Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บรุ๊ฟ 4 คณะมนุษย์ศาสตร์ 10-3-60

บรุ๊ฟ 4 คณะมนุษย์ศาสตร์ 10-3-60

Published by Regis, 2017-04-19 03:10:35

Description: บรุ๊ฟ 4 คณะมนุษย์ศาสตร์ 10-3-60

Search

Read the Text Version

ท ย า ลั ย ส ว ท ย า ลั ย ส วม ห า ิว ม ห า ิว น ดุ ส น ดุ สท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิวท ย า ลั ย ส วน ดุ สิ ต น ดุ สิ ต

2

ส า ร บั ญ 6 ประวตั คิ วามเปน็ มาของคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 10 รายนามผ้บู รหิ ารและอาจารย์ หลักสตู รของคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หลักสูตรศลิ ปศาสตรบัณฑติ 16 สาขาวิชาภาษาไทย ระดับปรญิ ญาตรี 19 แผนการเรียนตลอดหลกั สตู ร สาขาวชิ าภาษาไทย 21 ค�ำ อธิบายรายวชิ า สาขาวิชาภาษาไทย 39 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ระดับปรญิ ญาตรี 44 แผนการเรยี นตลอดหลกั สตู ร สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ 46 คำ�อธบิ ายรายวชิ า สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ 60 สาขาวชิ าจติ วทิ ยาอุตสาหกรรมและองคก์ าร ระดบั ปริญญาตรี 64 แผนการเรียนตลอดหลักสูตร สาขาวชิ าจิตวิทยาอตุ สาหกรรมและองคก์ าร 66 คำ�อธิบายรายวิชา สาขาวิชาจติ วิทยาอตุ สาหกรรมและองคก์ าร 80 สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ ระดับปริญญาตรี 83 แผนการเรียนตลอดหลักสตู ร สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ 85 ค�ำ อธิบายรายวชิ า สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ 98 สาขาวิชาภาษาจนี ระดบั ปริญญาตรี101 แผนการเรยี นตลอดหลกั สูตร สาขาวิชาภาษาจนี103 คำ�อธบิ ายรายวิชา สาขาวิชาภาษาจนี114 สาขาวิชาบรรณารักษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ ระดบั ปริญญาตรี118 แผนการเรยี นตลอดหลักสูตร สาขาวชิ าบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์120 คำ�อธบิ ายรายวิชา สาขาวิชาบรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์130 สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกจิ ระดบั ปริญญาตรี133 แผนการเรียนตลอดหลกั สตู ร สาขาวิชาภาษาองั กฤษธรุ กิจ135 คำ�อธิบายรายวชิ า สาขาวชิ าภาษาองั กฤษธุรกจิ หลกั สูตรรัฐศาสตรบณั ฑติ1 46 หลักสตู รรฐั ศาสตร์ ระดับปริญญาตรี151 แผนการเรยี นตลอดหลกั สูตรรฐั ศาสตรบัณฑิต153 คำ�อธิบายรายวิชา หลักสูตรรฐั ศาสตรบัณฑิต หลกั สูตรนติ ศิ าสตรบณั ฑิต174 หลักสตู รนติ ศิ าสตร์ ระดับปรญิ ญาตรี177 แผนการเรยี นตลอดหลกั สตู รนติ ศิ าสตรบณั ฑิต179 คำ�อธบิ ายรายวชิ า หลักสูตรนติ ศิ าสตรบณั ฑิต 3

ส า ร บั ญ หลักสตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต192 สาขาวิชาศิลปศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี196 แผนการเรยี นตลอดหลักสตู ร สาขาวิชาศลิ ปศกึ ษา199 ค�ำ อธิบายรายวชิ า สาขาวิชาศิลปศึกษา ภาคผนวก214 หมวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป4

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ Suan Dusit

ประวัติความเปน็ มาคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ประวตั คิ วามเปน็ มาคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ประวัตคิ วามเปน็ มา คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ กอ่ ตงั้ ขน้ึ ตามพระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครู พ.ศ. 2518เดิมเรยี กว่า “คณะวชิ ามนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์” มีภาควชิ าในสังกัด 11 ภาควิชา ในปี พ.ศ. 2523 ไดเ้ ริ่มเปดิสอนหลกั สูตรระดับปรญิ ญาตรี 4 ปี ภาคปกติ มวี ิชาเอก 4 วชิ า คือ วิชาเอกภาษาไทย ภาษาองั กฤษ สงั คมศึกษาและศลิ ปศกึ ษา ตอ่ มาไดม้ กี ารพฒั นาหลักสูตรปริญญาตรเี พม่ิ ขนึ้ ตามล�ำ ดับ ดังนี้ พ.ศ. 2528 หลงั จากทไ่ี ดแ้ กไ้ ขปรบั ปรงุ พระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครู (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2527 ใหว้ ทิ ยาลยั ครสู ามารถเปดิ สอนสายวชิ าการอนื่ ได้ นอกเหนอื จากสายวชิ าชพี ครู คณะฯ จงึ เรม่ิ เปดิ สอนสายวชิ าการอน่ื เปน็ ปแี รก โดยเรม่ิ เปดิ สอนในระดับอนุปรญิ ญา คือ อนุปริญญาศิลปศาสตร์ (อ.ศศ.) 2 วิชาเอก ได้แก่ ภาษาองั กฤษ และออกแบบนิเทศศลิ ป์และเปิดรบั นกั ศึกษาชายเป็นสหศึกษาเปน็ ปแี รก พ.ศ. 2529 ขยายการเปดิ สอนระดับปรญิ ญาตรสี ายวิชาการอน่ื โดยเปิดสอนระดับปรญิ ญาตรี (4 ปี) หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) วชิ าเอกภาษาอังกฤษ และเปดิ สอนระดับอนุปรญิ ญาศิลปศาสตรเ์ พมิ่ คือ วิชาเอกภาษาอังกฤษธุรกจิ และเปิดสอนในโครงการจดั การศึกษาสำ�หรับบุคลากรประจ�ำ การ (กศ.บป.) พ.ศ.2531 ขยายการเปดิ สอนเพิ่ม ระดบั ปรญิ ญาตรี (4 ป)ี หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต (ศศ.บ.) และ (2 ปีหลังอนปุ ริญญา) วชิ าเอกศลิ ปกรรม (ออกแบบนเิ ทศศลิ ป์) พ.ศ. 2533 เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตรี (2 ปี หลงั อนปุ รญิ ญา) หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ าบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (ภาคเรียนที่ 2 / 33 สำ�หรบั นกั ศึกษาภาคสมทบ) พ.ศ. 2534 เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตรี (4 ป)ี หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ าบรรณารกั ษศาสตร์และสารนเิ ทศศาสตร์ สำ�หรับนักศึกษาภาคปกติ และภาคสมทบ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานชอ่ื “สถาบนัราชภัฏ” แกว่ ิทยาลยั ครทู ัว่ ประเทศ พ.ศ. 2538 ไดม้ กี ารประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั สิ ถาบนั ราชภฏั พ.ศ. 2538 สง่ ผลใหว้ ทิ ยาลยั ครู สวนดสุ ติ เปลย่ี นชอ่ื เป็น “สถาบันราชภัฏสวนดสุ ิต” สงั กดั ส�ำ นกั งานสภาสถาบนั ราชภัฏ กระทรวงศึกษาธิการ คณะวชิ ามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จึงได้เปล่ียนเป็น “คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์” และตำ�แหน่งหัวหน้าคณะได้เปล่ียนเป็น“คณบดี” พ.ศ. 2541 เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) โปรแกรมวิชาภาษาฝร่งั เศสธุรกจิ สำ�หรับนกั ศึกษาภาคปกติ พ.ศ. 2542 เปิดสอนภาคปกติ ระดบั ปริญญาตรี (4 ปี) หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑิต (ศศ.บ.) โปรแกรมวิชาบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารนเิ ทศศาสตร์ และระดบั อนุปริญญาศลิ ปศาสตร์ โปรแกรมวิชาออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ ณ ศนู ย์ธนาลงกรณ์ นอกจากนี้ยังเปิดสอนภาคสมทบ ระดับปริญญาตรี (4 ปี) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ ณ ศูนยป์ ราจนี บรุ ี พ.ศ. 2543 เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตรี (4 ป)ี หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ าภาษาไทยและโปรแกรมวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ ไดข้ ยายการเปดิ โปรแกรมวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ ณ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกสถาบนัเพมิ่ อีก 7 ศูนย์ ไดแ้ ก่ ส�ำ หรบั นักศึกษาภาคปกติ ณ ศนู ย์สุโขทยั และ สำ�หรับนักศึกษาภาคสมทบ ณ ศนู ยน์ ครปฐมศูนยน์ ครนายก ศนู ยช์ ลบรุ ี ศูนยพ์ ัทยา ศนู ย์สระบุรี ศูนยพ์ ะเยา - เปิดสอนระดบั ปรญิ ญาตรี (4 ปี) หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ าบรรณารักษศาสตรแ์ ละสารนเิ ทศศาสตร์ ณ ศูนย์พณชิ การสยาม กรงุ เทพมหานคร - เปิดสอนระดับปริญญาตรี (4 ป)ี หลักสตู รศิลปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวิชาภาษาองั กฤษธุรกจิ ณศูนยช์ ลบรุ ี พ.ศ. 2544 ขยายการจดั การศึกษา ตามโครงการความรว่ มมือกบั ศูนยบ์ รกิ ารการศึกษานอกโรงเรียน อำ�เภอบา้ นแพ้ว จังหวดั สมุทรสาคร เปดิ สอนระดบั ปริญญาตรี (4 ปี) หลักสูตรศลิ ปศาสตรบัณฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์6

พ.ศ. 2545 เปิดสอนระดบั ปริญญาตรี (4 ปี) หลักสตู รนติ ิศาสตรบัณฑิต (น.บ.) โปรแกรมวิชานติ ิศาสตร์ ภาคสมทบในมหาวทิ ยาลยั ศนู ยต์ รงั และศนู ยห์ วั หนิ เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตร(ี 4 ป)ี หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.)โปรแกรมวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ โปรแกรมวชิ าภาษาองั กฤษธุรกจิ และโปรแกรมวชิ าพัฒนาชมุ ชน ภาคสมทบ ศนู ย์หัวหนิ พ.ศ. 2546 เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตรี (4 ป)ี หลกั สตู รนติ ศิ าสตรบณั ฑติ (น.บ.) โปรแกรมวชิ านติ ศิ าสตร์ ตามโครงการความรว่ มมอื จดั การศกึ ษาหลกั สตู รนติ ศิ าสตร์ ส�ำ หรบั บคุ ลากรส�ำ นกั งานศาลปกครอง ณ อาคารเอม็ ไพรท์ าวเวอร์ ชน้ั 33เลขท่ี 195 ถนนสาธรใต้ เขตสาทร กรงุ เทพมหานคร - เ ปลยี่ นสาขาวชิ าจากสาขาศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ เปน็ สาขารฐั ประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) โปรแกรมวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ แทน พ.ศ.2547 สถาบนั ราชภฏั สวนดสุ ติ ไดป้ รบั เปลย่ี นสถานภาพจาก“สถาบนั ”เปน็ “มหาวทิ ยาลยั ”ตามพระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลัยราชภฏั พ.ศ. 2547 เมอ่ื วนั ท่ี 15 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2547 ชอ่ื ว่า “มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนดสุ ิต” พ.ศ. 2548 เปดิ เพม่ิ หลกั สตู รปรญิ ญาตรี (4 ป)ี ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ โปรแกรมวชิ าออกแบบแฟชน่ั และโปรแกรมวชิ าออกแบบสอื่ ส่ิงพิมพ์ พ.ศ. 2549 คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ เปน็ สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่อื ง การแบง่ ส่วนราชการมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนดุสติ ลงวนั ท่ี 22 พ.ค. 2549 และเปลี่ยนการจัดการศกึ ษาระดับหลกั สตู รจากโปรแกรมวชิ าเปน็ หลกั สตู ร โดยมคี ณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรเปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบจัดการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2551 ไดเ้ ปดิ หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าออกแบบการแสดงนทิ รรศการ จดั สอนทศ่ี นู ยส์ พุ รรณบรุ ีและหลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ พ.ศ.2553 จากการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารของมหาวิทยาลัย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ได้ถูกโอนไปสังกัดโรงเรียนการเรือน และสาขาวิชาออกแบบการแสดงและนิทรรศการโอนไปสังกัดโรงเรียนการทอ่ งเทย่ี วและการบรกิ ารซึ่งเป็นนโยบายเทียบเท่าคณะทจ่ี ดั ต้งั ใหม่ พ.ศ.2558 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ ไดเ้ ปลย่ี นสถานะเปน็ มหาวทิ ยาลยั ในก�ำ กบั ของรฐั ตามพระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ พ.ศ.2558 ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา วันที่ 17 กรกฎาคม 2558 มีผลบังคบั ใชต้ ง้ั แตว่ ันท่ี18 กรกฎาคม 2558 โดยใชช้ ื่อว่า “มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ” ในปีการศึกษา 2558 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รับผิดชอบจัดการศึกษาในการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ดังนี้ระดบั ปริญญาตรี จำ�นวน 4 หลักสตู ร 7 สาขาวชิ า ประกอบดว้ ย 1. หลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑติ (ศศ.บ.) จำ�นวน 7 สาขาวชิ า 1.1 สาขาวิชาภาษาไทย 1.2 สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ 1.3 สาขาวิชาภาษาองั กฤษธุรกจิ 1.4 สาขาวชิ าจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ 1.5 สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ 1.6 สาขาวชิ าภาษาจีน 1.7 สาขาวชิ าบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ 2. หลักสูตรนติ ิศาสตรบณั ฑิต (น.บ.) 3. หลักสตู รศึกษาศาสตรบณั ฑติ (ศษ.บ.) 4. หลักสตู รรฐั ศาสตรบณั ฑิต (ร.บ.) 7

ระดับปรญิ ญาโท จำ�นวน 1 หลักสตู ร ได้แก่ 1. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาวชิ าการสอนภาษาองั กฤษปรัชญา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต “เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความสามารถในการสร้างความเข้มแข็งในการอยู่รอด(Survivability)” คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ตระหนักถึงปรัชญาของมหาวิทยาลัย ในการพัฒนากำ�ลังคนเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมแห่งคุณภาพ และสังคมแห่งการเรียนรู้ จึงเน้นปรัชญาในการดำ�เนินการ คือ“คณุ ค่าของมนษุ ย์อยู่ทกี่ ารพฒั นาตนและสังคมอย่างตอ่ เน่ืองบนพน้ื ฐานของคุณธรรมและจริยธรรม”วสิ ัยทศั น์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เป็นคณะที่จัดการศึกษาเฉพาะทางท่ีเน้นในสาขาวิชาท่ีมีความเช่ียวชาญเปน็ เลศิ ผลติ บณั ฑติ ทม่ี คี ณุ ภาพ สรา้ งองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ไดใ้ นภมู ภิ าคอาเซยี น ภายใตก้ ารบรหิ ารจดั การเชิงพลวตัพนั ธกจิ ผลิตบัณฑิตสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและต้องการของสังคม โดยมีจุดเด่นด้านบุคลิกภาพเฉพาะตามวัฒนธรรมสวนดุสิต สร้างสรรค์ พัฒนางานวิจัย และเผยแพร่องค์ความรู้ท้ังทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ส่ชู ุมชน สงั คม ประเทศชาติ และนานาชาติ ท�ำ นบุ �ำ รุง พฒั นามาตรฐาน และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย ให้เป็นท่ียอมรับในระดับภูมิภาคอาเซียน ตามหลักการบริหารจัดการเชิงพลวัต มีความยืดหยุ่นสามารถปรับตวั ให้สอดรับกบั สภาวการณ์ไดเ้ ป็นอยา่ งดีเป้าประสงค์ 1. ประชาชนไดร้ ับโอกาสการเรยี นร้อู ยา่ งต่อเนอ่ื งตามศักยภาพ 2. บัณฑิตมคี ุณภาพตามมาตรฐานของหลกั สูตร เป็นท่ยี อมรบั ในระดับภมู ภิ าคอาเซยี น 3. นักศกึ ษา บคุ ลากร และประชาชน ตระหนักในคุณคา่ ของศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย 4. คณะ มหาวทิ ยาลัย ชมุ ชน และสงั คม ไดป้ ระโยชน์จากองคค์ วามรู้ทีส่ ร้างข้นึ 5. พัฒนาศักยภาพบคุ ลากร และเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ในการอยู่รอดของมหาวิทยาลัย8

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ รายนามผูบ้ รหิ ารและอาจารย์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ Suan Dusit

Faculty of Humanities and Social Sciencesรายนามผบู้ รหิ ารและอาจารย์คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ผบู้ รหิ ารคณะ อาจารยก์ ิตติ นรี มติ ร ปนน..รบมะ..ธ((านนนติติ กิศศิ ราารสสมตตกรรา)์์)รบรหิ ารหลักสูตรนติ ศิ าสตร์ Pผlahศn.g.Dดu.รa(.gTฉeeัตa–รcแhTiกnE้วgFLเE)ภnาgวliิเsศhษas a foreign อMofาaoจstาtheรerยro์ lดfantรeg.มaucนahgรineดgsาCเhลinศิ eจsิรeวtณo ิชsยpe์ akers คกคศ.ณบ.ม.บ(.ดก(ีคภารณาสษะอามนอนภังกุษาฤษยษาศอ)างัสกตฤรษ์แ)ละสงั คมศาสตร์ Bศปศ.รAะ.บ.ธ.(าภ(นทากษศั รนารแศมลิลกะปาว์)รฒั บนรธิหรารรมห)ลกั สูตรภาษาจีน นนอ..าบมจ..ทา(ร.กย(รเะ์วนบัลตวลิบนภณั กฑาหริตา่ ยไงุตทไิธธยร)สรงมทางอาญา) วปผทรศ..มด.ด.. ร((เเ.ปททคครโิศโนนนโโลลายยกี สีมาาัชรรจฌสดั นมิ กเาาทรศร)ะบบสารสนเทศ) รนปอ..บบง.ัณค(ณฑนิตติบิศดกาี ฎสหตมร์)ายมหาชน บปวทรรระ.บณธ.าา(นวรทิักกยษรราศมศากาสสาตตรรบรแ์ ์สรลหิง่ิ ะแาสวรดาหรลลสอ้ ักนมสเ)ทูตรศศาสตร์ รรปผพอปรศบง..ดบ..มคด...ณร(((ร.บยรบฐั รฐั ุทดปหิปีธราระพระศงศงาาษานสส์ นบนลศุคศีลาคาสาลสตก)ตรจิ ร)์ ไ์)พศาล หปปคคศอผ.ศ...ศรลดมบบะ.ัก.ม...ณั(ด((ธปสศศ.(ราฑปิลิลรตู น.ิตะเปปรรนกวศะศศ(ัตรื้อวิลปกึึกรศิัตอปรษษมาศิ่อะศากาสาวน))กึาตสัตรษรตศิขบ)์ารารร์ศสวัหิ ิลตทาปรรอ์ศะงลิ)เปขะยี )ว อาจารยว์ ชั รพล วิบูลยศริน ศศภค(ภศศ.าบาษ..มบ.ษาเ..ากต((ไียกา่ภทงราายปตรษสรนิ–าะอยิอเเนมงัททกภอคศฤาันโ)ษนษดโา)ับลไทย1กียาในรศฐากึ นษะา) อาจารย์ประจ�ำ หลักสตู ร ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรภาษาไทย สาขาวิชาภาษาไทย อศษาจ.มา.ร(ยกข์ารวสัญอหนทภยัาษาเชองัดิ กชฤู ษในฐานะภาษา ตศปศ่ารงะ.บปธ.รา(ะนภเกทาษรศรา)มอกังการฤบษร)หิ ารหลกั สตู รภาษา คอ.าดจ. า(เรทยค์ โดนรโ.ลวยชั ีแรลพะลส่อื วสบิารูลกยาศรศรนิกึ ษา) องั กฤษ ศคศ.บต.ม.่าเ.งก(ปยีกรราะตรเสินทอิยศนม)ภอานั ษดาับไท1ยในฐานะภาษา อMา.Aจ.า(รTยEข์ FจLนี) ุช เชาวนปรีชา ศศ(.บภา. ษ(ภาาไษทายอ–ังกเฤทษค)โนโลยีการศกึ ษา) Mบปธร.Bะ.บ.ธA.า.(นเ(ลMกขรaารrนมkุกeกาtาiรnร)gบ)รหิ ารหลกั สูตรภาษา ผศ.ญานิศา โชตชิ ่นื อังกฤษธุรกิจ ศคศ.บ.ม. เ.ก(ยีภราตษินายิศมาส(ตภรา)์ ษาไทย-ภาษาอังกฤษ) ผปรศ.ด.ด. ร(ก.ธานรเภมัทอื รง) ปัจฉิมม์ อาจารย์เบญจมาศ ข�ำ สกุล คปร..มรบะ..ธ((กากานารรกเศมรกึรอื มษงกกา)าารรบปกรหิคารรอหง)ลักสูตรรฐั ศาสตร์ ศศศศ..บม.. ((ภภาาษษาาศไทายส)ตร์) อศศปรัฐศศารปะจ..มบรธา..ะาร((ศนยนราัฐกศ์โสยศรุภบนารวสมาศฒั ยตกาแรสาน์)ลรต์ บะรปกร์ หิาภราัสวรสาหงรลแาักผกสนาตู)ญรจน์ อาจารย์รักษศ์ ริ ิ ชุณหพนั ธรักษ์ อาจารย์ ดร.สฤษดิ์ ศรโี ยธิน โคคร..มบงเ..ร((ียกภนาา)รษสาอไทนยภา–ษกาไาทรยศ)กึ ษานอกระบบ สวทส..มด.. ((จกติารวบิทรยิหาาอรุตสสงั าคหมก)รรม) ศศอศศาจ..บมา..ร((ยภภ์ปาาษษราาิศไไนททายย)) ฟองศรัณย์ อปวทุตระ.สบธา.าห(นจกิตกรวรรริทมมยแกาล)าะรอบงรคหิ ก์ าารรหลักสตู รจติ วิทยา10

อาจารยผ์ สู้ อน อาจารย์ธนศร วิสุทธ์ิวารินทร์ อาจารย์ประจำ�หลักสตู ร ศศภ.ามษ. า(ภอางั ษกฤาศษาแสบตบรพ์ปงึ่รตะนยเุกอตง์ )ด้านการเรียนรู้ สาขาวิชาจติ วทิ ยาอุตสาหกรรมผกคศ.ศบ..ม.ส(.ำ�ภ(เภานษายี ษางไาทไทยฟ)ยา้ )กระจา่ ง วท.บ. (เทคโนโลยที างอาหาร) และองค์การอศอ(อล..ศามดาจ.บ..ศา((ึก.ภภร(ษยาภาาษษ์าตดษาาอ่รไไาททร.ไสะทยยริด))ยิมบั )าปรญิเชญียางเเอชกา)ว์ไว ศอษาจ.มา.ร(ยก์บารลู สยอานภสาอษดาอศังรกี ฤษในฐานะอาจารย์ศภุ ศริ ิ บญุ ประเวศ ศษภ.าบษ. า(ภตา่างษปารอะังเกทฤศษ)) ววสอททสา..จ.มบดา...ร(((ยจกจติติา์ ดรววบริทิทร.ยยสิหาาฤาอ)ษรุตสดสงั ์ิาคศหมรก)ีโรยรธมนิ)ศศษษ..มบ.. ((กภาารษสาอไทนยภ)าษาไทย) อาจารย์ชนนิ นั ท์ สทิ ธคิ ณุ วศอทศา.จ.บมา..ร((ยจจติติศ์ ววภุ ิททิ มยยิตาาร)อตุ บสัวาเหสกนราระมและองค์การ) ศอ.ศบ.ม. (.ส(ภารานษเิ าทแศลศะกึ กษาารส) ื่อสาร) ววอททา..จมบา..ร((ยจจิติตป์ ววทิททิ ุมยยพาาอ)รุตสโพาหธก์กิ รารศม)อาจารย์ประจำ�หลกั สตู ร อาจารยศ์ ริ นิ ยา พพิ ฒั นศ์ รสี วสั ดิ์ คกอศ.าบจ.ม. า(.สร(ยจุขศิต์พกึวศั ทิษรยาินา)ทแล์ ะกก่อาเรลแศิ นวะรแพนวง)ศ์สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ กศศษภ..าบมษ.. า((ภกตาาา่ ษรงสปาออระนงั เกภทฤาศษษ))าอังกฤษในฐานะ กกอศศาจ..บมา..ร((ยจภิต์อาษวัมิทาพไยทรายพ)ศัฒรนีปารกะาเรส)ริฐสขุ BM.Ar.. (IHvaisntoBryenaenddictSNoceiwology) Hons.อศศตษศ่าางจ..บมปา..ร((รภกะยาาเข์ทษรวสศาญัอ)อนงัหกภทฤาัยษษ)าอเชังดิกฤชษู ในฐานะภาษา Mr. Tyler Duong อาจารย์ผู้สอนศอศศษาภจ..บมาา..ษ((รภกยาาาต์อษร่าาสางนออปนนงัรกภะทฤเา์ทษษศข)า)นัอโงั ทกฤษในฐานะ B.A. (Economics)อาจารยส์ ุณา กงั แฮ MB.As..OSlcivieinacPeaintriHcoiateLl aunadreRneastaurant อาจารยโ์ ฉมสมร เหลอื โกศลMศศ.A.บ.(.(Aภpาpษliาeอdงั กLiฤnษgu) istics) Management วสทส..บม.. ((จสติงั ควมิทสยงาเ)คราะห์ศาสตร์)ผศ.ดร.นวรัตน์ เตชะโชคววิ ัฒน์ MB.Ar.. (AMnudsrice)wHConosltraneกEศd..Dม.. ((ภTEาษSาOอl/งั Aกpฤpษl)iied Linguistics) อาจารย์ประจำ�หลักสตู รอ.บ. (เยอรมนั ) อาจารยป์ ระจำ�หลกั สตู ร สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ศอศาจ.มา.ร(ยภว์าษรวาเทิ พย่ือ์ กการจิ สเจอ่ื รสญิ ารไแพลบะลูพยฒั ์ นา) สาขาวชิ าภาษาอังกฤษธุรกจิศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ศศอศศาจ..บมา..ร((ยนรัฐ์ศโยศภุ บาวสาฒั ยตแรน)์ล์ ะปกาภรสั วสางรแาผกนา)ญจน์ อMMบธา..BAจ.บ..าA.(ร.(Tยเ(EลMข์ FขจaLาีนrน)kชุุกeาtiรnเ)ชgา) วนปรชี า วรอปทา..จมบา..ร((รยวัฐทิศ์ ปยิรราิมะกาศาารสสคนอุวศมรราพสณิวตเศตรร)์อีร)์อาจารยผ์ ู้สอน ศศอศศาจ..มบา..ร((ยภภส์าาษษดุ าาาแอรลังตั กะนฤก์ษารเ)จสต่อื สนาป์ รญั) จภัค อรศปศา.จ.มบา..ร((รยกฐั ์กาปรุลตรธะลดิศาาาดส)นภศูฆางัสตร)์ อศศษศาจ..มบา..ร((ยภภก์าาษษนาากศอวางั รสกรตฤณรษ์ป)รกะุลยสกุ ตทุ )์ธ์ิ อพน.าบบจ..มา(.รน(ยติร์มฐัิศปนาสรตะตรศรี า)์พสานนศิชายสตานร์)ุวัฒน์ผศ.ดร.สมโภชน์ พนาวาส อMอ.าบ.Sจ.cา(.เรศ(ยIรn์ลษteลฐrติ ศnaาาสtioตพnรูลa์สทlหBรกuัพรsณยin์ ์)ess) นอรพป.าบบ.จด..มา.(.รน((นยิตรโ์ฐัศิ ยดปาบรสรา.ะอตยศราสา)์นาสธภุ นาาศรพณาสระตัก)รษ)์ ์สุวรรณศศษศ..มด..((หหลลกักั สสูตูตรรแแลละะกกาารรสสออนนภภาาษษาาออังังกกฤฤษษ)) Mอา.Bจ.าAร. ย(B์อuนsุชinิตessแสAงทdmองinistration)กศ.ษ.(ภาษาองั กฤษ) อาจารยผ์ ู้สอนMผศ.A.น. (รี Eู nชgสูlisตั hย)ส์ กุล อาจารย์ผสู้ อนB.Sc. (Chemistry) พปผรปรศบ..ดบ..มด...ร(((ร.บยรัฐรฐั ุทปิหปธราระพระศงศงาาษานสส์ นบนลศุคศีลาคาสาลสตก)ตริจร)์ ไ)์ พศาลอศศาจ.มา.(รภยา์ณษาัชอชังณกฤชิ ษแฝลง่ั ะสกราะรสอื่ สาร) อาจารย์ ดร.สรพล จิระสวัสดิ์ ผศ.ดร.รุ่งภพ คงฤทธริ์ ะจนัศศ.บ.(ภาษาองั กฤษ) MอP.hLบ.A.aD..n(.(ภgT(uEาEษanFggาLeอl)is)งั hกฤaษs)an International ปMร.P.ดA. .(ร(PัฐปubระlicศาAสdนmศiาnสisตtrรa)์ tion)Mอา.Aจ.า(รBยuว์ sนั inวeิสsาsขa์ nพdงCษu์ปltลur้มื e Studies) อคM.าLดAจa.Tnา(EหรgSยuลLa์ักดgส(eTรูต).eวรaแิลcลาhะสinกินgาี รEสพnอลgนอli)sยhเลa่อื s มaแSสeงcond ศศ.บ. (รฐั ศาสตร)์ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) อพามจ.บา.ร(ยร์สฐั ปมรศะกั ศดาสิ์ นเจศราิญสตพรูล)์อศศาจ.มา.ร(ยกาณ์ รฐัแปพลร) โอวาทนุพฒั น์ อบธาจ.มา.ร(ยกาธ์ รนจญั ดั กภาสั รรธ์รุ กศจิ รขเี นนาธดิยกวลศานิ งและ วท.บ. (เกษตรศาสตร์)ศ(ลศา.บศกึ. (ษภาาตษ่อารอะังดกับฤปษร)ญิ ญาเอก) ศศข.นบา. ด(กยาอ่ รมจ)ดั การ) ผDศ.P..ดAร. .(เPขuมbภliัทc ทA์dmเยinน็ isเtปra่ียtiมon)อาจารยน์ ที เพชรสุทธธิ นสาร ศรปศ..มบ..((รภัฐาปษราะอศังากสฤนษศ)าสตร)์ศศศศ..บม.. ((ภกาารษเาดศนิ าทสาตงรแ์ปลระะทยอ่ กุ งตเท)์ ี่ยว)อาจารย์สทุ ธาสินี เกสรป์ ระทมุศคศ.บ.ม. (.ภ(ภาษาษาอาศังกาฤสษตรแเ์ลพะ่ือภกาาษราสฝอื่ รสัง่ าเศร)ส) 11

อศศศศาจ..บมา..ร((ยบภเ์ราอหิษกาารออรังนัฐกงกฤคิจษ์))ศรสี �ำ อางค์ อาจารย์ประจำ�หลกั สตู ร อาจารย์ประจ�ำ หลกั สูตรศศอศศาจ..บมา..ร((ยรภฐัด์าปษนราสุะไรศทณายส)์ นกศาาญสตจรน์)วงศ์ สาขาวชิ ารฐั ศาสตร์ สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์อาจารย์ประจำ�หลักสูตร ปผรศ.ด.ด. ร(ร.ธัฐนศาภสัทตรร์)ปจั ฉมิ ม์สาขาวิชานติ ิศาสตร์ รค..มบ.. ((กกาารรเศมกึ ือษงกา)ารปกครอง) ศอศาจ.มา.ร(ยบบ์รรรณรพารตักษพ์ศิจาสติ ตรรก์แำ�ลเะนสดิ ารนเิ ทศ อาจารย์ ดร.เบญจพร พึงไชย ศศศาาศสส.บตต.รร()์์)บรรณารกั ษ์ศาสตรแ์ ละสารนิเทศอาจารย์กติ ติ นรี มิตร ศปศศศร...ดมบ...(ร((รฐัภัฐปาศษราะาสศอตางั สรก์)นฤศษา)สตร)์ ผศคษ.ศบ...มบ(.ญุเท(เญคทโคลนโักโนลษโยลมแียลกี ตะานร�ำ ศนวัตกึ าษกนราจร)ิตมรทางการศกึ ษา)นน..บม.. ((นนติติ ศิิศาาสสตตรร์))์ รรอ..มบาจ.. า((กรรัฐายปรย์ ปรอะกดศคาชรสอานงย)ศาชสุตติกร์)าโม อMBา..BSจ..Aา(ร.Cย(oInอ์ msาupภruาatnภecรreณIn) ์foอrmงั สaาtioชnนSystems)อาจารยว์ ลั ลภ หา่ งไธสง อศปศศศ.าบจ..มบณั า..รฑ((ยรรติ ฐััฐ์รศป(้อการยาสะตรศตวรารจิ จี)์สัยตนทพุศาาลงสสตงั ดครว์)มง)จิตร อศศศศาสจ..บมาา..รร((นยบบเิ ์รรรทรรัชศณณฎศาาาารรพสกักั ตรษษรศศ์)ธาาิรสสาตตวรรรแ์์)รลณะนนปน....บบมบ...ณั ท((.ฑกน(ริติตเะนิศบกตาฎวสิบนหตัณกมรฑา์)าริตยยไมุตทหธิยาร)ชรนมทางอาญา) อศศศศาจ..บมา..ร((ยรรัฐฐั์ภศศาาาวสสนิ ตตี รร์)์)รอดประเสรฐิ อบศศศศธาจ...มมบา...ร(((ยกบบา์จรรรรริตตณณชลาาินารรดักกั )ษษจศศติ าาตสสสิตตขุรร์)์แพลงะษ์อนนน...าบบมจ...ทา((ร.นนย(ติติ เ์สนศิศิ รตาาศสสิบตตกััณรรดฑ์)์)ิ์ ติ ไมทน่ัย)ศิลป์อาจารยพ์ ีร์ พวงมะลิต อาจารยผ์ ู้สอน สารนเิ ทศศาสตร์)LนL.บ.M. (.น(Iิตnศิteาrสnตaรti)์onal Programs)(ลาศึกษาต่อระดับปรญิ ญาเอก) อศบศธาจ..บมา..ร((ยรกัฐอ์าศรัญจาสชดั ตกลราี )์รรระัตหนวะ่างประเทศ) อาจารยผ์ ูส้ อนอน.ามจ.า(รนยิตพ์ิศารสเพต็ญร์) ไตรพงษ์ ศอPบศGธาจ..Dบมา..ipร((ยรก(ัฐด์าPศรoงั จานsสดั tภgตกrสราa์)รรte)ณDiปplอ้oมmเaพ)ชรนน..บบ..ท(.น(ิตเนิศตาสิบตณั รฑ)์ ิตไทย) Mศอศา.Aจ.บ.า.(ร(Gยเอo์กเvชญั eยี rญnตaะกnวาcนั นeอตอ์aกnเเสฉdถียPงียuใรตbส้ศliคุcกึ นษPธาo)์licy) รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรพั ย์ Mรอ.บา.Aจ. .า(ก(รSายoรณ์ ปciกฐalคญิ aราnอณdง)์ Pเงกoายีliมtรicตขaิน�ำ l ิยTมhrough) กกจศ..ดม.. ((กบารรรจณัดากราักรษสศ่อื าสสาตรร))์อาจารยผ์ ู้สอน อ(Mรล.บา.าPจ.ศPา(ึกกMรษาย.รต์ส(ป่อPรุ กรuดะคbาดรliอcับงปจP)รุนoเญิ กlทicียญะyรสาตaเตุ อินnธกdิยน)มMกaุลnagement) กศ.บ. (ภูมิศาสตร์) อาจารยช์ ญานท์ ตั ศภุ ชลาศัย ผปรศ.ด.ด. ร(เ.ปทรคิศโนนโลายสีมาชั รฌสนิมเาทศ)อน.าบจ.ทาร. ย(เโ์นชตคบิ ดณั ี ฑนติ พไทวรยร) ณ Mร.บ.A. .(ก(Pาoรปstกcคoรloอnงi)alเกSยีtuรdตiินesิย)ม ววททส..มบา..ร((สเวทนิทคเยทโานศศโ)าลสยตีกราส์ ร่ิงจแดั วกดาลร้อระมบ)บนน..มบ.. ((นนิตติ ศิิศาาสสตตรร์))์ อปกศรา.จ.ดมา..ร((เยเทท์ คดคโโรนน.นโโลลันยยทีสกี าวารันรสศนึกเเษรทือาศ)ง)อร่ามอาจารย์สุภาภรณ์ เกลยี้ งทอง อาจารยป์ ระจำ�หลกั สตู ร บธ.บ. (การจัดการ)นนน...บมบ...ท((.นน(ติติ เนศิิศตาาสสิบตตณั รรฑ์)์) ติ ไทย) สาขาวิชาภาษาจนี ผศศศ..มส.า(ยบสรรุดณาารปัก้ันษตศราะสกตูลร์และนนอ..ามบจ..ทา(ร.นย(ติ เภ์นศิ ตญิาสบิ โตญณั รฑ์) ิตคไวู ทัฒยน) าเสนีย์ ศศสส.บาา.รร(นนบิเิเรททรศศณศศาาารสสกั ตตษรรศ)์์) าสตร์และน.บ. (นิติศาสตร์) อาจารย์ ดร.มนรดา เลศิ จิรวณชิ ย์ สาขาวชิ าศลิ ปศึกษานอ.าบจ.ทาร. ย(เ์จนักตริบกัณฤฑษิตณไท์ ยเ)ฉลิมโชคปรีชา BMof.aAos.tth(eภerาroษlfaาntแegลauะcahวgฒัinegนsธCรhรiมn)ese to speakers อผ.ศด..(ดปรร.ะเนวตัือ้ ศิอา่อสนตรข์)รัวทองเขียวนน..บม.. ((นนิติติศศิ าาสสตตรร์)์) ศศ.บ. (ทศั นศิลป)์ ปคคศศ...บมบ.ม..ัณ((ศศ.(ฑปิลลิ ิตปประศศ(วปกึึกตั รษษิศะาาาว))สตั ติศราศ์สลิตปร์ศะลิ) ปะ)อาจารยก์ ันวศิ า สุขพานิช อTeาaจcาhรiยng์ณCภhคั iกneัญsญe าForตeรigาnรeุ่งrเ,รTอื iงanjin ศคปอศ.ราม.จ.ดบ.(า.ศ.((รหิลศยลปลิ ์ ักปศดสึกกรูตษร.ปรรามแฤ)ล)ณะตักานรสจั อนนฤ)ตย์นLL.บ.M. (.น(Iติ nิศteาrสnตaรti)์onal Law) TBiaaaNcnnhojidnermloCNaruololrtUmuf nrAaeivlr,teU,rnsCiithvyei,nresCisthyei,nLaCahningauage อาจารย์ ดร.สุดารตั น์ เทพพิมลอาจารย์สร้อย ไชยเดช อMาaUoจsfnาteiรvorยetohr์จsfeิตittryeต,Laพิ aCcรnhhgiinauชgnaยั gCปehรsiะn,Gกeusอeaบntวgoริxยิsi pะeakers คกจ.ม.ด.(ศ.(กลิ าปรศจึกดั ษกาา)รศึกษา)นน..มบ.. ((กนฎติ หศิ ามสาตยธร)์ุรกิจ) กศ.บ. (การสอนภาษาจีน) ค.บ.(ศลิ ปศกึ ษา) กรศศ..มจ.ง(ศลลิักปษศณึก์ษชาา่ )งปลื้ม กศ.บ.(ดุริยางคศาสตร์)12

ผศศปษศ...มบว..ร((ทอรอณัศกนาแศบพิลบปเิ ชศ์-ศฐลิ ลิ พปปฤปะทรสะธมย์ยักุ ใตห)์ ม)่ อาจารย์ ดร.ดวงกมล อศั วมาศ อาจารย์ ดร.แวน่ แก้ว ลีพึ่งธรรม ปศศร..ดม.. ((โโบบรราาณณคคดดีสสี มมัยยั ปกรอ่ ะนวปัตรศิ ะาวสัตติศรา)์ สตร)์ dDeosctcouraltturdees Didactique des langues etอาจารย์ผ้สู อน ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ศTMeศac.sมht.en(roภlRoาษegciาehฝseรr่งั cเศheส-ศSึกcษieาn)ces et กรศจ..ดด.ร(.กชาวรลจติ ัดกาสรวภัสาดค์ผิรัฐล) ปศศระ.บก.า(ศภนาียษบาฝัตรรั่งมเัคศคสุเ)ทศก์อาชีพผศ.ดร.ศักดชิ์ ยั เกียรตนิ าคนิ ทร์ กสศค..บม.. ((ปสงัรคะชมาศกกึ รษศาา)สตร์) อาจารย์จกั รกฤษณ์ วฒุ ิสิวะชาติกลุศคคศ..มด.บ..((พศ.(ิลศัฒปิลนปศศกึะึก)ษษาา)) อาจารยป์ ระภาส ทองนิล ศศศศ..บม.. ((ฝภราั่งษเาศฝสรศัง่ กึ เศษสา))คศอศ.าบจ.ม.(าศ.(รกิลยาป์วรศฒุอึกอนิษกานั แ)บทบ์ )รตั สุข คศศ.บ.ม. (.ส(ไังทคยมคศดึกีศษึกาษ) า) อาจารย์อคั รเดช เสนานิกรณ์อศศศ.ามจ.บ.(าป.(รศรยะลิ ์ฆยปุกนกตาร์ศรมิลวป)รี ศะกึเดษชาะ) รศ.ดร.สรรเสริญ อินทรัตน์ ศพศธ..มบ.. ((ยรัฐุทศธาศสาตสรต์)รก์ ารพฒั นา)ศศผ..ศบม...พ((จจเิ ิติตชรรษกกฐรรรรมมส))ุนทรโชติ ศMกจน.A..ดบ...((P(กศhาาiรlสoจนsัดoศกpาาhสรyตภ)รา)์ ครัฐ) อาจารย์ประภากมล พลธีอคค..ามบจ..((ากศราิลยรป์อบศร�ำ กึ ิหนษาวารย)การทศอกึ งษแาด)ง อรอ..มามจ.. า((กปรายรรัช์นปญฤกามค)รลองน) ติ ย์จินต์ ศศศศ..บม.. ((ภภาาษษาาอองัังกกฤฤษษเ)พอื่ วตั ถุประสงค์เฉพาะ) ศศ.บ. (รัฐศาสตร)์ อาจารยธ์ วัชชัย เพง็ พินิจอาจารยป์ ระจำ�คณะ ออ.ามจ. า(จรรยยิ ์คศ�ำ าพสอตงรศ์ ึกงาษมา)ภกั ด์ิ ศศ(ลศศา..มบศ.ึก. ((ษพพาัฒฒั ตอ่นนราาะชชดนมุ บับชนปท)รศิญึกญษาา)เอก) พปวธ..คบ.. ((กอางั รกสฤอษน)สงั คมศึกษา) อวศทปา.จ.บมา..ร((ยอนออ์ฤกรมแรติ บฆศบพลิ ผปนั ล)์ ธติ ์ ภเณั ธยีฑรอ์ ถุตาสวารหกรรม)บศอ.ธาบจ.ม. า(.จร(ยติการด์ กรินจรหัดรมนิก)ารรทกั ั่วพไปง)ษอ์ โศก อาจารยจ์ ารรุ กั ษ์ ทับทิม (ลาศึกษาตอ่ ระดับปรญิ ญาเอก)(ลาศกึ ษาตอ่ ระดบั ปริญญาเอก) ศศ.บ. (ภาษาญปี่ ุ่น)กผศศ..มจ.ง(ลศักลิ ษปณศึก์ ษชา่า)งปล้ืม ศอศาจ.มา.ร(ยญส์ ่ีปดุ ุ่นสศวึกาษทา) จันทรด์ ำ�ศศ.บ. (ดรุ ิยางคศาสตร)์ อ.บ. (ภาษาอังกฤษ)สอถาจ.มา.ร(ยกา์นรรวนิ ิจทัยสรภาสพรแววทิ ดยลศ์ ้อิรมกุล BM.Ar.. (TEackoennoomriicsO) kajimaศ.สบถ. า(Cปrตั eยaกtiรvรeมAภrาt)ยใน) BM.rA. .H(Eiroctoansohmi iMcsik) urinoอาจารย์สุกัญญา จันทราภรณ์ ผศ.วรพรรณ กีรานนท์ศ.บ. (นฤมิตศลิ ป์) ศคษ.ม..บ(.อ(ุดนมาฏศกึศษิลปา))์ เกียรตนิ ิยมอกจา.จดา. ร(กยา์ ดรจรัด.สกุดารากราัตรนศ์กึ เษทาพ) พิมล อาจารยเ์ อื้อมพร เนาว์เยน็ ผลคค..บม.. ((ศศลิลิ ปปศศกึึกษษาา)) คศศศษ.บ..ม.บ..(((นนปาาฐฏฏมศยวิลศยั ปิล))์ปไ์ ทย)อาจารย์เบญจวรรณ พงศ์สุวากร ศศอศศาจ..บมา..ร((ยนนว์าาฏฏรกศยศิลมลิปลป์ไทไ์ เทยห)ยม)ศรีชาติววทท..บม.. ((กเคามรจีวเิดั คกราาระทหร์)พั ยากรชีวภาพ) (ลาศกึ ษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาเอก)อาจารย์ ดร.เอกชยั พมุ ดวง ศอปาจ.บา.ร(ยน์ธาฏนยญั ศชิลยปไ์ ทชยัย)วุฒิมากรศศศษษ.บ...มด(..เ(ศ(สสริ่ง่งิษแแฐววศดดาลลส้อ้อตมมรศศก์ กึึกาษษรคาาล)) ัง) ศคผษ.ศม...บอ(.รอ(ุณดุปมฐี ศมโึกควัยษต)าร)สมบัติอปกศรา.จ.ดมา..ร((ปยภร์มู ดะิศชราา.สยกตุสรรศน์)ึกียษ์ าโ)สมทัศน์ กศ.บ. (ดุรยิ างคศาสตร์)ค.บ. (สงั คมศึกษา) อวทา.จมา.ร(ยเทพ์ คษิ โนฐโาลยพที งเ่ี หษม์ปาระะสดมิษเพฐอ่ื์ การพฒั นาผEdศ..Dด.ร(.Eรdสuรcินatioสnุทaอl งหAลd่อministration) ทวทรพั.บย. า(เกกรษ) ตรศาสตร)์กคศ.บ.ม. (.น(อาฏุดศมลิศปึกษ)์ า) อาจารย์พมิ พ์วลั ค สุวรรณทตัอาจารยว์ รเวชช์ ออ่ นนอ้ ม Mใศนศaฐ.iบtาr.นis(ะeภภาาษFษ.าLาฝ.Eตร่า่ัง(งเกศปาสรระ)สเอทนศภ) าษาฝร่ังเศสอศ(ล.ศมา.บ.ศ(ึก.ภ(ษภูมาูมศิ ตาศิ ่อสารตสะรตด)์ รับ)์ ปริญญาเอก) อปศศปศศรราะะจ..บมกกา..าาร((ศศยภภนนย์าาียยีษษุพบบาานิ ฝฝตััตรรรรั่งงั่พกมเเาคัศิพศรคสสัฒแเุศ)ปทนึกลศ์พษชกาว้ันอ์ )งสาทชูงฝอีพรงงั่ เศส-ไทย 13

14

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย Suan Dusit

หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติสาขาวชิ าภาษาไทยระดบั ปริญญาตรีชอื่ ปริญญา ชอื่ ภาษาไทย ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) ศศ.บ. (ภาษาไทย) ชื่อภาษาองั กฤษ Bachelor of Arts (Thai) B.A. (Thai)วตั ถุประสงคข์ องหลักสูตร เพ่อื ผลิตบณั ฑติ ใหม้ คี ุณลกั ษณะ ดังนี้    1. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม  มีจติ สาธารณะ  และความรับผิดชอบตอ่ ตนเองและสงั คม สามารถทำ�ประโยชนใ์ หก้ ับสังคมและประเทศชาติ     2. มีความรู้ ความสามารถ ความเชยี่ วชาญดา้ นภาษาไทย  และสาขาวิชาทีเ่ ก่ียวข้อง     3. มคี วามสามารถในการใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพอ่ื การสอื่ สาร และสามารถสอนภาษาไทยใหแ้ กช่ าวตา่ งประเทศได้    4. มที กั ษะการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ สามารถวพิ ากษว์ จิ ารณ์ รวมถงึ ประยกุ ตใ์ ชภ้ าษาไทยอยา่ งสรา้ งสรรค ์  และมีประสิทธภิ าพ    5. มบี คุ ลกิ ภาพทด่ี  ี  มโี ลกทศั นก์ วา้ งไกล มที กั ษะในการคดิ แกป้ ญั หาและมคี วามคดิ สรา้ งสรรค ์  สามารถท�ำ งานรว่ มกบั ผ้อู น่ื ไดอ้ ย่างเหมาะสม 6. มคี วามรู้ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพอ่ื การเรยี นรแู้ ละการประกอบอาชพีไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 7. ภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย มเี จตคตแิ ละเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ใี นการใชภ้ าษาไทยและสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษภ์ าษาไทยและวฒั นธรรมไทยโครงสรา้ งหลักสูตร จำ�นวนหนว่ ยกิตตลอดหลกั สตู รไม่นอ้ ยกวา่  131 หนว่ ยกิต โดยมีสัดสว่ นหนว่ ยกิตแต่ละหมวดวชิ าและแต่ละกลุม่ วิชาดังน้ี 1. หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป 30 หนว่ ยกิต 1. กลุ่มวชิ าภาษา 12 หนว่ ยกติ 2. กล่มุ วชิ ามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกติ 3. กลมุ่ วชิ าสังคมศาสตร์ 6 หนว่ ยกิต 4. กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตรก์ บั คณติ ศาสตร์ 6 หน่วยกติ 2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 95 หน่วยกติ (1) กล่มุ วิชาเนอ้ื หา วชิ าบงั คบั 54 หน่วยกติ วชิ าเลอื ก 18 หนว่ ยกติ (2) กลมุ่ วชิ าบังคบั ภาษาตา่ งประเทศ 18 หน่วยกติ (3) กลุ่มวิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 5 หนว่ ยกติ 3. หมวดวิชาเลือกเสร ี 6 หน่วยกติ 16

การจัดการเรียนการสอน 30 หนว่ ยกิต 1. หมวดวชิ าการศึกษาทว่ั ไป ให้เรียนไมน่ ้อยกวา่ 12 หนว่ ยกติ กลุม่ วิชาภาษา 3 หนว่ ยกติ บงั คบั เรยี น 1500117 ภาษาไทยเพอ่ื การสือ่ สาร 3(3-0-6) เลอื กเรียน ไมน่ อ้ ยกวา่ 9 หนว่ ยกติ1500110 ภาษาองั กฤษเพ่อื การส่ือสาร 3(3-0-6) 1500113 ภาษาองั กฤษเพือ่ ทกั ษะการเรยี น 3(3-0-6)1500114 ภาษาองั กฤษเชิงสถานการณ ์ 3(3-0-6) 1500115 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(3-0-6) กลุม่ วิชามนุษยศาสตร์ ใหเ้ รียนไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ บังคบั เรียน 3 หน่วยกติ1500116 จริยศาสตร์ 3(3-0-6) เลือกเรยี น ไมน่ ้อยกว่า 3 หน่วยกติ 2000105 สนุ ทรียภาพเพอ่ื คุณภาพชวี ติ 3(3-0-6) 2000106 ศิลปะการด�ำ รงชีวติ 3(3-0-6)2500113 จติ วิทยาเพื่อการพัฒนาตน 3(3-0-6) กลมุ่ วิชาสงั คมศาสตร์ ใหเ้ รยี นไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต2500107 มนุษย์กบั สงิ่ แวดล้อม 3(3-0-6) 2500114 สงั คมไทยร่วมสมยั 3(3-0-6)2 5001 15 เหตุการณ์โลกร่วมสมยั 3(3-0-6) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กบั คณติ ศาสตร์ ใหเ้ รยี นไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติ4000109 วิทยาศาสตรใ์ นชีวติ ประจำ�วนั 3(3-0-6) 4000110 การคดิ และการตดั สินใจ 3(3-0-6)4000111 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 3(2-2-5) 2. หมวดวชิ าเฉพาะด้าน กล่มุ วิชาเน้อื หา 95 หนว่ ยกติ วิชาบงั คับ เรียน 54 หนว่ ยกติ1542103 ภาษาศาสตร์ภาษาไทย 3(3-0-6) 1541113 หลกั ภาษาไทย 3(3-0-6)1541114 โครงสร้างภาษาไทย 3(3-0-6) 1541112 กวนี ิพนธไ์ ทย 3(3-0-6)1541212 ศาสตร์การอ่าน 3(3-0-6) 1541213 ศาสตร์การเขยี น 3(3-0-6)1541214 วรรณคดีศกึ ษา 3(3-0-6) 1541215 ศาสตร์และศิลปะการพูด การฟัง 3(3-0-6)1542105 ภาษากบั สงั คม 3(3-0-6) 1542213 การเขยี นภาคนิพนธ์ 3(3-0-6)1542408 วรรณกรรมร่วมสมยั 3(3-0-6) 1542604 คตชิ นวทิ ยา 3(3-0-6)1543216 การเขยี นในสอ่ื สารมวลชน 3(3-0-6) 1543425 วรรณกรรมวจิ ารณ์ 3(3-0-6)1543601 ภาษาไทยในองคก์ ร 3(3-0-6) 1543603 ภาษาไทยสำ�หรับชาวต่างประเทศ 3(3-0-6)1544905 การวิจัยทางภาษาไทย 3(3-0-6) 1544906 สมั มนาภาษาไทย 3(3-0-6) วชิ าเลอื ก ให้เรยี นไมน่ ้อยกว่า 18 หน่วยกิต กลุ่มวชิ าภาษาไทยและภาษาศาสตร์ 3(3-0-6)1543106 ภาษาถ่นิ 3(3-0-6) 1543107 อรรถศาสตรเ์ บ้ืองตน้ 3(3-0-6) 1543308 ภาษาบาลีสันสกฤตทีส่ มั พันธก์ บั 3(3-0-6) 1543505 วิวัฒนาการของแบบเรยี น 3(3-0-6) ภาษาไทย ภาษาไทย1544207 ภาษาศาสตรก์ บั การสอ่ื สาร 3(3-0-6) 1544610 คลังแห่งค�ำ 3(2-2-5)1553114 ภาษาศาสตรเ์ ชิงสงั คม 3(3-0-6) 3(3-0-6) กล่มุ วิชาการใช้ภาษาไทย 3(3-0-6)1542214 เทคนิคการย่อและการสรปุ ความ 3(3-0-6) 1542215 การพูดเพอ่ื สงั คม 3(3-0-6)1542603 ความคิดสรา้ งสรรคท์ างภาษาไทย 3(3-0-6) 1543105 การส่ือสารข้ามวฒั นธรรม 1543218 ศิลปะการพดู เพอ่ื สาระบันเทิง 3(2-2-5) 1543223 ปญั หาการใชภ้ าษาไทย 1543605 ศิลปะการนำ�เสนอ 3(3-0-6) 1543607 การแปลภาษาตา่ งประเทศ เป็นภาษาไทย 17

