Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมรูปเล่มวิจัย

รวมรูปเล่มวิจัย

Published by Bunkaeo Koetkhwamsuk, 2019-06-22 00:40:53

Description: รวมรูปเล่มวิจัย

Search

Read the Text Version

1

2 คำนำ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท) ได้ถอดวิธีคิดเชิงออกแบบ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ตงั้ แต่การเข้าใจปญั หาในพื้นท่ี ระบุความต้องการใน การพัฒนาหาแนวทางแก้ไขปัญหา พัฒนาต้นแบบการพัฒนา และการทดสอบโดยกาหนดเป็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท) ต่อเนื่อง เชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา เพื่อสืบสาน รักษา และต่อยอด ตามรอย ศาสตร์พระราชา และเตรียมผู้เรียนตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงการศึกษาข้ันพื้นฐาน ให้มีโอกาสและ ความเสมอภาคในการศึกษาต่อและประกอบอาชพี ในอนาคตได้อย่างมั่นใจ เอกสารการถอดประสบการณ์การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาฉบับน้ี คงเป็นประโยชน์สาหรับ การนาไปประยุกต์ใช้พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ตามทิศทางการพัฒนาประเทศ “มั่นคง ม่ังค่ัง ยงั่ ยืน” ตอ่ ไป โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภูวทิ ยาประสาท) 7 กนั ยายน พ.ศ.2561

3 คำนยิ ม โครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทารูปแบบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตร ต่อเนื่อง เชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้ดาเนินการรับสมัครและพิจารณาคัดเลือกหลักสูตรต่อเน่ืองเช่ือมโยงท่ี เป็นหลกั สูตรสง่ เสริมและพฒั นาทักษะอาชพี เพื่อการส่งต่อการศึกษาในระดบั อาชวี ศกึ ษาและอุดมศึกษานัน้ หลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท) คือ หลักสูตร รู้เท่าทันดิจิทัล : Digital Disruptor ได้ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการคัดเลือก รวมท้ังผ่านการกากับ ติดตาม นิเทศ ให้ข้อเสนอแนะ และผ่านการนานิทรรศการของหลักสูตรมาจัดเวทีประชาคมนาเสนอให้กับ ตัวแทนโรงเรียนทั่วจังหวัดเชียงรายได้รับทราบ เรียนรู้ และให้ข้อเสนอแนะ เพ่ือการพัฒนาหลักสูตรของ โรงเรียนเรียบร้อยแล้วนั้น ถือว่าเป็นหลักสูตรท่ีทรงคุณค่าในการพัฒนาผู้เรียนในยุคสังคมแห่งการเรียนรู้ท่ีไร้ ขดี จากัดน้เี ปน็ อย่างยง่ิ สานกั งานศึกษาธิการจงั หวดั เชียงราย มคี วามมงุ่ หวังว่า หลักสตู รท่ผี ่านการพิจารณาน้ี จะเป็นแนวทาง ในการต่อยอดให้กับโรงเรียนต่างๆ ในจังหวัดเชียงราย หรือโรงเรียนที่สนใจ นาไปเป็นต้นคิดในการจัดทา หลักสูตรสถานศึกษา ที่มีลักษณะต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาต่อไป เพราะในอนาคตนั้น เราจาเป็นที่จะต้องเพ่ิมผู้เรียนในสายอาชีพในสัดส่วนที่สูงข้ึนกว่าปัจจุบันเพ่ือรองรับต่อ ภาวะการณ์เปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม และเศรษฐกิจ ดังน้ันสานักงานศึกษาธิการจึงมีความคาดหวังว่า หลักสูตรหลักสูตรรู้เท่าทันดิจิทัล : Digital Disruptor ของโรงเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์15 (เวียงเก่า แสนภวู ทิ ยาประสาทหลกั สูตรน้ี จะจดุ ประกายแนวคิดดังกล่าวให้กับโรงเรียนในพื้นท่ีของจังหวัดเชียงราย ให้มี การส่งเสริมผูเ้ รยี นสายอาชีพท่มี ากขน้ึ โดยคานึงถงึ ศกั ยภาพของนกั เรียนแตล่ ะคนเป็นสาคัญ ขอขอบคุณและชื่นชมผู้บริหาร คณะครู และบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนหลักสูตรโรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์15 (เวยี งเก่าแสนภูวทิ ยาประสาท) ทีไ่ ด้ร่วมด้วยช่วยกันในการพัฒนาหลักสูตรคร้ังน้ี และ คาดหวังเป็นอย่างย่ิงว่าหลักสูตรของโรงเรียนท่าน จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนใน พน้ื ท่จี ังหวัดเชยี งราย และโรงเรยี นทม่ี คี วามสนใจตอ่ ไป นพรตั น์ อทู่ อง ศึกษาธกิ ารจงั หวัดเชียงราย

4 บทที่ 1 ควำมเป็นมำและหลักกำร ปรัชญาการศึกษาตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จาก การวิเคราะห์พบวา่ ความหมายและขอบเขตของการศึกษา คือ การศึกษาเป็นกระบวนการ กิจกรรมของสังคม และรัฐ เพื่อการพัฒนาประชาชนและบุคคลพัฒนาตนเองให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน แก้ไขปัญหาได้อย่างเป็น ระบบ ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีเหตุผลตามยุคสมัยด้วยการพัฒนาบุคคลให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เป็นการ จัดการศกึ ษาสมบูรณ์การศึกษาเปน็ บทบาทหนา้ ที่ของทุกคน ทกุ ส่วนให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นการศึกษา ตลอดชีวิตไมม่ ีทีส่ ิน้ สุด และยงั พบว่าการศึกษาตามแนวพระราชดาริมีหลักหรือจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาสร้าง องค์ความรู้ ความคิดเป็นพ้ืนฐานของบุคคลและสังคมที่จะพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ใหม่ รองรับการ เปลี่ยนแปลงด้วยหลกั บูรณาการความรู้ ความคดิ เช่ือมโยงและสอดคล้องกบั สภาวการณ์ครอบคลมุ ความรู้ การ เรียนรู้ หลักการ ทฤษฎี ทักษะปฏิบัติความคิดของเหตุผล รู้เท่าทัน รู้จักตนเอง ควบคุมตนเอง เพ่ือการพัฒนา คณุ ภาพชีวิต เป็นพนื้ ฐานของบุคคลให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีเข้มแข็งสมบูรณ์ เพื่อการพัฒนาศักยภาพ ของบุคคลมีความมนั่ ใจ ค้นพบตนเองพงึ่ ตนเองได้ เตรยี มความพร้อมปัจจัยด้านความรู้ ความคิด ปลูกจิตสานึก ด้านคุณธรรมจริยธรรม เพื่อการพัฒนาสมรรถภาพ เสริมสร้างความสามารถให้บุคคลนาความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ มาบูรณาการ ประยุกต์ใช้บนพ้ืนฐานของคุณธรรม จริยธรรมและการพัฒนาคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ สรา้ งรูปแบบให้บคุ คลมีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีเจตคติที่ดี เหมาะสม มีเหตุผลเชิงจริยธรรมใน การควบคุมตนเอง ปรับตัวได้ ปฏิบัติตนด้วยการแสดงออกทางพฤติกรรมเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีเป็น พื้นฐานในการพัฒนาตนเองและสังคมต่อไปในอนาคต สรุปเสนอได้ ดังแผนภูมิภาพต่อไปน้ี (สุวัฒน์ วิวัฒนา นนท์ .2560)

5 การศกึ ษาสมบูรณ์ วิธีหรือแนวทางการจัดการศึกษา มนษุ ย์ทส่ี มบรู ณ์ ผ้เู กี่ยวขอ้ งในการจัดการศึกษา - ส่งเสริมให้บุคคลมคี วามรู้ ความคดิ มคี วามรู้ มคี ุณธรรม - ผู้รับผิดชอบในการจัดการศึกษา มี มปี ัญญา มีวิธคี ดิ บูรณาการองค์ ความรู้ ความเขา้ ใจและมี ความรู้ ค้นพบทางเลือก ประยุกต์ มคี วามสามารถในการ ประสบการณ์ จริงใจ จริงจงั อย่าง สร้างนวัตกรรมเพ่ือการปฏิบตั ิสู่การ แก้ปัญหาและพฒั นา ต่อเนอื่ ง จดั การศึกษาทุกระยะของ ดารงชีวิต คุณภาพชีวติ ของตน ชวี ิตครบถว้ นบรบิ ูรณท์ กุ ระดับ ครอบคลุมสมดลุ เชอื่ มโยงทุก -ส่งเสรมิ ใหบ้ ุคคลมีคณุ ธรรม ขนั้ ตอนเปน็ การศึกษาสมบูรณ์ จริยธรรม มีความรู้ มีเจตคติ มที ักษะ ในการคดิ อยา่ งมีเหตผุ ลเชงิ คุณธรรม -ครู อาจารย์มคี วามตระหนักและ จรยิ ธรรม ดารงชวี ติ บนพ้ืนฐานความ สานึก มีความรู้ มีคณุ ธรรม ซ่ือสัตย์สจุ ริต อดทน อดออม จรยิ ธรรม มีทักษะในการสอนและ ขยันหมน่ั เพยี ร เสยี สละเพื่อส่วนรวม อบรม มีพฤติกรรมทเี่ หมาะสม สอน วิธเี รียน พัฒนาตนเองและดแู ล -ส่งเสรมิ ให้บคุ คลมีความรู้ ความ ผู้เรียนด้วยความจริงใจและจริงจัง เข้าใจ มที ักษะในการแกป้ ัญหาอยา่ ง เป็นระบบ พึง่ ตนเองพัฒนาคุณภาพ -นักเรียนนกั ศึกษา มวี ิธีเรยี น เรียน ชีวติ ใหส้ อดคล้องกับสภาพของสังคม ความรูอ้ บรมความดี ฝึกหัดวินัยใหม้ ี ยุคสมัยและศีลธรรม ความพร้อม ดารงอยู่ในสังคมไดท้ ุกยคุ สมยั ดารงชวี ิตอยอู่ ยา่ งมเี หตุผล แกป้ ญั หาและพฒั นาสงั คม แกป้ ญั หาและพฒั นาเศรษฐกจิ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สงั คมวฒั นธรรม มนั่ คง มงั่ คงั่ ยั่งยืน

6 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์15 (เวียงเกา่ แสนภูวิทยาประสาท) ไดน้ ้อมนาพระบรมราโชบายของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ท่ีพระราชทานแก่โรงเรียนราชประชานุ- เคราะห์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ทุกโรงเรียนได้นาไปเป็นเป้าหมายในการพฒั นาผูเ้ รียนเพ่ือให้เปน็ คนดีของสังคม

7 จากแนวพระราชดารสั “เข้าใจ เข้าถึง พฒั นา” สบู่ ทเรียนเพื่อการสบื สานพระราชปณิธาน นามาสู่การ กาหนดยทุ ธศาสตร์การพฒั นาทั่วทง้ั โรงเรียน โดยถอดวิธีคิด เชงิ ออกแบบของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร มหาภูมิพลอดลุ ยเดช สกู่ ารปฏิบตั ิสืบสาน รกั ษา ตอ่ ยอด ตามรอยศาสตรพ์ ระราชา ดังแผนภูมิภาพ การกาหนดวสิ ัยทศั น์เชงิ นโยบายในการสืบสาน รกั ษา ตอ่ ยอดตามรอยศาสตร์พระราชา จึงน้อมนา “ศาสตร์พระราชา” ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพล อดุลยเดช มาเปน็ ตน้ แบบของการพฒั นาจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น และน้อมนาพระราโชบายของสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั มหาวชิราลงกรณ์ บดินทรเทพยวรางกูร ดา้ นการศกึ ษา บรู ณาการบทบญั ญตั ิตามรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54

8 “…การศึกษาท้ังปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัด ของตน และมีความรบั ผดิ ชอบต่อครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ…” สอดคล้องกับแนวคิดการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2579 ที่ยึดหลักการ จดั การศึกษา ประการแรก หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน ( Education for All ) ประการที่สอง หลักการ จัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและทั่วถึง ( Inclusive Education ) ประการท่ีสาม หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และประการสุดท้ายหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม (All for Education) และสอดคลอ้ งกบั วิสัยทัศนข์ องแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. ดังตอ่ ไปนี้ 1. วสิ ัยทศั นข์ องแผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ (vision) คนไทยทุกคนไดร้ บั การศึกษาและเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตอย่างมคี ุณภาพ ดารงชีวติ อยา่ งเป็นสขุ สอดคล้อง กับหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลยี่ นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 2. พันธกจิ 1) พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่ีคนไทยทุกคนเข้าถึงโอกาสในการศึกษาและเรียนรู้ ตลอดชวี ติ สรา้ งความเสมอภาคด้านการศึกษาแก่ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ยกระดับคุณภาพและประสิทธิภาพ ของการจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาท่ีสอดคล้องและรองรับกระแสการเปล่ียนแปลงของโลก ศตวรรษที่ 21 2) พัฒนาคุณภาพของคนไทยให้เป็นผู้มีความรู้ คุณลักษณะ และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สามารถพัฒนาศักยภาพและเรยี นร้ไู ด้ดว้ ยตนเองอย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ 3) สร้างความมั่นคงแกป่ ระเทศชาติ โดยสรา้ งสังคมไทยให้เป็นสังคมแหง่ การเรียนรู้และสังคมคุณธรรม จริยธรรมทีค่ นไทยทกุ คนอยู่ร่วมกันอยา่ งปลอดภัย สงบสขุ และพอเพียง 4) พัฒนาศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย เพื่อการก้าวข้ามกับดักประเทศ รายได้ปานกลาง สู่การเป็นประเทศในโลกท่ีหน่ึง และลดความเหลื่อมล้าในสังคมด้วยการเพิ่มผลิตภาพของ กาลังแรงงาน (productivity) ให้มีทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานและการ พัฒนาประเทศ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงท่ีเป็นพลวัตของโลกศตวรรษท่ี 21 ภายใต้ยุคเศรษฐกิจและ สงั คม 4.0 3. วัตถุประสงค์ของแผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ (Objectives) 1) เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ 2) เพื่อพฒั นาคนไทยให้เปน็ พลเมอื งดี มีคณุ ลักษณะ ทกั ษะและสมรรถนะท่สี อดคล้องกับบทบญั ญตั ิ ของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติและยุทธศาสตร์ชาติ 3) เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแหง่ การเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคีและร่วมมือ ผนึกกาลงั ม่งุ สู่การพฒั นาประเทศอย่างย่ังยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

9 4) เพื่อนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายไดป้ านกลาง และความเหล่ือมลา้ ภายในประเทศ ลดลง 4. เป้ำหมำยดำ้ นผู้เรยี น (Learner Aspirations) แผนการศึกษาแห่งชาติ มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณ์และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs 8Cs) ประกอบดว้ ย ทกั ษะและคณุ ลกั ษณะต่อไปน้ี 3Rs ได้แก่ การอ่านออก (Reading) การเขียนได้ (Writing) และการคดิ เลขเปน็ (Arithmetics) 8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม(Creativity and Innovation) ทักษะด้าน ความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีมและภาวะผู้นา (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และการรู้เท่าทันส่ือ (Communications , Information and Media Literacy) ทักษะด้าน คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และ ทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 5. เปำ้ หมำยด้ำนผเู้ รียน (Learner Aspirations) แผนการศึกษาแห่งชาติ ได้กาหนดเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาในระยะ 20 ปี ไว้ 5 ด้าน ประกอบด้วย 1) ประชำกรทกุ คนเข้ำถงึ กำรศกึ ษำทมี่ คี ุณภำพและมำตรฐำนอยำ่ งทัว่ ถึง (Access) 1.1 เดก็ ปฐมวยั มพี ฒั นาการสมวยั 1.2 ประชากรทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการศึกษาตั้งแต่ปฐมวัยถึง มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทา่ ทม่ี คี ุณภาพและมาตรฐาน 1.3 ประชากรที่อยู่ในกาลังแรงงานได้รับการพัฒนาทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะท่ี ตอบสนองความตอ้ งการของตลาดงานและการพฒั นาประเทศ 1.4 ประชากรสูงวัยได้เรียนรู้ ฝึกฝนเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถ และทักษะเพ่ือการทางาน หรือการมีชีวติ หลงั วัยทางานอย่างมีคุณค่าและเปน็ สุข 2) ผู้เรยี นทุกกลุ่มเป้ำหมำยไดร้ บั บรกิ ำรทำงกำรศึกษำอยำ่ งเสมอภำคและเท่ำเทยี ม (Equity) ผเู้ รยี นทกุ กลุ่มเป้าหมาย ทั้งกลมุ่ ปกติ ผู้มีความสามารถพิเศษ ผู้มีความสามารถบกพร่องด้านต่างๆ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้มีภูมิหลังทางสังคมหรือฐานะทางเศรษฐกิจท่ีแตกต่างกันได้รับโอกาสและการ บริการทางการศกึ ษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม 3) ระบบกำรศึกษำที่มีคุณภำพ สำมำรถพัฒนำผู้เรียนให้บรรลุขีดควำมสำมำรถและเต็มตำม ศกั ยภำพ (Quality)

10 ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน เพ่ือพัฒนาคุณลักษณะ ทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะของแต่ละบุคคลให้ไปได้ไกลที่สุดเท่าที่ศักยภาพและความสามารถของ แตล่ ะบุคคลพงึ มี ภายใตร้ ะบบเศรษฐกจิ สงั คมฐานความรู้ สังคมแห่งปัญญา และการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือ ต่อการเรียนรู้ ที่ประชาชนสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรมและสามารถ ดารงชวี ติ ได้อย่างเป็นสขุ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4) ระบบกำรบรหิ ำรจดั กำรศกึ ษำท่มี ีประสิทธภิ ำพ เพือ่ กำรพัฒนำผเู้ รียนอย่ำงท่ัวถึงและมีคุณภำพ และกำรลงทนุ ทำงกำรศกึ ษำท่ีคมุ้ คำ่ และบรรลุเปำ้ หมำย (Efficiency) หน่วยงาน สถานศึกษาและสถาบันการศึกษาทุกแห่งสามารถบริหารและจัดการศึกษาอย่างมี ประสิทธภิ าพ ด้วยคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล จัดให้มีระบบการจัดสรรและใช้ทรัพยากรทางการศึกษา ที่ก่อประโยชน์สูงสุดในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนให้บรรลุศักยภาพและขีดความสามารถของตน และส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนของสังคมท่ีมีศักยภาพและความพร้อมเข้ามามีส่วนร่วมในการระดมทุนและร่วม รับภาระค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษา โดยเฉพาะสถานประกอบการ สถาบันและองค์กรต่างๆ ในสังคม และผู้เรียน ผ่านมาตรการทางการเงิน และการคลังทเ่ี หมาะสม 5) ระบบกำรกำรศึกษำทส่ี นองตอบและก้ำวทนั กำรเปลยี่ นแปลงของโลกที่เปน็ พลวัดและบรบิ ทที่ เปลยี่ นแปลง (Relevancy) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน สนองตอบและก้าวทันการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถพัฒนาทักษะ คุณลักษณะและสมรรถนะในการทางานของกาลังคนในประเทศให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาด สังคม และประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 ท่ีจะนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลางสู่การเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ด้วย การศึกษาที่สร้างความมั่นคงในชีวิตของประชาชนสังคมและประเทศชาติ และการสร้างเสริมการเติบโตที่เป็น มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม นอกจากน้ันรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 65 “รัฐพึงจัดให้มี ยุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทา แผนต่างๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นพลังผลักดันระบบไปสู่เป้าหมายดังกล่าว …” ดัง แผนภมู ภิ าพ

6 ยทุ ธศำสตร์ ยทุ ธศำสตร์ชำติ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) 11 1. การจดั การศกึ ษาเพื่อความ เป้ำหมำย ผลลพั ธส์ ดุ ท้ำย มน่ั คงของสงั คม เดก็ ไทย : กำรเข้ำถงึ กำรศึกษำ 3 Rs 8Cs 2. การผลิตและพัฒนา (Access) กาลงั คน การวจิ ยั และ นวัตกรรม เพ่ือสรา้ งขดี ควำมเทำ่ เทยี ม ความสามารถในการแข่งขนั (Equality) คุณภำพ 3. การพัฒนาศกั ยภาพคนทุก (Quality) ช่วงวยั และการสร้างสังคมแหง่ ประสทิ ธภิ ำพ (Efficiency) การเรยี นรู้ ตอบโจทย์บริบทที่ 4. สรา้ งโอกาสความเสมอภาค เปลยี่ นแปลง (Relavancy) และความเท่าเทียมทาง การศึกษา 5. การจัดการศกึ ษาเพื่อสรา้ ง เสรมิ คณุ ภาพชวี ิตท่เี ป็นมติ ร กบั ส่ิงแวดลอ้ ม 6. การพัฒนาประสิทธภิ าพ ของระบบบริหารการจดั การศึกษา

12 โดยรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 หมวด 16 การปฏริ ูปประเทศ มาตรา 258 ให้ดาเนินการปฏิรปู ประเทศอย่างนอ้ ยในดา้ นตา่ งๆ ให้เกิดผล ซงึ่ สามารถสรุปประเด็นแผนการปฏริ ปู ประเทศ 9 ดา้ นทจี่ ะนาไปส่กู ารพฒั นาการศกึ ษาได้ดงั ต่อไปนี้ (สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา.2561) 1. ดา้ นการเมือง สรา้ งสานึกในการเรียนรคู้ วามเป็นพลเมืองไทยและพลเมอื งโลกทด่ี ี 2. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน การสร้างและพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนต้นแบบ (Public School) 3. ด้านกฎหมาย การส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็น Start Up รุ่นเยาว์และการจัดตั้งสถาบันการศึกษาเพ่ือ รองรับการเจรญิ เติบโตของอุตสาหกรรม ขนาดกลาง ขนาดย่อม และ Start Up ตลอดจนการจัดการหลักสูตร ฝกึ อบรมความรทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั วิชาชพี ตา่ งๆ ทเี่ ป็นไปตามความตอ้ งการของตลาด 4. ด้านเศรษฐกิจ พฒั นามาตรฐานคุณภาพหลักสูตร การพัฒนาผู้เรียนในทุกระดับต้ังแต่ระดับพ้ืนฐาน จนกระท่งั ถึงระดบั อดุ มศกึ ษาโดยเฉพาะการเนน้ สร้างนวัตกรรม การส่งเสริมโรงเรียนอาชีวต้นแบบโครงการทวิ ภาคี การพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้แก่ผู้เรียน โดยร่วมกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในการ สนบั สนุนและเพ่ิมระดับการแข่งขนั ในระดบั ชาติใหส้ งู ขน้ึ 5. ดา้ นทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ ม เนน้ การส่งเสริมโครงการ Zero Waste School ให้แก่สถานศึกษา การสอดแทรกเน้อื หารายวชิ าท่ีเกีย่ วข้องกับการพฒั นาหลักสูตร การทาวิจยั ที่เกีย่ วกบั ทรัพยากรธรรมชาติ 6. ด้านสาธารณสุข การเข้าถึงเทคโนโลยีการศึกษาทางสาธารณสุขได้อย่างท่ัวถึง ส่งเสริมระบบการ พัฒนาหลกั สตู รเด็กก่อนปฐมวยั และเดก็ ปฐมวยั ในการพฒั นากาย จิต สังคม ทพ่ี ร้อมเข้าสูเ่ ด็กวัยเรยี น 7. ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีในทางการศึกษาของผู้เรียนในทุก ระดับ และทุกภาคส่วน โดยเน้นถึงความปลอดภัย รู้เท่าทันส่ือ และลดการละเมิดสิทธิทางส่ือสังคมในผู้เรียน ทุกระดบั ชนั้ 8. ดา้ นสงั คม เน้นผู้เรยี นให้เปน็ ผู้มที กั ษะชีวิต เป็นผู้มปี ญั ญา ควบคู่การมีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้ ชีวิตในสังคม การเป็นผูม้ จี ติ อาสา การส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นมคี วามกระหายตอ้ งการที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิต และส่ิงท่ี สาคัญที่สุด คือ การสร้างจิตสานึกรกั บา้ นเกดิ 9. ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ส่งเสริมการนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และศาสตร์พระราชาไปใช้ในการดาเนินชีวิต และการสร้างทัศนคติ ความรู้และปลูกฝัง เยาวชนในสถานศึกษาทกุ ระดับ ให้รังเกียจการทุจริต และตระหนกั ถึงโทษภัยของการทจุ รติ คอรัปชัน รัฐบาลภายใต้การนาของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้กาหนดกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะยาว วางเปา้ หมายอนาคตประเทศไทย ปี 2579 ไปสู่การเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว โดยเน้นการเพ่ิมมูลค่า และขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม ประกอบกับบริบทของโลกและประเทศท่ีเปลี่ยนไปอย่างก้าวกระโดด มีการนา Digital Technology เข้ามาใชก้ บั ทุกภาคสว่ นของธุรกจิ เหล่านเ้ี สยี่ งตอ่ การจ้างงานและความต้องการแรงงาน

13 ทงั้ ในเชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ จงึ เป็นความท้าทายของทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องในการเตรียมความพร้องแรงงาน และการพัฒนาทุนมนุษย์ให้สามารถรองรับการพัฒนาประเทศในอนาคต การศึกษาเป็นภาคการผลิตที่มี บทบาทสาคัญในการเตรียมพัฒนาคนให้มีศักยภาพและเติบโตเป็นแรงงานที่มีทักษะฝีมือ มีคุณลักษณะที่ เหมาะสม จากสถานการณ์ท่ีมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวข้างต้น การจัดการศึกษาจึงต้องมองเป้าหมาย การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ วางแผนความสาเร็จและพัฒนากาลังคนภาพรวมของประเทศให้เพียงพอและ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานเพื่อ ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศในระยะยา ว กระทรวงศึกษาธิการเห็นความสาคัญของการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้ เรียนมีทางเลือกในการเข้าสู่ การศึกษาท่ีหลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ผู้เรียนในสายอาชีพท้ังผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สามารถเข้าสู่เส้นทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาได้ในการน้ี สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการจึงจัดโครงการสร้างเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทารูปแบบและแนว ทางการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ืองเช่ือมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา เพื่อส่งเสริมให้ หน่วยงานทางการศึกษาในระดับภูมิภาคและจังหวัดมีนวัตกรรมท่ีจะสนับสนุนการศึกษาท่ีต่อเน่ืองเช่ือมโยง ระหว่างการศึกษาข้ันพื้นฐานระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาท่ีสอดคล้องกับบริบทของพ้ืนที่ สานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายได้ประกาศรับสมัครสถานศึกษาหรือหน่วยงานการศึกษาเข้าร่วมโครงการส่งเสริม เวทแี ละประชาคมเพอื่ การจดั ทารูปแบบและแนวทางการพฒั นาหลกั สตู รตอ่ เนื่องเชอื่ มโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กบั อาชวี ศึกษาและอดุ มศึกษาท่สี อดคล้องกับบรบิ ทพ้นื ท่ีในจังหวัดเชยี งราย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท) มีภารกิจจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ ปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปัจจุบันมีจานวนนักเรียนทั้งสิ้น 1,974 คน นักเรียนส่วนใหญ่มี ภมู ิลาเนาอยตู่ ามรอยตะเขบ็ พืน้ ท่ีชายแดนประเทศไทยและสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชนลาว (สปป.ลาว) มี ฐานะค่อนขา้ งยากจนและมีข้อจากดั ในโอกาสเข้าถึงการศึกษา โรงเรียนมีเป้าหมายพัฒนาผู้เรียนชัดเจนให้เป็น คนดีและมีความสุขตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้มีโอกาส พัฒนาตนเองตามศักยภาพทั้งด้านวิชาการ วิชาชีพ และวิชาชีวิตอย่างสมดุล ปีการศึกษา 2555 จึงเร่ิมจัด แผนการเรียนศิลป์ศักยภาพด้านอาชีพ เพ่ิมจากแผนการเรียนสายสามัญในระดับมัธยมศึกษาท่ีปฏิบัติกันอยู่ ตลอดมา โดยเน้นพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนเป็นสาคัญในรูปแบบการบูรณาการในรายวิชาพ้ืนฐาน รายวิชา เพ่ิมเติม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามโครงสร้างหลักสูตรของแต่ละระดับช้ันทั้งด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยการ ความคิดสร้างสรรค์ บริหารจัดการและการบริการ ในปีการศึกษา 2558 ได้จัด การศกึ ษาเรยี นรว่ มหลักสตู รอาชวี ศกึ ษาและมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ในสาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ กับวิทยาลัยการอาชีพเวียงเชียงรุ้ง และจบการศึกษาเป็นรุ่นแรกในปีการศึกษา 2560 ได้ประกาศนียบัตร การศึกษาข้ันพื้นฐานและประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เพ่ิมโอกาสในการศึกษาต่อระดับอาชีวศึกษาและ

14 อุดมศึกษา สามารถประกอบอาชพี ระหวา่ งเรียนไปด้วย ปกี ารศึกษา 2561 โรงเรียนได้ทาบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือ (MOU) กับวิทยาลัยการอาชีพเวียงเชียงรุ้ง เปิดสาขาวิชา ช่างยนต์ ช่างไฟฟ้า ช่างก่อสร้าง และการ บัญชี เพิ่มข้ึนอีกจากเดิมเป็น 5 สาขาวิชา เพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนตามความต้องการของตลาดแรงงาน และทศิ ทางการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะในช่วงเปล่ียนผ่านการเปล่ียนแปลงจากกระแส Digital Disruption ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและมีความจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องรีบวางแผนพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้อง กับการเปลย่ี นแปลงของบริบทโลกทีเ่ ป็นไปอย่างกา้ วกระโดด โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท) เห็นความสาคัญของการเพิ่มโอกาส ทางการศึกษาให้กับผู้เรียนเพื่อให้มีทางเลือกในการเข้าสู่การศึกษาท่ีหลากหลาย โดยเฉพาะอย่างย่ิงการวาง แผนการพฒั นาผูเ้ รยี นต้ังแต่ระดับปฐมวัยและมัธยมศึกษาตอนปลายตลอดแนวในการเตรียมผลิตกาลังคนตาม ทศิ ทางการพัฒนาประเทศ จงึ ไดก้ าหนดยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาต่อเน่ืองเช่ือมโยงการศึกษา ขนั้ พ้นื ฐานกบั อาชีวศกึ ษาและอุดมศึกษาทสี่ อดคลอ้ งกับบริบทของพนื้ ที่อาเภอเชียงแสนและจังหวัดเชียงราย มี การบูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้และข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีองค์ความรู้และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ภายใต้การมีทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต ทักษะการทางานข้ันสูงในยุค Digital Disruption ได้อย่างมีประสิทธิภาพและม่ันใจบนพื้นฐานกรอบวัฒนธรรม สังคม ประเพณี และความเป็นไทย เพ่อื เตรยี มพรอ้ ม สร้าง และพฒั นาผู้เรียนให้มีความสามารถปรับตัวได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและดารงชีวิตใน สงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ

15 บทที่ 2 สภำวกำรณ์และบริบทแวดล้อม กำรศึกษำ4.0 และกำรเรียนรู้ในยุคดิจทิ ลั ทีม่ ีผลต่อกำรพัฒนำกำรศกึ ษำของประเทศ 1. สภำวกำรณ์และบรบิ ทแวดลอ้ ม การศึกษาเปน็ เครอื่ งมือสาคัญในการสร้างคน สรา้ งสังคม และสร้างชาติ เป็นกลไกหลักในการพัฒนา กาลังคนให้มีคุณภาพ สามารถดารงชีวิตอยู่ร่วมกันกับบุคคลอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในกระแสการ เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกศตวรรษท่ี 21 ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกจึงให้ความสาคัญและทุ่มเทกับการ พัฒนาการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของตนให้สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ ภูมิศาสตร์ และของโลก ควบคู่กับการธารงรักษาอัตลักษณ์ของประเทศในส่วนของ ประเทศไทยได้ให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษา การพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของคนไทยให้มี ทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานและการพัฒนา ประเทศ ภายใต้แรงกดดันภายนอกจากกระแสโลกโลกาภิวัตน์ และสังคมไทยเป็นสังคมคุณธรรม จริยธรรม และประเทศสามารถก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว รองรับการ เปลี่ยนแปลงของโลกทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญและส่งผลกระทบต่อระบบ การศึกษา ระบบเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศไทย ประกอบดว้ ย 1.1 ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแบบก้าวกระโดโลกที่ส่งผลต่อระบบ เศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ ภมู ิภาค และของโลก 1.1.1 การปฏิวัตดิจิทัล (Digital Revolution) ต่อการเปลี่ยนแปลงสู่การปฏิวัติ อุตสาหกรรม 4.0 (The Fourth Industrial Revolution) การพัฒนาอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร ส่งผลให้ประเทศต่าง ๆ ในโลกต้องเผชิญกับระบบเศรษฐกิจโลกที่มีการแข่งขัน อย่างเสรีและไร้พรมแดนอย่างไม่อาจหลีกเล่ียงได้ ความท้าทายใหม่ในกระแสโลกาภิวัตน์รอบใหม่ของโลกคือ การก้าวเข้าส่ยู ุคอินเทอร์เนต็ ในทุกส่ิง (Internet of things) การปฏิวัติดิจิทัลส่งผลให้การเคลื่อนย้ายตลาดทุนและตลาดเงินเป็นไปอย่างเสรีและรวดเร็ว และทาให้ตลาดเงินโลกมีความเช่ือมโยงกันเสมือนหน่ึงเป็นตลาดเดียวกัน (One World One Market) การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศท้ังในระบบทวิภาคีและพหุภาคีในระดับภูมิภาคโลกและระดับโลก เพอื่ ขยายตลาดการค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศส่งผลใหเ้ กิดระบบการค้าเสรีและการแข่งขันท่ีรุนแรงมาก ขึ้น รูปแบบการค้ามีแนวโน้มเปล่ียนแปลงไปสู่การค้าผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารท่ีผู้ซ้ือ และผู้ขายไม่จาเป็นต้องพบกัน ส่งผลให้พฤติกรรมการบริโภคสินค้าและบริการของประชาชนเปลี่ยนไป ผผู้ ลติ สินคา้ และการบริการจงึ จาเปน็ ตอ้ งปรับตัวสู่การพัฒนาบนรากฐานความรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวตั กรรม

16 1.2 การเปลีย่ นแปลงโครงสรา้ งประชากร องคก์ ารสหประชาชาตไิ ด้ประเมนิ สถานการณ์โครงสร้างของประชากรโลกว่า ในช่วงปี พ.ศ. 2544 - 2643 จะเป็นศตวรรษแห่งผู้สูงอายุ โดยกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาจะมีระยะเวลาเปล่ียนแปลงโครงสร้าง ประชากรค่อนข้างสั้นกว่ากลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศท่ีมีสภาวการณ์ “วิกฤตสังคมสูงวัย” มีปัญหาการขาดแคลนแรงงานในประเทศ และการ เคลอื่ นย้ายแรงงานต่างด้าวมากขึ้น รวมทง้ั ส่งผลต่อความตอ้ งการสินค้าและบริการสาหรบั ผู้สงู อายุ สาหรับประเทศในอาเซียนท่ีเข้าสู่สังคมสูงวัยแล้ว ได้แก่ สิงคโปร์ โดยมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 20 ในขณะท่ีประเทศไทยและเวียดนามกาลังไล่ตามมา โดยมีสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีข้ึน ไป รอ้ ยละ 12.5 และ 9.5 ตามลาดบั สถานการณ์สงั คมสูงวยั ในประเทศไทย สานกั คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ได้ประมาณการสดั สว่ นสงู วัยไว้ว่า ในปี 2558 จะมปี ระชากรอายุ 6 ปีข้นึ ไปถึงร้อยละ 13.8 ซงึ่ ถือวา่ เปน็ การเข้าสสู่ งั คมสูงวยั อยา่ งสมบรู ณ์ (ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป รอ้ ยละ 14) และในปี 2563 จะมี ประชากรอายุ 60 ปขี นึ้ ไปเพ่ิมข้ึนเปน็ ร้อยละ 19.1 หรอื เข้าใกลส้ ังคมสงู วัยระดับสูงสุด การเปน็ สังคมสูงวยั ส่งผลให้อัตราการพึ่งพงิ สูงขน้ึ กลา่ วคอื วัยแรงงานตอ้ งแบกรบั ภาระการดูแลผู้สงู วัยเพ่ิมสูงขน้ึ ดังนนั้ การพฒั นาประเทศใหม้ คี วามเจริญเติมโตดา้ นเศรษฐกจิ อยา่ งต่อเน่ืองจาเปน็ ต้องเตรียม กาลังคนให้มีสมรรถนะเพ่ือสร้างผลติ ภาพ (Productivity) ที่สูงขึน้ การจัดการศึกษาต้องวางแผนและพฒั นา ทรัพยากรมนษุ ย์ของประเทศใหม้ ีทกั ษะและสมรรถนะสงู และปรับหลักสูตรการเรียนการสอนใหบ้ รู ณาการกบั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิต เพอื่ พร้อมรับการพฒั นาประเทศอย่างตอ่ เน่ือง อตั ราการเกิดท่ลี ดลงสง่ ผลให้จานวนนักเรยี นทอ่ี ยใู่ นวยั เรยี นมแี นวโนม้ ลดลงอยา่ งต่อเนื่อง ทสี่ ่งผล กระทบตอ่ การจัดการศึกษา และการบรหิ ารสถานศกึ ษา การวางแผนอัตรากาลังครู ผู้บริหารและบคุ ลากร ทางการศึกษา การจัดหลักสูตร การจดั การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล การบริหารจัดการ หอ้ งเรียน การจดั โครงสร้างพื้นฐาน ตลอดจนการบรหิ ารจัดการทรัพยากรและการเงินเพอ่ื การศึกษาท่ีมีอยู่ให้ เกิดประสิทธภิ าพสูงสุด 1.3 ทักษะของประชากรในศตวรรษที่ 21 : ทัว่ โลกตัง้ เป้าหมายสร้างให้ได้และไปให้ถึงความตอ้ งการ กาลังคนยุค 4.0 ผลจากการเปล่ยี นแปลงระบบเศรษฐกิจ สังคม และสถานการณ์สงั คมสงู วยั ขา้ งตน้ ส่งผลใหท้ ุก ประเทศทวั่ โลกกาหนดทิศทางการผลติ และพฒั นากาลังคนของประเทศตนใหม้ ีทกั ษะและสมรรถนะระดบั สูง มีความสามารถเฉพาะทางมากขึ้น สว่ นความตอ้ งการกาลงั แรงงานที่ไรฝ้ ีมอื และมีทักษะตา่ จะถกู แทนท่ดี ้วย ห่นุ ยนตแ์ ละเทคโนโลยใี หม่ ๆ มากขน้ึ การจดั การศกึ ษาในปัจจบุ นั จึงตอ้ งปรับเปล่ยี นใหต้ อบสนองกับทศิ ทางการผลิตและการพัฒนา กาลงั คนดงั กล่าว โดยม่งุ เนน้ การจัดการเรียนการสอนเพ่ือให้ผูเ้ รยี นมที กั ษะในศตวรรษที่ 21 เพ่ือให้ได้ท้งั

17 ความร้แู ละทักษะท่ีจาเป็นตอ้ งใชใ้ นการดารงชีวิต การประกอบอาชีพ และการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของ ประเทศทา่ มกลางกระแสแห่งการเปล่ียนแปลง ทกั ษะสาคญั จาเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วยทักษะท่ีเรียกตามคาย่อวา่ 3Rs + 8Cs 3Rs ประกอบด้วย 1) อา่ นออก (Reading) 2) เขียนได้ (WRiting) 3) คิดเลขเปน็ (ARithmetics) 8Cs ประกอบด้วย 1) ทักษะด้านการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและมีทกั ษะในการแก้ปญั หา (Critical Thinking and Problem Solving) 2) ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation) 3) ทกั ษะด้านความเขา้ ใจตา่ งวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) 4) ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผ้นู า (Collaboration Teamwork and Leadership) 5) ทกั ษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศ และร้เู ท่าทนั สือ่ (Communications, Information and Media Literacy) 6) ทักษะดา้ นการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT Literacy) 7) ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning skills) 8) ความมเี มตตา กรุณา วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion) 1.4 สภาวการณ์เปล่ียนแปลงของโลก 1.4.1 การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมทที่ วคี วามรนุ แรงมากข้นึ สภาวะโลกรอ้ นกอ่ ให้เกิดภัยธรรมชาตทิ ่มี คี วามรุนแรงเพมิ่ มากขึ้น การขยายตวั ของเศรษฐกจิ และชมุ ชนเมืองสง่ ผลให้ทรัพยากรถกู ทาลายและเสอ่ื มโทรมอย่างรวดเรว็ ส่งผลใหร้ ะบบการศกึ ษาต้อง ปรับเปล่ยี นหลกั สตู ร วิธีการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาและเตรียมความพร้อมของครู การผลติ ครูใหม่ ทีม่ ีสมรรถนะสูงตามมาตรฐานวชิ าชพี เพื่อให้สามารถถ่ายทอดกระบวนการเรยี นรู้ไปสเู่ ด็กและเยาวชนรนุ่ ใหม่ ให้รูเ้ ท่าทนั การเปลี่ยนแปลง สามารถคดิ วิเคราะห์เพอื่ ป้องกนั ภยั ธรรมชาติ บรหิ ารจัดการ พัฒนา และรักษา สิ่งแวดลอ้ มเพ่ือคณุ ภาพชวี ิตและสงั คมท่ีเปน็ มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม 1.4.2 การเปลี่ยนแปลงดา้ นการสาธารณสขุ

18 ความก้าวหน้าด้านการสาธารณสุขอันเน่ืองจากความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ประชากรมีอายุยืนยาวมากข้ึน ในขณะเดียวกันประชากรยัง ต้องเผชิญกับโรคระบาดและโรคอุบัติใหม่ท่ีมีความรุนแรงและเพ่ิมมากขึ้น ระบบการศึกษาจึงจาเป็นต้อง ปรบั ปรุงรปู แบบและวิธกี ารจัดการศึกษาท่ีเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และการแสวงหา ความรู้ได้ด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ผ่านระบบการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นหลากหลาย สามารถ เขา้ ถงึ ไดอ้ ยา่ งไม่มีขีดจากัด 1.4.3 แนวโน้มความขดั แย้งและความรนุ แรงทางสังคม การไม่ยอมรับในความคิดเห็นที่แตกต่างกัน และพฤติกรรมของกลุ่มบุคคลท่ีนิยมใช้ความ รุนแรงได้แพร่กระจายไปสู่นานาประเทศมากข้ึน ความขัดแย้งในเชิงความคิดเห็นของคนในสังคมมีมากขึ้น สง่ ผลให้เกิดความไมส่ งบ ประชาชนมคี วามหวาดระแวงและขาดความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สิน ประเทศ ขาดความมนั่ คงและความสงบสขุ อุตสาหกรรมการทอ่ งเทยี่ วของประเทศไดร้ ับผลกระทบ ระบบการศึกษาใน ฐานะกลไกให้การพัฒนาคุณภาพของประเทศ จึงจาเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนการสอนให้ ประชาชนสามารถคิดวิเคราะห์ มีเหตุมีผล เข้าใจและยอมรับความคิดเห็นท่ีแตกต่างแต่ไม่แตกแยก รวมท้ัง การแก้ปญั หาดว้ ยสันตวิ ธิ ีและสมานฉนั ท์ 1.4.4 ความเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั กบั การดารงชวี ิต นวัตกรรมและความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างก้าวกระโดด ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่างฉับพลัน (Disruptive Technology) ซ่ึงนอกจากส่งผลกระทบต่อระบบ เศรษฐกิจแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อการดารงชีวิตของประชาชนในประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก ท่ีต้องเผชิญกับ เทคโนโลยีดิจิทัลในชีวิตประจาวันมากมาย ทั้งด้านการเรียนการสอนในสถานศึกษา การจัดการ ทรพั ยากรธรรมชาติ การเดินทาง การใชข้ ้อมูลขา่ วสารเพื่อการบริหารและการจัดการการทางาน เทคโนโลยี สารสนเทศจึงเกี่ยวข้องกับทุกเร่ืองในชีวิตประจาวัน ดังนั้น เยาวชนรุ่นใหม่จึงควรเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับ เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือให้รู้เท่าทันละนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง สังคมและประเทศต่อไป ซึ่งเป็น บทบาทของการศึกษาทีต่ อ้ งพฒั นาเด็กและเยาวชนให้มีทักษะและความรู้ในเรื่องดังกลา่ ว 2. กำรศกึ ษำ 4.0 สภาวการณ์ท่ีมีผลต่อความจาเป็นท่ีต้องมีการพัฒนาการศึกษาน้ันมีหลายประการ อาทิ ความก้าวหน้า ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแบบก้าวกระโดดท่ีส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจ การปฏิวัติดิจิตอล (Digital Revolution) ต่อการเปลี่ยนแปลงสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรม 4.0 ผลกระทบของการเป็นประชาคม อาเซียนตอ่ ระบบเศรษฐกจิ และสงั คม การที่ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ Thailand 4.0 นั้น จาเป็นท่ีจะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายใน การขับเคลื่อนไปทั้งระบบ ซ่ึงปัจจัยสาคัญที่จะทาให้การดาเนินการไปสู่เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพนั้นมี หลายประการ ปจั จยั ท่ีสาคญั ประการหนง่ึ คือ การพฒั นาดา้ นการศกึ ษาแกค่ นทุกวัย ทกุ ระดับช้ัน

19 2.1 ลักษณะสำคัญของกำรศึกษำ 4.0 การศกึ ษา 4.0 ในมมุ มองของผ้นู าทางการศึกษาและนักการศึกษา ตา่ งก็มีแนวความคิดสาคญั ดงั นี้ พลเอกดำวพ์ งษ์ รัตนสุวรรณ อดีตรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ ไดบ้ รรยายพิเศษ เร่อื ง ประเทศไทยกบั การก้าวไกลทางการศึกษา ในการประชมุ วิชาการเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาคกลางเพอ่ื พฒั นาบัณฑิตอุดมศึกษา ประจาปี 2559 ใจความตอนหนง่ึ กลา่ ววา่ “กระทรวงศึกษาธิการตอ้ งมีแนวทางการ ปฏริ ปู การศึกษาเพื่อรองรบั การเปน็ Thailand 4.0 ที่ชัดเจน โดยเริ่มจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน (สพฐ.) และสานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ต้องสร้าง School 4.0 ตงั้ แต่ อนบุ าล 1 ถึงมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) ต้องสร้าง University 4.0 ต้งั แต่ปริญญาตรี - ปรญิ ญาเอก สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สอศ.) ต้องสรา้ ง Vocation 4.0 ใน ระดบั ปวช. ปวส. การศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) ก็ต้องช่วยพัฒนานวตั กรรมและทักษะอาชีพให้เกดิ ข้นึ แก่ นักเรยี น กศน. ด้วย ซ่งึ หนว่ ยงานในสงั กดั ต้องคานงึ ถึง 4 ประเด็นปฏิรูปอย่างเร่งดว่ น คอื 1) โครงสรา้ งการบรหิ าร และงบประมาณ 2) การบริหารงานบคุ คล 3) ระบบสารสนเทศ ซงึ่ ทง้ั สามดา้ นจะนาไปสู่ 4) คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาด้วยความมีธรรมาภิบาล” นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้บรรยายพิเศษ เร่ือง “การศึกษาไทย 4.0 ในบริบทการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน” ในการประชุมเชิงวิชาการ ของคุรุสภา ประจาปี 2559 ใจความสาคญั ตอนหนง่ึ วา่ “ในสว่ นของการเตรียมการศึกษาจะต้องมีการวางแผนอย่างเป็นขั้น เป็นตอน จัดหลักสูตรให้ครอบคลุมกลุ่มคนทุกกลุ่ม พร้อมท้ังปรับปรุงตาราให้ สอดคล้องกับหลักสูตรท่ี เปลีย่ นแปลงเปล่ยี นระบบการประเมนิ เพ่อื ใหส้ อดคล้องกับหลกั สูตร โดยเฉพาะ การคดิ เป็น วิเคราะห์เป็น ตาม ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 ปรับการอบรมครูให้ตรงกับความต้องการในการนาความรู้ไปใช้ ตลอดจนให้วิทยฐานะ แก่ครูสอนดีหรอื ครูที่สนใจเด็ก เพื่อยกย่องชมเชย สิ่งเหล่าน้ี เป็นเร่อื งทีต่ ้องดาเนินการควบคู่กนั ไป แนวทางสรา้ งนวตั กรรมดา้ นการศึกษาท่ีจะต่อยอดไปสู่การนาไปใช้นั้นวิธีท่ีดีท่ีสุดท่ีจะทาให้เด็กสร้าง นวตั กรรมได้ คอื การใช้รูปแบบนาเสนอโครงงานท่ีใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพ่ือตอบโจทย์ การพัฒนาท้องถิ่น เช่น การผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ ซ่ึงจะทาให้ เด็กสนุกกับการหาคาตอบ ชอบที่จะ เรียน ชอบท่ีจะได้ปฏิบัติ จากน้ันให้ส่งผลงานประกวด หากผลงานใครผ่านเกณฑ์ก็จะสนับสนุนงบประมาณ เพื่อนาไปผลติ ใช้จรงิ ในชมุ ชนนนั้ ๆ ซง่ึ จะช่วยสร้างความ ภมู ิใจให้กบั เด็กด้วย” ไพฑูรย์ สินลำรัตน์ และคณะ (2559) ได้ให้ความหมายของการศึกษา 4.0 หมายถึง การศึกษาท่ี สามารถสร้างหรือพัฒนาผู้เรียน ให้ผู้เรียนเขาสร้าง Product ขึ้นมาให้ได้ และเป็น Products ที่สะท้อน ความคิดใหม่ ระบบใหม่ การกระทาใหม่ ปรากฏชัดเจน อย่างที่เรียกว่า นวัตกรรม (Innovation) น่ันเอง

20 การศึกษาไทย 4.0 เป็นการศึกษายุคผลิตภาพ เป็นยุคที่ต้องการผลผลิต หรือ Products ให้ได้มากท่ีสุด เพื่อ ประโยชน์ของชุมชนตนเอง และชุมชนอ่ืนๆ ด้วยทักษะการศึกษาที่เน้น การทาได้ และลงมือทา แล้วออกมา เปน็ ผลผลิต การศกึ ษาไทย 4.0 ถือว่าเปน็ ยุคทเี่ ขา้ ส่ศู ตวรรษที่ 21 กลุ่ม Leapfrog Institute ซ่ึงเร่ิมโดย John Moravee และพัฒนามาจนถึงการศึกษา 4.0 โดย Arthur M. Harkins แห่ง University of Minnesota (อ้างอิงจาก ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ: 2559) สรุปว่า หลักการและแนวปฏิบัติของกลุ่มทฤษฎี “ก้ำวกระโดด” หรือ Leapfrog เก่ียวกับ การศึกษา 4.0 พัฒนามาจากกระบวนทัศน์ทางการศึกษาที่สาคัญ คือ การศึกษา 3.0 ท่ีส่งเสริม ให้ผู้เรียนเป็นผู้ผลิตความรู้ ไม่ใช่ผบู้ รโิ ภคความรู้ พลวัตการจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาผเู้ รยี นเน้นให้ผู้เรยี นได้เติบโตเองตามศักยภาพ เน้นการ คดิ และสร้างสง่ิ ใหม่ๆ เรยี กว่า นวัตกรรมและการใช้เทคโนโลยีเขา้ มามสี ว่ นสาคญั ทางการศกึ ษา แนวคิดแนวปฏิบัติ Leapfrog ซ่ึงช่วยให้เกิดทักษะสาหรับการศึกษา 3.0 - 4.0 แก่เด็ก อนุบาลถึง มัธยมศึกษา เป็นการประยุกต์ด้านศิลปศาสตร์ กับทักษะการคิดข้ันสูงจากหลากหลายสาขาวิชาเข้าด้วยกัน มแี นวปฏิบัตดิ ังน้ี 1) คิดอยา่ งเป็นระบบ รับรแู้ บบแผนความคิดและสร้างความคิดท่เี ป็นทางเลือกใหม่ๆ 2) คดิ อยา่ งมจี ินตภาพ ฝกึ คดิ สมมตเิ หตุการณ์ “จะเกดิ อะไรขน้ึ ถ้า…” ฝกึ คดิ ในใจ โดยใชจ้ นิ ตนาการ 3) มองหาการเปลี่ยนแปลง ความท้าทาย ความไม่รู้: พัฒนามุมมอง ความรู้ และทางเลือกเพ่ือ จัดการกบั สิ่งที่ย่งุ ยากและมีความไม่แนน่ อน 4) สร้างและจัดการกับอดีต ปัจจุบัน และอนาคต: สร้างและจัดการกับเวลาเสมือนจริง พัฒนา ความหมายท่ียืดหยนุ่ ของเวลาส่วนตัวและเวลาทางสังคม เชือ่ มโยงอดตี กับอนาคตดว้ ยปัจจบุ นั 5) พฒั นาและตอบสนองต่อเปา้ หมายและความท้าทาย: ตั้งเปา้ หมายและวัตถุประสงค์ คาดการณ์ถึง อปุ สรรคทจี่ ะขัดขวางความสาเร็จ หาวธิ ีแก้ไขอปุ สรรคน้นั ๆ 6) เข้าใจและใช้ข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ: เข้าถึงและใช้ข้อมูลเพ่ือแสวงหาโอกาส และแก้ไข ปญั หา 7) สร้างและใช้ความรู้ที่ประยุกต์แล้ว: รู้จักถ่ายโอนข้อมูลเพ่ือเป็นความรู้ท่ีเป็นประโยชน์ของตนเอง สร้างคุณลกั ษณะสว่ นตวั เพ่ือเพ่ิมความแตกต่างทางสติปญั ญา เสรมิ สรา้ งทางเลอื กเพือ่ การตัดสนิ ใจ 8) สร้างและใชค้ วามรทู้ ่ตี รงตามบรบิ ท กระบวนการ และวัฒนธรรม: รับรู้ ออกแบบ และสร้างบริบท จริงและบริบทเสมือนจริงท่ีเหมาะสมกับเหตุการณ์ต่างๆ รวบรวมและใช้มุมมองหลายๆ ด้านต่อเรื่องใดเรื่อง หน่งึ เสริมสรา้ งทางเลอื กเพอ่ื การตัดสนิ ใจ 9) ใช้ระบบ ICT ท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน: รู้จักเรื่องเทคโนโลยีซ่ึงทาให้เกิดการเรียนรู้ และเกิดสภาพ เศรษฐกจิ สมัยใหม่ เป็นทีห่ นง่ึ ในการประยกุ ต์ใช้ และใชฮ้ ารต์ แวร์ ซอฟต์แวร์ เนต็ เวิรค์ อย่างมปี ระสิทธิภาพ

21 10) แสวงหาความรู้และประเมินความรู้เก่ียวกับแนวโน้มโลก: สร้าง “big picture” เก่ียวกับโลก โดยใช้ทรัพยากรท่ีแตกต่างหลากหลายเป็น พลเมืองและนักคิดวิเคราะห์ระดับโลกใช้ big picture เพื่อช่วยให้ เกดิ ความเข้าใจปัญหาระดับทอ้ งถิน่ โอกาส เปา้ หมาย และวิธกี าร กล่าวได้ว่า นักการศึกษาในปัจจุบันมีแนวคิดเก่ียวกับการศึกษา 4.0 ไปในทิศทางท่ีใกล้เคียงกัน โดยจะต้องมีการปฏิรูปการศึกษาอย่างเป็นระบบให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึง ระดับอุดมศึกษา รวมถึงอาชีวศึกษา ท้ังระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอกในทุกสาขา ผู้มีบทบาทหน้าท่ีเกี่ยวกับ หลักสูตรจะต้องมีการวางแผนอย่างเป็นข้ันตอน ปรับปรุงสื่อการเรียนรู้ทุกชนิด พัฒนาบุคลากรทางด้าน การศกึ ษาให้มีความเข้าใจตรงกนั โดยเฉพาะครผู สู้ อนจะตอ้ งพัฒนาผู้เรยี นให้มีทักษะต่างๆ สอดคล้องกับทักษะ สาคัญในศตวรรษที่ 21 มีการพัฒนาผู้เรียนให้เติบโตตามศักยภาพ เน้นให้ผู้เรียนได้สร้างสรรค์ผลงานหรือ ผลผลิตในเชิงสร้างสรรค์ โดยเน้นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง สอดรับกับการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งมีแนวคิดในการนาเทคโนโลยี ดิจิตอลและอินเตอร์เน็ตมาใช้ในกระบวนการผลิตสินค้า โดยเชื่อมต่อทุก หนว่ ยของระบบการผลติ 2.2 กำรศึกษำ 4.0 กับแผนกำรศกึ ษำแห่งชำติ ผลการพัฒนาการศึกษาไทยท่ีผ่านมา จากการวิเคราะห์ของสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เก่ียวกับผลการพัฒนาการศึกษาไทยท่ีผ่านมาในประเด็นบริบทของการจัดการศึกษา โอกาสทางการศึกษา คุณภาพของการศึกษา ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน ประสิทธิภาพการบริหาร จดั การสถานศึกษา ประสทิ ธิภาพการใชจ้ า่ ยงบประมาณ สรุปได้ ดงั น้ี 1) ต้องมีการทบทวนการบริหารจัดการทรัพยากรท่ีอยู่ในระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและใช้ ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างสูงสดุ 2) โอกาสทางการศึกษาจะมีแนวโน้มที่ดีขึ้น แต่ยังพบปัญหาประชากรวัยเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ท่ีไม่ได้เข้ารับการศึกษาในระบบประมาณร้อยละ 11.7 และประชากรวัยแรงงานท่ีมีการศึกษาต่ากว่า ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น 3) คุณภาพการศึกษาทั้งด้านวิชาการและคุณลักษณะของผู้เรียนยังไม่น่าพอใจ และทักษะของกาลัง แรงงานยังไม่ตอบสนองความต้องการของผู้ประกอบการ ต้องมีการวิเคราะห์ทบทวนเป้าหมายและสาขาการ ผลิตและคณุ ภาพของกระบวนการจดั การศึกษา 4) ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรและการเงินเพ่ือการศึกษาของรัฐ การใช้จ่ายในบาง กจิ กรรมไมส่ ่งเสรมิ สนบั สนุนการพฒั นาผู้เรยี น 5) สมรรถนะด้านการศึกษาของประเทศไทยในเวทีสากล ยงั อยู่ในระดบั ทไ่ี มน่ ่าพึงพอใจ 3. กำรเรยี นรใู้ นยุคดิจิทลั การเรียนรู้ในยุคดิจิทัลมีสภาพท่ีเปล่ียนแปลงไปจากการเรียนรู้ในยุคที่ผ่านมา โดยในยุคท่ีผ่านมาการ อ่านออกเขียนได้เป็นเป้าหมายที่สาคัญเป้าหมายหนึ่งของการจัดการศึกษา แต่ในยุคดิจิทัลน้ันลักษณะของ

22 ความรู้ ทฤษฎีความรู้ กระบวนการเรียนรู้ ได้เปลี่ยนแปลงไปจากการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 20 แล้วอย่างสิ้นเชิง การเรียนรู้เพ่ือการอ่านออกเขียนได้คงไม่เพียงพอต่อการอาศัยในโลกที่มีความซับซ้อนดังเช่นโลกในดิจิทัลน้ีได้ สามารถสรุปความเปล่ียนแปลงที่สาคญั ของลกั ษณะการเรียนรใู้ นดจิ ทิ ัลไวด้ งั น้ี 3.1 ลกั ษณะของควำมรใู้ นยุคดจิ ิทลั Bruce and Other (2013) ไดน้ าเสนอความเปล่ียนแปลงขององค์ความรู้ที่เกิดจากเทคโนโลยเี ป็น ตัวกระตุ้น (technology is changing knowledge) ไวว้ ่า ความรูใ้ นยุคดจิ ิทลั จะมีลักษณะดังนี้ 1. มคี วามเชอื่ มโยง (hyperlinked) 2. มหี ลายมติ ิ (multidimensional) 3. สรา้ งขน้ึ ได้เอง (constructed) 4. อยู่ในรูปแบบของกราฟิก เสยี ง และวดิ โิ อ (held in graphic, audio and video formats) นอกจากน้ยี งั มลี กั ษณะเพิม่ เติมอีกคอื 5. สนบั สนนุ ปฏิสมั พนั ธท์ พ่ี ลวตั ของผู้ใช้ (support dynamic interactions with the user) ซ่งึ รวมไว้อยู่ในโปรแกรมในการสืบค้นข้อมูลทางอนิ เทอรเ์ น็ตอันทรงพลงั มหาศาล (incorporate powerful search engines) ดังท่ี Dron (2005) กล่าวว่า รูปแบบขององค์ความรู้ดังกล่าวจะทาให้มีค่าใช้จ่ายที่ถูกลงและอยู่ใน รูปแบบของอุปกรณ์พกพาที่ผู้เรียนและครูสามารถใช้ในการเข้าถึงการเรียนรู้ได้ทั่วโ ลกโดยครูจะสามารถ ตดิ ต่อสอื่ สารและแลกเปล่ียนองค์ความร้กู ับผูเ้ รียนผา่ นทางเวบ็ ไซตก์ ารเรียนรู้จึงไม่ได้จากัดอยู่แต่ในชั้นเรียนอีก ตอ่ ไป จากลกั ษณะของความร้ใู นยุคดจิ ทิ ลั ทไี่ ด้กลา่ วมาแล้วนนั้ สามารถสรปุ ได้วา่ ความรู้ในยุคดิจิทลั มี ลักษณะดงั น้ี 1. มีความหลากหลายมิติ เชื่อมโยงกันเป็นพลวัต โดยศาสตร์ต่าง ๆ ในโลกยุคดิจิทัลมีลักษณะที่ เป็นศาสตร์เชิงซ้อนที่ต้องอาศัยการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยใช้วิธีการเรียนร่ีหลากหลาย การจะเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพนั้น นอกจากผู้เรียนจะต้องมีทักษะการคิดวิเคราะห์เป็นพ้ืนฐานแล้ว จะต้องมีทักษะการ คิดเช่ือมโยง และทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์ เพือ่ นาไปสกู่ ารสรา้ งนวัตกรรมใหม่ทเี่ กิดจากการเรยี นรู้ได้ 2. ความรู้สามารถเปล่ียนแปลงได้และอยู่ในรูปแบบท่ีหลากหลาย กล่าวคือ สามารถสร้างขึ้นใหม่ได้ และความรเู้ ก่าบางอยา่ งกอ็ าจจะไมใ่ ช่ความร้ทู ีเ่ หมาะสมหรือใช้ได้กับยุคปัจจุบัน หรือความรู้ท่ีใช้ได้ในปัจจุบัน ก็อาจจะไม่ได้ความหมายว่าจะใช้ได้ตลอดไปในอนาคต โดยรูปแบบของความรู้อาจจะไม่ได้อยู่ในรูปของ ตัวอักษรในหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เพียงอย่างเดียว แต่อาจจะอยู่ในรูปแบบของภาพและเสียงที่มีสีสันที่มี ความน่าสนใจ และจดั เก็บได้งา่ ยหยบิ ใช้สะดวก 3. สามารถเข้าถึงได้ง่าย ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าการเข้าถึงวิทยาการหรือความรู้ในโลกใบน้ีจากทุกมุมของ โลกจะมีความแตกต่างกันน้อยลง ส่ิงที่จะแตกต่างกันบ้างก็คือความสามารถในในการเข้าถึงวิทยาการหรือ

23 ความรู้ เช่น ข้อจากัดในการใช้อินเตอร์เน็ตของผู้เรียนในบางพื้นท่ี ข้อจากัดในด้านภาษาต่างประเทศซ่ึง นับวันข่อจากัดเหล้านี้จะลดน้อยลง เนื่องจากศักยภาพท่ีเพ่ิมข้ึนของเทคโนโลยี ดังจะเห็นได้จาก ความสามารถของโปรแกรมการแปลภาษาของกูเกลิ (Google translate) ที่สามารถแปลไปมาระหว่างภาษา ต่าง ๆ ด้วยการพิมพ์ข้อความหรือการพูดแล้วเชื่อมโยงด้วยอินเตอร์เน็ตเพื่อแปลเป็นภาษาที่ต้องการได้ หลากหลายภาษา ทฤษฎีกำรเรยี นรู้ในยคุ ดิจทิ ลั นอกจากน้ียังพบว่าทฤษฎีการเรียนรู้ยุคท่ีผ่านมาท่ีเรารู้จักกันเป็นอย่างดีทฤษฎีหน่ึงก็คือ ทฤษฎีการ เรียนรู้ของบลูมที่พัฒนาข้ึนโดย Benjamin Bloom เมื่อ ค.ศ. 1956 โดยกาหนดพฤติกรรมทางพุทธิพิสัย (cognitive domain) ของผูเ้ รยี นไว้ 6 ลาดับ ได้แก่ 1. ความรู้ (Knowledge) 2. ความเข้าใจ (Comprehension) 3. การนาไปใช้ (Application) 4. การวเิ คราะห์ (Analysis) 5. การสงั เคราะห์ (Synthesis) 6. การประเมิน (Evaluation) ดูเหมือนว่าจะมีข้อจากัดและไม่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลหรือเพียงพอต่อการ พัฒนาการทางการคิดหรือสติปัญญาของผู้เรียนในยุคดิจิทัล ดังท่ี Anderson and Kreitzer (2001) ลูกศิษยข์ องบลมู ได้นาแนวคดิ น้ันมาทบทวนและนาเสนอใหมใ่ ห้ชดั เจนและสอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ในยุค ปัจจุบนั (Bloom’s Revised Taxonomy) 3.2 ทักษะจำเปน็ ต้องเรยี นรู้ในยุคดิจิทัล “การอ่านออกเขียนได้” หรือ literacy รวมถึงสามรถในการใช้คอมพิวเตอร์เป็น คือ เป้าหมายสาคัญ ของการเรียนรู้ใรศตวรรษท่ี 20 แต่น้ันอาจจะไม่เพียงพอสาหรับการเป็นผู้เรียนในยุคดิจิทัล ดังนั้น ภาคีเพื่อ ทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) จึงได้ริเร่ิมการกาหนด ทักษะท่ีจาเป็นสาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงเป็นผู้เรียนในยุคดิจิทัลว่าควรมีทักษะและความสารถใหม่ เพม่ิ ขนึ้ มาอกี ตามความจาเป็นตอ่ การอาศยั ในโลกยคุ ดจิ ิทลั ไว้ดงั น้ี 1. วิชาแกน (core subject) มีดังนี้ ภาษาอังกฤษ การอ่าน ศิลปะการใช้ภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ หน้าที่การเมือง การปกครอง เศรษฐศาสตร์ ศิลปะ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ 2. เน้ือหาสาหรับศตวรรษที่ 21 ได้แก่ จิตสานึกต่อโลก ความรู้พ้ืนฐานด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจ และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ ความร้พู ื้นฐานด้านพลเมอื และความตระหนกั ในสุขภาพ และสวสั ดิการ

24 3. ทักษะการเรียนรู้และการคิด ได้แก่ การคิดเชิงวิพากษ์ และทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการ สื่อสาร ทักษะการสร้างสรรค์และการผลิตนวัตกรรม ทักษะการทางานร่วมกัน ทักษะการเรียนรู้ตามบริบท และทกั ษะการเรียนรูด้ ้านขอ้ มลู และสื่อ 4. ความรู้พน้ื ฐานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ผู้เรียนจะต้องใช้ความรู้ด้านเทคโนโลยี ไปบูรณาการการเรยี นรดู้ า้ นเนอ้ื หาและทกั ษะ เพ่อื ใหเ้ กดิ การคดิ เชิงวิพากษ์ การแก้ไขปัญหา การใช้ข้อมูล ข่าวสาร การสอ่ื สาร การผลติ นวัตกรรม และการรว่ มมือกันทางาน 5. ทักษะชีวิต ได้แก่ ความเป็นผู้นา ความมีจริยธรรม การรู้จักรู้รับผิดชอบ ความสามารถในการ ปรับตัว รจู้ กั เพิ่มพนู ประสทิ ธิผลของตวั เอง ความรับผิดชอบต่อตนเอง ทักษะในการเข้าถึงคน ความสามารถ ในการชนี้ าตัวเอง ความรับผิดชอบตอ่ สังคม 6. การประเมนิ ในศตวรรษท่ี 21 การประเมินต้องวดั ผลลัพธ์สาคัญ 5 ประการ ได้แก่ 1) วิชาแกน 2) เน้ือหาสาหรับศตวรรษท่ี 21 3) ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละการคิด 4) ความรู้พ้ืนฐานด้านไอซีที 5) ทักษะชีวิต ซึ่งการแระเมนิ ควรทาควบคกู่ นั ไปทง้ั วชิ าแกน และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ วจิ ารณ์ พานชิ (2557) ได้กลา่ วไวว้ า่ การอา่ นการเขียนได้ หรือ literacy ทเี่ รา ค้นุ เคยนีไ้ ม่เพยี งพอ ตอ้ งเลยไปกว่านน้ั คือ ตอ้ งทที ักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 สามารถแจกแจงออกได้เป็น 3Rs + 8Cs และ 2Ls โดยได้เพ่ิม 1C และ 2Ls มาดังน้ี 3Rs ไดแ้ ก่ 1. Reading (การอา่ นออก) 2. (W) Riting (การเขยี นได)้ 3. (A) Rithmetics (การคดิ เลขเปน็ ) 8Cs ได้แก่ 1. Critical Thinking & problem solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และทักษะใน การแก้ไขปญั หา) 2. Creativity & innovation (ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรม) 3. Cross-cultural understanding (ทักษะด้านความเข้าใจตา่ งวัฒนธรรมตา่ งกระบวนทศั น์) 4. Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะด้านความร่วมมอื การทางานเปน็ ทมี และ ภาวะผูน้ า) 5. Communications, information & media literacy (ทกั ษะดา้ นการส่อื สารสารสนเทศและ รเู้ ท่าทนั สื่อ) 6. Computing & ICT literacy (ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร) 7. Career & learning skills (ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรียนร)ู้

25 8. Change (ทักษะการเปล่ยี นแปลง) 2Ls ไดแ้ ก่ 1. Learning skills (ทกั ษะการเรยี นร้)ู 2. Leadership (ภาวะผู้นา) โดยได้ใหค้ วามหมายของ Learning skills วา่ ตอ้ งมี 3 องค์ประกอบ คือ 1. Learning คือ เรียนรู้ส่งิ ใหม่ 2. Delearning หรอื unlearning กค็ ือ เลิกเชอื่ ของเกา่ เพราะมนั ผิดไปแลว้ 3. Relearning คอื เรยี นรสู้ ่งิ ใหม่ โดยเปลย่ี นชดุ ความรเู้ ปน็ โลกสมยั ใหม่ เพราะความรู้มันเกิดข้ึนใหม่ มากมายและหลายสว่ นผิดหรือไมด่ ีแลว้ มีของใหม่ที่ดีกวา่ จากทกั ษะการเรยี นรู 3Rs + 8Cs และ 2Ls ทาให้การอา่ นออกเขียนได้ หรือการเรียนหนังสือ หรือ literacy ดังกล่าว วิจารณ์ พานิช (2557) จึงขยายขอบเขตออกไปเพ่ือให้สอดคล้องกับสภาพความรู้ในยุค ดิจิทัล ไดแ้ ก่ 1. Media literacy คือ การรู้เท่าทันสื่อ รู้ว่าข้อความในสื่อเช่ือถือได้แค่ไหน รู้ว่าข้อความในสื่อซ่อน อะไรไว้เบอ้ื งหลงั 2. Communication literacy คือ การมีทักษะในการสื่อสารหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ การพูด การฟัง การเขียน การอ่าน และการส่ือสารผ่านทางเทคโนโลยีสารสนเทศและในสมัยนี้ต้องส่ือสารผ่านทาง โซเชยี ลมเี ดียเป็นด้วย สื่อสารแล้วได้ผลดตี ามประสงคเ์ กดิ ความสมั พันธ์ทด่ี ี รวมรเู้ ท่าทันไมถ่ กู หลอก 3. Team literacy คือ การมีทักษะในการทางานเป็นทีม รู้จักต่อรองประนีประนอม ทางานร่วมกับ คนทมี่ คี วามเหน็ หรอื ความเช่อื แตกต่างกันไป 4. Social literacy คือ การมีทักษะทางสังคม เข้ากับผู้อ่ืนที่มีปฏิสัมพันธ์กับตนได้ ทักษะทางสังคม ประกอบด้วยทักษะการส่ือสาร การวางตัว ว่าท่าที และการแสดงความยอมรับนับถือ สัมมาคารวะ อ่อนน้อม ถ่อมตน เปน็ ต้น 5. Networking literacy คือ การมีทักษะในการสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงร่วมมือในลักษณะของ ความสัมพนั ธ์แนวราบ 6. Environment/earth literacy คอื ความเขา้ ใจและทกั ษะในการปฏบิ ตั ิต่อสง่ิ แวดล้อมและต่อโลก เพอ่ื รกั ษาสมดลุ ของสภาพแวดลอ้ ม ชว่ ยกันหลกี เล่ียงการกอ่ มลภาวะ 7. STEM literacy คือ การมีทักษะด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยทก่ี ารศึกษาสมยั ใหมไ่ ด้จดั ใหเ้ รยี น 4 วิชาน้ีควบไปดว้ ยกนั 8. Aesthetic literacy คือ การมที ักษะในการชืน่ ชมความงามและศิลปะ ทั้งที่มีอยู่ในธรรมชาติ และ ทม่ี นุษย์สร้างขน้ึ

26 9. Civic literacy คือ การมที กั ษะเป็นพลเมือง รักถิน่ รกั ชมุ ชน รักและจงรักภักดีต่อประเทศ 3.3 ควำมฉลำดทำงด้ำนดจิ ิทัล (Digital Intelligence) นอกจากทักษะท่ีจาเป็นต่อการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 แล้ว เน่ืองจากสภาพปัญหาการใช้ความเป็น โลกดิจิทัลอย่างการรู้เท่าทันของเด็กและเยาวชน รวมท้ังผู้ใหญ่จานวนมากในสังคมไทย ทาให้ต้องตกอยู่ใน สภาพทม่ี ีความเส่ยี งสงู มาก โดย Park (2016) ไดน้ าเสนอความฉลาดทางดิจิทลั ไว้ 8 ประการ ดงั น้ี 1. อัตลักษณ์ในโลกดิจิทัล (digital identity) คือ คนท่ีใช้ชีวิตอยู่ในยุคดิจิทัลต้องมีทักษะในการ สร้างการบริหารอัตลักษณ์ และช่อื เสียในโลกออนไลนข์ องตัวเองให้เป็น รวมไปถึงการจัดการกับตัวเองในโลก ออนไลน์ทั้งในระยะส้ันและระยะยาวดว้ ย 2. การใช้เคร่ืองมือและส่อื ดิจทิ ลั (digital safety) คือ ทกั ษะในการใช้เคร่ืองมือและสื่อในยุคดิจิทัล เพ่อื เกิดประโยชน์สงู สุด โดยสามารถสรา้ งสมดลุ ให้กบั ชวี ติ ออนไลน์เพ่ือออฟไลน์ได้อย่างดี 3. การอยใู่ นโลกดจิ ทิ ัลอยา่ งปลอดภัย (digital use) คือ ทักษะในการบริหารจัดการความเสี่ยงใน โลกออนไลน์ เช่น การไม่ไปรังแกและสามารถจัดการกับการถูกรังแกบนโลกไซเบอร์ (cyber bullying) ได้ และรวมไปถงึ การเกีย้ วพาราสี การเสยี ดสี ชนช้นั รวมไปถึงเน้ือหาต่าง ๆ ที่สุ่มเส่ียง เน้ือหาท่ีมีความรุนแรง หยาบคาย ลามกอานาจาร ฯลฯ 4. ความปลอดภัยในโลกดิจิทัล (digital security) คือ การมีความสามารถในการตรวจสอบ เนื้อหาเบ้ือต้นว่าตนเองมีภัยคุกคามในโลกไซเบอร์หรือไม่ เช่น การแฮกบัญชีผู้ใช้อีเมล เฟชบุ๊ก เคร่ืองมือ ส่ือสารติดไวรัสคอมพิวเตอร์ มัลแวร์ ถูกขโมยรหัสผ่านแฮกบัญชีธนาคาร หรืออ่ืน ๆ ความปลอดภัยในโลก ดิจิทัลน้ีรวมไปถึงการป้องกัน การหลีกเลี่ยง การจัดการอย่างถูกวิธีเม่ือเจอภัยคุกคามหรือถูกละเมิดความ ปลอดภัยด้วย 5. ความฉลาดทางอารมในโลกดิจิทลั (digital emotional intelligence) คือ การแสดงออกทาง อารมณ์อย่างชาญฉลาดบนโลกออนไลน์ ทักษะหรือมารยาทการเข้าสังคมในโลกออนไลน์ เช่น การแสดง ความเห็นอกเห็นใจ เสียใจ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ยินดี สนุกสนาน หรือ อ่ืน ๆ เพื่อสร้างสัมพันธภาพกับ ผู้คนในออนไลน์ 6. การสื่อสารในโลกดิจิทัล (digital communication) คือ ความสามารถในการสื่อสาร ปฏสิ ัมพนั ธแ์ ละความรว่ มมอื กบั ผอู้ ืน่ โดยใช้เทคโนโลยแี ละสือ่ ดิจทิ ลั 7. การบริหารจัดการลิขสิทธิ์ดิจิทัล (digital rights) คือ ความเข้าใจในสิทธิเฉพาะตัว และสิทธิ ทางกฎหมาย รวมไปถึงสิทธิความเป็นส่วนตัว ทรัพย์สินทางปัญญา เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และ หลกี เลยี่ งถอ้ ยคาแห่งความเกลยี ดชังทั้งของตนเองและผู้อ่นื 8. การรู้ดิจิทัล (digital literacy) คือ ความสามารถในการค้นหา ประเมิน ใช้ประโยชน์ แบ่งปัน และสร้างสรรค์เนื้อหา รวมไปถึงความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ หรือคิดเชิงประมวลผล (computational thinking) การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะท่ีจาเป็นเหล่าน้ีได้น้ัน มีความจาเป็นอย่างย่ิงที่ทางสถานศึกษา จะต้องปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้ โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมการคิด และการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง

27 โดยมีเงื่อนไขหรือสถานการณ์ที่มีความใกล้เคียงกับสภาพความเป็นจริงในการดารงชีวิตอยู่ในโลกปัจจุบันใน มากทีส่ ดุ เพ่ือเกดิ ความชานาญจนกลายเป็นทักษะ โดยแนวคิดดังกล่าวนามาสู่แนวทางการเปลี่ยนแปลงนโยบายการศึกษาด้านกระบวนการเรียนรู้ของ รัฐบาล ดังท่ีสานักงานเลขาธิการสถานศึกษา (2557: 17) กล่าวว่า กระบวนการเรียนรู้ที่เป็นพื้นฐานที่ สาคัญ และเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียนในยุคนี้ ได้แก่ การเรียนรู้แบบการสอนให้น้อย เรียนให้ มาก (Teach Less, Learn More) เป็นการพัฒนาสมรรถนะท่ีสาคัญของผู้เรียนให้มีความเช่ือม่ัน กล้าตัดสินใจ มคี วามคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์และสามารถเผชญิ กบั สถานการณท์ เ่ี ปน็ ปัญหาได้ ตามแนวการจัดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพท่ีต้องการการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นองค์รวม น่ันคือ ไม่เน้นการถ่ายทอด เฉพาะความรู้เท่านั้น แต่จะต้องพัฒนาทักษะกระบวนการและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ควบคู่ไปด้วย รวมถงึ การเรยี นรู้ทเ่ี ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นกาหนดเปา้ หมายและความสนใจของตนเอง กล่าวคือ ผู้เรียนแต่ละคน มคี วามเกง่ หรือความสามารถทีแ่ ตกต่างกัน จึงควรได้รบั การสง่ เสริมท่ตี รงกับความถนัดของแตล่ ะคน

28 บทท่ี 3 กำรพฒั นำหลักสตู รสถำนศึกษำตอ่ เนื่องเช่ือมโยง กำรศกึ ษำขั้นพนื้ ฐำน กบั อำชวี ศกึ ษำและอดุ มศกึ ษำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ. ศ. 2545 มาตรา 27 วรรค 2 ให้สถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานมหี นา้ ที่จดั ทาสาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ในวรรค 1 ใน สว่ นทเ่ี กยี่ วกบั สภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อเป็นสมาชิกที่ ดีของครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ สานกั งานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ซ่ึงเป็นอีกหน่วยงานหนึ่งท่ีเป็นหลักสาคัญในการขับเคล่ือนการ จัดการศึกษาในจังหวัดเชียงราย ปฏิบัติภารกิจเก่ียวกับการบริหาร และการจัดการศึกษาในระดับพ้ืนที่จังหวัด เชียงราย ได้ตระหนักถึง ความสาคัญของการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษาและ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษาเรียนรู้ ตามบริบท และความตอ้ งการของผเู้ รยี นและความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น ในจังหวัดเชียงราย สามารถ เช่ือมโยงการเรียนรู้ ตามความต้องการของผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จึง กาหนดโครงการท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาที่สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดโครงการให้มาโดย ดาเนินการตามโครงการบูรณาการกับสถานศึกษา และหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาในจังหวัดเชียงราย พัฒนา รูปแบบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเช่ือมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา เพ่ือกลุ่มเป้าหมายท่ีมีการจัดการศึกษาต่อเน่ืองจะได้นารูปแบบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ือง เช่อื มโยงการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กับอาชวี ศึกษา และอุดมศึกษา ไปใช้ในสถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษา ในลาดบั ตอ่ ไป โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 ( เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท) จึงศึกษาข้อมูลผลการวิเคราะห์ สถานการณ์การศึกษาภาพรวมของจังหวัดเชียงราย (SWOT Analysis) จากแผนการศึกษาหวัดเชียงราย พ.ศ. 2560-2564 นาไปวิเคราะห์สภาพบริบทและทิศทางแนวโน้มความเปล่ียนแปลงของจังหวัดเชียงรายใน อนาคตและนาไปประกอบการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาต่อเนื่องเช่ือมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับ อาชีวศกึ ษาและอุดมศกึ ษา ดังต่อไปนี้ 3.1 สภำพแวดล้อมภำยใน 1. จุดแข็ง S1 นโยบายสง่ เสริมสถานศกึ ษาใหบ้ รกิ ารการศึกษาหลักหลายรปู แบบครอบคลุมทุกพนื้ ทส่ี ง่ ผล ใหป้ ระชาชนมีทางเลือกและโอกาสในการเข้ารับการศึกษาและเข้าถงึ แหลง่ เรยี นรู้มี เครือข่ายกระจายครอบคลุมทุกพ้ืนท่ี ทาใหม้ ีการประสานงานมีประสทิ ธภิ าพ

29 S2 สถานศกึ ษาตระหนักและเห็นความสาคัญของการจดั การศึกษาทย่ี ดึ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญส่งผล ใหผ้ เู้ รียนมีแนวโน้มผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นทส่ี งู ขึ้น และมพี ัฒนาการด้านการเรยี นร้ทู ่ีดขี ้ึน S3 สถานการณ์ม/ี ใช้หลักสตู รแกนกลางและหลักสตู รทอ้ งถิน่ ส่งผลให้ครูมที ิศทางการจดั การ เรียนการสอนทีเ่ ปน็ เอกภาพ มีการนิเทศติดตามอย่างทั่วถึง S4 สถานศกึ ษากระจายอานาจการ สง่ ผลให้มีอสิ ระและในการบริหารจดั การอย่างมีส่วนรว่ ม S5 สถาบนั อาชีวศกึ ษามีหลกั สูตรเฉพาะและมกี ารจัดการเรยี นการสอนในห้องเรยี นเฉพาะทาง ตามสมรรถนะและมกี ารใชว้ ัสดุอปุ กรณ์ สื่อการเรียนการสอนรว่ มกบั สถานประกอบการ ปฏิบัตจิ รงิ และใหบ้ ริการชุมชน (Fix it center) สง่ ผลให้ผูจ้ บการศึกษาเปน็ ที่ยอมของ ตลาดแรงงานและบคุ คลภายนอก S6 สถาบันการศึกษาตัง้ อยู่ทาเลที่เป็นประตสู ู่ส่ีเหล่ียมเศรษฐกิจ (ลาว,พม่า,จีน) ทาใหส้ ามารถ รบั ประโยชนจ์ ากโครงการความร่วมมือในอนภุ ูมภิ าคลุ่มน้าโขง ( GMS) S7 ผเู้ รยี นการศกึ ษาพิเศษไดร้ บั การศึกษาตามหลักสูตรทเี่ หมาะสมและตรงประเภทความ พกิ ารให้สามารถดาเนินชวี ติ ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข S8 จังหวดั เชยี งรายมีสถาบันอดุ มศกึ ษา ทสี่ ามารถจดั การศึกษารองรบั ผเู้ รยี นที่จบการศึกษาทุก ระดับ 2. จดุ อ่อน W1 คณุ ภาพของผเู้ รียน นักศกึ ษาไม่เป็นไปตามเกณฑ์ทกี่ าหนด W2 ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ไมค่ รบตามเกณฑ์ท่กี าหนดและคุณวฒุ ิไมต่ รงสาขาขาด ความมน่ั คงในอาชีพ ขวญั และกาลังใจ W3 สถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน มีจานวนโรงเรยี นขนาดเล็กเพิ่มมากขน้ึ ส่งผลกระทบต่อการบรหิ าร จดั การทุกด้าน W4 ครภุ ัณฑ์ทางการศึกษาไมเ่ พยี งพอและไมร่ องรบั กบั สถานการณ์ปัจจบุ ัน W5 โครงสรา้ งการบริหารงานของหนว่ ยงานทางการศกึ ษา มสี ายการบังคบั บัญชาหลายช้ัน

30 ส่งผลให้การขบั เคลื่อนการจดั การศกึ ษาเปน็ ไปได้ช้า W6 การตดิ ตามช่วยเหลือผู้เรียนยังดาเนินการได้ไม่ครอบคลุม ทวั่ ถงึ ส่งผลต่อการออกกลางคนั ของผเู้ รยี น นกั ศึกษาทุกระดบั W7 การบรหิ ารจัดการศกึ ษาสาหรับเดก็ พิการทางการศึกษาในการจดั การศึกษาท้ังระบบไม่มี ระบบบริหารจดั การทช่ี ัดเจนสง่ ผลตอ่ การดแู ลและจัดการศกึ ษาใหแ้ กผ่ ู้พิการ 3.2 สภำพแวดลอ้ มภำยนอก 1. โอกำส O1 นโยบายของรัฐส่งเสริม สนบั สนุนให้หน่วยงานของรฐั และเอกชนในด้านการลงทนุ ทาง การศกึ ษา ทาใหเ้ กดิ การส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต เพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษาทุกรปู แบบ ในการแข่งขนั ในประชาคมอาเซยี น และการพัฒนาทักษะชีวิตของประชาชนโดยยึดตาม หลกั การปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง O2 การใช้สื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ สง่ ผลให้การจัด การศกึ ษามีประสทิ ธภิ าพในการบริหารจดั การ เพ่ิมโอกาสทางการศึกษาและผูร้ บั บรกิ าร ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทัว่ ถึง O3 หนว่ ยงานองค์กรตา่ งๆ ชุมชน ผู้ปกครองและผู้ทเี่ ก่ียวขอ้ งในการจดั การศกึ ษา มคี วาม เชือ่ มัน่ ต่ืนตัวและมสี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา O4 จงั หวดั เชียงรายเปน็ เขตเศรษฐกจิ พิเศษ ประตูการคา้ ชายแดน เปน็ ศนู ย์กลางทาง การศึกษาในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง สง่ เสรมิ นโยบายเปิดโอกาสการศกึ ษาดึงดดู นักศึกษา ต่างชาติ 2. อุปสรรค T1 ปกครองสว่ นใหญย่ งั ยากจน ไม่สามารถส่งบุตรหลานเรียนต่อในระดับท่ีสูงขน้ึ แม้รฐั บาลจะมีนโยบายสนับสนนุ ค่าใชจ้ า่ ยการศึกษาขัน้ พื้นฐาน เปน็ ผลให้ ผู้ปกครองบาง คนต้องให้บุตรหลาน ไปทางานหาเลย้ี งครอบครัว รวมทัง้ มี สว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา น้อย กอ่ ให้เกิดปัญหาเด็กตกหลน่ และออกกลางคัน จานวนมาก T2 ผูป้ กครองของเด็กพิเศษมีถิ่นทอ่ี ยู่อาศัยหา่ งไกลและมีฐานะยากจน ส่งผลให้เด็ก ไม่ได้รบั บรกิ ารตามแผนท่กี าหนด และสว่ นใหญ่มีรายไดไ้ ม่เพียงพอตอ้ งออกไป ทางานต่างจงั หวัด และทิง้ ลูกใหอ้ ยู่กับญาตผิ ้ใู หญ่สง่ ผลให้ผเู้ รยี นไม่ไดร้ บั การดแู ล พฒั นา เทา่ ทีค่ วร

31 T3 ค่านยิ มของผูป้ กครองในการส่งเดก็ เขา้ เรียนโรงเรียนยอดนยิ ม ทาใหเ้ กดิ ปัญหาโรงเรยี น ขนาดเล็ก และคา่ นยิ มให้บุตรหลาน เรยี นตอ่ ในสายสามัญมากกว่าใน สายอาชพี T4 ทีต่ ั้งของสถานศกึ ษาส่วนหนง่ึ อยู่บนพ้นื ท่สี ูง การคมนาคมไม่สะดวก มีความ หลากหลายทางชาติพันธ์ุ วัฒนธรรม ภาษา ตลอดจนความไมส่ งบตามแนว ชายแดน เปน็ อปุ สรรคในการส่อื สารและการจัดการเรียนรูใ้ หแ้ ก่เดก็ ไรร้ ัฐ ไร้สัญชาติ และการเกิดปัญหา การใชแ้ รงงานเด็ก การค้ามนุษย์ และการตง้ั ครรภ์ ในวัยเรียน T5 สภาพพื้นทบี่ างแหง่ ไมเ่ อ้อื ต่อการใชเ้ ทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากรด้าน ICT ไมเ่ พยี งพอต่อความต้องการของสถานศึกษา ผูป้ กครองและผู้เรยี นขาดความ ตระหนักในการนาเทคโนโลยไี ปใช้ใหเ้ หมาะสม T6 การดาเนนิ งานบางเร่อื งยังขาดกฎหมายรองรบั ไดแ้ ก่ การยบุ รวม โรงเรียน ขนาดเล็กการสรรหาครูและบุคลากรทางการศึกษา การบริหารงานบุคคล เปน็ ตน้ T7 ความร่วมมอื และการสง่ เสริมคุณภาพการศึกษาจากองคก์ รอืน่ ยังไม่ทั่วถึง ไมเ่ ปน็ รูปธรรม และมสี ่วนรว่ มนอ้ ยในการจดั การศึกษาของคนพิการ T8 การอพยพโยกย้ายของประชากร ส่งผลตอ่ การวางแผนการจัดการศกึ ษา เชน่ การเกณฑเ์ ด็กและการรบั ผเู้ รียน เป็นต้น T9 จงั หวดั เชียงราย มีสถานประกอบการ อุตสาหกรรมเกษตร และการแปรรปู ไม่เพียงพอ สาหรับการฝกึ งานของนักศึกษาอาชีวศึกษาในจงั หวดั เชยี งราย T10 สถาบันครอบครวั ไม่เขม้ แข็ง และประชากรวยั เรียนในชว่ งวยั รุ่น มีความเส่ียง ต่อยาเสพติดและกอ่ ปัญหาทางสังคม T11 สถานศึกษาระดับอาชวี ศกึ ษาไม่ครอบคลมุ ทุกพ้นื ท่ี ส่งผลใหผ้ เู้ รียน เรียนต่อ สายสามญั มากกว่าสายอาชีพ T12 รัฐบาลใหก้ ารสนบั สนุนงบประมาณไม่เพยี งพอตอ่ การจัดการศึกษาทกุ ระดับ

32 โดยยึดกระบวนการพฒั นาหลักสตู รทอ้ งถิ่นของ ฆนัท ธาตทุ อง (2550). ตามข้ันตอนของการ ดาเนินงาน 8 ขั้นตอน ดงั นี้ ส่วนที่ 1 กำรสรำ้ งหรอื จัดทำหลกั สตู รท้องถิน่ ข้นั ที่ 1 ออกแบบหลกั สตู ร ในขัน้ ตอนนเี้ ปน็ การเริ่มต้นเพ่ือให้ได้มาซ่งึ องคป์ ระกอบหลักของ หลกั สูตรทอ้ งถิน่ โดยดาเนนิ การดังนี้ - 1.1. ชี้แจงทาความเข้าใจ โดยเริ่มจากการนาเข้าสู่ประเด็นการพฒั นา หลักสตู รท้องถิ่น ด้วย การประชมุ สัมมนา ประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร ชีแ้ จง ทาความเข้าใจ ปรับพืน้ ฐาน ความรู้ เกี่ยวกบั การพฒั นา หลกั สตู รทอ้ งถน่ิ ให้กบั ผ้บู ริหารและครู 1.2 ศึกษาข้อกฎหมาย ข้อมูลพื้นฐานและความต้องการของ ท้องถิน่ ได้แก่ สภาพปญั หาและ ความตอ้ งการของทอ้ งถิ่น รวมทงั้ การวเิ คราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้อง ดงั น้ี • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 • พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2542 • หลักสูตรสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 • เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ยี วกับการพฒั นาหลกั สตู รท้องถ่ิน • ศกึ ษาความตอ้ งการของผเู้ รียน ผูป้ กครอง ครู กรรมการ สถานศกึ ษา ผู้นาศาสนาและผู้ทีม่ สี ่วนเก่ียวกบั การพฒั นา หลักสูตรทอ้ งถิน่ • ศึกษาความต้องการในการพัฒนาหลักสูตรท้องถ่ิน • ศึกษาความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ความต้องการดา้ นการพัฒนา หลกั สตู รท้องถิ่น ด้าน เน้อื หาและดา้ นกิจกรรมการเรยี นการสอนจากผเู้ กยี่ วข้อง อน่ึง ในการออกแบบหลักสูตรควรใช้ความรอบรู้ท้ังด้านปรัชญา ปรัชญาการศึกษา จิตวิทยา สังคม วทิ ยา ระเบียบวิธีการวิจัย เพื่อให้การออกแบบครอบคลุมมิติด้านคุณธรรม จริยธรรม สังคม วัฒนธรรม ความ ต้องการ ความแตกตา่ งและพัฒนาการของบุคคล และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ข้ันที่ 2 จัดทำเอกสำรหลักสูตร เป็นการดาเนินการจัดทาเอกสารเพ่ือให้ ทุกฝ่ายได้ใช้เป็น แนวทางดาเนินการให้บรรลตุ ามเปา้ หมายและวัตถุประสงค์ทกี่ าหนดไวเ้ ยดาเนนิ การ ดังตอ่ ไปน้ี 2.1 จดั ทาเอกสารหลกั สตู รระดับสถานศึกษา โดยกาหนดองค์ประกอบ ท่ีสาคัญของหลักสูตร สถานศึกษาท่ีเน้นความเป็นท้องถ่ิน ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้างหลักสูตร รูปแบบการจัดเวลาเรียน ตารางการจัดการเรียนรู้ รายสัปดาห์ รูปแบบและวิธีการจัดการ เรียนร้สู ่ือการเรยี นรู้

33 2.2 ออกแบบการสอนและการจัดทาหนว่ ยการเรยี นรู้ โดยพิจารณา มาตรฐานการเรียนรู้ของ ท้ัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อนาไปกาหนดสาระการ เรยี นรู้ที่สอดคลอ้ งกับท้องถิน่ ดว้ ยการดาเนินการ 8 ข้นั ตอน ต่อไปน้ี ขน้ั ตอนท่ี 1 กาหนดสาระการเรยี นร้ทู ีผ่ เู้ รียนจะได้เรยี นรู้และสามารถทาได้ ขั้นตอนที่ 2 ความคิดรวบยอด ขั้นตอนที่ 3 คาถามสาคญั ขน้ั ตอนที่ 4 การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ขัน้ ตอนท่ี 5 ความสอดคล้องกับกลุ่มสาระการเรยี นร้อู ื่น ๆ ขน้ั ตอนท่ี 6 เทคนิคและวธิ กี ารเรียนรู้ ขัน้ ตอนท่ี 7 ส่ือ และแหลง่ การเรยี นรู้ ข้นั ตอนที่ 8 เกณฑก์ ารประเมินผลงานผ้เู รียน 2.3 จัดเอกสารหลักสูตรระดับช้ันเรียน ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงเป็นการดาเนินงาน ตอ่ เนือ่ งจากการออกแบบการสอน โดยแผนการจัดการเรียนรู้มีองค์ประกอบ ดังต่อไปน้ี คือ ความคิดรวบยอด คาถามสาคัญ จุดประสงค์ปลายทาง จุดประสงค์นาทาง มาตรฐาน การเรียนรู้ช่วงชั้น ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ วิธีการประเมินผลระหว่างเรียน วิธีการ ประเมนิ ผลเมื่อสน้ิ สดุ การเรียน เกณฑ์การประเมินชนิ้ งาน บนั ทึกหลังการสอน และอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม การจัดทาเอกสารหลักสูตร จะแสดงออกมาในรูปของเอกสารท่ีเป็นข้อกาหนด เก่ียวกับ การเรียนการสอน ทีเ่ ขียนขึ้นอยา่ งเป็นทางการ เพือ่ ใชเ้ ป็นเครอ่ื งมือในการจดั การเรียนรู้ เอกสาร หลักสูตรแบ่ง ได้เป็นสองส่วน คือ 1) เอกสารหลักสูตรที่เป็นตัวหลักสูตร ซ่ึงกล่าวถึงสาระสาคัญของ หลักสูตรโดยตรง และ 2) เอกสารประกอบหลักสูตร เป็นเอกสารท่ีอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับรายละเอียด ต่างๆ ของหลักสูตรเพ่ือทาให้ สามารถนาหลักสตู รไปใชไ้ ด้ โดยสาระสาคญั ของ “เอกสารหลกั สูตร อยา่ งนอ้ ยควรระบุสาระสาคัญ ดังนี้ 1. เหตุผลและหลักการของการจัดทาหลักสูตร เพื่อแสดงให้ผู้ใช้ทราบว่าทาไมต้องจัดทา หลักสูตร และหลกั การสาคญั ของหลักสตู รเปน็ อยา่ งไร 2. ความมุ่งหมายของหลักสูตร ได้แก่ จุดมุ่งหมายท่ัวไปหรือจุดหมายปลายทาง ที่มีลักษณะ เป็น ปรชั ญาทีเ่ นน้ ค่านยิ มมากวา่ การปฏิบตั หิ รือการเรียนการสอน 3. ส่ิงท่ีหลักสูตรกาหนดให้กับผู้เรียน ได้แก่ เน้ือหาสาระหรือประสบการณ์ท่ีคาดหวัง ว่าถ้านาไปจัด ใหก้ บั ผเู้ รียนแลว้ จะทาให้ผเู้ รยี นเกิดคุณลกั ษณะตามจุดมุ่งหมาย 4. แนวทางการนาหลักสูตรไปใช้ ได้แก่ แนวทางหรือวิธีการที่จะนาหลักสูตรไปจัดการเรียน การสอน เช่น ขอบเขตการใช้ การบริหารหลักสูตร การส่งเสริมสนับสนุน บทบาทของผู้ที่เก่ียวข้อง เป็นต้น โดยสาระ รายละเอียดอาจทาเปน็ เอกสารประกอบหลักสูตร

34 5. การจัดประสบการณ์หรือการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ แนวทางหรือวิธีการจัดการเรียนรู้ ที่ สอดคล้องกับรูปแบบของการออกแบบหลักสูตรและเน้ือหาสาระที่กาหนด เป็นวิธีหรือยุทธศาสตร์ ของการ จัดการเรยี นการสอนทห่ี ลกั สูตรเน้นหรือใหค้ วามสาคญั เป็นพเิ ศษ 6. การวดั และประเมินผล ได้แก่ แนวทางหรือวธิ ีการทีจ่ ะใช้เป็นเครื่องมือสาหรบั แสดง ใหเ้ ห็นถงึ ความสาเร็จตามจดุ มุ่งหมายของหลกั สูตร เช่น การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินหลกั สตู ร เปน็ ตน้ ส่วนที่ 2 กำรนำหลักสตู รไปใช้ ขัน้ ที่ 3 กำรบริหำรจัดกำรหลักสูตรท้องถิ่น ซึ่งเป็นกระบวนการวางแผน และการจัดการเพื่อ นาหลักสูตรท้องถิ่นไปสู่การจัดการเรียนการสอน ภายหลังจัดทาเอกสารหลักสูตร เรียบร้อยแล้ว โดยมี งานหลักทส่ี าคญั คือ 3.1 การวางแผนการใช้หลักสูตร ต้องเร็วท่ีสุด ผู้เรียนหลักสูตร เดิมได้รับผลกระทบน้อยท่ีสุด ไม่เปน็ ปญั หากับการดาเนนิ งานของหลักสูตรใหม่และหลักสูตรเดิม 3.2 การประชาสัมพนั ธห์ ลักสูตร เพอ่ื สร้างความเขา้ ใจให้ ผู้เกีย่ วขอ้ งโดยเฉพาะส่วนที่เป็นการ เปลยี่ นแปลงวา่ คอื อะไร สาคญั อย่างไร ส่งผลต่อบทบาทหน้าที่ ของตนเองและผ้อู ่นื อยา่ งไร 3.3 การเตรียมบุคลากร เปน็ การให้ความรู้และทักษะท่ีจาเป็น ต่อการดาเนินงานตามแนวคิด ของหลกั สตู ร 3.4 การจัดสภาพแวดล้อม ต้องจัดให้เอ้ือกับการดาเนินงาน ตามแนวคิดของหลักสูตร ทั้งใน ระดับสถานศึกษาและชุมชน โดยจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และระหวา่ งหนว่ ยงาน ข้ันท่ี 4 กำรสนับสนุนส่งเสริมกำรใช้หลักสูตรท้องถิ่น จะประกอบด้วย ภารกิจสาคัญ คือ การนิเทศติดตามผล เพราะจะทาให้ทราบปัญหาและแก้ไขปัญหาของการใช้ หลักสูตรได้ทันการ การ จัดระบบการส่งเสริมสนับสนุนด้านต่าง ๆ เช่น จัดระบบสารสนเทศและ แหล่งการเรียนรู้สาหรับครู นักเรียน ให้การบริการเก่ียวกับเครื่องมือวัดและประเมินผล การสร้างขวัญ กาลังใจ เป็นต้น ท้ังนี้การ สนับสนุนส่งเสริมการใช้หลักสูตรคงจะต้องดาเนินการให้ครอบคลุมทุกกลุ่ม เป้าหมายและต้อง ดาเนนิ การอยา่ งต่อเน่ือง ขั้นที่ 5 กำรจัดกำรเรียนกำรสอน สาหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีแนวโน้มไป ตามรูปแบบหลักสูตร เช่น หลักสูตรที่ยึดเน้ือหาเป็นศูนย์กลาง จะมุ่งการนาเสนอเนื้อหา โดยครูจะมี บทบาทมาก เน้นการบรรยายและการสาธิต ถ้าหลักสูตรยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ก็จะต้อง ตอบสนอง ต่อความสนใจและความต้องการของผู้เรียน โดยผู้เรียนจะมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน มากกว่าครู ถา้ หลักสตู รยึดปัญหาเปน็ ศนู ย์กลาง การเรียนการสอนก็เน้นสร้างสภาพแวดล้อมให้ผู้เรียน

35 แก้ปัญหา โดยพิจารณาเทคนิคและวิธีการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับธรรมชาติของสาระการเรียนรู้และ ผู้เรียน (ตามทไี่ ดน้ าเสนอไวใ้ นบทท่ี 3 หนา้ 91-96) อย่างไรก็ตาม ในการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับหลักสูตรท้องถิ่น นับได้ว่า เป็นส่วนสาคัญที่จะสนอง เจตนารมณ์ของหลักสูตร ต้องพิจารณาถึงจุดมุ่งหมายของหลักสูตรเป็นสาคัญ ให้ผู้เรียนทากิจกรรมอะไร กิจกรรมแตล่ ะอย่างใชเ้ วลา แรงงาน ทรพั ยากรอะไร และอยา่ งไร การพิจารณาเลอื กกจิ กรรมจึงเป็นเร่ืองสาคัญ คานงึ ถงึ การบรรลุเปา้ หมายท่ีรวดเรว็ และประหยัดท่ีสุด ตอ้ งเลือกเฉพาะกจิ กรรมท่ีมีประสิทธภิ าพมากท่สี ุด สว่ นท่ี 3 กำรประเมนิ หลักสตู รทอ้ งถิน่ ผ้เู ขยี นเหน็ วา่ การประเมนิ เป็นการวัด (measurement) การ วิจัยประยุกต์ (applied research) การตรวจสอบความสอดคล้อง (determining Congruence) การช่วย ตัดสินใจ (assist decision making) และเป็นการตัดสินคุณค่า (Determining of Worth of value) โดย เป้าหมายของการประเมิน คือ 1) การดูผลสาเร็จ (objectives-oriented) เป็นการ พิจารณาความสอดคล้อง ของผลท่ีทากับวัตถุประสงค์ 2) เพ่ือช่วยในการตัดสินใจ (decision-oriented) โดยการรวมรวมข้อมูล สารสนเทศที่สาหรับการตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ่ง และ 3) เพื่อตัดสินคุณค่า ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง judgment- oriented) โดยมีจุดหมายของการประเมินหลักสูตรท้องถ่ิน เพื่อหา ข้อบกพร่อง และแนวทางการปรับปรุง แก้ไขปัญหาท่ีเกี่ยวกับหลักสูตร เพ่ือดูความสอดคล้องระหว่าง ผลการดาเนินงานกับจุดหมายของหลักสูตร และเพื่อตัดสินใจว่าควรใช้หลกั สูตรตอ่ ไป หรอื ควรยกเลิก การใชห้ ลกั สูตร ข้นั ที่ 6 กำรประเมนิ ก่อนนำไปใช้ เปน็ การตรวจสอบคุณภาพ ของหลักสูตร หลงั จากจัดทา หลกั สตู รเปน็ เอกสารหลกั สตู ร เพื่อดูความสอดคล้องระหว่างหลักสูตร กบั ทฤษฎี ความสอดคล้องของ องคป์ ระกอบในหลักสูตร ความถกู ต้องชดั เจนในการสอื่ ความ ความสอดคล้อง กับความต้องการของสงั คม ซ่ึง เป็นการวิเคราะหเ์ น้อื หาโดยผู้เชี่ยวชาญ ข้นั ที่ 7 กำรประเมนิ กำรใช้หลักสูตร เปน็ การตรวจสอบกิจกรรมตา่ ง ๆ ทดี่ าเนนิ การตาม หลักสตู รวา่ สามารถใชใ้ นสถานการณจ์ ริงไดเ้ พยี งใด มีปัญหาอุปสรรคอะไร เพื่อแก้ไข ปรับปรงุ ให้สามารถใช้ หลักสูตรได้อย่างมปี ระสทิ ธผิ ล ผลทีไ่ ด้จากการประเมนิ จะนามาใช้ดาเนินการ ปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลงบางสว่ น ของหลกั สูตรทย่ี งั ไม่สมบูรณ์ ใหเ้ ป็นหลักสูตรท่ีสมบรู ณ์ สามารถนาไปใช้ ในทอ้ งถิน่ ได้อย่างเหมาะสม สนองตอบปัญหาและสอดคล้องความต้องการของท้องถิ่นอยา่ งแท้จริง ขั้นท่ี 8 กำรประเมินสัมฤทธิผล เป็นการตรวจสอบผูเ้ รียนทงั้ ดา้ นวชิ าการและทไี่ มใ่ ช่ดา้ น วชิ าการ เช่น บุคลกิ ภาพ ความรับผิดชอบ ความสามัคคี ความซ่อื สตั ย์ เปน็ ต้น

36 บทท่ี 4 หลกั สูตรสถำนศกึ ษำโรงเรยี นรำชประชำนุเครำะห์ 15 (เวยี งเก่ำแสนภูวทิ ยำประสำท) ตอ่ เนื่องเช่ือมโยงกำรศึกษำข้ันพืน้ ฐำน กบั อำชีวศกึ ษำและอุดมศึกษำ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท) ต่อเนื่อง เช่ือมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา มีความหลากหลายตามสภาพบริบทของชุมชน ทิศทางการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดนอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย แนวโน้มการจัด การศกึ ษา ตามวสิ ยั ทัศนเ์ ชิงนโยบาย Thailand 4.0 และการจัดการศึกษาในยุคดิจิทัล ประกอบด้วยรายวิชาที่ พัฒนาสู่โรงเรียนเตรียมอาชีพ และรายวิชา “รู้เท่าทันดิจิทัล: Digital Disruptor” ท่ีโรงเรียนได้กาหนดเป็น Best Practice หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท) ต่อเนื่อง เช่ือมโยงการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน กบั อาชีวศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา ดงั ตอ่ ไปน้ี 4.1 หลักสูตร Best Practice “รู้เท่าทันดิจิทัล: Digital Disruptor” ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ท่ีมีความรู้ทักษะ เจตคติ และสมรรถนะ เช่ือมโยงการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานกบั อาชีวศกึ ษา และอดุ มศกึ ษา หลกั สตู รสถำนศึกษำ โรงเรยี นรำชประชำนเุ ครำะห์ 15 (เวียงเกำ่ แสนภูวิทยำประสำท) ตอ่ เนอ่ื งเชื่อมโยงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน กบั อำชีวศึกษำและอดุ มศกึ ษำ วิสยั ทัศน์ ภายในปี 2563 ผ้เู รยี นมีคณุ ธรรมตามพระบรมราโชบาย มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานการเรียนรู้ ของหลกั สูตรสถานศกึ ษา พนั ธกจิ 1. พัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี วามรู้คู่คณุ ธรรม 2. พัฒนาผเู้ รยี นให้อนุรกั ษส์ ิง่ แวดลอ้ ม ศลิ ปวฒั นธรรมท้องถนิ่ และสืบสานงานพระราชดาริ 3. สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหบ้ ุคลากรใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ให้เท่าทันความเปลี่ยนแปลง 4. พัฒนาบคุ ลากรใหเ้ ป็นบคุ คลแหง่ การเรียนรู้ 5. ส่งเสริมและสนบั สนุนใหผ้ ู้เรยี นได้ศกึ ษาต่อและประกอบอาชพี ตามศกั ยภาพของตนเอง เปำ้ ประสงค์ 1. ประชากรวยั เรียนทกุ คน ได้รบั โอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี ตามสิทธิ อย่างเทา่ เทยี มทัว่ ถึง และมีคุณภาพ 2. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ตามมาตรฐานตาแหน่ง และ มาตรฐานวิชาชพี 3. สถานศึกษามกี ารบริหารจัดการทม่ี ีประสิทธภิ าพ

37 4. สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ และสนับสนุนการเรียนรู้ในระบบและตามอัธยาศยั 5. ชุมชนมสี ว่ นร่วมในการบริหารและจัดการศกึ ษา 6. สถานศึกษามกี ารบริหารจัดการตามหลักธรรมาภบิ าล จุดเนน้ 1. มุ่งพัฒนาใหเ้ ป็นเด็กดีตามพระบรมราโชบาย พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว รชั กาลที่ 9 และสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รชั กาลท่ี 10 2. ดารงอตั ลักษณ์ “ยิ้มง่าย ไหวส้ วย รวยน้าใจ” 3. พัฒนาทักษะวชิ าการ วิชาชีพ และวิชาชีวติ อย่างสมดุล อตั ลกั ษณข์ องโรงเรียน “ยิม้ งา่ ย ไหว้สวย รวยนา้ ใจ” อตั ลักษณร์ ่วมของโรงเรยี นรำชประชำนเุ ครำะห์ จงรักภกั ดี มีคุณธรรม นอ้ มนาแนวทางพระราชดาริ ยุทธศำสตรโ์ รงเรยี นรำชประชำนุเครำะห์ 15 (เวียงเก่ำแสนภูวทิ ยำประสำท) ปี 2561 ยุทธศาสตร์ 1 : พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน ยทุ ธศาสตร์ 2 : พฒั นาการบริหารและการจัดการศึกษา ยุทธศาสตร์ 3 : พัฒนาการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั เกยี รติประวตั ิของโรงเรยี น 1. โรงเรียนในโครงการพระราชดาริพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชโดยมลู นธิ ิราชประชานุ เคราะหใ์ นพระบรมราชูปถัมภ์ 2. โรงเรยี นในโครงการพระราชดาริสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาสยามบรมราชกุมารี : อาหารกลางวนั นักเรยี น ระดบั มธั ยมศึกษา 3. โรงเรยี นแกนนาการจดั การเรียนการสอนวชิ าชีพ สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 4. โรงเรยี นสุจริตตน้ แบบ (Upright School Project) 5. โรงเรยี นแกนนาพฒั นาหลักสตู รการจดั การศกึ ษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ จังหวัดเชียงราย ระยะท่ี 2 6. โรงเรียนแกนนาพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา ต่อเนอื่ งเช่อื มโยงการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน กับอาชวี ศกึ ษาและ อดุ มศึกษา

38 โครงสรำ้ งเวลำเรียนหลกั สูตรสถำนศึกษำโรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ 15 (เวยี งเก่ำแสนภวู ทิ ยำประสำท) ตอ่ เน่ืองเชื่อมโยงกำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน กับอำชีวศึกษำและอดุ มศึกษำ ระดับปฐมวัย สำระกำรเรยี นรู้ เวลำเรียน(ช่ัวโมง/ป/ี สัปดำห)์ ระดับปฐมวยั พัฒนาการดา้ นร่างกาย พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ อ.1 อ.2 อ.3 พัฒนาการดา้ นสังคม 30 30 30 พฒั นาการด้านสติปัญญา 40 40 40 30 30 30 รวม 30 30 30 สาระทค่ี วรรู้ 130 130 130 เรื่องราวเกี่ยวกบั ตวั เด็ก 10 10 10 เร่อื งราวเกี่ยวบุคคลและสถานที่แวดลอ้ มเด็ก 10 10 10 ธรรมชาติรอบตวั 10 10 10 สิ่งต่าง ๆรอบตวั เด็ก 10 10 10 10 10 10 รวม 180 180 180

39 โครงสรำ้ งเวลำเรียนหลกั สตู รสถำนศึกษำโรงเรยี นรำชประชำนเุ ครำะห์ 15 (เวยี งเกำ่ แสนภวู ิทยำประสำท) ต่อเน่อื งเช่ือมโยงกำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำน กับอำชีวศึกษำและอุดมศึกษำ ระดับประถมศึกษำ กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้/กจิ กรรม เวลำเรียน(ช่ัวโมง/ปี/สัปดำห)์ รำยวชิ ำพื้นฐำน ระดับประถมศกึ ษำ ภาษาไทย ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 วิทยาศาสตร์ 160 160 160 160 160 160 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 120 120 160 160 160 ประวตั ศิ าสตร์ 80 80 80 80 80 80 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 40 40 40 ศิลปะ 40 40 40 40 40 40 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 40 40 40 40 40 40 ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 40 40 40 120 120 120 120 120 120 รวม 840 840 840 840 840 840 รำยวชิ ำเพมิ่ เติม หนา้ ที่พลเมือง 40 40 40 40 40 40 ภาษาจีน 40 40 40 40 40 40 ภาษาอังกฤษเสริม 80 80 80 40 40 40 คอมพิวเตอรเ์ สรมิ (รูเ้ ทา่ ทนั ดจิ ิทัล) 40 40 40 40 40 40 มหัศจรรยแ์ หง่ ภาษา 40 40 40 80 80 80 240 240 240 240 240 240 รวม กจิ กรรมพัฒนำผเู้ รียน 40 40 40 40 40 40 แนะแนว 40 40 40 40 40 40 ลกู เสือยวุ กาชาด 30 30 30 30 30 30 ชมุ นุม 10 10 10 10 10 10 กิจกรรมสาธารณประโยชน์ 120 120 120 120 120 120 รวม 1,200 ชั่วโมง/ปี ( 30ช่ัวโมง/สัปดำห์) รวมเวลำเรยี นท้งั สน้ิ

40 โครงสรำ้ งกำหนดเวลำเรยี นหลกั สูตรสถำนศกึ ษำ โรงเรียนรำชประชำนเุ ครำะห์ 15 (เวียงเก่ำแสนภวู ทิ ยำประสำท) ตอ่ เน่ืองเช่ือมโยงกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน กบั อำชีวศึกษำและอุดมศกึ ษำ ระดบั มัธยมศกึ ษำตอนต้น ม.1–ม.3 กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้ เวลำเรียน /ภำค/สัปดำห์ รำยวชิ ำพื้นฐำน เวลำเรียนม.1 เวลำเรยี น ม.2 เวลำเรยี น ม.3 ปี นก. ภำค นก. ปี นก. ภำค นก. ปี นก. ภำค นก. ภาษาไทย 120 3.0 60 1.5 120 3.0 60 1.5 120 3.0 60 1.5 คณติ ศาสตร์ 120 3.0 60 1.5 120 3.0 60 1.5 120 3.0 60 1.5 วทิ ยาศาสตร์ 80 2.0 40 1.0 120 3.0 60 1.5 120 3.0 60 1.5 40 1.0 20 0.5 - - - - - - - - เทคโนโลยีและวิทยาการคานวณ 120 3.0 60 1.5 120 3.0 60 1.5 120 3.0 60 1.5 40 1.0 20 0.5 40 1.0 20 0.5 40 1.0 20 0.5 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 ประวตั ศิ าสตร์ 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 120 3.0 60 1.5 120 3.0 60 1.5 120 3.0 60 1.5 ศลิ ปะ 920 23.0 460 11.5 920 23.0 460 11.5 920 23.0 460 11.5 การงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ 240 6.0 120 3.0 200 5.0 100 2.5 200 5.0 100 2.5 รวม รำยวิชำเพิม่ เติม รำยวิชำ SEZ 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 รวม 320 8.0 160 4.0 280 7.0 140 3.5 280 7.0 140 3.5 กิจกรรม 40 - 20 - 40 - 20 - 40 - 20 - กจิ กรรมชุมนมุ 40 - 20 - 40 - 20 - 40 - 20 - กิจกรรมแนะแนว 40 - 20 - 40 - 20 - 40 - 20 - กจิ กรรมลูกเสือ-เนตรนารี 160 - 80 - 160 - 80 - 160 - 80 - กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามรอย 40 - 20 - 40 - 20 - 40 - 20 - ศาสตรพ์ ระราชา 320 - 160 - 320 - 160 - 320 - 160 - กจิ กรรมอบรมจริยธรรม 1,560 31.0 780 15.5 1,560 31.0 780 15.5 1,560 31.0 780 15.5 รวม รวมเวลำเรียนทง้ั สิ้น

41 โครงสรำ้ งกำหนดเวลำเรยี นหลักสูตรสถำนศกึ ษำ โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ 15 (เวียงเกำ่ แสนภูวทิ ยำประสำท) ต่อเนื่องเช่ือมโยงกำรศึกษำข้ันพนื้ ฐำนกบั อำชีวศกึ ษำและอุดมศกึ ษำ ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย ม.4-ม.6 กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้ เวลำเรยี น/ภำค/สปั ดำห์ รำยวิชำพนื้ ฐำน เวลำเรียน ม.4 เวลำเรยี น ม.5 เวลำเรยี น ม.6 ปี นก. ภำค นก. ปี นก. ภำค นก. ปี นก. ภำค นก. ภาษาไทย 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 คณิตศาสตร์ 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 วทิ ยาศาสตร์ 40 1.0 20 0.5 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 เทคโนโลยีและการคานวณ 40 1.0 20 0.5 - - - - - - - - สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 40 1.0 20 0.5 40 1.0 20 0.5 - - - - ประวตั ิศาสตร์ 40 1.0 20 0.5 40 1.0 20 0.5 40 1.0 20 0.5 สขุ ศกึ ษาพลศึกษา 40 1.0 20 0.5 40 1.0 20 0.5 40 1.0 20 0.5 ศิลปะ 40 1.0 20 0.5 40 1.0 20 0.5 40 1.0 20 0.5 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 80 2.0 40 1.0 ภาษาอังกฤษ 560 14 280 7.0 560 14 280 7.0 520 13 260 6.5 620 31 310 15.5 620 31 310 15.5 540 27 270 13.5 รวม 40 1.0 20 0.5 40 1.0 20 0.5 40 1.0 20 0.5 รำยวชิ ำเพิ่มเติม 700 33.0 350 16.5 700 33.0 350 16.5 620 29.0 310 14.5 รำยวิชำ SEZ 40 - 20 - 40 - 20 - 40 - 20 - รวม 40 - 20 - 40 - 20 - 40 - 20 - กิจกรรมพฒั นำผูเ้ รียน 40 - 20 - 40 - 20 - 40 - 20 - กจิ กรรมชุมนมุ 40 - 20 - 40 - 20 - 40 - 20 - กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารี 80 - 40 - 80 - 40 - 80 - 40 - กิจกรรมอบรมจรยิ ธรรม กิจกรรมการเรียนรตู้ ามรอย 240 - 120 - 240 - 120 - 240 - 120 - ศาสตรพ์ ระราชา 1,500 37.0 750 33.5 1,500 37.0 750 33.5 1,380 42.0 690 21.0 รวม รวมเวลำเรียนท้งั สิ้น

42 หลกั สูตรสถำนศึกษำโรงเรยี นรำชประชำนเุ ครำะห์ 15 (เวยี งเกำ่ แสนภวู ทิ ยำประสำท) ต่อเนอื่ งเช่ือมโยงกำรศึกษำข้ันพน้ื ฐำน กบั อำชีวศึกษำและอุดมศกึ ษำ 1. หลกั สตู ร : รำยวิชำรูเ้ ทา่ ทันดิจิทลั : Digital Disruptor 2. วัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร 1. เพ่ือให้ผู้เรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจความเปลย่ี นแปลงดจิ ิทลั : Digital Disruptor 2. เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนมีทักษะเท่าทันความเปลี่ยนแปลงดิจิทัล : Digital Disruptor 3. เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนมีเจตคตเิ ท่าทันความเปลี่ยนแปลงดิจิทลั : Digital Disruptor 3. กลมุ่ เป้ำหมำย นักเรยี นระดับปฐมวยั ถึงนักเรียนระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 จานวน 1,974 คน 4. รูปแบบของหลกั สูตร 1. การประสบการณ์การเรยี นรู้ระดบั ปฐมวัย 2. การจดั รายวิชาเพ่มิ เติม 3. การจดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 5. องค์ประกอบของหลักสตู ร

43 ระดบั ปฐมวยั หลกั สูตร : รำยวชิ ำรู้เทำ่ ทนั ดิจิทัล : Digital Disruptor โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ 15 (เวียงเกำ่ แสนภูวิทยำประสำท) คำอธิบำยรำยวิชำ ปัจจุบันเด็กสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้ง่ายข้ึน พ่อแม่และครูจึงควรใส่ใจในการใช้เทคโนโลยีของเด็ก เล็กเป็นพิเศษ เทคโนโลยีมีข้อดีอยู่หลายประการ และอยู่ในความสามารถที่เด็กจะฝึกฝนการใช้งานได้ เทคโนโลยสี ามารถช่วยพัฒนาทักษะการเรยี นร้ขู องเดก็ ตวั อย่างเช่น การเรียนรู้เรื่องการอ่าน โดยให้เด็กดูผ่าน แอปพลิเคชันท่ีสามารถส่องไปบนหนังสือ (Ar Book) เด็ก ๆจะเพลิดเพลินกับภาพและเสียง ซึ่งเทคโนโลยีน้ี สามารถใช้ได้ท้ังท่ีบ้าน และห้องเรียน เช่น พ่อแม่และครูสามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน แล้วสามารถนาไป เปิดที่บ้านและโรงเรียนได้ อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีไม่ได้เข้ามาแทนที่วิธีการสอนเด็กระดับปฐมวัยท้ังหมด เพยี งแตช่ ว่ ยเพิ่มประสิทธิภาพในการสอนใหด้ ขี ้ึน และเปน็ ส่ือกลางทีช่ ่วยสง่ เสริมการเรยี นรขู้ องเด็กในวัยน้ี รายวิชารู้เท่าทันเทคโนโลยีเป็นรายวิชาท่ีให้ผู้เรียนได้ศึกษาเก่ียวกับโปรแกรม ส่วนประกอบของ โปรแกรม วิธีการเข้าและออกโปรแกรม และการใช้อุปกรณ์แท็บเล็ตอย่างถูกต้อง รวมไปถึงการให้ผู้เรียนได้ ศึกษาหาความรู้ผา่ นระบบเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ โดย *ใช้กระบวนกำรสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง ใน กำรใชแ้ อพพลิเคชน่ั เพื่อให้เกดิ ควำมรู้ ควำมคิด ควำมเขำ้ ใจ มที ักษะในกำรใช้เทคโนโลยี และสำมำรถนำ เทคโนโลยีไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อตนเองได้ หมายเหตุ * : มาตรฐาน TQF ควำมเชื่อมโยงกรอบมำตรฐำนคุณวุฒิระดับอุดมศึกษำแห่งชำติ (Thailand Qualifications Framework : TQF) ใช้กระบวนการสอนทีม่ ุง่ ใหผ้ ูเ้ รยี นไดฝ้ กึ ปฏบิ ัติจริง ในการใช้แอพพลิเคชั่น เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ มีทกั ษะในการใช้เทคโนโลยี และสามารถนาเทคโนโลยีไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ตอ่ ตนเองได้ สมรรถนะรำยวชิ ำ 1. ใชอ้ ุปกรณ์ แทบ็ เล็ตในการดสู ่ือการ์ตูนหรือสอ่ื การเรียนรอู้ น่ื ได้ 2. ใชอ้ ุปกรณ์ แท็บเลต็ ในการสร้างผลงานทางศลิ ปะ (วาดภาพ) ได้ 3. ใช้อปุ กรณ์ แทบ็ เลต็ ในการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษและภาษาจนี ผ่านแอพพลเิ คช่ัน ได้ จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1. เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมีความร้คู วามสามารถในการใชง้ านแอพพลเิ คชนั่ ในอุปกรณ์แท็บเล็ต 2. เพือ่ ให้ผู้เรยี นสามารถใช้อุปกรณแ์ ทบ็ เลต็ ในการดูส่อื การ์ตนู หรือส่ือการเรียนรู้อื่นได้ 3. เพื่อให้ผเู้ รียนรูจ้ กั แยกแยะเลอื กใช้ส่อื ออนไลนใ์ ห้เกิดประโยชนแ์ ละรจู้ ักแบง่ เวลาในการใชอ้ ปุ กรณ์ แทบ็ เลต็ ให้เปน็ เวลา

44 ผลทค่ี ำดวำ่ จะไดร้ ับ 1. ผูเ้ รียนมคี วามรู้ความสามารถในการใช้งานแอพพลิเคชน่ั ในอุปกรณ์แทบ็ เลต็ 2. ผู้เรยี นสามารถใช้อปุ กรณ์แท็บเล็ตในการดสู ่ือการต์ ูนหรือสอ่ื การเรียนรอู้ ่ืนได้ 3. ผู้เรียนรจู้ กั แยกแยะเลอื กใชส้ ่ือออนไลน์ใหเ้ กิดประโยชน์และรู้จกั แบ่งเวลาในการใช้อปุ กรณแ์ ท็บ เล็ตให้เป็นเวลา กำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน ที่ ช่ือหน่วยกำรเรียนรู้ จำนวน อตั รำสว่ นทฤษฎ/ี ปฏบิ ัติ กำรประเมินผล ชั่วโมง ทฤษฎี1ชม. : ปฏิบัติ 3 ชม. การตอบคาถามรายบคุ คล 1. มารจู้ กั กบั เทคโนโลยกี ัน 4 ทฤษฎี1ชม. : ปฏิบตั ิ 3 ชม. การตอบคาถามรายบุคคล ทฤษฎี1ชม. : ปฏบิ ตั ิ 3 ชม. การตอบคาถามรายบุคคล 2. หนนู ้อยกบั เทคโนโลยี 4 ทฤษฎี1ชม. : ปฏิบตั ิ 3 ชม. การตอบคาถามรายบคุ คล ทฤษฎี1ชม. : ปฏบิ ัติ 3 ชม. 3. มองโลกผ่านจอ 4 ทฤษฎี1ชม. : ปฏบิ ัติ 3 ชม. ประเมนิ จากผลงาน ทฤษฎี1ชม. : ปฏบิ ตั ิ 3 ชม. การตอบคาถามรายบคุ คล 4. ความรู้อยู่ในมอื เรา 4 ทฤษฎี1ชม. : ปฏิบัติ 3 ชม. การตอบคาถามรายบุคคล ทฤษฎี1ชม. : ปฏิบัติ 3 ชม. การตอบคาถามรายบุคคล 5. สร้างความฝันตามจินตนาการ 4 ทฤษฎี1ชม. : ปฏิบัติ 3 ชม. ประเมนิ จากผลงาน 6. หาความร้ผู ่านการต์ นู 4 สงั เกตพฤติกรรม 7. โลกไรพ้ รมแดน 4 8. โลก มหัศจรรย์ 4 9. หนูนอ้ ยช่างคิด 4 10. มือวเิ ศษไมป่ ระมาท 4 รวม(ชั่วโมง) 40

45 ระดบั ประถมศึกษำ หลกั สูตร : รำยวชิ ำรู้เทำ่ ทันดจิ ิทัล : Digital Disruptor โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ 15 (เวียงเก่ำแสนภูวิทยำประสำท) รำยวชิ ำ คอมพิวเตอรเ์ สริม รหสั วิชำ ง11201 ระดบั ช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี 1 ภำคเรียนที่ 1-2 เวลำเรียน 40 ชั่วโมง / ภำค เวลำเรยี น 1 ชั่วโมง/สัปดำห์ อัตรำส่วนเวลำทฤษฎีกบั ภำคปฏิบตั ิ 30:70 จำนวน 1.0 หน่วยกติ คำอธบิ ำยรำยวิชำ ศึกษาเก่ียวกับประโยชน์ของโปรแกรม ส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรมวาดภาพ วิธีการเข้า - ออกโปรแกรม การใช้เมาส์ และคีย์บอร์ด การวาดรูปโดยใช้เคร่ืองมือในรูปแบบต่าง ๆ การวาดรูปโดยใช้ เครื่องมือในการระบายสี * เลือกใช้เครื่องมือและคำสั่งในกำรสร้ำงงำนจำกโปรแกรมได้ถูกต้องตำม สถำนกำรณ์ และประยุกต์ใชเ้ คร่ืองมอื ในกำรฝึกทักษะ โดยใช้กระบวนกำรทำงำนและกระบวนกำรปฏิบัติ ในกำรใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สร้ำงสรรค์ ผลงำนเพ่ือให้เกิดควำมรู้ ควำมคิด ควำมเข้ำใจ มีทักษะในกำรสร้ำงงำน มีเจตคติที่ดีต่อกำรใช้งำน โปรแกรม และสำมำรถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั หมายเหตุ * : มาตรฐาน TQF ควำมเช่ือมโยงกรอบมำตรฐำนคุณวุฒิระดับอุดมศึกษำแห่งชำติ (Thailand Qualifications Framework : TQF) เลือกใช้เคร่ืองมือและคาส่ังในการสร้างงานจากโปรแกรมได้ถูกต้องตามสถานการณ์และประยุกต์ใช้ เครือ่ งมือในการฝกึ ทักษะ โดยใช้กระบวนการทางานและกระบวนการปฏิบัติ ในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สร้างสรรค์ผลงาน เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีทักษะในการสร้างงาน มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ งานโปรแกรมและสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน

46 ผลกำรเรียนรู้รำยวิชำ รำยวิชำ คอมพิวเตอร์เสรมิ รหัสวิชำ ง11201 ระดับชัน้ ประถมศึกษำปที ่ี 1 ภำคเรียนท่ี 1-2 เวลำเรียน 40 ชั่วโมง / ภำค เวลำเรยี น 1 ชั่วโมง/สัปดำห์ อตั รำสว่ นเวลำทฤษฎีกบั ภำคปฏิบัติ 30:70 จำนวน 1.0 หน่วยกิต มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ผลกำรเรยี นรู้ มาตรฐาน ง 3.1 1. ผู้เรยี นบอกวิธกี ารใชง้ านโปรแกรมตามลาดับขัน้ ตอนได้ถูกต้อง 2. ผเู้ รยี นบอกส่วนตา่ ง ๆ ของโปรแกรมไดถ้ กู ต้อง 3. ผู้เรียนวาดรปู โดยใชเ้ ครือ่ งมือในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ 4. ผู้เรยี นวาดรปู โดยใช้เครื่องมือในการระบายสไี ด้ 5. ผู้เรยี นสามารถเลือกใชเ้ ครื่องมือและคาส่งั ในการสร้างงานจากโปรแกรมได้ ถูกต้องตามสถานการณ์ 6. ผเู้ รียนสามารถประยุกต์ใชเ้ คร่ืองมือในการฝกึ ทักษะได้ รวม 6 ผลกำรเรียนรู้

47 รำยวชิ ำ คอมพิวเตอร์เสริม รหัสวิชำ ง12201 ระดบั ชัน้ ประถมศึกษำปที ่ี 2 ภำคเรียนที่ 1-2 เวลำเรยี น 40 ชั่วโมง / ภำค เวลำเรียน 1 ช่ัวโมง/สัปดำห์ อัตรำส่วนเวลำทฤษฎีกับภำคปฏบิ ตั ิ 30:70 จำนวน 1.0 หน่วยกติ คำอธบิ ำยรำยวิชำ ศึกษาวิธกี ารใชแ้ ปน้ พิมพ์ตัวอักษร ตวั เลข และสัญลกั ษณ์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และหนา้ ทข่ี อง แป้นพมิ พต์ า่ ง ๆ การใช้ Arrow key การวางมือตามแป้นเหย้าหรือแปน้ หลกั การพมิ พส์ ัมผัสอยา่ งถูกต้อง ปฏบิ ตั กิ ารใช้แป้นพิมพ์ต่าง ๆ บนคยี บ์ อรด์ ควบคมุ การทางานของโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ การพมิ พส์ มั ผัสอย่าง ถูกต้องและถกู วธิ ี *โดยใช้กระบวนกำรทำงำนและกระบวนกำรปฏบิ ตั ิกำร ใชแ้ ป้นพมิ พแ์ บบตัวอักษร ตัวเลข และ สัญลักษณ์ในกำรใชโ้ ปรแกรมฝึกพิมพส์ ัมผัส เพอ่ื ใหม้ ีควำมร้คู วำมเข้ำใจ และมีทักษะในกำรใช้งำนแป้นพมิ พ์ได้อย่ำงถกู ต้อง พร้อมทง้ั สำมำรถ ใชค้ อมพิวเตอร์ในงำนพิมพ์เอกสำรเบอ้ื งต้นได้ หมายเหตุ * : มาตรฐาน TQF ควำมเชื่อมโยงกรอบมำตรฐำนคุณวุฒิระดับอุดมศึกษำแห่งชำติ (Thailand Qualifications Framework : TQF) ใช้กระบวนการทางานและกระบวนการปฏิบัติการ ใช้แป้นพิมพ์แบบตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ ในการใช้โปรแกรมฝึกพิมพ์สัมผัส เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการใช้งานแป้นพิมพ์ได้อย่าง ถูกต้อง พรอ้ มทั้งสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในงานพิมพ์เอกสารเบื้องต้นได้

48 ผลกำรเรยี นรูร้ ำยวชิ ำ รำยวชิ ำ คอมพิวเตอรเ์ สริม รหัสวิชำ ง12201 ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษำปีที่ 2 ภำคเรยี นที่ 1-2 เวลำเรยี น 1 ช่ัวโมง/สัปดำห์ เวลำเรียน 40 ช่ัวโมง / ภำค มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ อัตรำสว่ นเวลำทฤษฎีกบั ภำคปฏิบตั ิ 30:70 จำนวน 1.0 หน่วยกิต มาตรฐาน ง 3.1 ผลกำรเรยี นรู้ 1. ผู้เรยี นสามารถวางมอื ตามแปน้ เหย้าหรอื แป้นหลักได้ถูกต้อง 2. ผู้เรยี นปฏิบัติการพมิ พ์ตามหลกั การพิมพ์และทกั ษะในการพิมพ์ ที่ ถูกต้อง และแมน่ ยา 3. ผเู้ รียนมที ักษะการใชแ้ ป้นพมิ พอ์ ยา่ งแม่นยา 4. ผู้เรียนมที กั ษะการใช้แปน้ พมิ พอ์ ักษรไทยแบบสัมผัส 5. ผู้เรียนสามารถปฏิบตั ิการพิมพ์ข้อความดว้ ยแปน้ อักษรไทยได้ 6. ผู้เรยี นมที ักษะการใช้แป้นพิมพต์ ัวอักษรอังกฤษได้ 7. ผเู้ รียนสามารถปฏิบัตกิ ารพมิ พ์ข้อความดว้ ยแป้นอกั ษรอังกฤษได้ 8. ผูเ้ รยี นมที ักษะการใชแ้ ปน้ พมิ พส์ ญั ลกั ษณ์ต่างๆ 9. ผเู้ รียนสามารถปฏิบตั ิการพิมพ์ขอ้ ความดว้ ยแปน้ สญั ลกั ษณ์ต่างๆ ได้ 10. ผเู้ รียนมีทกั ษะการใชแ้ ปน้ พมิ พต์ ัวเลข 11. ผู้เรียนสามารถปฏบิ ัติการพมิ พ์ขอ้ ความดว้ ยแปน้ ตวั เลขได้ รวม 11 ผลกำรเรียนรู้

49 รำยวิชำ คอมพิวเตอรเ์ สรมิ รหัสวิชำ ง13201 ระดับชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี 3 ภำคเรียนที่ 1-2 เวลำเรยี น 40 ชั่วโมง / ภำค เวลำเรียน 1 ช่ัวโมง/สัปดำห์ อัตรำส่วนเวลำทฤษฎีกับภำคปฏิบัติ 30:70 จำนวน 1.0 หน่วยกติ คำอธิบำยรำยวชิ ำ ศึกษาเก่ียวกับประโยชน์ของโปรแกรม ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft word วิธีการเข้า - ออกโปรแกรม การบันทึกงาน ปฏิบัติการพิมพ์และจัดการข้อความการพิมพ์เอกสารรูปแบบต่าง ๆ การ จัดพิมพ์เอกสารทางเครื่องพิมพ์ การสร้างตาราง การสร้างเอกสารแบบคอลัมน์ และการทางานกับกราฟิกใน เอกสาร *โดยใช้กระบวนกำรทำงำนและกระบวนกำรปฏิบัติกำรพิมพ์และจัดข้อควำมรูปแบบต่ำง ๆ ใน โปรแกรม Microsoft word ในกำรใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นำเสนองำน และสร้ำงช้ินงำนเก่ียวกับงำน เอกสำรในรูปแบบต่ำง ๆ เพื่อให้เกิดควำมรู้ ควำมคิด ควำมเข้ำใจ มีทักษะในกำรสร้ำงงำน มีเจตคติที่ดีต่อกำรใช้งำน โปรแกรม และสำมำรถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั หมายเหตุ * : มาตรฐาน TQF ควำมเชื่อมโยงกรอบมำตรฐำนคุณวุฒิระดับอุดมศึกษำแห่งชำติ (Thailand Qualifications Framework : TQF) ใช้กระบวนการทางานและกระบวนการปฏิบัติการพิมพ์และจัดข้อความรูปแบบต่างๆ ในโปรแกรม Microsoft word ในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นาเสนองาน และสร้างชิ้นงานเกี่ยวกับงานเอกสารใน รูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีทักษะในการสร้างงาน มีเจตคติที่ดีต่อการใช้งาน โปรแกรม และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน

50 ผลกำรเรียนรู้รำยวชิ ำ รำยวิชำ คอมพิวเตอรเ์ สริม รหสั วิชำ ง13201 ระดับชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี 3 ภำคเรยี นท่ี 1-2 เวลำเรียน 1 ช่ัวโมง/สัปดำห์ เวลำเรียน 40 ชั่วโมง / ภำค อตั รำสว่ นเวลำทฤษฎีกบั ภำคปฏิบัติ 30:70 จำนวน 1.0 หน่วยกิต มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ผลกำรเรยี นรู้ มาตรฐาน ง 3.1 1. ผู้เรียนอธิบายประโยชนข์ องโปรแกรม Microsoft word ได้ 2. ผ้เู รยี นรู้และเข้าใจส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม Microsoft word 3. ผู้เรียนอธิบายวิธกี ารใชง้ านโปรแกรม Microsoft word เบ้อื งต้นได้ 4. ผู้เรียนสามารถพมิ พ์และแกไ้ ขข้อความในโปรแกรม Microsoft word ได้ 5. ผู้เรยี นสามารถจัดรปู แบบและตกแต่งเอกสารในโปรแกรม Microsoft word ได้ 6. ผเู้ รียนสามารถสร้างและตกแต่งตารางในโปรแกรม Microsoft word ได้ 7. ผู้เรยี นสามารถสร้างเอกสารแบบคอลัมนใ์ นโปรแกรม Microsoft word ได้ 8. ผู้เรยี นสามารถออกแบบตวั อักษรแบบข้อความศลิ ป์ในลักษณะต่าง ๆ ได้ 9. ผู้เรียนใช้เครอื่ งมอื วาดภาพเพือ่ ตกแตง่ เอกสารและนาภาพมาตกแตง่ เอกสารได้ 10. ผ้เู รยี นสามารถพิมพ์เอกสารออกทางเครื่องพมิ พ์ลงสู่กระดาษได้ 11. ผ้เู รียนสามารถประยกุ ตก์ ารใช้เครอ่ื งมือเพอ่ื การปฏิบัตงิ านได้ รวม 11 ผลกำรเรยี นรู้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook