study of international cultures with focusing on communication and problem-solving in various work situations 1542217 ภาษาเพือ่ การส่อื สารระหว่างวฒั นธรรม 3(3-0-6) Language for Intercultural Communication ความเปน็ มา อิทธพิ ล และองคป์ ระกอบของการสื่อสารระหวา่ งวฒั นธรรม ความแตกตา่ งและการปรบั ตวั ทางภาษาและวฒั นธรรม การใช้วัจนภาษาและอวจั นภาษา การพัฒนาบคุ ลิกภาพ กระบวนการเสริมศกั ยภาพ เพ่ือการทำ�งานข้ามวัฒนธรรมอาเซียน แนวโน้มและประเด็นของการส่ือสารระหว่างวัฒนธรรมกับภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ Background, influences, and compositions of intercultural communication, differences and adaptation in language and culture, verbal and non-verbal languages uses, personality developments, scaffolding processes for work across ASEAN cultures, trends and issues of intercultural communication with Thai and English language 1542304 วัฒนธรรมอาเซียน 3(3-0-6) ASEAN Culture ความหมาย ความสำ�คญั ความเป็นมา และกำ�เนดิ ของวัฒนธรรม ลกั ษณะและความสมั พนั ธร์ ะหว่าง วฒั นธรรมไทยและอาเซียน การวเิ คราะห์ความเหมือนและความแตกตา่ งทางสังคม ภาษา วรรณกรรม วฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี น ประเพณี ต�ำ นาน พธิ กี รรม ความเชอื่ ระบบเศรษฐกจิ วถิ ชี วี ติ และขอ้ ควรปฏบิ ตั ขิ องแตล่ ะประเทศ ในกลุ่มประเทศอาเซยี น Definitions, importance, background, and origin of culture, characteristics and relationships between Thai and ASEAN cultures, analysis of similarities and differences in societies, languages, literary works, cultures, customs, traditions, mythologies rituals, beliefs, economic systems, ways of life, and regulations of each ASEAN country 38

1542409 วรรณคดีวิจารณ์ 3(2-2-5) Literature Criticism ลักษณะเด่นของวรรณคดีไทยและองั กฤษแต่ละสมยั ความรพู้ น้ื ฐานเกี่ยวกบั การวิเคราะห์และวจิ ารณ์ วรรณคดี แนวคิดและทฤษฎีการวิจารณ์วรรณคดี การฝึกวิจารณ์แนวประวัติ แนวปรัชญา แนวศีลธรรม แนว สนุ ทรยี ศาสตร์ แนวศิลปะ แนวสงั คม แนวจิตวทิ ยา แนวภาษาศาสตร์ แนวมานษุ ยวทิ ยา แนวใหม่ ทฤษฎรี สและ ทฤษฎีอลงั การ การเขียนบทวจิ ารณ์ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และการน�ำ เสนอในรปู แบบต่าง ๆ Distinctive characteristics of Thai and English literature in each era, fundamental knowledge about literature analysis and criticism, concepts and theories of literature criticism, practice criticizing in historical, philosophical, moralistic, aesthetic, artistic, sociological, psychological structuralist, anthropological, modern literary criticism, aesthetic experience (Indian theory of Rasa) and Alankara theory, writing a Thai and English critique paper, and presenting in various forms 1552204 การแปลองั กฤษเป็นไทย 3(3-0-6) English to Thai Translation หลกั การและวธิ กี ารแปล ฝกึ แปลค�ำ ศพั ท์ ประโยค ขอ้ เขยี น บทความประเภทตา่ ง ๆ จากภาษาองั กฤษ เปน็ ภาษาไทย การวเิ คราะหเ์ นอื้ หาของตน้ ฉบบั เพอื่ สรา้ งงานแปล ประเดน็ ปญั หาทพ่ี บบอ่ ยในการแปล วธิ แี กไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง ตลอดจนฝกึ หาข้อมลู และใช้เครื่องมอื เพ่ือชว่ ยในการแปล Principles and methods in translation, practice translating a variety of vocabularies, sentences, texts, articles from English to Thai, analysis of manuscripts to produce translation works, frequently- found problems in translation, how to solve these problems, as well as practice finding information and using tools for translating 1543608 นวัตกรรมการสือ่ สารในยุคดิจิทัล 3(2-2-5) Communication Innovation in the Digital Age นวัตกรรมด้านแนวคิด รูปแบบ เครื่องมือสำ�หรับการส่ือสารในที่ทำ�งานในยุคดิจิทัล การสื่อสารแบบ ประสานเวลาและไมป่ ระสานเวลา การน�ำ เครอื ขา่ ยสงั คม บลอ็ ก ไมโครบลอ็ ก ชมุ ชนเนอื้ หา วกิ ิ พอดแคสต์ กระดาน อภปิ ราย โลกเสมอื น การประชมุ ออนไลน์ และทค่ี ่ันหน้าทางสังคม ไปใช้เพ่อื ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อบริบทการสื่อสาร Innovations in concepts, models, tools for communication at work in the digital age, synchronous and asynchronous communication, implement of social network, blog, microblog, content community, wiki, podcast, forum, virtual world, online conference, and social bookmarking for the benefits of communication contexts. 1543225 ภาษาเพ่ือการส่ือสารในองค์การ 3(3-0-6) Language for Organizational Communications โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ แนวคิดและทฤษฎีการสื่อสาร การสร้างสัมพันธภาพ การใช้ภาษา ไทยและภาษาองั กฤษเพอื่ การปฏบิ ตั งิ านอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพภายใตบ้ รบิ ทของลกั ษณะงาน รปู แบบและวฒั นธรรม องคก์ ารทแ่ี ตกต่างกนั ทง้ั หน่วยงานภาครฐั และเอกชน ฝึกทักษะตามสถานการณก์ ารทำ�งานจริง   Organizational structures and cultures, concepts and theories of communication, relationship creation, Thai and English uses for effective working under different working context, patterns and, organizational cultures both governmental and non-governmental organizations, practice working skills in real work situations 39

1533201 ภาษามอื เบ้ืองตน้ เพ่อื การสื่อสาร 3(2-2-5) Introduction to Thai Sign Language for Communication ความหมาย ความเปน็ มา ประเภท และลักษณะทแี่ ตกต่างของภาษามือ โครงสร้างพน้ื ฐานของภาษา มอื ภาษาไทย และวฒั นธรรมของผทู้ ม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ ตลอดจนฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารใชภ้ าษามอื ภาษาไทยใน การส่ือสารเพอื่ ประโยชน์ในชีวิตประจำ�วนั Meaning, history, types and different characteristics, standard structure of Thai sign language, and hearing impaired person’s culture as well as to practice using Thai sign language for everyday use 1553407 การสือ่ สารบนสื่อสังคม 3(2-2-5) Communication on Social Media ความเปน็ มาและพฒั นาการของสอื่ สงั คม ประเภทของสอ่ื สงั คม กระบวนการสอ่ื สารออนไลนแ์ ละศลิ ปะ ภาษาบนอินเทอร์เน็ต อิทธิพลของส่ือสังคมที่มีต่อการส่ือสารในปัจจุบัน วิเคราะห์ผลกระทบเชิงบวกและลบของ การสอ่ื สารผ่านสอื่ สงั คมในดา้ นการเมอื ง การตลาด การศกึ ษา และการประยุกต์ใชภ้ าษาในบริบทออนไลนต์ ่าง ๆ ของการส่อื สารในยุคดจิ ิทลั Background, and developments of social media, types of social media, online communication process and language arts on the internet, influences of social media towards communication at present, analyzing positive and negative effects of communication via social media in political, marketing, educational sides, and application of language uses in various online contexts of communication in the digital age 1553215 การแปลไทยเป็นองั กฤษ 3(2-2-5) Thai to English Translation หลกั การ กระบวนการ และกลวธิ กี ารแปล บทบาทของการแปลในการสอื่ ความหมาย โดยเนน้ การศกึ ษา ความหมายของภาษาทมี่ าจากโครงสรา้ งทางไวยากรณ์ การใชภ้ าษาในบรบิ ทตา่ ง ๆ ความหมายโดยตรงและโดยนยั ของค�ำ กลมุ่ ค�ำ ทปี่ รากฏรว่ มกนั ความแตกตา่ งทางวฒั นธรรมอนั น�ำ ไปสคู่ วามแตกตา่ งของลลี าและการใชภ้ าษาตา่ ง ๆ ประเด็นปัญหาที่พบบ่อยในการแปล ฝึกแปลคำ�ศัพท์ ประโยค บทความประเภทต่างๆ จากภาษาไทยเป็นภาษา อังกฤษ Principles, processes, and strategies in translation, roles of translation in conveying meaning with focusing on studying the meanings of language come from grammatical structures, language uses in various contexts, denotation and connotation, collocation, cultural differences contributed to different styles and uses of language, frequently-found problems in translation, practicing translating vocabularies, sentences, and various types of articles from Thai to English 1534203 การล่าม 3(2-2-5) Interpretation ทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ใิ นการแปลแบบล่าม ประเภทของการแปลแบบลา่ ม การแปลปากเปล่าจากต้นฉบับ การแปลปากเปลา่ แบบเวน้ ชว่ ง และการแปลปากเปลา่ แบบฉบั พลนั การแปลแบบลา่ มจากภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาไทย และจากภาษาไทยเปน็ ภาษาอังกฤษในหวั ขอ้ ท่วั ไป Theory and practice in interpretation; modes of interpretation: sight translation, consecutive interpretation, simultaneous interpretation; interpretation from English to Thai and vice versa in general topics 40

1544907 การวจิ ัยทางภาษาและการสอื่ สาร 3(2-2-5) Research in Language Literacy and Communication ความหมายและความส�ำ คญั ของการวจิ ยั หลกั เบอื้ งตน้ ของการวจิ ยั ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั ทางภาษา การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ การเลอื กหวั ขอ้ และประเดน็ ทนี่ า่ สนใจ การเขยี นโครงการวจิ ยั การก�ำ หนดวตั ถปุ ระสงคแ์ ละ กรอบแนวคิด การทบทวนวรรณกรรมท่เี ก่ียวขอ้ งและการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จำ�แนก วิเคราะห์ และตคี วามขอ้ มลู เลอื กศึกษาและวจิ ัยทางภาษาไทยหรือภาษาองั กฤษ และนำ�เสนอผลการวิจยั ในรูปแบบตา่ ง ๆ Definitions and importance of research, basic principles of research, research methodologies in language, quantitative and qualitative researches, interesting topics and issues selection, research proposal writing, setting objective and conceptual framework, related literature review and data collection, classifying, analyzing, and interpreting data, choosing to study and doing research in any topic related to Thai or English as well as presenting research findings in various forms 1534801 การฝึกประสบการณ์วชิ าชีพทางภาษาและการสื่อสาร 5(0-30-0) Field Experience in Language Literacy and Communication การฝึกงานกับองค์กรในประเทศหรือต่างประเทศ โดยนำ�ความรู้และทักษะทางภาษาไทยและภาษา องั กฤษไปใช้ในสถานการณข์ องการทำ�งานจรงิ Training with the organizations in Thailand or abroad by applying knowledge and skills in Thai or English into the real working situations 1553132 การน�ำ เสนอและการพดู ในทชี่ ุมชน 3(3-0-6) Presentation and Public Speaking การเรยี บเรยี งความคดิ องคป์ ระกอบในการสอ่ื สาร การวเิ คราะหผ์ ฟู้ งั และการโนม้ นา้ วใจ หลกั การและ การฝึกพูดในที่ชุมชนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ วิธีการนำ�เสนอปากเปล่า กลวิธีการสื่อสาร รวมถึงการใช้ วจั นภาษาและอวัจนภาษา ส่อื โสตทศั น์ ใช้น้ำ�เสยี ง และทา่ ทาง Idea organization, communication elements, oral presentation methods, audience analysis and persuasion, principles and practices of public speaking in Thai and English, communication strategies including using verbal, non-verbal language, audiovisual aids, tones, and gestures 1533206 การพดู จูงใจทางธรุ กิจ 3(3-0-6) Persuasive Speaking for Business หลักการพูดโน้มน้าวใจ การเจรจาต่อรอง กลวิธีการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อเปล่ียนแปลง ทัศนคติและพฤติกรรมของบุคคล ฝึกการพูดเพื่อขายและประชาสัมพันธ์ ประเมินประสิทธิผลของการพูดเพ่ือ การติดต่อส่ือสารทางธรุ กิจ ตลอดจนวิเคราะห์กลวิธกี ารพดู เพอ่ื เสนอขายสินคา้ และบรกิ ารจากสื่อตา่ ง ๆ Principles of persuasive speaking, negotiation, strategies in using Thai and English to change attitudes and behaviors of individuals, practice speaking for sale and public relations, evaluating efficiencies in speaking for business communication, as well as analyzing speaking techniques for selling products and services from various types of media 1533204 การเล่าเรือ่ งดจิ ิทัล 3(2-2-5) Digital Storytelling หลกั การเบอื้ งตน้ และแนวทางส�ำ หรบั การเขยี นเลา่ เรอ่ื ง การเขยี นผงั มโนทศั น์ องคป์ ระกอบและเทคนคิ การเลา่ เรือ่ งในรปู แบบต่าง ๆ การเลา่ เร่อื งดิจิทลั โดยใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรแ์ ละเทคนคิ การสร้างดิจทิ ลั วีดทิ ัศน์ ตลอดจนการน�ำ เทคนิคการเล่าเร่ืองดิจิทัลไปใช้ในการส่อื สารทางการศึกษาและทางธุรกจิ Basic principles and approaches for writing a storytelling, concept map writing, storytelling elements and techniques in various forms, digital storytelling with using software and techniques for making digital video, as well as applying digital storytelling techniques in educational and business communication 41

1553131 การอภิปรายและการโต้แยง้ 3(3-0-6) Discussion and Debate การอภปิ รายและการโตแ้ ยง้ เปน็ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษในหวั ขอ้ เหตกุ ารณป์ จั จบุ นั หรอื ประเดน็ ขอ้ ขดั แยง้ ใชก้ ลวธิ ใี นการสนทนาตา่ ง ๆ การเหน็ ดว้ ยและการไมเ่ หน็ ดว้ ย การขดั จงั หวะ การขอใหอ้ ธบิ ายเพม่ิ เตมิ การ ใชเ้ หตผุ ล พร้อมทง้ั การนำ�เสนอท่ีชดั เจนและเปน็ ระเบยี บ Thai and English discussions and debates on current events and controversial issues, using various conversational strategies; agreeing and disagreeing, interrupting, asking for more information, reasoning as well as well-organized and clearly expressed presentations 1553128 เทคนคิ การอา่ น 3(3-0-6) Reading Techniques เทคนคิ การอ่านประเภทต่าง ๆ ฝึกการอา่ นแบบกวาดสายตา การอ่านแบบหาขอ้ มูลเฉพาะ การอา่ น บทความภาษาไทยและภาษาองั กฤษโดยสงั เกตจากค�ำ ส�ำ คญั บรบิ ท ค�ำ เหมอื น คำ�ต่าง รากศัพท์ อปุ สรรค ปัจจยั และโครงสรา้ งประโยค เน้นทักษะการอา่ นในระดับค�ำ วลี ประโยค และอนุเฉท Reading techniques, practice scanning, skimming, reading Thai and English articles by using keywords, contexts, synonyms, antonyms, roots, prefixes, suffixes, and sentence structures, focusing on reading words, phrases, sentences, and paragraphs 1553129 การอา่ นเพอ่ื ความเข้าใจและการวิพากษ์ 3(3-0-6) Reading for Comprehension and Criticism หลกั การอา่ นระดับอนเุ ฉทและบทความเพ่อื จับใจความส�ำ คญั โดยตอบคำ�ถามวา่ ใคร ทำ�อะไร ที่ไหน เม่อื ไหร่ ทำ�ไม อยา่ งไร หลักการอา่ น เพื่อศกึ ษาขอ้ เทจ็ จริง เข้าใจคำ�ศัพท์ วิธีขยายวงศพั ท์ สำ�นวน ความหมายตรง ความหมายแฝง และความหมายระหวา่ งประโยคในบทความแบบพรรณนา แบบอธบิ ายยกตวั อยา่ ง แบบวเิ คราะห์ แบบเหตแุ ละผล และแบบเปรยี บเทยี บ วเิ คราะหร์ ปู แบบ การใชภ้ าษา ลลี า โวหาร การใชเ้ หตผุ ล ตรรกะ จดุ ยนื และ จดุ ประสงคข์ องผเู้ ขยี น แยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ ออกจากความคดิ เหน็ อนมุ าน แสดงความคดิ เหน็ สนบั สนนุ หรอื ตอ่ ตา้ น ความคิดในบทอ่าน ประเมินข้อเขยี นประเภทต่าง ๆ เพอ่ื การวิเคราะห์และวจิ ารณอ์ ย่างมเี หตผุ ล Principles of paragraph and article reading for getting the main ideas by to answering 5W1H, principles of critical reading, understanding vocabularies, word enlargement methods, expressions, annotations, connotations, and meaning in connected discourses in description, illustration, analysis, cause and effect, and comparison paragraphs, analyzing patterns language uses, styles, rhetoric, reasoning, logics, stances and objectives of the authors, distinguishing facts from opinions, make inferences, and express opinions to support or oppose the ideas in reading texts, evaluating various types of articles for analyzing and criticizing with reasons 1533105 การอา่ นและการเขียนในชีวติ ประจำ�วนั 3(3-0-6) Reading and Writing in Daily Life บทอ่านทม่ี กั พบในชีวิตประจำ�วนั ประเภทต่าง ๆ ป้าย ข้อความ ตาราง แผนภูมิ จดหมาย ไปรษณีย์ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ คำ�แนะน�ำ ตารางเวลา รายการอาหาร แบบฟอรม์ หนงั สือพิมพ์ โฆษณา โตต้ อบบทอา่ นประเภท ต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม ตอบคำ�ถาม จดบนั ทกึ ข้อความ ถอดความ สรุปความ ตอบกลับ กรอกแบบฟอร์ม Various types of texts routinely found in everyday life: signs, notes, tables, charts, letters, e-mails, instructions, schedules, menus, forms, labels, newspapers, advertisements; response to the various types of text appropriately: answering questions, note taking, paraphrasing, summarizing, replying, filling in the forms. 42

1553127 การอ่านเขยี นสือ่ ดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Media Literacy การสบื คน้ เขา้ ถงึ และประเมนิ ขอ้ มลู สรา้ งสรรคส์ ารสนเทศจากขอ้ มลู ทไี่ ดใ้ นรปู ของสอ่ื ดจิ ทิ ลั วเิ คราะห์ เนอ้ื หาและวธิ กี ารน�ำ เสนอความคดิ ของผเู้ ขยี น ฝกึ สรปุ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการอา่ นออนไลน์ และแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี ว กับสงิ่ ที่อ่านโดยผา่ นการเขียนเพื่อสื่อสารกบั ผู้คนต่างวฒั นธรรมบนส่อื สังคม Searching, accessing and evaluating data, creating information from retrieved data in forms of digital media, analyzing contents and author’s opinion presentation methods, practice summarizing form online reading as well as giving opinions about what to read through writing for communicating people of different cultures on social media 1533212 การยอ่ และการสรปุ ความ 3(2-2-5) Summary and Conclusion หลักการ รปู แบบ เทคนคิ การย่อความ การสรุปความ และการขยายความ ความรทู้ ่วั ไปของการเขียน คำ� ประโยค ยอ่ หนา้ ฝกึ การจับใจความสำ�คญั จากการฟังส่อื และการอา่ นสารประเภทต่าง ๆ ตลอดจนเขยี นสาระ สังเขปและบทตดั ตอน การสรปุ เน้อื หา ขา่ ว รายงาน และโครงการ Principles, patterns, techniques of summary, conclusion, and explanation, general knowledge of words, sentences, paragraphs writing, practice getting main idea from listening to different media and reading various types of documents as well as practice writing abstracts and extracts, and concluding contents, news, reports, and projects 1553125 การเขียนอนุเฉท 3(3-0-6) Paragraph Writing ความรเู้ กย่ี วกบั โครงสรา้ งประโยค ฝกึ เขยี นอนเุ ฉทเชงิ บรรยายและอธบิ ายดว้ ยประโยคใจความหลกั และ ประโยคสนบั สนนุ โดยใชค้ �ำ ศพั ท์ ค�ำ เชอ่ื มประโยค ไวยากรณ์ และเครอ่ื งหมายวรรคตอนทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสม ตลอด จนรวบรวมและเรียบเรยี งความคิดเพื่อถา่ ยทอดเป็นย่อหน้าภาษาไทยและภาษาองั กฤษประเภทต่าง ๆ Knowledge of sentence structures, practice writing paragraphs for narration and description with topic sentences and supporting sentences by using vocabularies, sentence connectors, grammatical structures, and punctuation marks correctly and appropriately as well as gathering and ordering idea to express it in different types of Thai and English paragraph 1533203 การเขยี นวิพากษ์เชงิ สรา้ งสรรค ์ 3(2-2-5) Creative Criticism Writing แนวคิด องค์ประกอบ และกระบวนการของการเขียนวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์ โดยระบุประเด็นสำ�คัญ ระดมสมอง ท�ำ แผนผังความคดิ และแผนผงั มโนทศั น์ วางโครงเรือ่ งและพจิ ารณาหลักฐานสนับสนนุ กำ�หนดแหล่ง ขอ้ มลู วธิ กี ารจดั ระเบยี บแนวคดิ และกลวธิ กี ารเขยี น ออกแบบเอกสาร น�ำ เสนอผลงานงานเขยี นภาษาไทยและภาษา อังกฤษ และใชส้ ่ือสังคมเพื่อพัฒนาและประเมนิ ผลงานการเขียน Concepts, elements, and processes of creative criticism writing with identifying issues, brainstorming, making mind map and concept map, setting outlines and considering supporting evidences, specifying resources, idea organization methods and writing strategies, designing document, presenting Thai and English written work, and using social media to develop and evaluate pieces of written work 43

1533202 การเขยี นเชิงวชิ าการ 3(2-2-5) Academic Writing หลักการเขียนเชิงวิชาการ ส่วนประกอบ การเลอื กเร่อื ง การวางโครงเร่อื ง การพจิ ารณาและรวบรวม ขอ้ มลู เพอื่ น�ำ มาวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์ เทคนคิ การเขยี น ฝกึ การเขยี นงานวชิ าการและเรยี บเรยี งผลงานเปน็ ภาษา ไทยและภาษาอังกฤษ การเขยี นบรรณานกุ รม และแนวทางการพฒั นาการเขยี นในงานวิชาการระดับสูง Principles of academic writing, components, topic selections, plots, information consideration and collection for analysis and synthesis, writing techniques, practice writing Thai and English academic works and compositions, writing reference lists, and writing development approaches in higher academic works 1533205 การเขียนสารคดีและบนั เทงิ คด ี 3(3-0-6) Non-Fiction and Fiction Writing ความหมาย ความสำ�คญั ลกั ษณะ องค์ประกอบ รปู แบบและประเภทการเขยี นสารคดีและบนั เทิงคดี ฝกึ การเขยี นสารคดีประวัติบคุ คล สารคดที ่องเท่ียว การเขยี นเรอื่ งสั้น นิทาน และบทละคร ตลอดจนตรวจแก้ไข ตน้ ฉบับและเผยแพร่งานเขียนในสือ่ ส่งิ พมิ พแ์ ละสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ Definitions, importance, characteristics, elements, patterns and types of non-fiction and fiction writing, practice writing biography, travelogue, short story, tale, and play, as well as editing manuscripts and publishing written works in print and electronic media 1533107 ศลิ ปะและลลี าของการสอ่ื สาร 3(3-0-6) Art and Style of Communication แนวคิดและทฤษฎีของการสื่อสาร การสร้างสัญลักษณ์ การแปลความหมายและปฏิสัมพันธ์ในการ ส่ือสาร การส่ือสารในฐานะวาทกรรม พลวัตและความสัมพันธ์ของอำ�นาจในการสื่อสาร ความแตกต่างระหว่าง ศิลปะและลีลาของการสื่อสาร การใหเ้ หตุผลในการโต้แยง้ การประนีประนอม การพัฒนาการสอื่ สารด้วยการพูด และการเขยี นภาษาไทยและภาษาองั กฤษ การสื่อสารในระบบดจิ ทิ ลั จริยธรรมและมารยาทท่ดี ขี องการสือ่ สาร Concepts and theories of communication, symbol creation, interpretation and interaction in communication, communication as discourse, dynamics and relationships of power in communication, differences between arts and styles of communication, reasoning in argumentation, compromise, communication developments with spoken and written Thai and English, communication in digital system, ethics and good manners of communication 1533106 จิตวิทยาการสื่อสาร 3(3-0-6) Communication Psychology พฤตกิ รรมการสอ่ื สาร อทิ ธพิ ลของการสอื่ สาร กลยทุ ธใ์ นการสอ่ื สาร การสรา้ งปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล ภาษากาย จิตวิทยากับการใช้ภาษาและการสื่อสาร การสร้างความประทับใจแรก ทฤษฎีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ทฤษฎกี ารจูงใจ การแก้ปัญหาและการขจัดความขดั แยง้ Communication behavior, Influence of communication, communicational strategies, interpersonal interaction, body language, psychology and language for communication, first-impression, transactional analysis, theory of human motivation, problem solving and conflict resolution. 1543226 ภาษาศาสตร์เพอ่ื การสื่อสาร 3(3-0-6) Linguistics for Communication ภาษากับการสอ่ื สาร ลักษณะท่วั ไปของภาษาศาสตร์ ระบบเสยี ง ระบบค�ำ ระบบกลุ่มค�ำ การวเิ คราะห์ ภาษาตามแนวภาษาศาสตร์ การใช้ความรู้ทางภาษาศาสตร์เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของการใช้ภาษาไทยกับภาษา อังกฤษ และวจนปฏิบตั ศิ าสตร์ Language and communication, general characteristics of linguistics, basic knowledge of phonology, morphology, phrase, analysis of language based on linguistic approaches, use of linguistic knowledge to solve errors of Thai and English uses, and pragmatics 44

1534205 ภาษามืออเมริกนั เพอื่ การส่อื สาร 3(2-2-5) American Sign Language for Communication ความเปน็ มา ประเภทและลกั ษณะของภาษามอื อเมริกนั โครงสร้างพื้นฐานของภาษามืออเมรกิ ัน และ วัฒนธรรมของภาษามืออเมริกัน ตลอดจนฝึกปฏิบัติการใช้ภาษามืออเมริกันในการส่ือสารเพื่อประโยชน์ในชีวิต ประจ�ำ วันและการประกอบอาชีพ History, types and different characteristics, standard structure of American sign language, and hearing impaired person’s culture as well as to practice using American sign language for everyday use 1534204 การส่อื สารกบั การพัฒนาบคุ ลิกภาพ 3(3-0-6) Communication and Personality Development การส่ือสารวัจนภาษาและอวัจนภาษาเพื่อพัฒนาบุคลิกลักษณะ ศิลปะการแต่งกาย การปฏิบัติตน ด้านสุขอนามัย ลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ในการปฏิบัติงาน และทักษะในการแสดงกิริยาท่าทางที่เหมาะสมตาม มารยาททางสังคม Verbal and non-verbal language communication for personality development, arts of grooming, practices of personal hygiene, desirable characteristics in working and appropriate gestures skills as social etiquette 1544908 สัมมนาภาษาและการสือ่ สาร 3(2-2-5) Seminar in Language Literacy and Communication หลกั การและวธิ กี ารจดั สมั มนาโดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ สมั พนั ธ์ วเิ คราะหป์ ระเดน็ ส�ำ คญั และสภาพปญั หา การใช้ภาษาไทยและภาษาองั กฤษกบั การสื่อสาร วธิ กี ารแก้ไข และสรปุ เป็นแนวทางพัฒนาเพอื่ นำ�เสนอในรปู แบบ การสมั มนาของนกั ศึกษา Principles and methods of seminar with using organized group process, analyzing key issues and problems of Thai and English uses and communication, problem solving methods, and concluding as development approaches for presenting in the form of undergraduate’s seminars 1533207 วฒั นธรรมสมัยนิยม 3(3-0-6) Popular Culture วรรณกรรมและวฒั นธรรมสมัยนยิ มรูปแบบต่าง ๆ ตั้งแต่คริสตศ์ ตวรรษที่ 19 ถึงปจั จบุ นั รวมถึงนิยาย นวนยิ าย บทกวี ภาพยนตร์ ละคร ซรี สี ์ เพลง เกม การต์ นู อนิ เทอรเ์ นต็ อาหาร ศลิ ปะ การแตง่ กายและแฟชน่ั และโฆษณา English in various types of popular literature and culture from 19th century to the present, including tales, novels, poems, films, dramas, series, songs, games, comics, internet, food, art, grooming and fashion, and advertisements 1533208 คติชนเพือ่ การสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ ทางเศรษฐกจิ 3(3-0-6) Folklore for Creation of Value-added Economy ความรู้พื้นฐานทางคติชนวิทยา ทฤษฎีคติชนวิทยา การเก็บรวบรวมข้อมูลและใช้ประโยชน์ข้อมูลทาง คตชิ นวิทยา ความเช่ือ พธิ กี รรม ต�ำ นาน เพลงพนื้ บา้ น งานศลิ ปะ ศิลปะการแสดง การประยุกต์ใชข้ อ้ มลู ทางคตชิ น ในภาพยนตร์ บทโทรทศั น์และสารคดี การสร้างมลู คา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกจิ เก่ียวกบั ข้อมลู ทางคติชน Basic knowledge of folklore; theories of folklore; collection and utilization of folk data; beliefs, rituals, legends, folk tale, folk song, folk arts, folk performing arts; folklore data application in films, TV scripts and documentary, folklore for creation of value-added economy 45

1533209 ภาษาในศลิ ปะการแสดง 3(2-2-5) Language in Performing Arts ความส�ำ คญั ของภาษาในวรรณกรรม ประเภทวรรณกรรม ประเภทศลิ ปะการแสดง การแปรรปู วรรณกรรม เพ่ือการแสดง การใช้วัจนภาษาและอวัจนภาษาเพื่อสื่อสารการแสดง ฝึกปฏิบัติเขียนบทและกำ�กับการแสดง Importance of language in literature; types of literature; types of performing arts; transformation of literature to performing arts; verbal and non-verbal language usage for communication of performing arts; practicum of script writing and performance directing 1533210 การสร้างสรรคว์ รรณกรรมสำ�หรับเด็ก 3(3-0-6) Creation of Children Literary Work ความรพู้ น้ื ฐานงานบนั เทงิ คดสี �ำ หรบั เดก็ กลวธิ กี ารประพนั ธ์ การใชภ้ าษา การสรา้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ผา่ นวรรณกรรมส�ำ หรบั เดก็ การประเมนิ คา่ วรรณกรรมส�ำ หรบั เดก็ การฝกึ สรา้ งสรรคง์ านเขยี นบนั เทงิ คดสี รา้ งสรรค์ ส�ำ หรับเด็กวยั ตา่ ง ๆ การออกแบบสอ่ื สิง่ พมิ พ์ และการเลา่ นทิ านประกอบการแสดงส�ำ หรับเด็ก Basic knowledge of entertaining children literary work; composition techniques; language usage; moral and virtue in children literary work; evaluation of children literary work; practicum of entertaining children literary work composition, design and narration with performance 1543227 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ 3(2-2-5) Teaching Thai as a Foreign Language ความเปน็ มาของการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาตา่ งประเทศ แนวคดิ ของการสอนภาษาต่างประเทศ การรับและการเรยี นรู้ภาษาทีห่ นึ่งและภาษาต่างประเทศ ปจั จัยของผ้เู รียนในด้านภาษา สงั คม และวฒั นธรรมเพ่ือ การเรยี นรภู้ าษาไทย วธิ กี ารสอน การจดั กจิ กรรม การผลติ สอื่ การวดั และประเมนิ ผล การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ และแนวทางการพัฒนาทกั ษะการสอนภาษาไทยให้แกช่ าวต่างประเทศในสถานการณจ์ ริงหรอื จำ�ลอง Background of teaching Thai as a foreign language, foreign language teaching approaches, first and foreign language acquisition and learning, factors of learners in languages, socials, and cultures for learning Thai, teaching methods, activity managements, media productions, evaluations and assessments, lesson plan writing, and Thai language teaching skills development approaches for foreigners in the real or simulation situations 1533108 ภาษากับศาสนา 3(3-0-6) Language and Religion ความหมาย บอ่ เกดิ ประเภทของศาสนา ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาษา ศาสนา และสงั คม ศกึ ษาประเดน็ ของศาสนาท่ีปรากฏซำ�้ ในภาษาและวรรณกรรมสำ�คัญ และในส่อื สมยั ใหม่ เปรยี บเทยี บแนวคดิ สำ�คัญทป่ี รากฏใน ศาสนาของตะวันออกและตะวันตก Definitions, sources, and types of religions, relationship among languages, religions, and societies, studying the recurring religions themes in languages and vital literary works as well as in modern media, comparing key concepts appeared in religions’ Western and Eastern 1553626 ภาษาเพอื่ การท่องเทีย่ ว 3(3-0-6) Language for Tourism คำ�ศัพท์ สำ�นวน ประโยคภาษาไทยและภาษาอังกฤษเก่ียวกับการท่องเที่ยวจากส่ือส่ิงพิมพ์และสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประเทศต่าง ๆ ในด้านภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ อารยธรรม วฒั นธรรม และสถานท่ีท่องทอ่ งทีส่ ำ�คัญ ฝกึ ใช้ภาษาเพื่อการสรุปและการน�ำ เสนอขอ้ มูลที่เกย่ี วขอ้ ง Thai and English vocabularies, expressions, and sentences about tourism from various print and electronic media, study of information about geography, history, civilization, culture, and major tourist attraction in various countries, practice using languages for summary and presentation of related information 46

1553627 ภาษาเพอื่ ธรุ กจิ การบนิ 3(3-0-6) Language for Airline Business การพัฒนาทกั ษะการฟัง การพดู การอา่ น และการเขยี นภาษาไทยและภาษาองั กฤษ โดยเนน้ คำ�ศพั ท์ ส�ำ นวน ประโยคทเ่ี กยี่ วกบั ธรุ กจิ การบนิ การใหบ้ รกิ ารบนเครอื่ งบนิ และการขนสง่ สนิ คา้ ทางอากาศจากสอื่ สงิ่ พมิ พ์ และสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ า่ ง ๆ ตลอดจนคน้ ควา้ และน�ำ เสนอเนอื้ หาทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื ประยกุ ตใ์ นวชิ าชพี และการศกึ ษา ต่อในอนาคต Thai and English language skills development in listening, speaking, reading, and writing with focusing on vocabularies, expressions, and sentences about airline business, inflight service, and air cargo from various print and electronic media, as well as researching and presenting relevant content to apply to the professional and continued education in future 1553628 ภาษาเพือ่ งานประชาสมั พันธ์ 3(3-0-6) Language for Public Relations Work รูปแบบและวิธีการพูดและเขียนเพ่ืองานประชาสัมพันธ์ ฝึกการเขียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อ การประชาสมั พันธแ์ ละการแสดงความรบั ผดิ ชอบทางสังคมเชิงบรรษทั ในสอื่ ส่ิงพิมพแ์ ละสื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์ต่าง ๆ ฝกึ การสมั ภาษณ์ ให้สัมภาษณ์ และแถลงข่าว Patterns and methods of speaking and writing Thai and English for public relations work, practice writing for public relations and corporate social responsibilities in various print and electronic media, practice interviewing, giving interview, and making a statement 1553629 ภาษาและการสือ่ สารผา่ นภาพยนตร์ 3(3-0-6) Language and Communication through Film ค�ำ ศพั ท์ ส�ำ นวน ประโยคภาษาไทยและภาษาองั กฤษเพอ่ื ตคี วาม สรปุ ความ วเิ คราะห์ และวจิ ารณส์ งั คม และวัฒนธรรมท่ปี รากฏในภาพยนตรแ์ นวตอ่ สู้ แนวสงคราม แนวผจญภยั แนวตลก แนวชีวติ แนวเพลง แนวตะวนั ตก แนวโรแมนตกิ แนวนยิ ายเหนอื จรงิ แนววทิ ยาศาสตร์ แนวสยองขวญั หรอื เขยา่ ขวญั แนวลกึ ลบั แนวอาชญากรรม แนวการ์ตนู และแนวสารคดี Thai and English vocabularies, expressions, and sentences for interpreting, summarizing, analyzing, and criticizing societies and cultures found in action, war, adventure, comedy, drama, musical, western, romantic, fantasy, science fiction, horror or thriller, mystery, crime, animation, and documentary films 1554401 การศึกษาอสิ ระ 3(2-2-5) Independent Study การฝกึ ทกั ษะตงั้ ประเดน็ ปญั หาและตง้ั ค�ำ ถามในเรอื่ งทสี่ นใจโดยเรมิ่ จากตนเอง เชอื่ มโยงกบั ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ และประเทศ ตงั้ สมมติฐานและให้เหตุผลโดยใชค้ วามรู้ในสาขาวชิ าภาษาและการสอ่ื สาร เพอ่ื ค้นควา้ และแสวงหา ความรู้เก่ียวกับสมมติฐานที่ตั้งไว้จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ออกแบบวางแผนรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้วิธีการท่ีเหมาะสม สังเคราะห์ผลการค้นคว้าและสรุปเป็นองค์ความรู้ ตลอดจนร่วมกันเสนอแนวคิดและวิธี การแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบ Practice of issue identification and question skills in interested subjects, starting from their own connected to community, local and national, assuming and reasoning based on knowledge in the field of language and communication for researching and gaining knowledge about hypothesis from various learning resources, planning, designing data collection, analyzing data with using appropriate methods, synthesizing the findings and summarizing as knowledge as well as sharing ideas and how to solve the problem in systematic ways 47

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ Suan Dusit

หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ระดบั ปริญญาตรี 1. ช่ือหลกั สูตร หลักสตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ภาษาไทย : Bachelor of Arts Program in English ภาษาอังกฤษ : 2. ชอื่ ปรญิ ญา ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ศิลปศาสตรบณั ฑิต (ภาษาอังกฤษ) ชื่อย่อ : ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษ) ภาษาองั กฤษ ชื่อเตม็ : Bachelor of Arts (English) ช่ือยอ่ : B.A. (English) 3. วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตร เพ่อื ผลิตบัณฑติ มคี ุณลักษณะดงั ต่อไปน้ี 1) มคี วามรแู้ ละความเช่ยี วชาญในทักษะทางภาษาอังกฤษท้ังในเชงิ วิชาการและวิชาชีพ 2) ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านภาษาศาสตร์ภาษาอังกฤษ วรรณคดีภาษาอังกฤษ การแปลภาษาอังกฤษ และภาษาอังกฤษเฉพาะทาง เพอ่ื การศกึ ษาและการประกอบวชิ าชพี ในอนาคตได้ 3) มคี วามรคู้ วามสามารถในการบรู ณาการภาษาองั กฤษกบั การใชเ้ ทคโนโลยี ในการคดิ เปน็ แกป้ ญั หาเปน็ เพอ่ื การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต ในศตวรรษที่ 21 4) มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม มจี ติ ส�ำ นกึ ต่อสังคม มบี คุ ลกิ ภาพทีด่ แี ละมีโลกทศั น์กวา้ ง 4. คณุ สมบตั ขิ องผเู้ ข้าศกึ ษา 1) ส�ำ เร็จการศกึ ษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 2) มสี ขุ ภาพสมบรู ณท์ งั้ รา่ งกายและจติ ใจ ไมเ่ จบ็ ปว่ ยหรอื เปน็ โรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรงหรอื มคี วามผดิ ปกตทิ เ่ี ปน็ อปุ สรรค ต่อการศกึ ษา 3) เป็นผู้มีความประพฤตดิ ี และมีคณุ สมบัติอน่ื ครบถว้ น ตามท่ีมหาวิทยาลยั ก�ำ หนด 4) ในกรณีนกั ศึกษาต่างชาติ จะตอ้ งผ่านเกณฑ์การทดสอบภาษาไทย ตามทีม่ หาวิทยาลัยก�ำ หนด 5. อาชีพทส่ี ามารถประกอบไดห้ ลังส�ำ เร็จการศกึ ษา 1) ล่าม 2) นักแปลเอกสาร 3) เจา้ หนา้ ทวี่ ิเทศสมั พันธ์ 4) พนักงานประชาสมั พนั ธ์ 5) เลขานกุ าร 6) เจ้าหน้าที่บริษทั หรือองคก์ รระหวา่ งประเทศ 7) พนักงานในธรุ กจิ บรกิ าร ได้แก่ ธุรกจิ โรงแรม ธุรกจิ การท่องเทีย่ ว และธุรกจิ การบนิ 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook