แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ระดับชันประถมศึกษาปที 6 ภาคเรียนที 2 นางสาวจตุพร สวุ รรณประเสรฐิ ครผู สู้ อน โรงเรียนวัดนราภิรมย์ สาํ นักงานเขตพนื ทกี ารศึกษานครปฐม เขต 2 สํานกั งานการศกึ ษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตแรละ์ เทคโนโลยี ป.6 เลม่ 2 ตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้วี ดั (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ผู้เรยี บเรียง อุไรพรรณ จันสดี า ผู้ตรวจ ดร.รกั ซอ้ น รตั นว์ จิ ติ ตเ์ วช ศิรริ ตั น์ วงศศ์ ิริ บรรณาธิการ อัจฉรา คาสุกดี สงวนลขิ สิทธิ์ตามพระราชบญั ญัติ
องคป์ ระกอบของหน่วยการเรียนร้อู ิงมาตรฐาน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ เวลาเรียน ช่วั โมง 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี้วัด 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 2.2 สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่ิน (ถา้ ม)ี 3. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ) ) 6. การวดั และประเมินผล 6.1 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) 6.2 การประเมินกอ่ นเรียน (ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น ประจาหน่วยการเรยี นรู้ 6.3 การประเมินระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 6.4 การประเมินหลงั เรียน (ทาแบบทดสอบหลังเรยี น ประจาหน่วยการเรียนรู้ 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 8. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
องคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ระยะเวลา ช่วั โมง เรอ่ื ง ชั้น 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดั 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 3.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี) 4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 7. การวัดและประเมนิ ผล วิธีสอนและขั้นตอนการจัดกิจกรรม 8. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้
คานา ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้สถานศึกษานาไปใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนการ จัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอัน พึงประสงคต์ ามเปา้ หมายของหลกั สูตร ตลอดจนให้เกิดผลสาเร็จตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา ดังน้ัน ขนั้ ตอนการนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาไปปฏิบัติจรงิ ในชัน้ เรียนของผู้สอน จงึ จดั เปน็ หวั ใจสาคญั ในการพัฒนาผเู้ รียน บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด จึงได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 เล่ม 2 เพื่อให้ผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดย จัดทาเป็นหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นกิจกรรมแบบ Active Learning อันจะช่วยให้ผู้ปกครองและหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถม่ันใจใน ผลการเรยี นรู้และคุณภาพของผูเ้ รียนทมี่ หี ลักฐานตรวจสอบผลการเรียนรอู้ ย่างเปน็ ระบบ ผู้สอนสามารถนาแผนการจัดการเรยี นรู้เล่มนี้ ไปเป็นคู่มือวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบการ ใช้หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เล่ม 2 ที่ทางบริษัทฯ จัดพิมพ์จาหน่าย โดยออกแบบการเรยี นรู้ (Instructional Design) ตามหลักการสาคัญ คอื 1 หลกั การจัดการเรียนรอู้ งิ มาตรฐาน หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยการเรียนรู้ จะกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไว้เป็นเป้าหมาย ในการจัดการเรยี นการสอน ผู้สอนจะต้องศึกษาและวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานตัวชี้วัดทุกข้อว่า ระบุให้ ผูเ้ รยี นต้องมีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับเร่ืองอะไร และต้องสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และผลการเรียนรู้ที่ เกดิ ขึ้นกับผเู้ รยี นตามมาตรฐานตัวชว้ี ดั นี้จะนาไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใดแกผ่ ้เู รียน มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชีว้ ัด ผู้เรยี นรู้อะไร นาไปสู่ ผู้เรยี นทาอะไรได้ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
2 หลักการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทเี่ น้นผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ เมื่อผู้สอนวิเคราะห์ตัวช้ีวัดและความสามารถของผู้เรียนท่ีจะเกิดตามตัวช้ีวัด ได้กาหนดจุดประสงค์การ เรียนรู้เป้าหมายการจัดการเรียนการสอนเรียบร้อยแล้ว จึงกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการ จดั การเรียนการสอนใหผ้ ู้เรียนลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีออกแบบไว้จนบรรลุจุดประสงค์ การเรียนรู้ทุกขอ้ จุดประสงค์ เป้าหมาย สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น การเรียนรู้ หลกั การจดั การเรียนรู้ และการพฒั นา คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง คณุ ภาพ ของผ้เู รียน สนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ของผูเ้ รยี น เนน้ พฒั นาการทางสมอง เน้นความรคู้ คู่ ณุ ธรรม 3 หลกั การบูรณาการกระบวนการเรยี นรูส้ ู่มาตรฐานตัวชว้ี ดั เมื่อผู้สอนกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้ และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้แล้ว จึงกาหนดรูปแบบการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ท่ีจะฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ บรรลุผลตาม จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมายใน หน่วยการเรียนรู้น้ันๆ เช่น กระบวนการเรียนร้แู บบบรู ณาการ กระบวนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง กระบวนการ เผชิญสถานการณ์และการแก้ปัญหา การคิดเชิงคานวณ กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการพัฒนาลกั ษณะนสิ ยั กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการคดิ วิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการ ทางสังคม กระบวนการเรียนรู้ท่ีมอบหมายให้ผู้เรยี นได้คดิ และลงมอื ปฏบิ ัตนิ ้ันจะต้องนาไปสู่การพัฒนาสมรรถนะ สาคญั และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผู้เรยี นตามสาระการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 4 หลักการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ผู้สอนต้องกาหนด ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติให้ชัดเจน โดยเน้นให้ผูเ้ รยี นได้คิดและปฏบิ ัติมากที่สดุ ตามแนวคิดและวธิ กี ารสาคญั คือ
1) การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสติปัญญาที่ผู้เรียนทุกคนต้องใช้สมองในการคิดและทาความเข้าใจ ในสิ่งต่างๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้า จนสามารถสรุปเป็นความรู้ได้ด้วยตนเอง และ สามารถนาเสนอผลงาน แสดงองคค์ วามรูท้ ี่เกดิ ข้ึนในแตล่ ะหน่วยการเรยี นรไู้ ด้ 2) การสอน เป็นการเลือกวิธีการหรือกิจกรรมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้นั้นๆ และที่ สาคัญ คือ ต้องเป็นวิธีการที่สอดคล้องกับสภาพผู้เรียน ผู้สอนจึงต้องเลือกใช้วิธีการสอน เทคนิค การสอน และรูปแบบการสอนอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่าง ราบรนื่ จนบรรลตุ ัวช้ีวัดทกุ ขอ้ 3) รูปแบบการสอน ควรเป็นวิธีการและข้ันตอนฝึกปฏิบัติที่ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถคิด อย่างเป็นระบบ เช่น รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รูปแบบการสอนโดยใช้การคิด แบบโยนิโสมนสิการ รูปแบบการสอนแบบ CIPPA Model รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการ เรยี นร้แู บบ 4MAT รปู แบบการเรียนการสอนแบบรว่ มมอื เทคนคิ JIGSAW, STAD, TAI, TGT 4) วิธีการสอน ควรเลือกใช้วิธีการสอนที่สอดคล้องกับเน้ือหาของบทเรียน ความถนัด ความสนใจ และ สภาพปัญหาของผู้เรียน วิธีสอนที่ดีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ตามในระดับ ผลสมั ฤทธ์ทิ ่สี งู เช่น วธิ กี ารสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย การแสดง บทบาทสมมติ การใช้กรณีตัวอย่าง การใช้สถานการณ์จาลอง การใช้ศูนย์การเรียน การใช้บทเรียน แบบโปรแกรม 5) เทคนิคการสอน ควรเลือกใช้เทคนิคการสอนที่สอดคล้องกับวิธีการสอน และช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ เนื้อหาในบทเรียนได้ง่ายข้ึน สามารถกระตุ้นความสนใจและจูงใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมการ เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้ผังกราฟิก (Graphic Organizers) เทคนิคการเล่า นิทาน การเล่นเกม เทคนิคการใช้คาถาม การใช้ตัวอย่างกระตุ้นความคิด การใช้ส่ือการเรียนรู้ท่ี นา่ สนใจ 6) สื่อการเรียนการสอน ควรเลือกใช้ส่ือหลากหลายกระตุ้นความสนใจ และทาความกระจ่างให้เน้ือหา สอดคล้องกบั สาระการเรียนรู้ และเป็นเคร่ืองมือชว่ ยให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตัวช้ีวัดอย่างราบรื่น เชน่ สอื่ ส่ิงพิมพ์ เอกสารประกอบการสอน แผ่นสไลด์ คอมพิวเตอร์ VCD LCD Visualizer ควรเตรียม ส่ือให้ครอบคลุมทัง้ สอ่ื การสอนของผ้สู อนและสอ่ื การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 5 การจัดกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ 5Es Instructional Model การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5Es Instructional Model เป็นขั้นตอนการเรียนรู้ท่ีมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้ มีโอกาสสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและการลงมือทา โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เป็นเครื่องมือสาคัญเพ่ือการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ซ่ึงผู้จัดทาได้นามาใช้เป็นแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ตามลาดับข้ันตอน การเรียนรู้ ดังน้ี กระตนุ้ ความสนใจ (Engagement) ZX ตรวจสอบผล สารวจและคน้ หา (Evaluation) (Exploration) ZX ZX ขยายความเข้าใจ อธิบายความรู้ (Elaboration) (Explanation) ZX ZX รปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบ 5Es Instructional Model ข้ันที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement) เป็นขั้นที่ผู้สอนนาเข้าสู่บทเรียน เพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนด้วยเร่ืองราวหรือเหตุการณ์ท่ีน่าสนใจ โดยใช้เทคนคิ วิธกี ารสอนและคาถามทบทวนความรู้หรือประสบการณ์เดิมของผู้เรียน เพ่ือเชื่อมโยงผู้เรียนเข้าสู่ ความรูข้ องบทเรยี นใหม่ ชว่ ยให้ผเู้ รยี นสามารถสรุปประเด็นสาคัญท่ีเป็นหัวข้อและสาระการเรียนรู้ของบทเรียน ได้ จึงเป็นขัน้ ตอนการสอนท่ีสาคญั เพราะเปน็ การเตรยี มความพร้อมและสรา้ งแรงจูงใจใฝ่เรียนรู้แก่ผูเ้ รียน ข้ันที่ 2 สารวจและคน้ หา (Exploration) เป็นข้ันท่ีผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนลงมือศึกษา สังเกต หรือร่วมมือกันสารวจ เพ่ือให้เห็นขอบข่ายของ ปัญหา รวมถึงวิธีการศึกษาค้นคว้า การรวบรวมข้อมูลความรู้ที่จะนาไปสู่ความเข้าใจประเด็นปัญหาน้ันๆ เม่ือ ผ้เู รียนทาความเขา้ ใจในประเด็นหัวข้อท่ีจะศึกษาค้นคว้าอย่างถ่องแท้แล้ว ก็ลงมือปฏิบัติเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูล ความรู้ สารวจตรวจสอบ โดยวิธีการต่างๆ เช่น สัมภาษณ์ ทดลอง อ่านค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร แหล่งข้อมูล ตา่ งๆ จนได้ขอ้ มูลความร้ตู ามทีต่ ้งั ประเดน็ ศึกษาไว้
ขั้นท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explanation) เป็นขั้นที่ผู้สอนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เช่น ให้การแนะนา ต้ังคาถามกระตุ้นให้คิด เพื่อให้ผู้เรียนค้นหา คาตอบ และนาข้อมูลความรู้จากการศึกษาค้นคว้าในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห์ สรุปผล และนาเสนอผลที่ได้ศึกษา คน้ ควา้ มาในรปู แบบสารสนเทศต่างๆ เช่น เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน์ เขียนความเรียง เขียนรายงาน ในข้ันตอนน้ฝี กึ ใหผ้ ูเ้ รียนใช้สมองคิดวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์อยา่ งเปน็ ระบบ ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration) เป็นข้ันท่ีผู้สอนเลือกใช้เทคนิควิธีการสอนต่างๆ ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนนาความรู้ที่เกิดข้ึนไปคิดค้นสืบค้น ต่อๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้และการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ระดมสมองเพื่อคิดสร้างสรรค์ร่วมกัน ผเู้ รยี นสามารถนาความรทู้ สี่ รา้ งข้นึ ใหมไ่ ปเชอ่ื มโยงกับประสบการณเ์ ดมิ โดยนาข้อสรุปที่ได้ไปใช้อธิบายเหตุการณ์ ต่างๆ หรอื นาไปปฏบิ ตั ใิ นสถานการณ์ใหมๆ่ ท่เี ก่ียวข้องกบั ชวี ติ ประจาวันของตนเอง เพ่ือขยายความรู้ความเข้าใจ ให้กว้างขวางย่ิงข้ึน ในข้ันตอนน้ีฝึกสมองของผู้เรียนให้สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างมีคุณภาพ เสริมสร้าง วสิ ัยทศั น์ใหก้ ว้างไกลออกไป ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) เป็นการประเมินผลการเรียนรู้จากการทากิจกรรมในข้ันที่ 1-4 เพื่อนาความรู้ท่ีได้ไปปรับใช้ใน ชีวิตประจาวันและเป็นการประเมินผล โดยการใช้แบบทดสอบ ชุดฝึก การทากิจกรรม การทดลอง การจัดป้าย นิเทศ เป็นการประเมินผลรายบุคคล รายกลุ่ม โดยใช้กระบวนการต่างๆ เพ่ือประเมินว่า ผู้เรียนมีความรู้อะไร อย่างไร มากน้อยเพียงใด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5Es Instructional Model จงึ เปน็ รปู แบบการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญอย่างแท้จริง เพราะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติตาม ขั้นตอนของกระบวนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง และฝึกฝนให้ใช้กระบวนการคิดและกระบวนการกลุ่มอย่าง ชานาญ ก่อให้เกิดทักษะชีวิต ทักษะการทางาน และทักษะการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ จึงส่งผลทาให้ผู้เรียน สามารถบรรลผุ ลสมั ฤทธิ์ตามมาตรฐานและตัวช้ีวัด รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่ หลกั สตู รกาหนดไว้ต่อไป 6 หลกั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบย้อนกลับตรวจสอบ เมื่อผู้สอนวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ รวมถึงกาหนดรูปแบบการเรียนการสอนไว้เรียบร้อยแล้ว จึงนาเทคนิควิธีการสอน วิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ไปลงมือจัดการเรียนการสอน ซ่ึงจะนา ผเู้ รียนไปสูก่ ารสร้างชิน้ งานหรอื ภาระงาน เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสาคัญตามธรรมชาติวิชา รวมทั้ง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่เป็นเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามลาดับข้นั ตอนการเรยี นรู้ท่กี าหนดไว้ ดงั น้ี
จากเปา้ หมายและหลักฐาน เปา้ หมายการเรยี นรขู้ องหน่วยการเรยี นรู้ คิดย้อนกเลปับา้ หส่จูมดุายเรกิ่มาตรน้เรยี นรขู้ องหนว่ ย ของกจิ กรรมการเรียนรู้ หลักฐานช้ินงาน/ภาระงาน แสดงผลการเรยี นร้ขู องหน่วยการเรียนรู้ 4 กิจกรรม คาถามชวนคดิ 3 กิจกรรม คาถามชวนคดิ จากกิจกรรมการเรยี นรู้ 2 กิจกรรม คาถามชวนคดิ ทีละข้ันบนั ไดสหู่ ลักฐาน 1 กิจกรรม คาถามชวนคดิ และเปา้ หมายการเรียนรู้ 7 หลักการวัดและประเมินผล เพื่อให้ม่ันใจว่าผ้เู รยี นจะสามารถบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ตามตวั ชี้วัดนนั้ จึงไดม้ ีการออกแบบและสร้าง เครอ่ื งมือเพอื่ ใชใ้ นการประเมินหลกั ๆ ดังน้ี 1) แบบทดสอบกอ่ น-หลังเรียน ประเมนิ ความรเู้ พือ่ ใช้ในการพัฒนาในหน่วยการเรียนรู้ถดั ๆ ไป 2) ใบงาน เพ่อื ใช้ในการฝกึ คดิ และปฏบิ ัติ 3) แบบประเมินช้ินงาน โดยใช้เกณฑ์คุณภาพ (Scoring Rubrics) เพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพของ ชิ้นงานและประเมินกระบวนการคิดและกระบวนการกลมุ่ 4) แบบสงั เกตพฤติกรรมเพื่อใชใ้ นการประเมนิ พฒั นาคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ต่อไป การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ นอกจากจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้ว จะต้องฝึกฝนกระบวนการคิด โดยใช้เทคนิคการตั้งคาถาม และใช้ระดับคาถามให้สัมพันธ์กับระดับความคิด เน้ือหานั้นๆ ต้ังแต่ระดับความรู้ ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า และการ สร้างสรรค์ นอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจบทเรียนอย่างลึกซ้ึงแล้ว ยังเป็นการเตรียมความพร้อม เพ่ือสอบ O-NET ซึ่งเป็นการทดสอบระดับชาติท่ีเน้นกระบวนการคิดระดับวิเคราะห์ด้วย และในแต่ละแผนการ เรยี นร้จู งึ มกี ารระบคุ าถามเพอ่ื กระตุน้ ความคิดของผเู้ รียนไว้ด้วยทุกกิจกรรม ผู้เรียนจะได้ฝึกฝนวิธีการทาข้อสอบ O-NET ควบคไู่ ปกบั การปฏิบตั ิกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามผลการเรยี นรทู้ ี่สาคญั ท้ังนี้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตามตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางฯ การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตลอดจนแบบบันทึกผลการเรียนรู้ด้านต่างๆ ไว้ครบถ้วน
สอดคล้องกับมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน เช่น แบบบันทึกผลด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการอ่านและแสวงหา ความรู้ ด้านสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร ผู้สอนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และใช้ประกอบการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Reports) จึงม่ันใจ อย่างยิ่งว่า การนาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ีไปเป็นแนวทางจัดการเรียนการสอนจะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงข้ึนตามมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาทุก ประการ คณะผูจ้ ดั ทา
สารบญั คณะผจู้ ดั ทา หน้า สรปุ หลกั สูตรฯ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พิเศษ 1 ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง วทิ ยาศาสตร์ พเิ ศษ 4 คาอธบิ ายรายวิชา พิเศษ 12 โครงสร้างรายวิชาพ้ืนฐาน พิเศษ 14 โครงสรา้ งแผนการจัดการเรยี นรู้ พิเศษ 17 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 5 สารรอบตัวเรา 1 บทที่ 1 การแยกสารผสม 11 หินและซากดึกดาบรรพ์ 34 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 6 หินในธรรมชาติ 48 บทท่ี 1 ซากดกึ ดาบรรพ์ 75 บทที่ 2 ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและธรณพี บิ ัติภยั 92 ลมบก ลมทะเล และลมมรสมุ 106 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 7 ภัยธรรมชาตแิ ละปรากฏการณ์เรอื นกระจก 119 บทที่ 1 ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ 150 บทที่ 2 ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ 163 ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีอวกาศ 175 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 8 บทท่ี 1 บทท่ี 2
สรปุ หลกั สูตรฯ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี * มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้กาหนดสาระการเรียนรู้ออกเป็น 4 สาระ ได้แก่ สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและ อวกาศ และสาระที่ 4 เทคโนโลยี มีสาระเพม่ิ เตมิ 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา สาระเคมี สาระฟิสิกส์ และสาระ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ องค์ประกอบของหลักสูตร ทั้งในด้านของเน้ือหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้น้ัน มีความสาคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ันให้มี ความต่อเนื่องเชื่อมโยงกันต้ังแต่ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 จนถึงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 สาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไดก้ าหนดตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางท่ีผู้เรียนจาเป็นต้องเรียนเป็นพื้นฐาน เพ่ือให้สามารถนาความรู้นี้ไปใช้ในการดารงชีวิต หรือศึกษาต่อในวิชาชีพท่ีต้องใช้วิทยาศาสตร์ได้ โดยจัด เรียงลาดบั ความยากง่ายของเน้อื หาในแตล่ ะระดบั ชั้นให้มีการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะท่ีสาคัญท้ังทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการค้นคว้าและ สร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ ข้อมลู หลากหลายและประจักษพ์ ยานท่ตี รวจสอบได้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 น้ี ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความสอดคล้อง และเชือ่ มโยงกนั ภายในสาระการเรียนรู้เดียวกนั และระหวา่ งสาระการเรียนรใู้ นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ตลอดจนการเช่ือมโยงเน้ือหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ด้วย นอกจากน้ี ยังได้ ปรบั ปรุงเพอ่ื ใหม้ ีความทนั สมัยต่อการเปลีย่ นแปลงและความเจรญิ ก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ และทัดเทียมกับ นานาชาติ ซ่ึงสรุปได้ ดงั แผนภาพ สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว 2.1-ว 2.3 สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ มาตรฐาน ว 1.1-ว 1.3 และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 3.1-ว 3.2 สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1-ว 4.2 วิทยาศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ - สาระชวี วทิ ยา - สาระเคมี - สาระฟสิ กิ ส์ - สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ *สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2560). พิเศษ 1
พเิ ศษ 2
พเิ ศษ 3
ตัวชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง* สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ งและหน้าท่ขี องระบบตา่ งๆ ของสัตวแ์ ละมนษุ ย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสมั พันธ์ของโครงสรา้ งและหน้าทีข่ องอวยั วะตา่ งๆ ของพืชทท่ี างานสัมพันธ์กัน รวมท้ังนา ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.6 1. ระบสุ ารอาหารและบอกประโยชน์ของ สารอาหารที่อยู่ในอาหารมี 6 ประเภท ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน สารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารท่ี ไขมนั เกลอื แร่ วิตามิน และนา้ ตนเองรบั ประทาน สารอาหารแต่ละประเภทมีประโยชน์ต่อร่างกายแตกต่างกัน โดย คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมันเป็นสารอาหารท่ีให้พลังงานแก่ ร่างกาย ส่วนเกลอื แร่ วติ ามิน และน้า เป็นสารอาหารท่ีไม่ให้พลังงาน แก่ร่างกาย แต่ชว่ ยใหร้ ่างกายทางานได้เปน็ ปกติ 2. บอกแนวทางในการเลือกรับประทาน อาหารแต่ละชนิดประกอบด้วยสารอาหารท่ีแตกต่างกัน อาหาร อาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนใน บางอย่างประกอบด้วยสารอาหารประเภทเดียว อาหารบางอย่าง สัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย ประกอบด้วยสารอาหารมากกว่า 1 ประเภท รวมทง้ั ความปลอดภัยต่อสขุ ภาพ การรบั ประทานอาหาร เพอ่ื ใหร้ ่างกายเจริญเตบิ โต มกี ารเปลยี่ นแปลง 3. ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ของร่างกายตามเพศและวัย และมีสุขภาพดี จาเป็นต้องรับประทาน สารอาหาร โดยการเลือกรับประทาน ให้ได้พลังงานเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและให้ได้ อาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนใน สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนท่ีเหมาะสมกับเพศและวัย รวมทั้งต้อง สัดส่วนท่ีเหมาะสมกับเพศและวัย คานึงถึงชนิดและปริมาณของวัตถเุ จือปนในอาหารเพอ่ื ความปลอดภัย รวมท้ังปลอดภยั ต่อสุขภาพ ต่อสขุ ภาพ *สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวชวี้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. 2551 (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย, 2560). พเิ ศษ 4
ชัน้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.6 4. สร้างแบบจาลองระบบย่อยอาหารและ ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร บรรยายหน้าท่ีของอวัยวะในระบบย่อย กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ ทวารหนัก ตับ และตับอ่อน ซ่ึงทา อาหาร รวมทั้งอธิบายการย่อยอาหาร หนา้ ทีร่ ่วมกนั ในการย่อยและดูดซมึ สารอาหาร และการดูดซมึ สารอาหาร - ปากมีฟันช่วยบดเคี้ยวอาหารให้มีขนาดเล็กลงและมีล้ินช่วยคลุกเคล้า อาหารกบั น้าลาย ในน้าลายมเี อนไซมย์ ่อยแปง้ ใหเ้ ปน็ นา้ ตาล - หลอดอาหารทาหน้าท่ีลาเลียงอาหารจากปากไปยังกระเพาะอาหาร ภายในกระเพาะอาหารมีการย่อยโปรตีนโดยกรดและเอนไซม์ท่ีสร้างจาก กระเพาะอาหาร - ลาไส้เล็กมีเอนไซม์ที่สร้างจากผนงั ลาไส้เลก็ เองและจากตับอ่อนที่ช่วยย่อย โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน โดยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมันท่ี ผ่านการย่อยจนเป็นสารอาหารขนาดเล็กพอที่จะดูดซึมได้ รวมถึงน้า เกลือ แร่ และวิตามิน จะถูกดดู ซึมท่ีผนังลาไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลอื ดเพ่ือลาเลียงไป ยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย ซ่ึงโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมันจะถูก นาไปใชเ้ ปน็ แหลง่ พลงั งานสาหรบั ใช้ในกจิ กรรมตา่ งๆ สว่ นนา้ เกลือแร่ และ วติ ามนิ จะช่วยใหร้ า่ งกายทางานไดเ้ ป็นปกติ - ตับสร้างนา้ ดแี ลว้ สง่ มายังลาไส้เลก็ ชว่ ยใหไ้ ขมนั แตกตวั - ลาไส้ใหญ่ทาหน้าท่ีดูดน้าและเกลือแร่ เป็นบริเวณท่ีมีอาหารที่ย่อยไม่ได้ หรอื ยอ่ ยไมห่ มดเปน็ กากอาหาร ซ่ึงจะถูกกาจัดออกทางทวารหนัก 5. ตระหนักถึงความสาคัญของระบบย่อย อวัยวะต่างๆ ในระบบย่อยอาหารมีความสาคัญ จึงควรปฏิบัติตน อาหาร โดยการบอกแนวทางในการดูแล ดูแลรักษาอวัยวะใหท้ างานเป็นปกติ รักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหารให้ ทางานเป็นปกติ พิเศษ 5
สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึด เหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี ชัน้ ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.6 1. อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสาร สารผสมประกอบดว้ ยสารต้ังแต่ 2 ชนดิ ขึ้นไปผสมกัน เช่น น้ามันผสม ผสมโดยการหยิบออก การร่อน น้า ข้าวสารปนกรวดทราย วิธีการที่เหมาะสมในการแยกสารผสม การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก ขึ้นอยู่กับลักษณะและสมบัติของสารท่ีผสมกัน ถ้าองค์ประกอบของ การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้ สารผสมเป็นของแข็งกับของแข็งที่มีขนาดแตกต่างกันอย่างชัดเจน หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมทั้งระบุวิธี อาจใช้วิธกี ารหยิบออกหรอื การร่อนผ่านวัสดุท่ีมีรู ถ้ามีสารใดสารหนึ่ง แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันเก่ียวกับ เป็นสารแม่เหล็กอาจใช้วิธีการใช้แม่เหล็กดึงดูด ถ้าองค์ประกอบเป็น การแยกสาร ของแขง็ ทไ่ี ม่ละลายในของเหลว อาจใช้วิธีการรินออก การกรอง หรือ การตกตะกอน ซึ่งวิธีการแยกสารสามารถนาไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวนั ได้ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนท่ี แบบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมทงั้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.6 1. อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้า วัตถุ 2 ชนิด ท่ผี า่ นการขัดถูแล้ว เมื่อนาเข้าใกล้กันอาจดึงดูดหรือผลัก ซ่ึงเกิดจากวัตถุท่ีผ่านการขัดถู กัน แรงท่ีเกิดข้ึนนี้เป็นแรงไฟฟ้า ซ่ึงเป็นแรงไม่สัมผัส เกิดขึ้นระหว่าง โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ วตั ถุทมี่ ีประจไุ ฟฟ้า ซึ่งประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ ประจุไฟฟ้าบวกและ ประจุไฟฟ้าลบ วตั ถุทีม่ ีประจไุ ฟฟา้ ชนิดเดียวกันผลักกนั วัตถุท่ีมีประจุ ไฟฟา้ ชนิดตรงข้ามกนั ดงึ ดูดกนั พเิ ศษ 6
มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลยี่ นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สสารและพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจาวัน ธรรมชาตขิ องคลื่น ปรากฏการณ์ที่เก่ียวข้องกับ เสยี ง แสง และคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมท้งั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ชั้น ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.6 1. ระบุส่วนประกอบและบรรยาย วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยแหล่งกาเนิดไฟฟ้า สายไฟฟ้าและ หน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของ เครือ่ งใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณไ์ ฟฟ้า แหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้า เช่น ถ่านไฟฉาย วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ยจากหลักฐานเชิง หรือแบตเตอรี่ ทาหน้าท่ีให้พลังงานไฟฟ้า สายไฟฟ้าเป็นตัวนาไฟฟ้า ประจกั ษ์ ทาหน้าท่ีเช่ือมต่อระหว่างแหล่งกาเนิดไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า 2. เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้า เข้าดว้ ยกนั เครื่องใช้ไฟฟ้ามีหน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน อย่างง่าย อนื่ 3. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วย เมื่อนาเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อเรียงกัน โดยให้ข้ัวบวกของ วิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายวิธีการ เซลล์ไฟฟ้าเซลล์หน่ึงต่อกับขั้วลบของอีกเซลล์หน่ึงเป็นการต่อแบบ และผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบ อนุกรม ทาให้มีพลังงานไฟฟ้าเหมาะสมกับเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งการต่อ อนกุ รม เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน 4. ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของ เชน่ การตอ่ เซลล์ไฟฟ้าในไฟฉาย การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมโดย บอกประโยชน์และการประยุกต์ใช้ใน ชวี ิตประจาวัน 5. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วย การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม เม่ือถอดหลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนึ่ง วิธีที่เหมาะสมในการอธิบายการต่อ ออกทาใหห้ ลอดไฟฟา้ ท่ีเหลอื ดบั ทัง้ หมด สว่ นการต่อหลอดไฟฟ้าแบบ หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบ ขนาน เม่ือถอดหลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหน่ึงออก หลอดไฟฟ้าที่เหลือก็ ขนาน ยังสวา่ งได้ การต่อหลอดไฟฟ้า แต่ละแบบสามารถนาไปใช้ประโยชน์ 6. ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของ ได้ เช่น การต่อหลอดไฟฟ้าหลายดวงในบ้านจึงต้องต่อหลอดไฟฟ้า การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและ แบบขนาน เพ่ือเลือกใชห้ ลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนงึ่ ได้ตามต้องการ แบบขนาน โดยบอกประโยชน์ ข้อจากัด และการประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวัน 7. อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจาก เมื่อนาวัตถุทึบแสงมากั้นแสงจะเกิดเงาบนฉากรับแสงท่ีอยู่ด้านหลัง หลกั ฐานเชิงประจักษ์ วัตถุ โดยเงามีรูปร่างคล้ายวัตถุที่ทาให้เกิดเงา เงามัวเป็นบริเวณท่ีมี 8. เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดง แสงบางส่วนตกลงบนฉาก ส่วนเงามืดเป็นบริเวณที่ไม่มีแสงตกลงบน การเกดิ เงามืดเงามวั ฉากเลย พิเศษ 7
สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะท่ีส่งผลต่อส่ิงมีชีวิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยอี วกาศ ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.6 1. สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิด เม่ือโลกและดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันกับ และเปรียบเทียบปรากฏการณ์ ดวงอาทิตย์ในระยะทางท่ีเหมาะสม ทาให้ดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์ สุรยิ ุปราคาและจนั ทรปุ ราคา เงาของดวงจันทร์ทอดมายังโลก ผู้สังเกตท่ีอยู่บริเวณเงาจะมองเห็น ด ว งอ า ทิ ต ย์ มื ด ไ ป เ กิด ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ สุ ริ ยุ ป ร า ค า ซ่ึ ง มี ทั้ ง สุริยปุ ราคาเตม็ ดวง สุรยิ ปุ ราคาบางสว่ น และสรุ ิยปุ ราคาวงแหวน หากดวงจันทร์และโลกโคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันกับ ดวงอาทิตย์ แล้วดวงจันทร์เคล่ือนที่ผ่านเงาของโลก จะมองเห็น ดวงจันทร์มืดไป เกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคา ซึ่งมีทั้งจันทรุปราคา เตม็ ดวงและจันทรุปราคาบางส่วน 2. อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยี เทคโนโลยีอวกาศเร่ิมจากความต้องการของมนุษย์ในการสารวจวัตถุ อวกาศและยกตัวอย่างการนา ท้องฟ้าโดยใช้ตาเปล่า กล้องโทรทรรศน์ และได้พัฒนาไปสู่การขนส่ง เทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ เพื่อสารวจอวกาศด้วยจรวดและยานขนส่งอวกาศ และยังคงพัฒนา ในชี วิตป ร ะ จ าวัน จ า กข้อมู ล ที่ อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันมีการนาเทคโนโลยีอวกาศบางประเภทมา รวบรวมได้ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น การใช้ดาวเทียมเพื่อการส่ือสาร การพยากรณ์อากาศ หรือการสารวจทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ อปุ กรณ์วดั ชพี จรและการเต้นของหัวใจ หมวกนริ ภยั ชดุ กฬี า พเิ ศษ 8
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองคป์ ระกอบและความสมั พันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกและ บนผวิ โลก ธรณี พบิ ตั ิภัย กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภมู อิ ากาศโลก รวมท้ังผล ต่อสงิ่ มชี วี ติ และสงิ่ แวดลอ้ ม ชัน้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.6 1. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี หินเป็นวัสดุแข็งเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วยแร่ต้ังแต่ หินตะกอน และหินแปร และอธิบาย 1 ชนิดขึ้นไป สามารถจาแนกหินตามกระบวนการเกิดได้เป็น 3 วฏั จกั รหนิ จากแบบจาลอง ประเภท ไดแ้ ก่ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร หินอัคนีเกิดจากการเย็นตัวของแมกมา เนื้อหินมีลักษณะเป็นผลึกทั้ง ผลกึ ขนาดใหญแ่ ละขนาดเลก็ บางชนดิ อาจเปน็ เนื้อแก้วหรอื มรี ูพรุน หนิ ตะกอน เกิดจากการทบั ถมของตะกอนเมอื่ ถูกแรงกดทับและมีสาร เช่ือมประสานจึงเกิดเป็นหิน เนื้อหินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็น เม็ดตะกอน มีทั้งเน้ือหยาบและเนื้อละเอียด บางชนิดเป็นเน้ือผลึกท่ี ยึดเกาะกัน เกิดจากการตกผลึกหรือตกตะกอนจากน้าโดยเฉพาะ น้าทะเล บางชนดิ มลี ักษณะเปน็ ชนั้ ๆ จึงเรียกอกี ชือ่ วา่ หินชั้น หินแปรเกิดจากการแปรสภาพของหินเดิม ซึ่งอาจเป็นหินอัคนี หนิ ตะกอน หรอื หินแปร โดยการกระทาของความร้อน ความดัน และ ปฏกิ ริ ิยาเคมี เนอื้ หินของหินแปรบางชนิดผลึกของแร่เรยี งตัวขนานกนั เป็นแถบ บางชนิดแซะออกเป็นแผ่นได้ บางชนิดเป็นเนื้อผลึกท่ีมี ความแข็งมาก หนิ ในธรรมชาตทิ ้ัง 3 ประเภท มีการเปลีย่ นแปลงจากประเภทหน่ึงไป เ ป็ น อี ก ป ร ะ เ ภ ทห นึ่ ง ห รื อ ป ร ะ เ ภ ท เ ดิ ม ไ ด้ โ ด ย มี แ บ บ รู ป การเปลย่ี นแปลงคงทแ่ี ละตอ่ เนอ่ื งเปน็ วฏั จักร 2. บรรยายและยกตัวอยา่ งการใช้ หินและแร่แต่ละชนิดมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกัน มนุษย์ใช้ ประโยชนข์ องหนิ และแร่ใน ประโยชน์จากแร่ในชีวิตประจาวันในลักษณะต่างๆ เช่น นาแร่มาทา ชีวติ ประจาวนั จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ เคร่ืองสาอาง ยาสีฟัน เคร่ืองประดับ อุปกรณ์ทางการแพทย์ และ นาหนิ มาใช้ในงานก่อสร้างตา่ งๆ 3. สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดซาก ซากดึกดาบรรพ์เกิดจากการทับถมหรือการประทับรอยของสิ่งมีชีวิต ดกึ ดาบรรพ์และคาดคะเน ในอดีต จนเกิดเป็นโครงสร้างของซากหรือร่องรอยของสิ่งมีชีวิตท่ี สภาพ แวดล้อมในอดตี ของซากดกึ ดา ปรากฏอยู่ในหิน ในประเทศไทยพบ ซากดึกดาบรรพ์ท่ีหลากหลาย บรรพ์ เชน่ พชื ปะการงั หอย ปลา เต่า ไดโนเสาร์ รอยเท้าสตั ว์ ซากดึกดาบรรพ์สามารถใช้เป็นหลักฐ านหนึ่งท่ีช่วยอธิบาย พิเศษ 9
ชนั้ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สภาพแวดล้อมของพ้ืนที่ในอดีตขณะเกิดส่ิงมีชีวิตนั้น เช่น หากพบ ป.6 ซากดึกดาบรรพข์ องหอยนา้ จดื สภาพแวดล้อมบริเวณนนั้ อาจเคยเป็น แหล่งน้าจืดม าก่อน และ หากพบซากดึกดา บรรพ์ของพืช สภาพแวดล้อมบริเวณน้ันอาจเคยเป็นป่ามาก่อน นอกจากน้ี ซากดึกดาบรรพ์ยังสามารถใช้ระบุอายุของหินและเป็นข้อมูลใน การศึกษาววิ ัฒนาการของสิ่งมชี ีวิต 4. เปรียบเทียบการเกิดลมบก ลมทะเล ลมบก ลมทะเล และมรสุม เกิดจากพื้นดินและพ้ืนน้า ร้อนและเย็น และมรสุม รวมท้ังอธิบายผลที่มีต่อ ไม่เท่ากันทาให้อุณหภูมิอากาศเหนือพื้นดินและพ้ืนน้าแตกต่างกัน สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมจากแบบ จงึ เกิดการเคล่อื นทข่ี องอากาศจากบริเวณท่ีมีอุณหภูมิต่าไปยังบริเวณ จาลอง ทม่ี อี ุณหภมู สิ งู ลมบกและลมทะเลเป็นลมประจาถ่ินท่ีพบบริเวณชายฝ่ัง โดยลมบก เกิดในเวลากลางคนื ทาให้มีลมพัดจากชายฝั่งไปสู่ทะเล ส่วนลมทะเล เกิดในเวลากลางวนั ทาใหม้ ีลมพดั จากทะเลเขา้ สชู่ ายฝ่ัง 5. อธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของ มรสุมเป็นลมประจาฤดูเกิดบริเวณเขตร้อนของโลก ซ่ึงเป็น ประเทศไทยจากขอ้ มลู ทีร่ วบรวมได้ บ ริ เ ว ณ ก ว้ า ง ร ะ ดั บ ภู มิ ภ า ค ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ไ ด้ รั บ ผ ล จ า ก มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงประมาณกลางเดือนตุลาคมจนถึง เดือนกุมภาพันธ์ ทาให้เกิดฤดูหนาว และได้รับผลจากมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ในช่วงประมาณกลางเดือนพฤษภาคมจนถึง กลางเดือนตุลาคมทาให้เกิดฤดูฝน ส่วนช่วงประมาณกลางเดือน กุมภ าพันธ์จนถึงกล างเดือนพฤษ ภ าคมเป็นช่วงเปล่ียน มร สุมแล ะ ประเทศไทยอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร แสงอาทิตย์เกือบตั้งตรงและต้ังตรง ประเทศไทยในเวลาเที่ยงวัน ทาให้ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ อยา่ งเตม็ ที่ อากาศจงึ ร้อนอบอ้าว ทาให้เกิดฤดูร้อน 6. บรรยายลกั ษณะและผลกระทบของ น้าท่วม การกัดเซาะชายฝ่ัง ดินถล่ม แผ่นดินไหวและสึนามิ น้าทว่ ม การกัดเซาะชายฝง่ั ดนิ ถลม่ มผี ลกระทบตอ่ ชวี ติ และส่ิงแวดล้อมแตกต่างกัน แผน่ ดนิ ไหว สึนามิ 7. ตระหนักถงึ ผลกระทบของ มนุษย์ควรเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนให้ปลอดภัย เช่น ติดตามข่าวสารอย่าง ภยั ธรรมชาติและธรณีพิบัตภิ ยั โดย สม่าเสมอ เตรียมถุงยงั ชีพให้พรอ้ มใชต้ ลอดเวลา ปฏิบัติตามคาสั่งของ นาเสนอแนวทางในการเฝา้ ระวงั และ ผู้ปกครองและเจ้าหน้าท่ีอย่างเคร่งครัดเม่ือเกิดภัยธรรมชาติและธรณี ปฏิบัติตนให้ปลอดภยั จาก พิบัตภิ ยั ภัยธรรมชาติและธรณพี บิ ตั ภิ ัยทอ่ี าจ เกดิ ในทอ้ งถน่ิ พเิ ศษ 10
ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.6 8. สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิด ปรากฏการณ์เรือนกระจกเกิดจากแก๊สเรือนกระจกในช้ันบรรยากาศ ปรากฏการณ์เรือนกระจกและผลของ ของโลก กักเก็บความร้อนแล้วคายความร้อนบางส่วนกลับสู่ผิวโลก ปรากฏการณ์เรือนกระจกตอ่ ส่ิงมชี ีวติ ทาใหอ้ ากาศบนโลกมีอณุ หภมู ิเหมาะสมตอ่ การดารงชีวติ 9. ตระหนักถงึ ผลกระทบของ หากปรากฏการณ์เรือนกระจกรุนแรงมากขึ้นจะมีผลต่อการ ปรากฏการณ์เรือนกระจก โดย เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก มนุษย์จึงควรร่วมกันลดกิจกรรมท่ี นาเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ิตนเพื่อลด ก่อใหเ้ กิดแก๊สเรอื นกระจก กจิ กรรมท่ีก่อใหเ้ กดิ แก๊สเรอื นกระจก พิเศษ 11
คาอธิบายรายวชิ า รายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 เวลา 80 ช่ัวโมง/ปี ศึกษาและเรียนรู้เก่ียวกับสารอาหารและประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภท แนวทางในการเลือก รับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย รวมท้ังความปลอดภัยต่อ สุขภาพ ความสาคัญของสารอาหาร ระบบย่อยอาหาร และหน้าท่ีของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร รวมทั้ง การย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหารให้ทางานเป็น ปกติ การเกิดและผลของแรงไฟฟ้า ส่วนประกอบและหน้าท่ีของแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย วิธีการและผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ประโยชน์และ การประยุกต์การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมในชีวิตประจาวัน การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน ประโยชน์ ข้อจากัด และการประยุกต์การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนานในชีวิตประจาวัน การเกิด เงามืดเงามัว เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามัว การแยกสารผสมโดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน รวมทั้งวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันเก่ียวกับ การแยกสาร กระบวนการเกดิ หนิ อคั นี หนิ ตะกอน และหินแปร และวัฏจักรหิน ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของหิน และแร่ในชีวิตประจาวัน การเกิดซากดึกดาบรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของซากดึกดาบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม รวมท้ังผลที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของ ประเทศไทย ลักษณะและผลกระทบของนา้ ทว่ ม การกัดเซาะชายฝ่ัง ดินถล่ม แผ่นดินไหว และสึนามิ ผลกระทบ ของภัยธรรมชาติและธรณพี ิบัติภัย แนวทางในการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและธรณี พิบัติภัยที่อาจเกิดข้ึนในท้องถิ่น การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก และผลของปรากฏการณ์เรือนกระจกต่อ ส่ิงมีชีวิต แนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลดกิจกรรมท่ีก่อให้เกิดแก๊สเรือนกระจก ปรากฏการณ์สุริยุปราคาและ จันทรุปราคา พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และตัวอย่างการนาเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ใน ชวี ติ ประจาวนั โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สามารถนาไปใช้อธิบาย แก้ไขปัญหา หรือสร้างสรรค์พัฒนา งานในชีวติ จริงได้ ซ่ึงเน้นการเชอ่ื มโยงความรทู้ างวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการทาง วศิ วกรรมศาสตร์ และให้มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาทีห่ ลากหลาย เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการคิด และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกข้ันตอน รวมทั้ง สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนเกิดจิตวทิ ยาศาสตรแ์ ละมเี จตคติทด่ี ีต่อการเรียนวทิ ยาศาสตร์ พิเศษ 12
ตวั ชวี้ ัด ว 1.2 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ว 2.1 ป.6/1 ว 2.2 ป.6/1 ว 2.3 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ป.6/7 ป.6/8 ว 3.1 ป.6/1 ป.6/2 ว 3.2 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ป.6/7 ป.6/8 ป.6/9 รวม 26 ตัวชวี้ ัด พิเศษ 13
โครงสร้างรายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.6 ลาดบั ท่ี ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา เรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ดั (ชั่วโมง) 1 วทิ ยาศาสตร์น่ารู้ วิทยาศาสตร์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ท่ีอยู่ - รอบตวั วิธีการและขั้นตอนท่ีใช้เพ่ือตอบปัญหาที่สงสัย 3 2 ร่างกายของเรา เรียกวา่ วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ว 1.2 14 3 แรงไฟฟา้ และพลังงานไฟฟา้ ป.6/1 ในการสืบเสาะหาความรอู้ ยา่ งเป็นระบบ ผู้เรียนควร ป.6/2 ฝกึ ฝนทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ให้เกิดความ 17 ป.6/3 ชานาญ เพอ่ื ให้สามารถค้นหาคาตอบไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ป.6/4 ป.6/5 เ มื่ อ ท า ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้ โ ด ย ใ ช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์แล้ว ผู้เรียนจะเกิด ว 2.2 จิตวิทยาศาสตร์ ป.6/1 มนุษย์มีการเจริญเติบโตและเปล่ียนแปลงทางด้าน ว 2.3 ร่างกายตั้งแต่แรกเกิดจนเป็นผู้ใหญ่ จึงจาเป็นต้อง ป.6/1 บรโิ ภคอาหารเพื่อให้ได้รับสารอาหารต่างๆ ในสัดส่วน ป.6/2 ที่เหมาะสมกับเพศและวัย รวมทั้งต้องพักผ่อนให้ ป.6/3 เพียงพอและออกกาลังกายสม่าเสมอ จึงจะทาให้ ป.6/4 ร่างกายเจรญิ เตบิ โตและสุขภาพดี ป.6/5 ป.6/6 ร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยระบบต่างๆ เช่น ระบบย่อยอาหารประกอบดว้ ยอวัยวะต่างๆ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ ทวารหนัก ตับ และตบั อ่อน ซ่ึงทาหน้าท่ีร่วมกันในการ ย่อยและดดู ซมึ สารอาหารเข้าสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย เมื่อขัดถูวตั ถบุ างชนิดแล้วนามาเข้าใกล้กนั จะทาให้ เกดิ แรงดงึ ดดู หรอื แรงผลักกนั ขนึ้ อยกู่ บั ชนิดของวัตถุที่ นามาขดั ถแู ละนามาใกล้กนั แรงทเี่ กิดขึ้นน้เี รียกวา่ แรง ไฟฟ้า ซงึ่ เป็นแรงไมส่ มั ผัส วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยแหล่งกาเนิด ไฟฟา้ สายไฟฟา้ และเครอ่ื งใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า ท่ีต่อเข้ากันเป็นวงจรปิด ซึ่งวงจรไฟฟ้ามี 2 แบบ คือ แบบอนุกรมและแบบขนาน พเิ ศษ 14
ลาดับท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา เรียนรู้/ตวั ช้วี ัด (ชว่ั โมง) 4 แสงและเงา 5 สารรอบตวั เรา ว 2.3 แสงเกิดจากแหล่งกาเนิดแสง โดยเคล่ือนท่ีออกจาก 4 ป.6/7 6 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ ป.6/8 แหล่งกาเนิดแสงทุกทิศทางเป็นแนวเส้นตรง เม่ือนา 7 ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ ว 2.1 วตั ถุทึบแสงมากนั้ ทางเดินของแสงจะเกิดเงาข้ึนบนฉาก และธรณีพบิ ัตภิ ยั ป.6/1 รบั แสง โดยเงาจะมีรปู ร่างคลา้ ยวัตถุที่ทาให้เกิดเงา เงา ว 3.2 ป.6/1 แบ่งเปน็ 2 ลักษณะ คอื เงามืดและเงามวั ป.6/2 ป.6/3 สารรอบตัวเราส่วนใหญ่เป็นสารผสม เช่น น้าจ้ิมไก่ 6 น้าโคลน ทรายผสมกรวด ซ่ึงเราสามารถแยกสารผสม ว 3.2 ป.6/4 ออกจากกนั ได้ดว้ ยวธิ ีการต่างๆ เชน่ การหยิบออก การ ป.6/5 ป.6/6 ร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การตกตะกอน การกรอง ป.6/7 ป.6/8 การรินออก โดยสามารถนาวิธีเหล่าน้ีไปใช้ประโยชน์ ป.6/9 ในการแยกสารผสมท่พี บในชวี ิตประจาวันได้ หินเป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทหนึ่ง หินแบ่ง 10 ออกตามกระบวนการเกิดได้เป็น 3 ประเภท คือ หิน อัคนี หินตะกอน และหินแปร ซ่ึงหินแต่ละประเภท จะมีลักษณะต่างกัน จึงนามาใช้ประโยชน์ใน ชวี ิตประจาวันต่างกนั ซากดึกดาบรรพ์เกิดจากการทับถมหรือการประทับ รอยของส่ิงมีชีวติ ในอดีต ซึ่งซากดึกดาบรรพ์มีประโยชน์ ห ล า ย อย่ า ง เ ช่ น ใช้ ร ะ บุ อา ยุ ของหิ น อธิบ า ย สภาพแวดลอ้ มในอดตี ลมบก ลมทะเล และลมมรสุมเกิดจากอุณหภูมิ 15 เหนือพ้ืนดินและพื้นน้าแตกต่างกัน จึงทาให้อากาศ บริเวณทม่ี อี ุณหภูมิต่าเคลอื่ นท่ีไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิ สูง น้าท่วม การกัดเซาะชายฝ่ัง ดินถล่ม แผ่นดินไหว และสึนามิ เป็นภัยธรรมชาติท่ีมีลักษณะการเกิดและมี ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน เราจึงควรเรียนรวู้ ิธปี ฏิบตั ิตนเพ่อื ใหเ้ กิดความปลอดภัย จากภยั ธรรมชาติเหล่านน้ั ปรากฏการณ์เรือนกระจกมีผลทาให้อุณหภู มิ บนโ ล กเ ห ม า ะ ส ม ต่ อกา ร ด า ร งชี วิต ห า กเ กิด ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ เ รื อ น ก ร ะ จ ก ท่ี ม า ก ขึ้ น จ ะ มี ผ ล ต่ อ การเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู ขิ องโลก พเิ ศษ 15
ลาดับท่ี ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา เรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด (ชวั่ โมง) 8 ดาราศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์จะโคจร อวกาศ ว 3.1 รอบโลก เมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลกโคจรมา 7 ป.6/1 อยู่ในระนาบเดียวกัน จึงทาให้เกิดปรากฏการณ์การ ป.6/2 บดบังกันระหว่างดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก เรยี กว่า การเกดิ สรุ ยิ ุปราคาและจันทรปุ ราคา พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศมีความสาคัญต่อ การพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ บนโลก เพ่ือให้เกิด ประโยชน์ในการดารงชีวิตของมนุษย์ เทคโนโลยี อวกาศบางประเภทมนุษย์สามารถนามาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ หมายเหตุ : สอบกลางภาคเรยี นที่ 1 จานวน 1 ช่ัวโมง สอบปลายภาคเรียนที่ 1 จานวน 1 ชว่ั โมง สอบกลางภาคเรียนที่ 2 จานวน 1 ช่วั โมง สอบปลายภาคเรยี นท่ี 2 จานวน 1 ชว่ั โมง พิเศษ 16
โครงสร้างแผนการจดั การเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ป.6 เล่ม 2 เวลา 40 ชั่วโมง ช่อื หน่วยการเรียนรู้ ช่อื บท แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา (ช่ัวโมง) หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 5 บทท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1. การแยกสารทีเ่ ปน็ ของแขง็ ออกจาก สารรอบตัวเรา ของแขง็ 3 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 6 2. การแยกสารท่ีเปน็ ของแข็งออกจาก 3 หินและซากดกึ ดาบรรพ์ ของเหลว บทท่ี 1 หนิ ในธรรมชาติ 1. กระบวนการเกดิ หิน 3 2. ประโยชนข์ องหนิ และแร่ 3 บทท่ี 2 ซากดึกดาบรรพ์ 3. กระบวนการเกดิ ซากดึกดาบรรพ์ 4 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 7 บทท่ี 1 ลมบก ลมทะเล และลมมรสุม 1. การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม 4 ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ และธรณีพบิ ตั ภิ ยั บทที่ 2 ภยั ธรรมชาตแิ ละ 2. ธรณีพิบัติภยั 1 (นา้ ทว่ ม ดินถลม่ ) 3 ปรากฏการณ์เรือนกระจก 4 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 8 3. ธรณีพิบัติภยั 2 (แผ่นดินไหว สนึ ามิ ดาราศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 1 ปรากฏการณด์ าราศาสตร์ การกัดเซาะชายฝงั่ ) 4 อวกาศ 4 4. ปรากฏการณ์เรือนกระจก 1. การเกดิ อุปราคา บทที่ 2 ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี 2. พฒั นาการของเทคโนโลยอี วกาศ 3 อวกาศ หมายเหตุ : สอบกลางภาคเรยี นท่ี 2 จานวน 1 ชั่วโมง สอบปลายภาคเรียนท่ี 2 จานวน 1 ชัว่ โมง พิเศษ 17
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า ระยะเวลา 4 ชั่วโมง แผนฯ ท่ี 1 แรงไฟฟ้า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 แรงไฟฟ้า หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด ว 2.2 ป.6/1 อธบิ ายการเกดิ และผลของแรงไฟฟ้าซ่งึ เกดิ จากวัตถทุ ีผ่ า่ นการขัดถโู ดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1) อธิบายการเกิดแรงไฟฟ้าได้ (K) 2) สงั เกตและอธบิ ายผลของแรงไฟฟา้ ได้ (K) (P) 3) ยกตวั อยา่ งการเกดิ แรงไฟฟ้าในชีวิตประจาวนั ได้ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ การเกิดแรงไฟฟ้าและผลของแรงไฟฟา้ ซ่ึงเกดิ จากวัตถุท่ีผา่ นการขดั ถู 4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด วัตถุ 2 ชนิดท่ีผ่านการขัดถูแล้ว เม่ือนาเข้าใกล้กันอาจดึงดูดหรือผลักกัน แรงท่ีเกิดข้ึนน้ีเป็นแรงไฟฟ้า ซึ่งเป็น แรงไม่สัมผัส เกิดข้ึนระหว่างวัตถุที่มีประจุไฟฟ้า ซึ่งประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ ประจุไฟฟ้าบวกและประจุไฟฟ้าลบ วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันผลกั กนั ชนิดตรงข้ามกันดึงดดู กัน 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 1) การสงั เกต 1) มวี นิ ัย 2) ความสามารถในการคิด 2) การทดลอง 2) ใฝ่เรยี นรู้ 3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3) การลงความเหน็ จากข้อมูล 3) ม่งุ มัน่ ในการทางาน 4) ความสามารถในการใช้ทักษะ 4) การตคี วามหมายและลงข้อสรุป ชวี ติ 129
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 แรงไฟฟา้ และวงจรไฟฟา้ แผนฯ ท่ี 1 แรงไฟฟา้ 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : 5Es Instructional Model ชั่วโมงท่ี 1 1. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แรงไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 10 ขอ้ (หมายเหตุ : ครูตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อประเมินความรู้เดิมและเข้าใจผู้เรียน เพ่ือใช้ในการจัด กจิ กรรม) ขนั้ นา ข้นั กระตนุ้ ความสนใจ 1. นักเรียนตอบคาถามวา่ นกั เรยี นร้จู กั แรงไฟฟา้ หรือไม่ แล้วแรงไฟฟ้าเกดิ ขึ้นไดอ้ ย่างไร (แนวคาตอบ ตอบตามความคดิ เหน็ นกั เรียน) 2. นักเรียนรับลูกโป่งเล็กคนละ 1 ใบ จากน้ันให้นักเรียนเป่าลูกโป่งแล้วนาลูกโป่งถูกับเสื้อหรือถูกับกระดาษ แล้วนาไปติดกับกระดานไวต์บอร์ดหรอื กระจก ถ้าใครตดิ ไดถ้ อื วา่ ทาภารกิจสาเรจ็ 3. นกั เรยี นทากิจกรรม เกมรวมกลมุ่ ปฏิบตั ดิ งั นี้ 1) นักเรียนนาลูกโป่งมาถูกับผมตัวเอง จากนั้นให้นักเรียนนาไปต่อกับเพ่ือน โดยครูจะเป็นคนกาหนดว่า ให้ต่อลูกโป่งกใี่ บ 2) รอบที่ 1 ให้ต่อลูกโปง่ 2-3 ใบ 3) รอบที่ 2 ใหต้ อ่ ลกู โป่ง 4-5 ใบ 4. นักเรยี นตอบคาถามต่อไปนี้ - ทาไมลูกโปง่ จึงสามารถต่อกันได้ (แนวคาตอบ เพราะเมื่อนาลูกโป่งไปถูกับเส้ือผ้าหรือกระดาษ จะทาให้เกิดแรงไฟฟ้า ลูกโป่งจึงเกาะติด กับกระดาน) - ในชวี ิตประจาวนั ของนกั เรียนมเี หตกุ ารณใ์ ดบ้างทเ่ี กดิ จากแรงไฟฟา้ (แนวคาตอบ ตามความคิดเห็นของนักเรยี น) 5. นักเรยี นอ่านกจิ กรรม ชวนอา่ นชวนคิดกอ่ นเรียน ตอน ขนของสุนัขติดท่ีหวีได้นะ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 1 หน้า 70 จากนั้นตอบคาถามชวนตอบต่อไปนี้ 130
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้ แผนฯ ที่ 1 แรงไฟฟา้ - เมื่อหวีขนให้สุนัขหลายๆ ครั้ง แล้วมีขนของสุนัขติดท่ีปลายหวีข้ึนมาด้วย เพ่ือนๆ คิดว่า เกี่ยวข้องกับ แรงไฟฟา้ หรอื ไม่ เพราะอะไร (แนวคาตอบ เกี่ยวข้องกับแรงไฟฟ้า เพราะในฤดูหนาวอากาศจะแห้ง เมื่อใช้หวีหวีขนสุนัขหลายๆ ครง้ั จะเกดิ แรงไฟฟา้ จงึ ทาใหข้ นติดหวมี าด้วย) 6. ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อนาเข้าสู่กิจกรรมการเรียนรู้ว่า เราจะมาเรียนรู้ว่าแรงไฟฟ้าเกิดข้ึนได้อย่างไร จากกจิ กรรมต่อไปน้ี (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นักเรยี น โดยการสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล) ขน้ั สอน ขั้นสารวจค้นหา 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน นักเรียนศึกษาข้ันตอนการทากิจกรรมที่ 1 การเกิดแรงไฟฟ้า ในหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 1 หน้า 72 2. นักเรยี นปฏบิ ตั ิกิจกรรมที่ 1 การเกิดแรงไฟฟา้ ปฏิบัติดงั นี้ 1) สง่ ตัวแทนกลมุ่ มารับวสั ดุ-อุปกรณใ์ นการทากิจกรรมท่ี 1 การเกดิ แรงไฟฟ้า ดังน้ี - ไม้บรรทัดพลาสติก 1 อัน - ผา้ แห้ง 1 ผนื - เศษกระดาษชิ้นเลก็ ๆ 6-10 ชิ้น - ผา้ ชบุ น้าบิดหมาดๆ 1 ผนื 2) ทดลองวางเศษกระดาษช้ินเล็กๆ บนโต๊ะ จากนั้นนาไม้บรรทัดพลาสติกเข้าใกล้กับเศษกระดาษ สังเกต การเปลี่ยนแปลงและบนั ทึกผลลงในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 1 หน้า 43 3) ใช้ผ้าแห้งถูปลายไม้บรรทัดพลาสติกด้านหนึ่งหลายๆ คร้ัง จากน้ันนาปลายไม้บรรทัดพลาสติกด้านน้ัน เขา้ ใกล้กับเศษกระดาษทีว่ างบนโตะ๊ สังเกตการเปล่ียนแปลงและบันทกึ ผล 4) ใช้ผ้าเปียกถูปลายด้านหนึ่งของไม้บรรทัดพลาสติกอีกด้านหน่ึงหลายๆ คร้ัง จากน้ันนาปลายไม้บรรทัด พลาสติกด้านน้นั เขา้ ใกล้กับเศษกระดาษท่ีวางบนโตะ๊ อีกครัง้ สังเกตการเปลย่ี นแปลงและบนั ทกึ ผล 5) ร่วมกนั อภิปรายผลการทากิจกรรมจนได้ข้อสรปุ ของกลุ่ม (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรยี น โดยการสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม) ขน้ั อธิบายความรู้ 1. นกั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี - เพราะเหตุใดเศษกระดาษจึงลอยขน้ึ มาติดไม้บรรทดั (แนวคาตอบ เมื่อใชผ้ ้าแห้งถูกับไมบ้ รรทัดพลาสติก จะเกิดแรงดงึ ดดู เศษกระดาษได้) - เพราะเหตุใดเศษกระดาษชิน้ เลก็ ๆ จึงไม่ลอยขึ้นมาตดิ ไม้บรรทดั พลาสตกิ ท่ีถูกบั ผา้ เปียก (แนวคาตอบ เพราะวัตถุที่มีความชื้นจะเกิดแรงไฟฟ้าได้ค่อนข้างยาก เน่ืองจากแรงไฟฟ้าเกดิ จากแรง เสียดทาน จะเกิดขน้ึ ไดเ้ ม่ือมีความชื้นนอ้ ย) 131
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้ แผนฯ ท่ี 1 แรงไฟฟา้ 2. นักเรียนร่วมกันสรุปผลการทากิจกรรมว่า เม่ือเรานาผ้าแห้งขัดถูไม้บรรทัดพลาสติกจะเกิดแรงดึงดูดเศษ กระดาษได้ แต่ถา้ ไมบ้ รรทดั พลาสติกมีความชน้ื เนือ่ งจากใชผ้ า้ เปียกถู จะเกดิ แรงดงึ ดูดได้ค่อนข้างยาก 3. ครอู ธิบายเพ่ิมเติมว่า เมอื่ นาวตั ถุบางชนิดมาขดั ถกู นั จะทาใหเ้ กดิ แรงไฟฟ้า ซ่ึงเป็นแรงไม่สมั ผสั 4. นักเรยี นตอบคาถามวา่ แรงไฟฟ้าคืออะไร (แนวคาตอบ แรงท่ีเกิดจากปะจุไฟฟ้าด้วยกัน มีทั้งแรงดึงดดู และแรงผลกั ) 5. นักเรียนดูภาพท่ี 3.4 ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 73 ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า ประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ ประจุลบกับประจุบวก โดยปกติวัตถุจะมีประจุทั้งสองเท่าๆ กัน เช่น ภาพลูกโป่งกับผ้า แต่เม่ือ นาวตั ถมุ าขัดถูกันจะทาใหว้ ัตถุน้ันเสยี สมดลุ ของประจุไฟฟ้า จงึ ทาให้เกดิ แรงฟา้ ได้ 6. นักเรยี นตอบคาถามว่า ปัจจัยใดบ้างทส่ี ง่ ผลตอ่ การเกดิ แรงไฟฟา้ (แนวคาตอบ ความชน้ื ของวตั ถุ ประเภทของวัสดุ และระยะเวลาหรอื จานวนครั้งในการขดั ถ)ู 7. นักเรียนทากิจกรรมหนูตอบได้ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 72 บันทึกลงสมุดประจาตัว นักเรยี นหรอื ทาในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 44 ช่ัวโมงท่ี 2 ขน้ั สอน (ต่อ) ข้นั สารวจคน้ หา 1. ทบทวนความรู้เดมิ ช่วั โมงท่ีแลว้ โดยตอบคาถามต่อไปน้ี ถา้ นาลูกโปง่ ไปถูกบั ผ้าเปียก ลูกโป่งจะสามารถติด กระดานไวต์บอรด์ หรือกระจกได้หรือไม่ เพราะอะไร (แนวคาตอบ ไม่ได้ เพราะผ้าเปยี กจะทาให้วตั ถมุ ีความชนื้ จะเกดิ แรงไฟฟ้าได้ค่อนขา้ งยาก) 2. นักเรยี นศึกษาข้ันตอนการทากิจกรรมท่ี 2 ผลของแรงไฟฟ้า ในหนงั สือวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 1 หน้า 75 3. นกั เรียนปฏิบตั ิกจิ กรรมท่ี 2 ผลของแรงไฟฟา้ โดยปฏิบัติดังน้ี 1) แตล่ ะกลมุ่ สง่ ตวั แทนกลุ่มมารับวสั ดุ-อุปกรณใ์ นการทากิจกรรมท่ี 2 ผลของแรงไฟฟ้า ดงั นี้ - ลกู โป่ง 2 ใบ - เทปกาวใส 1 มว้ น - เชือก 2 เส้น - หนงั ยาง 2 เสน้ - ผ้าแหง้ 1 ผนื 2) แต่ละกลุม่ เป่าลูกโป่ง 2 ใบ ใหม้ ีขนาดเท่าๆ กนั แลว้ ใชห้ นังยางรดั ปากลูกโป่งให้แน่น 3) ผกู เชือกกับลูกโป่ง แลว้ ใช้เทปกาวใสติดกับเชือกห้อยลกู โป่งไวท้ ่ขี อบโต๊ะหา่ งกนั ประมาณ 6-8 เซนติเมตร 4) เขียนอักษร ก และ ข ทล่ี กู โป่ง จากนัน้ สังเกตการวางตัวของลูกโป่งท้ัง 2 ใบ 5) ใชผ้ ้าแห้งถลู กู โป่ง ก และ ข ด้านใน แล้วห้อยไวอ้ ย่างเดิม สังเกตลูกโปง่ ท้ัง 2 ใบ แลว้ บันทกึ ผลลงใน แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 1 หนา้ 45 132
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้ แผนฯ ท่ี 1 แรงไฟฟ้า 6) ใช้ผ้าแหง้ ถูลกู โป่ง ก และใชม้ ือที่แห้งถือลูกโปง่ ข ด้านใน แลว้ หอ้ ยไว้อย่างเดิม สังเกตลูกโป่งท้ัง 2 ใบ แลว้ บันทกึ ผล (หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นักเรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ) ขั้นอธิบายความรู้ 1. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ นาเสนอผลการทากจิ กรรมที่ 2 ผลของแรงไฟฟา้ 2. นักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้ - เพราะเหตใุ ดลูกโป่งจงึ เคล่อื นท่ีออกหา่ งกนั (แนวคาตอบ เพราะถ้าขัดถูวัตถุชนิดเดียวกันด้วยส่ิงเดียวกันจะเกิดแรงผลัก เนื่องจาก ประจุเหมอื นกัน) - ถ้านาหลอดพลาสติกไปถกู ับผา้ เปียก แลว้ นาไปไวใ้ กลๆ้ กบั เศษถงุ พลาสติกเลก็ ๆ ผลจะเปน็ อยา่ งไร (แนวคาตอบ ไม่เกิดการเปล่ียนแปลง เพราะผ้ามีความชื้นจึงทาให้เกิดแรงไฟฟ้าได้ค่อนข้างยาก อีกทัง้ จานวนรอบทถ่ี นู อ้ ยครง้ั ) - ทาอยา่ งไรจึงจะทาให้เศษถงุ พลาสติกเลก็ ๆ ลอยขนึ้ มาติดหลอดพลาสตกิ ได้ (แนวคาตอบ ใชผ้ า้ แหง้ ถกู บั หลอดพลาสตกิ แล้วนาหลอดไปอยใู่ กลก้ ับเศษถงุ พลาสตกิ ) - เพราะเหตุใดเศษถุงพลาสตกิ เล็กๆ ทไ่ี ม่ได้นาไปขัดถูกบั วตั ถุใด จึงเคลื่อนที่เข้าหาหลอดพลาสตกิ (แนวคาตอบ เพราะเมื่อนาหลอดพลาสติกไปถูกับผ้าแห้งหลายๆ ครั้ง หลอดพลาสติกจะมีปะจุบวก ผ้าแห้งจะมีประจุลบ และเม่ือนาหลอดพลาสติกท่ีไม่เป็นกลางทางไฟฟ้าเข้าใกล้เศษถุงพลาสติกเล็กๆ ทมี่ นี า้ หนักเบา จะเกดิ การเหนย่ี วนาไฟฟ้า สามารถดงึ ดูดเศษถงุ พลาสตกิ เลก็ ๆ ได)้ 3. นกั เรยี นร่วมกันสรุปผลการทากจิ กรรมที่ 2 ผลของแรงไฟฟ้าวา่ ถ้าขดั ถูวตั ถชุ นดิ เดียวกันด้วยส่ิงเดียวกันจะเกิด แรงผลักระหว่างวตั ถุ แต่ถ้าขดั ถูวัตถุชนดิ เดยี วกนั กบั ส่ิงทตี่ า่ งกนั จะเกดิ แรงดึงดูดระหว่างวตั ถุ 4. ครูเปิด PowerPoint เรื่อง แรงไฟฟา้ ให้นักเรยี นดู และอธิบายเพอื่ เพ่มิ เตมิ ความเข้าใจของนักเรยี น 5. นักเรยี นตอบคาถามทา้ ทายการคดิ ขัน้ สูงว่า ถ้าใช้ผ้าสักหลาดขัดถูไม้บรรทัดพลาสติกเพียงครั้งเดียว ไม้บรรทัด จะดดู กระดาษช้ินเล็กๆ ไดห้ รือไม่ เพราะเหตใุ ด (แนวคาตอบ ดดู กระดาษไมไ่ ด้ เน่อื งจากจานวนคร้ังในการขัดถนู อ้ ยเกนิ ไปจึงไม่ทาให้เกิดแรงไฟฟ้า) 6. นักเรียนทากิจกรรมหนูตอบได้ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 75 หรือทาในแบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 1 หน้า 46 7. นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปความรู้เก่ียวกับเรื่องท่ีได้เรียนรู้จากบทที่ 1 ในรูปแบบต่างๆ เช่น แผนผังความคิด แผนภาพ ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน 8. นักเรยี นทุกคนศกึ ษาแผนผงั ความคิด สรปุ สาระสาคญั ประจาบทที่ 1 จากหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 78 เพือ่ ตรวจสอบการเขยี นสรปุ ความรทู้ ี่นกั เรยี นทาไว้ในสมุดประจาตัวนกั เรยี น (หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล) 133
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้ แผนฯ ท่ี 1 แรงไฟฟ้า ชั่วโมงท่ี 3 ขัน้ สอน (ต่อ) ข้นั ขยายความรู้ 1. นักเรยี นตอบคาถามเพือ่ ทบทวนความร้เู ดมิ วา่ เพราะเหตใุ ด ในชว่ งฤดูหนาวจึงเกดิ แรงไฟฟา้ ขึน้ บอ่ ย (แนวคาตอบ เพราะความช้นื ในอากาศตา่ ทาผิววตั ถุแลกเปลยี่ นประจไุ ฟฟ้าได้งา่ ย) 2. นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 4-5 คน (ใช้กล่มุ เดมิ ) เพื่อทากจิ กรรมพัฒนาการเรียนรู้ โดยปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) แต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมารับอุปกรณ์ ดงั น้ี - ลกู โป่ง 1ใบ - ถงุ พลาสตกิ 1 ใบ - หนงั ยาง 1 เสน้ - กระป๋องน้าอัดลมเปลา่ 1 ใบ 2) วางกระป๋องน้าอัดลมเปล่าลงบนพ้ืนห้อง เป่าลูกโป่งให้ใหญ่ แล้วใช้หนังยางมัดปากลูกโป่งให้แน่น ใชถ้ ุงพลาสตกิ ขัดถลู กู โปง่ หลายๆ คร้ัง 3) นาลูกโป่งด้านที่ถูกขัดถูเข้าใกล้กระป๋อง จากนั้นสังเกตการเปลี่ยนแปลงบันทึกผลลงในสมุดประจาตัว นักเรียน 4) แต่ละกล่มุ นาผลการทดลองมาอภิปรายรว่ มกนั ภายในชั้นเรียน 3. ครจู ดั กจิ กรรมแข่งขนั กระป๋องซ่ิงของนักเรียน โดยปฏบิ ัตดิ งั นี้ 1) ครเู ตรียมพน้ื ทีแ่ ขง่ ขนั คือบริเวณหน้าชัน้ เรียน จากน้นั กาหนดจุดเร่ิมตน้ และเส้นชัยให้ชัดเจน 2) แต่ละกลุ่มจับสลากเพ่ือแบ่งสาย จากนั้นจับคู่ให้แต่ละกลุ่มแข่งขันกันโดยทาให้กระป๋องเคลื่อนท่ี โดยใช้ แรงไฟฟา้ กลุม่ ทีถ่ ึงเสน้ ชยั กอ่ นคือผชู้ นะในเกมนนั้ โดยกตกิ าการแขง่ ขันเป็นแบบแพ้คดั ออก 3) นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มแข่งขนั ไปเรื่อยๆ จนได้กล่มุ ผู้ชนะ (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนักเรยี น โดยการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม) 4. นกั เรยี นทากิจกรรมฝึกทักษะ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 80 บันทึกลงในสมุดประจาตัว นักเรียน หรือทาในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 1 หน้า 47-48 5. นกั เรยี นทากิจกรรมท้าทายการคิดขน้ั สงู ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 1 หน้า 49 ชั่วโมงที่ 4 ข้ันสอน (ตอ่ ) ขั้นขยายความเข้าใจ 1. ทบทวนความรู้เดิม โดยนักเรียนตรวจสอบว่า ตัวอย่างการเกิดแรงไฟฟ้าในชีวิตประจาวันที่นักเรียนบอกมา ตง้ั แต่กจิ กรรมขัน้ กระตุ้นความสนใจวา่ เกิดจากแรงไฟฟา้ จริงหรือไม่ และเกิดขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร 2. ครูสุม่ ใหน้ ักเรียนนาเสนอตวั อย่างการเกิดแรงไฟฟา้ ในชีวิตประจาวนั พร้อมท้ังอธิบายวธิ กี ารเกดิ แรงไฟฟ้า 3. นักเรียนแบง่ กลุม่ ออกเปน็ กลมุ่ ละ 4-5 คน เพื่อทากจิ กรรมสร้างสรรคผ์ ลงาน โดยปฏิบัติดังน้ี 134
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้ แผนฯ ท่ี 1 แรงไฟฟ้า 1) สมาชิกแต่ละกลุ่มผลัดกันเล่าเหตุการณ์ในชีวิตประจาวันที่เกิดจากแรงไฟฟ้า จากน้ันร่วมกันแสดงความ คดิ เหน็ วา่ เหตกุ ารณข์ องแตล่ ะคนเกิดขึ้นได้อยา่ งไร 2) สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เกี่ยวกับการเกิดแรงไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน และการใช้ประโยชน์จากแรง ไฟฟ้า 3) แตล่ ะกลมุ่ ระดมสมองเลอื กเรอ่ื ง การเกิดแรงไฟฟ้าในชีวิตประจาวันมา 1-2 เรอ่ื ง 4) จากน้นั นาขอ้ มูลมาทาเป็นแผน่ พบั ใหม้ เี นือ้ หาท่ีถกู ต้อง โดยในแผ่นพับมีขอ้ มลู ตอ่ ไปนี้ - ความหมายของแรงไฟฟา้ - แรงไฟฟ้าท่เี กิดข้ึนในชีวติ ประจาวัน - การใชป้ ระโยชน์จากแรงไฟฟา้ ในชวี ติ ประจาวัน 5) ให้แตล่ ะกล่มุ นาเสนอหน้าช้ันเรียน ในประเด็นตอ่ ไปน้ี - ตัวอยา่ งเหตกุ ารณ์การเกดิ แรงไฟฟ้าในชีวิตประจาวนั (อาจใช้วธิ กี ารสาธติ เหตุการณ์) - อธบิ ายการเกิดและผลของแรงไฟฟา้ - ยกตัวอย่างการใชป้ ระโยชนจ์ ากแรงไฟฟ้าในชวี ิตประจาวนั 6) นักเรียนนาผลงานไปตั้งไว้ในบริเวณต่างๆ ที่เหมาะสมของโรงเรียนเพ่ือให้ความรู้ เช่น ในห้องสมุด บอร์ดประชาสมั พันธ์ ข้ันสรุป 1. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้จากกิจกรรมได้ว่า เม่ือนาวัตถุ 2 ชนิดที่ผ่านการขัดถูแล้ว เมื่อนาเข้าใกล้กัน อาจดึงดูดหรือผลักกัน แรงที่เกิดข้ึนนี้เป็นแรงไฟฟ้า ซ่ึงเป็นแรงไม่สัมผัส เกิดข้ึนระหว่างวัตถุที่มีประจุไฟฟ้า ซึ่งประจไุ ฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ ประจไุ ฟฟา้ บวกและประจุไฟฟา้ ลบ วัตถุที่มีประจไุ ฟฟา้ ชนิดเดียวกันผลักกัน ชนิด ตรงข้ามกนั ดึงดูดกนั ขัน้ ประเมิน ข้นั ตรวจสอบผล 1. ตรวจบันทกึ ผลกจิ กรรมท่ี 1 การเกดิ แรงไฟฟา้ ในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 1 หน้า 43 2. ตรวจบนั ทึกผลกิจกรรมท่ี 2 ผลของแรงไฟฟา้ ในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หนา้ 45 3. ครปู ระเมนิ ผลงานแผ่นพบั ความรเู้ ร่อื งการเกดิ แรงไฟฟา้ 4. ครูตรวจแผนผังความคิด สรุปสาระสาคญั ประจาบทที่ 1 5. ครตู รวจกจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู้ในสมดุ ประจาตัวนกั เรียน 6. ครูตรวจกจิ กรรมหนตู อบได้ ในสมดุ ประจาตัวนกั เรียนหรือในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 1 หนา้ 45 และ 46 7. ครูตรวจกิจกรรมฝกึ ทกั ษะในสมุดประจาตัวนักเรยี น หรือในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 1 หนา้ 47-48 8. ครตู รวจกจิ กรรมท้าทายการคดิ ขนั้ สงู ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 1 หนา้ 49 135
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้ แผนฯ ท่ี 1 แรงไฟฟ้า 7. การวัดและประเมินผล รายการวดั วิธกี าร เครอ่ื งมอื เกณฑ์ 1) ผลงานแผ่นพบั - ประเมนิ ผลงาน - แบบประเมนิ ผลงาน - คุณภาพอยใู่ นระดับดี ความรู้ เรือ่ ง ผา่ นเกณฑ์ การเกดิ แรงไฟฟ้า 2) กิจกรรมท่ี 1 - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ฯ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การเกดิ แรงไฟฟา้ วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 ป.6 เลม่ 1 หน้า 43 เล่ม 1 หนา้ 43 3) กจิ กรรมที่ 2 - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ฯ - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ผลของแรงไฟฟ้า วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 ป.6 เลม่ 1 หน้า 45 เล่ม 1 หน้า 45 4) สรุปสาระสาคัญ - ตรวจสมดุ ประจาตวั - สมดุ ประจาตัวนกั เรียน - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ประจาบทท่ี 1 นักเรียน 5) กิจกรรมพฒั นา - ตรวจสมุดประจาตัว - สมดุ ประจาตัวนกั เรยี น - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ การเรยี นรู้ นักเรยี น 6) กิจกรรมหนตู อบ - ตรวจสมุดประจาตวั - สมดุ ประจาตวั นกั เรียน - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ได้ นกั เรียนหรอื แบบฝึกหัด หรอื แบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 เลม่ 1 หนา้ 45 และ 46 หนา้ 45 และ 46 7) กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ - ตรวจสมุดประจาตัว - สมดุ ประจาตวั หรือ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ บทท่ี 1 หรือแบบฝกึ หดั แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ฯ วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 ป.6 เล่ม 1 หน้า 47-48 เล่ม 1 หน้า 47-48 8) กิจกรรมท้าทาย - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ฯ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การคดิ ข้ันสูง วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 ป.6 เลม่ 1 หน้า 49 เลม่ 1 หน้า 49 9) พฤติกรรม - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - คณุ ภาพอยู่ในระดบั ดี การทางาน การทางานรายบุคคล การทางานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ รายบุคคล 10) พฤติกรรม - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - คุณภาพอย่ใู นระดบั ดี การทางานกลุ่ม การทางานกลุม่ การทางานกลุม่ ผา่ นเกณฑ์ หมายเหตุ : แบบสงั เกตพฤตกิ รรมประเมินรายเทอม 136
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า แผนฯ ที่ 1 แรงไฟฟ้า 8. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 2) แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 3) วัสดุ-อุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นกจิ กรรมที่ 1 การเกดิ แรงไฟฟ้า 4) วัสดุ-อปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นกิจกรรมที่ 2 ผลของแรงไฟฟ้า 5) วสั ดุ-อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในกจิ กรรมพฒั นาการเรียนรู้ 6) PowerPoint เร่ือง แรงไฟฟา้ 7) ลูกโปง่ ขนาดเล็ก 8) สมดุ ประจาตัวนกั เรียน 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องเรียน 2) อนิ เทอร์เน็ต 3) หอ้ งสมุด 137
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 แรงไฟฟา้ และวงจรไฟฟ้า แผนฯ ท่ี 1 แรงไฟฟ้า แบบบนั ทึกหลงั แผนการจัดการเรียนรู้ ด้านความรู้ ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์ ด้านอ่นื ๆ (พฤติกรรมเด่นหรือพฤตกิ รรมที่มปี ญั หาของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี)) ปญั หา/อปุ สรรค แนวทางการแก้ไข ลงช่ือ..............................................ผบู้ นั ทกึ (................................................) ความเห็นของผูบ้ ริหารสถานศึกษาหรอื ผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ขอ้ เสนอแนะ ลงชื่อ................................................ (................................................) ตาแหน่ง................................................. 138
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า ระยะเวลา 4 ช่ัวโมง แผนฯ ที่ 2 วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดั ว 2.2 ป.6/1 ระบสุ ว่ นประกอบและบรรยายหน้าที่ ของแต่ละสว่ นประกอบของวงจรไฟฟา้ อย่างง่ายจาก หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ป.6/2 เขยี นแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1) ระบสุ ว่ นประกอบของวงจรไฟฟา้ อย่างง่ายได้ (K) 2) บรรยายหน้าท่ขี องแต่ละสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ยได้ (K) 3) เขยี นแผนภาพและตอ่ วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่ายได้ (P) 4) ยกตัวอย่างการนาความรู้เร่ืองการตอ่ วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่ายมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั ได้ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่ายประกอบดว้ ยแหล่งกาเนดิ ไฟฟ้า สายไฟฟ้า และเคร่ืองใช้ไฟฟ้าหรอื อุปกรณ์ไฟฟ้า 4. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยแหล่งกาเนิดไฟฟ้า สายไฟฟ้า และเคร่ืองใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า แหล่งกาเนิดไฟฟ้า เช่น ถ่านไฟฉายหรือแบตเตอร่ี ทาหน้าที่ให้พลังงานไฟฟ้า สายไฟฟ้าเป็นตัวนาไฟฟ้าทาหน้าท่ี เชื่อมตอ่ ระหว่างแหลง่ กาเนดิ ไฟฟา้ และเครอื่ งใช้ไฟฟา้ เขา้ ด้วยกัน เคร่ืองใช้ไฟฟ้ามีหน้าที่เปล่ียนพลังงานไฟฟ้าเป็น พลงั งานอนื่ 5. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 1) การสงั เกต 1) มวี ินัย 2) ความสามารถในการคดิ 2) การทดลอง 2) ใฝ่เรียนรู้ 3) ความสามารถในการแก้ปญั หา 3) การลงความเห็นจากข้อมูล 3) มงุ่ มน่ั ในการทางาน 4) การตคี วามหมายและลงข้อสรุป 5) การสรา้ งแบบจาลอง 139
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า แผนฯ ที่ 2 วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : 5Es Instructional Model ชั่วโมงท่ี 1 ข้นั นา ข้ันกระตุน้ ความสนใจ 1. ทบทวนความรู้ เร่อื ง การเกิดแรงไฟฟา้ โดยครูเตรยี มอุปกรณ์สาหรับทากจิ กรรม มายากลหลอดไฟสวา่ ง ดงั น้ี - ฝาขวดน้า - หลอด LED ขนาดเลก็ - แผ่นโฟม - กาวสองหน้า - เหรยี ญ 10 บาท 2. สมุ่ นักเรียนออกมา 1 คน ออกมาสาธิตกิจกรรมการทดลอง ปฏิบัติดงั นี้ 1) ติดกาวสองหนา้ บนฝาขวดน้า ลอกเทปกาวสองหนา้ ออก แล้วนาเหรียญไปตดิ บนฝาขวดน้า 2) นาเหรยี ญทต่ี ิดอยู่บนฝาขวดน้ามาถูกับแผน่ โฟม 3) จับขาขา้ งหนึง่ ของหลอด LED ขนาดเล็ก แล้วเอาเหรยี ญมาสมั ผสั ขาอกี ขา้ งหน่งึ จากนั้นสงั เกตการ เปลยี่ นแปลงของหลอดไฟ 3. นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ - เมื่อเอาเหรยี ญที่ถกู ับแผ่นโฟมมาสมั ผัสขาอีกข้างหนง่ึ ของหลอด LED ขนาดเลก็ ผลเปน็ อย่างไร (แนวคาตอบ เกิดแสงไฟสีส้มวาบเป็นเวลาส้ันๆ) - เพราะเหตุใดหลอด LED ขนาดเลก็ จงึ เกิดแสงไฟสีส้มเปน็ ช่วงเวลาสั้นๆ (แนวคาตอบ เพราะเม่อื นาเหรียญไปถูกับแผ่นโฟม เหรียญจะมีน้ีประจุลบ เมื่อนาเหรียญไปแตะกับ ขาข้างหนึ่งของหลอด LED ขนาดเล็ก ประจุลบจะเคล่ือนท่ีผ่าน LED ขนาดเล็กเพื่อให้ครบวงจร เมอื่ ประจผุ ่านจนหมด ไฟสสี ม้ ก็จะดับ เนื่องจากประจมุ ีจานวนน้อย หลอดจงึ สว่างเปน็ เวลาสนั้ ๆ) - ทาอย่างไรจึงจะทาใหห้ ลอดไฟหลอดน้ีสวา่ งได้ระยะเวลาที่นานขน้ึ (แนวคาตอบ ตอ่ วงจรไฟฟ้า) - วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ยประกอบด้วยอะไรบ้าง (แนวคาตอบ ตอบตามความคิดเหน็ ของนักเรยี น) 4. นักเรียนอ่านกิจกรรม ชวนอ่านชวนคิดก่อนเรียน ตอน แสงสว่างจากไฟฉาย ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 83 แล้วตอบคาถามชวนตอบ ตอ่ ไปนี้ 140
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 แรงไฟฟา้ และวงจรไฟฟา้ แผนฯ ท่ี 2 วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย - ถา่ นไฟฉายเปน็ แหล่งกาเนดิ พลังงานไฟฟ้าชนดิ หนึ่ง ที่สามารถให้พลงั งานไฟฟ้าในวงจรไฟฟา้ ได้ เพือ่ นๆ คดิ วา่ นอกจากถ่านไฟฉายแล้ว ในวงจรไฟฟา้ ยังประกอบด้วยอะไรอีก (แนวคาตอบ สายไฟฟ้า หลอดไฟฟา้ สวิตช)์ 5. นกั เรียนสังเกตอปุ กรณ์ไฟฟ้ารอบๆ ตวั โดยครูต้ังประเด็นเพื่อให้เกดิ ขอ้ สงสยั วา่ ทาไมเคร่ืองใช้ไฟฟ้าจงึ ทางานได้ ไฟฟา้ มาจากไหน แลว้ เรานาไฟฟ้ามาใช้ได้อย่างไร จากน้ันให้นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายเพ่ือหา คาตอบ 6. ครูให้นักเรยี นดภู าพ 3.5 ในหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 1 หน้า 84 จากน้ันครูอธบิ ายเพิ่มเติมวา่ เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนดิ จะต้องตอ่ เขา้ กับแหล่งกาเนดิ ไฟฟ้า (หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล) ข้ันสอน ขนั้ สารวจคน้ หา 1. นกั เรียนสังเกตบตั รภาพวงจรไฟฟ้าแล้วตอบคาถามต่อไปนี้ - วงจรไฟฟ้าประกอบดว้ ยอุปกรณใ์ ดบ้าง และมวี ิธีการตอ่ อยา่ งไร (แนวคาตอบ ตอบตามความคดิ เหน็ ของนักเรยี นอยา่ งอสิ ระ) 2. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาข้ันตอนการทากิจกรรมที่ 1 การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ในหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 1 หน้า 86 3. นกั เรยี นปฏบิ ัติกจิ กรรมที่ 1 การตอ่ วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย ตอนที่ 1 ปฏบิ ัติดังน้ี 1) สืบค้นข้อมูลและบันทึกผลลงในสมุดหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 52 ตามหัวข้อ ตอ่ ไปน้ี - การต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย - ส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ยและหน้าท่ีของแต่ละส่วนประกอบ - การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายในลกั ษณะวงจรปิดและวงจรเปิด 2) ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทาให้หลอดไฟสว่างและไม่สว่าง โดยใช้อุปกรณ์ ได้แก่ กระบะใส่ถา่ นไฟฉาย สายไฟฟ้าพรอ้ มหัวหนบี ปากจระเข้ ถ่านไฟฉาย และหลอดไฟฟ้าพร้อมฐาน 3) บันทึกข้อมูลลงในสมุดหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 52 โดยวาดภาพและ เขยี นบรรยายพรอ้ มระบายสีให้สวยงาม (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม) 141
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้ แผนฯ ที่ 2 วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย ชัว่ โมงท่ี 2 ข้ันสอน (ตอ่ ) ขัน้ สารวจค้นหา 1. ทบทวนความรู้เดิมช่ัวโมงที่แล้ว โดยตอบคาถามต่อไปนี้ การต่อวงจรไฟฟ้าในลักษณะวงจรปิดกับวงจรเปิด ตา่ งกนั อยา่ งไร (แนวคาตอบ การต่อจนครบวงจรไฟฟ้าจะทาให้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าสามารถใช้งานได้ เรียกว่า วงจรปิด ถ้าต่อ วงจรไฟฟ้าไม่ครบวงจรจะทาใหเ้ ครอ่ื งใช้ไฟฟ้าไม่สามารถทางานได้ เรยี กวา่ วงจรเปิด) 2. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน (ใช้กลุ่มเดิม) นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมที่ 1 การต่อวงจรไฟฟ้า อยา่ งงา่ ย ตอนท่ี 2 ปฏิบัติ ดงั นี้ 1) แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมารับวัสดุ-อุปกรณ์ในการทากิจกรรมที่ 1 การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ตอนที่ 2 ดังนี้ - ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน - กระบะใสถ่ า่ นไฟฉาย 1 อนั - หลอดไฟฟา้ พรอ้ มฐาน 1 ชุด - สายไฟฟ้าพร้อมหัวหนีบปากจระเข้ 2 เสน้ 2) นาถ่านไฟฉายใส่ลงในกระบะใส่ถ่านไฟฉายให้ถูกต้อง โดยให้นักเรียนสังเกตสัญลักษณ์ที่อยู่บน ถ่านไฟฉาย และกระบะใสถ่ า่ นไฟฉาย 3) นาสายไฟเสน้ ท่ี 1 ต่อเขา้ กับกระบะใส่ถา่ นไฟฉายโดยใช้ปากจระเขห้ นีบทีห่ วั ของกระบะใส่ถ่านไฟฉาย 4) นาปากจระเขข้ องปลายสายฟา้ อีกดา้ นหนึ่งต่อเข้ากบั ฐานด้านหนง่ึ ของหลอดไฟฟ้า 5) นาสายไฟฟ้าเส้นที่ 2 ต่อเข้ากับกระบะใส่ถ่านไฟฉายอีกด้าน โดยใช้ปากจระเข้หนีบท่ีกระบะใส่ ถ่านไฟฉาย 6) นาปากจระเข้ของปลายสายไฟฟ้าอีกด้านหน่ึงต่อเข้ากับฐานอีกด้านหน่ึงของหลอดไฟฟ้า เม่ือต่อไฟฟ้า เสร็จแล้ว ให้สังเกตความสวา่ งของหลอดไฟฟา้ 7) ปลดสายไฟฟ้าออก 1 เส้น สังเกตความสว่างของหลอดไฟฟ้า บันทึกผลลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หนา้ 53 (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนกั เรยี น โดยการสังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ ) 142
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้ แผนฯ ที่ 2 วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย ขน้ั อธิบายความรู้ 1. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ นาเสนอผลการทากจิ กรรมการทดลอง 2. นกั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ - วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายท่นี ักเรียนตอ่ ในกจิ กรรม ประกอบด้วยอปุ กรณ์ใดบ้าง (แนวคาตอบ ถา่ นไฟฉาย หลอดไฟฟ้า สายไฟฟ้า) - วงจรไฟฟ้าทน่ี กั เรยี นต่อในกจิ กรรม มอี ปุ กรณ์ใดท่ีเป็นแหล่งกาเนดิ ไฟฟ้า (แนวคาตอบ ถ่านไฟฉาย) - เพราะเหตุใดเม่ือปลดสายไฟฟา้ ออก 1 เส้น หลอดไฟจงึ ไม่สวา่ ง (แนวคาตอบ เพราะต่อวงจรไม่ครบ ทาให้กระแสไฟฟา้ ไมส่ ามารถไหลผ่านในวงจรไฟฟา้ ได้ ทาให้ หลอดไฟจงึ ไมส่ วา่ ง) 3. นกั เรียนร่วมกนั สรปุ ผลการทากิจกรรมว่า วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ยประกอบดว้ ยแหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้าสายไฟฟ้าหรือ ตวั นาไฟฟ้า และอปุ กรณ์หรอื เครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งเม่ือทาการต่อวงจรไฟฟ้าจนครบวงจรจะพบว่า กระแสไฟฟ้า เดินทางจากข้ัวบวกของถ่านไฟฉายผ่านสายไฟฟ้าไปยังหลอดไฟและผ่านหลอดไฟกลับเข้ามายัง ข้ัวลบของ ถ่านไฟฉาย หลอดไฟจึงจะสวา่ งเนื่องจากกระแสไฟฟ้าเดินทางได้ครบวงจร ซ่ึงเรียกว่า วงจรปิด แต่เมื่อปลด สายไฟฟา้ ออก 1 เส้น ทาใหก้ ระแสไฟฟ้าเดนิ ทางได้ไมค่ รบวงจร หลอดไฟฟ้าไม่สว่างซงึ่ เรียกวา่ วงจรเปิด 4. นักเรียนทากิจกรรมหนูตอบได้ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 87 บันทึกลงในสมุด ประจาตัวนกั เรยี นหรอื ทาในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตรฯ์ ป.6 เลม่ 1 หนา้ 54 ชัว่ โมงที่ 3 ขนั้ สอน (ตอ่ ) ขั้นสารวจคน้ หา 1. ทบทวนความรู้เดิมของนักเรยี น โดยใหน้ ักเรยี นคดิ วธิ ีตอ่ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ใหห้ ลอดไฟสว่าง โดยใช้ อปุ กรณ์ทีก่ าหนดให้ตอ่ ไปน้ี - ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน - สายไฟฟ้า 1 เส้น - หลอดไฟฟ้า 2. สมุ่ นักเรยี นตอ่ วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่ายให้หลอดไฟสวา่ ง ตามวธิ กี ารทน่ี กั เรยี นคิด จากน้ันร่วมกันสรุปวิธีการท่ีทา ใหห้ ลอดไฟสว่างได้โดยใช้สายไฟฟ้าแค่เส้นเดียว ครูให้นักเรียนดูภาพท่ี 3.25 ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หนา้ 90 เพ่ือประกอบการอธบิ าย 3. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน แล้วศึกษาขั้นตอนการทากิจกรรมท่ี 2 แผนภาพวงจรไฟฟ้า อยา่ งงา่ ยเป็นอย่างไร ในหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 91 143
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 แรงไฟฟา้ และวงจรไฟฟ้า แผนฯ ท่ี 2 วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย 4. นักเรยี นปฏิบัติกิจกรรมท่ี 2 แผนภาพวงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ยเปน็ อย่างไร โดยปฏิบัตดิ ังนี้ 1) ส่งตวั แทนกลุม่ มารับวัสดุ-อปุ กรณ์ในการทากจิ กรรมที่ 2 แผนภาพวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายเปน็ อยา่ งไร ดงั น้ี - หลอดไฟฟ้าพรอ้ มฐาน 1 ชดุ - ถ่านไฟฉาย 1 กอ้ น - กระบะใส่ถ่านไฟฉาย 1 อนั - ออดไฟฟ้า 1 อัน - มอเตอรต์ ิดใบพัด 1 ตัว - สายไฟฟ้าพรอ้ มหัวหนบี ปากจระเข้ 2 เสน้ 2) แต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลการเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย โดยใช้สัญลักษณ์แทนอุปกรณ์ไฟฟ้าจาก แหลง่ ขอ้ มูลตา่ งๆ แล้วบนั ทกึ ผลลงในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 1 หนา้ 56 3) ร่วมกนั ออกแบบและวาดภาพการต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่ายมา 3 วงจร ดงั นี้ - วงจรไฟฟา้ ท่ีทาใหห้ ลอดไฟฟา้ สวา่ ง - วงจรไฟฟา้ ทท่ี าใหม้ อเตอรต์ ิดใบพัดทางาน - วงจรไฟฟา้ ที่ทาให้ออดไฟฟา้ เสียงดัง 4) ต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย โดยใช้อุปกรณ์ต่างๆ ตามท่ีออกแบบไว้ พร้อมสังเกตลักษณะการทางานของ อุปกรณ์ไฟฟ้าและบนั ทกึ ผล 5) เขียนแผนภาพอย่างง่ายของแต่ละวงจร โดยใช้สัญลักษณ์แทนอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ตามที่สืบค้นมาลงใน กระดาษปร๊ฟู จากน้นั ร่วมกันอภิปรายและสรปุ ผลการทากจิ กรรมของกลมุ่ (หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมนิ นกั เรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม) ขั้นอธบิ ายความรู้ 1. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลการทากจิ กรรม ตามหวั ขอ้ ตอ่ ไปนี้ - บอกสญั ลกั ษณ์ของอุปกรณไ์ ฟฟ้าในแผนภาพวงจรไฟฟ้า - อธบิ ายสว่ นประกอบและหน้าท่อี ปุ กรณแ์ ต่ละชน้ิ ในแต่ละวงจร - อธบิ ายผลเมอ่ื ตอ่ วงจรไฟฟ้าตามแผนภาพอย่างงา่ ยของแตล่ ะวงจร 2. นักเรียนร่วมกันสรุปผลการทากิจกรรมว่า เมื่อทาการต่อวงจรไฟฟ้าจนครบวงจร พบว่า ถ้าสับสวิตช์ลง กระแสไฟฟ้าจะเดินทางจากข้ัวบวกของถ่านไฟฉายผ่านสายไฟฟ้าไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้า (หลอดไฟฟ้า มอเตอร์ ติดใบพัด ออดไฟฟ้า) กลับเข้ามายังขั้วลบของถ่านไฟฉาย เป็นผลทาให้อุปกรณ์ไฟฟ้าสามารถทางานได้ ถ้ายกสวติ ช์ขน้ึ จะทาใหว้ งจรไฟฟ้าเป็นวงจรเปิด เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ไมส่ ามารถทางานได้ 3. ครูเปดิ PowerPoint เร่ือง วงจรไฟฟา้ ให้นักเรียนดูเพอื่ เพิ่มเติมความเข้าใจ 4. นักเรียนทากิจกรรมหนูตอบได้ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 54 แล้วบันทึกลงในสมุด หรอื ทาในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 1 หน้า 57 144
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้ แผนฯ ท่ี 2 วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย ชวั่ โมงที่ 4 ขั้นสอน (ตอ่ ) ขั้นขยายความรู้ 1. ทบทวนความรู้เดิม โดยครูสแกน QR Code 3D เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้า ให้นักเรียนดู จากนั้นให้นักเรียน ร่ว ม อ ภิป ร า ยแ ส ด งค ว า มคิ ด เ ห็น เ ก่ี ยว กั บ กา ร ต่ อว ง จ รไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ เขี ย น แผ น ภ าพ ว ง จร ไ ฟ ฟ้า อ ย่ าง ง่ า ย แลกเปลย่ี นกบั เพอื่ นเพือ่ ตรวจสอบความถกู ต้อง 2. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน เพื่อทากิจกรรม “เขียนให้ถูก ต่อให้ไว ถ้าทาได้ให้ 1 ดาว” โดยปฏบิ ัติดังน้ี 1) แต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมารบั อปุ กรณ์ในการทากจิ กรรม ดังน้ี - หลอดไฟฟา้ พรอ้ มฐาน 2 ชดุ - ถา่ นไฟฉาย 1 ก้อน - กระบะใสถ่ า่ นไฟฉาย 1 อัน - ออดไฟฟ้า 1 อัน - มอเตอร์ติดใบพัด 1 ตวั - สายไฟฟ้าพร้อมหวั หนบี ปากจระเข้ 4 เสน้ - กระดานไวต์บอรด์ ขนาดเลก็ 1 อนั - ปากกาไวต์บอรด์ 1 ดา้ ม 2) ครูสุ่มหยิบสลากวงจรไฟฟ้าขึ้นมาทีละ 1 วงจร แล้วอ่านให้นักเรียนฟัง จากน้ันให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม เขยี นแผนภาพวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย แลว้ ต่อวงจรไฟฟา้ ภายในเวลา 2-3 นาที 3) ตรวจสอบความถกู ต้องของแผนภาพและการต่อวงจรไฟฟ้า ถ้าทาได้ถกู ต้องให้ดาว 1 ดวงตอ่ รอบ 4) นักเรียนทากจิ กรรมจนครบทกุ ข้อ และรวบรวมจานวนดาว กลุ่มทไี่ ด้ดาวมากท่สี ดุ ถอื วา่ เปน็ ผูช้ นะ 3. ครูต้ังคาถามไว้ให้นักเรียนมาตอบชั่วโมงหน้าว่า วงจรไฟฟ้าที่มีการใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อนกับ 2 ก้อน หลอดไฟสวา่ งเทา่ กนั หรือไม่ เพราะเหตใุ ด (ครูยังไม่เฉลยคาตอบ) ข้นั สรปุ 1. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้จากกิจกรรมว่า การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ประกอบด้วยแหล่งกาเนิดไฟฟ้า สายไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า ถ้าต้องการอธิบายหรือสื่อสารการต่อวงจรไฟฟ้าให้ผู้อ่ืน เข้าใจตรงกัน จะใช้การเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแทนการวาดรูป ซ่ึงทาได้โดยใช้สัญลักษณ์แสดง ส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ ขนั้ ประเมนิ ขน้ั ตรวจสอบผล 1. ตรวจบนั ทกึ ผลกิจกรรมที่ 1 การตอ่ วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ยในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตรฯ์ ป.6 เล่ม 1 หนา้ 52-53 2. ตรวจบันทึกผลกิจกรรมที่ 2 แผนภาพวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายเป็นอย่างไร ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 1 หน้า 56 145
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า แผนฯ ท่ี 2 วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย 3. ครูตรวจกจิ กรรมหนูตอบได้ ในสมดุ ประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 54 และ 57 7. การวัดและประเมนิ ผล รายการวดั วธิ ีการ เครอ่ื งมอื เกณฑ์ - แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ฯ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 1) กิจกรรมที่ 1 - ตรวจแบบฝึกหัด ป.6 เลม่ 1 หนา้ 52-53 - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การตอ่ วงจรไฟฟ้า วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 - แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ฯ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ อย่างง่าย หน้า 52-53 ป.6 เลม่ 1 หน้า 56 - คุณภาพอยู่ในระดบั ดี 2) กิจกรรมท่ี 2 - ตรวจแบบฝึกหัด - สมุดประจาตัวนกั เรยี น ผ่านเกณฑ์ หรอื แบบฝึกหัด แผนภาพวงจรไฟฟ้า วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 1 วิทยาศาสตร์ฯ ป.6 - คณุ ภาพอยใู่ นระดับดี เล่ม 1 หน้า 54 และ 57 ผ่านเกณฑ์ อย่างง่ายเปน็ อย่างไร หน้า 56 - แบบสงั เกตพฤติกรรม 3) กจิ กรรมหนูตอบได้ - ตรวจสมุดประจาตัว การทางานรายบคุ คล นักเรยี น หรือแบบฝึกหัด - แบบสงั เกตพฤติกรรม การทางานกลุม่ วทิ ยาศาสตร์ฯ ป.6 เลม่ 1 หนา้ 54 และ 57 4) พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤตกิ รรม การทางาน การทางานรายบคุ คล รายบุคคล 5) พฤติกรรม - สังเกตพฤตกิ รรม การทางานกลมุ่ การทางานกลมุ่ หมายเหตุ : แบบสงั เกตพฤติกรรมประเมินรายเทอม 146
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า แผนฯ ที่ 2 วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 2) แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6 เลม่ 1 3) วัสดุ-อปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นกิจกรรมท่ี 1 การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย 4) วัสดุ-อุปกรณท์ ใ่ี ช้ในกิจกรรมท่ี 2 แผนภาพวงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย 5) วัสดุ-อปุ กรณ์ที่ใช้ในกิจกรรม มายากลหลอดไฟสวา่ ง 6) วสั ดุ-อปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นกิจกรรม เขยี นใหถ้ กู ตอ่ ใหไ้ ว ถ้าทาได้ให้ 1 ดาว 7) PowerPoint วงจรไฟฟ้า 8) QR Code 3D วงจรไฟฟ้า 9) สลากวงจรไฟฟา้ 10) กระดาษปร๊ฟู 11) สมดุ ประจาตัวนกั เรยี น 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) อินเทอรเ์ น็ต 3) หอ้ งสมดุ 147
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 แรงไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า แผนฯ ที่ 2 วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย สลากวงจรไฟฟ้ า วงจรไฟฟา้ ที่ประกอบด้วยหลอดไฟ 1 ดวง ถา่ นไฟฉาย 1 ก้อน สายไฟฟา้ 2 เส้น ท่ที าใหห้ ลอดไฟสวา่ ง วงจรไฟฟา้ ที่ประกอบดว้ ยหลอดไฟ 2 ดวง ถา่ นไฟฉาย 1 กอ้ น สายไฟฟ้า 3 เส้น ทีท่ าใหห้ ลอดไฟสวา่ ง วงจรไฟฟ้าทปี่ ระกอบดว้ ยหลอดไฟ 1 ดวง ถา่ นไฟฉาย 2 กอ้ น สายไฟฟ้า 3 เสน้ ท่ที าใหห้ ลอดไฟสวา่ ง วงจรไฟฟา้ ท่ปี ระกอบด้วยหลอดไฟ 2 ดวง ถ่านไฟฉาย 2 กอ้ น สายไฟฟา้ 4 เสน้ ที่ทาใหห้ ลอดไฟสวา่ ง วงจรไฟฟา้ ที่ประกอบด้วยหลอดไฟ 1 ดวง ถ่านไฟฉาย 1 กอ้ น สายไฟฟา้ 3 เสน้ ทีท่ าใหห้ ลอดไฟสวา่ ง 148
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 แรงไฟฟา้ และวงจรไฟฟ้า แผนฯ ที่ 2 วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย แบบบันทึกหลงั แผนการจดั การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ ด้านสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์ ด้านอ่นื ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทม่ี ปี ญั หาของนักเรียนเป็นรายบคุ คล (ถ้ามี)) ปัญหา/อปุ สรรค แนวทางการแก้ไข ลงชอื่ ..............................................ผบู้ นั ทกึ (................................................) ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษาหรอื ผู้ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ขอ้ เสนอแนะ ลงช่ือ................................................ (................................................) ตาแหน่ง................................................. 149
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166