กลมุ่ วชิ าวรรณคดีไทย 1542407 โลกทศั น์ในวรรณกรรมแปล 3(3-0-6) 1543427 วรรณกรรมสร้างสรรค์สำ�หรบั เด็ก 3(3-0-6)1543432 วรรณคดีนิราศ 3(3-0-6) 1543433 วรรณกรรมในสมยั รชั กาลท่ี 6 3(3-0-6)1543434 วรรณคดเี ปรียบเทียบ 3(3-0-6) 1543435 วรรณกรรมพงศาวดารจีน 3(3-0-6)1543436 วรรณคดเี อกของไทย 3(3-0-6) ในวรรณคดไี ทย กลุม่ วิชาภาษาและวรรณกรรมที่สมั พันธก์ ับสงั คมและวัฒนธรรม1543224 ภาษาและวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6) 1543429 วรรณกรรมกับวฒั นธรรมอาหาร 3(3-0-6)1543430 วรรณกรรมสังคมการเมอื ง 3(3-0-6) 1543431 วรรณกรรมดา้ นการท่องเท่ียว 3(3-0-6)1543437 วรรณกรรมเยาวชน 3(3-0-6) 1543438 วรรณกรรมการแสดง 3(3-0-6)1543439 ต�ำ นาน ความเช่อื และพธิ ีกรรม 3(3-0-6) กลุ่มวชิ าภาษาไทยเพ่ืออาชีพ1543206 การเขยี นบันเทิงคดี 3(3-0-6) 1543217 การพดู ทางวิทยุกระจายเสียง 3(2-2-5)1543220 การเขยี นสารคดี 3(3-0-6) และวทิ ยโุ ทรทศั น์ 1543222 การเขียนส�ำ หรบั หนังสอื พมิ พ์ 3(3-0-6) 1543602 เทคนิคงานเลขานุการ 3(3-0-6)1543604 เทคนิคบรรณาธกิ ารกิจ 3(3-0-6) 1543219 เทคนคิ การสมั ภาษณ ์ 3(3-0-6)1543606 วธิ สี อนภาษาไทยสำ�หรบั 3(3-0-6) 1544606 ศิลปะการเขยี นบท 3(3-0-6) ชาวตา่ งประเทศ 1544607 ศิลปะการประพันธ์เพลง 3(3-0-6)1544608 นวัตกรรมและสื่อการสอน 3(3-0-6) 1544609 การใช้โปรแกรมส�ำ เร็จรูป 3(2-2-5) ภาษาไทย ในส�ำ นกั งาน กลุ่มวชิ าบงั คบั ภาษาต่างประเทศ ใหเ้ ลือกเรียนรายวชิ าไมน่ อ้ ยกวา่ 18 หน่วยกติ จากภาษาใดภาษาหนงึ่ ตอ่ ไปนี้ ภาษาอังกฤษ1551125 รูปและหนา้ ท่ขี องไวยากรณ ์ 3(3-0-6) 1551126 การอ่านภาษาอังกฤษทว่ั ไป 3(3-0-6) ภาษาองั กฤษ 1551127 การอ่านภาษาองั กฤษเชิงวชิ าการ 3(3-0-6)1551128 การเขียนภาษาอังกฤษเบ้ืองต้น 3(3-0-6) 1551129 การฟัง-พูดภาษาอังกฤษ 3(3-0-6)1551130 การฟัง-พดู ภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) ในสถานการณ์ทัว่ ไป ในสถานการณ์เฉพาะ 1552121 การเขียนโตต้ อบภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) 1552203 หลักการแปล 3(3-0-6) ภาษาจีน1571124 หลักและโครงสร้างภาษาจนี 3(2-2-5) 1571204 การสนทนาภาษาจีนเบอื้ งตน้ 3(2-2-5)1572401 การเขียนภาษาจนี เบ้ืองต้น 3(2-2-5) 1573301 การอ่านภาษาจีนเบ้อื งตน้ 3(2-2-5)1573501 วัฒนธรรมจีน 3(3-0-6) 1573603 การแปลภาษาจีน 3(2-2-5)1573701 ภาษาจีนในสถานการณต์ า่ งๆ 3(2-2-5) 1574701ภาษาจีนเพอ่ื การท�ำ งาน 3(2-2-5)1574702 ภาษาจนี เพอื่ งานธรุ กจิ 3(2-2-5) ภาษาญป่ี ุ่น1561112 ภาษาญีป่ ่นุ เบื้องต้น 3(2-2-5) 1563203 การอ่านภาษาญปี่ นุ่ 3(2-2-5)1563303 ไวยากรณ์ภาษาญปี่ ุ่น 3(2-2-5) 1563304 การเขยี นภาษาญปี่ นุ่ 3(2-2-5)1563506 วัฒนธรรมญีป่ ุ่น 3(3-0-6) 1563702 ภาษาญปี่ นุ่ เพือ่ การสอ่ื สาร 3(3-0-6)1564403 การฟังและการพดู ภาษาญ่ีปุ่น 3(2-2-5) สำ�หรับวิชาชีพ1564707 ภาษาญ่ปี นุ่ ในส�ำ นกั งาน 3(2-2-5) กลุ่มวิชาการฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ 5 หนว่ ยกิต1544804 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางภาษาไทย 5(0-30-0) 3. หมวดวิชาเลอื กเสรี เรียนไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ ให้เลือกเรียนวิชาใดๆในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยไม่ซำ้�กับวิชาท่ีเคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เปน็ รายวิชาทกี่ �ำ หนดให้เรยี นโดยไม่นับหน่วยกติ รวมในเกณฑ์การสำ�เรจ็ หลกั สูตรภาษาไทย18

แผนการเรียนตลอดหลกั สตู ร นักศึกษารหสั 59สาขาวิชาภาษาไทยระดับปรญิ ญาตรี จำ�นวนหนว่ ยกติ ไมน่ ้อยกว่า 131 หนว่ ยกติปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2559 ปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 25591. หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป 9 นก. 1. หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป 9 นก. 2. หมวดวชิ าเฉพาะด้าน 9 นก. 2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน กล่มุ วิชาเนอ้ื หา (บังคับ) กลมุ่ วชิ าเนือ้ หา (บงั คบั ) 9 นก.1541113 หลักภาษาไทย 3(3-0-6) 1541114 โครงสรา้ งภาษาไทย 3(3-0-6)1541212 ศาสตรก์ ารอ่าน 3(3-0-6) 1541215 ศาสตร์และศลิ ปะการพดู การฟัง 3(3-0-6)1541213 ศาสตร์การเขียน 3(3-0-6) 1541214 วรรณคดีศึกษา 3(3-0-6) กลมุ่ วชิ าบังคับภาษาต่างประเทศ 3 นก.รวม 18 หน่วยกิต รวม 21 หนว่ ยกิตปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 ปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 25601. หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป 6 นก. 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 6 นก. 2. หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น 2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 9 นก. กล่มุ วิชาเน้ือหา (บังคบั ) 3(3-0-6)1532103 ภาษาศาสตรภ์ าษาไทย 9 นก. กลุม่ วิชาเน้อื หา (บังคับ) 3(3-0-6)1541112 กวนี ิพนธไ์ ทย 3(3-0-6) 1542213 การเขยี นภาคนพิ นธ์ 3(3-0-6)1542408 วรรณกรรมร่วมสมัย 3(3-0-6) 1543601 ภาษาไทยในองคก์ ร 3 นก. กลมุ่ วชิ าบังคับภาษาต่างประเทศ 3(3-0-6) 1542604 คตชิ นวทิ ยา 3 นก. กลมุ่ วิชาบงั คบั ภาษาตา่ งประเทศ รวม 18 หน่วยกิต รวม 18 หนว่ ยกติ 19

ปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 ปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 25611. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 6 นก. 1. หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น 6 นก. กลมุ่ วชิ าเน้อื หา (บงั คบั ) 3(3-0-6) กลมุ่ วิชาเน้ือหา (บงั คับ) 3(3-0-6)1542105 ภาษากับสงั คม 3(3-0-6) 1543425 วรรณกรรมวจิ ารณ ์ 3(3-0-6)1543216 การเขยี นในสื่อสารมวลชน 1543603 ภาษาไทยส�ำ หรับชาวตา่ งประเทศ กลมุ่ วชิ าเนอ้ื หา (เลือก) 6 นก. กลุ่มวิชาเน้ือหา (เลือก) 6 นก. กลมุ่ วิชาบังคบั ภาษาต่างประเทศ 3 นก. กลมุ่ วชิ าบังคบั ภาษาต่างประเทศ 3 นก.2. หมวดวิชาเลือกเสร ี 3 นก. 2. หมวดวิชาเลือกเสร ี 3 นก.รวม 18 หนว่ ยกติ รวม 18 หน่วยกติปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 25621. หมวดวชิ าเฉพาะด้าน 1. หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น กลมุ่ วชิ าเนือ้ หา (บังคบั ) 6 นก. กลมุ่ วิชาการฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ 5 นก.1544905 การวจิ ัยทางภาษาไทย 3(3-0-6) 1544804 การฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี 5(0-30-0)1544906 สัมมนาภาษาไทย 3(3-0-6) ทางภาษาไทย กลุ่มวชิ าเน้ือหา (เลือก) 6 นก. กลุ่มวชิ าบังคับภาษาตา่ งประเทศ 3 นก. รวม 15 หนว่ ยกติ รวม 5 หน่วยกติ20

คำ�อธบิ ายรายวชิ าสาขาวชิ าภาษาไทย1542103 ภาษาศาสตรภ์ าษาไทย 3(3-0-6) Thai Linguistics ศกึ ษาความหมายของภาษาและภาษาศาสตร์ ลกั ษณะทวั่ ไปของภาษา ความรพู้ น้ื ฐานเกย่ี วกบั สทั ศาสตร์ระบบเสยี ง ระบบค�ำ ระบบกลมุ่ ค�ำ ศกึ ษาวิเคราะหภ์ าษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์ Study definitions of language and linguistics, general characteristics of language, fundamentalphonetics, Thai sound systems, Thai word-forming systems, Thai phrase-forming systems and alinguistic analysis of Thai.1541113 หลกั ภาษาไทย 3(3-0-6) Thai Grammar ศกึ ษาความหมาย ขอบขา่ ยของหลกั ภาษาไทย ลกั ษณะภาษาไทยในดา้ นเสยี ง พยางค์ ค�ำ วลี ประโยคลักษณะประโยค หลกั เกณฑก์ ารอา่ น การเขยี น คำ�ไทย ค�ำ ราชาศัพท์ คำ�สภุ าพ คำ�ยมื ในภาษาไทย และสามารถใช้ภาษาใหถ้ กู ตอ้ งตามความนิยมของสังคมไทย Study definitions and the scope of Thai grammar: syllables, phonology, morphology, syntax,grammar for reading, writing general Thai words, royal words, polite words, loan words in Thai languageas well as being able to use Thai correctly according to Thai convention.1541114 โครงสรา้ งภาษาไทย 3(3-0-6) Thai Structures ศกึ ษาความหมาย ชนดิ และหนา้ ทข่ี องเสยี ง พยางค์ ค�ำ วลี ประโยค รวมถงึ แนวคดิ ทฤษฎใี นการวเิ คราะห์โครงสร้างประโยคภาษาไทย Study definitions, types, and functions of sounds, syllables, words, phrases, sentences,including theories on the analysis of Thai structures.1541112 กวีนิพนธ์ไทย 3(3-0-6) Thai Poetry ศึกษาความหมาย ความส�ำ คัญ วิวัฒนาการ และประเภทของกวีนิพนธศ์ กึ ษารูปแบบทางฉันทลกั ษณ์เน้ือหาและวรรณศิลป์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบและประเมินคุณค่าบทกวีนิพนธ์ ฝึกทักษะการแต่งกวีนิพนธ์ทุกประเภทและประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำ�วัน Study definitions, the importance, the development and the categories of Thai poetry, thestudy of prosody, content and literary arts, the comparative analysis and the evaluation of Thai poetry,practice all kinds of Thai poetry writing and their applications in daily life.1541212 ศาสตรก์ ารอ่าน 3(3-0-6) Science of Reading ศึกษาความรพู้ ้ืนฐานเก่ยี วกับการอ่าน พฒั นาทกั ษะการอ่านเร็ว การอ่านจับใจความสำ�คัญ การอา่ นสรปุ ความ การอา่ นตคี วาม การอา่ นวเิ คราะห์ การอา่ นอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และฝกึ การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นในรปู แบบต่างๆ ฝึกการเขียนแผนภูมิความคิดจากส่งิ ที่อ่าน Study fundamental reading, speed reading development, reading for main ideas, summarizing,interpretative reading, analytical reading, reading critically, along with practicing conducting variousforms of reading promotion activities and drawing a mind map from your reading. 21

1541213 ศาสตรก์ ารเขียน 3(3-0-6) Science of Writing ศกึ ษาความรพู้ น้ื ฐานเกย่ี วกบั การเขยี น การรวบรวมและเรยี บเรยี งขอ้ มลู การจ�ำ แนกความคดิ การวางโครงเรื่อง การเขยี นแผนภูมคิ วามคดิ การเขยี นย่อหน้า การบันทึก การเขียนประเภทตา่ งๆ ในชวี ิตประจำ�วนั Study basic writing, gathering and arranging information, classification of thoughts, plotting,drawing a mind map, paragraph writing, note-talking, and writing in daily life.1541214 วรรณคดีศกึ ษา 3(3-0-6) Thai Literature Studies ศกึ ษาววิ ฒั นาการของวรรณคดไี ทยสมยั ตา่ งๆ ในดา้ นรปู แบบค�ำ ประพนั ธ์ เนอื้ หา แนวคดิ ในวรรณคดีทส่ี มั พันธก์ ับยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ไทย วิเคราะห์คณุ คา่ ทไ่ี ด้รบั จากวรรณคดีไทยทีม่ ีอทิ ธพิ ลในปจั จุบัน Study the development of Thai literature in different time periods on verse pattern, content,ideas and concepts found in the works of literature in relation to Thai historical Age, putting a valueon famous Thai literature. 1541215 ศาสตรแ์ ละศิลปะการพูด การฟงั 3(3-0-6) Science and Art of Speaking - Listening ศึกษาหลกั การ เทคนิค และศิลปะของการพดู รวมทงั้ การฟงั เนน้ การฝกึ ทกั ษะเพอื่ พฒั นาการพดู การฟงัใหม้ ีประสิทธภิ าพ ถูกต้อง เหมาะสมกบั บคุ คล กาลเทศะ และโอกาสในสถานการณ์ตา่ งๆ Study the principles, techniques and the art of speaking and listening. Develop and practiceeffective speaking and listening skills appropriate for various situations and occasions.1542105 ภาษากบั สงั คม 3(3-0-6) Language and Society ศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาษากบั สงั คม อทิ ธพิ ลจากตวั แปรทางสงั คมทม่ี ผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางภาษา และอทิ ธพิ ลของภาษาที่มีต่อสังคม Study a relationship between language and a society, influences of social variables affectingthe language changes, and the influences of the language on the society.1542213 การเขยี นภาคนิพนธ์ 3(3-0-6) Term Paper Writing ศกึ ษารปู แบบและโครงสรา้ งของภาคนิพนธ์ กระบวนการสืบคน้ การอ้างองิ การจดั กลุ่มการวเิ คราะห์สงั เคราะห์ และเรยี บเรยี งขอ้ มลู ฝกึ ทกั ษะการเขยี นงานทางวชิ าการใหเ้ ปน็ ภาคนพิ นธ์ และน�ำ เสนอผลงานฉบบั สมบรู ณ์ Study the formats and structures of a term paper, information seeking process, referencing,classifying, analyzing, synthesis and organizing information, practice academic pieces of writing andturning them into a term paper, and present a complete piece of work.1542408 วรรณกรรมร่วมสมัย 3(3-0-6) Contemporary Literary Works ศกึ ษาลกั ษณะและรปู แบบของวรรณกรรมปจั จบุ นั ทง้ั รอ้ ยแกว้ และ รอ้ ยกรองของไทยและตา่ งประเทศท่ีเปน็ บนั เทงิ คดแี ละสารคดี ฝกึ การวเิ คราะห์ วจิ ารณจ์ ากผลงานวรรณกรรมปจั จบุ นั ทม่ี ชี อ่ื เสยี ง และน�ำ เสนอผลงานท้งั การพดู และการเขยี น Study the characteristics and forms of present-day Thai and foreign literary works includingfictions and non-fictions both in prose and poetry, analyzing and criticizing famous literary works,making spoken and written presentation.22

1542604 คติชนวิทยา 3(3-0-6) Thai Folklore ศกึ ษาความหมาย ลกั ษณะ ความเปน็ มา ประเภท คณุ คา่ ของคตชิ นวทิ ยาในวถิ ชี วี ติ คนไทย วเิ คราะหแ์ นวคดิของคตชิ นวทิ ยาทปี่ รากฏในวรรณคดี วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ รวมถงึ ประเพณี วฒั นธรรม ความเชอื่ ในชมุ ชน ศกึ ษาวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ทางคติชนวทิ ยาและน�ำ เสนอโดยสอ่ื ประสม Study the meanings, characteristics, history, types, and values of folklore in Thai way oflife, analyzing folklore concepts in literature, local literature including traditions, cultures, beliefs incommunity, folkloristic data collection methods, and making a presentation by using multimedia.1543216 การเขยี นในส่อื สารมวลชน 3(3-0-6) Journalistic Writing ศึกษาความหมาย ความส�ำ คัญ รปู แบบ โครงสร้าง การตั้งประเดน็ การนำ�เสนอเนื้อหาและแนวคิดในสอื่ สารสนเทศ เชน่ หนงั สอื พมิ พ์ หนงั สอื พมิ พอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เวบ็ ไซต์ เปน็ ตน้ ฝกึ ทกั ษะการเขยี นยอ่ ความ สรปุ ความและขยายความ นำ�เสนอเปน็ รูปธรรม Study journalism, in terms of its definitions, importance, forms, structures, themes, contentpresentation, and concepts in journalism such as newspaper, electronic newspapers, websites, etc.,practice summarizing skills, elaborating skills and presentation skills.1543425 วรรณกรรมวจิ ารณ์ 3(3-0-6) Literary Works Criticism ศึกษาความหมาย ความสำ�คญั วิวฒั นาการ และทฤษฎวี รรณกรรมวิจารณท์ ้ังของไทยและต่างประเทศเน้นทกั ษะการวเิ คราะห์ วจิ ารณ์วรรณกรรม นำ�เสนอดว้ ยการอภิปรายและรายงานวิชาการ Study literary works criticism in terms of its definitions, importance, history, and both Thaiand foreign theories of literary works criticism emphasizing analyzing skills and literary works criticiam,giving a presentation by using class discussions and academic reports.1543601 ภาษาไทยในองค์กร 3(3-0-6) Thai in Organizations ศกึ ษาลกั ษณะเฉพาะของการใชภ้ าษาในการสอื่ สารภายในองคก์ ร ทงั้ รปู แบบและเนอื้ หา ฝกึ ทกั ษะการฟงัการพดู การอา่ น และการเขยี นในงานสารบรรณและงานธรุ การ เนน้ การจบั ใจความ การสรปุ ความ การตคี วาม และการขยายความใหส้ ามารถสอ่ื สารได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ Study specific features of using Thai, both forms and subject matters, for communicationwithin an organization, practice listening, speaking, reading, and writing in filing work and clericalwork emphasizing catching the gist, summarizing, interpreting, and explaining a message in a moredetailed way so as to communicate clearly and effectively.1543603 ภาษาไทยสำ�หรับชาวต่างประเทศ 3(3-0-6) Thai for Foreigners ศกึ ษาปญั หาการใชภ้ าษาไทยทง้ั การพดู การอา่ น และการเขยี น ของชาวตา่ งประเทศ ในดา้ นการออกเสยี งการใช้คำ� การใช้ประโยค การส่ือความหมาย และวิธกี ารแกป้ ัญหาการสื่อสารในบรบิ ทของสังคมไทย Study the problems of speaking, reading, and writing Thai for foreigners, in particular, thematter of pronunciation, language use at word and sentence levels, expressing a meaning, and howto solve a communicative problem in Thai society context. 23

1544905 การวจิ ยั ทางภาษาไทย 3(3-0-6) Research in Thai Studies ศกึ ษารปู แบบ กระบวนการท�ำ วจิ ยั ทางภาษาไทย ศกึ ษาเนอ้ื หาและแนวคดิ ทางภาษา ฝกึ ประมวลความรู้จากวรรณกรรมและแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ ฝกึ ทกั ษะการคน้ ควา้ ขอ้ มลู การเรยี บเรยี งขอ้ มลู การสงั เคราะหข์ อ้ มลู และการทำ�งานวจิ ยั ในรปู แบบตา่ งๆ ทงั้ ด้านคณุ ภาพและปริมาณ โดยสามารถนำ�เสนอผลการวิจัยไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ Study formats, research methodology in Thai studies, subject matters and concepts,systematizing knowledge from the works of literature and other resources, information searching,information processing, information synthesis, and undertaking qualitative and quantitative researchand clearly present its findings.1544906 สมั มนาภาษาไทย 3(3-0-6) Seminar on Thai Studies ศกึ ษาความหมาย ความส�ำ คญั หลกั การและวธิ กี ารจดั สมั มนาโดยใชก้ ระบวนการ กลมุ่ สมั พนั ธ์ วเิ คราะห์ปรากฏการณข์ องภาษาไทย ปญั หา และวธิ กี ารแกไ้ ข สรปุ เปน็ แนวทางพฒั นา น�ำ เสนอในรปู แบบการสมั มนาอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ Study definitions, importance, principles of seminar on Thai studies, holding a seminar bymeans of a group process to investigate and analyse a phenomenon of using Thai together with itsproblems and practical solutions, clearly presenting the results in the form of seminar.กลมุ่ วชิ าเน้อื หา (เลือก)กล่มุ วชิ าภาษาไทยและภาษาศาสตร์1543106 ภาษาถน่ิ 3(3-0-6) Dialect ศกึ ษาเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหว่างภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาไทยถิ่นอนื่ ๆอีก 3 ภาค ในดา้ นระบบเสยี ง ถอดเสยี งแสดงหนว่ ยเสยี งและเปรยี บเทยี บค�ำ ศพั ท์ โดยแบง่ ออกหมวดๆ ตามความหมายประเภทตา่ งๆเปน็ การเปรียบเทียบภาษาไทยถ่นิ เชิงวิชาการดา้ นสทั วทิ ยา To study and compare a difference between standard Thai and 3 dialects ,phonology ,vocabulary.1543107 อรรถศาสตรเ์ บอื้ งต้น 3(3-0-6) The introduction of semantics ศกึ ษาความหมายในภาษาไทย องคป์ ระกอบของความหมาย ความหมายของรปู ภาษา ระดบั คำ� ระดับประโยค และขอ้ ความตอ่ เน่อื ง Study meaning in Thai language, components of meaning, meaning of language, word,sentence and text.1543308 ภาษาบาลสี นั สกฤตทส่ี ัมพันธ์กบั ภาษาไทย 3(3-0-6) Pali & Sanskrit is associated with Thai language ศึกษาประวัติ ภาษา และอารยธรรมของชนชาติอารยันอินเดีย การรับภาษาบาลีสันสกฤตไว้ในภาษาไทย รปู เสียง ความหมาย และการใช้ค�ำ ไทยทมี่ าจากภาษาบาลสี นั สกฤตเปรียบเทียบกบั รูป เสียง ความหมายและการใชค้ �ำ ในภาษาเดิม Study history, language and civilization of the Aryan peoples in India. Receiving Pali andSanskrit in Thai language such as form, sound, meaning and usage of Thai words form Pali andSanskrit compared with form, sound, meaning and usage of words in the original language.24

1543505 ววิ ัฒนาการของแบบเรยี นภาษาไทย 3(3-0-6) Evolution of Thai Textbooks ศกึ ษา วเิ คราะห์ และเปรยี บเทยี บแบบเรยี นภาษาไทยตง้ั แตส่ มยั แรกจนถงึ ปจั จบุ นั ในแงป่ ระวตั ิ แนวคดิพฒั นาการของแบบเรยี นในชว่ งเวลาตา่ งๆ ของสงั คมไทย ตลอดจนศกึ ษาวธิ กี ารและฝกึ สรา้ งแบบเรยี นภาษาไทยให้เหมาะสมกับวัยและระดบั การเรียนรูข้ องผ้เู รยี น Study, analyze and compare of Thai textbooks from the first period to the present in termsof history, concepts, and development in each period of Thai society, and also the methodology ofwriting textbooks appropriated to students’ ages and learning levels.1544207 ภาษาศาสตร์กับการสื่อสาร 3(3-0-6) Linguistics and communication ศกึ ษาหลักการทางภาษาศาสตร์ทีส่ มั พันธ์กับการสอื่ สาร ทฤษฎกี ารสอื่ สาร ประเภทของการสอื่ สารกลวธิ ขี องการสื่อสาร ตลอดจนปญั หาของการส่อื สารท่สี ัมพนั ธ์กบั ความแตกตา่ งดา้ นภาษาและวัฒนธรรม Study of linguistic principles related to communication, ccommunication theory, type ofcommunication, method of communication and the problem of communication in relation to differencesin language and culture.1544610 คลงั แห่งค�ำ 3(3-0-6) Thai Lexicon ศกึ ษาทม่ี า วเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงของค�ำ ส�ำ นวน ค�ำ ทบั ศพั ท์ ค�ำ บญั ญตั ิ ค�ำ สแลง และค�ำ ยอ่ ทป่ี รากฏในสือ่ สิง่ พิมพแ์ ละสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ Study and analyze origins, the change of words, idioms, transliterated words, coined words,slang, and abbreviation in printed and electronics media. 1553114 ภาษาศาสตรเ์ ชิงสังคม 3(3-0-6) Sociolinguistic ศกึ ษาลกั ษณะภาษาในบรบิ ทและสถานการณต์ า่ ง ๆ ทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากปจั จยั ทางสงั คม ไดแ้ ก่ เพศ อายุการศึกษา อาชพี รวมถงึ วธิ กี ารส่ือสาร ทศั นคติ และค่านยิ มทางวฒั นธรรมในการส่ือสาร To study character of language in any context or situations that are influence from manyfactors , sex, age, education, occupation, including the way to communication attitude and value ofculture in communicationกลมุ่ วชิ าการใชภ้ าษาไทย1542214 เทคนคิ การยอ่ และการสรุปความ 3(3-0-6) Summarizing and Briefing Technique ศกึ ษาหลกั การ เทคนคิ และรปู แบบของการยอ่ ความและการสรปุ ความ ฝกึ จบั ใจความส�ำ คญั จากการฟงัและการอา่ น จากสอ่ื สง่ิ พมิ พแ์ ละสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การบรรยาย การสมั มนา การประชมุเน้นฝึกทกั ษะการพดู การเขยี นสรุปความและยอ่ ความอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ Study of principles, techniques and forms of summarizing and briefing. Practice of listeningand reading for main idea, from various situations, i.e. lecture, seminar, and meeting. Develop andpractice effective summarizing and briefing skills 25

1542215 การพดู เพ่อื สังคม 3(2-2-5) Social Speaking ศกึ ษาหลกั การ เทคนคิ ศลิ ปะการพดู เพอื่ สงั คม และฝกึ ทกั ษะการพดู เพอื่ สงั คมในโอกาสและสถานการณ์ต่างๆ ไดแ้ ก่ การพดู สนุ ทรพจน์ การพดู โน้มนา้ วใจ การพูดเพื่อประชาสมั พันธ์ และการพดู บรรยายสรุปStudy principles, techniques, arts of speaking for human relationship and sociability, i.e. speech,convince, public relations speaking, and briefing. 1542603 ความคิดสร้างสรรคท์ างภาษาไทย 3(3-0-6) Creative Thinking in Thai ศกึ ษาความหมาย กระบวนการคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์ น�ำ แนวคดิ สรา้ งสรรคไ์ ปวเิ คราะหง์ านวรรณกรรม และงานทางสอื่ มวลชนท่ีสะท้อนความคดิ สรา้ งสรรค์ Study definitions of creative thinking process, and put them to use to analyze the works ofliterature and mass media works reflecting creative thinking.1543105 การส่อื สารข้ามวฒั นธรรม 3(3-0-6) Cross - Cultural Communication ศกึ ษาทฤษฎที เี่ กย่ี วขอ้ งกบั การสอื่ สารระหวา่ งวฒั นธรรม วเิ คราะห์ ตคี วาม สงั เคราะหป์ จั จยั ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ความเขา้ ใจภาษาไทยทีม่ ีสาเหตุมาจากความแตกต่างด้านภาษาและวัฒนธรรม และแนวทางการแก้ไขปญั หา Study theories related to inter-cultural communication, analyzing, interpreting, synthesizingfactors affecting undersanding Thai resulting from language and cultural differences as well as waysto solve problems.1543218 ศลิ ปะการพูดเพื่อสาระบันเทงิ 3(2-2-5) Art of Speaking for Edutainment ศกึ ษารปู แบบ วธิ กี าร เทคนคิ และศลิ ปะการพดู เพอ่ื สาระบนั เทงิ ฝกึ ทกั ษะการพดู และสรา้ งสรรคผ์ ลงานท้งั จากวรรณกรรมและสือ่ สารสนเทศ เพอื่ สาระบันเทงิ Study forms, methods, techniques and arts of speaking for edutainment based on literaryworks and the media, and various practices of speaking for edutainment.1543223 ปญั หาการใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) Problem in Thai Usage ศกึ ษาลกั ษณะและสาเหตขุ องการใชภ้ าษาไทยทเ่ี ปน็ อปุ สรรคตอ่ การสอื่ ความหมาย พรอ้ มทง้ั หาวธิ กี ารแก้ไข Study of the characteristics and cause of the Thai usage as a barrier to communication.And find how to fix it.1543605 ศิลปะการน�ำ เสนอ 3(3-0-6) Art of Presentation ศกึ ษารปู แบบและเนอื้ หาทส่ี มั พนั ธก์ บั จดุ ประสงคใ์ นการน�ำ เสนอ การวางแผน การเตรยี มการสรา้ งสารในการนำ�เสนอ การประสานงาน การวิเคราะห์ การประเมนิ ผลงาน โดยบรู ณาการการใชภ้ าษา น�ำ เสนออย่างมีประสทิ ธภิ าพ วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ผล จัดทำ�โครงการฝกึ ปฏบิ ัตใิ นสถานการณจ์ ริง Study the models and content relating to presentation objectives, planning a presentation,preparing documents for making a presentation, coordination, analyzing and evaluating an outcomeof a presentation by integrating with language use, effectively making a presentation, conducting apresentation project in real situations.26

1543607 การแปลภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทย 3(3-0-6) Foreign language transition into Thai ศกึ ษาหลกั การ แนวคดิ ทฤษฎกี ารแปล กลวธิ กี ารแปล การวเิ คราะหแ์ ละการประเมนิ การแปล และการแปลภาษาตา่ งประเทศเปน็ ภาษาไทย Study of principles, concepts, translation theories, translation methods, translation analysisand evaluation, as well as translation from a foreign language into Thai.กลุ่มวชิ าวรรณคดีไทย1542407 โลกทัศน์ในวรรณกรรมแปล 3(3-0-6) World View on Translated Literary Works ศึกษาความเป็นมา รูปแบบ เนื้อหา แนวคิดของวรรณกรรมต่างประเทศท่ีปรากฏในวรรณกรรมไทยวเิ คราะหอ์ ทิ ธิพลและผลกระทบทีม่ ตี ่อวรรณกรรมและสงั คมไทย Study the history of foreign literary works appearing in Thai literary works, including itsforms, content and concepts, the analysis of the influence and effects of foreign literary works onThai literature and Thai society.1543427 วรรณกรรมสรา้ งสรรค์ส�ำ หรบั เดก็ 3(3-0-6) Creative Literary Works for Children ศกึ ษาการเขยี นบนั เทงิ คดี และสารคดสี รา้ งสรรคส์ �ำ หรบั เดก็ วยั ตา่ งๆ ทงั้ รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง การสรา้ งเรอื่ งทสี่ มั พนั ธก์ บั การรบั รทู้ างภาษาของสมอง การสรา้ งโครงเรอ่ื งแนวคดิ คณุ ธรรมทเ่ี ดก็ ควรไดร้ บั และการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นจากวรรณกรรมส�ำ หรบั เดก็ การเลอื กใชถ้ อ้ ยค�ำ การจดั ท�ำ ภาพประกอบ วธิ กี ารน�ำ เสนอและการจดัรปู เลม่ Study creative fiction and non-fiction writing both in prose and poetry for children at differentage levels, writing a story in connection with the language perception by the brain, hatching a plot,morality and ethic that children should obtain from the story, conducting reading-promotion activitiesfrom literature for children, phraseology, composing illustrations and images, how to present a plotand a story as well as design a book.1543432 วรรณคดีนริ าศ 3(3-0-6) Nirat Literature ศกึ ษารปู แบบ เนอ้ื หา กลวธิ ี และศลิ ปะการประพนั ธข์ องวรรณกรรมนริ าศ ตลอดจนศกึ ษาววิ ฒั นาการของวรรณกรรมนิราศ Study of the form, content, methods, and writing style of Nirat literary works, also its evolutionof this literary genre.1543433 วรรณกรรมในสมัยรัชกาลท ี่ 6 3(3-0-6) Literary works of King Rama VI ศึกษาพระราชประวัติและพระราชนิพนธ์ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อย่หู ัว รวมถงึ ลักษณะพิเศษ และอิทธพิ ลที่มีตอ่ วรรณคดีในสมัยต่อมา Study of biography and Royal works both prose and poetry of King Rama VI as well asspecial characteristics, effects, and influence towards the subsequent literature. 27

1543434 วรรณคดเี ปรียบเทียบ 3(3-0-6) Comparative literatures ศึกษาความเก่ียวข้องของข้อเท็จจริง เปรียบเทียบแนวความคิดของผู้เขียนชาวตะวันตกและชาวตะวันออกในลักษณะเด่นต่างๆ ของวรรณคดีสำ�คัญต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีตา่ งๆ ในชาติเดยี วกนั Study of relevant facts, compare the concepts of a Western and Eastern writers in termsof outstanding features of literatures from the past to present as well as the relationship between thevarious literatures in the same nation.1543435 วรรณกรรมพงสาวดารจนี ในวรรณคดีไทย 3(3-0-6) A Survey of Chinese Chronicle Novels in Thai Literature ศกึ ษาวรรณกรรมทางพงศาวดารจีนท่ีถ่ายทอดเป็นภาษาไทย นับต้งั แตส่ มยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราชเปน็ ต้นมา โดยศึกษารปู แบบทว่ งทำ�นองแตง่ คุณค่า และอทิ ธิพลตา่ งๆ ทมี่ ตี อ่ วรรณคดีไทย Study of Chinese chronicle novels transfer is Thai. Since the reign of King Rama the 1stonwards By studying the melodies composed by values ​a​ nd influences to affect Thai literature.1543436 วรรณคดเี อกของไทย 3(3-0-6) Thai masterpiece literatures ศกึ ษาวรรณกรรมคดที สี่ ำ�คญั ของไทยอยา่ งละเอยี ด โดยเนน้ ประวตั ิผแู้ ต่ง ความเปน็ มา ลักษณะเดน่ ท่ีท�ำ ใหว้ รรณคดเี ร่ืองนั้นๆ ไดร้ บั ยกย่องเปน็ วรรณดคเี อกStudy of selected masterpieces of Thai literature; focus on authors’ biography, background, andoutstanding characteristics that make these literatures accepted as masterpieces.กลมุ่ วชิ าภาษาและวรรณกรรมท่ีสัมพนั ธก์ ับสังคมและวัฒนธรรม1543224 ภาษาและวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6) Language and culture of Thailand ศกึ ษาความสมั พนั ธข์ องภาษากบั วฒั นธรรม ลกั ษณะของภาษาไทยทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ เอกลกั ษณไ์ ทย ไดแ้ ก่ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปกรรม นาฏศลิ ป์ ดรุ ยิ างคศลิ ป์ พรรณพชื และเรอื่ งอืน่ ๆทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง Study the relationship between language and culture. Feature of Thai language reflects itsunique such as traditions, arts, dance, music, plants and other related.1543429 วรรณกรรมกับวัฒนธรรมอาหาร 3(3-0-6) Literary Works and Food Culture ศกึ ษาวรรณกรรมทม่ี เี นอ้ื หาสมั พนั ธก์ บั วฒั นธรรมดา้ นอาหาร ไดแ้ ก่ การรบั ประทานอาหาร สว่ นประกอบของอาหาร ความนิยม ประเพณี ความเช่ือ และภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรม นำ�เสนอเปน็ งานเขียนเชิงวิชาการและการประชาสัมพันธ์ Study language and literature works concerning, consume, ingredients, favor, custom, beliefand the cultural reflection, applying literary works as an academic and public relations writing.28

1543430 วรรณกรรมสังคมการเมอื ง 3(3-0-6) Sociopolitical Literary Works ศกึ ษาความสมั พันธร์ ะหวา่ งวรรณกรรมกับสภาพสังคมและการเมอื ง วิเคราะหภ์ าพสะท้อน ผลกระทบและอทิ ธพิ ลทมี่ ผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงวรรณกรรม สมยั ตา่ ง ๆ บทบาทของวรรณกรรมสงั คมและการเมอื งในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของบนั ทึกประวตั ิศาสตร์ Study the relations between literary works and sociopolitical conditions, the analysis of thereflection of effects and influences affecting literary works changes, including the roles of sociopoliticalliterary works as a part of historical record.1543431 วรรณกรรมดา้ นการท่องเทีย่ ว 3(3-0-6) Tourism Literary Works ศกึ ษาวรรณกรรมทมี่ เี นอื้ หาสมั พนั ธก์ บั การทอ่ งเทย่ี ว ไดแ้ ก่ วรรณคดที เี่ กยี่ วขอ้ ง นทิ านพน้ื บา้ น ต�ำ นานท้องถิ่น เพ่ือฝึกการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการความรู้ นำ�เสนอเป็นงานเขียนเชิงวิชาการและการประชาสัมพันธ์ Study literary works for tourism, i.e. relevant literatures, folktales, local legend in order to practiceanalyzing, synthesizing, and integrating knowledge, applying tourism literary works as an academicand public relations writing.1543437 วรรณกรรมเยาวชน 3(3-0-6) Young-adult fiction ศกึ ษานวนยิ ายหรอื เรอ่ื งสนั้ ส�ำ หรบั กลมุ่ เยาวชนในรปู แบบของตวั ละคร แกน่ เรอ่ื ง ฉาก แนวทางของเรอ่ื งและวิธีการเลา่ เรอื่ ง Study of a novel or short story for young-adult people in the form of characters, themes,scenes of the story, plot, and story-telling.1543438 วรรณกรรมการแสดง 3(3-0-6) Performance literary works ศกึ ษาประวตั กิ ารแสดง และวรรณกรรมประกอบการแสดงของไทยประเภทละคร หนงั โขน หนุ่ กระบอกลิเก ในด้านเนอ้ื เร่ือง วธิ ีด�ำ เนินเร่อื ง และสำ�นวนภาษา Study of the history of Thai performing arts; such as, Lakon (play), Nang (shadow puppet),Khon (Thai classic masked play), Hoon Krabok (marionette), and Likay (Thai traditional dramaticperformance) in terms of the story, plot, and language style.1543439 ต�ำ นาน ความเช่อื และพธิ กี รรม 3(3-0-6) Myth, belief, and ritual     ศึกษาความหมาย แนวคดิ บทบาทและหน้าทข่ี องต�ำ นาน ทมี่ าของความเชอื่ และพธิ กี รรม ตลอดจนความสมั พันธก์ บั สถาบนั ทางสงั คมอื่นๆ ทส่ี ะท้อนในวถิ ีชวี ิตของคนไทย Study of meanings, concepts, roles, and functions of myth, background of beliefs and ritualsas well as their relations to other social institutions reflected in the Thai lifestyles. 29

กลมุ่ วชิ าภาษาไทยเพ่อื อาชีพ1543206 การเขยี นบันเทิงคดี 3(3-0-6) Fiction Writing ศกึ ษาลกั ษณะและรปู แบบของงานเขยี นบนั เทงิ คดใี นสอ่ื ประเภทตา่ งๆ ศกึ ษากลวธิ กี ารเขยี นบนั เทงิ คดีและฝึกเขยี นบนั เทิงคดีประเภทต่างๆ Study characteristics and different fiction writing styles in mass media, fiction writing strategies,and practice writing a variety of fiction writing.1543217 การพดู ทางวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยุโทรทศั น ์ 3(2-2-5) Speaking for Broadcasting ศึกษาหลักวิธีการใชเ้ สียง วิธีการพดู ทางวทิ ยกุ ระจายเสียงและวิทยุโทรทศั น์ โดยฝกึ อ่านขา่ ว เขยี นข่าวและฝกึ ทกั ษะการเปน็ พิธีกร และผ้ปู ระกาศ Study how to use and utter sound, how to speak on air, practice reading news, writingnews, and picking up skills to become an emcee and an announcer.1543220 การเขยี นสารคดี 3(3-0-6) Documentary Writing ศกึ ษาลกั ษณะและรปู แบบของงานเขยี นสารคดใี นสอ่ื ประเภทตา่ งๆ ศกึ ษากลวธิ กี ารเขยี นสารคดี และฝึกเขียนสารคดีประเภทต่างๆ Study characteristics and forms of documentary writings in mass media, documentarywriting strategies, and practice wrting a variety of documentary writings.1543222 การเขียนสำ�หรบั หนงั สือพิมพ์ 3(3-0-6) Writing for Newspapers ศกึ ษาลกั ษณะ รปู แบบ และวธิ กี ารเขยี นในหนา้ หนงั สอื พมิ พ์ ทงั้ ทเ่ี ปน็ สอื่ สงิ่ พมิ พแ์ ละสอ่ื ออนไลน์ ศกึ ษาทงั้ ดา้ นเนอ้ื หา วธิ กี ารน�ำ เสนอขา่ ว การใชถ้ อ้ ยค�ำ ในหนงั สอื พมิ พ์ ฝกึ ทกั ษะการเขยี นขา่ ว บทความ ทปี่ รากฏในหนา้หนงั สอื พิมพ์ Study characteristics, forms, content, and how to write for a newspaper in paper and onlineformat, how to report news, phraseology or use of language in a newspaper, practicing writing news,articles, features in newspaper.1543602 เทคนิคงานเลขานกุ าร 3(3-0-6) Secretarial Techniques ศกึ ษาบทบาทและความส�ำ คญั ของการใชภ้ าษาไทยในงานเลขานกุ าร เทคนคิ งานสารบรรณ ฝกึ การฟงัการพดู ในงานเลขานกุ าร เชน่ การฟงั ค�ำ สงั่ การพดู น�ำ เสนองาน การรบั โทรศพั ท์ ฝกึ การอา่ นการเขยี นเอกสารเชน่ การอา่ นเอกสารการประชมุ การเขยี นรายงาน การประชมุ การยอ่ ความ การสรปุ ความเอกสารตา่ งๆ ฝกึ แกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้าในสถานการณ์จริง Study the roles and the importance of Thai usage for secretary, filing and clerical techniques,practicing listening and speaking for secretary tasks such as listening for instructions, oral presentation,and answering the phone, practicing reading and writing the minutes, summarizing documents,practices solving an urgent and unexpected problem in a real situation.30

1543604 เทคนิคบรรณาธิการกิจ 3(3-0-6) Editorial Techniques ศึกษาความหมาย คุณลักษณะ บทบาทหน้าทีแ่ ละเทคนิคการเปน็ บรรณาธิการ โดยฝึกทักษะการเป็นบรรณาธกิ าร ท้งั การพสิ จู นอ์ ักษร การจัดรปู เลม่ การจัดเอกภาพของหนังสือ การจัดพมิ พ์ และกฎหมายเกีย่ วกบัการพิมพ์ Study the definitions, attributes, techniques, and roles of editors, practice picking up skillsto become an editor, proofreading, book organization, creating book unity, publishing books, andpublishing laws.1543219 เทคนิคการสมั ภาษณ ์ 3(3-0-6) Interviewing Techniques ศกึ ษา หลกั การ วธิ กี าร และศลิ ปะในการสมั ภาษณ์ การจดั กระบวนการสมั ภาษณ์ ศกึ ษาลกั ษณะสอื่ ทใ่ี ช้ประกอบการสมั ภาษณโ์ ดยฝึกปฏบิ ตั ใิ นสถานการณจ์ ริง Study principlesม methods, and arts of the interview, conducting an interview, using materialsfor interviewing, and providing hands-on experience in real situations.1543606 วิธีสอนภาษาไทยสำ�หรับชาวต่างประเทศ 3(3-0-6) Thai Teaching Method for Foreigners ศกึ ษาจติ วทิ ยาการสอนภาษาไทยส�ำ หรบั ชาวตา่ งประเทศ เทคนคิ วธิ สี อน รปู แบบการจดั กจิ กรรมการสรา้ งผลติ สื่อและการวดั ประเมินผล เพื่อใช้ในการสอนภาษาไทยสำ�หรับชาวต่างประเทศ Study psychology of Thai instruction for foreigners, techniques, teaching methods, patternsof establishing an activity, producing teaching materials, measurement and evaluation.1544606 ศิลปะการเขียนบท 3(3-0-6) Art of Script Writing ศกึ ษาความหมาย ความส�ำ คญั หลกั การ รปู แบบและวธิ กี ารเขยี นบท ฝกึ ทกั ษะการเขยี นบทรปู แบบตา่ งๆทีเ่ หมาะสมกบั สอ่ื จดุ มงุ่ หมาย และกลุม่ เป้าหมาย Study definitions, importance, principles, script formats and how to write a script appropriateto media, objectives, and target group.1544607 ศิลปะการประพันธเ์ พลง 3(3-0-6) Art of Song Composition ศกึ ษารปู แบบ กลวธิ ี และศลิ ปะการประพนั ธเ์ พลงไทย การใชภ้ าษาถอ้ ยค�ำ ส�ำ นวน และการน�ำ เสนอเนอ้ื หาการสื่อความคิด อารมณ์ วิเคราะห์ภาพสะท้อนทางสังคม วัฒนธรรม และค่านิยมในบทเพลง และฝึกการประพันธ์เพลง Study formats, techniques and arts of Thai compositions, the way words and idioms arechosen and used, expressing thoughts and feelings, analyzing social and cultural reflection as wellas value perception in song lyrics, practice composing a song.1544608 นวัตกรรมและสอ่ื การสอนภาษาไทย 3(3-0-6) Innovations and Thai Teaching Materials ศึกษาหลกั การและเทคนคิ การผลิตสื่อการเรยี นการสอนภาษาไทย รปู แบบต่างๆ โดยน�ำ นวตั กรรมท่ีทนั สมัยมาพฒั นาและผลิตส่ือการเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสมกบั เนื้อหาของรายวิชา Study principles and techniques for producing a variety of Thai teaching materials basedon modern innovations, producing Thai teaching materials appropriate to the subject matter of thecourse. 31

1544609 การใชโ้ ปรแกรมสำ�เร็จรูปในส�ำ นกั งาน 3(2-2-5) Using Software Packages in the Office ศึกษาและฝึกปฏิบัติโปรแกรมประยุกต์ ได้แก่ ชุดโปรแกรมสำ�นักงานของไมโครซอฟท์ อะโดบี และโอเพน่ ซอร์ส เพอ่ื ประยกุ ต์ใชใ้ นส�ำ นักงาน Study and practice application programs, i.e. MS Offices, Adobe as well as Open Sourcesin order to apply in the office. กลมุ่ วชิ าบังคับภาษาตา่ งประเทศภาษาอังกฤษ1551125 รปู และหน้าที่ของไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ 3(3-0-6) Forms and Functions of English Grammar ศกึ ษาไวยากรณภ์ าษาองั กฤษดา้ นรปู แบบและหนา้ ที่ โครงสรา้ งประโยคพน้ื ฐาน ชนดิ ของค�ำ การสรา้ งค�ำประโยคบอกเลา่ ประโยคปฏเิ สธ ประโยคค�ำ ถาม ประโยคค�ำ สงั่ และชนดิ ของประโยค ฝกึ การใชก้ รยิ าใหส้ อดคลอ้ งกบั ประธาน การใช้กาล และกรรมวาจก โดยบูรณาการกบั ทกั ษะการฟงั การพดู การอา่ นและการเขียน Study English grammar in terms of forms and functions, sentence structure, word classes,word formation, affirmatives, negatives, interrogatives, imperatives, and sentence types. Practice usingsubject-verb agreement, verb tenses, and the passive voice integrated with listening, speaking, readingand writing skills.1551126 การอา่ นภาษาองั กฤษทว่ั ไป 3(3-0-6) English Reading for General Purposes ศกึ ษาการอา่ นในระดบั ค�ำ วลี ประโยคและยอ่ หนา้ โดยใชก้ ลวธิ กี ารอา่ นเบอ้ื งตน้ การอา่ นแบบกวาดสายตาการอา่ นแบบหาขอ้ มลู เฉพาะ การอา่ นโดยสงั เกตจากค�ำ ส�ำ คญั การอา่ นแบบตคี วาม และวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งของบทอา่ นโดยผ่านส่ือท่ใี ชจ้ ริงในชีวติ ประจ�ำ วนั Study reading at word, phrase, sentence, and paragraph levels by using basic readingstrategies; skimming, scanning, looking for keywords, reading between the lines, and analyzing textorganization through authentic materials used in everyday life.1551127 การอ่านภาษาองั กฤษเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) English Reading for Academic Purposes ฝึกทกั ษะการอา่ นโดยใช้กลวิธีการอ่านทีห่ ลากหลายผ่านบทอา่ นท่มี ี ความยาวมากข้ึนทบ่ี รู ณาการอยู่ในบทอา่ นเชงิ วชิ าการ ฝกึ อา่ นเพอื่ ส�ำ รวจ ท�ำ นาย การหาความเชอ่ื มโยงของความคดิ จากค�ำ เชอ่ื ม การตคี วามประโยคทมี่ โี ครงสร้างซบั ซอ้ น และการหาใจความส�ำ คัญของบทอา่ นประเภทต่างๆ Practice reading skills and various reading strategies through longer texts integrated inacademic papers. Practice reading for previewing, predicting, recognizing related concepts by usingdiscourse markers, interpreting complicated sentences and finding out themes of various texts.32

1551128 การเขยี นภาษาองั กฤษเบอ้ื งต้น 3(3-0-6) Introduction to English Writing ศกึ ษาวธิ กี ารสรา้ งประโยคโดยเรมิ่ จากการใชค้ �ำ สรา้ งวลี การใชว้ ลี ในการสรา้ งประโยคและการเรยี บเรยี งประโยคเปน็ ขอ้ ความสน้ั ๆ ฝกึ การเขยี นภาษาองั กฤษตามรปู แบบตา่ ง ๆ คอื การกรอกแบบฟอรม์ การเขยี นบนั ทกึช่วยจ�ำ การจดบันทกึ สน้ั ๆ อยา่ งไม่เปน็ ทางการ การเขยี นแสดงความยินดี การเขียนบตั รเชญิ การเขียนแสดงความเสียใจและการขอโทษ Study how to write sentences starting from words to phrases, phrases to sentences andsentences to short paragraphs. Practice English writing in different patterns of writing, forms filling,memorandum, informal note-taking, congratulations, invitation cards, condolences and apology writing.1551129 การฟงั -พดู ภาษาอังกฤษในสถานการณ์ทั่วไป 3(3-0-6) English Listening –Speaking in General Situations ฝกึ ทกั ษะภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สารโดยใชบ้ ทสนทนาในสถานการณตา่ ง ๆ และสมั พนั ธสารตา่ งๆ จากสถานการณใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั และการมปี ฏสิ มั พนั ธ์ ทางสงั คม ฝกึ ภาษาพดู ทเี่ กย่ี วกบั การออกเสยี งและทว่ งท�ำ นองเสียง Practice communicative English using dialogues in various situations and extended discoursefrom everyday situations and specific social interactions. Practice spoken English with regards topronunciation and intonation.1551130 การฟัง-พดู ภาษาองั กฤษในสถานการณ์เฉพาะ 3(3-0-6) English Listening-Speaking in Specific Situations ฝึกทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษในลักษณะต่างๆ ตามสถานการณ์เฉพาะทั้งในบริบททางวิชาการและงานอาชพี การทำ�งาน การประชมุ สมั มนา การพดู น�ำ เสนอ การประชุมและการสมั ภาษณ์ Practice English listening and speaking skills with various aspects in specific situations both inacademic and professional contexts, at the work place, seminar, oral presentations, meetings andinterviews.1552117 การเขียนโตต้ อบภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Correspondence ฝกึ การเขยี นโตต้ อบรปู แบบตา่ งๆ จดหมายโตต้ อบทางธรุ กจิ และสงั คม การเขยี นจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ศึกษาการใช้ภาษาในการเขียนคำ�ขึ้นตน้ ในเนอ้ื ความจดหมายและค�ำ ลงทา้ ยตามวัตถุประสงค์ของจดหมาย Practice corresponding through various forms of writing regarding social and businesscorrespondences including e-mails. Study language used in salutation, body and closing for differentpurposes of correspondences.1552203 หลกั การแปล 3(3-0-6) Principles of Translation ศกึ ษาประวตั ิ แนวคดิ และทฤษฎกี ารแปล ขนั้ ตอนและกระบวนการแปล การปรบั บทแปล การสอื่ สารกบัการแปล ภาษาศาสตรเ์ ชงิ สงั คมกบั การแปล วจั นปฏบิ ตั ศิ าสตรก์ บั การแปล โครงสรา้ งประโยคทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ และคณุ สมบตั ขิ องนกั แปลทด่ี ี ฝกึ แปลจากภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาไทย และจากภาษาไทยเปน็ ภาษาองั กฤษ Study history, concepts and theories of translation, procession, adaptation, communication,sociolinguistics and pragmatics in translation, structure of Thai and English sentences as well asqualifications of being a good translator. Practice translation from Thai into English and vice versa. 33

ภาษาจีน1571124 หลกั และโครงสรา้ งภาษาจีน 3(2-2-5) Chinese Principles and Strutures ศกึ ษาระบบสัทอักษรจนี พินอิน รวมถึงการอ่านและเขยี นสัทอักษรจีน ไดอ้ ย่างถกู ต้อง เขา้ ใจกฎต่างๆของพนิ อนิ ลกั ษณะการออกเสยี งภาษาจนี ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง รหู้ ลกั การเขยี นตวั อกั ษรจนี สามารถฟงั พดู อา่ น เขยี นคำ�ศพั ท์ วลี ประโยค และบทสนทนาที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันอยา่ งงา่ ยๆ ไดแ้ ก่ การทักทาย การขอบคณุ การบอกลา การบอกวัน เดอื น ปี การนับตวั เลข Study the phonetic symbols for Chinese Pinyin, including the pronunciation of Chinesephonetic symbols and Chinese phonetic symbol writing. Practice correct pronunciation of the soundsof Chinese, Chinese character writing, practices of listening, speaking, reading and writing—in words,phrases, sentences and daily life conversation such as greeting, thanking, leave-taking, telling date/month/year, counting, etc.1571204 การสนทนาภาษาจีนเบื้องตน้ 3(2-2-5) Introduction to Chinses Conversation สามารถอา่ นวลี ประโยคและบทความสั้นๆ ได้ สามารถแนะน�ำ ตัวเอง และสนทนา โดยใชค้ ำ�ศัพทท์ ่ีเรยี นมาได้ ได้แก่ การถามช่อื สกลุ เชอื้ ชาต ประเทศตา่ งๆ การบอกทอ่ี ยู่ หมายเลขโทรศัพท์ การบอกเวลา การนับเงิน เป็นตน้ เรยี นรไู้ วยากรณเ์ บื้องต้น การใชล้ ักษณนามของสิ่งต่างๆ Practice Chinese reading, including phrases, sentences, and short articles. Self introduction,asking family names, countries, address, telephone number, telling numbers, telling cost in Chinesecurrency.1572401 การเขียนภาษาจนี เบอื้ งต้น 3(2-2-5) Introduction to Chinese Writing สามารถแตง่ ประโยค และขยายประโยคไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ สามารถฟงั พดู อา่ น เขยี นบทความได้ไม่ต่ำ�กว่า 80 คำ�ขึ้นไป สามารถใช้คำ�ศัพท์ท่ีมีความหมายคล้ายกันได้อย่างถูกต้อง และสามารถใช้ภาษาจีนบรรยายรปู ภาพท่ีกำ�หนดให้ได้ Construct of Chinese sentences and correct sentence modification, including theconsolidation of listening, speaking, reading article at least 80 words writing, synonym usage andChinese caption writing.1573301 การอ่านภาษาจนี เบือ้ งตน้ 3(2-2-5) Introduction to Chiese Reading ฝกึ ทักษะการอ่านข้อความ ย่อหน้า และงานเขียนขนาดสั้น Practice reading and writing skills from statement, paragraph, short writing.1573501 วัฒนธรรมจีน 3(3-0-6) Chinses Cultural Studies ศกึ ษาวฒั นธรรม ประเพณี ภมู ปิ ระเทศ ศาสนา ศลิ ปะ วถิ ชี วี ติ และประวตั ศิ าสตรโ์ ดยยอ่ ของประเทศจนี Study Chinese culture, tradition, geography, religion. arts, ways of life and brief hirtory.34

1573603 การแปลภาษาจนี 3(2-2-5) Chinese Translation ศกึ ษาหลกั เกณฑแ์ ละกลวธิ กี ารแปลความ ฝกึ การถอดความจากภาษาจนี เปน็ ภาษาไทยและจากภาษาไทยเป็นภาษาจนี คำ�และส�ำ นวนต่างๆ ทใ่ี ชใ้ นการแปลรวมท้ังขอ้ ควรคำ�นงึ ในการแปล Study the fundamental principles and techniques of translation, practice translating Chineseinto Thai and Thai into Chinese, words and idioms used in translation, a note of caution in translation.1573701 ภาษาจีนในสถานการณต์ ่างๆ 3(2-2-5) Chinese in Various Situatios ฝกึ ทกั ษะในดา้ นการฟงั และการพดู ในสถานการณจ์ �ำ ลอง สามารถแตง่ บทสนทนาตามหวั ขอ้ ทกี่ �ำ หนดได้และสามารถพดู โต้ตอบ หรอื แสดงความคดิ เหน็ อย่างง่ายๆในหวั ขอ้ ทีก่ �ำ หนดได้ Practice using simulation in listening and speaking, making a conversation according tothe given topics, responding to a conversation, expressing easy ideas in given topics.1574701 ภาษาจีนเพ่อื การทำ�งาน 3(2-2-5) Chinese for Works ฝกึ ทกั ษะการฟงั พดู อา่ น เขยี น สามารถสรปุ ใจความส�ำ คญั ได้ การเสนอรายงาน การอภปิ รายกลมุ่ เปน็ ตน้และสามารถเขยี นประวัติตนเองเปน็ ภาษาจนี ได้ Practice listening, speaking, reading and writing skills, summarizing main ideas, reportpresentation, group discussion, writing Chinese resume.1574702 ภาษาจีนเพอื่ งานธุรกิจ 3(2-2-5) Chinese for Business ศึกษาความรู้พ้ืนฐานทางธุรกิจท่ีเกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารภายในสำ�นักงาน ศัพท์เฉพาะ และบทสนทนาในองคก์ ร ไดแ้ ก่ การจดั การในส�ำ นกั งาน ภาระงาน การใชโ้ ทรศพั ท์ การจดั ตารางนดั หมาย การมปี ฏสิ มั พนั ธ์กบั บคุ คลอน่ื การเขยี นจดหมายภายในส�ำ นกั งาน (บนั ทกึ ชว่ ยจ�ำ โนต้ ยอ่ ค�ำ สงั่ ประกาศ) จดหมายสอบถาม จดหมายสงั่ ซ้ือ และจดหมายสมคั รงาน Study fundamental knowledge of business concerning inter-office communication, technicaljargon, and situational dialogues such as office management, workload, telephoning, organizingan appointment, interpersonal interactions, office correspondence (memos, notes, orders, andannouncement), letters of inquiry, quotations, application letter.ภาษาญ่ีปุ่น1561112 ภาษาญีป่ ุน่ เบ้อื งต้น 3(2-2-5) Basic Japanese ศกึ ษาตวั อกั ษรฮริ างานะ อกั ษรคาตาคานะ ตวั อกั ษรคนั จิ การนบั เลข วธิ กี ารบอกเวลา รวมถงึ ค�ำ ทกั ทายในโอกาสตา่ งๆ ท่จี �ำ เปน็ ต้องใช้ในสงั คมวัฒนธรรมญีป่ ุ่น Study Hiragana, Katakana, and Kanji scripts as well as practice counting numbers, tellingtime and greetings in important occasions appropriate for Japanese culture.1563203 การอ่านภาษาญี่ปนุ่ 3(2-2-5) Japanese Reading ฝกึ อา่ นประโยคและข้อความสัน้ ๆ ในระดับพ้ืนฐานและสรปุ จบั ใจความเนื้อหา Practice reading sentences and short statements at a basic level, catching and summarizingmain ideas from the reading. 35

1563303 ไวยากรณภ์ าษาญ่ปี ุ่น 3(2-2-5) Japanese Grammar ศกึ ษาโครงสรา้ งประโยคที่ใชใ้ นไวยากรณพ์ ้ืนฐานภาษาญปี่ ่นุ Study basic Japanese grammar.1563304 การเขยี นภาษาญปี่ ุ่น 3(2-2-5) Japanese Writing ฝึกเขยี นประโยคและขอ้ ความสน้ั ๆ ในสถานการณ์ทกี่ �ำ หนด Practice writing sentences and short statements in given situations.1563506 วัฒนธรรมญี่ปนุ่ 3(3-0-6) Japanese Cultural Studies ศกึ ษาวฒั นธรรม ประเพณี ภมู ปิ ระเทศ ศาสนา ศลิ ปะ วถิ ชี วี ติ และประวตั ศิ าสตรโ์ ดยยอ่ ของประเทศญปี่ นุ่ Study Japanese culture, tradition, geography, religion. arts, ways of life and brief hirtory.1563702 ภาษาญี่ปนุ่ เพอ่ื การสื่อสารส�ำ หรับวิชาชีพ 3(3-0-6) Japanese Communication for Careers สามารถแตง่ ประโยค และขยายประโยคไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ สามารถฟงั พดู อา่ น และเขยี นสามารถใชค้ ำ�ศัพทท์ มี่ ีความหมายคลา้ ยกันได้ อย่างถกู ต้อง และสามารถใชภ้ าษาญี่ป่นุ ในเชงิ วิชาชีพ Contruct of Japanese sentences and correct sentence modification, including theconsolidation of listening, speaking, reading article and writing, synonym usage for careers.1564403 การฟังและการพดู ภาษาญ่ีปุ่น 3(2-2-5) Japanese Listening-Speaking ฝึกทักษะการฟงั และการพูดภาษาญป่ี ุ่นเพือ่ การสื่อสารโดยใชบ้ ทสนทนาในสถานการณท์ ก่ี ำ�หนด Practice Japanese listening and speaking using determined situations.1564707 ภาษาญี่ปุน่ ในส�ำ นักงาน 3(2-2-5) Japanese in the Office ศกึ ษางานสำ�นักงานเบ้ืองตน้ เชน่ อุปกรณ์สำ�นักงาน ค�ำ ศัพท์เก่ียวกับงานส�ำ นักงาน การรบั โทรศัพท์และงานเอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ ง และศกึ ษาโปรแกรมไมโครซอฟทอ์ อฟฟิศภาษาญป่ี ุ่น Study basic office work such as office devices, vocabulary of office work, answering thephone, doing documentary work, and Japanese Microsoft Office.กลุ่มวิชาการฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ1544804 การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพภาษาไทย 5(0-30-0) Practicum ฝกึ งานในหนว่ ยงานรฐั บาล รัฐวิสาหกจิ หรอื ธุรกจิ เอกชน โดยน�ำ ความรภู้ าษาไทยทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ตั ิที่ได้ศึกษาไปใช้ในสถานการณจ์ รงิ A work practice in government sectors, public enterprises, or private sectors, applying Thaiknowledge both theories and practices from coursework to real situations.36

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ Suan Dusit

เกณฑ์การสำ�เร็จการศกึ ษา 1. นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนให้ครบจำ�นวนหน่วยกิต ตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษและเป็นไปตามขอ้ บงั คับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต วา่ ดว้ ยการประเมนิ ผลการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ.2548 2. ตอ้ งมรี ะดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษไมต่ �ำ่ กวา่ ระดบั 3 (L3) ตามมาตรฐานคณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ของหลกั สูตร (Competency) โดยมคี ะแนนทดสอบความสามารถภาษาอังกฤษอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ดงั นี้ มคี ะแนน TOEFL แบบทดสอบขอ้ เขยี น ไม่ตำ�่ กว่า 500 คะแนน หรอื มคี ะแนน TOEFL แบบสอบผา่ นคอมพิวเตอร์ ไม่ต�่ำ กว่า 153 คะแนน หรอื มีคะแนน TOEFL แบบสอบผ่านเครอื ข่ายอินเตอรเ์ น็ต ไมต่ ่�ำ กวา่ 53 คะแนน หรอื มคี ะแนน IELTS ไมต่ ำ่�กว่าระดับ 5.0 หรอื มคี ะแนนทดสอบความสามารถภาษาองั กฤษดว้ ยขอ้ สอบมาตรฐานของมหาวทิ ยาลยั (SDU Test) ไมน่ อ้ ยกวา่ร้อยละ 70 3. ผ่านกิจกรรมขอ้ บงั คับ ตามเกณฑท์ หี่ ลักสูตร และมหาวทิ ยาลัย กำ�หนด 4. ใหน้ กั ศึกษาทีม่ คี ณุ สมบัติครบถ้วนตามที่ระบุไวใ้ นขอ้ 1 2 และ 5. ยน่ื ค�ำ รอ้ งแสดงความจ�ำ นงขอส�ำ เรจ็ การศกึ ษาตอ่ ส�ำ นกั สง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น ภายในระยะเวลาทมี่ หาวทิ ยาลัยก�ำ หนด38

หลักสูตรศิลปศาสตรบณั ฑติสาขาวชิ าภาษาอังกฤษระดบั ปริญญาตรีชอ่ื ปรญิ ญา ศิลปศาสตรบณั ฑิต (ภาษาองั กฤษ) ชื่อภาษาไทย ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษ) Bachelor of Arts (English) ชอื่ ภาษาองั กฤษ B.A. (English) วัตถุประสงคข์ องหลกั สตู ร เพื่อผลติ บณั ฑิตสาขาวิชาภาษาองั กฤษท่ีมีคุณลกั ษณะดงั ต่อไปน้ี 1. มคี วามรู้ และทักษะในการใชภ้ าษาอังกฤษทงั้ ด้านวิชาการและวชิ าชพี 2. มีความรู้ ความสามารถบูรณาการเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการประกอบวิชาชีพและ ส่งเสรมิ การใช้ภาษาอังกฤษเพอ่ื การพฒั นาตนเอง 3. สามารถปรบั ตัวเขา้ กบั สังคมและวัฒนธรรมทีห่ ลากหลายในประชาคมสงั คมวฒั นธรรมนานาชาติ 4. สามารถคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และแก้ปัญหาตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 5. มีคุณธรรมจริยธรรม มีบุคลิกภาพที่ดี ส่งเสริมต่อการประกอบอาชพี และมีความเปน็ ประชาธิปไตยภาษาท่ีใช้ ภาษาอังกฤษและภาษาไทยการรบั เข้าศึกษา รบั นกั ศกึ ษาไทยและนักศกึ ษาชาวตา่ งชาติ**หมายเหต ุ นกั ศึกษาชาวต่างชาติต้องผ่านการทดสอบความสามารถทางภาษาไทยตามเกณฑ์ท่ีหลกั สตู รกำ�หนดโครงสรา้ งหลักสูตร จ�ำ นวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลกั สตู ร 130 หนว่ ยกิต 1. หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป 30 หนว่ ยกติ 1.1 กลมุ่ วิชาภาษา 9 หน่วยกิต 1.2 กล่มุ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ 9 หนว่ ยกิต 1.3 กลมุ่ วิชาสงั คมศาสตร์ 6 หน่วยกิต 1.4 กล่มุ วชิ าวิทยาศาสตรก์ ับคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต 2. หมวดวชิ าเฉพาะด้าน 94 หนว่ ยกติ 2.1 วชิ าบงั คบั 65 หนว่ ยกิต 2.2 วชิ าเลอื ก 24 หน่วยกิต 2.2.1 กลุ่มวิชาการแปล 5 หนว่ ยกิต 2.2.2 กลุ่มวิชาวรรณคดี 6 หนว่ ยกิต 2.2.3 กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์ 2.2.4 กลมุ่ วชิ าภาษาท่ี 3 (ภาษาจนี และภาษาญี่ปุ่น) 2.3 การฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี 3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมน่ อ้ ยกวา่ 39

การจัดการเรยี นการสอน 1. หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป 30 หน่วยกิต กลมุ่ วชิ าภาษา บงั คับเรียนวชิ าภาษาไทยเพอ่ื การสอื่ สาร และเลอื กเรยี นไมน่ อ้ ยกว่า 9 หน่วยกติ บงั คบั เรยี น 3 หน่วยกิต1500117 ภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สาร 3(3-0-6) Thai for Communication เลอื กเรยี นไม่นอ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกติ1500110 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร 3(3-0-6) 1500113 ภาษาองั กฤษเพอ่ื ทกั ษะการเรยี น 3(3-0-6) English for Communication English for Study Skills1500114 ภาษาองั กฤษเชงิ สถานการณ ์ 3(3-0-6) 1 500115 ภาษาองั กฤษเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) Situational English English for Academic Purposes กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตร์ บังคับเรยี นวชิ าจรยิ ศาสตร์ และเลือกเรยี นไม่น้อยกวา่ 9 หน่วยกติ บงั คับเรยี น 3 หนว่ ยกติ1500116 จรยิ ศาสตร์ 3(3-0-6) 6 หนว่ ยกติ Ethics เลอื กเรยี นไม่นอ้ ยกวา่ 3(3-0-6)2500113 จติ วทิ ยาเพือ่ การพัฒนาตน 3(3-0-6) 2 000105 สนุ ทรยี ภาพเพอ่ื คุณภาพชวี ติ Psychology for Self – development Aesthetic for Quality of Life2000106 ศลิ ปะการดำ�รงชีวติ 3(3-0-6) The Art of Living กลุ่มวชิ าสงั คมศาสตร์ ให้เรยี นไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกิต2500114 สงั คมไทยรว่ มสมัย 3(3-0-6) 2500115 เหตุการณโ์ ลกร่วมสมยั 3(3-0-6) Contemporary Thai Society Contemporary World Affairs2500107 มนษุ ย์กบั สง่ิ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) Man and Environment กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ กับ คณติ ศาสตร์ บังคบั เรยี นวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 หนว่ ยกิต และ เลือกเรียนไม่น้อยกว่า บงั คับเรยี น4001111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Information Technology จากรายวิชาตอ่ ไปน้ี ให้เรียนไม่นอ้ ยกวา่ 3 หนว่ ยกิต4000109 วทิ ยาศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน 3(3-0-6) 4 000110 การคิดและการตัดสินใจ 3(3-0-6) Science for Daily Life Thinking and Decision Making 2. หมวดวชิ าเฉพาะด้าน ใหเ้ รียนไม่นอ้ ยกว่า 94 หน่วยกิต วชิ าบงั คับ 65 หนว่ ยกิต1551125 รปู และหนา้ ที่ของไวยากรณ ์ 3(3-0-6) 1 552117 ไวยากรณ์ภาษาองั กฤษเชิงส่ือสาร 3(3-0-6) ภาษาอังกฤษ Communicative English Grammar Forms and Functions of 1552118 ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Grammar เชงิ บูรณาการ1551126 การอ่านภาษาอังกฤษทัว่ ไป 3(3-0-6) Integrated English Grammar English Reading for General Purposes 40

1552119 การอ่านภาษาอังกฤษเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) 1552124 การอา่ นภาษาองั กฤษเชงิ วิเคราะห์ 3 (3-0-6) English Reading for Academic Purposes Analytical English Reading1551128 การเขียนภาษาอังกฤษเบอื้ งตน้ 3(3-0-6) 1552120 การเขียนอนเุ ฉทและความเรยี ง 3(3-0-6) Introduction to English Writing ภาษาอังกฤษ1552121 การเขยี นโต้ตอบภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Paragraph and English Correspondence Composition Writing 1551129 การฟัง-พูดภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) 1551130 การฟัง-พดู ภาษาอังกฤษใน 3(3-0-6) ในสถานการณท์ ัว่ ไป สถานการณ์เฉพาะ English Listening-Speaking in English Listening-Speaking in General Situations Specific Situations1551124 ภาษาศาสตร์ภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) 1553113 ภาษาอังกฤษเพือ่ การพูดในท่ชี มุ ชน 3(3-0-6) English Linguistics English for Public Speaking1551131 วากยสัมพนั ธภ์ าษาอังกฤษ 3(3-0-6) 1552305 วรรณคดีภาษาองั กฤษเบ้ืองต้น 3(3-0-6) English Syntax Introduction to English Literature1553403 สงั คมวัฒนธรรมเจา้ ของภาษา 3(3-0-6) 1552203 หลกั การแปล 3(3-0-6) Socio-Culture of English Native Speaker Principles of Translation1553404 สงั คมวฒั นธรรมของกล่มุ ประเทศ 3(3-0-6) 1553309 การเรยี นภาษาองั กฤษ 3(2-2-5) อาเซยี น ดว้ ยการแสดง Socio-Culture of ASEAN Countries Learning English through Drama1552123 ภาษาอังกฤษเพือ่ อาชีพ 3(3-0-6) 1554906 สัมมนาภาษาอังกฤษ 2(1-2-5) English for Careers English Seminar1552122 สัทศาสตรภ์ าษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Phonetics วชิ าเลือก ให้เลือกเรยี นจากรายวชิ าตอ่ ไปนี้ ไม่นอ้ ยกว่า 24 หน่วยกิต ข้อกำ�หนด 1. บังคบั เลอื ก : เ ลือกเรียน 1 กลมุ่ วิชา จาก 4 กลุ่มวิชาทร่ี ะบุไว้ โดยตอ้ งเลอื กอยา่ งน้อย 4 รายวิชา จำ�นวน 12 หนว่ ยกิต จากกล่มุ วิชาท่ีเลอื ก 2. เลือกตามความสนใจ : เลือกเรียนกลุ่มวชิ าใดกไ็ ด้อีก 4 รายวิชา จ�ำ นวน 12 หนว่ ยกติ (กลุ่มวชิ าซ้�ำ ได้) กลมุ่ ที่ 1 วชิ าการแปล 3(2-2-5) 1553218 การแปลภาพยนตร์ 3(2-2-5)1553217 การแปลข่าว Film Translation News Translation 3(2-2-5) 1553220 การแปลทางดา้ นอาหาร 3(2-2-5)1553219 การแปลวรรณคด ี Culinary Translation Literary Translation 3(2-2-5) 1553223 การแปลเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ 3(2-2-5)1553222 การแปลเชงิ วิชาการ Public Relations Translation Academic Translation 3(2-2-5) 1553225 การแปลแบบล่าม 3(2-2-5)1553224 การแปลเชิงธุรกจิ Interpretation Business Translation กลมุ่ ที่ 2 วิชาวรรณคดี 3(3-0-6) 1553307 ต�ำ นานเทพนิยาย 3(3-0-6)1553306 สนุ ทรยี ภาพทางวรรณคด ี Legends of Mythology 3(3-0-6) Literature Appreciation 1553308 วรรณคดีเอเชีย 3(3-0-6) 1553310 วรรณคดอี ังกฤษ Asian Literature British Literature 41

1553311 วรรณคดอี เมรกิ นั 3(3-0-6) 1553312 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสาร 3(3-0-6) American Literature ทางวัฒนธรรม1553313 วรรณคดภี าษาอังกฤษสำ�หรบั เด็ก 3(3-0-6) English for Cultural Communication English Literature for Children1553314 วรรณคดีภาษาองั กฤษสมยั ใหม่ 3(3-0-6) Modern English Literature กลุ่มที่ 3 วชิ าภาษาศาสตร์ 3(3-0-6) 1553115 อรรถศาสตร์ 3(3-0-6)1553114 ภาษาศาสตร์เชงิ สังคม Semantics 3(3-0-6) Sociolinguistics 3(3-0-6)1553116 สรวทิ ยา 3(3-0-6) 1553117 วัจนปฏิบตั ศิ าสตร์ 3(3-0-6) Phonology Pragmatics1553118 วทิ ยาหนว่ ยคำ� Morphology 3(3-0-6) 1553119 มิติแหง่ ศพั ท์ 1553120 จติ วิทยาภาษาศาสตร์ Dimensions of Vocabulary Psycholinguistics 3(3-0-6) 1553121 การวเิ คราะหร์ ะบบข้อความ Discourse Analysis กลมุ่ ท่ี 4 วชิ าภาษาที่ 3 4.1 กลุม่ วชิ าภาษาจีน1573101 ภาษาจีนเบ้ืองตน้ 3(3-0-6) 1573201 ภาษาจีนเพ่ือการสอื่ สาร 3(3-0-6) Introduction to Chinese Language ในชีวิตประจำ�วัน1573701 ภาษาจนี เพ่อื การส่อื สาร 3(3-0-6) Chinese in Daily Communication ส�ำ หรับวิชาชีพ 1573702 การสนทนาภาษาจนี 3(3-0-6) Chinese Communication for Careers เพอื่ การสอ่ื สารในธรุ กจิ โรงแรม1573704 การสนทนาภาษาจนี 3(3-0-6) Chinese Conversation in Tourism เพ่ือการสอื่ สารในธุรกจิ ทอ่ งเที่ยว 1573705 การสนทนาภาษาจีน 3(3-0-6) Chinese Conversation in เพอ่ื การสอื่ สารในธรุ กิจภตั ตาคาร Hotel Business Chinese Conversation in Restaurants1573501 วฒั นธรรมจีน 3(3-0-6) Chinese Culture 4.2 กลุม่ วชิ าภาษาญป่ี ุน่ 3(3-0-6) 1563701 ภาษาญ่ีปนุ่ เพ่ือการส่อื สาร 3(3-0-6)1563101 ภาษาญป่ี ุ่นเบื้องต้น Introduction to Japanese ในชีวิตประจ�ำ วนั1563702 ภาษาญ่ีปนุ่ เพ่ือการสื่อสาร 3(3-0-6) Japanese in Daily Communication ส�ำ หรับวชิ าชพี 1563703 การสนทนาภาษาญีป่ นุ่ 3(3-0-6) Japanese Communication เพอื่ การส่อื สารในธุรกิจโรงแรม for Careers Japanese Conversation in Hotel Business1563704 การสนทนาภาษาญีป่ ุ่น 3(3-0-6) 1563705 การสนทนาภาษาญี่ป่นุ 3(3-0-6) เพ่อื การส่ือสารในธรุ กิจการบิน เพ่ือการสอ่ื สารในธุรกิจท่องเท่ยี ว Japanese Conversation in Japanese Conversation in Tourism Airline Business 1563506 วฒั นธรรมญป่ี ่นุ 3(3-0-6)1563706 การสนทนาภาษาญปี่ ุ่น 3(3-0-6) Japanese Culture เพอื่ การสือ่ สารในธรุ กิจภัตตาคาร Japanese Conversation in Restaurants42

วชิ าฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี 5 หนว่ ยกติ1554805 การฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษ 5(0-30-0) Practicum หมวดวิชาเลือกเสรีไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต ให้เลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยไม่ซำ้�กับรายวิชาท่ีเคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เปน็ รายวชิ าทก่ี �ำ หนดให้เรียนโดยไม่นบั หน่วยกิตรวม ในเกณฑก์ ารส�ำ เร็จการศึกษาของหลักสูตร 43

แผนการเรียนตลอดหลักสูตร นกั ศกึ ษารหสั 59สาขาวชิ าภาษาองั กฤษระดับปรญิ ญาตรี จำ�นวนหนว่ ยกติ ไมน่ ้อยกวา่ 130 หน่วยกิตปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2559 ปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 25591. หมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป 9 นก. 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 9 นก.1500117 ภาษาไทยเพ่ือการสอ่ื สาร 3(3-0-6) 1500115 ภาษาองั กฤษเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6)1500114 ภาษาอังกฤษเชิงสถานการณ์ 3(3-0-6) 2500114 สงั คมไทยรว่ มสมยั 3(3-0-6)1500116 จริยศาสตร ์ 3(3-0-6) 2500113 จิตวิทยาเพื่อการพฒั นาตน 3(3-0-6)2. หมวดวิชาเฉพาะดา้ น 2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน วิชาบังคับ 12 นก. วชิ าบังคบั 12 นก.1551129 การฟัง-พดู ภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) 1552117 ไวยากรณภ์ าษาอังกฤษเชิงสอ่ื สาร 3(3-0-6) ในสถานการณท์ ่ัวไป 1551129 การฟัง-พูดภาษาอังกฤษ 3(3-0-6)1551125 รปู และหน้าทข่ี องไวยากรณ ์ 3(3-0-6) ในสถานการณ์เฉพาะ ภาษาอังกฤษ 1551124 ภาษาศาสตรภ์ าษาองั กฤษ 3(3-0-6)1551126 การอา่ นภาษาอังกฤษทัว่ ไป 3(3-0-6) 1551131 วากยสมั พนั ธ์ภาษาองั กฤษ 3(3-0-6)1551128 การเขยี นภาษาองั กฤษเบ้ืองต้น 3(3-0-6) รวม 21 หนว่ ยกิต รวม 21 หนว่ ยกติปีท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 25601. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 6 นก. 1. หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป 6 นก.4001111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) 4000110 การคิดและการตดั สินใจ 3(3-0-6)2500115 เหตุการณโ์ ลกรว่ มสมยั 3(3-0-6) 2000105 สุนทรยี ภาพเพ่ือคณุ ภาพชวี ิต 3(3-0-6)2. หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น 2. หมวดวิชาเฉพาะดา้ น 12 นก. วชิ าบังคับ 15 นก. วิชาบังคับ 3(3-0-6) 1552119 การอา่ นภาษาองั กฤษ 3(3-0-6)1552118 ไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) เชงิ บูรณาการ เชิงวชิ าการ 3(3-0-6)1552124 การอา่ นภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) 1552121 การเขยี นโตต้ อบภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) เชิงวิเคราะห ์ 1552203 หลกั การแปล 3(3-0-6)1552120 การเขยี นอนุเฉทและความเรยี ง 3(3-0-6) 1552305 วรรณคดีภาษาอังกฤษเบ้อื งต้น ภาษาอังกฤษ 1552123 ภาษาอังกฤษเพ่อื อาชีพ 1552122 สัทศาสตร์ภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) รวม 18 หน่วยกติ รวม 21 หนว่ ยกิต44

ปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 25611. หมวดวิชาเฉพาะดา้ น 18 นก. 1. หมวดวิชาเฉพาะดา้ น 12 นก.1553113 ภาษาอังกฤษเพ่ือการพูด 3(3-0-6) 1553309 การเรยี นภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) ในทีช่ ุมชน ด้วยการแสดง 1553403 สังคมวัฒนธรรมเจา้ ของภาษา วชิ าเลอื ก 1 1553404 สงั คมวัฒนธรรมของกลมุ่ 3(3-0-6) วิชาเลอื ก 2 3(3-0-6) ประเทศอาเซียน 3(3-0-6) วชิ าเลอื ก 3 3(3-0-6)วิชาเลอื ก 1 2. หมวดวิชาเลอื กเสรี 3(3-0-6)วิชาเลือก 2 วิชาเลอื ก 3 3(3-0-6) 3 นก. 3(3-0-6) 3(3-0-6)รวม 18 หน่วยกติ รวม 15 หนว่ ยกิตปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 25621. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 8 นก. 1. หมวดวชิ าเฉพาะด้าน 1554906 สมั มนาภาษาองั กฤษ 2(1-2-5) วิชาบงั คับ 5 นก.วชิ าเลอื ก 1 3(3-0-6) 1554805 การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพ 5(0-30-0)วิชาเลอื ก 2 3(3-0-6) ภาษาอังกฤษ 2. หมวดวชิ าเลอื กเสร ี 3 นก. รวม 11 หนว่ ยกิต รวม 5 หน่วยกิต 45

คำ�อธิบายรายวิชาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ1551125 รปู และหนา้ ที่ของไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ 3(3-0-6) Forms and Functions of English Grammar ศกึ ษาไวยากรณภ์ าษาองั กฤษดา้ นรปู แบบและหนา้ ท่ี โครงสรา้ งประโยคพนื้ ฐาน ชนดิ ของค�ำ การสรา้ งค�ำ ประโยคบอกเลา่ ประโยคค�ำ ถาม ประโยคค�ำ สงั่ ประโยคอทุ านและชนดิ ของประโยค ฝกึ การใชก้ รยิ าใหส้ อดคลอ้ งกับประธาน การใช้กาล และกรรมวาจก โดยบูรณาการกบั ทักษะการฟงั การพดู การอา่ นและการเขียน Study English grammar in terms of forms and functions, sentence structure, word classes,word formation, affirmatives, interrogatives, directives, exclamations and sentence types. Practiceusing subject-verb agreement, verb tenses, and the passive voice integrated with listening, speaking,reading and writing skills.1552117 ไวยากรณ์ภาษาองั กฤษเชงิ สอ่ื สาร 3(3-0-6) Communicative English Grammar ศึกษาไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ วิเคราะห์ระบบไวยากรณภ์ าษาอังกฤษทใ่ี ชใ้ นการฟงั พดู อ่าน และเขียนโดยศกึ ษาทงั้ จากสอื่ สิง่ พิมพ์ และไมใ่ ชส่ งิ่ พิมพ์ ฝึกการเขยี นตามหลกั ไวยากรณ์ทีถ่ ูกตอ้ ง Study English grammar for communication used in both formal and informal language.Analyze English grammar system used in listening, speaking, reading, and writing through printed-matters and non-printed matters. Practice of accurate writing is required.1552118 ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษเชิงบรู ณาการ 3(3-0-6) Integrated English Grammar ศกึ ษาไวยากรณภ์ าษาองั กฤษเพอ่ื บรู ณาการทกั ษะการฟงั การพดู การอา่ นและการเขยี นในบรบิ ททแ่ี ตกตา่ งกนั ศกึ ษาความหมายของค�ำ ศพั ท์ ส�ำ นวนในการพดู และการเขยี นในบรบิ ทเชงิ วชิ าการ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรดู้ า้ นไวยากรณ์ และค�ำ ศพั ทเ์ พอื่ สอ่ื สารในสถานการณท์ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ การฟงั บรรยาย การอภปิ รายในห้องเรียน การนำ�เสนองานและการเข้าร่วมสัมมนา โดยศึกษาจากสื่อจริงท่ีพบในข้อสอบมาตรฐาน รวมท้ังฝึกใช้ภาษาอังกฤษใหถ้ กู ตอ้ งในสถานการณต์ ่างๆ Study English grammar is integrated in listening, speaking, reading and writing skillsin different contexts. Study word meanings and idioms used in speaking and writing in academicsettings. Apply the knowledge of grammar and vocabulary to communicate in various situations relatingto studying aboard, class lectures and discussions, presentations, and seminars by using authenticmedia from standardized tests. Practice using accurate English in various contexts is required.1551126 การอา่ นภาษาองั กฤษท่วั ไป 3(3-0-6) English Reading for General Purposes ศกึ ษาการอ่านในระดบั ค�ำ วลี ประโยคและยอ่ หน้าโดยใชก้ ลวิธีการอา่ นเบอ้ื งต้น การอา่ นแบบกวาดสายตา การอา่ นแบบหาขอ้ มลู เฉพาะ การอา่ นโดยสงั เกตจากค�ำ ส�ำ คญั การอา่ นแบบตคี วาม และวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งของบทอา่ นโดยผ่านสือ่ ท่ใี ช้จริงในชวี ติ ประจำ�วัน Study reading at word, phrase, sentence, and paragraph levels by using basic readingstrategies; skimming, scanning, looking for keywords, reading between the lines, and analyzing textorganization through authentic materials used in everyday life.46

1552119 การอ่านภาษาอังกฤษเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) English Reading for Academic Purposes ฝกึ ทกั ษะการอา่ นโดยใชก้ ลวธิ กี ารอา่ นทห่ี ลากหลายผา่ นบทอา่ นทม่ี คี วามยาวมากขนึ้ ทบ่ี รู ณาการอยใู่ นบทอา่ นเชงิ วชิ าการ ฝกึ อา่ นเพอ่ื ส�ำ รวจ ท�ำ นาย การหาความเชอ่ื มโยงของความคดิ จากค�ำ เชอ่ื ม การตคี วามประโยคทมี่ ีโครงสรา้ งซับซ้อน และการหาใจความส�ำ คัญของบทอ่านประเภทตา่ งๆ Practice reading skills and various reading strategies through longer texts integrated inacademic papers. Practice reading for previewing, predicting, recognizing related concepts by usingdiscourse markers, interpreting complicated sentences and finding out themes of various texts. 1552124 การอา่ นภาษาองั กฤษเชงิ วิเคราะห์ 3(3-0-6) Analytical English Reading ฝกึ ทกั ษะการอา่ น การอภปิ ราย การแสดงความคดิ เหน็ การแยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ และความคดิ เหน็ ความเปน็ เหตเุ ป็นผล กระบวนการคิดวิเคราะห์ดว้ ยหลกั ตรรกวิทยาผ่านบทความตา่ งๆ จากหลากหลายแหล่งขอ้ มลู Practice reading, discussing, giving opinions, identifying facts and opinions, causes and effects, criticalthinking processes using logical skills through various articles from different resources.1551128 การเขยี นภาษาองั กฤษเบอื้ งต้น 3(3-0-6) Introduction to English Writing ศกึ ษาวธิ กี ารสรา้ งประโยคโดยเรม่ิ จากการใชค้ �ำ สรา้ งวลี การใชว้ ลใี นการสรา้ งประโยคและการเรยี บเรยี งประโยคเปน็ ขอ้ ความสน้ั ๆ ฝกึ การเขยี นภาษาองั กฤษตามรปู แบบตา่ งๆ คอื การกรอกแบบฟอรม์ การเขยี นบนั ทกึ ชว่ ยจ�ำการจดบันทกึ สน้ั ๆ อย่างไม่เปน็ ทางการ การเขยี นแสดงความยินดี การเขียนบัตรเชญิ การเขยี นแสดงความเสียใจและการขอโทษ Study how to write sentences starting from words to phrases, phrases to sentences andsentences to short paragraphs. Practice English writing in different patterns of writing, forms filling,memorandum, informal note-taking, congratulations, invitation cards, condolences and apology writing.1552120 การเขียนอนุเฉท และความเรยี งภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Paragraph and Composition Writing ศกึ ษากลวธิ กี ารเขยี นอนเุ ฉทและความเรยี ง ฝกึ ทกั ษะการเขยี นภาษาองั กฤษโดยเรมิ่ จากระดบั วลแี ละการเชอื่ มประโยคตามระเบยี บไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ ศกึ ษาวธิ กี ารใชค้ �ำ อา้ งองิ และค�ำ เชอื่ มในการเขยี นอนเุ ฉทและความเรยี ง ฝกึ การเขียนย่อหน้าสัน้ ๆ ตามวตั ถุประสงคข์ องการเขยี น และพัฒนาสกู่ ารเขียนความเรยี ง Study paragraph and composition writing strategies and practice English writing skillsstarting from phrases and sentence combination regarding English grammar rules. Study how to usereferences and connections in writing a paragraph and practice writing a short paragraph for variouspurposes of writing and extend to composition writing.1552121 การเขียนโต้ตอบภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Correspondence ฝกึ การเขยี นโตต้ อบรปู แบบตา่ งๆ จดหมายโตต้ อบทางธรุ กจิ และสงั คม การเขยี นจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ศึกษาการใช้ภาษาในการเขยี นคำ�ข้นึ ต้น ในเนื้อความจดหมายและคำ�ลงท้ายตามวัตถุประสงค์ของจดหมาย Practice corresponding through various forms of writing regarding social and businesscorrespondences includings e-mails. Study language used in salutation, body and closing for differentpurposes of correspondences. 47

1551129 การฟัง-พดู ภาษาอังกฤษในสถานการณ์ทวั่ ไป 3(3-0-6) English Listening –Speaking in General Situations ฝึกทกั ษะภาษาอังกฤษเพอื่ การส่อื สารโดยใช้บทสนทนาในสถานการณ์ตา่ งๆ และสมั พันธสารตา่ งๆจากสถานการณ์ในชีวิตประจำ�วันและการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ฝึกภาษาพูดที่เก่ียวกับการออกเสียงและทว่ งทำ�นองเสียง Practice communicative English using dialogues in various situations and extendeddiscourse from everyday situations and spacific social interactions. Practice spoken English withregards to pronunciation and intonation.1551130 การฟัง-พูดภาษาองั กฤษในสถานการณเ์ ฉพาะ 3(3-0-6) English Listening-Speaking in Specific Situations ฝึกทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษในลักษณะต่างๆ ตามสถานการณ์เฉพาะท้ังในบริบททางวชิ าการและงานอาชีพ การท�ำ งาน การประชุมสมั มนา การพูดน�ำ เสนอ การประชมุ และการสัมภาษณ์ Practice English listening and speaking skill with various aspects in specificsituations both in academic and professional contexts, at the work place, seminar, oral presentations,meetings and interviews.1553113 ภาษาอังกฤษเพ่ือการพดู ในทช่ี มุ ชน 3(3-0-6) English for Public Speaking ศกึ ษาหลกั การและวธิ ีการพูดในที่ชุมชน ฝกึ การใช้ค�ำ ศัพท์ ประโยคและถอ้ ยค�ำ ส�ำ นวนในการพูดต่อหน้าชุมชนตามลักษณะหัวข้อเรื่องในการพูด ศึกษาบทบาทและจริยธรรมในการพูดต่อหน้าชุมชน วิธีการแก้ไขสถานการณเ์ ฉพาะหนา้ การวางแผนการพดู การสรา้ งความมน่ั ใจในการพดู และฝกึ การพดู ภาษาองั กฤษในทชี่ มุ ชนการพดู อยา่ งทันที การพดู เพ่อื ใหข้ ้อมลู และการพดู เชญิ ชวน Study principles and methods for public speaking. Practice using words, sentences andexpressions for public speaking according to speaking topics. Study role and ethics for speaking inpublic, problem solving of offhand situations, speech planning, confidence creation in speaking andpractice English speaking in public, impromptu speeches, informative, and persuasive speeches.1551124 ภาษาศาสตร์ภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Linguistics ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎกี ารเรยี นรภู้ าษา การรบั ภาษา องคป์ ระกอบของการเรยี นรภู้ าษาสาขาวชิ าหลกั ของภาษาศาสตร์ สทั ศาสตร์ สรวิทยา สณั ฐานวิทยา วากยสัมพันธแ์ ละอรรถศาสตร์Study concept of human language learning, language acquisition, components of language learning,the core areas of linguistics; phonetics, phonology, morphology, syntax, and semantics.1552122 สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Phonetics ศกึ ษาแนวคดิ และหลกั การทางสทั ศาสตร์ ต�ำ แหนง่ และลกั ษณะของการเปลง่ หนว่ ยเสยี งภาษาองั กฤษ สทั อกั ษร จังหวะและท�ำ นองเสียงตามลักษณะของภาษาองั กฤษ ฝกึ การออกเสยี ง การอ่านและการเขียนสทั อักษร Study concepts and principles of phonology, articulation of English phonemes, phonetictranscription, rhythm and intonation as features of English. Practice pronouncing, reading and writingphonetic transcription.48

1551131 วากยสัมพนั ธ์ภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Syntax ศกึ ษาแนวคดิ และฝกึ วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งภายนอกของค�ำ ตามกฎเกณฑต์ า่ งๆ ของหลกั ไวยากรณภ์ าษาในการสร้างค�ำ ชนดิ ของคำ� ประโยค วลี อนุพากย์ ศกึ ษากฎโครงสร้างวลี อนุพากย์ซ้อนและการยา้ ยกลุ่มค�ำ ในประโยค ฝกึ การวเิ คราะห์ประโยคตามทฤษฎี และกฎเกณฑท์ างภาษาStudy concepts and analytic practices on the external structure of words according to Englishgrammatical rules by which word formation, word categories, sentences, phrases and clauses. Studyphrase structure rules, embedded clauses and movement operations in sentences. Practice parsingsentences based on language theories and rules1552305 วรรณคดีภาษาองั กฤษเบอ้ื งต้น 3(3-0-6) Introduction to English Literature ศึกษาความหมาย ความสำ�คัญ ประเภทของวรรณคดี ร้อยแก้ว ร้อยกรอง นวนิยาย เร่ืองสั้นองคป์ ระกอบ โครงเรอื่ ง ฉากตวั ละคร รปู แบบความขดั แยง้ การบงั คบั ฉนั ทลกั ษณ ์ จงั หวะสมั ผสั การใชภ้ าษาสญั ลกั ษณ์ตา่ งๆ โดยการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ Study meaning, importance, literature genres, prose, poetry, novels, short stories,composition, plot, setting, characteristic, style, conflict, prosody, rhythm, meter, figurative languageby critical method and knowledge exchange1553403 สังคมวัฒนธรรมเจา้ ของภาษา 3(3-0-6) Socio-Culture of English Native Speakers ศกึ ษาวฒั นธรรมของประเทศทใ่ี ชภ้ าษาองั กฤษเปน็ ภาษาหลกั ดา้ นโครงสรา้ งครอบครวั สงั คม ศาสนาการเมือง วิถีชวี ติ ประเพณีและวฒั นธรรมผ่านการใชท้ กั ษะภาษาอังกฤษทง้ั การฟงั การพูด การอา่ นและการเขียน Study culture of native English speaking countries in terms of family structure, society,religion, politics, lifestyle, custom and culture by using English listening, speaking, reading and writingskills. 1553404 สังคมวัฒนธรรมของกลมุ่ ประเทศอาเซียน 3(3-0-6) Socio-Culture of ASEAN Countries ศกึ ษาภมู หิ ลงั ของประเทศในกลมุ่ ประชาคมอาเซยี นดา้ นวฒั นธรรม การเมอื ง เศรษฐกจิ ภาษา การศกึ ษาศาสนา วถิ ีชวี ติ ศิลปะและวรรณคดี ผา่ นการใชท้ กั ษะภาษาอังกฤษท้งั การฟัง การพูด การอ่านและการเขยี น Study backgrounds of ASEAN community in terms of cultural, politics,economics, languages, education, religions, lifestyles, arts and literature by using English listening,speaking, reading and writing skills.1553309 การเรียนภาษาองั กฤษดว้ ยการแสดง 3(2-2-5) Learning English through Drama ฝกึ ปฏบิ ตั ทิ กั ษะภาษาองั กฤษผา่ นการแสดงบทบาทสมมติ ดว้ ยวธิ กี ารแสดงแบบสนทนาเดยี่ ว การแสดงแบบกลมุ่ การแสดงลกั ษณะท่าทางต่างๆ การใชส้ ายตาดวงหน้า การฝึกออกเสยี งตามแบบการแสดงละคร Practice English Skills through role play performance by using monologue, group, role play,various gesture, eye movement, speech and facial expression, pronunciation for dramatic effect. 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook