Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อ วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น รหัสวิชา 20200-1001

สื่อ วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น รหัสวิชา 20200-1001

Published by สุภาวดี สิงหลสาย, 2020-03-13 05:05:11

Description: สื่อ วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น รหัสวิชา 20200-1001

Keywords: เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 20200-1001

Search

Read the Text Version

วชิ าเศรษฐศาสตร์เบอ้ื งต้น (Basic Economic) รหัสวชิ า 20200-1001

HELLO! นางสภุ าวดี สิงหลสาย ครู คศ.2 0-8196-7514-8 ID : 0819675148

Basic Economic รหสั วิชา 20200-1001 เกณฑ์การให้คะแนน 1. งานกลมุ่ 10 คะแนน 2. แบบฝึกทกั ษะ 20 คะแนน 3. สอบ 50 คะแนน 4. จิตพิสัย 20 คะแนน ตรงตอ่ เวลา (10) แตง่ กายถกู ระเบียน (10) รวมท้ังสิน 100 คะแนน

Basic Economic รหัสวชิ า 20200-1001 ขอ้ ตกลงในการเรยี นการสอน 1. การเข้าเรยี นต้องเข้าตรงเวลา สายได้แค่ 15 นาที 2. การลาปว่ ย /ลากจิ /มเี หตุจาเปน็ โทรแจ้งครูโดยตรง หรอื แจง้ กบั หัวหน้าช้นั เท่าน้ัน

Basic Economic รหสั วิชา 20200-1001 ขอ้ ตกลงในการเรยี นการสอน 3. การมาเรียนต้องมีการเข้าเรียนร้อยละ 80 ของ จานวน 18 สปั ดาห์ คือ ขาดได้ไม่เกิน 4 สัปดาห์ ถอื เป็นผลการเรียน ขร.

Basic Economic รหสั วิชา 20200-1001 ขอ้ ตกลงในการเรยี นการสอน 4. การแตง่ กายใหแ้ ตง่ กายตามระเบียนของทางวิทยาลัยฯ หากแต่งกายไม่ถูกระเบยี น ทางครูผู้สอนจะไม่เช็คเวลา เรยี นใหใ้ นคาบดงั กล่าว

Basic Economic รหัสวชิ า 20200-1001 ขอ้ ตกลงในการเรยี นการสอน 4. การสอบหลังการเรียน จะทาทุกวันที่ทาการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ โปรแกรม Kahoot! กาหนดให้ผู้เรียน เตรยี มเครื่องมือสือ่ สารให้พร้อมทุกครง้ั ในเวลาเรยี น

ช่อื แผนก รหัสนกั เรยี น( 3 ตวั สดุ ทา้ ย)

ใบงานท่ี 1 วิชาหลกั เศรษฐศาสตร์เบือ้ งตน้ 20200-1001 กาหนดใหน้ กั เรยี นตอบคาถามดงั ตอ่ ไปนี้ตามความเข้าใจของ นักเรียน 1. คาว่า “เศรษฐศาสตร์” คือ 2. นักเรียนคดิ ว่าเหตผุ ลใดท่ีตอ้ งเรียนวชิ า “เศรษฐศาสตร์”

เศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้ ความหมาย/คาศพั ท์ แขนงของเศรษฐศาสตร์ ประโยชน์ของเศรษฐศาสตร์ ปญั หาพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ

1. ความหมาย : เศรษฐศาสตร์ การศึกษาพฤติกรรมของมนุษยใ์ นสงั คม ในเร่ือง การเลือกใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ อ ย่ า ง จ า กั ด เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ก ค ว า ม ต้องการของมนษุ ยท์ ี่มีอยูอ่ ยา่ งไม่จากดั

คาศัพทท์ เี่ ก่ยี วขอ้ ง 1. การเลอื ก = ตอ้ งเลือกใช้ปัจจัยต่างๆ ที่มีอยู่อย่างจากัด ก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสดุ

2. ปัจจัยการผลิต = องคป์ ระกอบท่ีใช้ ในการผลิตเพอื่ ให้เกดิ สินคา้ และบรกิ าร แบ่งออกเปน็ 4 ประเภทคอื 2.1 ท่ีดินและทรัพยากรธรรมชาติ = ที่ดิน แร่ธาตุ ปา่ ไม้ น้า เปน็ ต้น

2.2 แรงงาน (Labour) = ที่ใช้ในการผลิต ผลตอบแทน จะเป็น คา่ จา้ ง (Wage) แรงงานแบง่ ออกเป็น 3 ประเภคคือ แรงงานฝมี อื = วศิ วกร แรงงานกึ่งฝมี อื = ช่างเทคนคิ แรงงานไร้ฝีมอื = กรรมกร

2.3 ทุน (Capital) = เปน็ สิ่งท่ีเราสรา้ งขน้ึ เพ่อื อานวยความสะดวกในการผลติ เช่น โรงงาน เคร่อื งจกั ร เคร่อื งมือ หมายเหตุ ทางเศรษฐศาสตร์ เงนิ ทุน ไมถ่ อื เป็นปจั จัยการผลติ ประเภททุน แตเ่ ปน็ สอ่ื กลางในการแลกเปลีย่ นเอาสนิ ค้าประเภท ทนุ

2.4 การประกอบการ (Entrepreneurship) = การจดั ตัง้ องคก์ าร การผลติ เพ่อื ผลติ สินคา้ และบรกิ าร คอื นาเอา ทด่ี นิ แรงงาน ทนุ มาดาเนนิ การ ผลตอบแทนคือ กาไร (Porfit)

3. มอี ย่อู ยา่ งจากดั และหามาไดย้ าก = จาพวกทรัพยากรต่างๆ เชน่ นา้ มัน ปา้ ไม้ แรธ่ าตุ

4. ประสทิ ธภิ าพ (Efficiency) = ปัจจัยในการผลติ นอ้ ยที่สุดและผลผลติ เกิดขน้ึ มากทีส่ ดุ และต้องมคี ณุ ภาพตาม ความตอ้ งการ

goods and services 5. สนิ ค้าและบรกิ าร (goods and service) = เป็นสิ่งทบ่ี าบดั ความต้องการของ มนษุ ย์ และสร้างความพง่ึ พอในแกผ่ ู้บริโภค

goods and services สินค้าและบรกิ าร แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท 5.1 ทรพั ยเ์ สรี (Free goods and services) คอื สงิ่ ทไ่ี มม่ ตี ้นทนุ และใชบ้ าบดั ความต้องการ ของมนษุ ยไ์ ด้ เชน่ นา้ ในแม่นา้ อากาศ นา้ ฝน แสงแดดตามธรรมชาติ

goods and services 5.2 ทรัพย์เศรษฐกจิ (Economic goods and services) คอื ส่งิ ทมี่ ีต้นทุนและใชบ้ าบัดความ ตอ้ งการของมนุษย์ได้ มอี ยู่อย่างจากดั ถา้ ใครต้องการ ต้องซอ้ื มาหรอื ตอ้ งมคี ่าตอบแทน เชน่ บ้าน รถ ยา น้าขวด แกส๊ หุงตม้

goods and services 6. ความต้องการทม่ี อี ยอู่ ยา่ งไมจ่ ากัด (Unlimited Want) คือ ความต้องการของมนษุ ยท์ ่ี อยากได้สิง่ อ่นื ต่อไปเรื่อยๆ เช่น มีรถแล้ว อยากมบี ้าน อยากมีมอเตอร์ไซด์

ความหมาย : เศรษฐกจิ การดาเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการผลิต การ จาหน่ายจ่ายแจก การบริโภค สินค้าและ บริการ อย่างมีประสิทธิภาพให้มีการ ประหยดั ที่สดุ และได้ประโยชนม์ ากท่สี ุด

2. ประวัตเิ ศรษฐศาสตร์ 2.1 โบราณ : เพสโต(Plato) แทรกใน ข้อเขียนและหนังสอื สอนศาสนาในสมัย น้นั

2.2 คริสต์ศตวรรษท่ี 16 : เกดิ ลทั ธิ พาณิชย์นิยม (ทวปี ยุโรปเจรญิ รงุ่ เรอื งมาก) คือ สง่ สินค้าออกให้มากกว่าการสงั่ สินค้าเขา้ ประเทศ เพอื่ ให้แระเทศตนเจริญรงุ่ เร่อื ง

2.3 ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 18 : อดมั สมิธ เกิดลัทธเิ สรนี ิยม คือ เศรษฐกิจจะร่งุ เรืองขน้ึ ถา้ รฐั ปลอ่ ยให้ประชาชนทากจิ กรรมทาง เศรษฐกิจอย่างเสรี โดยไม่เขา้ ไปยุ่งเกีย่ ว

2.4 คริสต์ศตวรรษที่ 19 : มกี ารขยายตวั ของอุตสาหกรรมในทวีปยโุ รป ทาใหเ้ กดิ ทฤษฎีค่าจ้างแรงงาน โดยใหค้ วามสาคญั แต่ แรงงานงานมากกวา่ เครอื่ งจกั ร เพอ่ื แก้ไขปญั หา เศรษฐกจิ

เนอื่ งจาก แรงงานจากชนบทมาส่เู มอื ง เครือ่ งจกั รมาแทนแรงงานคน แรงงานโดนกดขี่ ค่าจา้ งแรงงานตา่

3. แขนงเศรษฐศาสตร์ คศ.1930 เรมิ่ เกดิ ภาวะเศรษฐกจิ ตกตา่ อย่างรนุ แรงทว่ั โลก

ค.ศ. 1930 : เคนส์ แบ่งการศกึ ษา เศรษฐศาสตรอ์ อกเปน็ 2 แขนงคือ เศรษฐศาสตรจ์ ลุ ภาค หรือทฤษฎรี าคา (Price Theory) ศึกษาเกย่ี วกบั การ ผลิตสนิ ค้า การกาหนดราคา

 เศรษฐศาสตรม์ หภาค หรือทฤษฎีรายได้ และการจา้ งงาน (Income and Employment Theory) จะศกึ ษาภาพรวมทั้ง ระบบเศรษฐกจิ หรอื ทง้ั ประเทศ เช่น รายได้ ประชาชาติ การบริโภค การจ้างงาน

4. ประโยชนข์ องวชิ าเศรษฐศาสตร์ 4.1 ชว่ ยใหก้ ารดารงชีวิตประจาวันเปน็ ไป อยา่ งมีหลักเกณฑ์/เหตุลผล : ซ้ือสนิ ค้าอะไร จานวนเท่าไร จะทางานอะไร จะออมอย่างไร จะลงทนุ อะไร

4.2 เปน็ ความรู้พ้ืนฐานทจี่ าเปน็ แกผ่ ทู่ างาน ดา้ นธุรกจิ /อาชีพอสิ ระ : ธนาคาร นักบัญชี นกั ปกครอง ผู้จัดการ คนขายของ

4.3 ธรุ กจิ สามารถนาความรูไ้ ปตัดสินใจทาง ธุรกจิ ได้ : คาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจในอนาคต วางแผนการลงทุน กาหนดราคาสนิ คา้ / บรหิ าร

4.4 ในแง่ส่วนร่วม : ทุกคนทัง้ ประเทศเข้าใจ และร่วมใจกนั ในการช่วยแก้ไขปัญหาด้าน เศรษฐกจิ เชน่ เมือ่ ขาดดุล ประชาชนชว่ ยกัน บรโิ ภคสนิ ค้าภายในประเทศมากข้นึ

5. ปญั หาพนื้ ฐานทางเศรษฐกิจ ท่ัวโลกประสบปญั หาทสี่ าคัญ คือ ทรพั ยากรมี อยอู่ ยา่ งจากดั ไมเ่ พยี งพอตอ่ ความต้องการ ของมนุษยท์ ีเ่ พม่ิ ขึ้นเร่ือยๆ

ปญั หาพนื้ ฐานทางเศรษฐกิจ จงึ แบ่งออกเป็น 3 ปญั หา คอื 5.1 ปญั หาว่าจะผลิตอะไร : ต้องตดั สนิ ใจการ ผลติ วา่ สินค้าชนดิ ใด เท่าไร 5.2 ปญั หาวา่ จะผลติ อยา่ งไร : จะผลิตวิธแี บบ ใด ใช้วัตถดุ บิ อะไร เทคนิคทีใ่ ชต้ ้องเป็นแบบ ใด

5.3 ปัญหาว่าจะผลิตสนิ ค้าเพื่อใคร : เมอ่ื ผลติ แล้วตอ้ งจดั สรรไปให้ใครบ้าง จานวน เทา่ ใด ดว้ ยวิธีการอย่างไร เชน่ กลไกราคา ผผู้ ลติ จะขายสนิ ค้าใหแ้ ก้ผู้ทมี่ ี ความสามารถจ่ายเงินซอื้ ได้

สสู้ .ู้ .!

หนว่ ยที่ 3 องค์ประกอบของเศรษฐกิจ (Composition of Economic)

องคป์ ระกอบของเศรษฐกิจ (Composition of Economic) ระบบเศรษฐกจิ บุคคลในระบบเศรษฐกิจ 1.ความหมายระบบเศรษฐกจิ 1.หนา้ ทีข่ องบุคคลในระบบ 2.รปู แบบระบบเศรษฐกจิ เศรษฐกิจ 2.จดุ มุ่งหวังของคนในระบบ เศรษฐกจิ

1. ความหมายระบบเศรษฐกิจ  รูปแบบท่ีรัฐบาลกาหนดขึ้นใหส้ อดคล้อง กับวัฒนธรรม ประเพณี การปกครอง ที่ เหมาะสมกบั ประเทศของตน  สามารถเปลย่ี นแปลงระบบเศรษฐกิจได้ ตามยุคตามสมยั ของแต่ละรัฐบาล

2.รูปแบบของระบบเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกิจโดยท่ัวไปจะแบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ 2.1 ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนยิ ม 2.2 ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนยิ ม 2.3 ระบบเศรษฐกิจแบบผสม 2.4 ระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมวิ นสิ ต์

2.1 ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม (Capitalism) สหรฐั อเมริกา แคนาดา เยอรมนี ออสเตรเลีย ญลักปี่ นุ่ษณะท่สี าคัญ 1) ประชาชนมสี ทิ ธเ์ิ ปน็ เจา้ ของทรพั ยส์ ิน ทุกคนมสี ทิ ธิเ์ ปน็ เจ้าของสินทรัพย์ ขนึ้ อยู่กบั ทุน ของแต่ละคน และไม่ไดก้ าหนดจานวนมากน้อย

2) ธุรกิจมีเสรภี าพในการประกอบอาชพี ธรุ กจิ สามารถเลือกผลติ สินค้าใดกไ็ ด้ แต่ตอ้ งอยู่ ภายใต้กฎหมายกาหนด รฐั ไม่เขา้ แทรก แต่จะคอย อานวยความสะดวกใหด้ าเนนิ ธรุ กิจเป็นไปอย่าง ราบร่ืน

3) ใชร้ ะบบราคา เปน็ เคร่ืองมือในการตดั สนิ ปญั หาพนื้ ฐานทาง เศรษฐกจิ ผู้บรโิ ภค = ราคาเป็นตัวกาหนดวา่ จะบรโิ ภค สินคา้ ชนดิ ใด จานวนเท่าไร

4) มีการแข่งอย่างเสรี ผ้ผู ลติ = จะพยายามผลติ สินค้าคณุ ภาพดี จานวนมาก ราคาตา่ เพ่ือดึงดูดลูกคา้ ผบู้ ริโภค = สามารถเลอื กซอ้ื สินคา้ มคี ณุ ภาพ และราคาถูก

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) ขอ้ ดี ขอ้ เสยี  ประชาชนมีเสรี  ทาใหเ้ กดิ การไม่ ในการประกอบ เทา่ เทยี มกันใน อาชีพและหา เรื่องรายได้ รายได้

2.2 ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม (Socialism) รัฐจะเป็นสว่ นกลาง วางแผนและมีอานาจในการ ลตดั ักสษินใณจ ะเชทน่ สี่ ยาูโกคสญั ลาเวยี เดนมารก์ โปแลนด์ สวเี ดน 1) รฐั เป็นเจา้ ของปัจจัยการผลิตและ ดาเนินการทางเศรษฐกจิ เชน่ การคมนาคาขนสง่ อุตสาหกรรม

2) ประชาชนเป็นเจ้าของทรัพย์สินไดบ้ า้ ง จะต้องเป็นธรุ กจิ ทไ่ี มส่ าคญั มากนกั 3) ระบบราคา มีบทบาทน้อยเพราะรัฐ กาหนดเองทุกอย่าง และทาให้ประชาชนขาด ความกระตอื รือรน้ ในการดาเนนิ ธรุ กจิ