Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged (1)

ilovepdf_merged (1)

Published by ศปข.8 สุราษฎร์ธานี, 2021-04-07 10:14:54

Description: ilovepdf_merged (1)

Search

Read the Text Version

สว่ นท่ี ๑ แบบประเมนิ องค์กร ด้วยตนเองตามเกณฑ์ มาตรฐาน

1. การปอ้ งกันทุจริตคอร์รปั ชั่น (Zero Corruption)













คมู่ อื มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน กระบวนการจดั การเร่ืองร้องเรียนการทจุ รติ ประพฤติมชิ อบ ศนู ยค์ วามปลอดภัยในการทำงานเขต ๘ (สรุ าษฎร์ธานี) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ พบการทจุ ริต ประพฤติมชิ อบ ของเจา้ หนา้ ทีศ่ ูนยค์ วามปลอดภัยในการทำงานเขต ๘ โปรดแจ้งข้อมลู หรือเบาะแส ทศี่ นู ย์ความปลอดภยั ในการทำงานเขต ๘ โทรศพั ท์ ๐-๗๗๓๕-๕๘๗๖ ๗ E-mail:[email protected] หรอื ย่ืนแบบร้องเรียนท่ี http://osh8.labour.go.th ข้อมูลของท่านจะถูกเก็บเป็นความลบั

คำนำ ศนู ยค์ วามปลอดภยั ในการทำงานเขต ๘ (สุราษฎร์ธานี) เปน็ หน่วยงานราชการ บรหิ ารส่วนกลาง สังกดั กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน มอี ำนาจ หนา้ ที่ในการกำกับ ควบคมุ ดูแล และดำเนนิ การตามพระราชบญั ญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งจัดทำ ข้อเสนอและการพฒั นาและประเมนิ ผลการดำเนินงานตามแผนดงั กล่าวดว้ ย ศูนย์ความปลอดภัยในการทำงานเขต ๘ (สุราษฎร์ธานี) ได้จัดทำ “คู่มือมาตรฐาน การปฏิบัติงานกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตประพฤติมิชอบ” ขึ้น เพื่อเป็นแนว ทางการดำเนินการจัดการข้อร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบการปฏิบัติหรือละเว้นการ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่โี ดยมชิ อบของเจา้ หน้าท่ขี องรฐั ในสังกดั เพ่ือให้กระบวนการดำเนินงาน มีความชัดเจน สามารถดำเนนิ การได้อยา่ งรวดเร็ว ตอบสนองความต้องการและคาดหวงั ของผู้รับบรกิ ารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลสูงสุด และการจัดการเรื่องร้องการทุจริตและประพฤติมิชอบจาก ช่องทางการร้องเรียนของศูนย์ความปลอดภัยในการทำงานเขต ๘ จำนวน ๗ ช่องทาง ดังนี้ (๑) ส่งข้อร้องเรียนหรือร้องเรียนด้วยตนเองโดยตรงที่ ศูนย์ความปลอดภัยในการทำงานเขต ๘ อาคารศูนย์ราชการกระทรวงแรงงานชั้น ๑ เลขที่ ๑๕ หมู่ที่ ๑ ถนนสุราษฎร์ - นาสาร ตำบลขุน ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ๘๔๑๐๐ (๒) ร้องเรียนผ่านเว็บไซต์สำนักงานที่ [email protected] (ศนู ย์รับเร่ืองร้องเรยี น) (๓) ร้องเรยี นทางตูไ้ ปรษณยี ์ (๔) รอ้ งเรียนทางโทรศพั ท์ ๐๗๗ ๓๕๕๘๗๖ ๗ (๕) รอ้ งเรยี นเวบ็ ไซต์ http://osh8.labour.go.th (๖) ร้องเรียนทางเฟชบุ๊ค “ศูนย์ความปลอดภัยในการทำงานเขต ๘” (๗) ร้องเรียนทางศูนย์รับ เรอื่ งราวร้องทุกข์ รอ้ งเรยี นการทุจรติ (นางจติ รา สุวรรณมณ)ี ผูอ้ ำนวยการศนู ยค์ วามปลอดภัยในการทำงานเขต ๘ ธนั วาคม ๒๕๖๓

สารบัญ หนา้ ๑ - วัตถุประสงค์ ๑ - ขอบเขต ๑ - คำจำกดั ความ ๒ - ช่องทางการรอ้ งเรียน ๒ - กระบวนการจัดการเร่ืองร้องเรยี น ๔ - แผนผังกระบวนการจดั การเรือ่ งร้องเรยี น ๖ - อำนาจหน้าทีข่ องเจา้ หนา้ ท่ีผูร้ ับผิดชอบจดั การเรื่องรอ้ งเรยี น ภาคผนวก - ข้นั ตอนการดำเนินงาน กรณเี รือ่ งร้องเรียน ผ่านชอ่ งทาง เวบ็ ไซต์ http:osh8.labour.go.th - แบบฟอรม์ สรุปขอ้ มูลการรอ้ งเรียน - แบบฟอรม์ ข้อมูลการร้องเรียน - พระราชกฤษฎีกาดว้ ยหลักเกณฑ์และวธิ กี ารบรหิ ารกิจการบ้านเมอื งที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๓๘ - ระเบียบสำนกั งานนายกรัฐมนตรวี ่าด้วยการจัดการเร่ืองราวร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๒

ค่มู อื มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน กระบวนการจดั การเร่ืองร้องเรยี นการทจุ รติ ประพฤติมิชอบ ศูนยค์ วามปลอดภัยในการทำงานเขต ๘ ๑. วัตถุประสงค์ ศูนย์ความปลอดภัยในการทำงานเขต ๘ (สุราษฎร์ธานี) ได้จัดทำ “คู่มือมาตรฐาน การปฏิบัติงานกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ” เพื่อสำหรับให้ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการกระบวนการดำเนินงาน เรื่องร้องเรียน การทุจริตประพฤติมิชอบของศูนย์ความปลอดภัยในการทำงานเขต ๘ ให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว มี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลนายจ้าง ลูกจ้าง และผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจสูงสุดบน พืน้ ฐานของความเปน็ ธรรม โปรง่ ใส เป้นองคก์ รธรรมาภิบาล ๒. ขอบเขต การประสานงาน ติดตาม เร่งรัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการเรื่อง ร้องเรยี นการทจุ ริตประพฤตมิ ชิ อบ การปฏบิ ัตหิ รอื ละเวน้ การปฏิบตั หิ น้าทโ่ี ดยมิชอบของเจ้าหน้าท่ี ของรัฐ ในสังกัดศูนย์ความปลอดภัยในการทำงานเขต ๘ จนได้ผลเป็นข้อยุติ รวมทั้งการสรุป รายงานผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไขนำเสนอผู้บริหารตามกรอบ ระยะเวลาทก่ี ำหนด ๓. คำจำกดั ความ ๓.๑ ศปข.๘ หมายถึง ศูนยค์ วามปลอดภัยในการทำงานเขต ข ๓.๒ เรื่องร้องเรียน หมายถึง ประเด็นการร้องเรียนเกี่ยบกับการทุจริต ประพฤติมิ ชอบการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในสังกัดศูนย์ความ ปลอดภยั ในการทำงานเขต ๘ ท่ผี ู้รอ้ งเรยี นแจง้ ผ่านช่องทางตา่ ง ๆ ๓.๓ เจ้าหน้าที่ของรัฐ หมายถึง เจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามมาตรา ๔ วรรค ๒ แห่ง พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูยว่าดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. ๒๕๖๑ ๓.๔ ทุจริตต่อหน้าที่ หมายความว่า ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างในใน ตำแหนง่ หรอื หนา้ ที่หรือปฏิบัตหิ รอื ละเวน้ การปฏบิ ตั ิอย่างใดในพฤติการณท์ อ่ี าจทำให้ผู้อ่ืนเชื่อว่ามี ตำแหน่งหรอื หน้าทท่ี งั้ ทต่ี นมิไดม้ ีตำแหน่งหรือหน้าทน่ี นั้ หรือใชอ้ ำนาจในตำแหน่งหรือหนา้ ที่ ทง้ั น้ี

-๒- เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิความได้โดยชอบ สำหรับตนเองหรือผู้อื่น หรือกระทำการอันเป็น ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการหรือความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรมตามประมวล กฎหมายอาญาหรือกฎหมายอื่น (มาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ.๒๕๖๑) ๓.๕ ประพฤตมิ ิชอบ หมายความว่า ใชอ้ ำนาจในตำแหนง่ หรือหน้าท่อี ันเป็นการฝ่า ฝืนกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่มุ่งหมายจะควบคุมดูแลการรับ การเก็บรักษา หรือการใชเ้ งินหรือทรัพย์สินของแผ่นดนิ (มาตรา ๓ แห่งพระราชบญั ญัตมิ าตรการของฝ่ายบรหิ าร ในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. ๒๕๕๑ และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติม) ๓.๖ ทุจริต หมายความว่า แสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย สำหรับตนเองหรอื ผู้อ่นื (มาตรา ๑ อนุ ๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา) ๔. ช่องทางการร้องเรยี น ๔.๑ การจัดการเรอ่ื งรอ้ งเรียนผา่ นชอ่ งทาง ได้แก่ ๑. ติดต่อด้วยตนเอง ณ ศูนย์ความปลอดภัยในการทำงานเขต ๘ อาคารศูนย์ ราชการกระทรวงแรงงานชั้น ๑ เลขที่ ๑๕ หมู่ที่ ๑ ถนนสุราษฎร์ - นาสาร ตำบลขุนทะเล อำเภอเมอื ง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ๘๔๑๐๐ ๒. ร้องเรยี นผา่ นเว็บไซต์สำนักงานท่ี E-mail:[email protected] (ศูนยร์ ับเรื่องรอ้ งเรียน) ๓. ร้องเรียนทางตูไ้ ปรษณยี ์ (จดหมาย/เอกสาร) ๔. ร้องเรียนทางโทรศัพท์ ๐๗๗ ๓๕๕๘๗๖ ๗ ๕. รอ้ งเรียนเวบ็ ไซต์ http://osh8.labour.go.th ๖. ร้องเรียนทางเฟชบคุ๊ “ศนู ย์ความปลอดภัยในการทำงานเขต ๘” ๗. ร้องเรียนทางศูนย์รับเร่ืองราวรอ้ งทกุ ข์ รอ้ งเรยี นการทุจรติ

-๓- หมายเหตุ กรณีรบั เรอ่ื งรอ้ งเรียนผ่านชอ่ งทางรบั เร่อื งร้อนทางโทรศพั ท์ เจา้ หนา้ ทที่ ่รี บั เร่ืองตอ้ งสอบถามขอ้ มลู ของผูร้ ้องเรียน ได้แก่ ๑) ช่อื - นามสกุล ๒) ท่อี ยู่ หรือ E-mail หรอื หมายเลขโทรศพั ท์/ มอื ถอื เพอื่ สำหรบั ติดตอ่ แจง้ กลบั ผลการดำเนินการ ๔.๒ เจ้าหน้าที่ที่ได้รบั มอบหมาย ตรวจสอบประเด็นเบือ้ งต้นและหนว่ ยงานที่เก่ียวข้องกับ เรื่องร้องเรียน สรุปข้อมูลการร้องเรียนบันทึกในแบบบฟอร์มรับเรื่องร้องเรียน ส่งเรื่องให้กับ เจ้าหน้าทีผ่ ้รู ับผดิ ชอบ เพื่อดำเนินการทันที ๔.๓ เจ้าหน้าทผ่ี ู้รบั ผิดชอบ ลงทะเบียนรับเร่ืองทันที และเสนอ ผอ.สปข.๘ เพ่ือพิจารณาส่งั การ ๔.๔ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ตรวจสอบข้อเท็จจริง และพิจารณามูลความผิดของผุ้ถูก ร้องเรยี น - หากตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว พบว่า ผู้ถูกร้องเรียนมีมูลความผิดจริง ให้ ดำเนนิ การตัดสนิ โทษตามกฎ ระเบยี บ ข้อบังคบั ท่เี กย่ี วข้องตอ่ ไป - หากตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว พบว่า ผู้ถูกร้องเรียนไม่มีมูลความผิดจะต้องยุติ เรื่อง ๔.๕ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ จัดทำบันทึกรายงานผลเสนอ ผู้มีอำนาจดำเนินการเพื่อโปรด ทราบ ๔.๖ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ติดต่อกลับไปยังผู้ร้องเรียน พร้อมทำหนังสือแจ้งผลการ ดำเนนิ การแกไ้ ขเพื่อทราบตอ่ ไป ๔.๗ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ติดตาม เร่งรัด การดำเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจนได้ ขอ้ ยตุ ิ ๔.๘ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทาง แกไ้ ขนำเสนอผู้บังคับบัญชาต่อไป





ประมวลจรยิ ธรรมขา้ ราชการพลเรอื น ประมวลจรยิ ธรรมขา้ ราชการพลเรือน ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เมอ่ื วันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ และมีผลบังคับใช้แลว้ ตั้งแตว่ ันท่ี ๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๓ ซึง่ ผู้ดํารงตาํ แหน่งขา้ ราชการพลเรือน พนกั งาน ราชการและลกู จ้างในสงั กัดพลเรือนทกุ ตาํ แหน่ง มหี นา้ ทต่ี ้องดําเนินการใหเ้ ป็นไปตามประมวลจรยิ ธรรม ข้าราชการพลเรือน ๑๐ ขอ้ ตามท่ปี ระมวลจรยิ ธรรมข้าราชการพลเรอื นนี้กาํ หนด ประมวลจรยิ ธรรมข้าราชการพลเรอื น ไดก้ าํ หนดแนวทางให้ขา้ ราชการประพฤติปฏิบัติรวม ๑๐ ข้อ สรปุ ได้ดงั น้ี ๑. ข้าราชการต้องยดึ มนั่ ในจรยิ ธรรม และยนื หยัดกระทาํ ในสิ่งทถี่ ูกต้องและเปน็ ธรรม ๑.๑ ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างตรงไปตรงมา และไม่กระทําการเล่ียงประมวล จริยธรรมน้ี ในกรณีทีค่ ณะกรรมการจรยิ ธรรมวนิ ิจฉัยว่าการกระทาํ ใดขัดประมวลจริยธรรม ข้าราชการจะกระทําการ นนั้ มไิ ด้ ๑.๒ เม่ือรู้หรือพบเห็นการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรม ข้าราชการต้องรายงานพร้อม พยานหลกั ฐาน (หากมี) ต่อหัวหนา้ สว่ นราชการและหรือคณะกรรมการจริยธรรมโดยพลนั ในกรณีหัวหน้าส่วนราชการฝ่าฝืนจริยธรรม ต้องรายงานต่อปลัดกระทรวง หรือ ผู้บังคับบัญชาเหนือช้ันข้ึนไปของหัวหน้าส่วนราชการน้ันแลว้ แตก่ รณี และหรือคณะกรรมการจริยธรรม ๑.๓ รายงานการดํารงตาํ แหน่งในนติ ิบุคคลและกิจการท่รี ฐั ถือหนุ้ ใหญ่ ตอ่ หวั หน้าส่วนราชการ และคณะกรรมการจริยธรรม กรณีที่การดํารงตําแหน่งนั้น ๆ อาจขัดแย้งกับการปฏิบัติหน้าที่หรืออาจทําให้การ ปฏบิ ัตหิ น้าทีเ่ สียหาย ๑.๔ กรณีที่ข้าราชการเข้าร่วมประชุมและพบว่ามีการกระทําหรือเสนอเร่ืองที่ฝ่าฝืนจริยธรรม ขา้ ราชการมีหนา้ ทีต่ ้องคัดค้านการกระทําดงั กล่าว และบนั ทกึ การคัดคา้ นของตนไว้ในรายงานการประชมุ หรอื ในเร่ือง นนั้ ๒. ข้าราชการต้องมีจิตสํานึกท่ีดี และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เสียสละ ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความรวดเร็ว โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ ๒.๑ อุทศิ ตนให้กบั การปฏบิ ตั งิ านในหนา้ ที่ด้วยความรอบคอบระมัดระวงั ๒.๒ ละเว้นการกระทําที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อตําแหน่งหน้าที่ของตน หรือของ ข้าราชการอื่น ๒.๓ ใช้ดุลพินิจและตัดสินใจ ปราศจากอคติส่วนตน ตามข้อมูลพยานหลักฐานและความ เหมาะสมของแตล่ ะกรณี ๒.๔ เม่ือเกิดความผิดพลาดข้ึนจากการปฏิบัติหน้าที่ ต้องรีบแก้ไข และแจ้งให้หัวหน้าส่วน ราชการทราบ ๒.๕ ไม่ขัดขวางการตรวจสอบของหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีตรวจสอบตามกฎหมายหรือประชาชน โดยให้ขอ้ มลู ที่เปน็ จริงและครบถว้ น เมอ่ื ได้รับคํารอ้ งขอในการตรวจสอบ ๒.๖ ไม่ส่ังราชการด้วยวาจา กรณีท่ีส่ังราชการด้วยวาจา ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาบันทึกเรื่องเป็น ลายลักษณอ์ ักษรตามคาํ สั่งเพ่ือใหผ้ สู้ ่งั พจิ ารณาส่ังการต่อไป ๓. ข้าราชการตอ้ งแยกเรื่องส่วนตัวออกจากตําแหน่งหน้าที่ และยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติ เหนอื กว่าประโยชน์ส่วนตน ๓.๑ ไม่นําความสมั พนั ธส์ ่วนตวั ที่ตนมตี ่อบุคคลอ่นื ไมว่ า่ จะเป็นญาติพีน่ ้อง พรรคพวกเพื่อนฝูง หรือผู้มีบุญคุณส่วนตัว มาประกอบการใช้ดุลพินิจให้เป็นคุณหรือเป็นโทษแก่บุคคลน้ัน หรือปฏิบัติต่อบุคคลนั้นต่าง จากบคุ คลอ่นื เพราะชอบหรือชงั ๓.๒ ไม่ใช้เวลาราชการ เงิน ทรัพย์สิน บุคลากร บริการ หรือส่ิงอํานวยความสะดวกของทาง ราชการไปเพ่อื ประโยชน์ส่วนตัวของตนเองหรอื ผู้อืน่ เวน้ แตไ่ ด้รับอนุญาตโดยชอบดว้ ยกฎหมาย

๓.๓ ไม่กระทาํ การใด หรือดํารงตําแหน่ง หรือปฏิบัติการใดในฐานะส่วนตัว ซ่ึงก่อให้เกิดความ เคลือบแคลงหรือสงสัยว่าจะขัดกับประโยชน์ส่วนรวมที่อยู่ในความรับผิดชอบของหน้าที่ในกรณีมีความเคลือบแคลง หรือสงสัย ให้ข้าราชการผู้น้ันยุติการกระทําดังกล่าวไว้ก่อนแล้วแจ้งให้ผู้บังคับบัญชา หัวหน้าส่วนราชการ และ คณะกรรมการจรยิ ธรรมพิจารณา เมอ่ื คณะกรรมการจรยิ ธรรมวนิ ิจฉยั เปน็ ประการใดแล้วจงึ ปฏบิ ตั ิตามน้นั ๓.๔ ในการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีทร่ี ับผดิ ชอบในหนว่ ยงานโดยตรงหรอื หนา้ ทอ่ี ืน่ ในราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรอื หน่วยงานของรัฐ ขา้ ราชการตอ้ งยดึ ถือประโยชน์ของทางราชการ เป็นหลกั ในกรณที มี่ คี วามขัดแย้งระหว่างประโยชนข์ องทางราชการ หรอื ประโยชน์สว่ นรวมกับประโยชน์ส่วนตนหรือ ส่วนกล่มุ อนั จําเปน็ ต้องวนิ จิ ฉัยหรอื ชขี้ าด ต้องยึดประโยชน์ของทางราชการและประโยชน์สว่ นรวมเปน็ สาํ คัญ ๔. ข้าราชการต้องละเว้นจากการแสวงประโยชน์ที่มิชอบโดยอาศัยตําแหน่งหน้าท่ี และไม่ กระทําการอันเป็นการขัดกันระหว่างประโยชนส์ ว่ นตน และประโยชน์สว่ นรวม ๔.๑ ไมเ่ รียก รบั หรอื ยอมจะรบั ของขวัญ เวน้ แตเ่ ปน็ การใหโ้ ดยธรรมจรรยา หรือเปน็ การให้ ตามประเพณีหรือใหแ้ ก่บคุ คลท่ัวไป ๔.๒ ไม่ใชต้ าํ แหน่ง หรอื กระทาํ การทเ่ี ปน็ คุณ หรือเป็นโทษแกบ่ คุ คลใด เพราะมอี คติ ๔.๓ ไมเ่ สนอ หรอื อนุมตั โิ ครงการ ซ่งึ ตนเองหรือบคุ คลอื่นจะไดป้ ระโยชนอ์ นั มคิ วรได้ ๕. ขา้ ราชการต้องเคารพ และปฏิบตั ติ ามรฐั ธรรมนูญ และกฎหมายอยา่ งตรงไปตรงมา ๕.๑ ไมล่ ะเมดิ รฐั ธรรมนญู กฎหมาย กฎ ข้อบงั คับหรือมติคณะรัฐมนตรที ช่ี อบด้วยกฎหมายใน กรณีมีข้อสงสัย หรือมีข้อทักท้วงว่าการกระทําไม่ชอบ ต้องแจ้งให้หัวหน้าส่วนราชการและคณะกรรมการจริยธรรม พิจารณา และจะดาํ เนินการต่อไปไดต้ อ่ เมือ่ ไดข้ ้อยุติจากหน่วยงานท่ีมีอาํ นาจหนา้ ทีแ่ ล้ว ๕.๒ ในกรณีท่ีเห็นว่าคําส่ังผู้บังคับบัญชา หรือการดําเนินการใดที่ตนมีส่วนเก่ียวข้องไม่ชอบ ด้วยรฐั ธรรมนญู กฎหมาย กฎ หรอื ข้อบงั คับ ต้องทักทว้ งเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรไว้ ๕.๓ ในกรณีที่เห็นว่ามติคณะรัฐมนตรีไม่ชอบด้วยกฎหมาย ต้องทําเรื่องเสนอให้หัวหน้าส่วน ราชการพจิ ารณา และส่งเรื่องใหส้ าํ นักเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรดี ําเนนิ การให้ได้ข้อยตุ ิทางกฎหมายตอ่ ไป ๕.๔ ไม่เลย่ี งกฎหมาย ใชห้ รอื แนะนําใหใ้ ชช้ ่องวา่ งของกฎหมายเพือ่ ประโยชน์ของตนเองหรอื ผู้อน่ื ๕.๕ ไม่ยอมให้บุคคลอื่นอาศัยชื่อตนเองถือครองทรัพย์สิน สิทธิ หรือประโยชน์อ่ืนใดแทน บุคคลอ่ืนอนั เปน็ การเล่ียงกฎหมาย ๕.๖ เมื่อทราบว่ามีการละเมิดกฎหมายในส่วนราชการของตน หัวหน้าส่วนราชการต้อง ดาํ เนินการท่จี ําเป็น เพื่อให้เกดิ การเคารพกฎหมายข้นึ โดยเร็ว ๕.๗ เมื่อได้รับคําร้อง หรือคําแนะนําจากผู้ตรวจการแผ่นดิน หรือหน่วยงานอื่นว่ากฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ สร้างภาระเกินสมควรแก่ประชาชน หรือสร้างความไม่เป็นธรรม ต้องดําเนินการทบทวนกฎหมาย กฎ หรือขอ้ บังคับดงั กลา่ วโดยเร็ว ๖. ข้าราชการต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยงธรรม เป็นกลางทางการเมือง ให้บริการแก่ ประชาชน โดยมีอัธยาศยั ทด่ี ี และไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิโดยไมเ่ ป็นธรรม ๖.๑ ปฏิบัติหน้าท่ีให้ลุล่วง โดยไม่หลีกเล่ียง ละเลย หรือละเว้นการใช้อํานาจเกินกว่าท่ีมีอยู่ ตามกฎหมาย ๖.๒ ปฏบิ ตั หิ น้าท่ี โดยคํานงึ ถึงศักด์ศิ รีความเปน็ มนษุ ย์ และสิทธเิ สรีภาพของบคุ คล ๖.๓ ให้บริการและอํานวยความสะดวกแก่ประชาชนโดยมีอัธยาศัยที่ดี ปราศจากอคติ และไม่ เลือกปฏิบตั ิตอ่ บคุ คลผมู้ าติดต่อ ๖.๔ ละเว้นการให้สัมภาษณ์ การอภิปราย การแสดงปาฐกถา การบรรยาย หรือการ วพิ ากษ์วิจารณอ์ นั กระทบตอ่ ความเปน็ กลางทางการเมอื ง ๖.๔ ไม่เอ้ือประโยชน์เป็นพิเศษให้แก่ญาติพ่ีน้อง พรรคพวก และต้องปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความ เทีย่ งธรรมไมเ่ หน็ แก่หนา้ ผู้ใด ๖.๕ ไมล่ อกหรอื นาํ ผลงานของผู้อนื่ มาใชเ้ ป็นของตนเองโดยมิไดร้ ะบุแหลง่ ที่มา

๗. ข้าราชการต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการอย่างเคร่งครัด และรวดเร็ว ไม่ถ่วงเวลาให้เน่ินช้า และใช้ข้อมูลข่าวสารท่ีได้มาจากการดําเนินงานเพื่อการในหน้าท่ี และให้ ข้อมลู ข่าวสารแกป่ ระชาชนอยา่ งครบถ้วน ถูกต้อง ทนั การณ์ และไม่บดิ เบือนข้อเทจ็ จรงิ ๗.๑ ไม่ใชข้ อ้ มลู ทไี่ ด้มาจากการดาํ เนินงานไปเพ่ือการอื่น อันไม่ใชก่ ารปฏิบตั หิ นา้ ทโี่ ดยเฉพาะ อยา่ งยิง่ เพอ่ื เออื้ ประโยชนแ์ กต่ นเองหรือบุคคลอื่น ๗.๒ ช้ีแจง แสดงเหตุผลที่แท้จรงิ อย่างครบถ้วนในกรณที ก่ี ระทําการอนั กระทบตอ่ สทิ ธิและ เสรีภาพบุคคลอน่ื ท้งั นี้ ต้องดาํ เนินการภายในสิบห้าวนั ทําการ นับแต่กระทําการดังกล่าวหรอื ได้รับการรอ้ งขอ ๘. ขา้ ราชการตอ้ งมุ่งผลสมั ฤทธข์ิ องงาน รกั ษาคุณภาพ และมาตรฐานแห่งวชิ าชีพโดยเครง่ ครัด ๘.๑ ปฏบิ ัตงิ านโดยมุ่งให้เกิดผลดีทส่ี ุดจนเตม็ กําลังความสามารถ ๘.๒ ใชง้ บประมาณ ทรพั ยส์ ิน สิทธปิ ระโยชนท์ ที่ างราชการจดั ให้ ดว้ ยความประหยัดคุ้มค่า ๘.๓ ใช้ความรคู้ วามสามารถ ตามคณุ ภาพและมาตรฐานวิชาชพี โดยเคร่งครดั ๙. ข้าราชการต้องยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมขุ ๙.๑ ไมแ่ สดงการตอ่ ตา้ นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ๙.๒ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และไม่ละเมิดองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระรัช ทายาทไม่วา่ ทางกาย หรอื ทางวาจา ๑๐. ข้าราชการต้องเป็นแบบอย่างท่ีดีในการดํารงตน รักษาช่ือเสียง และภาพลักษณ์ของราชการ โดยรวม ๑๐.๑ ไม่ละเมิดหลักสําคัญทางศีลธรรม ศาสนา และประเพณี กรณีที่มีข้อขัดแย้งระหว่าง ประมวลจริยธรรมนี้กับหลักสําคัญทางศีลธรรม ศาสนา หรือประเพณี ข้าราชการต้องเสนอเรื่องให้คณะกรรมการ จรยิ ธรรมพิจารณาวนิ จิ ฉัย ๑๐.๒ หัวหน้าส่วนราชการและผู้บังคับบัญชาส่วนราชการทุกระดับชั้นต้องปกครองผู้อยู่ใต้ บงั คบั บญั ชาดว้ ยความเที่ยงธรรม และควบคมุ ใหป้ ฏิบัตติ ามประมวลจริยธรรมโดยเคร่งครดั ๑๐.๓ หวั หนา้ ส่วนราชการและผูบ้ ังคบั บัญชาในสว่ นราชการ ตอ้ งสนับสนนุ สง่ เสรมิ และยกยอ่ งผอู้ ยูใ่ ตบ้ งั คบั บญั ชาที่มีความซือ่ สตั ย์ มผี ลงานดเี ด่น และยึดม่ันในระบบคณุ ธรรม ๑๐.๔ ไม่กระทําการใดอันอาจนําความเส่ือมเสียและไม่ไว้วางใจให้เกิดแก่ส่วนราชการหรือ ราชการโดยรวม *****************************************************



- - - -- ------------------- lvltJ-r~5~~lJ\\1qJLL vI_:J~1\"11B1ru1_.TIfl~ 'Vfv'l5~fl~1\"11 ~ctcto lJ1~~1 ~g}/~ n1'\\)I'W~1 ~lJ1~~~1'W Vl1_:J'OJ~tJ5~~lJ\"lJB_~:JlJI111~_:JL~LV1lU, _:JVl1_:Jf.l,1~LnB_:oJif1~1\"11fl1~ Vl~m~1Vlti'1~\"lJB_:J_r~~LL\\9l~~lh~ LJlVl1~ , 1Lu'W LJ~1lJLJ~~lJl~'OJ~tJ5~~lJVln1Vl'W~6V'W t~tJ'OJ~~B_:Jiifl~ lflLL~~~~'U'U 1 'Wfl1~1111iLi'W_:J1wVlB1 ~ ., ., 1 1fl1~U_:J~'U1 -tiLu'W LJmh_:JiiLJ~~~Vl5J11'Voj ~llJVi'_:Jn1Vl'W~_u'W~B'Wfl1~~_:J Vl'tffi1lJfll1lJ~1 tILL~_:JLvLI_:J fl1~fl1~'Vh fl1~~1 ~'WVl~BhJLJD'U\"i~1lJlJ1~~~1'WVl1-:J'OJ~tJ51~lJ 1 ~~Bl1 LU'Wfl1~fl~~'Vh~~Vl1_:J iUtJ ~1lJfl~VllJ1tJ L~B-rm~1LJ~~ ttJ\"11t1~l'W~llJ LL~~LJ~~ LVli3!\"111~iifll1lJ LU'Wfl~1_:JVl1_:Jfl1~LnB_:Je)1'Wl tJ fll1lJ~~~lfl LL~~1 ~'U~fl1~LLnLJ~~\"111\"11'W~1lJVl~fl5~~lJ11i'U1~ t~tJ'OJ~~B_:JEj~li''W1 'WrhiitJlJVl~fl \"lJB_:JlJ1~~~~1'W'OJ~tJ5~~lJ&11Vl_r'U~lJI111~_:J~1VLLlU_:JVl1_:Jfl1~LnB_:JLL~~L~1Vlti'1~\"lJB_:~J_r~~ LJ~~fl1~ ~_:Jd

- ®. ~1?ll1'U1'U~~CJOll~bb~~8'UVi~l?lnl~v111 'U~~~fln~€l~bb~~b U'UOll~ 'IJ h ij~~~Tun~~bb~~-r'U~I?l\"IJ€l'U~€lVi.u1~ b~m1~~ 'lJnu&lVi.u1~~';lCJ fl11~11I?lb111'IJ~~1?f bb~~?f1~11fl~11~?f€l'Ul~ sn, bbCJm~€l~ci1'U~1€l€ln~1n~h uVi'l1~Vi.u1~uae 81?l~€l'IJ1~lCJ\"IJ'l1 ci1'U11~\"(J€l~'IJ1~ bVlf!\"IJ1&bVl iij€ln';h'IJ1~ lCJ\"IJ'l1ci1'U~'U s: ~~b l'U~1nn11bb?f1~Vi1'IJ1~ lCJ\"l1t1~ii\"IJ€l'1UI?lCJ€l1~CJ~1bVbi'l1~Vi.u1~ hibb~~ nl~v11n11e1'Ub u'Un11oVl?ln'Ul~Vi';h~'lJl~ lCJ\"IJ'l1ci1'U~'Ubb~~ 'lJl~ lCJ\"IJ'l1ci1'U11~ cr. bfl11'\\t'jbb~~'lJn'U11~1~-r!iOll~\\1'l! bb~~n~VilJ1 CJ€~l 1~~1~ 1'IJ~1~lJ1 b. 'lJnu&lVi.u1~~1CJfl11lJ b~CJ~OlllJ bu'Un~1~Vl1~n11bij€l~ 1 Vi''U~n11bbn'IJ1~\"l11\"l1'U1I?lCJije10CJ1~CJ~~ue ~1&Jb~€ln'IJnu&l 1l?lCJhlbU'UOlllJ mi. 'lJnu&l~1lJn~VilJ1CJ11~1CJoU€l~~~11?f11\"(J€l~Vl1~11\"IJn11 €l~1~ bfl~~fl-rl?lbb~~111?lb11 hi~1~ b1~11 Vi'tbi'U-tl1 bb~~1-tloU€llJ~ 'IJ ~11?f11~1~lJ1~1nn11~1b U'U~1'Ub~€ln111 'UVi.u1~bb~~1Vi' oU€ll~J·lh1?f11 uriil 1~\"IJ1\"l1'U€~l1~ fll'U t;)1'U fln~ €l~ 'I-1'Un11 ru 'IJ 'IJ uael&JUl?lbu€l'UoUmV1~~~~ If ~. ~~~~61lJf1Vl5\"(J€l~~1'U -rm~n~ru.fl1'\\t'jbb~~lJ1~1!i1'Ubb'IA~ i\"l11~'\\t'j1I?lCJbfl~~fl-r1?l Q!.. 81?l&11'U'Un11'IJnfll€l~1~'U€l'U'lJ1~\"IJ15'IJ1~CJ e1'Uij '\\t'jl~lJVi1n,;'~~~Vll~ bU'U'lJl~lJ\",(J ®O. bU'Ubb'U'U€l~1~~m'Un11~11~~'U -rm~1~m~CJ~bb~~ .fl1'\\t'j~m~fru\"(J€l~11\"1Jn1111C?Jll1~ IV tv VI'l.Jl

'lJil~'Vi1j1vtL~ae;~'Vi~nfl113J\\ln~i.)-3~13J'Vi~nn~'Vi3J1a 'Vi~n 1\"U1n1'a bba:m'lJ1'lJil~~b~a1;ri.)-3 'lJil~'Vi,j1v11~ala.i~h\\j-3il-3'Vi~nn~'Vi3J1a 'Vi~n1\"U1n1'a bba~bb'lJ1 'lJil~~b~a1;ri.)-3

l!J. ii~~~hiln~~htil~~'U~~l1el'U~elVl'll1~ tatJ~il~ t1~~VI'll1~~1tJfl11~11~t~1 ltJ~.:tt~ttil~~1~11tl~111\\l~el'Ul~ A\"'7···· ...•....•... ,. n~~~v11f1eJA~11J~8tJA:ay\":i~~L~;t~~t11~~A~;1~i1?U.1'.'..~. . . . ~il,,~ll)Jtue1111Ail'1!l1~~\\1i~;lJ~1n~1TIJn~\"?~l'~lii~ . 'W~8~~tJn1'':i~':i1~i1atJ~1,ntJAAi'lVi~e).'\"Vl'lj1a~1'lJv1. ih.'ilJj1n17':1i 'v1i ~':i1~fl8tJ ....'._~:='.I'. \",. . ... tIaIsstIil~il~LiltJVdlI.1.. e:'WlLn L'U.J-=tI~e:l'WL.'.UV: I'LI l1CI1I ~n11 w n1~'Vh~en1~fl11~i''U~~11e:l'U~e:lVlU1t~1ijtm VlU1~~1tJfl113J~hi1V1'ie:l13.ti1li.:Jt~ ... « 'VI'Ul

uanm. b~El~flTU~1ElEln<ij1n~h bbVI'l.i~VI,jTv1bb~~a~ ~Eltl'a~lfJCijt1fl1'U'a111~El~ t1'a~b'VIflCij1~bVlilEln11t1'a~lfJCijt1a1'U\\Jl'U

~.:Ivifl1,.'Vh ~:a 1'Un1'n1EJ ni'Ut-Y1eJ,)1Lu'Un1'a5'U lfl~'lh~6f~R ~~1\\1\\Jl'LlLelJ~~futl'a~ lveu'l1J1eJuLL'VI'Ll ~.:Im3.ifl1,.vh @. t1f~1bbt-Y'Li.:l\\'l1j1~b'ifJn~'mUnJ~'U 'VI'ia~1bil'lJn1'a~'lJtfl b~mba'N'VI1tJ'a~lfJ,,,ld1'lJ\\Jl'lJ eu1£1. n'a~'Vhn1'ae)'lJUb'lJn1'atiat ~bii flfl113Jbflil bbfl~.:Ia.:IilEl11 b:u'1'lJn1'abJa1 a4u1'a~\"Li Ellt'~lJLflE.l3..Jlta'U\"LI'VIIII~'lJba.:'lV~I'aa'4flfl~ad'lJ Qt. t ;;e)1'lJ11\\)'VIU1~'VI'ia~b1b'VI'Li.:lmt'lJLbml.:lmflUA.':UI Uru1t1 'II '\" 'VI'ia'4flfl~~'lJ t m~~'Ufl113J bflEl'VI1El cr. tJfiaEltJ~~~~b~El'VI'iab-wmQfJb~a~'Ub~'lJ11ijn1'an'a~vh ~U1~1 u'VI'Li.:l'VIU1tmJt;;bba1.:1'V11tJlE'al~lt,jd1'lJ~'lJ

----------------------------.- - ------------------------------------ m. ~,ji'Vl1l1m'Uf1113Ji''Ut3fl1fil'U tiL\\J'UltJ9I13Ji!6\"3J~'Y.'VI;il n!l'VI3J1!J LLft~.,.V, ln$!lA'HI Ulil'W• 'U11 ijn1'n,~'VhvrWailflf1.ail~n'U Ad\" • oCII L'WnLQ!J L3Jil'W'UL'VI'U113J n1'n,~\\'h~b tJ'Un1'~ft~1L'U viiila~biitln1'tJ~,jifl13J ,-'..\". .

b. tJ~tmVnj1~;!'nJfl111Jb~tI.:I5i·nJ btJei.mfl1.:1'V11.:1n1ibijel.t:~l 'U~n1'nbtitJi~eu1eu'U 1~tlije)5t11AtI~~bbfl~1~bitelntl~~1~tll~btJ'U5ii1J 1£1. t~'U~n1'nb~~e)1'lJ1fJ~11111ii~fl1nbbti~1I19ifl~a';i1'lln1';i;r1fJer5fJ1AfJ~~ 'IJ 1ii.fl1'Wbb~~1ii~1'1~1111'h~..r'Ut;)t~bbti'h~'ll11f'lJ~1I1'lJa~'U'U~n1';i • 'IJ til. tJ~u9ivrU1mflfJ,j1~1111b~a~1'lJ~7VI1'1n1';ibiia'l t1114fI.'lJn1';ib~antJ~Ui';i1'lln1';il'lJb~a'l~1'16'j sn, ija~9il 'lJn1';itJ~u9i'Vl'lj1mfleJb~antJ~u9ielfh'l1~ btJ'lJ5';i';i1l

d. tl~Ui~13Jn~Vl3J1a11~1aeHm~~ezi11~1';itleN'Vl1~';i1«tin1';iv£h~bfl~~fli'~bb~~';i1~b~1 'Wt;h~b1~1t~bil'U\"1bb~~t\"eHv3J~'h1~1';im~3J1~1nn1';i~1b'ij'U~1'UbvjVn1';it'UVI'UTvl 'U bb~~1~eHv3J~ezi11~1';ibbritl';i~'t11«ti'Uv~h~ftl;'l;ni'U~vti~'1\\'U1'Un1';mlbb~~l3.iu~buv'U 'U 'U ~~~fl1,.'Vi1 • @. tJ~Ufl'VIU1m~LU'Whl~13J 'W.~.u.;;tl~~\"h1a1~1Jtl.:J~11fn1~ 'W;fl1.Iti~cro n1'V1'W~ lEI.t~u~n1~~3J1flfl~tl1Jtl1U;;tl3J~\"li11a1~tlfi1.:Jfl~Ut.i'1'W £\\iln~tl.:J V1'Wn1caruLL~Z~1.:JnUfl113J 'II 'II ~tl.:Jn1~1Jtl.:J~1uu~n1~tlfi1.:Jfl~ulh'W Lflflfi1U.:Jil.:J'lhZLfl1f,j1Jtl.:Ja3J1flfl~m U'Wa1Aru 'II 'II '\" @•.•L'ifln1Ufl'WU'W'VI~tltJ~LZfl1f,j'VI~tltJ~ZLfl1f,j~'Wt fl~1 n~3J1 flfl ~tl fll€Iii tl3Ja\"li11a 1~ 'II . 'II lEI.tlntlfl \\jfl LUti'll;;€ILVi~v1.:J1tJl.:J4itl~~\"li11a1 ~m ~u~n1 ~LLti~1J1fl~ ~tl1J€I1Uftl ~~ \"li11a1 ~ m. \"uI~' eJflu\"~1ZflZLflfl'VI.~..tlL\"'W\" nLOfl.0L1 3Jtl'WAU,L'VI.'.W. 113Jni~n0~Zd':V'1I1'V1Lu'W. nJ!1'~\"~Ztd'W'V\"\"I~tl~Z\"LI3\"\"Jf.l.n..1.~u!lU~ \"i3J CWca.u. . ;;tl~fl\"li11a1~1Jtl.:Jca11fn1~ CWfl.. m~cro 'VI~tl'Vth~~3J1~flfitlca11fn1,1«iufl112JLitfl'VI1f1 ... 'VI'l.Jl ~

d 1~£1C:C:. 3,J\"I~~~flllnVl5t1il~~1'U i'n~1 fl,ru.n1'W bb~~111~'Hj1'Ubbvi~1eu1~'W bfl~~fli'~ cIS v Vt'Ul (9)0

I1--· --:-'-- ....~....-' (9), ~~~VlUf1Ej~~lJL'Ufl1~tlAI\"l~B~ I ~~'UB'Utl~~\"ln5tl1~EJe)'Uil I 'V'l~~~Vl1f1';~~~'VI~~LiJ'UtJ~~~\"lJ I!l, -r'UYl~1\"l11~~b~i1'U\"lJeH~LB'U~1~N1'U ~nG'111U®G'11'Ub~LEbJ~~t11I\"lil1~~~iL1'U 'IJ UlmI ~LU'UtJ~~lEJ\"lJ'U1 'Uf11~'tlD~~1'U L~B~;);J'Ulf11~vil~l'UL~~~~~'U {;Tl,. tlD~VltJ1'm~EJ~1~1~tlel5'U1 VbVlI9J LL~~tJ~lub~B~(;)1~'lL~~b~EJliB~ ~, f)'l\"jtJ~~~l'U~lill bU'U~B~~~~'ULlil -ooU'l~~1f11il~~B~L~1\"l11~G11~ty '.l'. ~ I .Q A CI( I 1.1 LLf11\"l11lJffVI~IL'U\"lJB~L~EJ~~d'U'UBEJ



เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๐ ก หน้า ๑ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา พระราชบัญญัติ มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ให้ไว้ ณ วนั ท่ี ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปที ี่ ๔ ในรชั กาลปัจจบุ ัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยทเ่ี ปน็ การสมควรมกี ฎหมายวา่ ดว้ ยมาตรฐานทางจรยิ ธรรม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานิติบญั ญตั แิ ห่งชาตทิ าหนา้ ทีร่ ัฐสภา ดงั ตอ่ ไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั ินเี้ รียกวา่ “พระราชบัญญัตมิ าตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ตน้ ไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญตั ิน้ี “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น และมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐ ในฝ่ายบริหาร แต่ไม่หมายความรวมถึง หน่วยงานธุรการของรัฐสภา องค์กรอิสระ ศาล และ องค์กรอัยการ

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๐ ก หน้า ๒ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานอื่น ในหน่วยงานของรัฐ “องค์กรกลางบรหิ ารงานบุคคล” หมายความวา่ คณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น คณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึ กษา และคณะกรรมการข้าราชการตารวจ ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทน้ัน รวมท้ัง คณะกรรมการกลางบริหารงานบุคคลของเจ้าหน้าท่ีของรัฐในฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการมาตรฐาน การบรหิ ารงานบคุ คลสว่ นทอ้ งถิน่ ตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบยี บบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน “กรรมการ” หมายความวา่ กรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรม มาตรา ๔ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ หมวด ๑ มาตรฐานทางจรยิ ธรรมและประมวลจริยธรรม มาตรา ๕ มาตรฐานทางจริยธรรม คือ หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรม ของเจ้าหนา้ ที่ของรัฐ ซึง่ จะต้องประกอบด้วย (๑) ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ (๒) ซ่ือสัตย์สจุ ริต มีจิตสานกึ ที่ดี และรับผิดชอบต่อหนา้ ที่ (๓) กล้าตัดสนิ ใจและกระทาในสง่ิ ที่ถูกต้องชอบธรรม (๔) คดิ ถึงประโยชนส์ ่วนรวมมากกวา่ ประโยชน์สว่ นตวั และมจี ติ สาธารณะ (๕) มุ่งผลสมั ฤทธข์ิ องงาน (๖) ปฏบิ ัตหิ นา้ ทอ่ี ย่างเป็นธรรมและไมเ่ ลอื กปฏิบตั ิ (๗) ดารงตนเปน็ แบบอย่างท่ดี แี ละรักษาภาพลกั ษณ์ของทางราชการ มาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้เป็นหลักสาคัญในการจัดทาประมวลจริยธรรม ของหนว่ ยงานของรฐั ท่ีจะกาหนดเปน็ หลักเกณฑ์ในการปฏบิ ัติตนของเจา้ หน้าทขี่ องรฐั เกย่ี วกบั สภาพคุณงาม ความดีท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐต้องยึดถือสาหรับการปฏิบัติงาน การตัดสินความถูกผิด การปฏิบัติท่ีควรกระทา หรอื ไมค่ วรกระทา ตลอดจนการดารงตนในการกระทาความดแี ละละเวน้ ความชัว่

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๐ ก หน้า ๓ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๖ ให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐมีหน้าที่จัดทาประมวล จริยธรรมสาหรับเจ้าหนา้ ทีข่ องรฐั ทอี่ ยูใ่ นความรบั ผดิ ชอบ ในกรณที เ่ี ป็นเจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั ซ่ึงไมม่ ีองค์กรกลางบรหิ ารงานบคุ คลทรี่ บั ผิดชอบ ใหอ้ งค์กรต่อไปนี้ เปน็ ผจู้ ัดทาประมวลจริยธรรม (๑) คณะรัฐมนตรี สาหรับข้าราชการการเมือง (๒) สภากลาโหม สาหรบั ข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรอื นกลาโหม (๓) สานกั งานคณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกิจ สาหรับผู้บรหิ ารและพนกั งานรฐั วิสาหกจิ (๔) คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน สาหรับผู้บริหาร เจ้าหน้าท่ี และ ผปู้ ฏิบัตงิ านขององคก์ ารมหาชน ในกรณีท่ีมีปัญหาว่าองค์กรใดเป็นผ้จู ัดทาประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐประเภทใด ให้ ก.ม.จ. เปน็ ผมู้ ีอานาจวินจิ ฉยั ท้ังน้ี หนว่ ยงานของรัฐอาจจัดทาข้อกาหนดจรยิ ธรรมเพอื่ ใชบ้ งั คับกบั เจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั ในหน่วยงานนน้ั เพิ่มเตมิ จากประมวลจริยธรรมใหเ้ หมาะสมแก่ภารกิจท่ีมลี กั ษณะเฉพาะของหนว่ ยงานของรฐั นั้นดว้ ยก็ได้ การจัดทาประมวลจริยธรรมและข้อกาหนดจริยธรรมของหน่วยงานของรัฐต้องเป็นไป ตามหลกั เกณฑ์ที่ ก.ม.จ. กาหนดตามมาตรา ๑๔ ดว้ ย มาตรา ๗ เพื่อให้การจัดทาประมวลจริยธรรมในภาครัฐมีมาตรฐานทางจริยธรรมใน ระดับเดียวกัน ในการจัดทาประมวลจริยธรรมขององค์กรกลางบริหารงานบุคคลของศาลหรือองค์กรอัยการ องค์กรกลางบริหารงานบุคคลของหน่วยงานธุรการของรัฐสภาและองค์กรอิสระ ให้นามาตรฐานทาง จริยธรรมตามมาตรา ๕ ไปใช้ประกอบการพิจารณาจัดทาประมวลจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีอยู่ ในความรับผิดชอบด้วย หมวด ๒ คณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรม มาตรา ๘ ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรมคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ก.ม.จ.” ประกอบดว้ ย (๑) นายกรฐั มนตรหี รอื รองนายกรัฐมนตรซี ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ (๒) ผแู้ ทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนท่ไี ดร้ บั มอบหมาย เปน็ รองประธานกรรมการ

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๐ ก หน้า ๔ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา (๓) กรรมการโดยตาแหน่ง จานวนห้าคน ได้แก่ ผแู้ ทนที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการข้าราชการตารวจ คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น และ สภากลาโหม อยา่ งละหน่งึ คน (๔) กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิซ่ึงนายกรฐั มนตรีแต่งตั้งจานวนไมเ่ กินหา้ คนเปน็ กรรมการ ให้เลขาธิการ ก.พ. เป็นกรรมการและเลขานุการ และให้เลขาธกิ าร ก.พ. แต่งต้ังข้าราชการ ในสานกั งาน ก.พ. เปน็ ผูช้ ่วยเลขานกุ ารได้ตามความจาเปน็ เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามหน้าที่และอานาจของ ก.ม.จ. ก.ม.จ. อาจมีมติ ให้เชิญผู้แทนท่ีได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการที่ทาหนา้ ที่บริหารงานรัฐวสิ าหกิจหรือองค์การมหาชน หรือหัวหน้าหน่วยงานของรัฐที่มีหนา้ ท่ีและอานาจโดยตรงเก่ียวกบั เรื่องท่ีจะพิจารณา หรือผู้ซึ่งมีความรู้ ความเชยี่ วชาญและประสบการณ์ดา้ นจรยิ ธรรมให้เขา้ รว่ มประชมุ เปน็ ครัง้ คราวในฐานะกรรมการด้วยกไ็ ด้ ในกรณเี ชน่ น้ัน ใหผ้ ู้ท่ีไดร้ บั เชิญและมาประชมุ มฐี านะเป็นกรรมการสาหรับการประชมุ คร้ังทไี่ ด้รับเชิญนน้ั ให้สานักงาน ก.พ. มีหน้าที่ปฏิบัติงานธุรการ งานประชุม งานวิชาการ การศึกษาหาข้อมูล และกิจการต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องให้แก่ ก.ม.จ. คณะอนุกรรมการหรือคณะทางานที่แต่งต้ังโดย ก.ม.จ. รวมทั้งให้มหี นา้ ทแ่ี ละอานาจอื่นตามท่กี าหนดในพระราชบญั ญัตนิ ี้ มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ ด้านการส่งเสริมจริยธรรม ด้านกฎหมาย ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หรือด้านอื่นใดอันจะเป็นประโยชน์แก่การปฏิบัติหน้าที่ของ ก.ม.จ. โดยมีผลงานเป็นท่ีประจักษ์ และ ตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิและไม่มีลกั ษณะต้องห้าม ดังต่อไปน้ี (๑) มีสญั ชาติไทย (๒) มีอายุไม่ตา่ กว่าสส่ี ิบหา้ ปี (๓) ไม่เปน็ บุคคลลม้ ละลายหรือเคยเปน็ บคุ คลลม้ ละลายทจุ รติ (๔) ไม่เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมือนไรค้ วามสามารถ (๕) ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิด ท่ไี ดก้ ระทาโดยประมาท

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๐ ก หน้า ๕ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา (๖) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิน่ กรรมการ หรือผู้ซึ่งดารงตาแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าท่ี พรรคการเมอื ง (๗) ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัย หรือให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากราชการ รัฐวิสาหกิจ หรอื หนว่ ยงานของรฐั (๘) ไม่เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลอันถึงท่ีสุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะร่ารวยผิดปกติ (๙) ไม่เคยต้องคาพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าท่ีราชการหรือ ต่อตาแหน่งหน้าท่ีในการยุติธรรม หรือกระทาความผิดตามกฎหมายว่าด้วยความผิดของพนักงาน ในองคก์ ารหรือหนว่ ยงานของรัฐ (๑๐) ไมอ่ ยูใ่ นระหวา่ งต้องหา้ มมิให้ดารงตาแหนง่ ทางการเมอื ง (๑๑) ไม่เคยพ้นจากตาแหน่งเพราะศาลฎีกาหรือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่ง ทางการเมอื งมคี าพิพากษาวา่ ฝา่ ฝนื หรือไมป่ ฏบิ ัตติ ามมาตรฐานทางจริยธรรมอยา่ งรา้ ยแรง มาตรา ๑๐ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒมิ วี าระการดารงตาแหนง่ คราวละสามปี เม่ือครบกาหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งต้ังกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงพ้นจากตาแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตาแหน่งเพ่ือดาเนินงานต่อไปจนกว่า กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒซิ ่ึงได้รบั แต่งต้ังใหมเ่ ขา้ รับหน้าท่ี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงพ้นจากตาแหน่งตามวาระอาจไดร้ ับแตง่ ตั้งอีกได้ แต่จะดารงตาแหนง่ ตดิ ตอ่ กนั เกนิ สองวาระไมไ่ ด้ มาตรา ๑๑ นอกจากการพ้นจากตาแหนง่ ตามวาระ กรรมการผูท้ รงคณุ วฒุ ิพน้ จากตาแหน่ง เมอื่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติหรือมลี กั ษณะตอ้ งห้ามตามมาตรา ๙ (๔) ก.ม.จ. มีมติให้ออกจากตาแหนง่ ดว้ ยคะแนนเสยี งไม่น้อยกวา่ กึ่งหน่ึงของจานวนกรรมการ เทา่ ทีม่ อี ยู่ เพราะบกพรอ่ งต่อหนา้ ท่ี มคี วามประพฤติเสอ่ื มเสีย หรอื หย่อนความสามารถ

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๐ ก หน้า ๖ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๑๒ ในกรณีท่ีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระหรือในกรณี ที่นายกรัฐมนตรีแต่งต้ังกรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิเพ่ิมข้ึนในระหว่างที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒซิ ่ึงแตง่ ตั้งไว้แลว้ ยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ผู้ได้รับแต่งต้ังแทนตาแหน่งท่ีว่างหรือเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นอยู่ ในตาแหน่งเท่ากับวาระท่ีเหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทนหรือผู้ซึ่งแต่งต้ังไว้แล้ว เว้นแต่วาระท่ีเหลืออยู่ไม่ถึง หนงึ่ รอ้ ยแปดสบิ วนั จะไม่แตง่ ตงั้ กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒแิ ทนกไ็ ด้ ในกรณที ่กี รรมการผู้ทรงคณุ วุฒพิ ้นจากตาแหนง่ ก่อนวาระ ให้ ก.ม.จ. ประกอบดว้ ยกรรมการ ทัง้ หมดเทา่ ทม่ี อี ยูจ่ นกวา่ จะมีการแต่งตง้ั ตามวรรคหนึง่ มาตรา ๑๓ ก.ม.จ. มีหนา้ ท่ีและอานาจ ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) เสนอแนะและให้คาปรึกษาเก่ียวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานทางจริยธรรม และการสง่ เสริมจรยิ ธรรมภาครัฐต่อคณะรัฐมนตรี (๒) กาหนดแนวทางหรือมาตรการในการขับเคล่ือน การดาเนินกระบวนการรักษาจริยธรรม รวมท้ังกลไกและการบังคับใช้ประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐเพ่ือให้องค์กรกลางบริหาร งานบุคคล องค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง หรือผู้บังคับบัญชานาไปใช้ในกระบวนการบริหารงานบุคคล อยา่ งเป็นรูปธรรม (๓) กาหนดแนวทางในการส่งเสรมิ และพัฒนาเพ่ือเสริมสร้างประสิทธภิ าพให้เจ้าหน้าทข่ี องรัฐ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรมและยึดถือแนวทางปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม รวมทัง้ เสนอแนะมาตรการในการเพ่ิมพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมแก่ หน่วยงานของรัฐตอ่ คณะรัฐมนตรี (๔) กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินการตามมาตรฐานทางจริยธรรม โดยอย่างน้อย ต้องให้หนว่ ยงานของรัฐจัดให้มีการประเมนิ ความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั มาตรฐานทางจรยิ ธรรม และใหม้ ี การประเมนิ พฤตกิ รรมทางจริยธรรมสาหรับเจา้ หน้าท่ีของรัฐในหนว่ ยงานนนั้ (๕) ตรวจสอบรายงานประจาปีของหน่วยงานของรัฐตามมาตรา ๑๙ (๓) และรายงานสรุปผล การดาเนินงานดังกล่าวเสนอตอ่ คณะรฐั มนตรีเพื่อทราบอย่างน้อยปลี ะหนงึ่ ครั้ง (๖) ตีความและวนิ จิ ฉัยปญั หาท่เี กิดจากการใช้บังคับพระราชบัญญตั ิน้ี (๗) ปฏิบัตหิ น้าท่อี น่ื ตามท่บี ญั ญตั ิไวใ้ นพระราชบญั ญัตินห้ี รอื ตามทคี่ ณะรฐั มนตรีมอบหมาย

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๐ ก หน้า ๗ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา การประเมนิ ผลตาม (๔) ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารที่ ก.ม.จ. กาหนด โดยอาจจัดให้มี องค์กรภายนอกเข้าร่วมการประเมนิ ผลดว้ ยก็ได้ มาตรา ๑๔ เพื่อให้การดาเนินการจัดทาประมวลจริยธรรมและข้อกาหนดจริยธรรม ตามมาตรา ๖ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและสอดคล้องกับมาตรฐานทางจริยธรรม และเพ่ือประโยชน์ใน การดาเนินการตามหน้าที่และอานาจตามมาตรา ๑๓ ให้ ก.ม.จ. มีอานาจกาหนดหลักเกณฑ์เป็นระเบียบ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อให้องค์กรกลางบริหารงานบคุ คล องค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง และ หน่วยงานของรฐั ใช้เปน็ หลกั เกณฑ์สาหรบั การจดั ทาประมวลจรยิ ธรรมและขอ้ กาหนดจรยิ ธรรม รวมทัง้ การกาหนดกระบวนการรกั ษาจรยิ ธรรมของเจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐ ในการนี้ ให้ ก.ม.จ. มีหนา้ ทใี่ ห้คาแนะนาแก่ องค์กรกลางบริหารงานบุคคล องค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง และหน่วยงานของรัฐในการปฏิบัติ ตามพระราชบัญญตั ินี้ ในกรณีทีป่ รากฏแก่ ก.ม.จ. ว่า การจดั ทาประมวลจริยธรรมขององคก์ รกลางบรหิ ารงานบคุ คล หรือองค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง หรือข้อกาหนดจริยธรรมของหนว่ ยงานของรัฐแหง่ ใดไม่สอดคล้องกับ มาตรฐานทางจริยธรรมหรือมีการปฏิบัติท่ีไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ม.จ. กาหนดตามวรรคหน่ึง ให้ ก.ม.จ. แจ้งให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคล องค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง หรือหน่วยงาน ของรัฐแห่งน้ันดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง และให้เป็นหน้าที่ขององค์กรกลางบริหารงานบุคคล องค์กร ตามมาตรา ๖ วรรคสอง หรือหน่วยงานของรัฐท่ีจะตอ้ งดาเนินการโดยเรว็ มาตรา ๑๕ ให้ ก.ม.จ. จดั ให้มีการทบทวนมาตรฐานทางจรยิ ธรรมตามมาตรา ๕ ทุกห้าปี หรือในกรณีท่ีมีความจาเป็นหรือสถานการณ์เปล่ียนแปลงไป ก.ม.จ. จะพิจารณาทบทวนในรอบ ระยะเวลาท่ีเร็วกว่านน้ั กไ็ ด้ โดยในการดาเนนิ การดงั กลา่ วให้เชิญผแู้ ทนจากองคก์ รกลางบริหารงานบคุ คล และองค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง มาหารอื ร่วมกันด้วย มาตรา ๑๖ การประชุม ก.ม.จ. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน กรรมการท้งั หมดเทา่ ท่มี ีอยู่ จึงจะเปน็ องค์ประชมุ ในการประชุม ก.ม.จ. ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานกรรมการปฏิบัติหน้าท่ีแทน ในกรณีท่ีไม่มีรองประธานกรรมการหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ หน้าทีไ่ ด้ ให้ท่ปี ระชุมเลอื กกรรมการคนหน่ึงเปน็ ประธานในที่ประชมุ

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๐ ก หน้า ๘ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา การวินิจฉัยช้ีขาดของที่ประชุม ให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่ึงให้มีเสียงหนึ่งใน การลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากนั ใหป้ ระธานในทปี่ ระชุมออกเสียงเพิ่มข้นึ อกี เสียงหนึ่งเป็นเสียงชข้ี าด มาตรา ๑๗ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ี ก.ม.จ. มีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ หรือคณะทางานเพื่อพจิ ารณาหรอื ดาเนนิ การตามที่ ก.ม.จ. มอบหมายได้ ให้นาความในมาตรา ๑๖ มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะอนุกรรมการและคณะทางานด้วย โดยอนโุ ลม มาตรา ๑๘ ใหป้ ระธานกรรมการ กรรมการ ประธานอนุกรรมการ และอนกุ รรมการไดร้ บั เบ้ยี ประชุมและประโยชนต์ อบแทนอ่นื ตามท่ีกระทรวงการคลงั กาหนด โดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี หมวด ๓ การรกั ษาจริยธรรมของเจ้าหน้าทขี่ องรัฐ มาตรา ๑๙ เพ่ือประโยชน์ในการรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ให้หน่วยงานของรัฐ ดาเนนิ การ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) กาหนดให้มีผู้รับผิดชอบเก่ียวกับการรักษาจริยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐ ในการน้ี อาจมอบหมายให้ส่วนงานท่ีมีหน้าท่ีและภารกิจในด้านจริยธรรม ธรรมาภิบาล หรือที่เกี่ยวกับ การบริหารงานบุคคล หรือคณะกรรมการและกลุ่มงานจริยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐที่มีอยู่แล้ว เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบก็ได้ (๒) ดาเนินกิจกรรมการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ความรู้ ฝกึ อบรม และพฒั นาเจา้ หนา้ ที่ของรฐั ในหน่วยงานของรัฐ และจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อเสริมสร้างให้มีการปฏิบัติ ตามประมวลจริยธรรม รวมท้ังกาหนดกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนมสี ่วนรว่ มในการตรวจสอบพฤติกรรม ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ตลอดจนสร้างเครือข่ายและประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐและ ภาคเอกชน (๓) ทุกสิ้นปีงบประมาณ ให้จัดทารายงานประจาปีตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ม.จ. กาหนดเสนอต่อ ก.ม.จ. โดยให้หน่วยงานของรัฐเสนอรายงานประจาปีผ่านองค์กรกลางบริหารงานบุคคลหรือองค์กร ตามมาตรา ๖ วรรคสอง แล้วแต่กรณี เพ่ือประเมินผลในภาพรวมของหน่วยงานของรัฐเสนอต่อ ก.ม.จ. ดว้ ย

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๐ ก หน้า ๙ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๒๐ ให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคลแต่ละประเภทและองค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง มีหน้าท่ีกากับดูแลการดาเนินกระบวนการรักษาจริยธรรม และการประเมินผลการปฏิบัติ ตามประมวลจรยิ ธรรม รวมท้ังให้มีหนา้ ที่และอานาจจัดหลักสูตรการฝึกอบรม การเผยแพรค่ วามเขา้ ใจ ตลอดจนการกาหนดมาตรการจูงใจเพ่ือพัฒนาและส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐ มีพฤติกรรมทางจริยธรรมเป็นแบบอย่างที่ดี และมาตรการท่ีใช้บังคับแก่เจ้าหน้าท่ีของรัฐในหน่วยงาน ของรัฐซ่ึงมีพฤติกรรมท่ีเป็นการฝ่าฝืนมาตรฐานทางจริยธรรมหรือไม่ปฏิบัติตามประมวลจริ ยธรรม โดยอาจกาหนดมาตรการเพ่ือใชใ้ นการบรหิ ารงานบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทน้นั บทเฉพาะกาล มาตรา ๒๑ เม่ือ ก.ม.จ. ได้ประกาศกาหนดหลักเกณฑ์การจัดทาประมวลจริยธรรม ตามมาตรา ๑๔ แล้ว ให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคลและองค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง จัดทา ประมวลจรยิ ธรรมใหแ้ ล้วเสร็จตามระยะเวลาที่ ก.ม.จ. กาหนด มาตรา ๒๒ บรรดาประมวลจริยธรรม กฎ ระเบียบ หรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับจรยิ ธรรมของ เจ้าหน้าที่ของรัฐที่มีผลใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้คงมีผลใช้บังคับได้ต่อไป เท่าท่ีไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติน้ี จนกว่าจะมีการกาหนดประมวลจริยธรรมหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ จริยธรรมตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ ผรู้ บั สนองพระราชโองการ พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook