โครงการ การบนั ทกึ ความรูท้ างดา้ นพฤกษศาสตร์ของกล่มุ เขมรถ่ินไทย ในรปู แบบดจิ ิทัล: การทำ� งานร่วมกันของนกั ภาษาศาสตร์ นักพฤกษศาสตร์ และคนในชุมชน สถาบนั วจิ ยั ภาษาและวฒั นธรรมเอเชีย มหาวทิ ยาลยั มหิดล
เรียนภาษาเขมรถน่ิ ไทยแบบบูรณาการ เล่ม 2 บรรณาธิการ ศิริเพญ็ อ้ึงสิทธิพนู พร พมิ พ์คร้ังแรก จำ� นวน 100 เล่ม เดือนกนั ยายน 2563 ISBN 978-616-443-493-6 ผู้พมิ พ์ โครงการ “การบนั ทกึ ความรูท้ างดา้ นพฤกษศาสตร์ของกลมุ่ เขมรถน่ิ ไทย ในรูปแบบดจิ ทิ ลั :การทำ� งานร่วมกนั ของนกั ภาษาศาสตร์ นกั พฤกษศาสตร์ และคนในชุมชน” Digital Documentation of the botanical knowledge of Northern Khmer speakers : Linguists, botanists, and community members working together สถาบนั วจิ ยั ภาษาและวฒั นธรรมเอเชีย มหาวทิ ยาลยั มหิดล 999 ถนนพทุ ธมณฑลสาย 4 ตำ� บลศาลายา อำ� เภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม 73170 ออกแบบปก/ รูปเล่ม สุมาลี หาญยศ พมิ พ์ท ี่ บริษทั จรัลสนิทวงศก์ ารพมิ พ์ จำ� กดั 219 ซอยเพชรเกษม 102/2 แขวงบางแคเหนือ เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160 ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำ� นกั งานคณะกรรมการส่งเสริมวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (สกสว.) สำ� นกั งานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั (สกว.) เดิม Newton Fund, British Academy, UK หน่วนงานร่วมสนับสนุนการวจิ ยั SOAS, University of London หัวหน้าโครงการฯ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิริเพญ็ อ้ึงสิทธิพนู พร จดั ทำ� โดย สถาบนั วจิ ยั ภาษาและวฒั นธรรมเอเชีย มหาวทิ ยาลยั มหิดล
บรรณาธิการ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริเพ็ญ อ้ึงสิทธิพูนพร ผู้ให้ ข้ อมู ลภาษาเขมรถ่ินไทย นางสาวกิตตินันท์ สายไทย นายประถม โกยส�ำราญ นางกญั ญาพชั ร สายศร นางสาวเสาวนิจ ดีมาก นางอรชร สุวรรณดำ� นางธัญสิริ ก้อนทอง นางสุภาพ กลีบแดง นางกิตติยา เชยชม นายปุด กลีบแดง นายเพียร นิลแท้ ทีมวิจยั ชุมชนเขมรถ่ินไทย บา้ นขนาดปรีง ตำ� บลเช้ือเพลิง อำ� เภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ ประเทศไทย ผู้เรียบเรียงข้อมูล ภาษาเขมรถ่ินไทย – IPA - ไทย - อังกฤษ นายชัยวฒั น์ หอมชง นายธีรธัช รุ่งเรืองวงษ์ นายภีมระพฒั ต์ รองสวสั ด์ิ นางสาวกมนทรรศน์ ดอกเมฆ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริเพ็ญ อ้ึงสิทธิพูนพร ทีมวิจัยในโครงการ “การบนั ทึกความรู้ทางด้านพฤกษศาสตร์ของกลุ่มเขมรถ่ินไทยในรูปแบบดิจิทลั : การทำ� งานร่วมกนั ของนักภาษาศาสตร์นักพฤกษศาสตร์ และคนในชุมชน ผู้ตรวจทานภาษาไทยและอังกฤษ ดร.ณรงเดช พนั ธะพุมมี
คำ� น�ำ หนงั สือ “เรียนภาษาเขมรถิ่นไทยแบบบูรณาการ” เป็นผลผลิตส่วนหน่ึงในโครงการ “การบนั ทึกความรู้ทางดา้ นพฤกษศาสตร์ของกลมุ่ เขมรถิ่นไทยในรูปแบบดิจิทลั : การทำ� งาน ร่วมกนั ของนกั ภาษาศาสตร์ นกั พฤกษศาสตร์ และคนในชุมชน” ไดร้ ับทุนสนบั สนุนจาก Newton Advanced Fellowships ซ่ึงเป็นการร่วมทุนระหวา่ ง British Academy ฝ่ ายองั กฤษ และสำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนุนการวจิ ยั (สกว. เดิม) ฝ่ายไทย ตอ่ มาไดเ้ ปลย่ี นเป็นสำ� นกั งาน คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (สกสว.) ฝ่ ายวิชาการระยะเวลา ในการทำ� วจิ ยั 2 ปี แต่เนื่องจากมีกิจกรรมจำ� นวนมากไม่สามารถทำ� สำ� เร็จตามเวลาดงั กล่าว จึงขอขยายเวลาเป็น 3 ปี กิจกรรมหลกั ของโครงการฯ เป็นการจดั อบรมเชิงปฏิบตั ิการใหค้ นในชุมชนสามารถ บนั ทึกองคค์ วามรู้ในป่ าชุมชนดว้ ยเครื่องมือบนั ทึกเสียง กลอ้ งถ่ายภาพ และกลอ้ งวิดีโอ ที่มีคุณภาพสูง ซ่ึงเป็นหวั ใจสำ� คญั ในการบนั ทึกขอ้ มูลดา้ นภาษาและวฒั นธรรม (Language documentation) เพื่อเก็บรักษาในระยะยาว โดยเก็บเป็ นไฟลด์ ิจิทลั และใชภ้ าษาทอ้ งถิ่น ในการสนทนา หลงั จากน้นั นกั ภาษาศาสตร์จะนำ� ไปวิเคราะห์ทางดา้ นเสียง จากการถ่าย ถอดเสียงดว้ ยโปรแกรม ELAN และ Export ไปทำ� สื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ไดอ้ ีกหลายรูปแบบ เช่น วิดีโอ ที่มีคำ� บรรยายใตภ้ าพ พจนานุกรมคำ� ศพั ท์ พจนานุกรมรูปภาพพืช เป็ นตน้ รวมท้งั บรู ณาการเป็นแบบเรียนภาษาเขมรถนิ่ ไทย-ภาษาไทย-ภาษาองั กฤษ ดงั เชน่ หนงั สือเลม่ น้ี อยา่ งไรก็ตาม โดยบริบทชุมชนชนบทของประเทศไทย ยงั มีขอ้ จำ� กดั ในการเขา้ ถึง เทคโนโลยที ่ีทนั สมยั โดยผลผลิตท่ีไดจ้ ากโครงการน้ี เนน้ ส่ือการเรียนรู้ภาษาเขมรถ่ินไทย ในรูปแบบดิจิทลั แต่ยงั ไม่ตอบสนองความสะดวกของเจา้ ของภาษา ทีมวจิ ยั จึงไดจ้ ดั ทำ� สื่อ การเรียนภาษาเขมรถ่ินไทยในรูปแบบหนงั สือท่ีสามารถพกพาได้ และอ่านไดส้ ะดวกกวา่ การอ่านในคอมพิวเตอร์หรือในโทรศพั ทม์ ือถือ และนำ� ความรู้เหล่าน้ีคืนสู่ชุมชน สำ� หรับ ผทู้ ่ีสนใจฟังเสียงสนทนาของเจา้ ของภาษา สามารถเขา้ ถึงไดท้ ่ี https://langarchive-th.org/th/ collectionsในเว็บไซต์ดงั กล่าวยงั ไดบ้ นั ทึกความรู้ด้านภาษาและวฒั นธรรมของกลุ่ม ชาติพนั ธุ์อื่น ๆ ในประเทศไทยไวอ้ ีกดว้ ย หนงั สือเลม่ น้ี เป็นการบรู ณาการความรู้พชื ทอ้ งถิน่ จำ� นวน 65 ชนิด โดยแบง่ ออกเป็น 2 เลม่ เพอ่ื ใหเ้ หมาะแกก่ ารพกพาจำ� นวนหนา้ ไมม่ ากเกนิ ไปในแตล่ ะเลม่ ความรูจ้ ากบทสนทนา เรื่องพืชเขียนดว้ ยภาษาเขมรถ่ินไทยอกั ษรไทย ซ่ึงเป็ นภาษาแม่ของคนในชุมชน ท้งั ยงั มี การแปลเป็นภาษาไทย และภาษาองั กฤษ เพื่อใหเ้ ดก็ นกั เรียน ไดเ้ รียนรู้มากกวา่ หน่ึงภาษา อีกดว้ ย นอกจากน้นั เพอ่ื เสริมความรู้สำ� หรับนกั ภาษาศาสตร์ หรือนกั วชิ าการท่ีสนใจจึงจดั ใหม้ ีการถ่ายถอดเสียงดว้ ยสทั อกั ษรสากลอีกประเภทหน่ึงดว้ ย
ทีมวิจยั หวงั เป็ นอยา่ งย่ิงว่า หนงั สือเล่มน้ีจะเป็ นประโยชน์ต่อชุมชนเจา้ ของภาษา และคนที่สนใจทวั่ ไปไม่มากก็น้อย อีกท้งั เพ่ือการอนุรักษ์ภาษาทอ้ งถิ่นในรูปแบบสื่อ การเรียนรู้ภาษาทอ้ งถิ่นต่อไป ถึงแมว้ ่าโครงการฯ ไม่สามารถบนั ทึกขอ้ มูลพืชทุกชนิด ในป่ าตาเกาวไ์ ด้ แต่กไ็ ดน้ ำ� รายการพืชที่บนั ทึกเสียงและภาพจากเจา้ ของภาษาพร้อมขอ้ มูล จากเจา้ ของภาษาโดยตรงมาเผยแพร่ในรูปแบบที่อ่านง่าย หากมคี วามผดิ พลาดประการใด ๆ ทมี วจิ ยั นอ้ มรบั ผดิ ชอบและยนิ ดรี บั ฟังขอ้ เสนอแนะ เพ่อื การทำ� สื่อการเรียนรู้ต่อไปในอนาคต ผศ.ดร.ศิริเพญ็ องึ้ สิทธิพูนพร หัวหน้าโครงการวจิ ยั ฯ และคณะ กนั ยายน 2563
กติ ตกิ รรมประกาศ หนังสือแบบเรียนภาษาเขมรถ่ินไทยแบบบูรณาการ เล่ม 1และ 2 เป็ นผลผลิต ส่วนหน่ึงของโครงการวจิ ยั เรื่อง การบนั ทึกความรู้ดา้ นพฤกษศาสตร์ของกลุ่มเขมรถิ่นไทย ในรูปแบบดิจทิ ลั : การทำ� งานร่วมกนั ของนกั ภาษาศาสตร์ นกั พฤกษศาสตร์ และคนในชุมชน (Digital Documentation of the botanical knowledge of Northern Khmer speakers: Linguists, botanists, and community members working together) ไดร้ ับทุนสนบั สนุน จาก Newton Advanced Fellowships ซ่ึงเป็ นการร่วมทุนวิจยั ระหว่าง British Academy ฝ่ ายองั กฤษ กบั สำ� นกั งานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั (สกว.เดิม) ฝ่ ายไทย ต่อมาเปล่ียนเป็น สำ� นกั งานคณะกรรมการส่งเสริมวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (สกสว.) ระยะเวลา 2 ปี และไดข้ ยายเวลาเป็น 3 ปี เนื่องจากมีกิจกรรมมาก ไม่สามารถทำ� ไดเ้ สร็จสิ้นภายในเวลา ที่กำ� หนด โครงการวจิ ยั ฯน้ี ไมส่ ามารถสำ� เร็จลลุ ว่ งได้ หากไมไ่ ดร้ ับความร่วมมือจากหน่วยงาน และบคุ คลดงั ตอ่ ไปน้ี ทมี วจิ ยั ขอขอบคณุ สถาบนั วจิ ยั ภาษาและวฒั นธรรมเอเชีย มหาวทิ ยาลยั มหิดลท่ีสนับสนุนการขอทุนวิจยั ต่างประเทศเพ่ือขยายงานวิจยั ให้กวา้ งขวางและเพ่ิม ความเช่ียวชาญดา้ นการวจิ ยั กบั ชาวตา่ งชาติ ขอบคณุ SOAS, University of London ทอี่ นุญาต ใหบ้ คุ ลากรทเ่ี ช่ียวชาญดา้ นภาษาศาสตร์ ไดแ้ ก่ Dr. Julia Sallabank และ Dr. Candide Simard ไดท้ ำ� งานวิจยั ร่วมกบั สถาบนั วิจยั ภาษาฯ ขอบคุณบุคลากรจากสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จ พระนางเจา้ สิริกิต์ิท่ีร่วมเป็ นวิทยากรในการเก็บตวั อยา่ งพืชและการบนั ทึกขอ้ มูลการใช้ ประโยชนจ์ ากพชื ใหก้ บั โครงการฯน้ี และทสี่ ำ� คญั อยา่ งยง่ิ คอื ทมี วจิ ยั ชมุ ชนเขมรถน่ิ ไทย หมู่ 8 บา้ นขนาดปรีง ตำ� บลเช้ือเพลิง อำ� เภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ นำ� โดยผใู้ หญ่ปุด กลีบแดง และคณะ ซ่ึงเป็นพ้นื ทใี่ นการทำ� วจิ ยั ของโครงการฯ หากไมม่ พี ้นื ทชี่ ุมชนดงั กลา่ ว โครงการฯ น้ีกไ็ ม่สามารถเกิดข้ึนได้ ทีมวจิ ยั ขอขอบคณุ ดร.ณรงเดช พนั ธะพมุ มี ซ่ึงเป็นผทู้ รงคณุ วฒุ ิท่ีไดก้ รุณาตรวจทาน ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ท้งั สองเลม่ น้ีและใหข้ อ้ เสนอแนะทเี่ ป็นประโยชน์ เพอื่ ใหเ้ น้ือหา สมบูรณ์ยง่ิ ข้ึน ขอขอบคุณทีมงานผูช้ ่วยวิจยั ในโครงการฯ ไดแ้ ก่ นกั ศึกษาปริญญาโท สาขาวิชา ภาษาศาสตร์ สถาบนั วจิ ยั ภาษาและวฒั นธรรมเอเชีย มหาวทิ ยาลยั มหิดล ไดแ้ ก่ นายภมี ระพฒั ต์ รองสวสั ด์ิ นายชยั วฒั น์ หอมชง นายธีรธชั รุ่งเรืองวงษ์ และนางสาวกมนทรรศน์ ดอกเมฆ ที่มีความสนใจและร่วมทำ� งานเรียนรู้มาดว้ ยกนั ตลอดเวลา 3 ปี นอกจากน้ียงั มีทีมพี่เล้ียง
จากศนู ยศ์ กึ ษาและฟ้ืนฟภู าษา - วฒั นธรรมในภาวะวกิ ฤต สถาบนั วจิ ยั ภาษาและวฒั นธรรมเอเชยี มหาวทิ ยาลยั มหิดล ไดแ้ ก่ นางสาวกมุ ารี ลาภอาภรณ์ นางสาวอจั ฉราภรณ์ ถาวรพฒั น์ และ นายรณกร รักวงศ์ ที่ไดอ้ ำ� นวยความสะดวกในการลงพ้นื ที่คร้ังแรก พร้อมท้งั แนะนำ� ทีมวจิ ยั ชุมชนใหร้ ู้จกั กบั ทีมวจิ ยั สุดทา้ ยน้ีทีมวจิ ยั ขอขอบคุณ คุณพจิ ารณา สมคั รการ ผจู้ ดั การโปรแกรมวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม สถานเอกอคั รทตู องั กฤษ ประจำ� ประเทศไทย ทใี่ หก้ ำ� ลงั ใจและใหโ้ อกาส ในการขอทุน Newton Fund ตลอดมา รวมท้งั ท่านอื่นๆ ที่มีส่วนร่วมในโครงการฯน้ี แต่ไม่ สามารถกล่าวช่ือไดท้ ้งั หมด ท้งั ในระดบั ชุมชน สถาบนั และต่างประเทศ ท่ีทำ� ใหโ้ ครงการ วจิ ยั ฯ น้ีสำ� เร็จลุล่วงทุกประการ ศิริเพญ็ องึ้ สิทธิพูนพร หัวหน้าโครงการฯ
สารบญั หนา้ 1 4 1. เกร่ินน�ำ และทม่ี าของหนังสือ 5 2. จุดประสงค์ และประโยชน์ของหนังสือเล่มนี ้ 5 3. ขอบเขตและข้อจำ� กดั 10 4. ระบบตวั เขยี นภาษาเขมรถนิ่ ไทยอกั ษรไทย 11 5. พืชในป่ าตาเกาว์และบทสนทนาเกยี่ วกบั ประโยชน์การน�ำไปใช้ 14 5.31 กคบซเราะ 18 5.32 กทินนรงเยยี ะ 21 5.33 กตุยจูน 25 5.34 งบปรฺี 28 5.35 จงั กว็ งฮีญ 31 5.36 จงั กร็องซวา 34 5.37 ซเดา 38 5.38 ซเบฺิว ็ 42 5.39 ซวาย ปรฺี 46 5.40 ซำ� เปื อร 50 5.41 ซเดฺาะซดอร 54 5.42 ซเมา ตเซ็ด 58 5.43 ซเมา ปเร็จ 61 5.44 ซเมา ปัวะ 67 5.45 ซมอล บาย 70 5.46 ซงั เคิร็ 76 5.47 เดฺิม จรูยฺ 79 5.48 โดงปเรียฮ 83 5.49 ไดคมอจ 88 5.50 แตกตอก 92 5.51 ตระนมติญกยู ฺ 5.52 ตลดั
สารบัญ (ต่อ) หนา้ 96 5.53 ตมูง 99 5.54 ตราจ 102 5.55 ตรฺีล 106 5.56 ตลวั ะ 109 5.57 ตเทาะ 112 5.58 ทเมญ็ ตแร็ยซบาด 115 5.59 เนียงจุม 118 5.60 ปะปเลีย 122 5.61 มเรียะ 126 5.62 รันเดญ็ 130 5.63 เวอื ร็ ซโบน 133 5.64 อนั ตว็ งซอฺ 137 5.65 อำ� ปรุมฺปแรปรอย 142 6. สรุปการแบ่งกล่มุ พืชตามประโยชน์ใช้สอย 144 7. เอกสารอ้างองิ 145 ดชั นีคำ�
เรียนภาษาเขมรถน่ิ ไทยแบบบูรณาการ 1. เกริ่นน�ำ และทมี่ าของหนังสือ กลุ่มชาติพนั ธุ์เขมรถิ่นไทยในประเทศไทยมีจำ� นวนประชากรประมาณ 1.4 ลา้ นคน (สุวิไล เปรมศรีรัตน์และคณะ, 2547) อาศยั อยมู่ ากในจงั หวดั สุรินทร์ ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ จนั ทบุรี ตราด ฯลฯ ถึงแมว้ า่ จะมีจำ� นวนประชากรเป็นจำ� นวนมากกต็ าม แต่กเ็ ผชิญปัญหา การถดถอยของการใชภ้ าษาและวฒั นธรรม เน่ืองจากมกี ารใชภ้ าษาไทยมากข้นึ และใชภ้ าษา เขมรถ่ินไทยนอ้ ยลงอยา่ งเห็นไดช้ ดั จากการทำ� งานวิจยั เพื่อทอ้ งถ่ินของชาวเขมรถ่ินไทย บา้ นโพธ์ิกอง ตำ� บลเช้ือเพลิง อำ� เภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ ต้งั แต่ พ.ศ. 2550 เป็นตน้ มา เริ่มจากผอู้ ำ� นวยการโรงเรียนบา้ นโพธ์ิกองเม่ือ พ.ศ. 2550 ซ่ึงมีเช้ือสายเขมรถิ่นไทย มีวิสัยทศั น์ท่ียาวไกล เห็นความส�ำคญั ของภาษาทอ้ งถิ่น ซ่ึงคนส่วนใหญ่ในพ้ืนที่เป็ น ชาวเขมรถิ่นไทย ท่านผอู้ ำ� นวยการไดร้ วบรวมคุณครูในโรงเรียนบา้ นโพธ์ิกองเป็นทีมวจิ ยั ทำ� โครงการวิจยั เรื่อง “การพฒั นาหลกั สูตรและการจดั การเรียนรู้ภาษาเขมรถ่ินไทย เพ่ือการอนุรักษภ์ าษาทอ้ งถิ่นและเสริมสร้างการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนบา้ นโพธ์ิกอง ตำ� บลเช้ือเพลิง อำ� เภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์” (ประชุมพร สังขน์ อ้ ยและคณะ, 2553) เพื่อนำ� ภาษาทอ้ งถิ่นไปสอนในโรงเรียน ในช่วงเวลาน้นั เยาวชนเขมรถ่ินไทยยงั พูดภาษา เขมรถิ่นไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว จากกระแสการจดั การเรียนการสอนแบบทวิภาษาในโรงเรียนโดยใช้ภาษาแม่ เป็นฐานการเรียนรู้สู่ภาษาราชการ ไดแ้ พร่หลายมากข้ึน ตวั อยา่ งที่เห็นไดช้ ดั คือ กลุ่มมลายู ปาตานี ในพ้ืนที่สามจงั หวดั ชายแดนใต้ โดยศูนยศ์ ึกษาและฟ้ื นฟูภาษา – วฒั นธรรม ในภาวะวิกฤตร่วมกบั ที่ปรึกษาชาวต่างชาติ และหน่วยงานราชการอีกหลายหน่วยงาน ทำ� การวิจยั เพื่อเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้ ทำ� ให้กลุ่มเขมรถ่ินไทย โดยผูอ้ ำ� นวยการฯ คนเดิม ไดป้ ระเมินความสามารถของเดก็ ในโรงเรียนบา้ นโพธ์ิกอง จึงไดเ้ สนอโครงการวจิ ยั ต่อเน่ืองเป็นโครงการที่สอง คือ โครงการ “รูปแบบการจดั การศึกษาปฐมวยั แบบทวภิ าษา โดยใชภ้ าษาเขมรถ่ินไทยร่วมจดั การเรียนรู้ของโรงเรียนบา้ นโพธ์ิกอง ตำ� บลเช้ือเพลิง อำ� เภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์” (ประชุมพร สงั ขน์ อ้ ยและคณะ, 2556) แต่อยา่ งไรกด็ ี สถานการณ์ท่ีไม่คาดคิดเกิดข้ึนอยา่ งรวดเร็ว ในขณะที่ โครงการวจิ ยั เพ่ือทอ้ งถิ่นโครงการท่ีสอง กำ� ลงั ดำ� เนินอยู่ ทีมวิจยั ชุมชนไดพ้ บว่า เด็กในช้นั อนุบาล ไม่สามารถสื่อสารภาษาเขมรถ่ินไทยไดอ้ ย่างคล่องแคล่วเหมือนรุ่นที่ผ่าน ๆ มา ทำ� ให้ การใชภ้ าษาแม่ในการสอนช้นั อนุบาลไม่ประสบผลเท่าที่ควร คุณครูตอ้ งใชภ้ าษาไทย 1
ในการส่ือสารร่วมกบั ภาษาเขมรถ่ินไทย เด็กบางคนไม่ยอมพูดเขมรถ่ินไทย บางคนก็ไม่ ค่อยเขา้ ใจภาษาเขมรถ่ินไทยสาเหตุเน่ืองจากผูป้ กครองของเด็กมีการใชภ้ าษาไทยที่บา้ น มากข้ึน ทีมวิจยั ชุมชนมีความตระหนกั ถึงสถานการณ์ทางภาษาเขมรถิ่นไทยท่ีถดถอยลง อยา่ งรวดเร็ว เกรงวา่ เยาวชนรุ่นใหม่จะไม่สามารถใชภ้ าษาเขมรถ่ินไทยในการสื่อสารได้ จึงไดท้ ำ� โครงการวจิ ยั เพ่ือทอ้ งถิ่น อีกโครงการช่ือวา่ โครงการ “พฒั นาศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ เพอ่ื การฟ้ืนฟภู าษาเขมรถน่ิ ไทยบา้ นโพธ์ิกอง ตำ� บลเช้ือเพลงิ อำ� เภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์” (สุรัญญา ทะวงศด์ ี และคณะ, 2559) โดยหวงั วา่ จะเริ่มปลูกฝังภาษาเขมรถ่ินไทยต้งั แต่เดก็ เร่ิมเขา้ เรียนในศูนยเ์ ด็กเล็ก ซ่ึงมีบุคลากรในศูนยเ์ ด็กเล็กเป็ นชาวเขมรถ่ินไทยท่ีส่ือสาร ภาษาไดด้ ี การทำ� งานวิจยั เพื่อทอ้ งถิ่นของชาวเขมรถ่ินไทย ยงั ไม่หยดุ เพียงในโรงเรียนหรือ ศูนยเ์ ด็กเล็กเท่าน้ัน เพราะความรู้ด้านอ่ืน ๆ ยงั มีอีกมาก อย่างเช่น เรื่องพืชสมุนไพร ในป่ าชุมชนซ่ึงสมยั ก่อนเป็ นแหล่งอาศยั และยารักษาโรคของกลุ่มเขมรถ่ินไทยเช่นกนั การอนุรกั ษฟ์ ้ืนฟภู าษาและวฒั นธรรมของชาวเขมรถน่ิ ไทย จงึ ขยายผลมาทหี่ มบู่ า้ นขนาดปรีง ตำ� บลเช้ือเพลิง อำ� เภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ โดยมีผใู้ หญ่บา้ นหมู่ 8 เป็นหวั หนา้ ทีมวจิ ยั ในโครงการ “ทฺีว มโฮบ ทนำ� ปรฺีตากาฮ (เที่ยว อาหาร ยา ป่ าตาเกาว)์ บา้ นขนาดปรีง ตำ� บลเช้ือเพลิง อำ� เภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์” (ปุด กลีบแดงและคณะ 2563) ซ่ึงเป็ น ความตอ้ งการของชุมชนทจี่ ะบนั ทกึ ความรูเ้ ร่ืองช่ือพชื คณุ ประโยชนก์ ารใชส้ อย เพอ่ื สืบทอด และส่งต่อความรู้เหล่าน้ีสู่รุ่นต่อ ๆ ไป ผลผลิตจากโครงการวิจยั เพื่อทอ้ งถิ่นโครงการน้ี คือรวบรวมชื่อพชื ที่สำ� รวจในป่ าตาเกาวใ์ นช่วงเวลาทำ� โครงการฯ แลว้ ผลิตเป็นหนงั สือชื่อ “ทฺีว มโฮบ ทนำ� ปรฺีตากาฮ (เที่ยว อาหาร ยา ป่ าตาเกาว)์ บา้ นขนาดปรีง ตำ� บลเช้ือเพลิง อำ� เภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์” จากโครงการวจิ ยั เพื่อทอ้ งถิ่นท้งั หมดท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ ไดร้ ับการสนบั สนุนทุนวจิ ยั จากสำ� นกั งานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั (สกว.) ฝ่ ายวจิ ยั เพอ่ื ทอ้ งถิ่น และดา้ นวชิ าการมีทีม พเี่ ล้ยี งและนกั ภาษาศาสตร์จากศนู ยศ์ กึ ษาและฟ้ืนฟภู าษา-วฒั นธรรมในภาวะวกิ ฤต สถาบนั วจิ ยั ภาษาและวฒั นธรรมเอเชีย มหาวทิ ยาลยั มหิดล ทำ� งานร่วมกนั ท้งั ยงั ผลกั ดนั ใหร้ ะบบเขียน ภาษาทอ้ งถ่ินของกลุ่มชาติพนั ธุ์ต่าง ๆ ไดร้ ับการรับรองจากราชบณั ฑิตยสภาใหเ้ ป็นคู่มือ ระบบเขียนภาษาทอ้ งถิ่นดว้ ยอกั ษรไทย ในการเขียนบนั ทึกความรู้ทอ้ งถิ่น หรือทำ� เป็นส่ือ การเรียนการสอนทเ่ี ป็นมาตรฐาน เป็นทย่ี อมรบั และภาษาเขมรถนิ่ ไทยกเ็ ป็นหน่ึงใน 10 กลมุ่ ชาติพนั ธุ์ท่ีทำ� เสร็จใน พ.ศ. 2556 (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2556) ในการจดั ทำ� คู่มือระบบเขียน ภาษาเขมรถ่ินไทยอกั ษรไทย มีผูเ้ ชี่ยวชาญจากทีมวิจยั ชุมชนจงั หวดั สุรินทร์ร่วมเป็ น กรรมการดว้ ย เน่ืองจากตอ้ งมีการตรวจสอบระบบเสียงและไดร้ ับการยอมรับจากเจา้ ของ 2
ภาษา ดงั น้นั หนงั สือเล่มน้ี จึงใชค้ ู่มือระบบเขียน ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถานเป็ นแนวทาง ในการเขียนภาษาเขมรถิ่นที่บา้ นขนาดปรีง สถานการณ์ทางภาษาในชุมชนบา้ นขนาดปรีงน้นั มีชาวบา้ นท่ีเป็ นคนในพ้ืนท่ีมา แต่กำ� เนิด และชาวบา้ นจากที่อ่ืนเขา้ มาอาศยั อยรู่ วมกนั จึงพบการใชภ้ าษาที่หลากหลาย โดยมีการผสมกลมกลืนกนั ในการพูดคุยสนทนา ไดแ้ ก่ ภาษาเขมรถ่ิน ภาษาไทยกลาง ภาษาอีสาน และภาษาลาว ดา้ นการใชภ้ าษาของคนในชุมชน พบว่า ผูส้ ูงอายจุ ะใชภ้ าษา เขมรถ่ินมากกวา่ ภาษาไทยกลาง ช่วงอายวุ ยั ทำ� งานจะพดู ภาษาเขมรถ่ินและภาษาไทยกลาง และมีการใชภ้ าษาไทยกบั ภาษาเขมรถ่ินปนกนั ในช่วงวยั รุ่นส่วนใหญจ่ ะใชภ้ าษาไทยกลาง สามารถสื่อสารภาษาเขมรถน่ิ ไดบ้ า้ ง ในชว่ งวยั เดก็ ส่วนใหญจ่ ะพดู ภาษาไทยกลาง ไมค่ อ่ ยพดู ภาษาเขมรถ่ิน แต่ฟังรู้เรื่องบา้ ง ซ่ึงพอ่ แม่จะพดู ภาษาไทยกลางกบั ลูก และพยายามพดู ภาษา เขมรถิ่นดว้ ยบา้ ง เพราะยงั อยากใหล้ ูกหลานสามารถสื่อสารภาษาเขมรถ่ินได้ เพื่อเป็นการ อนุรักษภ์ าษาของบรรพบุรุษและเป็นประโยชนต์ ่อการประกอบอาชีพในอนาคต โครงการ “การบนั ทึกความรู้ทางดา้ นพฤกษศาสตร์ของกลุม่ เขมรถ่ินไทยในรูปแบบ ดิจิทลั : การทำ� งานร่วมกันของนักภาษาศาสตร์ นักพฤกษศาสตร์ และคนในชุมชน” มีวตั ถปุ ระสงคห์ ลกั คือ ตอ้ งการบนั ทึกองคค์ วามรู้ดา้ นพฤกษศาสตร์ การใชป้ ระโยชน์ และ การจดั กลมุ่ พนั ธุพ์ ชื ตามภมู ิปัญญาของกลมุ่ เขมรถน่ิ ไทยในจงั หวดั สุรินทร์ ในรูปแบบดิจิทลั เพอ่ื การอนุรักษแ์ ละสืบทอดภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น สามารถส่งต่อใหล้ ูกหลานชาวเขมรถิ่นไทย ไดม้ าศึกษาหาความรู้ในรูปแบบดิจิทลั และสามารถนำ� เน้ือหาไปขยายผลในรูปแบบสื่อ การเรียนรู้ประเภทตา่ ง ๆ เช่น หนงั สือความรู้เกี่ยวกบั พชื และการใชป้ ระโยชน์ พจนานุกรม คำ� ศพั ท์ หนงั สือเรียนภาษาเขมรถิ่นไทย เป็นตน้ ในส่วนท่ีเป็ นขอ้ มูลดิจิทลั มีลกั ษณะเป็ นไฟลว์ ิดีโอ พร้อมคำ� บรรยายที่ไดจ้ ากการ ถา่ ยถอดเสียงการสนทนาเกย่ี วกบั พชื ชนิดตา่ งๆ โดยมภี าษาเขมรถน่ิ ไทยอกั ษรไทย ความหมาย ภาษาไทย และสทั อกั ษรสากล ซ่ึงสามารถเขา้ ถงึ ไดท้ ่ี https://langarchive-th.org/th/collection/ northern-khmer สำ� หรับเวบ็ ไซต์ https://langarchive-th.org/ เป็นเวบ็ ไซตค์ ลงั ขอ้ มูลดิจิทลั ที่พฒั นาข้ึนเพื่อเกบ็ รวบรวมความรู้ภูมิปัญญาดา้ นภาษาและวฒั นธรรมของกลุ่มชาติพนั ธุ์ ต่าง ๆ ในประเทศไทย จดั ทำ� โดยสถาบนั วิจยั ภาษาและวฒั นธรรมเอเชีย มหาวิทยาลยั มหิดล แตใ่ นชุมชนเจา้ ของภาษากย็ งั มขี อ้ จำ� กดั ในการเขา้ ถงึ แหลง่ ขอ้ มลู ดิจิทลั ทางโครงการ จึงไดจ้ ดั ทำ� ในรูปแบบหนงั สืออีกเวอร์ชนั่ หน่ึง เพื่อความสะดวกของผเู้ รียนท่ีอยใู่ นชุมชน ลูกหลานชาวเขมรถ่ินไทยจะไดใ้ ชอ้ ่านพร้อมกบั พ่อแม่ ป่ ูย่าตายายในบา้ น หรือผูใ้ หญ่ ใชส้ อนเดก็ กส็ ะดวกดี 3
ขอ้ มูลพืชที่นำ� มาเรียบเรียงในหนังสือ “เรียนภาษาเขมรถิ่นไทยแบบบูรณาการ” เป็นเพียงการนำ� เสนอพืชส่วนหน่ึงของป่ าตาเกาวท์ ี่เกบ็ บนั ทึกดว้ ยวดิ ีโอในระหวา่ งการทำ� โครงการวิจยั ฯ เน่ืองจากการบนั ทึกวิดีโอตอ้ งใชเ้ วลามาก รวมท้งั การถ่ายถอดเสียงทาง ภาษาศาสตร์จึงไม่สามารถนำ� เสนอพืชท้งั หมดได้ องคค์ วามรู้ที่ไดน้ ้ีไดร้ ับความร่วมมือ จากทีมวจิ ยั ชุมชนท่ีเป็นเจา้ ของภาษาไดท้ ำ� โครงการวจิ ยั เพอื่ ทอ้ งถ่ินควบคูก่ นั ไป อาจกล่าว ไดว้ ่า โครงการบนั ทึกความรู้ดา้ นพฤกษศาสตร์ในป่ าตาเกาว์ เป็ นความตอ้ งการของคน ในชุมชน จึงไดท้ ำ� โครงการวิจยั เพ่ือทอ้ งถิ่น ส่วนโครงการ “การบนั ทึกความรู้ทางดา้ น พฤกษศาสตร์ของกลมุ่ เขมรถนิ่ ไทยในรูปแบบดิจิทลั : การทำ� งานร่วมกนั ของนกั ภาษาศาสตร์ นกั พฤกษศาสตร์ และคนในชุมชน” ตอ้ งการต่อยอดในการบนั ทึกขอ้ มูลดว้ ยเครื่องมือท่ีมี คุณภาพสูงและเก็บในรูปแบบดิจิทลั เพื่อให้เก็บไดเ้ ป็ นเวลานาน และเป็ นการอนุรักษ์ ภาษา-วฒั นธรรมทอ้ งถิ่นรวมท้งั ต่อยอดทางดา้ นวชิ าการอีกดว้ ย 2. จุดประสงค์และประโยชน์ของหนังสือ จุดประสงค์หลกั คือ เป็ นแบบเรียนภาษาเขมรถิ่นไทย ซ่ึงเป็ นภาษาทอ้ งถิ่นท่ีใช้ ระบบตวั เขียนอกั ษรไทยในการเขียน เน่ืองจากอกั ษรเขมรไม่เหมาะกบั เยาชนเขมรถ่ินไทย เพราะมคี นอา่ นไดจ้ ำ� นวนนอ้ ยหรืออา่ นไมไ่ ดเ้ ลย แตอ่ กั ษรไทยน้นั เยาวชนทเี่ ขา้ เรียนในระบบ โรงเรียนของรัฐบาลไทยสามารถอ่านภาษาไทยได้ ซ่ึงเป็นการประยกุ ตใ์ ชอ้ กั ษรไทยเขียน แทนเสียงภาษาเขมรถน่ิ ทำ� ใหช้ าวเขมรถน่ิ ไทยไมต่ อ้ งเรียนวธิ ีการเขยี นใหม่ เพยี งแตต่ อ่ ยอด จากวธิ ีการประสมอกั ษรในภาษาไทยกส็ ามารถอา่ นได้และเมอื่ รูร้ ะบบเขยี นภาษาเขมรถน่ิ ไทย อกั ษรไทย หรือไดร้ ับการแนะนำ� เพยี งเลก็ นอ้ ยกส็ ามารถอา่ นภาษาเขมรถ่ินไทยในเล่มน้ีได้ อยา่ งคล่องแคล่ว จุดประสงค์รอง เป็ นหนังสือเรียนภาษาองั กฤษที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจำ� วนั ซ่ึงคำ� ศพั ทไ์ มย่ าก จงึ เหมาะกบั เยาวชนระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลาย หรือมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ สามารถใชเ้ ป็นแบบฝึกอา่ นนอกเวลาเรียนเพมิ่ เติมได้ ท้งั ยงั ไดร้ ับความรู้เก่ียวกบั พชื ทอ้ งถิ่น อีกประการหน่ึงดว้ ย จุดประสงคเ์ สริม เป็ นหนงั สือสำ� หรับบุคคลทวั่ ไปที่สนใจความรู้เรื่องพืชทอ้ งถิ่น ของเขมรถน่ิ ไทยในจงั หวดั สุรินทร์ เพราะมคี ำ� แปลความหมายเป็นภาษาไทย ท้งั ยงั มภี าพพชื ประกอบ รวมท้งั นักภาษาศาสตร์ท่ีสามารถอ่านสัทอกั ษรได้ จึงนับว่าเป็ นประโยชน์ แก่วงการภาษาศาสตร์อีกช้นั หน่ึง 4
3. ขอบเขตและข้อจำ� กดั ขอบเขตองคป์ ระกอบของหนงั สือเล่มน้ี มีจุดเนน้ 3 ส่วนดว้ ยกนั คือ (1) ความรู้เรื่องระบบตวั เขียนภาษาเขมรถ่ินไทยอกั ษรไทย เพ่ือให้ผูท้ ่ีตอ้ งการ เรียนรู้เขา้ ใจสัญญลกั ษณ์และวิธีการเขียนโดยสังเขป ซ่ึงผูท้ ่ีมีพ้ืนฐานความรู้ภาษาไทย จะสามารถอ่านไดใ้ กลเ้ คียงกบั เจา้ ของภาษา และแน่นอนว่าเจา้ ของภาษาที่รู้จกั คำ� ศพั ท์ ภาษาเขมรถิ่นไทยยอ่ มตอ้ งอ่านออกเสียงไดใ้ นภาษาของตนเอง (2) ชื่อพืชท่ีเป็ นภาษาเขมรถิ่นไทย พร้อมรูปภาพ บางชนิดอาจมีชื่อภาษาไทยดว้ ย แต่บางชนิดอาจจะไม่ทราบจึงไม่สามารถระบุภาษาไทยได้ ส่วนช่ือทางวทิ ยาศาสตร์ไดร้ ับ ความอนุเคราะห์จากนกั พฤกษศาสตร์ผไู้ ม่ประสงคอ์ อกนาม แต่ทีมวิจยั คิดวา่ มีประโยชน์ จึงนำ� มาใส่ไวด้ ว้ ย (3) บทสนทนาลกั ษณะของพชื และการใชป้ ระโยชนข์ องพชื แต่ละชนิด ซ่ึงประกอบ ดว้ ยภาษาเขมรถ่นิ ไทยอกั ษรไทย การถอดเสียงโดยใชส้ ทั อกั ษรสากล ความหมายภาษาไทย และความหมายภาษาองั กฤษ ขอ้ จำ� กดั ของเน้ือหาในเล่มมีหลายประการ ได้แก่ รูปพืช ควรมีให้หลากหลาย ส่วนประกอบ เช่น ส่วนใบ ราก ลำ� ตน้ ผล ดอก ฯลฯ แต่เน่ืองจากช่วงเวลาท่ีเก็บขอ้ มูล ในป่ าไม่สามารถทำ� ไดท้ ุกฤดูกาล พชื บางชนิดช่วงเวลาท่ีเขา้ ป่ าอาจจะไม่พบ หรือไม่ใช่ฤดู ที่มีดอก มีผล ก็ไม่สามารถเก็บภาพไดค้ รบ ในส่วนของรายละเอียดของพืชและการใช้ ประโยชนใ์ นบทสนทนาควรจะมีความหลากหลาย และมีความยาวมากกวา่ น้ี แต่เนื่องจาก เจา้ ของภาษาไม่มีความชำ� นาญในการถามคำ� ถามที่หลากหลาย ดงั น้นั ในช่วงเริ่มตน้ จึงมกั จะเป็นประโยคเดิม ๆ อาจทำ� ใหผ้ อู้ า่ นเกิดความน่าเบอื่ ทวา่ หากอา่ นใหค้ รบทกุ ชนิด ในส่วน ของการใชป้ ระโยชน์ของพืชจะพบว่ามีความแตกต่างกนั จึงทำ� ให้ไดร้ ับคำ� ศพั ทใ์ หม่ ๆ เพิ่มเติมแมจ้ ะจำ� นวนไม่มากแต่กไ็ ดเ้ พิ่มจากพชื ทุกชนิด 4. ระบบตวั เขยี นภาษาเขมรถนิ่ ไทยอกั ษรไทย ระบบตวั เขียนภาษาเขมรถ่ินไทยอกั ษรไทยอา้ งอิงจาก “คู่มือระบบเขียนภาษา เขมรถ่ินไทยอกั ษรไทย” ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2556 ซ่ึงจดั ทำ� โดยคณะกรรมการ จัดทำ� ระบบเขียนภาษาท้องถ่ินของกลุ่มชาติพนั ธุ์ด้วยอกั ษรไทย ส�ำหรับฉบับภาษา เขมรถนิ่ ไทยประกอบดว้ ยกรรมการจากราชบณั ฑติ ยสถาน นกั วชิ าการจากหลายมหาวทิ ยาลยั และผเู้ ช่ียวชาญภาษาเขมรถ่ินไทย ซ่ึงระบบเขียนฉบบั ราชบณั ฑิตฯ น้ีไดพ้ ฒั นาระบบเขียน 5
ที่ใชส้ �ำเนียงถิ่นสุรินทร์เป็ นส�ำเนียงกลางในการสร้างระบบเขียนดว้ ยอกั ษรไทยต้งั แต่ พ.ศ. 2531 แลว้ นำ� มาปรับปรุงให้เป็ น “คู่มือระบบเขียนภาษาเขมรถ่ินไทยอกั ษรไทย” เพอื่ เป็นมาตรฐานและใชก้ นั ในวงกวา้ งต่อไป ระบบเขียนภาษาเขมรถิ่นไทยอกั ษรไทยน้ี โรงเรียนบา้ นโพธ์ิกอง อำ� เภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ ไดน้ ำ� ไปประยกุ ตใ์ ชท้ ำ� สื่อการเรียนการสอนภาษาทอ้ งถ่ิน และงานวิจยั เพ่ือทอ้ งถิ่นต้งั แต่ปี พ.ศ. 2550 จึงมีผูเ้ ช่ียวชาญจำ� นวนหน่ึงเป็ นครูที่สอนอยู่โรงเรียน บา้ นโพธ์ิกอง แต่บางท่านก็เกษียณอายุไปแลว้ ท้งั น้ีทีมวิจยั ของโรงเรียนบา้ นโพธ์ิกอง ไดข้ ยายผล โดยนำ� ระบบเขียนน้ีไปเผยแพร่ในโรงเรียนและหมู่บา้ นใกลเ้ คียง รวมท้งั บา้ นขนาดปรีง ตำ� บลเช้ือเพลิง อำ� เภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ ซ่ึงเป็นพ้นื ท่ีวจิ ยั ในโครงการ “การบนั ทึกความรู้ทางดา้ นพฤกษศาสตร์ของกลุ่มเขมรถิ่นไทยในรูปแบบดิจิทลั : โดยการ ทำ� งานร่วมกนั ของนกั ภาษาศาสตร์ นกั พฤกษศาสตร์ และคนในชุมชน” ดว้ ย ความแตกตา่ ง ระดบั ภาษาถน่ิ ระหวา่ งบา้ นโพธ์ิกองกบั บา้ นขนาดปรีงหรือหมบู่ า้ นใกลเ้ คยี ง มเี พยี งเลก็ นอ้ ย สามารถส่ือสารกนั เขา้ ใจเป็ นส่วนมาก แต่จะมีเสียงแปรบางเสียงเท่าน้ัน ตวั อย่างเช่น รไซ ~1 รเซิย็ “ไมไ้ ผ”่ มรวย ~ มโรย ~ มรูย “หน่ึงร้อย” โบะ ~ เบาะ “ตำ� ” แวย็ ~ เวยิ ็ “ตี” มพี ~ มเพยิ ็ “ยสี่ ิบ” จากการสงั เกตพบวา่ มีเสียงแปรที่เป็นเสียงสระคอ่ นขา้ งมาก แตไ่ มเ่ ป็น ปัญหาในการใชร้ ะบบเขียนน้ี สรุประบบเขียนภาษาเขมรถิ่นไทยอกั ษรไทย ประกอบดว้ ย (1) พยญั ชนะตน้ ท่ีออกเสียงเหมือนพยญั ชนะไทย 21 ตวั ไดแ้ ก่ ก ค ง จ ช ซ ด ต ท น บ ป พ ฟ ม ย ร ล ว อ ฮ และพยญั ชนะที่ออกเสียงต่างจากภาษาไทย 1 ตวั คือ ญ (2) พยญั ชนะสะกดที่ออกเสียงเหมือนพยญั ชนะไทย 8 ตวั ไดแ้ ก่ ก ง ด น บ ม ย ว และพยญั ชนะสะกดท่ีออกเสียงต่างจากภาษาไทย 5 ตวั ไดแ้ ก่ จ ญ ร ล ฮ (3) พยญั ชนะตน้ ควบ ประกอบดว้ ยตวั อกั ษร 2 ตวั ตวั ที่อยู่ตำ� แหน่งท่ี 1 ไดแ้ ก่ ก ค จ ซ ต ท บ ป พ ส่วนตวั ที่อยตู่ ำ� แหน่งที่ 2 ไดแ้ ก่ ร ล ว ซ่ึงโดยปกติจะออกเสียงควบกนั โดยไม่มีระยะห่าง แต่บางคร้ังอาจออกเสียงมีระยะห่างได้ เช่น ตร�ำ “แช่” อาจออกเสียง เป็น [ตร�ำ หรือ ต-ร�ำ] (4) สระท่ีออกเสียงเหมือนสระไทย ไดแ้ ก่ –ะ –า –ิ –ี –ึ –ื –ุ –ู เ–ะ เ– แ–ะ แ– เ–อะ เ–อ โ–ะ โ– เ–าะ –อ เ–ียะ เ–ีย เ –อื ะ เ –อื –ัะ –วั –ำ� ไ– เ–า (5) สระท่ีออกเสียงไม่เหมือนสระไทย แต่ใกลเ้ คียงกบั สระไทย จึงใชส้ ระท่ีเสียง ใกลเ้ คียง 1 ~ เป็นสญั ลกั ษณ์ท่ีหมายถึง การแปรเสียง 6
แลว้ เติมเครื่องหมายจุด ( –ฺ ) เพิ่มเติมใตส้ ระที่มี อ ประกอบ หรือใตต้ วั อกั ษรท่ีสระไม่มี อ ประกอบ เช่น ปเรอฺ “ใช”้ เดฺิม “ตน้ ” ซเลอฺะ “ใบ” ลือฺ “ขา้ งบน” ตารางสรุประบบตวั เขยี นภาษาเขมรถน่ิ ไทยอกั ษรไทย และสัทอกั ษรสากล ในเชิงภาษาศาสตร์ การอธิบายเรื่องเสียงพยญั ชนะ จะตอ้ งประกอบดว้ ย ลกั ษณะ การออกเสียง ตำ� แหน่งการเกิดเสียง และการสนั่ (โฆษะ) ของเสน้ เสียง โดยบางเสียงจะแยก ดว้ ยการพน่ ลมหรือไม่พน่ ลมดว้ ย ดงั น้นั ในตารางขา้ งล่างน้ีจะใชอ้ กั ษรไทยควบคู่กบั สทั อกั ษรสากล ในการแสดงเสียงต่าง ๆ ดงั น้ี ลักษณะการออกเสยี ง ตำ�แหนง่ เกิดเสียง เสน้ เสียง ริมฝปี าก ปมุ่ เหงือก เพดาน เพดาน อ/ʔ อโฆษะ เสยี งหยุด ไม่พน่ ลม แข็ง อ่อน เสยี ง อโฆษะ พน่ ลม ป/p ต/ t จ/c ก/k เสียดแทรก โฆษะ พ / pʰ ท / tʰ ช / cʰ ค / kʰ ฟ/f บ/b ด/d ซ/s ฮ/h เสียงขา้ งลิ้น ล/ l เสนี งนาสิก ม / m น / n ญ / ɲ ง / ŋ เสียงลิ้นรัว ร/ r เสียง ว/w ย/ j อรรธสระ 7
ตารางสระ ตำ� แหน่งลนิ้ หลงั ระดบั ลนิ้ หน้า กลาง –ุ / u –ู / uu –ิ / i –ี / ii –ึ / ɨ – / ɨɨ สูง ก่ึงสูง –.ิ / ɪ –ี. / ɪɪ –.ึ / ɤ –. / ɤɤ –ุ. / ʊ –.ู / ʊʊ กลาง เ–ะ / e เ– / ee เ–อะ / ə เ–อ/ əə โ–ะ / o โ– / oo ก่ึงต่ำ� แ–ะ / ɛ แ– / ɛɛ เ–อฺะ / ʌ เ–อฺ/ ʌʌ เ–าะ / ɔ –อ / ɔɔ ต่ำ� –ะ / a –า / aa เ–.าะ /ɒ –อฺ / ɒɒ สระประสม เ–ยี ะ / iə เ–ยี / iiə เ –อื ะ / ɨə เ –อื / ɨɨə –ะั / uə –ัว / uuə หลกั ในการเขยี นภาษาเขมรถน่ิ ไทยอกั ษรไทย คำ� ในภาษาเขมรถ่ินไทยส่วนใหญ่เป็ นคำ� พยางค์เดียวและคำ� สองพยางค์ และคำ� หลายพยางคแ์ ต่กม็ ีจำ� นวนนอ้ ย คำ� พยางคเ์ ดียว เขียนตามอกั ขระวธิ ีเขียนภาษาไทย เช่น ตึก “น้ำ� ” รึฮ “ราก” คำ� ท่ีมีเสียงควบก็เขียนตามอกั ขระวิธีไทย ยกเวน้ บางสระที่มี เ– และ โ– ไ– เป็ นส่วนประกอบ ให้วางพยญั ชนะตน้ ที่ 1 อยูห่ นา้ รูปสระ เ– และ โ– ไ– เน่ืองจากภาษา เขมรถิ่นไทยมีตวั สะกดท่ีออกเสียงต่างจากภาษาไทย ซ่ึงอาจทำ� ให้เกิดความเขา้ ใจผิดได้ จึงกำ� หนดใหเ้ ขียนต่างจากอกั ขระวิธีไทย เช่น กเร “แคร่” ถา้ เขียนเป็ น เกร จะสับสนกบั คำ� ที่มีเสียงสะกด –ร ในภาษาเขมรถ่ินไทย คำ� ท่ีมีสระเสียงส้ันประกอบ ให้เพิ่มไมไ้ ต่คู้ และเขียนเรียงต่อจากสระบน (ถา้ มี) เช่น เมือด็ “ปาก” ซเรฺิว็ “ขา้ วเปลอื ก” เพอ่ื ความสะดวกในการพมิ พค์ อมพวิ เตอร์ ซ่ึงบางฟ้อนท์ พมิ พไ์ ด้ บางฟ้อนทพ์ ิมพไ์ ม่ได้ 8
คำ� สองพยางค์ ทม่ี พี ยญั ชนะตน้ สองตวั เรียงกนั จะไมใ่ ส่สระ –ะ หลงั พยญั ชนะตวั แรก เช่น ชดำ� “ขวา” ทนำ� “ยา” คยอ็ ล “ลม” คำ� ท่ีมีพยญั ชนะตน้ สามตวั เรียงกนั โดยพยญั ชนะสองตวั แรกออกเสียงควบกนั จะใส่สระ –ะ หลงั พยญั ชนะตวั ท่ีสอง เช่น ตระเซฺาะ “แตงกวา” คำ� ทมี่ พี ยญั ชนะตน้ สามตวั เรียงกนั แตอ่ อกเสียงควบตวั ทสี่ องกบั สาม จะใส่สระ –ะ หลงั พยญั ชนะตวั แรก เช่น ซะกร็อฺม “ไมแ้ ดง” คำ� หลายพยางคใ์ หเ้ ขียนติดกนั เช่น กนั ตุมรุย “แมลงปอ” คำ� ประสมและคำ� ซอ้ น ใหเ้ ขยี นตดิ กนั เช่น บอฺงปโอน “พนี่ อ้ ง” ชนงั บาย “หมอ้ ขา้ ว” การเขียนประโยคและขอ้ ความภาษาเขมรถ่ินไทย ใหเ้ ขียนเวน้ วรรคเป็นคำ� ๆ เพ่ือใหอ้ ่าน ง่าย เช่น ภาษาเขมรถิ่นไทย : หน่ึง เดฺิม นิฮ กฺี เฮา เดฺิม ซเดิย็ นิฮ? ภาษาไทย : หน่ึง ตน้ น้ีเขาเรียกวา่ ตน้ อะไร? หมายเหตุ รายละเอียดปลีกย่อยอื่น ๆ หากผูใ้ ดสนใจ สามารถอ่านและทำ� ความเขา้ ใจ เพ่ิมเติมไดจ้ าก “คู่มือระบบเขียนภาษาเขมรถ่ินไทยอกั ษรไทย” ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2556 5. พืชในป่ าตาเกาว์และบทสนทนาเกยี่ วกบั ประโยชน์การน�ำไปใช้ ในส่วนน้ีจะเป็ นความรู้เรื่องพืชและการใช้ประโยชน์จากพืชในป่ าตาเกาว์ ซ่ึงประกอบดว้ ย ชื่อพืชเป็ นภาษาเขมรถ่ินไทย หากมีภาษาไทยจะใส่ช่ือภาษาไทยไว้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ บทสนทนาเก่ียวกบั พชื แตล่ ะชนิดดว้ ยภาษาเขมรถิ่นไทย ถา่ ยถอดเสียงดว้ ย สทั อกั ษรสากล ความหมายภาษาไทย และความหมายภาษาองั กฤษ ส่วนรูปน้นั บางรูปจะมี แถบสี และมาตรวดั ประกอบอยใู่ นภาพ เพื่อใชเ้ ทียบสีและขนาด เพราะการถ่ายภาพใกล้ ไกล ขยาย จะมีผลใหภ้ าพน้นั ต่างจากความจริง ตวั อย่าง ตา นิฮ กฺี เฮา ทา เดฺิม ซเดิย็ นิฮ ภาษาเขมรถิ่นไทย taa nih kɪɪ haw tʰaa dʌʌm sadəj nih สทั อกั ษรสากล ภาษาไทย ตา น้ีเขาเรียกวา่ ตน้ อะไร? ภาษาองั กฤษ Granpa, how do they call this one? 9
พืชในป่ าตาเกาว์และบทสนทนา เกยี่ วกบั ประโยชน์การน�ำไปใช้ เล่ม 2 10
5.31) กคบซเราะ /kakʰopsrɔʔ/ ชื่อไทย ตะขบบา้ น ช่ือวงศ์ Muntigiaceae ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Muntingia calabura L. ประโยชน์ ผลกินได้ มีรสชาติหวาน เป็นผลไมส้ มยั โบราณ เป็นสมุนไพรลดน้ำ� ตาลในเลือด 11
กคบซเราะ /kakʰopsrɔʔ/ 5 จา 1 ไป แพว นิฮ กฺี เฮา ทา อย เดฺิม ซเดิย็ caa paj pʰɛɛw nih kɪɪ haw tʰaa ʔoj ค่ะ dʌʌm sadəj Alright... นา้ แพวน่ีเขาเรียกวา่ อะไร ตน้ อะไร? 6 Anutie Phaew, how do they call เกฺิด ทนำ� อย คลฮั นะ? this one? What’s this plant? kʌʌt tʰanam ʔoj kʰlah naʔ 2 เดฺิมกคบซเราะ นิฮ นะ เป็นยาอะไรไดบ้ า้ ง? dʌʌm kakʰopsrɔʔ nih naʔ Does it have any medical uses? น่ีตน้ ตะขบบา้ นนะ 7 เต มนั เดญ็ มนั เมียน ทนำ� เต เดญ็ ตา พแล This is ‘dʌʌm kakʰopsrɔʔ.’ เวยี โฮบ บาน 3 tee man deɲ man miiən tʰanam อ๋อ เวยี ดอฮ น็อง ซเราะ tee deɲ taa pʰlɛɛ wiiə hoop baan ʔɔɔ wiiə dɔɔh nɔŋ srɔʔ ไมร่ ูว้ า่ ทำ� ยาอะไรได้ รูแ้ ตว่ า่ ผลของมนั กนิ ได้ อ๋อ มนั ข้ึนในหมู่บา้ น I don’t know if it can be made Oh, can it be found in our into drug. But we can eat its village? fruits. 4 8 จา ดอฮ น็อง ซเราะ ตาม เมือด็ ตเปี ยง ตุม ปแอม เกอฺะ จเรฺิน tum paʔɛɛm caa dɔɔh nɔŋ srɔʔ taam mɨət tapiiəŋ kʌʔ crʌʌn ผลสุกหวาน ค่ะ ข้ึนในหมู่บา้ น ตามปากหนองน้ำ� กเ็ ยอะ The ripe fruit is sweet. Yes, it can. It grows in the village. Around pond or marsh. 12
9 12 โกนกเมญ ชอฺบ แบฮ็ โฮบ เดฺิม อย อรั มนั บาน เต? koonkameeɲ chɒɒp bɛh hoop dʌʌm ʔoj ʔar man baan tee เดก็ ๆ ชอบเกบ็ กิน ตน้ ของมนั เล่ือยไม่ไดใ้ ช่ไหม? Children like to eat them. Can this plant be sawn into pieces? 10 13 อา ตุม ซี กฮอฺม เนาะ เต เวยี มนั เมียน เดฺิม ทม เต ʔaa tum sii kahɒɒm nɔʔ tee wiiə man miiən dʌʌm tʰom tee ผลสุกสีแดงใช่ไหม ไม่ได้ มนั ไม่มีตน้ ใหญ่ The ripe ones are red, aren’t they? No, it cannot. It’s not a big plant. 11 จา caa ค่ะ Yes. 13
4.32) กทนิ นรงเยยี ะ /katʰinnaroŋjiəʔ/ ชื่อไทย กระถินณรงคย์ กั ษ์ ชื่อวงศ์ Fabaceae ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Acacia auriculiformis A. Cunn. ex Benth. ประโยชน์ ส่วนของลำ� ตน้ ใชท้ ำ� เฟอร์นิเจอร์ สร้างบา้ นกไ็ ด้ 14
กทนิ นรงเยยี ะ /katʰinnaroŋjiəʔ/ 5 เดฺิม กฺี กดั อรั เทอ เฟอร์นิเจอร์ บาน 1 ไป แพว นิฮ กฺี เฮา ทา เดฺิม ซเดิย?็ dʌʌm kɪɪ kat ʔar tʰəə fəənicəə baan paj pʰɛɛw nih kɪɪ haw tʰaa dʌʌm sadəj เขาเล่ือยตน้ ของมนั ไปทำ� เฟอร์นิเจอร์ได้ นา้ แพว น่ีเขาเรียกวา่ ตน้ อะไร? People cut it down to make furniture. Auntie Phaew, how do they call this plant? 6 เกฺิด เดฺิมเชอ เดฺิมเชอ เศรษฐกิจ 2 เดฺิมกทินนรงเยยี ะ kʌʌt dʌʌmcʰəə dʌʌmcʰəə seettʰakit dʌʌmkatʰinnaroŋjiəʔ เป็นตน้ ไมเ้ ศรษฐกิจ ตน้ กทินนรงยกั ษ์ It is economic wood. It is ‘dʌʌmkatʰinnaroŋjiəʔ.’ 7 3 เจีย เดฺิม นิฮ อ๋อ เดฺิม เวยี ทม ปันนา ไป แพว? ciiə dʌʌm nih ʔɔɔ dʌʌm wiiə tʰom pannaa paj pʰɛɛw ตน้ น้ีดี อ๋อ ตน้ ของมนั ใหญ่ขนาดไหนนา้ แพว? This one is good. Well, how big is it, Auntie 8 Phaew? กฺี ตอ็ ง กฺี กดั ดอ็ ด คยงู อย นุฮ น็อฮ? 4 kɪɪ tɔŋ kɪɪ kat dɔt kʰajuuŋ ʔoj อ๋อ เบอฺ ตุก เกอฺะ ตาทม เฮย nuh nɔh ʔɔɔ bʌʌ tuk kʌʔ taatʰom həəj ตน้ น้ีท่ีเขาชอบตดั เอาไปเผาถ่านใช่ไหม? อ๋อ ถา้ เอาไวต้ น้ มนั กใ็ หญ่ Is it this one that people usually take it to make charcoal? Well, if we let it grow, it will become quite huge. 15
9 13 จา กฺี กดั ดอ็ ด คยงู เดฺิม ทม ๆ เกฺิด เงียย นฮั น็อง ซเราะ ยฺงื เดิย็ ยาง แจฮ็ caa kɪɪ kat dɔt kʰajuuŋ dʌʌm kʌʌt ŋiiəj nah nɔŋ srɔʔ jɤɤŋ tʰom tʰom dəj jaaŋ cɛh ค่ะ เขาตดั เอาตน้ ใหญ่ ๆ ไปเผาถ่าน มนั ข้ึนง่ายไหมในหมู่บา้ นของเรา ดินอยา่ ง น้ี? Yes, they take the big logs to make charcoal. Does it grow easily in our village, on this kind of soil? 10 เมจ เดฺิม นา ทม ๆ กฺี เทอ เฟอร์นิเจอร์ เทอ 14 โตะ เกาอี อย ลออฺ โอ้ ซเราะ ยฺงื ดำ� เงียย meec dʌʌm naa tʰom tʰom kɪɪ ʔoo srɔʔ jɤɤŋ dam ŋiiəj tʰəə fəənicəə tʰəə toʔ kawʔii ʔoj laʔɒɒ โอย้ บา้ นของเราปลูกง่าย ก่ิงใหญ่ ๆ เขาทำ� เฟอร์นิเจอร์ ทำ� โตะ๊ และ Oh, our village is a good place to เกา้ อ้ีสวย grow it. The big branch can be made into 15 furniture. Those beautiful tables เดฺิม นิฮ and chairs. dʌʌm nih 11 เดฺิม เวยี คเมา ตน้ น้ี dʌʌm wiiə kʰamaw This plant... ตน้ ของมนั สีดำ� 16 น็อง ซแร เมียน นฮั ? Its wood is black. nɔŋ srɛɛ miiən nah 12 คเลม็ เวยี ลออฺ ในที่นามีไหม? kʰlem wiiə laʔɒɒ Can it be found in the rice fields? แก่นไมข้ องมนั สวย 17 เมียน Its heartwood is beautiful. miiən 16
มีสิ 22 เมียน ประยอจ อย ตฺีด เต? ปันแน็ฮ แอญ? Yes, it can. miiən prajɔɔc ʔoj tɪɪt tee 18 pannɛh ʔɛɛɲ เมียน เวยี ดอฮ ทวั่ ไป เฮย น็อฮ? มนั มีประโยชนอ์ ะไรอีกไหม? เท่าน้ีเหรอ? miiən wiiə dɔɔh tʰuuəpaj həəj nɔh Anything else for its use? Is that all? มีข้ึนทว่ั ไปใช่ไหม? 23 They naturally grow around our ปันแน็ฮ เฮย ประยอจ เคิน็ เดฺิม นิฮ village, right? pannɛh həəj prajɔɔc kʰən 19 dʌʌm nih จา เวยี รซดั กเรือบ็ ทเลยี ะ โม เวยี เกอฺะ ดอฮ ประโยชนข์ องตน้ น้ีมีเท่าน้ีแหละ caa wiiə rasat krɨəp tʰliəʔ moo wiiə kʌʔ dɔɔh That’s all for its use. ค่ะ เมลด็ ปลิวตกลงมามนั กข็ ้ึน Yes, when the wind blows its seeds away and they fall down, it grows easily anywhere. 20 จา เมียน กรุบฺ บาน น็อฮ? caa miiən krʊp baan nɔh มีทุกท่ีใช่ไหม? It grows everywhere, right? 21 จา caa ค่ะ Yes. 17
5.33) กตุยจูน /katujcuun/ ช่ือไทย - ชื่อวงศ์ - ชื่อวทิ ยาศาสตร์ - ประโยชน์ เป็นสมุนไพร ใชส้ ่วนรากตม้ กินเป็นยากษยั เสน้ 18
กตุยจูน /katujcuun/ ฉนั ไม่เคยรู้วา่ ประโยชนท์ างยาของมนั ทำ� อะไรไดบ้ า้ ง 1 ไป แพว นิฮ กฺี เฮา ทา เดฺิม ซเดิย?็ I don’t know what its medical use is. paj pʰɛɛw nih kɪɪ haw tʰaa dʌʌm sadəj 5 เดญ็ ตา พแล เวยี โฮบ บาน จอ็ ด ๆ นา้ แพว นี่เขาเรียกวา่ ตน้ อะไร? deɲ taa pʰlɛɛ wiiə hoop baan Auntie Phaew, how do they call cɔt cɔt this plant? รู้วา่ ผลของมนั กินแลว้ ฝาด ๆ 2 เดฺิมกตุยจูน But I know that its fruit tastes a bit acidulous. dʌʌmkatujcuun 6 ตน้ กตุยจูน โฮบ บาน ตอน ตรา? It is called ‘dʌʌmkatujcuun.’ hoop baan tɔɔn traa 3 กินไดต้ อนไหน? อ๋อ เดฺิม กตุยจูน ประยอจ ทนำ� เทอ อย บาน คลฮั ? When should we eat it? ʔɔɔ dʌʌm katujcuun prajɔɔc 7 tʰanam tʰəə ʔoj baan kʰlah กเดิบ็ เวยี รเดิว็ แค ทเลียะ พลฺีญ อ๋อ ตน้ กตุยจูน มนั เอาทำ� ยาอะไรไดบ้ า้ ง? kadəp wiiə radəw kʰɛɛ tʰliəʔ pʰlɪɪɲ Oh, well, it is ‘dʌʌmkatujcuun.’ Can it be used as medicine? ลูกอ่อนของมนั จะกินไดก้ ต็ อนฤดูฝน 4 We can find the young fruits เต ประยอจ ทนำ� มนั กฺืย เดญ็ ทา กฺี เทอ only in the rainy season. อย บาน เต 8 tee prajɔɔc tʰanam man kɤɤj ปซาฮ นิฮ เฮย deɲ tʰaa kɪɪ tʰəə ʔoj baan tee pasaah nih həəj 19
ฤดูฝน (เดือนพฤษภาคม) น้ีแหละ 13 มนั เซิว็ เมียน อารา เก โฮบ เต มนั เซิว็ In the rainy season (around May). เมียน อารา รุฮ ดบ 9 man səw miiən ʔaaraa kee hoop เวยี จะ เมียน พแล กเดิบ็ tee man səw miiən ʔaaraa ruh dop wiiə caʔ miiən pʰlɛɛ kadəp ไม่ค่อยมีใครกินหรอก เพราะเขาไม่ค่อย เขา้ ป่ ากนั มนั จะมีผลอ่อน People don’t usually eat it because The young fruits will come out. they hardly go into the forest. 10 14 ตุม เวยี โฮบ บาน นะ จอ็ ฮ? เวยี ดอฮ น็อง ดบ? tum wiiə hoop baan naʔ cɔh wiiə dɔɔh nɔŋ dop แลว้ ผลสุกของมนั กินไดไ้ หม? มนั ข้ึนในป่ าเหรอ? Can we eat them when they Does it grow in the forest? ripen? 15 11 จา ดอฮ น็อง ดบ ตุม เวยี โฮบ บาน caa dɔɔh nɔŋ dop tum wiiə hoop baan ค่ะ มนั ข้ึนในป่ า ผลสุกของมนั กก็ ินได้ Yes, it grows in the forest. Yes, you can. 12 จอ็ ด ๆ ปแอม ๆ cɔt cɔt paʔɛɛm paʔɛɛm ฝาด ๆ หวาน ๆ They taste quite acidulous and sweet. 20
5.34) งบปรฺี /ŋopprɪɪ/ ขนหมา ช่ือไทย Phyllanthaceae ช่ือวงศ์ Breynia fruticosa (L.) Müll. Arg ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ใชย้ อดอ่อนสดหรือลวกจิ้มน้ำ� พริกกิน ประโยชน์ หรือนำ� ไปแกง 21
งบปรฺี /ŋopprɪɪ/ 5 ยวั เติว็ ซนั ลอ โฮบ เกอฺะ ตาบาน 1 หน่ึง อานิฮ กฺี เฮา เดฺิม งบ เมนนฮั ? juuə təw sanlɔɔ hoop kʌʔ taabaan nɨŋ ʔaanih kɪɪ haw dʌʌm ŋop meennah เอาไปแกงกไ็ ด้ หน่ึง อนั น้ีเขาเรียกตน้ งบใช่ไหม? It can be ingredient for cooking curry. Neung, do they call this plant ‘ŋop’? 6 ไป แพว กฺืย โฮบ ตา งบซเราะ 2 จา งบปรฺี ไป แพว paj paew kɤɤj hoop taa ŋopsrɔʔ caa ŋopprɪɪ paj paew นา้ แพวเคยกินแต่ตน้ งบตามบา้ น ค่ะ ตน้ งบป่ า นา้ แพว I used to eat only the one that Yes, it’s ŋopprɪɪ, Auntie Phaew. grows around my house. 3 7 กฺี เทอ อย คลฮั ? พแล กดล กดล kɪɪ tʰəə ʔoj kʰlah pʰlɛɛ kadol kadol เขาเอาไปทำ� อะไรบา้ ง? ผลกลมๆ How do they use it? It has a round fruit. 4 8 ตรูยฺ กแจย็ เวยี นิฮ ยวั เติว็ จรัวะ บาน จา เวยี เกอฺะ เมียน รสชาติ แดจ็ ๆ ตา คเนีย นุฮ เฮย จา trʊʊj kacɛj wiiə nih juuə təw cruəʔ baan caa wiiə kʌʔ miiən rotcʰaat dɛc dɛc taa kʰaniiə nuh həəj ยอดอ่อนของมนั เอาไปจิ้มน้ำ� พริกได้ caa We can eat its young top leaves. ค่ะ มนั กม็ ีรสชาติคลา้ ย ๆ กนั นน่ั แหละค่ะ We dip them with chili paste. Yes, the one I found in my garden 22 has a similar taste to this one.
9 13 แต เพียง ตา อานิฮ เวยี เกฺิด อฺี ดบ ซเลอฺะ ตุม รเอล็ รเอล็ น็อฮ? tɛɛ pʰiiəŋ taa ʔaanih wiiə kʌʌt slʌʔ tum raʔel raʔel nɔh ʔɪɪ dop ใบแก่มนั จะล่ืน ๆ ใช่ไหม? แค่อนั น้ีมนั ข้ึนในป่ า Its mature leaves are smooth, But this one grew in the forest. aren’t they? 10 14 เดฺิม เวยี ทม กนั ทุบรุบ นฮั ? จา dʌʌm wiiə tʰom kantʰuprup caa nah ค่ะ ตน้ ของมนั ใหญ่แผก่ ิ่งกา้ นสาขาไหม? Yes. Is its stem big? Does it spread 15 its branches widely? จรัวะ จงญั 11 cruəʔ caŋaɲ จา เป็นผกั จิ้มอร่อย caa It’s good as vegetable side dishes. ค่ะ 16 Yes, it does. ปคลฮั เกอฺะ เวยี แจญ็ ลวญี แตจ็ แตจ็ 12 pakʰlah kʌʔ wiiə cɛɲ lawiiɲ tɛc tɛc เบอฺ ลออฺ เกอฺะ ลิก กบาล แดจ็ ทา จอ็ ฮ เฮย บางทีกม็ ีรสขมหน่อย ๆ bʌʌ laʔɒɒ kʌʔ lik kabaal dɛc tʰaa cɔh həəj Some also taste bitter. ถา้ ตน้ มนั สวยกส็ ูงท่วมหวั เหมือนกนั 17 ปเดฺิม นา เกอฺะ มนั ลวญี If it grows up well, it will be taller than our head. padʌʌm naa kʌʔ man lawiiɲ บางตน้ กไ็ ม่ขม Some don’t. 23
18 20 เทอ ทนำ� บาน นฮั ? แดล็ กฺี เกฺิด มลวั ะ tʰəə tʰanam baan nah dɛl kɪɪ kʌʌt maluəʔ ใชท้ ำ� ยาไดไ้ หม? เพราะมนั เป็นผกั จิ้ม Can it be made into medicine? Because it’s just a kind of vegetable 19 side dish. เต มนั แดล็ ลฺือ ทา กฺี เทอ ทนำ� อย tee man dɛl lɤɤ tʰaa kɪɪ tʰəə tʰanam ʔoj ไม่เคยไดย้ นิ เขาวา่ ทำ� ยาอะไรได้ I have never heard people use it as drug. 24
5.35) จงั กว็ งฮีญ /caŋkuəŋhiiɲ/ ช่ือไทย - ช่ือวงศ์ - ชื่อวทิ ยาศาสตร์ - ประโยชน์ เป็นสมุนไพร ใชร้ ากตม้ ใส่กระเทียม พริกไทย กินน้ำ� สำ� หรับผหู้ ญิงอยไู่ ฟ และเป็นยากษยั เสน้ 25
จงั กว็ งฮีญ /caŋkuəŋhiiɲ/ 5 กปัวฮ็ ซเมอ จงั กว็ ง 1 หน่ึง กฺี เฮา ซเดิย็ ตูจ ซแญะ ซแญะ kapuəh saməə caŋkuəŋ nɨŋ kɪɪ haw sadəj tuuc saɲɛʔ สูงเท่าหวั เข่า saɲɛʔ It is as tall as our knees. หน่ึง นี่เขาเรียกอะไร ตน้ มนั เล็ก ๆ เป็นกลุ่มกอ้ นแน่นๆ (เตม็ ไปหมด) 6 ปเรอฺ การ ปเรอฺ ประยอจ อย บาน คลฮั ? Neung, how do they call this one? It’s quite small and tightly prʌʌ kaar prʌʌ prajɔɔc ʔoj clumped. baan kʰlah 2 ใชป้ ระโยชนอ์ ะไรไดบ้ า้ ง? นิฮ เฮย กฺี เฮา ทา จงั กว็ งฮีญ How can they make use of it? nih həəj kɪɪ haw tʰaa caŋkuəŋhiiɲ 7 กฺี ยวั ตอ็ ง เดฺิม ตอ็ ง รึฮ นี่เขาเรียกวา่ จงั กว็ งฮีญ kɪɪ juuə tɔŋ dʌʌm tɔŋ rɨh People call it ‘caŋkuəŋhiiɲ.’ เขาเอาท้งั ตน้ ท้งั ราก 3 เดฺิม เวยี ทม นฮั ? They take both of its stem and root. dʌʌm wiiə tʰom nah 8 โม ซงอร เพอฺะ ตน้ ของมนั ใหญ่ไหม? moo saŋɔɔr pʰʌʔ Is it big? มาตม้ ด่ืม 4 เดฺิม เวยี มนั เซิว็ ทม บลา เต To boil and drink. dʌʌm wiiə man səw tʰom 9 blaa tee โกน ซแร็ย นา เนิวพ็ เลฺิง มนั คเลียน โฮบ บาย นฮั ตน้ ของมนั ไม่ค่อยใหญ่หรอก koon srɛj naa nəwpʰlɤɤŋ man It is not that big. kʰliiən hoop baaj nah 26
ผหู้ ญิงคนไหนที่อยไู่ ฟแลว้ กินขา้ วไม่ได้ 13 ปันแน็ฮ เฮย ทา This medicine is for those women who have a bad appetite while pannɛh həəj tʰaa they are in the confinement after childbirth. แค่น้ีเหรอ? 10 Is that all? ซงอร เพอฺะ เติว็ เกอฺะ คเลียน โฮบ บาย 14 saŋɔɔr pʰʌʔ təw kʌʔ kʰliiən จา เกฺิด ทนำ� ปันแน็ฮ เฮย จงั กว็ งฮีญ hoop baaj caa kʌʌt tʰanam pannɛh həəj ตม้ ด่ืมแลว้ จะกินขา้ วได้ caŋkuəŋhiiɲ Drinking this decoction will help ค่ะ มนั เป็นยาแค่น้ีแหละ ตน้ จงั กว็ งฮีญ them to eat well. Yes, that’s all for its medical use. 11 ออย เมียน ตึก ดอ็ ฮ ออย โกนเมม็ ʔɔɔj miiən tɨk dɔh ʔɔɔj koonmem แลว้ กใ็ หม้ ีน้ำ� นมใหล้ ูกดื่ม Also it helps increase breast milk for their baby. 27
4.36) จงั กร็องซวา /caŋkrɔŋswaa/ ชื่อไทย - ช่ือวงศ์ Fabaceae ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Crotalaria sp. ประโยชน์ ใชร้ ากกินสด หรือตำ� กินกบั หมาก หรือใชร้ ากเค้ียวกบั หมากเป่ าแกพ้ ิษแมลงกดั ต่อย 28
จงั กร็องซวา /caŋkrɔŋswaa/ 5 จจี บาน ยวั โม ซงอร นอ็ ง กนั ตรุม กนั ตร็วง 1 ทนำ� แก เตือฮ็ ไป แพว นิฮ กฺี เฮา ทา เดฺิม ซเดิย?็ ciic baan juuə saŋɔɔr nɔŋ paj pʰɛɛw nih kɪɪ haw tʰaa kantrum kantruəŋ tʰanam dʌʌm sadəj kɛɛ tɨəh นา้ แพว น้ีเขาเรียกวา่ ตน้ อะไร? ขดุ ไดก้ เ็ อามาตม้ กบั กนั ตรุม และกนั ตร็วง เป็นยาแกผ้ ดิ สำ� แดง Auntie Phaew, how do they call this plant? Dig them up to boil with ‘kantrum’ and ‘kantruəŋ’. They can heal food 2 allergy. เดฺิมจงั กร็องซวา นิฮ นะ 6 dʌʌmcaŋkrɔŋswaa nih naʔ โกนซแร็ย ยฺงื เนิว็ พลฺงื เกอฺะ ซงอร แก เตอื ฮ็ น้ีตน้ จงั กร็องซวา koonsrɛj jɤɤŋ nəw pʰlɤɤŋ kʌʔ saŋɔɔr kɛɛ tɨəh This one is ‘dʌʌmcaŋkrɔŋswaa.’ ลูกสาวของเราท่ีกำ� ลงั อยไู่ ฟ กต็ ม้ ดื่มแกผ้ ดิ 3 สำ� แดง อ๋อ แก ทนำ� อย คลฮั ? When my daughter was in ʔɔɔ kɛɛ tʰanam ʔoj kʰlah the confinement after childbirth, she drank she drank it to help อ๋อ มนั เป็นยาใชแ้ กโ้ รคอะไรบา้ ง? relieve allergy symptoms. Oh, what kind of drug can it be 7 made into? จา เมียน สรรพคุณ ปันแน็ฮ แอญ ไป แพว 4 caa miiən sappʰakʰun pannɛh รึฮ เวยี ยวั โม ʔɛɛɲ paj pʰɛɛw rɨh wiiə juuə moo ค่ะ มนั มีสรรพคุณแค่น้ีใช่ไหมนา้ แพว? รากของมนั เอามา Well, is that all for its medical use? We take its roots… 29
8 10 จา ปันน็อฮ เฮย เดฺิม ทม กเทียเรีย มนั เซิว็ กปัวฮ็ เต caa pannɔh həəj dʌʌm tʰom katʰiiəriiə man səw kapuəh tee ค่ะ เท่าน้นั แหละ ตน้ ใหญ่เป็นพมุ่ ไม่ค่อยสูงเท่าไร Yes, that’s all. It grows into a big bush, but not 9 too tall. เดฺิม เวยี ทม เปิ ฺน็นา? 11 dʌʌm wiiə tʰom pʌnnaa ซเมอ จงั กว็ ง ยฺงื ปันน็อฮ เฮย ตน้ ของมนั ใหญ่ขนาดไหน? saməə caŋkuəŋ jɤɤŋ pannɔh həəj Is it big? สูงเท่าหวั เข่าของเราเท่าน้นั แหละ It’s as tall as our knees. 30
5.37) ซเดา /sadaw/ สะเดา ช่ือไทย Meliaceae ชื่อวงศ์ Azadirachta indica A. Juss. ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ใบหมกั ทำ� ยาฆ่าแมลง รดผกั ประโยชน์ ดอกและยอดอ่อน เอามาจิ้มน้ำ� พริกเป็นยาระบาย 31
ซเดา /sadaw/ 5 ตรูยฺ เวยี จรัวะ บาน ปกา เวยี เกอฺะ จรัวะ 1 บาน ไป แพว นิฮ กฺี เฮา ทา ตรูยฺ ซเดิย?็ trʊʊj wiiə cruəʔ baan pakaa paj pʰɛɛw nih kɪɪ haw tʰaa wiiə kʌʔ cruəʔ baan trʊʊj sadəj ยอดอ่อนของมนั ใชจ้ ิ้มน้ำ� พริกได้ ดอกมนั นา้ แพว น้ีเขาเรียกวา่ ยอดอะไร? กใ็ ชจ้ ิ้มน้ำ� พริกได้ Auntie Phaew, how do they call We can dip the top leaves with this one? chili paste. Its flowers, as well. 2 6 ตรูยฺ ซเดา เป็น เบอฺ เกี่ยวกบั น็อง ทนำ� trʊʊj sadaw pen bʌʌ kiiəwkap nɔŋ tʰanam ยอดสะเดา ถา้ ใชเ้ ป็นยา It is ‘trʊʊj sadaw.’ If we want some drugs. 3 7 อ๋อ กฺี ยวั เติว็ เทอ อย บาน คลฮั ? ยฺงื โฮบ ซ็อฺบไง เกอฺะ เกฺิด ทนำ� รบาย ʔɔɔ kɪɪ juuə təw tʰəə ʔoj baan jɤɤŋ hoop sɒpŋaj kʌʔ kʌʌt kʰlah tʰanam rabaaj อ๋อ เขาเอาไปทำ� อะไรไดบ้ า้ ง? เรากินทุกวนั กเ็ ป็นยาระบาย Well, how do they use it? We can eat it everyday as a laxative. 4 8 เบอฺ เดฺิม ทม กฺี อรั เกฺิด กรืงลฺือ ปเตียฮ็ บาน รบาย แตจ็ ๆ เนาะ? bʌʌ dʌʌm tʰom kɪɪ ʔar kʌʌt rabaaj tɛc tɛc nɔʔ krɨɨŋlɤɤ patiəh baan เป็นยาระบายอ่อน ๆ ใช่ไหม? ถา้ ตน้ ใหญ่ เขาเลื่อยไปทำ� โครงหลงั คา บา้ นได้ It is a laxative, isn’t it? If it is big, they saw its log for house-building. 32
9 12 จา จอ็ ฮ เมียน รดชาด ยางจนา จรัวะ เติว?็ caa cɔh miiən rotcʰaat jaaŋcanaa cruəʔ təw ค่ะ แลว้ เวลาเราจิ้ม (กิน) มนั มีรสชาติอยา่ งไร? Yes, it is. And how does it taste when we dip 10 it with chili paste? มนั ทือ ตา จอ็ ฮปัวฮ็ คลงั เต เนาะ? 13 man tʰɨɨ taa cɔhpuəh kʰlaŋ tee ลวญี nɔʔ lawiiɲ มนั ไม่ไดท้ อ้ งเสียมากใช่ไหม? ขม You won’t have diarrhea, will you? Bitter. 11 14 เต ลวญี แต จงญั tee lawiiɲ tɛɛ caŋaɲ ไม่ค่ะ ขมแต่อร่อยค่ะ No. Bitter but good. 15 จา caa ค่ะ Well. 33
5.38) ซเบฺิว็ /sabʌw/ หญา้ คา ช่ือไทย Poaceae ชื่อวงศ์ Imperata cylindrica (L.) Raeusch. ช่ือวทิ ยาศาสตร์ สมุนไพร ใชร้ ากนำ� มาตม้ กินแกร้ ิดสีดวงทวาร ประโยชน์ ใบใชม้ ุงหลงั คา 34
ซเบฺิว็ /sabʌw/ 5 บงั เทอ กตว็ ม เทอ อย เกฺิด 1 ไป แพว นิฮ กฺี เฮา ทา อย? baŋ tʰəə katuəm tʰəə ʔoj kʌʌt paj pʰɛɛw nih kɪɪ haw tʰaa ʔoj มุงทำ� กระท่อม นา้ แพว น้ีเขาเรียกวา่ อะไร? Thatch for hut. Auntie Phaew, how do they call 6 this one? กตว็ ม ซแร อย ตา บาน 2 katuəm srɛɛ ʔoj taa baan เดฺิมซเบฺิว็ ที่ทุ่งนากไ็ ด้ dʌʌmsabʌw In the rice field. ตน้ ซเบฺิว็ 7 It is ‘dʌʌmsabʌw.’ เติว็ กรอฺง เกฺิด แพน ๆ เนาะ 3 təw krɒɒŋ kʌʌt pʰɛɛn pʰɛɛn nɔʔ อ๋อ กฺี ยวั เติว็ เทอ ประยอจ อย คลฮั ? ไปถกั เป็นแผน่ ๆ นะ ʔɔɔ kɪɪ juuə təw tʰəə prajɔɔc ʔoj kʰlah Weave them together. อ๋อ เขาเอาไปทำ� ประโยชนอ์ ะไรบา้ ง? 8 จา เวญ ๆ Oh, how do people use it? caa weeɲ weeɲ 4 ย้ี เบอฺ เวยี ดอฮ จเรฺิน กฺี จโรจ บาน กฺี ยวั ค่ะ ยาว ๆ เติว็ กรอฺง Well, those long roofs. jii bʌʌ wiiə dɔɔh crʌʌn kɪɪ crooc baan kɪɪ juuə təw krɒɒŋ 9 ประยอจ เกอฺะ เวเลีย เทอ บงั กตว็ ม บาน อืม ถา้ มนั มีมาก เขาเก่ียวไดก้ เ็ อาไปสาน ยฺงื เนิว็ เวยี ตเจียะ ทำ� หลงั คา prajɔɔc kʌʔ weeliiə tʰəə baŋ If they grow quite a lot, they can katuəm baan jɤɤŋ nəw wiiə cut those grasses to make thatch taciəʔ for roofs. 35
พอเอา(หญา้ )ไปมุงแลว้ เวลาเราอยมู่ นั กจ็ ะ ข้ึนท่ีป่ า ข้ึนท่ีตามคนั นา ถา้ คนั นาไหนที่ เยน็ สบาย มนั ข้ึน มนั กข็ ้ึนเยอะจริง ๆ When we use them as roofs, It grows in the woods and along the cabin will be comfortably cool. dykes in the rice fields. If you find them in any dykes, there will be 10 more of them. เวยี มนั กเดา 14 wiiə man kadaw เต เบอฺ เดฺริ จฺงื ตตี เกอฺะ เวยี ดอฮ โม เกอฺะ มดุ มนั ไม่ร้อน tee bʌʌ dʌʌr cɤɤŋ tatii kʌʔ That’s not hot. wiiə dɔɔh moo kʌʔ mut 11 ถา้ เดินเทา้ เปล่า พอมนั ข้ึนมากบ็ าดเทา้ ดอฮ อฺี ดบ จเรฺิน นะ? If we walk barefoot, it can cut dɔɔh ʔɪɪ dop crʌʌn naʔ our feet. มนั ข้ึนที่ป่ าเยอะไหม? 15 ชือ แดจ็ คเนีย Are there many of them growing up in the woods? cʰɨɨ dɛc kʰaniiə 12 เจบ็ เหมือนกนั รือ ดอฮ ยางนา? It quite hurts. rɨɨ dɔɔh jaaŋnaa 16 หรือข้ึนอยา่ งไร? เมียน ตอ็ ง ประยอจ เมียน ตอ็ ง โทด Or how does it grow? miiən tɔŋ prajɔɔc miiən tɔŋ tʰoot 13 ดอฮ อฺี ดบ ดอฮ ตาม พลอื ซแร เบอฺ พลอื ซแร มีท้งั ประโยชนแ์ ละโทษ นา เวยี ดอฮ เวยี ดอฮ เมนเตน They have both good and bad sides dɔɔh ʔɪɪ dop dɔɔh taam to them. pʰlɨɨsrɛɛ bʌʌ pʰlɨɨsrɛɛ naa wiiə dɔɔh wiiə dɔɔh meenteen 36
17 19 จา โทด เวยี ดอฮ โม ซรูจ ๆ เวยี เกอฺะ มุด อาซนิ เวญ ๆ เทอ กตว็ ม ซแร จฺืง ยฺงื นะ ʔaasaniʔ weeɲ weeɲ tʰəə caa tʰoot wiiə dɔɔh moo sruuc katuəm srɛɛ sruuc wiiə kʌʔ mut cɤɤŋ jɤɤŋ naʔ อนั ยาว ๆ ทำ� กระท่อมท่ีทุ่งนา คะ่ โทษของมนั กพ็ อมนั งอกข้นึ มาแหลม ๆ Long thatch can be used to roof มนั กจ็ ะบาดเทา้ เรานะ a hut in the rice field. Well, it’s bad because of its 20 sharp blades. It can cut our feet. ประยอจ เวยี จเรฺิน ปันแน็ฮ เฮย 18 prajɔɔc wiiə crʌʌn pannɛh həəj ประยอจ เวยี เกอฺะ กรอฺง เทอ ประโยชนข์ องมนั กเ็ ท่าน้ีแหละ prajɔɔc wiiə kʌʔ krɒɒŋ tʰəə That’s all for its use. ประโยชนข์ องมนั กค็ ือ ใชส้ านทำ� 21 It’s good because it can be เมียน ประยอจ ปันแน็ฮ เฮย หนอ? weaved into… miiən prajɔɔc pannɛh həəj nɔɔ มีประโยชนเ์ ท่าน้ีใช่ไหม? Is that all for its use? 22 จา ปันแน็ฮ เฮย caa pannɛh həəj ค่ะ เท่าน้ีแหละ Well, that’s all. 37
5.39) ซวาย ปรฺี /swaaj prɪɪ/ ช่ือไทย มะม่วงป่ า ชื่อวงศ์ Anacardiaceae ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Mangifera sp. ประโยชน์ สมุนไพร เอาเปลือกมาฝนกบั น้ำ� ซาวขา้ วเหนียว แกโ้ รคคางทูม บวมรากฟัน 38
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168