200ความคิด ที่ไดแ้ ก่ ความคิด คือสมอง หรือ “รูป ” ซ่ึงถู กตอ้ ง เพราะวิทยาศาสตร์เก่าสงั เกต ความคิดจากการทาํ งานของสมอง ท้งั ปรากฏการณ์คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้ าที่เกิดข้ึนในเส้นประสาทและใยประสาทในสมอง โดยใชห้ ลกั “ความเป็นวทิ ยาศาสตร์” คือ วตั ถุทใ่ี ชใ้ นการศึกษาตอ้ งสามารถวดัไดร้ ับรู้ไดด้ ว้ ยเคร่ืองมือทางวิทยาศาสตร์ทใี่ ชต้ รวจจบั สั ญญาณแสง เสียงกลิ่น รส และสมั ผสั ซ่ึงมคี วามแน่นอน ไม่ว่าจะทไี่ หนเม่ือไหร่ ความถูกตอ้ งของวิทยาศาสตร์เก่าต่อเรื่องจิตในที่น้ี จึงเป็นความถกู ตอ้ งตามหลกัวทิ ยาศาสตร์แบบเก่า ถูกตอ้ งในกรอบของวทิ ยาศาสตร์แบบเก่า เวลาเราเห็นนกั วิทยาศาสตร์ถกเถียงกนั เราจึงมกั จะเห็น วา่ เป็นการโตเ้ ถียงกนั จากกรอบของวิทยาศาสตร์คนละกรอบ และต่างฝ่ายต่างก็ตอ้ งการจะบอกวา่ กรอบของฝ่ายตนเทา่ น้นั ที่เป็นวิทยาศาสตร์ ฝ่ายอื่นไม่เป็นวทิ ยาศาสตร์ แต่ในฐานะผชู้ มนอกเวลาที เราตอ้ งรู้ก่อนวา่ อารยธรรมของมนุษยม์ ีสิ่งทส่ี ามารถเรียกไดว้ ่า “วทิ ยาศาสตร์” อยมู่ ากมายแต่ถูกบงั คบัใหใ้ ชค้ าํ อ่ืน เพราะวิธีการศกึ ษาไมเ่ ขา้ หลกั เกณฑ์ ไม่อยใู่ นกรอบของวทิ ยาศาสตร์ทเ่ี ริ่มเกิดข้ึนในศตวรรษที่ 17 เราจึงถกู ทาํ ให้เชื่อโดยผา่ นการศกึ ษาสมยั ใหม่วา่ วิทยาศาสตร์มเี พยี งแบบเดียว หน่ึงในบรรดาวทิ ยาศาสตร์เก่าแก่ท่ีมมี าคู่กบั อารยธรรมของมนุษยไ์ ดแ้ ก่ วิทยาศาสตร์ท่ศี กึ ษาโดยการเฝ้ าสังเกตอิทธิพลของดวงดาวทม่ี ีต่อชีวิตและธรรมชาติบทโลก ก็ถกู บงั คบั ให้ใชค้ าํ วา่ “โหราศาสตร์ ” ก็มี
201มุมมองเร่ืองจิตที่ถูกตอ้ งตามกรอบของโหราศาสตร์ว่า “จิตคือดวงดาว ”ส่วนวทิ ยาศาสตร์ทด่ี ูเหมือนจะเก่าแก่ที่สุดในอารยธรรมของมนุษยเ์ พร าะเป็นวทิ ยาศาสตร์ท่ีเกิดพร้อมกบั อายธรรมของมนุษย์ ทใี่ ชก้ ารศึกษาโดยเชื่อมโยงชีวิตมนุษยเ์ ขา้ กบั สิ่งล้ีลบั บนโลก ก็ถูกบงั คบั ให้ใชค้ าํ ว่า “ไสยศาสตร์ ” กม็ ีมุมมองทถ่ี กู ตอ้ งเรื่องจิตตามหลกั และตามกรอบของโหราศาสตร์วา่ “จิตคืออาํ นาจล้ีลบั ” และเราก็ยงั เห็นวา่ วิทยาศาสตร์ แบบเก่าท้งั สองยงั มอี ยใู่ นสังคมมนุษย์ และสามารถเป็นประโยชนแ์ ก่มนุษยใ์ นแต่ละกลุ่มแตกต่างกนั ไป ส่วนวทิ ยาศาสตร์ใหม่ท่เี ริ่มจากการศึกษาวตั ถุท่เี ล็กกว่าอะตอมลงไปซ่ึงเป็นสาขาใหมข่ องฟิสิกส์ทชี่ ื่อวา่ “ควนั ตมั ฟิสิกส์ ” (QuantumPhysics) โดยใชว้ ิธีการศึกษาท่ีกา้ วข้ามความเป็นวิทยาศาสตร์แบบเก่า โดยใชห้ ลกั “ความเป็นจริง ” นาํ ความเป็นวิทยาศาสตร์ พอศึกษาไปเร่ือย ๆ ยง่ิคน้ กย็ ง่ิ คน้ พบสิ่งที่เลก็ ลงไปเร่ือย ๆ จนไปถึงจุดทีไ่ มม่ ีอะไรให้คน้ พบ และไดข้ อ้ สรุปว่า “สสารและพลงั งานเป็นส่ิงเดียวกนั ” และสิ่งเดียวน้นั ก็ “เกิดมาจากความว่าง” แต่ไมใ่ ช่ความวา่ งที่ว่างเปล่า นกั วทิ ยาศาสตร์ไม่รู้จะเรียกอะไรดีก็เลยต้งั ชื่อวา่ “สนามควนั ตมั ” (Quantum Field) โดยนกั วทิ ยาศาสตร์อธิบายวา่ “มนั เป็นสภาวะของการรู้และรับรู้ ” หรือ “นาม” ทภี่ าษาองั กฤษใชค้ าํ วา่ “คอนเชียสเนส ” (Consciousness) โดยมีการทดลองเรื่อง “การทาํ งานของคล่ืน” (Wave Functions) เป็นเครื่องรับรอง ดงั ท่เี รากล่าวถึงแลว้ในภาคสี่
202 วทิ ยาศาสตร์ใหมจ่ ึงคน้ พบจิต หรือ “นาม ” โดยไม่ไดต้ ้งั ใจการศกึ ษาเร่ือง “คอนเชียสเนส ” จึงกลายมาเป็นหวั ขอ้ หลกั ท่ีสาํ คญั ของควนั ตมั ฟิสิกส์ในเวลาต่อมา มมุ มองของวทิ ยาศาสตร์ใหมต่ ่อจิต จึงมวี ่า “จิตคือความวา่ งทมี่ สี ภาวะรู้และรับรู้” ซ่ึงก็เป็นมุมมองท่ีถูกตอ้ งตามหลกั เกณฑ์และกรอบของวทิ ยาศาสตร์ใหม่ ซ่ึงหลกั เกณฑแ์ ละกรอบของวทิ ยาศาสตร์ใหมไ่ ดก้ า้ วขา้ มหลกั เหตุผลกลไกของวทิ ยาศาสตร์เก่า แต่ไปใชห้ ลกั เกณฑ์และกรอบของ “ความจริง” แทน จึงมีมุมมองต่อจิตดงั ท่กี ล่าวไปแลว้ ดงั น้นั เวลาท่ีนกั วิทยาศาสตร์ทีย่ ดึ ติดในหลกั เกณฑแ์ ละกรอบวธิ ีคิดทแี่ ตกต่างกนั ไปถกเถียงกนั กจ็ ะเห็นแต่วา่ จิตในมมุ มองของฝ่ายตนถกูในขณะที่จิตในมุมมองของอีกฝ่ ายผดิ ท้งั ๆ ทใ่ี นความเป็นจริงแลว้ ถกู ท้งัสองฝ่าย แต่ถูกจากกรอบวิธีคิดและหลกั เกณฑท์ ี่ แตกต่างกนั เท่าน้นั เอง แต่ปัญหามนั กอ็ ยทู่ ่ี ต่างฝ่ ายต่างกห็ ลงผดิ ว่ากรอบวธิ ีคิดและหลกั เกณฑท์ ่ตี ้งั ข้ึนซ่ึงมนั กค็ ือการ “สมมติ” ข้ึนมาดี ๆ น่ีเอง เป็นตวั ตนท่แี ทจ้ ริงท่ีตอ้ งรักษาไว้แมช้ ีวติ จะหาไม่ ปัญหาทีใ่ หญ่หลวงของมวลมนุษยชาติก็คือมนั ไม่ไดแ้ ค่สิ่งสมมติทเี่ รียกวา่ หลกั เกณฑแ์ ละกรอบวธิ ีคิดในเร่ืองจิตเทา่ น้นั นกั วทิ ยาศาสตร์ทกุสาขาต่างก็สมมติสิ่งต่าง ๆ ข้ึนมาเต็มไปหมด ต้งั แต่รัฐ ศาสนา ตาํ แหน่งยศถาบรรดาศกั ด์ิ สถานะทางสงั คม สวย หล่อ ประชาธิปไตย เผด็จการ ถกู
203ผดิ แลว้ กย็ ดึ วา่ เป็นตวั ตนที่ตอ้ งรักษาไวด้ ว้ ยชีวิต การโตเ้ ถี ยงจึงไม่แตกต่างกนั เลยในวทิ ยาศาสตร์ทกุ สาขา หากเรามองไปรอบ ๆ คงพอจะสงั เกตเห็น พอกล่าวมาถึงตรงน้ี หลายคนอาจเริ่มเครียดถา้ ไม่รู้วา่ น่ีคือความจริงของธรรมชาติ มนั ก็เป็นอยา่ งน้นั แหละ มนั คือส่ิงทนี่ าํ ท่านมานง่ั อ่านหนงั สือเล่มน้ีอยขู่ ณะน้ี มนั คือส่ิงทีน่ าํ ผเู้ ขียนมานิ่งเขียนหนงั สือเล่มน้ีอยใู่ นขณะน้ี และสิ่งทถ่ี ูกตอ้ งสาํ หรับเราก็คือ “ทาํ หนา้ ทไ่ี ปตามสมมติ ” ตามเหตุปัจจยั ของปัจจุบนั เท่าน้นั ตราบใดท่ไี มเ่ ขา้ ไปยดึ เป็นตวั ตนทตี่ อ้ งรักษาไว้ดว้ ยชีวติ เรากย็ งั ดาํ เนินชีวติ ถกู ตอ้ งอยู่ สิ่งทจ่ี ะบอกวา่ ถูกตอ้ งหรือไม่ ก็สงั เกตจาก “ความเบา” ของชีวิต ทีเ่ ราไดเ้ รียนรู้กนั ไปแลว้ จากบทก่อน ๆ ท่กี ล่าวมาคงจะทาํ ใหเ้ ราเห็นแลว้ วา่ วิทยาศาสตร์ท้งั เก่าและใหม่มีท้งั ส่วนทถี่ ูกและส่วนท่ีผดิ ในตวั เอง ส่วนท่ถี ูกของวทิ ยาศาสตร์แบบเก่าคือผลของการศกึ ษาทีถ่ ูกตอ้ งตามหลกั เกณฑแ์ ละกรอบวิธีคิดท่วี ทิ ยาศาสตร์แต่ละแบ บต่างกม็ ีเป็นของตนเอง สาํ หรับวิทยาศาสตร์แบบเก่าคือ “จิตคือสมอง” วิทยาศาสตร์ใหมก่ ถ็ ูกเหมือนกนั ทบี่ อกวา่ “จิตคือสภาวะรู้และรับรู้”ในขณะท่ีส่วนที่ผดิ ไดแ้ ก่ การยดึ ว่ามีแต่เพยี งหลกั เกณฑแ์ ละกรอบวธิ ีคิดของตนเองเพียงแบบเดียวท่สี ามารถใชใ้ นการศกึ ษาเรื่องน้นั ๆ ได้ ซ่ึ งในนกั วิทยาศาสตร์ท้งั แบบเก่าและแบบใหม่ การยดึ ติดในหลกั เกณฑด์ งั กล่าว ไมไ่ ดเ้ ป็นเหมอื นกนั ทุกคน บางคนกย็ ดึ ติดในหลกั เกณฑ์ บางคนกไ็ ม่ยดึ ติด ข้ึนอยกู่ บั วา่ นกั วิทยาศาสตร์คน
204น้นั ตอ้ งการจะรักษาความเป็นวิทยาศาสตร์ไว้ และตอ้ งการจะคน้ หาความจริง ซ่ึงความตอ้ งการทีไ่ ม่มีถูกและก็ไมม่ ผี ดิ หรือจะกล่าวว่า มีท้งั ถูกและผดิในตวั เอง ก็ได้ แต่ขอให้รู้วา่ มนั คือส่ิงเดียวกนั แต่คนละดา้ นกนั เหมือนกบัเหรียญท่ีมสี องดา้ นเสมอ หากขาดดา้ นใดดา้ นหน่ึง ความเป็นวิทยาศาสตร์ก็ไม่สมบรู ณ์ ความเป็นจริงในธรรมชาติบางคร้ังก็แปลกประหลาดกวา่ ทเี่ ราคิดตรงท่กี ารรับรู้ของเราทร่ี ับรู้ไดเ้ พียงคร้ังละดา้ นเทา่ น้นั และเวลาความเป็นจริงแสดงตวั ออกมาก็แสดงตวั ออกมาคราวละดา้ น มนั เหมอื นกบั ธรรมชาติของคลื่น และพลงั งานอยา่ งไรอยา่ งน้นั เลย คุณสมบตั ิดา้ นหน่ึงแสดงตนออกมา ขอใหเ้ ราตระหนกั ว่ายงั มคี ุณสมบตั ิอีกดา้ นหน่ึงทม่ี ีอยเู่ พียงแต่ไม่แสดงตนออกมาเท่าน้นั เอง ภาษาเป็นเพยี งส่ิงทส่ี มมติข้ึนมาเรียกสภาวะที่แสดงตนออกมาและอยใู่ นการรับรู้ของมนุษยเ์ ทา่ น้นั ถา้ ไปยดึ ก็จะผดิ อีกเหมอื นกรณีที่กล่าวมาแลว้ ต่อไปเราจะมาลงในรายละเอียดในค่ตู รงขา้ มของวทิ ยาศาสตร์ที่ไดแ้ ก่ “ความเป็นวทิ ยาศาสตร์กบั ค วามเป็นจริง ” ซ่ึงขบั เคี่ยวกนั มานานนบัศตวรรษเพอ่ื แยง่ ชิงการนาํ ในวงการวิทยาศาสตร์ของมนุษยชาติ เพ่อื แสดงให้เห็นวา่ คู่ปรับค่นู ้ีทาํ ไมตอ้ งแข่งขนั กนั เพื่อเป็นพ้นื ฐานในการลงไปในรายละเอียดเร่ืองนามรูปเพอ่ื ช้ีให้เห็น มมุ มองของวิทยาศาสตร์ต่อนามรูปก็มีท้งั ถกู และผดิ เช่ นเดียวกบั ทวี่ ทิ ยาศาสตร์มีต่อจิตดงั ที่กล่าวมาแลว้ ใน
205ตอนตน้ เรามาเริ่มดว้ ยคู่ของ “ความเป็นวทิ ยาศาสตร์กบั ความเป็นจริง ”ก่อน
206 บทท่ี 18 นามรูปในวทิ ยาศาสตร์จติ ภาพเรากล่าวไปบา้ งแลว้ ในตอนตน้ วา่ ความเป็นวิทยาศาสตร์คือความสามารถพิสูจน์ได้ ทดสอบไดเ้ ชิงประจกั ษโ์ ดยเครื่องมอื ตรวจวดั แสง เสียง กลิ่น รสและสมั ผสั ที่เชื่อถือได้ ความเป็นจริงทเี่ ป็นวทิ ยาศาสตร์จึงคบั แคบกวา่ ความเป็นจริงในธรรมชาติหลายเทา่ ถา้ จะกล่าวอีกอยา่ งหน่ึงอาจกล่าวไดว้ า่ สิ่งที่เรารู้ก็เปรียบเสมือนกบั ความเป็นจริงท่เี ป็นวิทยาศาสตร์มีเพียงนิดเดียว เม่อืเทยี บกบั ส่ิงท่ีเราไม่รู้ท่ีเปรียบเสมือนความเป็นจริงในธรรมชาติ ตวั อยา่ งทเ่ี ห็นไดช้ ดั ในเร่ืองน้ีไดแ้ ก่เรื่องสสารมอื (Dark Matter)ทเี่ รากล่าวถึงไปแลว้ ก่อนหนา้ น้ีวา่ สสารมดื หรือส่ิงทนี่ กั วทิ ยาศาสตร์รู้วา่ มีปริมาณถึงร้อยละ 95 ของประมาณสสารท้งั หมดในจกั รวา ล แต่นกั วทิ ยาศาสตร์แทบจะไม่มคี วามรู้ในเรื่องสสารมืดเลย ตวั อยา่ งเร่ืองสสารมดื ก็ช่างบงั เอิญกบั เร่ืองจิตอยา่ งไม่น่าเช่ือ เพราะมนุษยใ์ ชเ้ พียงร้อยละ 5ของจิตในการควบคุมชีวติ กล่าวอีกอยา่ งหน่ึงก็คือ มนุษยร์ ู้จกั จิตตวั เองเพียงร้อยละ 5 ท่ีเหลือยงั เป็นความลึกลบั เช่ นเดียวกบั สสารมดื แมว้ ่าเราเป็นเจา้ ของจิต แต่เรากม็ คี วามรู้ท่เี ป็นวิทยาศาสตร์เก่ียวกบั จิตนอ้ ยมาก
207 ทก่ี ล่าวมาทาํ ให้เราเกิดคาํ ถามเหล่าน้ีข้ึนในใจบา้ งหรือเปล่า จริง ๆความเป็นวทิ ยาศาสตร์เป็นเคร่ืองมอื ในการคน้ หาความจริงหรือเป็นอุปสรรคในการเขา้ ถึงความจริงกนั แน่ หรือว่าเป็นเจตนารมณข์ องธรรมชาติท่ตี อ้ งการให้มนุษยร์ ู้ความจริงเทา่ ทจ่ี าํ เป็น หรือว่ามนุษยย์ งั ไมพ่ ร้อมทจ่ี ะรับรู้ความเป็นจริงอีกร้อยละ 95 ท่เี หลือ หรือว่ามนุษยต์ อ้ งกา้ วล่วงความเป็นวยิ าศาสตร์แบบเก่าทีย่ ดึ ถือวา่ ความเป็นวทิ ยาศาสตร์ตอ้ งสามารถพสิ ูจนไ์ ด้วดั ไดด้ ว้ ยเคร่ื องมือวดั แสง เสียง กล่ิน รส และสัมผสั เท่าน้นั ไปสู่ความสามารถรู้สึกไดเ้ ชิงประจกั ษด์ ว้ ยสภาวะของการรู้และรับรู้ ท่เี รียกว่า“คอนเชียสเนส ” ทีเ่ รากล่าวถึงในตอนตน้ คาํ ถามสุดทา้ ยน้ี ทาํ ให้วิทยาศาสตร์กา้ วหนา้ ไปสู่ “ความเป็นวทิ ยาศาสตร์ใหม่ ” ทีส่ ามารถเขา้ ถึงความเป็ นจริ งส่วนที่เหลือได้ แมด้ ูเหมือนว่า “ความเป็นวิทยาศาสตร์ ” กบั “ความเป็นจริง ” จะถึงจุดร่วมกนั เม่อื วิทยาศาสตร์ใหมย่ อมรับว่าสภาวะของการรู้และรับรู้หรือ“คอนเชียสเนส ” เป็นความเป็นจริงท่เี ป็นวทิ ยาศาสตร์ แต่ในทางปฏิบตั ิ“ความเป็นวิทยาศาสตร์” กไ็ ม่ปล่อยให้ “ความเป็นจริง” ใหม่ปรากฏข้ึนและต้งั อยอู่ ยา่ งลอยนวลไดง้ ่าย ๆ ความเป็นวิทยาศาสตร์พยายามทุกวถิ ีทางเพ่อืลม้ ลา้ งความเป็นจริงใหม่ ๆ ดว้ ยการพิสูจน์ หาหลกั ฐานมาหักลา้ งทุกแง่ทุกมมุ ของความเป็นจริงใหม่
208 เหตุการณน์ ้ี หากดูเผนิ ๆ กด็ ูเหมือนราวกบั ว่า มีความขดั แยง้ระหว่าง ความเป็นวทิ ยาศาสตร์กบั ความเป็นจริงเกิดข้ึนอยา่ งไม่รู้จบสิ้น แต่หากดูใหล้ ึกซ้ึงแลว้ จะเห็นวา่ ความเป็นวิทยาศาสตร์กบั ความเป็นจริงกาํ ลงัสร้างสรรคค์ วามกา้ วหนา้ ให้แก่วิทยาศาสตร์ โดยวิทยาศาสตร์ใหมเ่ ปิดเผยความเป็นจริงใหม่ ๆ อยตู่ ลอดเวลา ในขณะทีค่ วามเป็นวทิ ยาศาสตร์ของวิทยาศาสตร์เก่า ก็ตามพสิ ูจนอ์ ยตู่ ลอดเวลา การแข่งขนั ของค่ปู รับน้ี จึงเป็นความแตกต่างทีข่ าดกนั และกนั ไมไ่ ด้ ถา้ ขาดความเป็นจริงใหม่ ๆวิทยาศาสตร์ก็ไม่กา้ วหนา้ ในขณะทถ่ี า้ ความเป็นวทิ ยาศาสตร์ ความเป็นจริงใหม่ ๆ ก็จะกลายเป็นเร่ืองเหลวไหล วิธีการหาความรู้ทเ่ี หมอื นขดั แ ยง้ กนั แต่แยกจากกนั ไมไ่ ดน้ ้ีนกั ปราชญข์ องเยอรมนั ไดเ้ คยกล่าวไวเ้ มอื่ 200 ปีที่แลว้ วา่ “การรับรู้ที่ปราศจากความรับรู้ กว็ ่างเปล่า ความรับรู้ท่ปี ราศจากการรับรู้ก็มืดบอด ”(Perception without conception is empty, Conception without perceptionis blind) เช่นเดียว กบั ในเร่ือง “ความเป็นวิทยาศาสตร์กบั ความเป็นจริง ”ดงั ทไ่ี ดก้ ล่าวไปแลว้ และในเรื่อง “รูปกายและนามกาย” ก็เช่นกนั “รูปกายที่ปราศจากนามกาย ก็เป็นไดแ้ ค่หุ่นยนต์ นามกายท่ปี ราศจากรูปกาย กเ็ ป็นเพียงแค่สายลม” ดงั น้นั ท้งั รูปกายและนามกายจึงตอ้ งอิงอาศยั กนั แลว้ เกิดเป็น สิ่งใหม่ทเ่ี ราใชค้ าํ วา่ “นามรูป” ในทีน่ ้ี เพอื่ ทาํ หนา้ ที่ให้ชีวติ ดาํ เนินไปได้ “นาม
209รูป” จึงเป็นความจริงความเป็นจริงใหม่ สาํ หรับวทิ ยาศาสตร์ ทเี่ ราหยบิ มาเป็นประเดน็ หลกั ในอภิปรายในบทน้ี ต่อไปเราจะมาดวู า่ ที่บอกวา่ ในมมุ มองของท้งั วิทยาศาสตร์เก่าและใหม่ต่อ “นามรูป” มีท้งั ถูกและผดิ น้นัเป็นอยา่ งไร และความเป็นวิทยาศาสตร์และความเป็นจริงทเ่ี ก่ียวกบั “นามรูป” ขดั แยง้ หรือสนบั สนุนกนั อยา่ งไรประโยชน์ต่อวทิ ยาศาสตร์ : ความถูกต้องตามหลกั ความเป็ นวทิ ยาศาสตร์ของวทิ ยาศาสตร์เก่า วิทยาศาสตร์เก่ายนื ยนั วา่ จิตคือสมอง หรือแต่รูปเท่าน้ั น ซ่ึงกเ็ ป็นจริงตามกรอบและหลกั เกณฑข์ องวทิ ยาศาสตร์แบบเหตุผลกลไกท่ีเราไดพ้ ดูถึงมาตลอดในหนงั สือเล่มน้ี มาถึงตอนน้ีเราจะไปดหู ลกั ฐานท่ีสนบั สนุนความถูกตอ้ งเร่ืองน้ี ท่ีเป็นการศกึ ษาของนกั วิทยาศาสตร์ในยคุ ปัจจุบนั ที่ใช้วิธีการศึกษาแบบเหตุผลกลไกในการศึกษา ซ่ึงมจี าํ น วนมาก แต่จะยกตวั อยา่ งมาสกั สองรายทีโ่ ดดเด่นสองท่าน ซ่ึงใชว้ ิธีการแบบเหตุผลกลไกในวทิ ยาศาสตร์สาขาประสาทวทิ ยาและชีววิทยา ตามลาํ ดบั คือ งานของด็อกเตอร์แซม แฮร์ริส และงานของดอ็ กเตอร์ริชาร์ด ดอวก์ ิ้นส์ ดร.แฮร์ริส เป็นนกั วิทยาศาสตร์ดา้ นศาสตร์คอมพิวเตอร์และประสาทวทิ ยาหนุ่มท่ีเพิ่มอายคุ รับ 45 ปี เม่อื 9 เมษายน 2012 นี่เอง ชื่อของ
210ดร.แฮร์ริส เป็นที่รู้จกั อยา่ งรวดเร็วเมื่อตีพิมพห์ นงั สือในประเด็นท่กี าํ ลงัถกเถียงกนั ทวั่ โลกชื่อ “จุดจบของศรัทธา ” (The End of Fait) เมื่อปี 2004ดว้ ยการนาํ เสนอประเด็นที่สนใจของคนทว่ั โลก ทาํ ใหห้ นงั สื อข้ึนแท่นหนงั สือขายดีของนิวยอร์คไทมถ์ ึง 33 สปั ดาห์ติดต่อกนั ดร .แฮร์ริส โตแ้ ยง้ว่าไม่มหี รอกสิ่งทเ่ี รียกว่า “พระเจา้ ” ชีวิตเป็นเรื่องของเหตุผลลว้ น ๆ ชีวติเป็นเรื่องของสิ่งท่ีปรากฏทางกายภาพเทา่ น้นั ทุกอยา่ งเริ่มตน้ ท่เี สียง ก่อนที่จะผสมเป็นคาํ ความคิดจึงเป็นเพี ยงถอ้ ยคาํ แลว้ กลายเป็นความคิด และความเชื่อที่เรายดึ จนเป็นตวั ตนของเรา ส่ิงท่ีเรียกวา่ “ตวั ตนทีแ่ ทจ้ ริง ” หรือ“เจตจาํ นงเสรี” ไม่มอี ยใู่ นทศั นะของ ดร.แฮร์ริส ดร. แฮร์ริส ไดต้ อกย้าํ เรื่องน้ีโดยการตีพมิ พห์ นงั สือเพื่อแจกแจงชีวติ ดา้ นในของมนุษยว์ า่ เป็นเพียงการทาํ งานของระบบประสาทในหนงั สือช่ือ “คุณลกั ษณะแห่งความดี” (Moral Landscape) ในอีกหกปีต่อมา ดร.แฮร์ริสอธิบายวา่ คุณงามความดีกเ็ ป็นเรื่องของเหตุผล วทิ ยาศาสตร์สามารถเร่ืองน้ีไดอ้ ยา่ งชดั เจน ในขณะทก่ี ารอธิบายคุณงามความดีดว้ ยศรัทธาเป็นเรื่องเหลวไหล นอกจากน้ี ดร.แฮร์ริส ก็ยังยอมรับ “สภาวะการรู้และรับรู้ ”ดว้ ย แต่เป็นเพยี งขอ้ มลู ที่อยใู่ นสมองเทา่ น้นั ความจริงในทศั นะของ ดร .แฮร์ริสจึงมเี พยี งแต่ “รูป” เท่าน้นั ส่วนอ่ืนไม่มอี ยจู่ ริง เป็นเพียงความเชื่อ ซ่ึงไม่ไดเ้ ป็นอะไรมากไปกวา่ “ถอ้ ยคาํ ” ซ่ึงไมไ่ ดเ้ ป็นอะไรมากไปกว่า “เสียง”เทา่ น้ั นเอง ซ่ึงไมม่ อี ะไรผดิ เลยเมื่อมองจากหลกั เกณฑข์ อง “ความเป็นวทิ ยาศาสตร์” หรือ “หลกั การของรูป” ดงั ทเ่ี รากล่าวไปแลว้ ในตอนตน้
211 ยอ้ นหลงั ไปก่อนหนา้ ดร . แฮร์ริส 30 ปี ในงานของนกั วทิ ยาศาสตร์รุ่นใหญ่ทอ่ี ายมุ ากกว่ากนั ถึง 30 ปี ไดแ้ ก่ ดร .ดอวก์ ิ้น เราได้พบการใชว้ ิธีการเชิ งเหตุผลกลไกในการพิสูจน์ความจริงทางวทิ ยาศาสตร์ซ่ึงเป็นหลกั ฐานยนื ยนั ว่า วธิ ีการเชิงเหตุผลกลไกแมจ้ ะไดร้ ับคาํวพิ ากษว์ ิจารณ์มาตลอด แต่ก็ยงั มีอยใู่ นวงการวทิ ยาศาสตร์มาตลอด ต่างกนัตรงที่งาน ดร .ดอวก์ ิ้นใชพ้ สิ ูจน์ความจริงเก่ียวกบั ส่ิงมีชีวติ โดยใชก้ ารสงั เกตความเปล่ี ยนแปลงของสิ่งมชี ีวิตท่ีเรียกวา่ “วิวฒั นาการ ” ในขณะที่ดร.แฮร์ริส มองสภาวะรู้และการรับรู้วา่ เป็นเพยี งปรากฏการณข์ องสมองเทา่ น้นั แต่งานของ ดร.ใชพ้ ิสูจน์การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมชี ีวิตในระดบั ยนี ในปี 1976 ดร.ดอวก์ ้ิน ตีพมิ พผ์ ลการวิจยั ใจช่ือหนงั สือช่ือ “ยนี ที่เห็นแก่ตวั ” (The Selfish Gene) ในงานวจิ ยั ดงั กล่าว ดร .ดอวก์ ิ้นอธิบายว่าในวิวฒั นาการของมนุษยไ์ มม่ ีส่ิงท่เี รียกวา่ “จิต” ทน่ี อกเหนือไปยาก “ยนี ” ที่เป็นตวั ควบคุมพฒั นาการของมนุษย์ แต่สิ่งทกี่ าํ หนดพฒั นาการของมนุษยม์ ีเพยี งกลไกของยนี เท่าน้นั ดร.ดอวก์ ิ้นเรียกส่ิงน้นั ว่า “จกั รกลยนี ” (The GeneMachine) ดร.ดอวก์ ้ินมองว่ายนี เป็นเพียงเครื่องจกั รเท่าน้นั สิ่งทเี่ รียกวา่“จิต” หรือสภาวะรู้และรับรู้ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นร่างกายดว้ ยซ้าํ ไป ในทศั นะของ ดร .ดอวก์ ้ิน ซ่ึงเป็นทน่ี ่าสังเกตว่า มุมมองต่อชีวติ ของเดส์การ์ตเม่อื 300 ปีท่ีแลว้ยงั สืบทอดมาถึงนกั วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 20
212 ในหนงั สือ “จกั รกลยนี ” ดร.ดอวร์กิ้น ระบวุ า่ ยนี ทอ่ี ยรู่ อดไมไ่ ด้เป็นอะไรทม่ี ากไปกว่าเครื่องจกั รท่สี ามารถสร้างเกราะป้ องกนั ตนเองจากสงครามเคมีของยนี ค่แู ข่ง และจากการทาํ ลายลา้ งของการถูกกระหน่าํ ยงิโมเลกุลโดยบงั เอิญ ทุกส่ิงทกุ อยา่ งใ นวิวฒั นาการของสิ่งมีชีวติ ของมนุษย์ลว้ นเป็นเคร่ืองจกั รท้งั ส้ิน ต้งั แต่ “ซุปขน้ ” ทีเ่ ป็นจุดเร่ิมตน้ ของส่ิงมีชีวิตบนโลกน้ี พฒั นาไปเป็น “พืช” และ “สัตว”์ ในเวลาต่อมา จนกระทงั่ มาเป็นคนทอี่ ่านและเขียนหนงั สือเล่มน้ีอยเู่ ม่อื 4,000 ลา้ นปีผา่ นไป ดร.ดอวก์ ิ้นตอกย้าํ แน วคิดของตนเองดว้ ยการตีพมิ พห์ นงั สือชื่อ“ความเขา้ ใจผดิ ในพระเจา้ ” (The God Delusion) ในอีก 30 ปีต่อมา พร้อม ๆกบั การนาํ หนงั สือเล่มแรกมาตีพมิ พใ์ หม่ในปีเดียวกนั ในหนงั สือ “ความเขา้ ใจผดิ ในพระเจา้ ” ดร.ดอร์กิ้นอธิบายวา่ ส่ิงทเ่ี รียกวา่ “พระเจา้ ” เป็นเพยี งผลพลอยไดจ้ ากววิ ฒั นาการของชีวติ ทเี่ รียกว่า “กลไกการทาํ งานของสมอง” เทา่ น้นั เอง ส่ิงท่ี ดร.ดอวก์ ิ้น ก็ไม่ไดผ้ ดิ แต่ประการใดในกรอบของความเป็นวิทยาศาสตร์แบบเก่า ที่ไมต่ ีความมากไปกวา่ สิ่งท่สี ามารถวดั ไดท้ างแสงเสียง กล่ิน รส และสมั ผสั เทา่ น้นั วทิ ยาศาสตร์แบบ ดร .ดอวก์ ิ้น เป็นวิทยาศาสตร์ทตี่ รงไปตรมมาดี ง่าย ๆ ทาํ ใหช้ ีวติ เป็นเร่ืองง่าย ๆ ไม่ตอ้ งคิดอะไรมาก เขาไม่ใส่ใจในเร่ือง “ความดี ” (Good) และ “ความชว่ั ” (Evil)เพราะมนั ไมม่ อี ยจู่ ริง วิธีคิดแบบน้ีกระมงั ที่ทาํ ให้ ดร .ดอวก์ ิ้นตอ้ งแต่งงาน
213ถึงสามคร้ังก่อนทอ่ี ายจุ ะครบ 60 ปี แต่นนั่ ก็ไมไ่ ดท้ าํ ใหผ้ เู้ ขียนเห็นว่าความคิดของ ดร.ดอวก์ ิ้นทว่ี ่า มนุษยเ์ ป็นเพยี งเครื่องจกั รกล เป็นความเห็นที่ผดิ เพราะความเห็นดงั กล่าวกถ็ ูกตอ้ งในกรอบความเป็นวทิ ยาศาสตร์แบบเก่าทเ่ี นน้ การพสิ ูจนไ์ ดว้ ดั ได้ ดงั กล่าวไปแลว้ประโยชน์ต่อชีวติ มนุษย์ : ความถูกต้องตามหลกั ความเป็ นจ ริงของวทิ ยาศาสตร์ใหม่ ความเห็นทีถ่ กู ตอ้ งในมุมมองของวทิ ยาศาสตร์เก่า เราไดเ้ ห็นตวั อยา่ งแลว้ ต่อไปเราจะไปดคู วามเห็นที่ถูกตอ้ งในมมุ มองของวทิ ยาศาสตร์ใหม่เป็นอยา่ งไร โดยเราจะนาํ มาเสนออีกสองตวั อยา่ งในสาขาเดียวกนั คือ สาขาประสาทวทิ ยา และสาขาชีววิทยา แต่ใชห้ ลกั ความเป็นจริงเป็นกรอบในการศึกษา เราจะไดเ้ ห็นวา่ กรอบต่างกนั ศกึ ษาเร่ืองเดียวกนั จะไดผ้ ลเป็นอยา่ งไร วิทยาศาสตร์ใหมเ่ ห็นวา่ วทิ ยาศาสตร์ทีม่ ุ่งศึกษาแค่ “รูป” เพอื่ยนื ยนั ความถูกตอ้ งของวทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื ประโยชนข์ องวทิ ยาศาสตร์ฝ่ายเดียว ทาํ ให้ชีวติ ขาดความสุขหรือความรู้สึก ท่เี ป็นดา้ น “นาม” ของชีวติ ท่ีวทิ ยาศาสตร์ใหม่เรียกว่า “คอนเชีสเนส ” ทเ่ี รากล่าวถึงไปแลว้ ในตอนตน้วิทยาศาสตร์ใหมจ่ ึงไดร้ วมเอาอีกดา้ นของชีวิตเขา้ ไวใ้ นการศกึ ษาของ
214วิทยาศาสตร์ใหมด่ ว้ ย และสิ่งทย่ี นื ยนั ว่าการกระทาํ ของวิทยาศาสตร์ใหม่ถูกตอ้ งคือ มนุษยม์ ีความสุขมากข้ึนเมื่อดาํ เนินชีวิตตามขอ้ คน้ พบใหม่ แสดงวา่ สิ่งท่ีคน้ พบใหมน่ ้นั สอดคลอ้ งกบั ความเป็นจริงตามธรรมชาติ เพราะมนุษยก์ เ็ ป็นธรรมชาติอยา่ งหน่ึงเช่นกนั ตวั อยา่ งของนกั วทิ ยาศาสตร์ดา้ นประสาทวิทยาที่เราพดู ถึงบ่อย ๆในหนงั สือเล่มน้ีไดแ้ ก่นายแพทยด์ ีปัคโชปรา นายแพทยโ์ ชปรา เป็นนกั วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาการทาํ งานของสมอง และการหลงั่ ของสารเคมีในสมอง นายแพทยโ์ ชปราออกมายอมรับว่า “ยง่ิ เรารู้จกั สมองมากข้ึน เรากย็ งิ่รู้จกั ชีวติ นอ้ ยลง” นายแพทยโ์ ชปราจึงขยายขอบเขตการศกึ ษาเร่ืองชีวติ ให้พน้ ขอบเขตของร่างกายเพยี งอยา่ งเดียว ดว้ ยการวิจยั กวา่ 30 ปี ทาํ ให้นายแพทยโ์ ชปราสามารถยนื ยนั ไดว้ ่า แก่นของชีวิตไมใ่ ช่ปฏิกิริยาเคมใี นสมองและร่างกาย แต่เป็น “สภาวะการรู้และรับรู้ ” สิ่งท่ีเกิดข้ึนในร่างกายและสมองเป็นการแสดงตนของ “สภาวะการรู้และรับรู้” ดงั กล่าวทเ่ี ชื่อมโยงกบั ทุกสิ่งทกุ อยา่ งในจกั รวาล เราจะไมน่ าํ งานของนายแพทยโ์ ชปรามาเปรียบเทียบเพราะพดู ถึงไปมากแลว้ แต่เราจะนาํ งานของนกั ประสาทวิทยาท่ีมอี ายไุ ล่เลี่ยกนั ดร.แฮร์ริส มาเปรียบเทยี บ นกั ประสาทวิทยาที่เรากาํ ลงั พดูถึงคือ ด็อกเตอร์รูดอลฟ์ แทนซี ดร.แทนซี เป็นศาสตราจารยด์ า้ นประสาทวิทยาที่โรงเรียนแพทย์มหาวิทยาลยั ฮาวาร์ด ในปี 2000 ดร.แทนซี ตีพมิ พห์ นงั สือช่ือ “ถอดรหัส
215ความมดื ” (Decoding Darkness) ซ่ึงเป็นหนงั สือทรี่ ายงานผลการวิจยั ของเขาเพอื่ คน้ หาสาเหตุทางพนั ธุกรรมท่มี ผี ลต่อโรคความจาํ เสื่อมในผสู้ ูงอายุหรือโรคอลั โซเมอร์ (Alzheimer) ท่ีเราเคยไดย้ นิ บ่อย ๆ ผลการศึกษาที่รายงานไวใ้ นหนงั สือเล่ มน้ี ดร .แทนซี ไมส่ ามารถยนั ไดว้ า่ พนั ธุกรรมมีความสมั พนั ธ์กบั สมอง ทสี่ าํ คญั เขาไมส่ ามารถยนื ไดว้ ่าโรคความจาํ เสื่อมมีผลมาจากสมอง ในปี 2012 ดร.แทนซี ตีพิมพห์ นงั สือชื่อ “สมองใหญ่ ” (SuperBrain) ร่วมกบั นายแพทยโ์ ชปรา ผลจากการศกึ ษาวจิ ยั เรื่องสมองมาหลายสิบปี ทาํ ให้ ดร .แทนซี พดู ไดเ้ ตม็ ปากวา่ “เราไม่ใช่สมอง ” “เราเป็นผตู้ กหลุมรักไม่ใช่สมอง ” สมองในร่างกายเป็นเพยี งแหล่งรับสัญญาณจาก“สมองใหญ่” ซ่ึงเป็นสิ่งเดียวกบั “สภาวะการรู้และรับรู้ ” ทน่ี กั วทิ ยาศาสตร์รุ่นก่อนใชเ้ รียกสิ่งท่นี อกเหนือไปจากสมอง การคน้ พบน้ีทาํ ให้ ดร .แทนซีสามารถอ ธิบายการเกิดข้ึนของโรคความจาํ เส่ือมในผสู้ ูงอายไุ ดด้ ีข้ึน และสามารถทาํ ให้ผสู้ ูงอายมุ ีความสุขมากข้ึน ท้งั ๆ ทอี่ าจถกู มองว่าขาด “ความเป็นวิทยาศาสตร์” แต่เต็มไปดว้ ย “ความเป็นจริง ” เพราะมนั สอดคลอ้ งกบัความเป็ นจริ งของชีวติ ทก่ี ล่าวมาเป็นตวั อยา่ งที่แตกต่างอยา่ งเห็นไดช้ ดั ในสาขาประสาทวิทยา ทแ่ี มเ้ ป็นการศึกษาเรื่องเดียวกนั แต่ไดผ้ ลต่างกนั ต่อไปเราจะไปดูตวั อยา่ งในสาขาชีววิทยา เพ่อื ดวู า่ ไดผ้ ลการศึกษาแตกต่างจากการศึกษา
216ของ ดร.ดอวก์ ิ้น อยา่ งไร นกั วิทยาศาสตร์ทางชีววิทยาท่ีน่าจะเป็นคู่ต่อกรกบั ดร.ดอวก์ ิ้น ไดอ้ ยา่ งสมน้าํ สมเน้ือในยคุ น้ีคงจะไม่มใี ครเกิน ดร.เชลดเร็คซ่ึงอายนุ อ้ ยกวา่ ดร.ดอวก์ ิ้นเพยี งปีเศษ ที่เราไดก้ ล่าวถึงไปแลว้ ในตอนตน้ ห้าปีหลงั จากท่ี ดร.ดอวก์ ิ้น ตีพิมพห์ นงั สือ “ยนี ทีเ่ ห็นแก่ตวั ” ดร.เชลดเร็ค กไ็ ดต้ ีพิมพห์ นงั สือทีโ่ ตแ้ ยง้ แนวคิดของ ดร .ดอวก์ ิ้นช่ือ “ศาสตร์ใหมแ่ ห่งชีวิต” (A New Science of Life) ในปี 1981 ดร.เชลดเร็ค ใชก้ ฏของวทิ ยาศาสตร์ใหมเ่ ร่ืองการสามารถส่ือถึงกนั ของอนุภาคเดียวกนั แมจ้ ะอยคู่ นละที่ ซ่ึงเราไดก้ ล่าวถึงไปแลว้ ก่อนหนา้ น้ี มาอธิบายปรากฏการณ์ทางชีววิทยา จากการทดลองของ ดร .เชลดเร็ค พบวา่ เมอื่ หนูตวั หน่ึงสามารถเรียนรู้วิธีหาทางออกจากเขาวงกดไดแ้ ลว้ หนูตวั อื่น ๆ กม็ ีแนวโนม้ ทีจ่ ะหาทางออกจากเขาวงกดไดเ้ ร็วข้ึน ดร.เชลดเร็คอธิบายว่า หนูสามารถสื่อถึงกนั ไดแ้ มไ้ มไ่ ดพ้ บกนั มนั เป็นการสะทอ้ นขอ้ มลู ข่าวสารถึงกนั ผา่ นสนามพลงั งานที่มีอยใู่ นธรรมชาติ (Morphic Resonance) ในทศั นะของ ดร .เชลดเร็ค ชีวิตจึงไม่ใช่เครื่องจกั ร ในปี 2006 ดร.ดอวก์ ิ้นตีพมิ พห์ นงั สือ “ความเขา้ ใจผดิ ในพระเจา้ ”ทต่ี อกย้าํ “ความจริง” ในทศั นะของ ดร .ดอวก์ ิ้นท่ีเปิดเผยต่อสาธารณะคร้ังแรกในปี 1976 วา่ ชีวติ เป็นเพยี งเคร่ืองจกั ร และ ในหนงั สือในปี 2006 เขาตอกย้าํ ความจริงดงั กล่าวโดยการประกาศว่า “พระเจา้ เป็นเพียงผลพลอยได้ของววิ ฒั นาการทางพนั ธุกรรมของมนุษย์ และกลไกการทาํ งานของสมอง
217เท่าน้นั ” ต่อมาในปี 2012 ดร.เชลดเร็ค ไดต้ ีพิมพห์ นงั สือชื่อ “ความเขา้ ใจผดิของวทิ ยาศาสตร์ ” (Science Delusion) ซ่ึงเราไดพ้ ดู ถึงเน้ือหาของหนงั สือเล่มน้ีไปแลว้ ขา้ งต้ น หนงั สือเล่มน้ีตีพิมพข์ ้ึนเพ่อื ตอบโตค้ วามคิดเห็นของดร.ดอร์ก้ิน โดยเฉพาะในประเด็นทวี่ ่า ชีวติ เป็นเพยี งเคร่ืองจกั ร และพระเจา้เป็นเพยี งผลพลอยไดข้ องววิ ฒั นาการ และกลไกการทาํ งานของสมอง ในหนงั สือเล่มดงั กล่าวของ ดร.เชลดเร็ค ยนื ยนั วา่ ชีวติ ไมใ่ ช่เพียงแค่ร่างกายน้ี เท่าน้นั ดร .เชลดเร็คส สามารถพิสูจนโ์ ดยการทดลองในกรณีของคนระลึกชาติไดแ้ ลว้ พบว่า ความจาํ ไม่ไดเ้ กบ็ ทีส่ มองท้งั หมด ความจาํร้อยละ 95 ถกู เก็บไวใ้ นสิ่งทเ่ี รียกวา่ “สภาวะการรู้และรับรู้ ” ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั ขอ้ คน้ พบของนกั วทิ ยาศาสตร์ใหม่จาํ นวนมากทีใ่ ชก้ ารศกึ ษาทก่ี า้ วขา้ มวิธีการศกึ ษาแบบเหตุผลกลไกที่มุ่งรักษาความเป็นวทิ ยาศาสตร์ ไปสู่การศึกษาที่มุ่งไปท่ีความเป็นจริงมากข้ึน แมว้ ่าจะถูกโจมตีวา่ ขาด “ความเป็นวทิ ยาศาสตร์” เพราะวิธีการพสิ ูจนไ์ ม่ไดร้ ับการยอมรับ แต่วิทยาศาสตร์ใหมไ่ ม่ไดผ้ ดิ เพ้ียนไปจาก “ความเป็นจริง ” แมแ้ ต่นอ้ ย โดยชีวิ ตทด่ี ีข้ึนของมนุษยเ์ ป็นเคร่ืองยนื ยนั เราจะเห็นว่ามมุ มองของวทิ ยาศาสตร์ใหมต่ ่อชีวติ ทวี่ ่า “นาม” ท่ีวิทยาศาสตร์ใหมม่ ีคาํ ที่ใชเ้ รียกต่างกนั เช่น “สมองใหญ่” หรือ “สภาวะการรู้และรับรู้” หรือ “คอนเชียสเนส” เป็นแก่นของชีวติ กถ็ กู ตอ้ งตามหลกั ความเป็นจริง ที่วิทยาศาสตร์ ใหมใ่ ชเ้ ป็นกรอบและหลกั เกณฑใ์ นการศึกษา เม่ือ
218วิทยาศาสตร์ท้งั สองต่างมมี ุมมองท่ถี กู ตอ้ งดว้ ยกนั ท้งั ค่ทู ี่เก่ียวกบั “นามรูป”ต่อไปเราจะไปดวู ่า อะไรคือความเห็นผดิ ของท้งั วิทยาศาสตร์เก่าและใหม่
219 บทท่ี 19 การรู้จักตวั ตนระดับความคดิท้งั วทิ ยาศาสตร์เก่าและ ใหมต่ ่างมีความถกู ตอ้ งในมุมมองของตนเองกล่าวคือวทิ ยาศาสตร์เก่าเห็นวา่ ชีวิตทีแ่ ทจ้ ริงคือร่างกายหรือ “รูป” ในขณะทีว่ ทิ ยาศาสตร์ใหมเ่ ห็นวา่ ชีวติ ทแ่ี ทจ้ ริงคือสิ่งทีไ่ ม่ใช่ร่างกายทีม่ องเห็นหรือ“นาม” ความถูกตอ้ งของวทิ ยาศาสตร์เก่า เป็นความถกู ตอ้ งตามหลกั ความเป็นวิทยาศาสตร์ ในขณะท่คี วามถูกตอ้ งของวทิ ยาศาสตร์ใหม่เป็นความถกู ตอ้ งตามหลกั ความเป็นจริง ซ่ึงดวู า่ ไม่น่าจะมีปัญหาอะไร ความเห็นผดิไม่น่าเกิดข้ึนในหมนู่ กั วทิ ยาศาสตร์ท้งั เก่าและใหม่ แต่ความเห็นผดิ ของวทิ ยาศาสตร์เก่าและใหมก่ ็เกิดข้ึนจนได้ เมือ่นกั วทิ ยาศาสตร์ท้งั เก่าและใหม่มกั จะมแี นวโนม้ ทจ่ี ะยดึ วา่ มีแต่มมุ มองของฝ่ ายตนเท่าน้นั ทถ่ี ูกตอ้ ง เหตุการณเ์ ช่นน้ีเป็นส่ิงทีเกิดข้ึนเป็นธรรมดา ในทกุสาขาอาชีพ เราเคยสงั เกตไหมว่า เวลาเราทาํ อะไรซ้าํ ๆ เราจะเกิดความเชื่อวา่ เราเป็นส่ิงน้นั จริง ๆ เช่นเราไปสอนหนงั สือทุกวนั ๆ เราจะเกิดความเชื่ อวา่ เราเป็นครู และรู้สึกว่าเราเป็นครูจริง ๆ หรืออีกตวั อยา่ งหน่ึงชื่อสมชายถกูต้งั ให้เราหลงั จากเกิดมา แต่พอเราถกู เรียกว่า สมชายมาต้งั แต่จาํ ความได้ เราจะรู้สึกวา่ เราเป็นสมชายอยา่ งแยกกนั ไม่ออก เราเคยสังเกตไหม เวลาไดย้ นิ
220เสียงว่า “สมชายน่ารัก ” ใจเราจะรู้สึกพองโตเ คยสังเกตไหม ท้งั ๆ ท่คี วามเป็นจริงสมชายกบั เราเป็นคนละสภาวะกนั แท้ ๆ ในกรณีน้ีกเ็ ช่นกนั ความหลงผดิ ในทางวทิ ยาศาสตร์กเ็ กิดข้ึนในลกั ษณะเดียวกนั น้ี คือพอวทิ ยาศาสตร์เก่ากห็ มกมุ่นศกึ ษาแต่ “รูป ”วิทยาศาสตร์ใหม่ก็หมกมุ่นศกึ ษาแต่เร่ือง “นาม” นานเขา้ ก็เช่ือ รู้สึก และ ยดึว่า มเี พยี งส่ิงน้ีเท่าน้นั ทม่ี ีอยจู่ ริง น่ีแหละความหลงผดิ ของวทิ ยาศาสตร์ท้งัเก่าและใหม่ ซ่ึงเป็นอนั ตรายต่อมนุษยชาติโดยรวม เพ่ือหลีกเล่ียงกบั ดกัดงั กล่าว การศกึ ษา “นามรูป” ในหนงั สือเล่มน้ี จึงอยบู่ นพ้ืนฐานของความเป็นวทิ ยาศาสตร์และบนพ้ืนฐานของความเป็นจริงโดยเราเห็นว่า “นามรูป”เป็นท้งั ส่วนทีเ่ ป็นร่างกายท่เี รียกวา่ “สมอง” และส่วนที่นอกเหนือไปกว่าสมอง ท่ีเรียกวา่ “สภาวะการรู้และรับรู้” หรือ “คอนเชียสเนส” หรือ “สมองใหญ่” มาถึงตรงน้ี หากผอู้ ่านท่เี ห็นดว้ ยกบั หลกั ความเป็นวทิ ยาศาสตร์ก็อาจคิดวา่ การศึกษาเรื่อง “นามรู ป” ตอ้ งต้งั อยบู่ ทหลกั ความเป็นวทิ ยาศาสตร์เทา่ น้นั ในขณะทหี่ ากเป็นผอู้ ่านทเี่ ห็นดว้ ยกบั หลกั ความเป็นจริง กอ็ าจคิดว่า การศึกษาเร่ือง “นามรูป” ตอ้ งต้งั อยบู่ นหลกั ความเป็นจริงเท่าน้นั ต่างฝ่ ายต่างเลือกเห็นดว้ ยกบั เหตุทีต่ รงกบั ความชอบของตนที่ยกมาประกอบขา้ งตน้ เรามี ความรู้สึกเป็นแบบน้นั หรือเปล่า หากมีความรู้สึก
221แบบน้ีอยใู่ นใจ แสดงว่าเราอาจจะกาํ ลงั เขา้ ไปติดกบั อยา่ งทน่ี กั วิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่กาํ ลงั เป็นอยู่ ในฐานะผเู้ ตรียมความพร้อมเพ่อื การสร้างทุกส่ิงทุกอยา่ งในชีวิตเราตอ้ งกา้ วไปให้พน้ “คู่ตรงขา้ ม” หรือ “ความเป็นของคู่ ” ให้ได้ ในทน่ี ้ีคือ“ความเป็นวทิ ยาศาสตร์” กบั “ความเป็นจริง” ทว่ี ทิ ยาศาสตร์กา้ วหนา้ มาถึงทกุ วนั น้ี เพราะวา่ วิทยาศาสตร์มที ้งั ดา้ นท่เี ป็นความเป็นวทิ ยาศาสตร์และดา้ นที่เป็นความเป็นจริง แมส้ ิ่งท่เี ราเห็นภายนอกอาจเห็นเป็นความขดั แยง้ระหว่างนกั วทิ ยาศาสตร์ดว้ ยกนั เอง แต่ ผลจากความเห็นต่างกลบั เป็นการส่งเสริมซึงกนั และกนั นาํ ไปสู่การสร้างสิ่งใหมข่ ้ึนมา ดงั ท่เี ราเห็นเป็นความกา้ วหนา้ ทางอารยธรรมของมนุษย์ ท่ีเรียกว่า “เทคโนโลย”ี อยทู่ ุกวนั น้ีในเร่ืองร่างกาย หรือ “รูป” กบั จิตใจ หรือ “นาม” กเ็ ช่นกนั ดว้ ยความแตกต่างขดั แยง้ กนั ในมมุ ม องของนกั วทิ ยาศาสตร์ แต่ความแตกต่างได้ส่งเสริมกนั และกนั และเกิดส่ิงใหม่ข้ึนมาท่ีเราเรียกว่า “นามรูป ” ทีม่ ที ้งั“ดา้ นความเป็นวทิ ยาศาสตร์” และ “ดา้ นความเป็นจริง” อยดู่ ว้ ยกนั เราจะมาดวู า่ องคป์ ระกอบท้งั สองดา้ นทแ่ี ตกต่างและขดั กนั อยดู่ ว้ ยกนั และส่งเสริมกนั และกนั อยา่ งไร
222สมองกบั สภาวะการรู้และรับรู้ : ความเป็ นวทิ ยาศาสตร์กบั ความเป็ นจริงของนามรูป มาถึงตอนน้ีเรากเ็ ร่ิมเขา้ ใกล้ “นามรูป ” จากมุมมองของวทิ ยาศาสตร์จิตภาพเขา้ ไปทุกขณะ เพราะวิทยาศาสตร์จิตภาพไม่ไดเ้ กิดจากความวา่ งเปล่า แต่เป็นการบรู ณาการความดีงามของวทิ ยาศาสตร์ทุ กแขนงข้ึนมาเป็นวทิ ยาศาสตร์จิตภาพ ที่ม่งุ ใหท้ ุกคนสามารถใชป้ ระโยชน์ได้ และสามารถนาํ ไปใชแ้ กป้ ัญหาชีวิตไดท้ ุกคน โดยไมจ่ าํ เป็นตอ้ งมีพ้นื ฐานการศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์แมแ้ ต่นอ้ ยกส็ ามารถไดร้ ับประโยชนจ์ ากวทิ ยาศาสตร์จิตภาพน้ี เพียงแค่สามารถไล่นกกาที่มจี ิกกินผลผลิตได้ ก็สามารถไดร้ ับประโยชนแ์ ลว้ ต่อไปเราจะไปดวู า่ “นามรูป” ทเี่ รากล่าวถึงในตอนตน้ ของบทน้ีวา่ คือ “ความคิด” คืออะไร ถา้ รวมความเป็นวิทยาศาสตร์กบั ความเป็นจริงเขา้ ดว้ ยกนั ความคิด หรือ “นามรูป” ไม่ใช่สมอง และสภาวะการรู้และรับรู้ ก็ไมใ่ ช่ “นามรูป” แต่เป็นผลผลิตที่เกิดข้ึนใหมจ่ ากการทาํ งาน “ร่วมกนั ” หรือจะเรียกว่าการทาํ งาน “ขดั กนั ” ของสมองและสภาวะการรู้และรับรู้กไ็ ด้เพราะเป็นสภาวะเดียวกนั แต่ข้ึนอยกู่ บั วา่ จะมองจากมุมไหนถา้ มองจากมมุของ “ความเป็นวทิ ยาศาสตร์ ” กจ็ ะเห็นความขดั กนั แต่ถา้ มองจากมุมของ“ความเป็นจริง” ก็จะเห็นความร่วมกนั ทีน้ีถา้ มองจากการรวมท้งั ความเป็นวิทยาศาสตร์และความเป็นจริงเขา้ ดว้ ยกนั สมองและสภาวะการรู้และรับรู้จะ
223สร้างสิ่งใหม่ข้ึนมาท่เี ราเรียกวา่ “นามรูป” อาจเปรียบไดก้ บั กรณีของ “น้าํ ”ท่ีเกิดจากการรวมตวั กนั ของไฮโดรเจนกบั ออกซิเจนในสัดส่วนหน่ึงต่อสองแต่ถา้ แยกท้งั สอง องคป์ ระกอบออกมาแลว้ ไปคน้ หาน้าํ ทุกคนก็ทราบดีว่าไมม่ ีวนั พบ ในกรณีของ “นามรูป” กเ็ ช่นกนั การหาสภาวะการรู้และรับรู้ในสมองดงั ท่ีนกั วิทยาศาสตร์เก่าพยามอยจู่ ึงไม่เห็น และการหาสมองในสภาวะการรู้และรับรู้ดงั ที่นกั วทิ ยาศาสตร์ใหม่พยายามอยกู่ ็ไม่พบเช่นกนั แต่นกั วยิ าศา สตร์ท้งั สองฝ่ ายยงั ไม่สามารถหาวิธีรวมวิธีการท้งั สองเขา้ ดว้ ยกนั ได้ จึงไม่สามารถทาํใหส้ มองและสภาวะการรู้และรับรู้ เป็นหน่ึงเดียวกนั ได้ แต่วทิ ยาศาสตร์จิตภาพ สามารถรวมสมองกบั สภาวะการรู้และรับรู้เป็นหน่ึงเดียวกนั ได้ จนสามารถคน้ พบส่ิงใหม่ข้ึนมาเรียกว่า “นามรูป” ในข้นั น้ีเราอาจสรุปไดว้ า่สมองคือ “รูป” ของสภาวะการรู้และรับรู้ และ สภาวะการรู้และรับรู้คือ“นาม” ของสมอง การทาํ งานของนามรูป และวิธีการสังเกตนามรูป เราจะกล่าวถึงในตอนต่อไป ในกรณีอนุภาคและคล่ืน นกั วิทยาศาสตร์รู้ดีวา่ รูปหรืออนุภาคและนามหรือคลื่นคือสิ่งเดียวกั น แต่แสดงสถานะต่างกนั และเร่ิมต้งั สมมติฐานแลว้ ว่า เวลาอนุภาคและพลงั งานรวมกนั จะกลายเป็นส่ิงท่ีเรียกว่า “สสารมืด” แต่ก็ยงั ไมม่ วี ธิ ีการพสิ ูจนห์ รือสงั เกตได้ แต่วทิ ยาศาสตร์ทางจิตรู้แลว้ วา่ สมอง และ สภาวะการรู้และรับรู้ คือส่ิงเดียวกนั แต่แสดง
224สถานะต่างกนั เช่นเดี ยวกบั วิทยาศาสตร์ทว่ั ไปรู้ แต่วทิ ยาศาสตร์ทางจิตกา้ วหนา้ กวา่ วทิ ยาศาสตร์ทว่ั ไปในเรื่องรูปนามของชีวติ วิทยาศาสตร์ทางจิตรู้แน่ชดั ว่า เมอื่ สมองและสภาวะการรู้และรับรู้รวมกนั จะได้ “นามรูป” หรือ “ความคิด” ข้ึนมา และวิทยาศาสตร์ทางจิตยงัสามารถคน้ พบวธิ ีการสงั เกต “นามรูป” ดว้ ย แต่ถา้ แยก “นาม” แยก “รูป”ออกจากกนั เพ่อื วเิ คราะห์หา “นามรูป ” ก็จะไมพ่ บ เหมอื นกบั ท่ีนกั วทิ ยาศาสตร์ไม่พบน้าํ เม่ือแยกโฮโดรเจนออกจากออกซิเจนเพือ่วิเคราะห์หาน้าํ ปรากฏการณ์น้ีสามารถอธิบายดว้ ยกฎธรรมชาติท่วี า่ สมองและสภาวะการรู้และรับรู้ลว้ นผดุ ข้ึนมาจากความว่างเหมอื นกนั ต่อไปเราจะไปรู้จกั “นามรูป” จากมุมมองของวทิ ยาศาสตร์จิตภาพลว้ น ๆ ดูความเป็ นหน่งึ เดยี ว : มุมมองต่อนามรูปของวทิ ยาศาสตร์จิตภาพ ที่ผา่ นมา เราไดพ้ ยายามอธิบายใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจเร่ือง “นามรูป” มาพอสมควร โดยกินพ้นื ทคี่ ร่ึงค่อนบท ก็เพื่อตอ้ งการใหผ้ ู้ อ่านเห็นภาพความเป็นมาของคาํ วา่ “นามรูป” ที่หนงั สือเล่มน้ีเอามาใชแ้ ทนประตูทีห่ ก หรือประตูใจที่กล่าวถึงในบทท่ี 4 ที่ ที่ตอ้ งใชค้ าํ ที่แตกต่างกนั กเ็ พ่ือตอ้ งการส่ือใหเ้ ห็นว่า “นามรูป ” ทาํ หนา้ ทมี่ ากกวา่ การเป็นช่องทางผา่ น ซ่ึงจะได้กล่าวถึงในตอนต่อไป แต่ในตอนน้ีจะ พาผอู้ ่านไปทาํ ความรู้จกั กบั ตวัสภาวะของ “นามรูป” หลงั จากทีไ่ ดอ้ ธิบายความหมายไปไปพอสมควรแลว้
225ท้งั ใน “เน้ือหา ” และ “กระบวนการ ” ของนามรูป ทเ่ี ราใชส้ ลบั กบั คาํ วา่“ความคิด” คาํ อธิบายสามารถทาํ ให้เรารู้จกั “นามรูป ” ไดเ้ พียงคร่ึงเดียวเน่ืองจากนามรูปมีท้งั ส่วนทีเ่ ป็นน าม คือความรู้สึก และรูป คืออาการคาํ อธิบายจึงอธิบายไดแ้ ต่เพียงรูปเท่าน้นั ส่วนท่ีเป็นนาม หรือความรู้สึกคาํ อธิบายไม่สามารถสื่อได้ ผเู้ ขียนตอ้ งทาํ ใหผ้ อู้ ่านสัมผสั กบั ความรู้ดว้ ยตวั เองจึงจะเขา้ ใจนามรูปไดท้ ้งั หมด ขอใหผ้ อู้ ่านทาํ ตามท่ีผเู้ ขียนแนะนาํแลว้ ลองสงั เกตความรู้สึกของตวั เองดู “นึกถึงคนทเ่ี รารัก” เราเห็นอะไรก่อนเห็นภาพหนา้ ของคน ๆ น้นั ข้ึนมาก่อนใช่ไหม แลว้ มีความรู้สึกปนมาดว้ ยหรือเปล่า ถา้ รักมาก กม็ ีความรู้สึกมาก รู้สึกเต็ม ๆ ในใจบริเวณหนา้ อกขา้ งซา้ ยไหม นอกจากรูปของภาพแลว้ รูปของเสียงกเ็ ป็นอีกอาการหน่ึง ก็สามารถเป็นอาการของนามรู้ไดเ้ ช่นกนั กล่าวคือ ถา้ เป็นเสียงเปล่า ๆ กเ็ ป็นรูป แต่ถา้ เป็นเสียงทมี่ าพร้อมกบั ความรู้สึก กเ็ ป็นอาการของนามรูป แต่ในอาการนามรูปของเสียงน้ี อาจเป็นอาการนามรูป “เทียม” หรือเป็นความขดั แยง้ กนั ของรูปนามได้ เช่น ในกรณีทรี่ ูปของเสียงปรากฏข้ึนใน ใจว่า“ยนิ ดีดว้ ย” แต่ในความรู้สึกท่เี กิดข้ึนขณะน้ีนกลบั เป็นความ “อิจฉา” กรณีอยา่ งน้ีเรียกว่า “นามรูปเทียม ” หรือ “นามรูปไมบ่ ริสุทธ์ิ ” หรือ “ความ
226ขดั แยง้ กนั ของรูปนาม ” ขอให้เราสงั เกตดใู หด้ ี อาการเช่นน้ีเกิดข้ึนไดง้ ่ายมากในสังคมสมยั ใหม่ จากที่กล่าวมาจึงพอสรุปไดว้ า่ รูปท่ีมาพร้อมกบั ความรู้สึกนี่แหละทเี่ ราเรียกวา่ “นามรูป” เราจะสงั เกตเห็นว่า รูปของภาพทผี่ ดุ ข้ึนมาในใจบางรูป หรือรูปของเสียงบางเสียง ก็เป็นรูปเปล่า ๆ ไมม่ ีความรู้สึกปนมาดว้ ยเราเรียกวา่ “รูป” เฉย ๆ ดงั ทเี่ ราไดร้ ู้จกั มาแลว้ ในบทท่ี 3 ในเรื่อง “รูปกาย” หรือความรู้สึกบางความรู้สึก ก็ไมม่ ีรูปของภาพ หรือรูปของเสียงปนมาดว้ ย เรากเ็ รียกวา่ “นาม” ดงั ทเ่ี ราไดร้ ู้จกั กนั มาแลว้ ในบทท่ี 4 ในเรื่อง “นามกาย” แต่พอรูปกายกบั นามกายรวมกนั เป็นหน่ึงเดียว เราเรียกวา่ “นามรูป” เหตุทีต่ อ้ งแยกอธิบาย เพราะวา่ แต่ละอาการมคี วามยากง่ายในการสงั เกตต่างกนั โดยเริ่มจากสิ่งทส่ี ังเกตไดง้ ่ายก่อน เริ่มจาก ร่างกาย ความคิดและอารมณ์ความรู้สึกแบบหยาบ ๆ ที่เราปพู ้นื ฐานใน ภาค 2 ต่อมาเป็นการสังเกตอาการของร่างกายท่ีเรียกวา่ “รูปกาย” ในภาค 3 อาการของอารมณ์และความรู้สึกทเี่ รียกว่า “นามกาย” ในภาค 4 และในภาคน้ีเป็นการสงั เกตที่ยากทส่ี ุด เพราะมที ้งั รูปและนามปรากฏข้ึนพร้อมกนั ในการสงั เกตใหม่ ๆ ผู้สังเกตจะแยกไมอ่ อกเลย แต่ขอใหร้ ู้แต่เพยี งวา่ “นามรูป” คือ ความคิดทม่ี าพร้อมกบั ความรู้สึกกพ็ อ ส่วนในทางปฏิบตั ิ ฝึกสงั เกตอาการของกายแบบหยาบ ๆ กเ็ พียงพอแลว้ ที่จะเขา้ ถึงความเป็นหน่ึงเดียวกบั ธรรมชาติ
227 ดงั น้นั ที่เรากล่าวว่า วทิ ยาศาสตร์จิตวิญญาณมองนามรูปวา่ เป็นความเป็นหน่ึงเดียวของสมองและสภาวะการรู้และรับรู้ ก็เพราะมที ้งั ส่วนท่ีเป็นการทาํ งานของสมองและส่วนทีเ่ ป็นการทาํ งานของสภาวะการรู้และรับรู้ทาํ งานพร้อมกนั แลว้ เกิดเป็นความคิด ทีม่ าพร้อมกบั ความรู้สึก ซ่ึงเราสามารถสังเกตไดด้ ว้ ยตวั เอง ส่วนน้ีเป็นตวั นามรูปในฝ่ายเน้ือหา ส่วนตวันามรูปในส่วนกระบวนการ หรือการทาํ งานของนามรูป เป็นอยา่ งไร จะเป็ นการกล่าวถึงต่อจากน้ีไป
228 บทท่ี 20 นามรูปกบั ตวั ตนท้งั สามอาการและการทาํ งานของส่ิงท่เี ราเรี ยกวา่ “นามรูป” น้ี มคี วามพเิ ศษตรงท่ีมนั สามารถรับสัญญาณไดท้ ้งั ภาพความคิดทเี่ รียกว่า “รูป” และความรู้สึกท่ีเรียกวา่ “นาม” ในขณะท่ี “รูปกาย ” เป็นเพียงแหล่งแสดงอาการทางรูปในขณะปัจจุบนั เท่าน้นั และ “นามกาย ” กเ็ ป็นเพียงแหล่ง รู้สึกและเกบ็อาการทางอารมณ์ท่ีเรียกว่ าความรู้สึกในขณะปัจจุบนั เทา่ น้นั ส่วนทพี่ เิ ศษของนามรูปที่แตกต่างไปจากกายท้งั สองคือ มนั สามารถ “รับ” สัญญาณภาพเสียง และความรู้สึกที่เกิดข้ึนในปัจจุบนั ขณะ ในอดีต และสามารถสร้างภาพ เสียง ความรู้สึกในอนาคตไดด้ ว้ ย น่ีคือความพเิ ศษของนามรูป ซ่ึงมีลกั ษณะการทาํ งานเป็นวงจร แบบ “รับ-ปรุง-รับ” วนเวียนอยตู่ ลอดเวลา จนบางคร้ังอาจเป็นผลเสียถา้ ควบคุมการทาํ งานของนามรูปไม่ได้ เรามาดกู ารทาํ งานของนามรูปกนั ก่อน หลงั จากน้นั ค่อยไปดวู ่า ลกั ษณะการทาํ งานของนามรูปแต่ละอยา่ งจะทาํ ให้เกิดอะไรข้ึน ลกั ษณะแรกคือการรับสัญญาณนามหรือความรู้สึก เป็ นการรับความรู้สึกทผ่ี ดุ ข้ึนมาจาก “นามกาย ” ซ่ึงเป็นสญั ญาณทีถ่ ูกแปลงเป็นความรู้สึกทางอารมณ์ แลว้ นามกายกร็ ับรู้และเกบ็ ไวใ้ นนามกายน้นั
229สญั ญาณความรู้สึกดงั กล่าว ถา้ มนี ้าํ หนกั มาก กจ็ ะถูกฝังไวล้ ึก และผดุ ข้ึนมาใหน้ ามรูปรับรู้ แลว้ ปรุงเป็นเร่ืองราวท่ีเรียกว่า “รูป” ต่อ แลว้ ก่อใหเ้ กิดความรู้สึก ใหน้ ามกายรู้สึก แลว้ ก็ฝังไวใ้ นนามกายอีก ไปเรื่อย ๆตวั อยา่ งเช่นเช่น ความรู้สึก “ปล้ืมใจ” ผดุ ข้ึนมาในใจ นามรูปกป็ รุงต่อเป็นเร่ืองราว การทาํ ความดีโดยนาํ อาหารไปเล้ียงผสู้ ูงอายุ เร่ืองราวน้ีกท็ าํ ใหเ้ กิดความปล้ืมใจ ส่งให้นามกายรู้สึก แ ละกเ็ กบ็ สะสมไวอ้ ีก ถา้ เป็นความรู้สึกดา้ นดี ผดุ ข้ึนมา นามกายกจ็ ะสะสมความรู้สึกดี แต่ถา้ เป็นความรู้สึกไม่ได้นามกายกจ็ ะสะสมความรู้สึกไม่ไดไ้ วเ้ ช่นกนั การระมดั ระวงั ความรู้สึกทจ่ี ะผดุ ข้ึนมาจึงเป็นเรื่องสาํ คญั พอ ๆ กบั การดบั ความรู้สึกทผ่ี ดุ ข้ึนมาให้ได้เพราะอยา่ งทเี่ รากล่าวไวต้ ้งั แต่ในบทแรก ๆ แลว้ ว่า “ดีก็หนกั ชว่ั กห็ นกั ”การทาํ ความดีท่เี บาท่สี ุดคือทาํ ดว้ ยความรู้สึกเฉย ๆ ว่าง ๆ ในนามกาย วงจรการทาํ งานแบบแรกน้ีเป็นวงจรการทาํ งานแบบ “รับนาม-ปรุงรูป-รับนาม” การทาํ งานของนามรูปอีกลกั ษณะหน่ึงคือการรับสัญญาณรูป คือรูปของภาพหรือรูปของเสียง เป็นตน้ แลว้ ปรุงต่อเป็นความรู้สึก ต่อจากน้นัก็เป็นเร่ืองราวเกี่ยวกบั ความรู้สึกน้นั แลว้ กไ็ ปเป็นรูปของเรื่องราวต่อไปไม่สิ้นสุด ผลจากการทาํ งานของนามรูปแบบน้ีส่วนที่เป็นความรู้สึกในระหวา่ งกระบวนการทาํ งาน จะถูกรู้สึก และเกบ็ ไวโ้ ดยนามกายเป็นช่วง ๆ ส่ วนท่ีเป็นภาพกว็ นเวยี นอยใู่ นกระบวนการทาํ งาน หากหยดุ การทาํ งานของนามรูปไม่ไดก้ เ็ กิดผลเสียเช่นกนั ตวั อยา่ งเช่น ภาพบรรยากาศสวนผกั ผดุ ข้ึนมาทาํ ให้เกิดความรู้สึกอยากกินผกั ปลอดสารพิษ ต่อจากน้นั ภาพของเร่ืองราว
230การปลกู ฝักปลอดสารพษิ ก็ไหลมาเป็นทาง ต้งั แต่ภาพการหาทป่ี ลูก ก ารไปซ้ือเมลด็ พนั ธุ์ การรดน้าํ ให้ป๋ ุย ไปจนถึงการทาํ น้าํ สลดั ไวก้ ินกบั ผกั และการนง่ั กินสลดั อยา่ งอร่อย จนมนี ้าํ ลายไหลทปี่ ากท้งั ๆ ท่ียงั ไม่เอาสลดั เขา้ ปากการทาํ งานของนามรูปในลกั ษณะน้ีเป็นการทาํ งานแบบ “รับรูป-ปรุงนาม-รับรูป” นกั วทิ ยาศาสตร์เคยวิจยั ว่า วนั หน่ึงเกิดวงจร การทาํ งานของนามรูปแบบน้ีถึง 60,000 รอบ หากหยดุ ปรุงได้ เราคงพอจะนึกออกนะว่าจะเกิดประไรข้ึน ส่วนการทาํ งานของนามรูปแบบที่สามคือ การรับสญั ญาณนามรูปซ่ึงหมายถึงภาพทม่ี าพร้อมกบั ความรู้สึกดงั ทีเ่ รากล่าวไปแลว้ ก่อนหนา้ น้ีสัญญาณแบบน้ีเป็นสญั ญาณทมี่ คี วามหนกั หน่วงมากที่สุด รองจากสญั ญาณนาม และสญั ญาณรูป ตามลาํ ดบั เมอ่ื สญั ญาณนามรูปถูกรับรู้โดยนามรูปแลว้ รูปของภาพทเี่ ชื่อมโยงกบั ความรู้สึกน้นั จะไหลทะลกั มาอยา่ งกบั เข่ือนแตก ยงิ่ รูปทะลกั มา ความรู้สึกก็จะยง่ิ ลน้ ปรี่ออกมา อาการลน้ ของความรู้สึกจะแสดงออกโดยการหลงั่ ของน้าํ ตา อาการต้ืน ตนั ใจ พดู ไม่ออก ถา้ เป็นความรู้สึกดี แต่ถา้ เป็นความรู้สึกไมด่ ี อาการต้ืนตนั ก็จะเปล่ียนเป็นอาการจุกแน่นทีน่ ่าอกแทน การทาํ งานของนามรูปในลกั ษณะน้ีเป็นการทาํ งานแบบ“รับนามรูป-ปรุงนาม-รับรูป” การหยดุ การปรุงก็มีความจาํ เป็นเช่นเดียวกบัการทาํ งานในแบบอื่น ๆ
231 การทาํ งานของน ามรูปท้งั สามลกั ษณะน้ีเอง ท่ีเป็นตวั การในการเช่ือมโยงเราไปสู่กายท้งั สามท่ปี ระกอบดว้ ย รูปกาย นามกาย และธรรมกายเราจะควบคุมการทาํ งานของนามรูปอยา่ งไร เพอ่ื เขา้ ถึง “กาย” ซ่ึงเป็นตวั ตนท่แี ทจ้ ริงในแต่ละระดบั และตวั ตนในแต่ละระดบั ก็เหมาะสมกบั การดาํ เนินชีวิตในโลกแตกต่างกนั ไป เราจึงจาํ เป็นตอ้ งรู้วิธีการควบคุมการทาํ งานของนามรูป เพอ่ื จะไดเ้ ขา้ ถึงตวั ตนท่ีแทอ้ ยา่ งท่ีเราปรารถนา เราจะมาดูรายละเอียดเรื่องน้ีในลาํ ดบั ต่อไปประตูสู่กายท้งั สาม : การเชื่อมโยงของนามรูปกบั กายท้งั สามกายท้งั สามเราไดเ้ กร่ินไปบา้ งแลว้ ในบทก่อนหนา้ น้ี แต่ ”ธรรมกาย” เป็นช่ือใหม่ทเ่ี พิ่มเขา้ มา แต่ไมไ่ ดเ้ ป็นส่ิงใหมแ่ ต่อยา่ งใด เพียงแต่ตอ้ งการใชเ้ รียกเพอ่ื แยก ตวั ตนภายในออกเป็นสองระดบั คือระดบั วถิ ีโลกเรียกวา่ นามกาย และระดบั พน้ ไปจากวถิ ีโลก เรียกวา่ ธรรมกาย ส่วนความเชื่อมโยงระหวา่ งนามรูปกบั กายท้งั สามข้ึนอยกู่ บั ประเภทของสญั ญาณ และการปรุงสัญญาณของนามรูป ประเภทของสัญญาณ และการปรุงแบบใด จะนาํ ไปสู่ตวั ตนแบบใด เรามีรายละเอียดท่ีจะนาํ มาเสนอ พอเป็นแนวทางในการประคอง “นามรูป” ต่อไป การทาํ งานของนามรูปจะเชื่อมโยงกบั กายท้งั สาม ซ่ึงเราไดเ้ รียนรู้การทาํ งานของนามรูปจากท่กี ล่าวมาแลว้ ในส่ วนการทาํ งานของนามรูปว่า
232นามรูปทาํ หนา้ ทรี่ ับสญั ญาณ และปรุงสัญญาณ ท้งั สญั ญาณรูปของภาพ รูปของเสียง และสญั ญาณความรู้สึก ท้งั ทีเ่ ป็นอดีต ปัจจุบนั และอนาคตประเภทของสญั ญาณที่รับ และวธิ ีการปรุงสัญญาณของนามรูป จะเป็นตวั กาํ หนดวา่ “เรา” ท้งั เราท่มี ีความรู้สึกวา่ เป็นเราเป็นแกนสาํ หรับผเู้ ดินทางในวิถีโลก และเราที่เป็นสภาวะรู้เฉย ๆ โดยไมม่ คี วามรู้สึกว่าเป็นเราปนอยู่สาํ หรับผเู้ ดินทางเหนือวถิ ีโลก จะถูกเชื่อมโยงกบั ตวั ตนภายนอก กบั รูปกายกบั ตวั ตนภายใน กบั นามกาย หรือธรรมกาย สามารถสงั เกตไดจ้ ากการทาํ งานของนามกายดงั ต่อไปน้ีรับสัญญาณรูปกายมาปรุงเป็ นรูปกาย : การเปิ ดประตสู ู่ตวั ตนภายนอก นามกายรับรับสัญญาณรูปกายปรุง แลว้ มาปรุงเป็นรูปกายใหม่ของเรา เราก็จะไดต้ วั ตนภายนอกใหมต่ ามท่นี ามรูปปรุงไป ยกตวั อยา่ งเช่นเมอื่ เราเห็นคนทีม่ ีรูปร่างสมส่วน แข็งแรง ซ่ึงเป็นสัญญาณรูปกาย แลว้ รับสัญญาณเขา้ มาปรุง เป็นดี เป็นสวย จนเกิดความรู้สึกพอใจ ประทบั ใจ จนสัญญาณน้นั เขา้ ไปฝังอยใู่ นนามกาย แลว้ สญั ญาณน้นั ก็วนเวียนผดุ ข้ึนมาให้นามรูปไดร้ ับรู้เสมอ ๆ แลว้ ความรู้สึกพอใจกเ็ กิดข้ึนอีก ความประทบั ใจก็เกิดข้ึนอีก และสัญญาณน้นั ก็ฝังเขา้ ไปในนามกายอีก รอบแลว้ รอบเล่าเป็นอยอู่ ยา่ งน้ีจนมีความรู้สึกเชื่อวา่ “เรา” เป็นอยา่ งน้นั จริง ๆ ความรู้สึกเช่ือจะเป็นจุดสังเกตว่าเราถูกเชื่อมโยงกบั รูปกายท่เี ป็นตวั ตนใหมแ่ ลว้ หรือยงั
233เมือ่ ตวั ตนใหม่เกิดข้ึนแลว้ ร่างกายจะเริ่มปรับตวั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ตวั ตนใหม่ท่สี ร้างข้ึนน้นั การทาํ งานของนามรูปในลกั ษณะน้ี เป็นการทาํ งานท่เี ป็นวิทยาศาสตร์ ที่เราไดร้ ู้จากงานวิจยั ของ ดร .ลิปตนั ทก่ี ล่าวไปแลว้ ในบทก่อน ๆ แลว้ ว่า ยนี ถูกควบคุมโดยความเช่ือ คิดเช่ือก็ควบคุมไดร้ ะดบั หน่ึงรู้สึกเช่ือกค็ วบคุมไดม้ ากข้ึนไปอีก และยงิ่ รู้สึกเชื่อวา่ เป็นอยา่ งน้นั จริง ๆร่างกายโดยการสง่ั การของสมองก็จะปรับโครงสร้างให้เป็นอยา่ งน้นั จริง ๆในเวลาอนั ส้ัน ตวั อยา่ งทนี่ ายแพทยบ์ ญุ ชยั อิศราพิสิษฐ์ มกั จะยกมาอธิบายให้เราไดฟ้ ังบอ่ ย ๆ ในค่ายสุขภาพของเวลเนสซิต้ี ไดแ้ ก่กรณีของสตรีคนหน่ึงทีเ่ ชื่อวา่ ตนต้งั ครรภ์ แลว้ มดลกู กเ็ กิดการขยายตวั ทรวงอกขยาย มีอาการแพท้ อ้ ง อาการภายนอกเหมอื นคนต้งั ครรภท์ ุกประการ แต่พอถึงกาํ หนดไปคลอดทโ่ี รงพยาบาล คุณหมอทท่ี าํ คลอด ไมพ่ บทารกในมดลูกแต่อยา่ งไร พอขอ้ เทจ็ จริงปรากฏ จิตกค็ ่อย ๆ ยอมรับความจริง ร่างกายกป็ รับเขา้ สู่สภาวะปกติ แต่กว่าจิตจะยอมรับความจริง กต็ อ้ งกลบั เขา้ สู่กระบวนการปรุงสัญญาณให ม่ คราวน้ีตอ้ งมีผเู้ ช่ียวชาญคอยช่วยเหลือ น่ีเป็นตวั อยา่ งทางการแพทยท์ ่ีเกิดข้ึนจริง เราไดก้ ล่าวไปแลว้ ว่า “นามรูป” หรือ “ความคิด” เป็นการทาํ งานร่วมกนั ของสมองกบั สภาวะการรู้และรับรู้ และนามรูปหรือความคิดน้ีเราแบ่งเป็น สี่ระดบั คือ ความคิด ความเช่ือ ค่านิยม และ อุดมการณ์ โดยสมอง
234สามารถคิดไดใ้ นระดบั ตน้ ๆ เท่าน้นั คือ การคิดในเชิงเหตุผล ถา้ สอดคลอ้ งกบั ขอ้ มลู ปัจจุบนั ก็เชื่อและทาํ งานไปตามน้นั แต่สมองไมส่ ามารถแยกแยะไดว้ า่ อนั ไหนจริง ไม่จริง ดี ไม่ดี สมองไมส่ ามารถแยกแยะออก ตวั อยา่ งที่เราสามารถทดลองอยา่ งง่าย ๆ ไดด้ ว้ ยตวั เอง แลว้ จะเห็นการทาํ งานของนามรูปในลกั ษณะน้ีไดช้ ดั เจนข้ึน ขอใหเ้ ราลองนึกถึงภาพขา้ วเหนียว ไก่ยา่ ง กบัสม้ ตาํ รสแซบ ดู เราจะสงั เกตไดว้ ่า มนี ้าํ ลายไหลออกมาในปากเลย สังเกตไหม แมแ้ ต่ผเู้ ขียนกไ็ หลอยตู่ อนที่เขียนน้ี ท้งั ๆ ทเ่ี ราไมไ่ ดก้ ินไก่ยา่ ง หรือแมแ้ ต่เห็นไก่ยา่ งจริง ๆ เลย น่ีเพยี งแค่สัญญาณเปล่า ๆ ยงั มพี ลงั ขนาดน้ี ถา้ เป็นความเช่ือความรู้สึก และเช่ือว่าเป็นอยา่ งน้นั จริง ๆ ท่ีเรียกวา่ “ค่านิยม ” และ“อุดมการณ์ ” ตวั ตนภายนอกเราจะเปลี่ยนไดเ้ ร็วขนาดไหน อยา่ งไรกต็ ามการปรับเปลี่ยนของร่างกายภายนอกเพื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั รูปกายท่ี สร้างข้ึนใหม่ ก็เป็นไปตามกฎธรรมชาติภายนอก เช่นในกรณี การต้งั ครรภ์ ตอ้ งใช้เวลา 40 สัปดาห์ การปรับเปล่ียนก็จะเป็นไปตามน้นั ไมส่ ามารถฝื นกฎธรรมชาติได้ ดงั น้นั การสร้างตวั ตนภายนอกใหม่ ตอ้ งอยบู่ นขอ้ เทจ็ จริงน้ีดว้ ย เราไดเ้ ห็นแลว้ ว่า การปรุงสัญญาณของนามรูป ไมไ่ ดม้ ี ผลแค่ทาํใหเ้ ราดีใจ ปล้ืมใจ ในกรณีปรุงไปในทางดี หรือเสียใจ วิตกกงั วล ในกรณีปรุงไปในทางไมด่ ี เทา่ น้นั แต่การปรุงแต่งสัญญาณ หรือท่เี รารู้จกั ในช่ือ
235“การคิด” ยงั สามารถก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางร่างกายจริง ๆ ดว้ ย ซ่ึงมีนกั วทิ ยาศาสตร์สมยั ใหม่จาํ นวนมากไดอ้ อกมายนื ยั นแลว้ ชะตาชีวิต และสุขภาพ ถูกกาํ หนดดว้ ยการคิด อยา่ งนอ้ ยกค็ ร่ึงหน่ึง หรืออาจจะมากกวา่ น้นัในกรณีท่เี ป็นความคิดในระดบั ทสี่ ูงข้ึนไปอยา่ งทเ่ี รากล่าวไปแลว้ เม่อื เรารู้ขอ้ เทจ็ จริงเร่ืองน้ีแลว้ เราก็จะเป็นผกู้ าํ หนด ชะตาชีวติ และสุขภาพ หรือทกุสิ่งทกุ อยา่ งในชีวิตไดว้ ่า เราจะไปทางไหน เราเท่าน้นั ที่เป็นผกู้ าํ หนด ท่ีกล่าวมาเป็นการทาํ งานของนามรูปในลกั ษณะการรับสญั ญาณรูปกายเขา้ มาปรุง จะทาํ ใหเ้ ราสามารถเปิดประตสู ู่ตวั ตนภายนอก ปรุงดีกม็ ีความสุขแบบโลก ๆ ไป ปรุงไม่ดีกม็ ีความทุกขแ์ บบโลก ๆ เช่นกนั หากเราไม่ไหลไปตามสัญชาตญาณเหมือนสัตว์ เดรัจฉาน เรากส็ ามารถเลือกไดว้ า่จะไปทางไหน นน่ั เป็นส่วนของการรับแลว้ ปรุง แต่ถา้ รับแลว้ ไมป่ รุงจะเป็นอยา่ งไร คาํ ตอบรออยตู่ อนต่อไปรับสัญญาณรูปกายมารู้เฉย ๆ : การเปิ ดประตสู ู่รูปกาย ในกรณีที่รูปนามรับสญั ญาณรูปกาย แลว้ รู้เฉย ๆ ร่างกายจะทาํ งานไดต้ ามธรรมชาติ ส่วนร่างกายจะอยไู่ ดจ้ นครบอายขุ ยั 120 ปี หรือไม่ข้ึนอยกู่ บั วตั ถุทใี่ ส่เขา้ ไปหล่อเล้ียงร่างกาย ยกตวั อยา่ งเช่น เห็นคนแก่ กเ็ ฉยๆ ไม่ไดป้ รุงเป็นกลวั แก่ หรือเห็นคนป่ วยก็เฉย ๆ ไม่ไดป้ รุงเป็นกลวั ป่ วยหรือแมแ้ ต่เห็นคนทร่ี ูปร่างสมส่วน กไ็ มไ่ ดป้ รุงเป็นหล่อ หรือสวย เม่ื อนาม
236รูปรับรูเฉย ๆ ความอยากหล่อ อยากสวย อยากรูปร่างดี กจ็ ะไม่เกิดข้ึนร่างกายกจ็ ะไม่เกิดความตึงเครียด เมอื่ ร่างกายไม่เกิดความตึงเครียด ร่างกายกจ็ ะทาํ งานไดเ้ ต็มศกั ยภาพ เป็นไปตามธรรมชาติ การทาํ งานของนามรูปในลกั ษณะน้ี เราจะเขา้ สู่อาณาจกั ร รูปกายเปล่า ๆ คือ ไม่ไดเ้ ป็นหญิง เป็นชาย เป็นพอ่ เป็นแม่ เป็นพ่ี เป็นนอ้ ง เป็นลูกเป็นหลาน เป็นเจา้ นาย ลกู นอ้ ง กาํ นนั ผใู้ หญ่บา้ น ขา้ ราชการ ทหาร ตาํ รวจเป็นคนรวย เป็นคนจน เป็นคนป่ วย เป็นคนสุขภาพดี และเป็นอีกสารพดั ที่เขาสมมติเรียกกนั แมแ้ ต่เป็น สมชาย หรือสมหญิง แต่ความรู้สึกว่า “มีรูปกาย” ยงั มีอยู่ เพยี งแต่เราจะรู้สึกว่ามีแต่ “รูปกาย” เปล่า ๆ สิ่งทีเ่ กิดข้ึนมนัเป็นเพยี งความเป็นไปตามเหตุปัจจยั ธรรมชาติของโลกในพ้นื ท่ีน้นั ๆ และเป็นไปตามเหตุปัจจยั ตามธรรมชาติของสงั คมท่สี งั คมกาํ หนดกนั ข้ึนมา มนัเป็นอยา่ งน้นั จริง ๆ ลองสงั เกตดใู หด้ ี การรับรู้ สญั ญาณรูปกายเฉย ๆ ของนามรูปในลกั ษณะน้ี เป็นตน้ทางของการเดินทางไปบนเส้นทางทีพ่ น้ ไปจากโลก เพราะสัญญาณรูปกายสามารถสังเกตไดง้ ่าย สาํ หรับผเู้ ริ่มตน้ ที่เคร่ืองรับสัญญาณหรือนามรูปสามารถรับไดเ้ พยี งคล่ืนแรงโนม้ ถ่วงทไ่ี ดแ้ ก่อาการตึง ๆ หยอ่ น ๆ ของร่างกาย เมื่อฝึกสังเกตไปเร่ือย ๆ เคร่ืองรับสญั ญาณจะสามารถรับสญั ญาณที่เป็นคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้ าไดข้ องรูปกาย ไดแ้ ก่ อาการตื่นตวั ของรูปกายได้เม่อื รูปกายต่ืนตวั ความรู้สึกว่ารูปกายเป็นนนั่ เป็นน่ี จะค่อย ๆ เบาบางลง
237จนกระทงั่ เหลือเพียงรูปกายเปล่า ๆ เมอื่ น้นั เราก็พร้อมแลว้ ทจ่ี ะสงั เกต เห็นการรับรู้สญั ญาณนามกายของนามรูป แลว้ จะเห็นวา่ ตวั ตนภายในมนั ก่อตวัข้ึนอยา่ งไร คาํ ตอบมีอยใู่ นตอนต่อไปเช่นกนัรับสัญญาณนามกายมาปรุงมาปรุงเป็ นนามกาย : การเปิ ดประตสู ู่ตวั ตนภายใน การทาํ งานของนามรูปในระดบั น้ี จะพน้ ไปจากความสามารถของสมอง เพราะสมองไม่มีสญั ญาณนามกาย หรือความรู้สึกทถี่ กู เกบ็ ไว้ เราลองสงั เกตดูกไ็ ดว้ ่า เวลาไดย้ นิ เสียงตาํ หนิ สมองจะรับรู้แค่ความหมาย ส่วนท่ีเป็นความรู้สึกนอ้ ยเน้ือต่าํ ใจ โกรธ จะอยใู่ นจิตใจ เคยสงั เกตไหม และความรู้สึกท่ีเกบ็ ไวใ้ นจิตใจน่ีแหละ จะคอยวนเวียนมาหลอกหลอนเราไปอีกนาน เคยเป็นไหม การไปหาเหตุหาผลมารักษาความรู้สึกเหล่าน้ีกบ็ รรเทาได้ชว่ั คราว เราตอ้ งไปพ่งึ จิตแพทยต์ ลอด การมาสงั เกตการทาํ งานของนามรูปทรี่ ับสญั ญาณนามกายหรือความรู้สึกมาปรุงท่ีเรากาํ ลงั จะพดู ถึงน่ีแหละ เป็นการลา้ งพษิ ที่ฝังอยใู่ นจิตใจไดอ้ ยา่ งถาวร เราไปดูกนั ว่ามนั ทาํ งานอยา่ งไร
238 สัญญาณความรู้สึกแรกทนี่ ามรูปรับรู้มนั เป็นอาการของความรู้สึกเฉย ๆ อนั น้ีเราสามารถสงั เกตไดจ้ ากอาการเบา ๆ หรือแน่น ๆ บริเวณหนา้ อกขา้ งซา้ ย ขอใหเ้ ราลองสงั เกตดูเวลาดีใจ หรือเสียใจคร้ังต่อไป ให้สงั เกตที่บริเวณหนา้ อกขา้ งซา้ ย ดูวา่ เป็นอยา่ งไร ส่วนใหญ่แลว้ จะไม่ทนั แต่อาการเบา ๆ หรือแน่น ๆ ท่ีหนา้ อกขา้ งซา้ ยจะอยใู่ ห้เราสังเกตไดน้ าน ถา้ ไม่ถกู ความดีใจ หรือเสียใจ ลากไปทาํ อยา่ งอ่ืนเสียก่อน ก็จะสามารถสงั เกตได้วิธีการก็คือ เร่ิมมาต้งั ตน้ ท่ีหายใจเขา้ ลึก ๆ ยาว ๆ สักสองสามคร้ัง หรือจนกวา่ อาการดีใจ เสียใจจะเบาลง จนลมหายใจเป็นปกติ แลว้ จะเริ่มเห็นวา่อาการทห่ี นา้ อกขา้ งซา้ ยเป็นอยา่ งไร ถา้ รู้สึกดี อาการก็จะเบา ๆ ถา้ รู้สึกไมด่ ีอาการกจ็ ะหนกั ๆ เหมอื นทเี่ ราแนะนาํ ไปแลว้ ในบทก่อน ๆ สญั ญาณของนามกาย หรือความรู้สึกเบ้ืองตน้ มนั เป็นเท่าน้นั จริงๆ แต่พอนามรูปปรุงเป็นดี ไมด่ ี ถูก ผดิ ตวั ตนภายในจะแสดง ฤทธ์ิออกมาอยา่ งท่ีเรากล่าวไปแลว้ คือ ดีใจ เสียใจ หรือโกรธ หากอาการเหล่าน้ีปรากฏออกมาให้เรารู้สึกได้ แสดงว่า มนั เป็นตวั เป็นตนแลว้ หากนามรูปทาํ งานแบบเดิมซ้าํ ๆ ส่ิงน้นั กจ็ ะถกู ฝังจนกลายเป็นตวั ตนภายในทแี่ ทจ้ ริงของเราหากปรุงเป็นไม่ดี เป็นผดิ ไปเร่ือย ๆ ตวั ตนกจ็ ะ เป็นตวั ตนฝ่ายชวั่ หากปรุงเป็นถูก เป็นดี ตวั ตนที่แทจ้ ริงภายในกจ็ ะเป็นตวั ตนฝ่ายดี ตวั ตนภายในที่แทจ้ ริงเกิดข้ึนจากกระบวนการเหล่าน้ี
239 คนส่วนใหญ่ไมร่ ู้ว่า ตวั ตนภายในของตวั เองเป็นอยา่ งไร เพราะไมม่ คี วามเช่ือในระดบั ที่เป็นค่านิยม หรืออุดมการณ์ทใ่ี ชเ้ ป็นหลกั ในการปรุงความรู้สึก ก็จะอาศยั เพียงขอ้ มลู ในระดบั สมอง ซ่ึงจะเปล่ียนแปลงได้ง่าย ตวั ตนภายในของคนท่ีใชส้ มองปรุงสัญญาณ จึงไม่มี เหมือนดงั เช่นชีวติของ ดร.แฮร์ริส และ ดร.ดอวก์ ้ิน ทีเ่ รายกเป็นตวั อยา่ ง ซ่ึงก็เป็นชีวติ อีกแบบหน่ึง ท่ไี ม่ถกู หรือผดิ แต่อยา่ งใด แต่ถา้ คนที่มคี ่านิ ยม หรืออุดมการณ์เป็นหลกั ในปรุงสัญญาณของนามรูป ชีวติ ก็จะเป็นเหมือนชีวิตของ ดร.เชลดเร็คและนายแพทยโ์ ชปรา ดงั ทเ่ี รากล่าวไปแลว้ เช่นกนั อนั น้ีข้ึนอยกู่ บั วา่ เราจะเลือกเดินบนเสน้ ทาง ตวั ตนภายนอก หรือตวั ตนภาย แต่ไม่วา่ เราจะเลือกเดินบนเสน้ ทางใด เราก็สามารถเขา้ ถึงดิ นแดนแห่งนามกาย และธรรมกายไดเ้ ช่นกนั ลองติดตามต่อไป แลว้ จะพบคาํ ตอบรับสัญญาณนามกายมารู้เฉย ๆ : การเปิ ดประตสู ู่นามกาย ท่กี ล่าวมาเราไดร้ ู้แลว้ วา่ การรับรู้สญั ญาณรูปกายแลว้ มาปรุง จะนาํ เราไปสู่ตวั ตนภายนอก ถา้ ไมป่ รุงกจ็ ะนาํ เราไปสู่ดินแดนของรูปกายส่วนการรับสญั ญาณนามการมาปรุงจะนาํ เราไปสู่ตวั ตนภายใน ดงั ทีก่ ล่าวไปก่อนหนา้ น้ี ในข้นั น้ีเป็นการทาํ งานของนามรูปแบบเดียวกบั การทาํ งานก่อนหนา้ น้ี เพียงแต่วา่ การทาํ งานของนามรูปในข้นั น้ี เป็นการรับสญั ญาณ
240ความรู้สึกมา แลว้ รู้เฉย ๆ ไม่ปรุงเป็น ดี ดี ถกู ผดิ แต่อยา่ งไร สิ่งท่ีจะเกิดข้ึ นคือ จะไมม่ ีดีใจ เสียใจ หรือโกรธ จะมแี ต่ความรู้สึกเฉย ๆ หลายคนอาจคิดไปแลว้ ว่า ถา้ เฉย ๆ ชีวติ ก็จืดชืดสิ จึงตอ้ งช้ีแจงก่อนวา่ อาการทีร่ ู้สึกจืดชืด ชีวิตไม่มีชีวติ ชีวา มนั เป็นอาการของคนท่ไี ม่รู้สึกตวั เป็นคนทไี่ มเ่ ห็นความคิด ความรู้สึกของตวั เอง ชีวติ มนั เลยจื ดชืดมนั เฉยคนละอยา่ ง เฉยแบบไม่รู้มนั เหมือนอยใู่ นความมืด แต่อาการเฉย ๆ ท่ีเรากาํ ลงั พดู ถึงอยนู่ ้ี มนั เป็นความเฉยแบบรู้เหมอื นอยใู่ นท่สี วา่ ง ๆ แบบน้นัแหละ มนั เฉยทเ่ี ต็มไปดว้ ยความรู้ ตื่น เบกิ บาน เมื่อเขา้ ใจถูกตอ้ งแลว้ กไ็ ปดูต่อวา่ นามรูปที่รับรู้สัญญาณนามกายแลว้ ไมป่ รุงต่อมนั มีอาการอยา่ งไร การทาํ งานในลกั ษณะน้ีกม็ ลี กั ษณะคลา้ ย ๆ กบั การรับสญั ญาณของรูปกายแลว้ ไม่ปรุงต่อ กล่าวคือ เรามแี ต่ความรู้สึกสว่าง ๆ วา่ ง ๆหนา้ อกขา้ งซา้ ยโล่ง ๆ รู้สึกไดถ้ ึงความเบา ถา้ จะเปรียบใหเ้ ห็นไดช้ ดั เจนข้ึนก็เปรียบไดว้ ่า เวลาปรุงเป็นดี ก็เหมือนกบั ใส่สีสวยงามไวใ้ นถึงพลาสติกใสเวลาปรุงเป็นไม่ดี ก็เหมือนกบั ใส่สีไม่สวยงามไวใ้ นถุง การปรุงท้งั สองใหผ้ ลเหมือนกนั คือ ทาํ ให้ไมส่ ามารถมองทะลุถุงพลาสติกได้ แต่การไม่ปรุงจะทาํ ให้ไดน้ ้าํ เปล่า ๆ ท่ใี สจนสามารถมองทะลุถุงได้ หากจะเปรียบอยา่ งน้ีก็พอจะไดเ้ หมือนกนั ในกรณีทไ่ี มป่ รุงแลว้ จะทาํ ให้เราเห็นความรู้สึกของตวั เองชดั ข้ึน ในข้นั น้ีแมจ้ ะเป็นความรู้สึกเฉยๆ แต่ความรู้สึกวา่ มี “นาม
241กาย” ยงั คงมอี ยู่ เราจึงยงั อยใู่ นดินแดนของนามกาย ต่อไปลองเปรียบเทียบอีกแบบหน่ึงดู การเปรียบเทยี บอีกอยา่ งหน่ึง กจ็ ะช่วยให้เราเห็นความหนกั เบาของความรู้สึกไดด้ ีข้ึน คือ การปรุงดี กเ็ หมือนกบั การใส่น้าํ สะอาด การปรุงไมไ่ ดก้ ็เหมอื นกบั การใส่น้าํ สกปรก แต่การไม่ปรุงเป็นการไมใ่ ส่น้าํ ลงไปในถุงเลย จึงไดถ้ ุงเปล่าทีม่ แี ต่ลม ความเบา ความวา่ งทเ่ี กิดจากนามรูปรับสญั ญาณความรู้สึกมาแลว้ ไม่ปรุงกม็ ีลกั ษณะคลา้ ย ๆ กนั เม่ื อรับสัญญาณมาแลว้ ไม่ปรุง สญั ญาณก็จะค่อย ๆ จางลง และหายไปเอง ใหม่ ๆ ความรู้สึกที่รับรู้อาจใชเ้ วลานาน แต่พอสังเกตไปเรื่อย ๆ อาการของสญั ญาณจะดบัรวดเร็วข้ึน ฝึ กสังเกตไปเร่ือย ๆ จะเขา้ ถึงดินแดนท่ีเรียกว่า “ธรรมกาย ”ดินแดนท่สี ญั ญาณก็ไมม่ ี ผรู้ ับสัญญาณก็ไม่มีไม่มผี ้รู ู้ ไม่มสี ัญญาณให้รู้ : การปรากฏขนึ้ เองของธรรมกาย ดินแดนธรรมกายน้ี คงไม่มภี าษาใดอธิบายได้ ภาษาเป็นดงั น้ีทชี่ ้ีดวงจนั ทร์ แต่ภาษาไม่ใช่ดวงจนั ทร์ การเขา้ ถึงดินแดนธรรมกาย สามารถเขา้ ถึงไดท้ ้งั ดว้ ยการสงั เกตรูปกาย และการสังเกตนามกาย แต่ทส่ี าํ คญั คือตอ้ งไม่ปรุง และไม่วา่ ท่านจะเป็นคนท่ีเช่ือว่าร่างกายเป็นเครื่องจกั ร หรือวตั ถุเทา่ น้นั หรือท่านจะเชื่อว่า ร่างกายเป็นเพียงการแสดงออกชว่ั คราวของ
242จิตวญิ ญาณ ทา่ นก็สามารถเขา้ ถึงดินแดนธรรมกายได้ ดว้ ยการรู้อาการของร่างกายเฉย ๆ หรือรู้อาการของความรู้สึกทางใจเฉย ๆ เม่ือรู้ไปเฉย ๆ จนผรู้ ู้และสิ่งทีถ่ ูกรู้เป็นส่ิงเดียวกนั จนไมม่ ผี รู้ ู้และส่ิงทถี่ กู รู้ ไม่มพี ทุ ธะไมม่ มี าร ไมม่ พี ระเจา้ ไม่มซี าตาน เมื่อน้นั ดินแดนธรรมกายก็จะปรากฏ มนั เป็นดินแดนท่ีอยตู่ ่อหนา้ ต่อตาเรามาตลอด แต่ดว้ ยการทาํ งานของนามรูป ดินแดนธรรมกายจึงถกู บงั ไว้ ดินแดนแห่ง น้ีมีแต่ธรรมชาติลว้ น ๆ มีแต่ความเป็นเช่นน้นั เอง ไมม่ ผี รู้ ู้ ไมม่ สี ญั ญาณให้รู้ มนัเป็นเช่นน้นั เองโรคทางจิตประสาท : ผลทเ่ี กดิ จากนามรูปปรุงไม่หยุด การทาํ งานของนามรูป คือการรับสัญญาณเขา้ มาแลว้ ปรุง ท่ีเรียกว่าวงจรการ รับ-ปรุง-รับ ภาษาชาวบา้ นกเ็ รียกว่า “คิดมาก” เวลาคิดเป็นภาพมากเกินไป กจ็ ะเห็นภาพหลอน เราเคยเห็นคนกลวั นนั่ กลวั น่ีไหม นน่ัแหละเกิดจากการคิดเป็นภาพมากเกินไป แต่ถา้ คิดเป็นเสียงมากเกินไปเสียงกจ็ ะลน้ ออกมาทางปาก เราอาจจะเคยเห็นคนที่เดินพดู คนเดียวอยขู่ า้ งถนน หรือยนื อภิปรายอยคู่ นเดียว นี่เป็นอาการท่ีเราเรี ยกว่าโรคจิตประสาทกลุ่มน้ีเขา้ ข้นั “เป็นบา้ ” ในมมุ มองของวทิ ยาศาสตร์กายภาพชีวภาพ หากเป็นการคิดมากแบบธรรมดา ก็จะมอี าการทไ่ี มถ่ ึงข้นั เป็นบา้ จะมีเพียง
243อาการเครียด วติ กกงั วล ย้าํ คิด แต่ถา้ ไมไ่ ดร้ ับการแกไ้ ข กม็ ีโอกาส “เป็นบา้ ”ไดเ้ ช่นกนั แต่ในมมุ มองของวทิ ยาศาสตร์จิตภาพไม่เป็นเช่นน้นั วทิ ยาศาสตร์จิตภาพมองวา่ นามรูปทม่ี ีการปรุงแต่งจนเป็นตวั เป็นตน กถ็ ือว่า “เป็นบา้ ” แลว้ เพราะการปรุงแต่งทาํ ให้เห็นโลกผดิ ไปจากความเป็นจริงตามธรรมชาติ ความเป็นจริงตามธรรมชาติกม็ ตี ้งั แต่ระดบั รูปกายนามกาย และธรรมกาย ความบา้ ในมุมมองของวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพและวิทยาศาสตร์จิตภาพจึงไม่เหมอื นกนั การรักษาอาการบา้ ของวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพ ไม่สามารถรักษาอาการบา้ ของวิทยาศาสตร์จิตภาพได้ แต่การรักษาอาการบา้ ของวิทยาศาสตร์จิตภาพ สามารถรักษาอาการบา้ ไดท้ ้งั หมด แต่หากเขา้ ข้นั “เป็นบา้ ” ในมองมองของวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพแลว้ การรักษาดว้ ยวทิ ยาศาสตร์กายภาพชีวภาพ เช่นใหย้ าเคมีเพอ่ื ให้ผนู้ ้นั กลบั เขา้ สู่สภาวะปกติเป็นส่ิงจาํ เป็น ก่อนที่จะเขา้ สู่กระบวนการรักษาตามหลกั วทิ ยาศาสตร์จิตภาพ การรักษาอาการบา้ ตามหลกั วทิ ยาศาสตร์จิตภาพ สามารถทาํ ได้หลายวธิ ีดงั ท่เี ราไดก้ ล่าวม าแลว้ ในบทก่อน ๆ วิธีทีแ่ นะนาํ คือ การสงั เกตอาการเคลื่อนไหวของร่างกาย ส่วนการสังเกตอาการรูปกาย หรือนามกายเป็นวิธีที่ตอ้ งมพี ้นื ฐานการสังเกตอาการเคล่ือนไหวของร่างกายก่อน จึงจะทาํ สามารถทาํ ได้ เมื่อสงั เกตจนชาํ นาญ และสามารถรู้เฉย ๆ ได้ นามรูปจะปรุงแต่งนอ้ ยลง จนไม่ปรุ งแต่งเลย โรคทางจิตประสาทกจ็ ะไม่เกิดข้ึน
244เพราะนามรูปไดพ้ กั ผอ่ น และโรคทางจิตวญิ ญาณก็จะไม่เกิดข้ึน เพราะนามกายหรือความรู้สึก วา่ งจากการปรุงแต่ง เม่อื รูปกาย นามกาย และนามรู้ไร้โรค เรากพ็ ร้อมแลว้ ที่จะสร้างทุกสิ่งทกุ อยา่ งในชีวติ จริงไหมครับ บทส่งท้าย รากฐานของชีวติ : จุดเร่ิมต้นของการสร้างทุกส่ิงทุกอย่างในชีวติ สมยั ทผี่ เู้ ขียนไปฝึกปฏิบตั ิอยกู่ บั “หลวงตา” เมอื่ หลายปีก่อน วนัหน่ึงหลวงตาเปิดการ์ตูนญี่ป่ นุ เรื่อง “บา้ นสามช้นั ” ให้ดู เรื่องมีวา่ มหาเศรษฐีคนหน่ึงร่าํ รวยมาก มเี งินใชจ้ ่ายอยา่ งเหลือเฟือ อยากไดอ้ ะไรก็ได้อยากกินอะไรกไ็ ดก้ ิน อยากไปเทย่ี วท่ีไหนกไ็ ดไ้ ป จนรู้สึกวา่ โลกน้ีไมม่ ีอะไรน่าต่ืนเตน้ เอาเสียเลย จึงตกลงใจออกเดินทางคน้ หาส่ิงทจี่ ะทาํ ให้ตวั เองพอใจ เดินทางรอนแรมอยหู่ ลายวนั จนกระทงั่ ไดม้ าพบบา้ นสามช้นั ท่ีสวยงามแบบทไ่ี มเ่ คยพบเคยเห็นทีไ่ หนมาก่อน ท้งั ๆ ที่เดินไปม าแลว้ ทว่ัโลก แค่เห็นกร็ ู้สึกดีใจ ต่ืนเตน้ มคี วามสุขอยา่ งไม่เคยเป็นมาก่อน น่ี “ถา้ ”ไดเ้ ป็นเจา้ ของบา้ นสามช้นั แบบน้ีสักหลงั ชีวิตน้ีคงสุขสมบรู ณห์ าทเ่ี ปรียบไมไ่ ด้ วา่ แลว้ ก็รีบควา้ กลอ้ งรุ่นดิจิตอลรุ่นล่าสุดมาถ่ายรูปไวเ้ พื่อเอาไปเป็นแบบ เสร็จแลว้ กร็ ีบเหมาเครื่องบินเจ็ทบนิ กลบั บา้ นทนั ที
245 พอกลบั ถึงบา้ น ยงั ไมท่ นั จะไดเ้ ปล่ียนเส้ือผา้ อาบน้าํ ก็เรียกเลขาส่วนตวั มาเพอื่ ใหต้ ิดต่อผรู้ ับเหมาะมาสร้างบา้ นใหใ้ นวนั เดียวกนั น้นั เองดว้ ยความทเี่ ป็นเศรษฐีมเี งินมหาศาลและยนิ ดีจ่ายไม่อ้นั สาํ หรับผทู้ ีส่ ามารถทาํ ใหท้ า่ นเศรษฐีไดร้ ับความพอใจ ผรู้ ับเหมาจึงทาํ ตามทท่ี า่ นเศรษฐีบอกทนั ที ผรู้ ับเหมาไดส้ ั่งใหช้ ่างทาํ บา้ นใหท้ ่านเศรษฐีตามข้นั ตอน ต้งั แต่การวางฐานรากอยา่ งแน่นหนาเพ่อื รองรับบา้ นสามช้นั ในขณะทชี่ ่างกาํ ลงั กาํ ลงั จะก่อสร้างฐานรากในวนั ที่สอง ทา่ นเศรษฐีเดินมาดูการก่อสร้างพอดี เห็นช่างกาํ ลงั ก่อสร้างฐา นรากของบา้ นอยู่จึงเรียกผรู้ ับเหมามาตาํ หนิดว้ ยความหงุดหงิดวา่ “ฉนั ใหเ้ ธอสร้างบา้ นสามช้นั เธอกาํ ลงั ทาํ อะไรอยู่ ” นายช่างตอบว่า “ผมกก็ าํ ลงั สร้างบา้ นสามช้นัอยา่ งที่ทา่ นเศรษฐีส่ังนน่ั แหละขอรับ ตอนน้ีกาํ ลงั สร้างฐานรากของบา้ นอยู่ขอรับทา่ นเศรษฐี” “เธอจะบา้ นรึไง” ท่านเศรษฐีเสียงดงั ข้ึนกว่าเก่าอีก แลว้พดู ต่อไปว่า “ฉนั ตอ้ งการช้นั ท่สี ามเลย ฉนั ไม่ไดต้ อ้ งการฐานรากบา้ บออะไรของเธอนนั่ …” ดว้ ยความเกรงใจอาํ นาจเงินของท่านเศรษฐี นายช่างจึงดาํ เนินการสร้าง “บา้ นสามช้นั ” ตามคาํ บญั ชาของท่านเศรษฐีแต่โดยดี เราคงพอใจนึกออกนะว่าจะเกิดอะไรข้ึน ต่อไปในนิทานเรื่องน้ีเราเห็นอะไรจากเร่ืองน้ีบา้ ง ในชีวิตทีผ่ า่ นมาของเราเคยมบี างช่วงบางเวลาของชีวิตทเ่ี รามอี าการอยา่ งท่านเศรษฐีไหม เราอยากไดผ้ ลลพั ธข์ องมนั แต่เราไมอ่ ยากสร้างรากฐานของมนั เคยมคี วามรู้สึกอยา่ งน้นั ไหม เราอยากได้
246ร่างกายแข็งแรง แต่เรากลบั ไมอ่ ยากอ อกกาํ ลงั กาย เราอยากมีรูปร่างทส่ี มส่วน แต่เรากลบั ไม่อยากพลาดอาหารทอ่ี ุดมไปดว้ ยความหวานมนั ชีวิตเราเป็นอยา่ งน้นั หรือเปล่า เราอยากมีความสงบสุขแต่เรากลบั ไมอ่ ยากพลาดความเพลิดเพลินในรูปสวย ๆ เสียงเพราะ ๆ กลิ่นหอม ๆ รสอร่อย ๆ สมั ผสันุ่มนวล และเรื่องราว ความรู้สึกอนั น่าพอใจ ยงิ่ ไปกวา่ น้นั ชีวิตในระดบั ที่ใหญ่ข้ึนไป เป็นชีวิตครอบครัว ชีวติการงาน ชีวติ สังคม และชีวติ โลก เราทุกคนลว้ นอยากไดส้ ิ่งทด่ี ี ๆ สาํ หรับชีวิตทุกระดบั แต่เราก็คาดหวงั ให้คนอ่ืนเป็นคนสร้างเหตุปัจจยั เพราะเราคิดวา่ เราดีอยแู่ ลว้ ส่วนคนอื่นมกั เป็นอุปสรรคของชีวติ ทด่ี ี เราเคยรู้สึกอยา่ งน้นัหรือเปล่า เราเคยต้งั เง่ือนไขแบบน้ีไหม “ถา้ ภรรยา หรือสามขี องฉนั มคี วามรับผดิ ชอบกว่าน้ี ครอบครัวของเราคงมคี วามสุข” “ถา้ หัวหนา้ ฉนั ฉลาดกวา่น้ี แผนกเราคงกา้ วหนา้ มากกวา่ น้ี ” “ถา้ นายทุนไม่เอาเปรียบประชาชนสังคมเราคงน่าอยมู่ ากกวา่ น้ี” “ถา้ โรงงานไม่ปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก โลกเราคงไมเ่ กิดภยั พบิ ตั ิใหญ่ขนาดน้ี ” เมอื่ “ขบเค้ียวความฉลาด ” ของตวั เอง จนพอใจแลว้ ก็ “ดดู กาแฟเยน็ แกว้ ละ 200 บาท” เฮือกสุดทา้ ยก่อนลุกข้ึนอยา่ งภาคภมู ใิ จในความฉลาดของตวั เราเคยเป็นแบบน้ีไหม เวลาเราเป็นคนนอกทมี่ องเขา้ ไปในเ ร่ืองราวของทา่ นเศรษฐี เราสามารถบอกไดเ้ ลยทนั ทีว่า “ท่านเศรษฐีบา้ ไปแลว้ ” แต่เวลาเราสวมบทบาทท่านเศรษฐีเสียเอง เรามกั จะมองไมเ่ ห็นความบา้ ของตวั เอง ทา่ นเคยสังเกต
247ไหม เรื่องราวของท่านเศรษฐีเป็นเพยี งเร่ืองแต่งทต่ี อ้ งการบอกพวกเราวา่คนที่ใชช้ ีวติ ตามสัญชาตญาณ จะเป็นชี วิตทเ่ี ต็มไปดว้ ยเง่ือนไขทีส่ ร้างข้ึนเพื่อทีจ่ ะไดไ้ ม่ตอ้ งรับผดิ ชอบ จะเป็นชีวติ ท่เี ตม็ ไปดว้ ยความอยากไดผ้ ลแต่ไมอ่ ยากทาํ เหตุ ชีวิตทไ่ี หลไปตามสญั ชาตญาณแบบน้ี จะไมม่ คี วามแตกต่างเลยกบั ชีวิตของ “สตั วเ์ ดรัจฉาน ” เลย สตั วเ์ ดรัจฉานอาจดีกว่าดว้ ยซ้าํ ไปตรงทมี่ นั ไม่เคยวางเ ง่ือนไขให้กบั ชีวติ ของมนั เลย อยา่ งไรกต็ าม เรามีรากฐานของชีวติ ทดี่ ีกวา่ สตั วเ์ ดรัจฉานต้งั มากมาย เพยี งแต่วา่ เราตอ้ งหยบิมนั ข้ึนมาพฒั นาดว้ ยตวั เอง เราจึงจะมรี ากฐานของชีวติ ทแี่ ขง็ แกร่งเพียงพอทจี่ ะรองรับ และมคี ุณสมบตั ิพร้อมนาํ ไปสร้างทกุ ส่ิงทุกอยา่ งในชีวติ ได้อยา่ งยน่ั ยนื จะไดไ้ มม่ จี ุดจบอยา่ ง “บา้ นสามช้นั ” ของทา่ นเศรษฐีในนิทานร่างกาย จติ ใจ จิตวญิ ญาณ : รากฐานชีวติ ของคน ในหนงั สือเล่มน้ี ไดน้ าํ เสนอให้เราทราบแลว้ ว่า ร่างกาย จิตใจ จิตวญิ ญาณ คือรากฐานของชีวติ ท่เี ราจะตอ้ งพฒั นาใหม้ ีความแข็งแกร่งเพอื่รองรับส่ิงทีเ่ รากาํ ลงั จะสร้ างข้ึน ท่เี ราจะตอ้ งพฒั นาให้มคี ุณสมบตั ิท่ีครบถว้ นสาํ หรับการนาํ ไปสร้างทกุ สิ่งในชีวิตของเรา เราเคยหนั มาสงั เกตร่างกายเราเองไหม หรือว่ามแี ต่ใชม้ นั อยา่ งไม่บนั ยะบนั ยงั เราเคยสงั เกตอาการของร่างกายเราไหมวา่ ตรงไหนมนั ตึงมนัหยอ่ นอยา่ งไร หรือวา่ มีแต่อาศยั มนั เพอื่ แสดงหาคว ามเพลิดเพลินจากการ
248สัมผสั หากเรายงั ไมเ่ คยทาํ ส่ิงเหล่าน้ีเลย เราก็ไดแ้ นะนาํ ไปแลว้ ในหนงั สือเล่มน้ี หากทา่ นเพียงแต่อ่านมนั เหมอื นอ่านหนงั สือไปสอบเอาคะแนนรากฐานชีวิตในส่วนร่างกายกจ็ ะไมเ่ กิดการพฒั นา ความแข็งแกร่งก็จะไม่เกิดข้ึน คุณสมบตั ิกจ็ ะไมเ่ พยี งพอสาํ หรับการนาํ ไป สร้างทุกส่ิงทุกอยา่ งในชีวติ ชีวติ คงไมม่ วี นั เปล่ียนเพียงแค่จาํ ได้ การจาํ ไดเ้ ป็นเพียงความรู้ทม่ี ีศกั ยภาพ แต่พลงั อาํ นาจในการเปล่ียนแปลงจริง ๆ อยทู่ ีก่ ารกระทาํ ในส่วนรากฐานของชีวิตดา้ นจิตใจของเราบา้ งเล่า เราเคยหนั มาสังเกตความคิดของตวั เราเองบา้ งไหม ว่าวนั หน่ึง ๆ มั นคิดไปทางไหนมากกวา่ กนั ระหว่าง คิดดี กบั คิดร้าย คิดบวก กบั คิดลบ คิดตาํ หนิคนอื่นหรือคิดชื่นชมคนอื่น เราเคยสังเกตบา้ งไหมวา่ เวลาคิดดี คิดบวก คิดชื่นชมคนอ่ืน แลว้ ใจเรารู้สึกอยา่ งไร เปรียบเทยี บกบั เวลาคิดร้าย คิดลบ คิดตาํ หนิคนหน่ึง แลว้ ใจเรารู้สึกอยา่ งไร หรือวา่ ท้งั ชีวติ ของเราทีผ่ า่ นมา เราไมเ่ คยสนใจรากฐานของชีวติ ดา้ นจิตใจน้ีเลย เราไมเ่ คยรู้เลยวา่ จิตใจเป็นรากฐานชีวิตทส่ี าํ คญั เช่นเดียวกบั รากฐานทางดา้ นร่างกาย ทีจ่ ะช่วยส่งเสริมซ่ึงกนัและกนั ใหช้ ีวิตเรามีความเขม้ แขง็ และมคี ุณสมบตั ิท่ีพร้อมสาํ หรับการสร้างทกุ ส่ิงในชีวติ ไม่ แพก้ นั ในหนงั สือเล่มน้ีเราก็ไดใ้ ห้คาํ แนะนาํ วธิ ีการทาํความรู้จกั กบั รากฐานชีวติ ดา้ นน้ีแลว้ พร้อมท้งั แนวทางในการพฒั นาทีม่ ีประสิทธิภาพสาํ หรับยกระดบั รากฐานชีวติ ดา้ นน้ีไวแ้ ลว้ เช่นกนั เหลือแต่เพียงว่า เราจะ “เอาจริงเอาจงั ” กบั มนั แค่ไหนเทา่ น้นั เอง
249 รากฐานทางร่างกาย ยั งพอมีคนรู้จกั บา้ ง พอมาเป็นรากฐานทางจิตใจ จาํ นวนคนทร่ี ู้จกั ก็เร่ิมลดนอ้ ยลงไปอีก ยง่ิ ถา้ เป็นรากฐานท่เี ป็น “รากแกว้ ” ของชีวิตท่ีเรียกว่า “จิตวญิ ญาณ” ดว้ ยแลว้ จาํ นวนคนรู้จกั เรื่องน้ีแทบจะนบั จาํ นวนคนไดเ้ ลยในจาํ นวนประชากรกวา่ 7,000 ลา้ นคนของโลกใบน้ีเรารู้สึกไหมวา่ เรื่องจิตวิญญาณเป็นเร่ืองที่ไกลตวั เราเหลือเกิน มนั เป็นเร่ืองของนกั บวชผสู้ ละโลกแลว้ เรารู้สึกอยา่ งน้นั ไหม จิตวญิ ญาณเป็นเรื่องลึกลบั เรามคี วามคิดอยา่ งน้ีหรือเปล่า พอเรารู้สึกอยา่ งน้ี เรามีความคิดอยา่ งน้ี เราก็เลยไมเ่ คยสนใจมนั เลย แต่เรากร็ ู้ว่าชีวิตเรามนั เริ่ มเบื่อง่ายข้ึนทกุ วนัๆ ในขณะทคี่ วามพงึ พอใจกบั ชีวติ เกิดยากข้ึนทุกวนั ๆ เราเป็นอยา่ งน้ีอยู่หรือเปล่า เรารู้แต่ว่าเรา “เหงา” รู้สึก “อา้ งวา้ ง ว่างเปล่า ” จนกลวั การอยคู่ นเดียว เราเริ่มมีความรู้สึกอยา่ งน้ีหรือยงั ถา้ อาการเหล่าน้ีเริ่มเกิดข้ึน แสดงวา่รากฐานทางจิ ตวญิ ญาณแทบจะไม่มีเหลืออยแู่ ลว้ หนงั สือเล่มน้ีก็ไดใ้ ห้คาํ แนะนาํ ไปแลว้ ท้งั ในวธิ ีการทาํ ความรู้จกั รากฐานทางจิตวญิ ญาณของตวั เอง และวธิ ีการพฒั นารากฐานดา้ นน้ีดว้ ย แต่เร่ืองน้ีมนั ทาํ แทนกนั ไม่ได้เทา่ น้นั เอง มีเงินมากมายลน้ ฟ้ า กไ็ ม่สามารถซ้ือได้ ทุกคนตอ้ งทาํ ดว้ ยตนเองไมม่ ีขอ้ ยกเวน้กล้า ท้าทาย เปลยี่ นแปลง : คุณสมบัตขิ องผู้ทจี่ ะสร้างทกุ ส่ิงทุกอย่างในชีวติ การพฒั นารากฐานชีวิตดา้ นร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ ดว้ ยการทาํ แบบฝึ กหัด ทาํ ให้ชีวิตเราแกร่งเพยี งในระดบั แบบฝึ กหัดเทา่ น้นั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253