196 ใบภาระงานที่ 5วิชา การศึกษาคน้ ควา้ และสร้างองค์ความรู้ รหสั วิชา I 30201 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4เร่อื ง การสรปุ ผลการศกึ ษาค้นคว้า เวลา 2 ช่ัวโมงผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั1) สงั เคราะหส์ รุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกล่มุ2) เสนอแนวคิด การแก้ปญั หาอย่างเปน็ ระบบดว้ ยองค์ความร้จู ากการค้นพบ3) เห็นประโยชนแ์ ละคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเองเนอื้ หาสาระวชิ า 1) การสรุปและอภปิ รายผลการศึกษาค้นควา้ 2) การเสนอแนวทางแกป้ ญั หา 3) การสรปุ ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของการศึกษางานที่มอบหมายชนิ้ งาน/ภาระงานระหว่างเรียน 1) การสรุปและอภปิ รายผลการศึกษาค้นคว้า 2) การเสนอแนวทางแก้ปัญหา 3) การสรุปประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของการศกึ ษาช้นิ งาน/ภาระงาน(รวบยอด) 1) การสรุปองคค์ วามรู้เก่ยี วกับการสรุปผลการศึกษาค้นคว้าทางวชิ าการกาหนดการสง่ งาน นกั เรยี นมีเวลาในการทางานตามใบภาระงานที่ 1 เปน็ เวลา 2 ช่ัวโมง เม่ือสรุปและอภิปรายผล เสนอแนวทางแกป้ ัญหา สรุปประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของการศึกษา และสรปุ องคค์ วามรเู้ สร็จแลว้ สง่คาตอบทางจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์การประเมนิ ผล1. นักเรียนทางานเสร็จตามเวลาท่ีกาหนด2. นักเรียนสรปุ องค์ความรู้ได้ถูกต้อง ครบถ้วน อย่างน้อยร้อยละ 80
197 แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ รายวชิ าการศึกษาค้นควา้ และการสรา้ งองคค์ วามรู้ (Research and Knowledge Formation) รายวชิ าเพิม่ เติม ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 จานวน 1 หนว่ ยกิตผลการเรียนรู้ 1) ตั้งประเด็นปัญหา จากสถานการณ์ปัจจุบนั และสังคมโลก1. ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลักการในการตั้งประเดน็ ปัญหาในการศึกษาคน้ ควา้ และสร้างองค์ความรู้ก) กาหนดจากหวั ขอ้ ที่ครเู ป็นผู้กาหนดข) กาหนดจากสงิ่ ทีผ่ ู้ศึกษามีความสนใจค) กาหนดจากสภาวการณท์ ่ีกาลงั เกดิ ขึ้นต่อโลกง) กาหนดจากสถานการณ์ท่ีได้รบั ความสนใจสงั คมไทย2. หัวขอ้ ประเด็นปัญหาในการศึกษาคน้ คว้าและสรา้ งองคค์ วามรู้ ข้อใดมีความสาคัญมากทสี่ ุดก) สิทธมิ นษุ ยชนข) การพงึ่ พาอาศยั กันค) ความเปน็ พลเมืองโลกง) ความยตุ ิธรรมในสังคม3. หวั ขอ้ ประเด็นปญั หาในการศกึ ษาค้นคว้าและสร้างองคค์ วามรู้ ขอ้ ใดทสี่ าคญั และเก่ียวข้องกบั นกั เรยี นมากท่สี ดุก) การพง่ึ พาอาศัยกันข) การพฒั นาอย่างยั่งยืนค) วัยร่นุ กบั การป้องกันเอดส์และยาเสพติดง) คาสอนของพระศาสดาทกุ ศาสนา สามารถนามาซ่งึ ความสันติสขุ และความผาสกุ ของสงั คม4. ประเดน็ ในข้อใดเป็นการให้ความสาคญั และเตรียมพรอ้ มการเขา้ สู่ประชมคมอาเซียนในปี พ.ศ.2558ก) สิทธมิ นุษยชนข) การพง่ึ พาอาศัยกันค) ความเป็นพลเมืองโลกง) ภาษาองั กฤษกบั เดก็ ไทยเพ่ือการสื่อสารได้อย่างไร
1985. การศึกษาคน้ คว้าและการสร้างองค์ความรู้จะสัมฤทธิ์ผลข้ึนอย่กู ับส่งิ ใดก) ความมีวนิ ัยข) ความอดทนค) ความสนใจใฝ่รู้ง) ความรวดเร็วในการทางาน6. ข้อใดไมใ่ ช่วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษาค้นควา้ก) ส่งเสริมให้ตนเองรกั การศึกษาค้นคว้าข) สามารถคัดลอกเนือ้ หาขอ้ มลู ไดอ้ ย่างคล่องแคล่วรวดเร็วค) เปน็ การพัฒนาทักษะทางภาษาในการอา่ น การฟงั การเขียนง) ส่งเสริมใหร้ จู้ กั การคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลได้อยา่ งมเี หตุผล7. “ในการแข่งขันในเวทโี ลกของแตล่ ะประเทศ ประเทศทจ่ี ะอยู่รอดไดห้ รอื คงความได้เปรียบกค็ ือประเทศท่มี ีอานาจทางความรู้และเป็นสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ ซ่งึ ในยุคโลกไร้พรมแดนคนตา่ งชาตจิ ะเข้ามาทางานสังคมไทยในอนาคตจะเป็นสงั คมฐานความรู้ ท่ีการเรยี นรูแ้ ละนวัตกรรมเปน็ ปจั จยั สาคัญในการพฒั นา มีความจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องสง่ เสรมิ และสรา้ งสภาพการณ์ เพอ่ื ใหค้ นไทยทุกคนมสี ทิ ธิและความเสมอภาคในการเรียนรู้” จากข้อความ ความรู้ คืออะไรก) สิ่งที่ไดร้ ับมาจากการไดย้ นิ ไดฟ้ ังข) สารสนเทศอนั หลากหลายท่ไี ดร้ วบรวมขึ้นค) ระบบการเรยี นการสอนที่ใชเ้ ทคโนโลยีทีท่ นั สมยัง) สิ่งที่สงั่ สมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นควา้ หรอื ประสบการณ์ รวมท้ังความสามารถเชงิ ทกั ษะปฏบิ ตั ิและความเข้าใจ8. รชั ชานนท์กาหนดหัวข้อในการศึกษาคน้ คว้า เรื่อง การศึกษาปัญหาของวัยรุ่น จากประเด็นดังกลา่ วยงับกพร่องในเรื่องใดก) ไม่น่าสนใจข) ขาดความชัดเจนค) เป็นสิง่ ทีท่ ราบอย่แู ล้วง) ประโยชนข์ องการศึกษาค้นคว้า
1999. การเสาะหาชือ่ เรื่องในการศึกษาค้นควา้ ควรทาในข้อใดดีทส่ี ุดก) จากงานอดิเรกของนักเรียนเองข) จากการไปเย่ียมชมสถานท่ีตา่ งๆค) จากการสงั เกตปรากฏการณ์ตา่ งๆ รอบตัวง) จากการฟังบรรยายทางวชิ าการ การฟังและชมรายการวิทยุโทรทัศน์10. หลักวชิ าการการตั้งประเดน็ ศกึ ษาจะต้องมีองค์ประกอบสาคัญ คอื ข้อใดก) วธิ ีการข) เป้าหมายค) ตวั แปรหรือเครอื่ งมือง) วิธีการ เปา้ หมาย และตวั แปรหรอื เครื่องมือ11. “การศึกษาความคดิ เห็นของนักเรยี นท่ใี ชโ้ ทรศัพท์มือถือ iPhone6s” จากประเด็นดังกลา่ วขาดความชดั เจนในส่วนใดก) วธิ กี ารข) เคร่ืองมือค) เป้าหมายง) วธิ กี าร เปา้ หมาย และเคร่ืองมือ12. การตั้งช่อื ประเด็นคาในข้อใด ไม่บ่งบอกวธิ ีการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกบั เร่ืองทสี่ นใจ1) การศึกษา2) การสารวจ3) การดาเนินการ4) การเปรียบเทยี บ
200ผลการเรียนรู้ 2) ตั้งสมมติฐานเพ่อื ให้เหตผุ ลที่สนับสนุนหรอื โต้แยง้ ประเดน็ ความร้โู ดยใช้ความรจู้ ากสาขาวชิ า ต่าง ๆ และมที ฤษฎรี องรบั13. ความหมายของการต้งั สมมติฐานคอื ข้อใดก) การคาดการณ์คาตอบโดยอาศยั การสังเกต ความรู้ และประสบการณ์เดิมของผตู้ ้งั สมมติฐานข) การคาดการณ์คาตอบโดยอาศยั การเช่ือมโยงขอ้ มลู ความสมั พนั ธข์ องสิง่ นน้ัค) การคาดการณค์ าตอบโดยอาศัยหลกั การหรอื ทฤษฎเี กี่ยวกบั ส่ิงนั้นทศ่ี กึ ษามาแลว้ง) การคาดการณ์คาตอบโดยอาศยั หลักทางโหรราศาสตร์14. หลกั ในการต้งั สมมติฐานคอื ข้อใดก) สมมติฐานต้องบอกความสัมพันธร์ ะหว่างตวั แปรตน้ ตวั แปรตามข) สมมติฐานมีไดเ้ พียงข้อเดยี วเทา่ น้นัค) สมมติฐานต้องต้งั ใหม้ คี วามเปน็ ไปไดแ้ ละถูกต้องเสมอง) เปน็ ไปได้ทุกข้อ15. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถกู ต้องเกยี่ วกบั การตง้ั สมมตฐิ านของการศึกษาค้นคว้าก) เป็นการคาดคะเนคาตอบของปัญหาอยา่ งมีเหตผุ ลข) เป็นการบง่ บอกความสมั พันธ์ของตวั แปรอย่างน้อย ๒ ตวั กอ่ นทจี่ ะทาการทดลองจริงค) เปน็ การคาดการคาตอบโดยผ้เู ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นเทา่ น้ันเพื่อความถูกต้องง) กระทาโดยอาศยั ทักษะการสงั เกต ประสบการณ์ ความรู้เดมิ เปน็ พืน้ ฐาน16. สมมตฐิ านที่ดคี วรมีลักษณะตามข้อใดก) สมเหตุสมผลข) ใชภ้ าษาทส่ี วยงามค) ควรมสี มมตฐิ านเดียวเทา่ น้ันง) สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการศกึ ษาค้นควา้
20117. ผลที่ได้รบั จากการศึกษาคน้ ควา้ คอื ข้อใดก) ตัวแปรตน้ข) ตวั แปรตามค) ตัวแปรควบคุมง) ตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม และตวั แปรควบคุมผลการเรยี นรู้ 3) ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการการรวบรวมข้อมูลอยา่ งมีประสิทธิภาพ18. การเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสทิ ธภิ าพข้อใดกลา่ วไดถ้ ูกต้องท่ีสุดก) ควรมกี ารวางแผนก่อนทาการเกบ็ รวบรวมข้อมลูข) ควรเกบ็ รวบรวมข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมเิ ป็นอันดบั แรกค) ควรได้ข้อมูลจากแหลง่ ปฐมภูมิ ทตุ ิยภมู ิ และแหล่งสารสนเทศง) ควรพิจารณาลักษณะของข้อมลู วา่ มีความน่าเชอื่ ถือมากน้อยเพยี งใด19. ข้อใดเป็นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากแหลง่ ปฐมภมู ิก) การสงั เกตข) การสมั ภาษณ์ค) การสอบถามทางไปรษณีย์ง) การทดลองกบั กลุ่มตัวอย่าง20. ข้อมลู จากวิธีการรวบรวมขอ้ มูลแบบใดมีความน่าเชื่อถือมากทสี่ ุดก) การสังเกตข) การสมั ภาษณ์ค) การสอบถามทางไปรษณยี ์ง) การสอบถามทางโทรศัพท์
20221. การค้นควา้ ข้อมลู จากหนังสอื รายงาน หรือบทความ ถือวา่ เปน็ แหลง่ ข้อมลู แบบใดก) ปฐมภมู ิข) ทุติยภมู ิค) แหลง่ สารสนเทศง) เปน็ ไปไดท้ ุกข้อ22. สิง่ ท่ตี อ้ งพจิ ารณาจากการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากเทคโนโลยีสารสนเทศหรอื เว็บไซต์คือข้อใดก) การออกแบบเวบ็ ไซต์ทาตามหลกั การออกแบบทถ่ี ูกตอ้ งข) ความสวยงามของเวบ็ ไซต์มคี วามเหมาะสมค) ความน่าเช่ือถือของเว็บไซต์ง) จานวนผ้เู ขา้ ชมเว็บไซต์มีมากนอ้ ยเพยี งใด23. ขอ้ มลู ท่เี กบ็ ขึ้นมาใหม่เพ่ือตอบสนองวัตถุประสงค์การการศกึ ษาคน้ ควา้ คอื ข้อใดก) ข้อมลู ปฐมภมู ิข) ข้อมูลทุติยภมู ิค) ข้อมลู สารสนเทศง) เปน็ ไปไดท้ ุกข้อผลการเรยี นรู้ 4) ศกึ ษา ค้นคว้า แสวงหาความรเู้ กย่ี วกบั ประเด็นทเี่ ลอื ก จากแหล่งเรียนรทู้ ม่ี ีประสทิ ธิภาพ24. การศกึ ษาคน้ คว้าข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์จากแหลง่ ข้อมูล ข้อใดกลา่ วไม่ถูกต้องก) เก็บขอ้ มลู ไดร้ วดเร็วข) เปน็ วธิ ที ี่นิยมมากทสี่ ุดค) เปน็ วิธีท่ีปราศจากความคลาดเคลอ่ื นง) ผ้เู ก็บข้อมลู ควรจดบันทึกลงในแบบสอบถาม
20325. การศกึ ษาคน้ คว้าเก่ยี วกับความเปล่ยี นของสงิ่ แวดลอ้ มของโลก นักเรียนคิดวา่ ควรเลอื กศกึ ษาจากแหล่งข้อมูลใดเหมาะสมทส่ี ุดก) ปฐมภมู ิข) ทุติยภมู ิค) แหล่งเทคโนโลยีสารสนเทศง) เปน็ ไปไดท้ ุกข้อ26. การเกบ็ รวบรวมข้อมูลแบบใดทตี่ ้องใชผ้ ู้เก็บรวบข้อมลู ท่ีมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เป็นพเิ ศษก) การสังเกตข) การสมั ภาษณ์ค) การใช้แบบสอบถามง) การสอบถามทางโทรศัพท์27. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ขอ้ มลู ทีด่ ีท่ีไดจ้ ากการศกึ ษาคน้ ควา้ แหลง่ ข้อมลูก) มีความถกู ต้องตรงกับขอ้ เทจ็ จริงท่ีเกิดขน้ึข) ข้อมลู มคี วามสอดคลอ้ งกับความคดิ เห็นของผู้ศกึ ษาค้นควา้ค) ข้อมลู ทีค่ วามสมบรู ณ์ สามารถตรวจสอบ และสามารถอ้างอิงได้ง) ขอ้ มลู เปน็ ปจั จบุ นั สามารถตรวจสอบได้ ข้อมลู มแี หลง่ ขอ้ มูลทสี่ ามารถอ้างอิงได้28. ประสทิ ธภิ าพของแหลง่ ข้อมูลขน้ึ อยูก่ บั ส่งิ ใดมากทส่ี ุดก) ระบบการใชบ้ ริการในการศึกษาค้นควา้ข) จานวนข้อมลู แหล่งข้อมูลที่ใหศ้ ึกษาคน้ ควา้ค) ความถูกต้องและความนา่ เช่อื ถือของข้อมลูง) ระบบการบรกิ ารและจานวนของข้อมลู ที่ใหบ้ รกิ าร
204ผลการเรยี นรู้ 5) ตรวจสอบความน่าเชอื่ ถือของแหลง่ ที่มาของข้อมลู29. ขอ้ มูลจากแหล่งข้อมูลใดท่มี ีความนา่ เช่ือถือมากทสี่ ดุก) ปฐมภมู ิข) ทตุ ิยภูมิค) แหลง่ เทคโนโลยสี ารสนเทศง) เปน็ ไปไดท้ ุกข้อ30. ความน่าเช่ือถือของแหล่งทีม่ าของข้อมลู พจิ ารณาจากสิ่งใดก) เป็นแหล่งต้นตอของข้อมลูข) มกี ารอ้างอิงในรปู แบบที่ถูกตอ้ งค) อ่านขอ้ มูลแลว้ ข้อมูลมีความถกู ต้องง) ได้จากแหล่งเทคโนโลยีสารสนเทศหลาย ๆ แหลง่31. ความน่าเชือ่ ถือของข้อมูลท่ไี ดจ้ ากแหล่งข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ ขอ้ ใดถูกต้องทสี่ ุดก) มกี ารระบุชอ่ื ผ้เู ขียนบทความหรอื ผู้ใหข้ ้อมูลบนเวบ็ ไซต์ข) ได้จากแหลง่ เทคโนโลยีสารสนเทศหลายๆ แหล่งและมีเนื้อหาตรงกันค) เป็นข้อมูลของหน่วยงานราชการหรือองคก์ ร และระบผุ ้เู สนอขอ้ มลู นนั้ง) เป็นเวบ็ ไซต์ราชการหรือองคก์ าร ข้อมลู ผา่ นการวเิ คราะห์ด้วยสถิติท่ีเหมาะสม32. การตรวจสอบความนา่ เชื่อของแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศทส่ี ืบค้นมาได้ ผ้สู บื คน้ สามารถประเมินความนา่ เช่ือถือของแหล่งข้อมลู ไดจ้ ากสิ่งใดก) วตั ถปุ ระสงคก์ ารเผยแพร่ เนอื้ หาตรงตามวัตถุประสงค์ข) เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ เนอ้ื หาเร้าความสนใจ ระบุชอ่ื นามปากกาผูเ้ ขยี นค) เน้ือหาเหมาะสม ระบชุ ่อื ผู้เขยี น ให้ข้อมลู ติดต่อกลบั อ้างองิ แหลง่ ขอ้ มูล ระบุแหลง่ สนับสนุนง) วัตถปุ ระสงคก์ ารเผยแพร่ เนอ้ื หาตรงตามวัตถุประสงค์ ระบชุ อ่ื ผเู้ ขยี นและให้ขอ้ มูลติดตอ่ กลบั
20533. การพจิ ารณาแหลง่ ข้อมูลการศึกษาค้นคว้า ขอ้ ใดคือข้อมลู ทน่ี ่าเชื่อถือท่สี ุดก) ภาพถ่ายข) วัตถุพยานค) ถ้อยคาจากการสมั ภาษณ์ง) คาตอบจากแบบสอบถามผลการเรยี นรู้ 6) วิเคราะห์ขอ้ คน้ พบดว้ ยสถิติท่ีเหมาะสม34. การศกึ ษาคน้ คว้า เร่อื ง โรคอ้วนปญั หาที่สาคญั ที่มผี ลกระทบต่อวยั รุ่นไทย ควรใชส้ ถิติในข้อใดในการวเิ คราะห์ข้อมลู เก่ียวกบั พฤติกรรมการบริโภคของวยั รนุ่ ไทยก) การแจกแจงความถ่ีข) การหาคา่ เฉล่ียค) การหาค่ามัธยฐานง) การหาคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน35. การศกึ ษาค้นควา้ เร่อื ง โรคอว้ นปัญหาท่ีสาคัญท่ีมีผลกระทบต่อวัยรนุ่ ไทย ควรใช้สถิติในขอ้ ใดในการวเิ คราะห์ข้องมลู เก่ียวกับนา้ หนักของวยั รุน่ ไทยก) การแจกแจงความถ่ีข) การหาค่าเฉลยี่ค) การหาคา่ มัธยฐานง) การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน36. การหาค่ากลางของข้อมูลที่มคี วามเท่ยี งตรงและนิยมใช้มากทส่ี ดุ คือ ข้อใดก) ค่าเฉล่ยี เลขคณิต (Arithmetic mean)ข) มธั ยฐาน (Median)ค) ฐานนยิ ม (Mode)ง) ถูกทุกข้อ
20637. การกระจายของข้อมูลหรือคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน ควรนาเสนอควบคู่กับข้อใดก) ฐานนิยม (Mode)ข) มัธยฐาน (Median)ค) คา่ เฉล่ียเลขคณติ และมัธยฐานง) ค่าเฉลย่ี เลขคณิต (Arithmetic mean)38. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลด้วยสถิตใิ ดคนท่ัวไปเข้าใจได้งา่ ยท่สี ุดก) คา่ เฉลยี่ เลขคณิตข) คา่ มธั ยฐานค) ค่าฐานนยิ มง) ค่ารอ้ ยละผลการเรยี นรู้ 7) สังเคราะห์สรปุ องคค์ วามรดู้ ้วยกระบวนการกลุ่ม39. การสรปุ องค์ความรู้จากการศึกษาคน้ ควา้ ข้อมูลข้อใดเหมาะสมที่สดุก) แตล่ ะคนสรุปองค์ความรู้มาแล้วเลอื กบทความทดี่ ีท่สี ุดข) ใช้กระบวนการกลมุ่ ชว่ ยกันวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ในการสรปุ องค์ความรู้ค) คัดลอกการสรปุ องค์ความรู้จากเวบ็ ไซตท์ น่ี ่าเช่อื ถือง) มอบหมายสมาชกิ ใหส้ รปุ เปน็ ตอนสั้น ๆ แล้วคอ่ ยนามารวมกนั40. ความสามารถในการคิดท่ีดึงองค์ประกอบต่าง ๆ มาหลอมรวมกันภายใต้โครงร่างใหม่อย่างเหมาะสมเพื่อให้เกิดสิง่ ใหมท่ ี่มลี ักษณะเฉพาะแตกตา่ งไปจากเดิม คือ ข้อใดก) การสรุปข้อมลูข) การรวบรวมข้อมลูค) การคิดวิเคราะห์ขอ้ มลูง) การคดิ สงั เคราะหข์ ้อมลู
20741. ขั้นตอนในข้อใดที่สาคัญที่สุดของการสงั เคราะห์ข้อมูลก) นาผลการสงั เคราะห์ไปใช้ประโยชน์ตามจุดมุ่งหมายข) กาหนดหัวเรื่องและจดุ ประสงค์ทจี่ ะสังเคราะห์ให้ชดั เจนค) สังเคราะหป์ ัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่เตรยี มไวต้ ามจุดประสงคท์ ่ีกาหนดง) ตรวจสอบและประเมินผลการสังเคราะหท์ ่ีไดว้ า่ น่าจะมีความแม่นยา ความเทีย่ ง42. บุคคลในข้อใดมบี คุ ลิกเป็นนักคิดสงั เคราะห์มากท่สี ุดก) ธีระเดชเป็นคน ไมท่ ้อถอย มีความมานะพากเพียรข) ธนภพ เปน็ คนไม่ยุ่งเหยิง ชอบระบบระเบยี บค) ญาญา่ มคี วามเขา้ ใจและมองเหน็ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงตา่ ง ๆ นามาเชอื่ มโยงอยา่ งสมเหตุและสมผลง) ณเดชไม่พอใจสงิ่ เดิม ชอบถามหาส่ิงใหม่ ชอบแสวงหา ชอบการเปลี่ยนแปลง43. การสังเคราะห์สรปุ องคค์ วามรู้ คอื ข้อใดก) อธชิ าติพิจารณาเลือกความหมายที่ดีท่ีสดุ ของคาวา่ พลเมือง จากหนังสือมานาเสนอข) ดาวิกา วรัทยา และภูผา ร่วมกันพจิ ารณาเลือกความหมายท่ีดที ่ีสุดของคาว่า พลเมือง จากหนังสอื มานาเสนอค) มายู ณดา และไปรยา คัดเลือกบทสรปุ เรื่อง พฤตกิ รรมของวัยรุ่นไทยในปี 2559 มานาเสนอง) มารก์ ี้ ศึกษาความหมายของคาว่า เทคโนโลยี จากหนังสือหลายเล่มแล้วสรุปใหม่เป็นของตนเองเพื่อนาเสนอผลการเรยี นรู้ 8) เสนอแนวคดิ การแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ระบบด้วยองคค์ วามรจู้ ากการคน้ พบ44. การศึกษาค้นควา้ เรอ่ื ง โรคอว้ นปญั หาทีส่ าคัญที่มผี ลกระทบต่อวัยรุ่นไทย แนวทางในการแกป้ ัญหาขอ้ ใดเหมาะสมทีส่ ุดก) จดั อบรมเรอ่ื งโรคอ้วนข) จดั กิจกรรมทัวร์สุขภาพค) จัดกจิ กรรมตอ่ ตา้ นอาหารขยะง) จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การออกกาลงั กาย
20845. การศึกษาค้นควา้ เรื่อง ภาษาในอาเซยี น แนวทางในการแกป้ ัญหาหรอื พัฒนาที่ได้จากการคน้ คว้าองค์ความร้ใู นข้อใดเกดิ ประโยชน์ต่อผู้ศึกษาและเหมาะสมที่สดุก) เสนอโรงเรยี นเปดิ สอนรายวิชาภาษาในอาเซยี นข) จัดตั้งชุมนุมภาษาอาเซยี นศึกษาคน้ คว้าและฝึกทักษะอย่างจรงิ จังค) จัดกิจกรรมรณรงค์ความสาคญั ของภาษาอาเซียนง) จดั ทาบอร์ดหรอื นทิ รรศการภาษาอาเซยี นในหอ้ งเรยี น46. การนาเสนอผลการศกึ ษาคน้ คว้า เกย่ี วกับการเปรียบเทียบความแตกต่างของจานวนผใู้ ช้โทรศัพท์มือถือยี่ห้อ ต่าง ๆ จากจานวนนกั เรียน 400 คน ควรนาเสนอตามข้อใดดีท่ีสดุก) กราฟเสน้ข) กราฟแทง่ค) กราฟวงกลมง) ตารางข้อมลู47. การนาเสนอผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ที่นาเสนอผลของความเปล่ยี นแปลงหรอื ความกา้ วหน้า ควรนาเสนอตามข้อใดดีทสี่ ดุก) กราฟเส้นข) กราฟแท่งค) กราฟวงกลมง) ตารางข้อมูล48. การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า ในลกั ษณะบทความวิชาการ เนือ้ หาในสว่ นใดท่ีมีสัดส่วนมากทส่ี ุดก) สว่ นนาข) สว่ นเนอ้ื หาค) สว่ นท้ายง) ภาคผนวก
20949. การจัดทาส่อื นาเสนอผลการจดั ทาโครงการ การบอกชื่อเรอ่ื ง วตั ถปุ ระสงค์ และสาระสาคัญ ของโครงการควรนาเสนอไวใ้ นส่วนใดก) สว่ นนาเรือ่ งข) สว่ นเนอ้ื หาค) ส่วนทา้ ยเรือ่ งง) ภาคผนวก50. การจัดทาสอื่ นาเสนอผลการจดั ทาโครงการ หลกั ฐานสาคญั ของการดาเนินกิจกรรมของโครงการควรนาเสนอไว้ในสว่ นใดก) ส่วนนาเรื่องข) ส่วนเนอ้ื หาค) สว่ นท้ายง) ภาคผนวก
บนั ทกึ หลงั แผนการจดั การเรยี นรู้ส่วนที่ 1 ผลการเรียนรูข้ องนักเรียนและแนวทางการแก้ปัญหา 1.1 ผลการประเมนิ ด้านความรู้ จำนวนนกั เรียนท้งั หมด………..…..คน ผ่ำนเกณฑ์ จำนวน..........คน คิดเป็นร้อยละ............. ไม่ผำ่ นเกณฑ์ จำนวน............คน คิดเป็นรอ้ ยละ………….…… ครไู ดด้ ำเนินกำรแก้ไขปัญหำนกั เรียนที่ไม่ผำ่ นเกณฑ์โดย.......................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2 ผลการประเมินด้านทกั ษะ/กระบวนการ จำนวนนกั เรยี นทงั้ หมด………..…..คน ผำ่ นเกณฑ์ จำนวน..........คน คิดเปน็ รอ้ ยละ............. ไมผ่ ำ่ นเกณฑ์ จำนวน............คน คิดเปน็ ร้อยละ………….…… ครไู ด้ดำเนนิ กำรแก้ไขปญั หำนกั เรียนทไี่ ม่ผ่ำนเกณฑโ์ ดย.......................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 ผลการประเมนิ ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ จำนวนนักเรียนทั้งหมด………..…..คน ผ่ำนเกณฑ์ จำนวน..........คน คดิ เปน็ ร้อยละ............. ไม่ผ่ำนเกณฑ์ จำนวน............คน คิดเป็นร้อยละ………….…… ครไู ดด้ ำเนนิ กำรแกไ้ ขปญั หำนกั เรยี นทีไ่ มผ่ ่ำนเกณฑโ์ ดย.......................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………สว่ นท่ี 2 ข้อเสนอแนะในการพฒั นานักเรียน 2.1 ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.2 ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.3 ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.4 ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ …………………………………..……………………… ผู้สอน (นำงสำวพฤทธวิ รรณ ช่วงพทิ ักษ์) ……………/………………/………………
ข้อเสนอแนะของหวั หนำ้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ (ตรวจสอบ/นิเทศ/รับรอง) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………..……………..…… (นำยสุทธิศกั ด์ิ เคลือบสงู เนนิ ) หวั หนำ้ กลุ่มสำระกำรเรยี นรกู้ ำรงำนอำชีพและเทคโนโลยีขอ้ เสนอแนะของฝ่ำยวิชำกำร (ตรวจสอบ/นิเทศ/รบั รอง) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………….………………..…… (นำงจนั ทร์ษำ ชยั วฒั นธรี ำกร) รองผอู้ ำนวยกำรโรงเรยี นกลมุ่ บรหิ ำรงำนวิชำกำรขอ้ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะของหวั หน้ำสถำนศึกษำ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………..………………..…… (นำงกมนพรรธน์ ทพิ ยไกรศรโชติ) ผู้อำนวยกำรโรงเรียนชลกนั ยำนุกูล
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217