เท่าทันสื่อ : สร้างเมอื งด้วยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 1 A5_�����������.indd 1 3/23/2563 BE 4:35 PM
2 เทา่ ทนั สอื่ : สรา้ งเมอื งด้วยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities A5_�����������.indd 2 3/23/2563 BE 4:35 PM
เท่าทันสื่อ : สร้างเมืองด้วยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 3 เท่าทนั สอื่ สรา้ งเมืองดว้ ยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities โสภดิ า วีรกุลเทวญั จดั พิมพโ์ ดย สถาบนั สอื่ เด็กและเยาวชน ภายใต้ มลู นิธสิ ่งเสริมส่ือเด็กและเยาวชน (สสย.) โดยการสนับสนุนจาก ส�ำนักงานกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) • พิมพ์คร้งั แรก จ�ำนวน 2,000 เล่ม • พสิ ูจนอ์ ักษร : พจนา อาภานุรักษ์ ศลิ ปกรรม : อรสุมน ศานติวงศ์สกุล พมิ พท์ ี่ : บริษทั วอล์ค ออน คลาวด์ จำ� กดั • ข้อมูลทางบรรณานกุ รมของสำ� นักหอสมุดแหง่ ชาติ โสภดิ า วรี กุลเทวญั . เท่าทันสื่อ : สร้างเมอื งด้วยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cites. กรงุ เทพ: สถาบนั สื่อเด็กและเยาวชน. 2563. 165 หนา้ ISBN 978-616-93538-0-5 ค�ำสำ� คญั : สำ� หรับข้อมลู บรรณานกุ รม 1. เทา่ ทันส่อื เท่าทนั ขอ้ มลู ข่าวสาร เทา่ ทันดจิ ทิ ัล 2. สิทธิท่จี ะอยู่ในเมอื ง 3. เมืองทนี่ ับรวมทุกคน A5_�����������.indd 3 3/23/2563 BE 4:35 PM
4 เทา่ ทันส่ือ : สร้างเมอื งดว้ ยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities คำ� นำ� สถาบนั สอ่ื เดก็ และเยาวชน (สสย.) และภาคเี ครอื ขา่ ยทท่ี ำ� งานเรอ่ื งเมอื ง ภายใต้การสนับสนุนของส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดท�ำโครงการ MIDL for Inclusive Cities : สรา้ งเมอื งของทุกคน เกิดขึ้นจากการให้ความส�ำคัญกับแนวคิดเรื่องการเสริมสร้างทักษะเท่าทันส่ือ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั หรอื Media Information and Digital Literacy-MIDL เพอ่ื น�ำไปสู่การสร้างพลเมืองประชาธปิ ไตย ในปี 2559 ยเู นสโกมอบรางวลั แก่ สสย.ในฐานะองคก์ รทำ� งานสง่ เสรมิ การรูเ้ ท่าทันสอ่ื และนำ� มาสูก่ ารเข้ารว่ มเป็นภาคใี นการจัดงานประจำ� ปี MIL Week ครัง้ แรกในประเทศไทยนบั ตัง้ แต่ปี 2560 เปน็ ต้นมา โดยในปี 2561 ยเู นสโกจดั Global MIL Week 2018 ภายใตห้ ัวขอ้ Media and Information Literate Cities : Voices, Power and Change Makers ท�ำให้สสย .สนใจ ประเด็นเร่ืองการเท่าทนั สอ่ื ฯ ทเี่ ช่อื มโยงกับวาระว่าดว้ ยเรื่องเมอื ง แนวคดิ ดงั กลา่ วเกิดขึน้ ภายใต้บรบิ ทในปัจจบุ นั ที่เมืองตา่ ง ๆ ทว่ั โลกได้รบั ประโยชน์ มหาศาลจากการปฏวิ ัติดิจิทลั รวมถงึ การรเิ ร่มิ ในเรอื่ งสมารท์ ซิต้ที ่บี อ่ ยครง้ั มักลดบทบาทของ “ตวั ตนพลเมอื ง” สสย.บูรณาการแนวความคิดข้างต้นเข้ากับบริบทในสังคมไทยและ พฒั นาสโู่ ครงการ MIDL for Inclusive Cities : สรา้ งเมอื งของทกุ คน โดยคำ� นงึ ถงึ หวั ใจสำ� คญั ของการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของพลเมอื ง ไดแ้ ก่ การใหค้ วามสำ� คญั กบั การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสาร เทคโนโลยแี ละสอ่ื ซง่ึ นบั วา่ เปน็ ประเดน็ ทไ่ี มค่ วร ละเลย A5_�����������.indd 4 3/23/2563 BE 4:35 PM
เท่าทนั สอ่ื : สร้างเมอื งดว้ ยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 5 ในชว่ งสองปี ระหวา่ งปี 2561-2562 สสย.ยงั คงขบั เคลอ่ื นเรอ่ื งนตี้ อ่ เนอื่ ง ใชว้ ิธีการท�ำงานแบบมีส่วนร่วมกับเครือข่ายที่ท�ำงานด้านการศึกษาพลเมอื ง กลมุ่ คนทำ� งานดา้ นเมอื งทง้ั ทเี่ ปน็ นกั วชิ าการในสถาบนั การศกึ ษา นกั กจิ กรรม ทางสงั คม เพอ่ื วางกรอบการทำ� งานรว่ มกนั ในการพฒั นากจิ กรรมและโครงการ ตา่ ง ๆ ทวั่ ทกุ ภมู ิภาคของประเทศ การน�ำเสนอข้อมูลในหนังสอื เร่อื ง “เท่าทนั ส่ือ : สร้างเมอื งดว้ ยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cites” โดยคุณโสภดิ า วรี กลุ เทวัญ ผ้เู ขยี น หนงั สอื เรอ่ื งเทา่ ทนั สอื่ : อำ� นาจในมอื พลเมอื งดจิ ทิ ลั ท่ี สสย.จดั พมิ พเ์ ผยแพร่ คร้ังแรกในปี 2561 ได้กรณุ ารับเปน็ บรรณาธกิ ารและผเู้ ขยี นหนังสือเลม่ นี้ ผลงานการเขียนหนังสือ เกิดขึ้นจากการติดตามกิจกรรมของโครงการย่อย ตลอดระยะเวลาสองปีท่ีผ่านมา การน�ำเสนอประสบการณ์ในต่างประเทศ การทบทวนวรรณกรรมที่เก่ยี วข้องกับแนวคดิ ในเรอ่ื งเมืองและพลเมือง ดิฉนั เหน็ วา่ บทเรียนทม่ี ีความหลากหลายของแต่ละพน้ื ทีต่ ลอดชว่ ง ระยะเวลาทผี่ า่ นมา ไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ การแลกเปลยี่ นแนวคดิ ความเหน็ และมมุ มอง ตลอดจนการทดลองใชเ้ ครอื่ งมอื ตา่ ง ๆ ในกระบวนการ MIDL for Inclusive Cities อย่างหลากหลาย ซ่งึ หนังสือเลม่ นไ้ี ดร้ วบรวมน�ำเสนอไว้ นา่ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ แวดวงการศึกษา ผู้ที่ทำ� งานดา้ นเด็กและเยาวชน ตลอดจนผทู้ ่ี ท�ำงานในเรื่องเมือง เพอื่ นำ� ไปประยุกต์ใชใ้ นการเสริมสรา้ งทกั ษะการรูเ้ ทา่ ทัน สอื่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั ทเ่ี ชอ่ื มโยงกบั วาระวา่ ดว้ ยเมอื งและชมุ ชนทพ่ี วกเรา อาศยั อยเู่ พอื่ ใหท้ กุ คนทกุ กลมุ่ เทา่ ทนั ความเปลยี่ นแปลงของเมอื งและสามารถ เปน็ สว่ นหนงึ่ ในการรว่ มสรา้ งเมอื งทนี่ า่ อยแู่ ละนบั รวมทกุ คนในสงั คมของเราตอ่ ไป เขม็ พร วิรุณราพนั ธ์ ผอู้ �ำนวยการ สถาบนั ส่อื เดก็ และเยาวชน (สสย.) A5_�����������.indd 5 3/23/2563 BE 4:35 PM
สารบัญ6 เท่าทนั สือ่ : สรา้ งเมืองดว้ ยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 7 17 บทเกรนิ่ น�ำ 33 บทท่ี 1 พลเมือง สิทธิที่จะอยใู่ นเมือง 51 69 และการนับรวมทุกคน 87 107 บทท่ี 2 MIDL กับ สมารท์ ซิต้ี 125 บทที่ 3 MIDL ทักษะการเรยี นรู้เรือ่ งราว 145 ดว้ ยสายตาใหม่ บทท่ี 4 Urban Jam นางเล้งิ การสรา้ งพ้นื ท่ีเรยี นรูข้ องพลเมอื ง บทท่ี 5 Design Thinking เพ่อื หอ้ งเรยี น โรงเรียนและชมุ ชนทนี่ ับรวมทุกคน บทที่ 6 เดนิ เมอื ง Walking Conversation-Walkshop บทท่ี 7 Storytelling เรอ่ื งเลา่ เลา่ เร่อื งเปลี่ยนเมอื ง บทท่ี 8 ศลิ ปะกบั พน้ื ท่สี รา้ งสรรคใ์ นเมือง A5_�����������.indd 6 3/23/2563 BE 4:35 PM
เท่าทนั สือ่ : สร้างเมอื งดว้ ยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 7 บทเกริ่นน�ำ A5_�����������.indd 7 3/23/2563 BE 4:35 PM
8 เทา่ ทนั ส่ือ : สรา้ งเมอื งดว้ ยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities การรู้เท่าทนั สอื่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ัล (Media Information and Digital Literacy-MIDL) เป็นกระบวนการฝึกฝนทกั ษะการตง้ั คำ� ถาม วิพากษ์ วจิ ารณ์ และนำ� มาสกู่ ารสอื่ สารอยา่ งสรา้ งสรรค์ กระบวนการดงั กลา่ วสามารถ นำ� ไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั กระบวนการเรยี น การสอนในการศกึ ษาทกุ ระดบั ตลอดจน ประยุกตใ์ ชก้ บั งานพฒั นาต่าง ๆ ได1้ นิยามข้างตน้ เป็นขอ้ สรปุ เกย่ี วกบั MIDL ทส่ี ถาบันสื่อเดก็ และเยาวชน (สสย.) รว่ มกบั เครอื ขา่ ยซง่ึ เช่อื มโยงทกั ษะ การรู้เท่าทันสื่อฯ กับความเป็นพลเมือง ในชว่ งปลายปี 2561-2562 สสย. ไดน้ ำ� ทกั ษะ MIDL มาใชก้ บั แนวคดิ เรอ่ื งการสรา้ งเมอื งของทกุ คน (Inclusive Cities) โดยร่วมมอื กบั เครอื ขา่ ยการศึกษาเพ่ือสร้างพลเมอื งประชาธิปไตย และเครือข่ายที่ท�ำงานเร่ืองเมือง เข็มพร วิรุณราพันธ์ ผู้อ�ำนวยการ สสย. เลา่ ถงึ ความเปน็ มาในเรื่องนว้ี ่า “ เมืองคอื พ้นื ทที่ เี่ ราใชช้ ีวติ ผ้คู นหลากหลายมีปฏสิ ัมพันธ์ ปะทะสงั สรรค์ เมอื งสามารถท�ำให้เรามคี วามสุข ความทกุ ข์ เจบ็ ปว่ ย หรือท�ำใหเ้ รามี ความมั่นคงในชีวิตก็ได้ ขึ้นกบั เป้าหมายและการออกแบบเมือง การใช้ เครอ่ื งมอื เทา่ ทนั สอ่ื สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั มแี นวคดิ ในเรอ่ื งการสรา้ งเมอื ง ของทกุ คนทเี่ รยี กวา่ MIDL for Inclusive Cities ทำ� ใหเ้ ราสามารถเขา้ ถงึ คนเลก็ คนนอ้ ย มสี ายตาในการมองเมืองที่เปลย่ี นไปจากแตเ่ ดมิ ท่ีเรา เดนิ ผา่ นไปทกุ วนั เราจะเหน็ ผคู้ นทหี่ ลากหลาย เหน็ ผคู้ นทเี่ ราเคยทอดทงิ้ ละเลย ผคู้ นทถ่ี กู กดี กนั ไปจากการมสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งเมอื งดว้ ยสายตา แบบนจ้ี ะทำ� ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ถงึ ความเปน็ เจา้ ของ ความรสู้ กึ รว่ มทจี่ ะสรา้ ง ความเปลย่ี นแปลงใหเ้ มืองดขี ึน้ เราจะเหน็ พลงั ของเราในการส่ือสาร การใชข้ อ้ มลู และการสรา้ งสรรคส์ อื่ เพอื่ การเปลย่ี นแปลง เพื่อใหเ้ มอื งเป็นเมืองที่ตอบโจทยช์ วี ติ คนทกุ คน ไม่ทอดท้งิ ไม่ละเลยใหใ้ ครเปน็ คนชายขอบหรอื ถูกกีดกันจากการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมอื ง 1 เทา่ ทันสือ่ : อำ� นาจในมือพลเมอื งดจิ ิทัล. (2561) จัดพิมพ์โดย สถาบันสือ่ เดก็ และเยาวชน A5_�����������.indd 8 3/23/2563 BE 4:35 PM
เท่าทันสอื่ : สรา้ งเมืองด้วยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 9 ในปี 2562 โครงการ MIDL for Inclusive Cities สนบั สนนุ ให้เกดิ ปฏบิ ตั ิการตา่ ง ๆ 15 โครงการในส่ีภูมภิ าค ประกอบดว้ ย ปฏบิ ตั กิ ารในภาคใตแ้ ละภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื : หาดใหญส่ ำ� หรบั ทกุ คน : เมืองร่นุ ใหญใ่ จกวา้ ง, เลา่ เรือ่ งวิทย์ ชิดยา่ นเมอื งสงขลา, Kota Kita : เมอื งของเรา ผู้คนทห่ี ลากหลาย, สื่อสารสร้างสรรค์ : เพอื่ พลงั “พลเมือง” ขยบั (นคร) สกล ปฏบิ ตั กิ ารในภาคเหนอื : มองเมอื งใหมผ่ า่ นเสน้ สาย ลายผา้ ภมู ปิ ญั ญา ปกากะญอ, ศลิ ปะเคลอ่ื นเมอื ง พน้ื ทสี่ รา้ งสขุ วงั ยางอารต์ คอมมนู ติ ,้ี เมอื งเกษตร มีสุข ณ บ้านป่าเหียง จ.น่าน, เมอื งฮ่วมใจ๋ จ.เชยี งราย, เสยี งสาละวนิ : เมือง สร้างสุขบนวิถคี นลุ่มนำ�้ สาละวนิ จ.แม่ฮ่องสอน ปฏบิ ตั ิการในกรงุ เทพและปรมิ ณฑล : Urban Jam นางเล้งิ ร่วมคิด รว่ มออกแบบ รว่ มสรา้ ง รว่ มพฒั นาเมอื ง, Bangkok What’s up : สรา้ งสอ่ื ใหม่ ไทยเจรญิ , รถไฟ รถใคร? : มองความหลากหลายของสงั คมเมอื งสกู่ ารวพิ ากษ์ นโยบายสาธารณะในฐานะพลเมอื ง, รวมธนครง้ั ท่ี 2 เยาวชนพลกิ การพกิ าร, Bangmod Community Creative Dialogue และกจิ กรรมเดนิ เมอื งตลาดพลู โตมร อภิวนั ทนากร วทิ ยากรกระบวนการทม่ี คี วามเชยี่ วชาญใน การฝึกอบรมทักษะ MIDL อธบิ ายชุดสมรรถนะร้เู ทา่ ทนั สอื่ สารสนเทศ และ ดจิ ทิ ลั ทเี่ ชอ่ื มโยงกบั สมรรถนะยอ่ ยและทกั ษะในแตล่ ะขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ การเขา้ ถงึ (access) การวเิ คราะห์ (analyze) การสรา้ งสรรค์ (create) และการลงมอื ทำ� (act) กล่าวคอื ข้นั ตอนการเข้าถงึ ความรู้ เช่อื มโยงกบั สมรรถนะการสืบสอบ ข้อมูล (inquiry) หมายถึง การมีทักษะในการสบื คน้ ได้ข้อมลู หลากหลาย ตรวจสอบขอ้ มลู รอบดา้ น วเิ คราะหม์ มุ มอง นยั ยะ สง่ิ แอบแฝงในเนอื้ หา แปล ความหมายผลกระทบระดบั ตา่ ง ๆ เรยี บเรยี งและสรปุ ขอ้ มลู ขนั้ ตอนการวเิ คราะห์ และการประเมิน สัมพันธ์กับสมรรถนะเรื่องการคิดวิพากษ์และสื่อสาร ความคดิ เหน็ อนั ประกอบดว้ ยทกั ษะในการวเิ คราะหม์ มุ มอง นยั ยะสง่ิ แอบแฝง A5_�����������.indd 9 3/23/2563 BE 4:35 PM
10 เท่าทนั สื่อ : สร้างเมืองด้วยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities ในเน้ือหา แปลความหมายผลกระทบระดบั ต่าง ๆ วิเคราะหเ์ ชงิ บรบิ ททั้ง โครงสรา้ งและวฒั นธรรมสอ่ื สารแสดงความเหน็ อยา่ งใชเ้ หตผุ ลและตงั้ คำ� ถาม เชงิ วพิ ากษไ์ ด้ และในขน้ั ตอนการลงมอื ทำ� เชอื่ มโยงกบั สมรรถนะในการเปน็ ผสู้ รา้ งการเปลย่ี นแปลง ซงึ่ ประกอบดว้ ยทกั ษะตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การทำ� งานรว่ มกบั ผอู้ นื่ การบรหิ ารจดั การ ความยดื หยนุ่ และสรา้ งสรรค์ รวมทง้ั กระบวนการผลติ สอ่ื ภายใตก้ ระบวนการ MIDL ประกอบดว้ ยชดุ สมรรถนะของการสอ่ื สาร ขา้ งตน้ เมอ่ื นำ� มาทำ� ความเขา้ ใจเชอื่ มโยงกบั แนวคดิ Inclusive Cities ผเู้ ขา้ รว่ ม โครงการได้ออกแบบเคร่ืองมือหลากหลายชนดิ ได้แก่ การเดินเมือง การจัด วงสนทนา วงเสวนา การจัดฉายภาพยนตร์ การจัดเวิร์กชอป การคดิ เชิง ออกแบบ (Design Thinking) เพื่อให้กลุ่มเปา้ หมายสามารถเขา้ ถึงขอ้ มูล ขา่ วสาร วิเคราะห์และประเมินสถานการณแ์ ละความเป็นไปตามบริบทของ แต่ละพน้ื ที่ ขณะเดียวกนั ในขน้ั ตอนของการสอ่ื สาร ได้ส่งเสริมใหผ้ เู้ ขา้ ร่วม ฝกึ ทักษะการสอ่ื สารและใชข้ อ้ มูลในการน�ำเสนอแงม่ ุม เช่น การเล่าเร่อื ง (Storytelling) การถ่ายภาพ ละคร นิทรรศการ การท�ำคลปิ วดิ โี อ งานศิลปะ เพอ่ื ใชใ้ นการเผยแพรค่ วามเหน็ มมุ มองทม่ี ตี อ่ ประเดน็ นนั้ ๆ ทงั้ น้ี ตลอดกจิ กรรม แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียช่องทางต่าง ๆ ได้เข้ามามีบทบาทอย่างส�ำคัญ ในการเผยแพรข่ อ้ มลู กลมุ่ เปา้ หมายหลกั ในปฏบิ ตั กิ ารทง้ั 15 โครงการ ไดแ้ ก่ เดก็ และเยาวชนครูและพลเมอื งทส่ี นใจในประเดน็ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลง พืน้ ที่เมอื ง ภายหลังจากท่มี กี ารดำ� เนินกิจกรรมของแตล่ ะโครงการยอ่ ย คณะ ท�ำงานได้มีการแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ อันนำ� มาสลู่ ักษณะรว่ มของ MIDL for Inclusive Cities ทส่ี �ำคญั กล่าวคือ • เปน็ กระบวนการฝกึ ทกั ษะใหเ้ ยาวชนไดเ้ รยี นรจู้ ากสภาพแวดลอ้ ม โรงเรยี นและชมุ ชนทพี่ วกเขาอาศยั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลผา่ นเครอ่ื งมอื ตา่ ง ๆ เชน่ การเดนิ สำ� รวจ การทำ� แผนทเี่ ดนิ ดนิ ตลอดจนพบปะพดู คยุ กบั ผรู้ ใู้ นชมุ ชน A5_�����������.indd 10 3/23/2563 BE 4:35 PM
เทา่ ทันสอ่ื : สรา้ งเมอื งด้วยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 11 • เปน็ กระบวนการเปดิ พน้ื ทใ่ี หก้ บั เสยี งทไี่ มเ่ คยไดร้ บั ฟงั หรอื ไมไ่ ดร้ บั ความสนใจ ตลอดจนความเห็นต่าง และนำ� เสนอแงม่ ุมเหล่านสี้ ูส่ าธารณะ ในรูปแบบต่าง ๆ • เปน็ กระบวนการทเ่ี ออื้ ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มไดม้ องเหน็ คณุ คา่ ใหม่ ๆ ตลอดจน ปรบั เปลย่ี นทศั นคตทิ มี่ ตี อ่ สงิ่ ทคี่ นุ้ เคย เชน่ มมุ มองตอ่ ผพู้ กิ ารในฐานะผอู้ อ่ นแอ ไดถ้ กู แทนทด่ี ว้ ยการคำ� นงึ ถงึ สทิ ธกิ ารเขา้ ถงึ และเคารพในศกั ดศ์ิ รขี องความเปน็ มนษุ ย์ ภายหลงั จากทเี่ ยาวชนมโี อกาสไดพ้ าผพู้ กิ ารเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี วในยา่ น บางมดภายใตก้ จิ กรรมเยาวชนพลกิ การพกิ าร มมุ มองใหมต่ อ่ การใหค้ วามหมาย “ทัศนศึกษา” • เปน็ กระบวนการทเ่ี ปดิ โอกาสใหก้ บั กลมุ่ คนทหี่ ลากหลายเขา้ มารว่ ม และเชอ่ื มโยงกบั ภาคประชาสงั คม การสนบั สนนุ ใหก้ ลมุ่ คนทม่ี คี วามเชยี่ วชาญ หลากหลายเขา้ มารว่ มในกจิ กรรม เชน่ นกั ประวตั ศิ าสตรเ์ ขา้ มารว่ มเดนิ เมอื ง ชา่ งภาพสอนการถา่ ยภาพ การตดั ตอ่ วดิ โี อ • เปน็ กระบวนการทก่ี ระตนุ้ ใหเ้ กดิ จนิ ตนาการรว่ มภายในชมุ ชนและ เมือง และนำ� ไปส่กู ารสร้างพืน้ ท่ีใหม่ ๆ ของชมุ ชน เช่น การตระหนักในเรอ่ื ง แหลง่ อาหารทปี่ ลอดภยั ของชมุ ชนวงั ยาง ซง่ึ เปน็ ชมุ ชนในอำ� เภอเมอื ง จงั หวดั อตุ รดิตถ์ ข้อเสนอของชาวบา้ นย่านนางเลิ้งในเรอื่ งการเรียกรอ้ งให้มีขนส่ง สาธารณะผา่ นชุมชน การใช้เครอ่ื งมอื ต่าง ๆ ในกระบวนการ MIDL for Inclusive Cities จึงเป็นการเปิดพ้ืนที่ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของ สรา้ งความรสู้ ึกรว่ ม และเกดิ การเชื่อมโยงระหว่างกลุม่ คนต่าง ๆ ซ่งึ นับเป็น พนื้ ฐานส�ำคัญของการสร้างเมืองท่ีคำ� นงึ ถงึ ทุกคน งานเขยี นเรอื่ ง “เทา่ ทนั สอ่ื : สรา้ งเมอื งดว้ ยมอื ของทกุ คน - MIDL for Inclusive Cities” เปน็ งานเขยี นทเ่ี รยี บเรยี งขนึ้ จากการลงพน้ื ทแ่ี ละเขา้ รว่ มกจิ กรรม ภายในโครงการ การแลกเปลย่ี นพดู คยุ กบั ผจู้ ดั ทำ� กจิ กรรมและผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม A5_�����������.indd 11 3/23/2563 BE 4:35 PM
12 เท่าทนั ส่ือ : สรา้ งเมอื งดว้ ยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities รวมทง้ั การคน้ ควา้ ประสบการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ในตา่ งประเทศและแนวคดิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กบั เรอื่ งเมอื ง องคป์ ระกอบเนอื้ หาแบง่ ออกเปน็ สองสว่ น สว่ นแรก ไดแ้ ก่ แนวคดิ เกย่ี วกบั สทิ ธทิ จี่ ะอยใู่ นเมอื งและการนบั รวมทกุ คน มมุ มองทห่ี ลากหลายตอ่ สมารท์ ซติ ้ี แนวทางการใชศ้ ลิ ปะกบั พนื้ ทส่ี รา้ งสรรค์ของเมอื ง สว่ นท่ีสอง เปน็ การน�ำเสนอเครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นกระบวนการ MIDL for Inclusive Cities ท่ีมี ตวั อยา่ งประสบการณจ์ ากตา่ งประเทศและตวั อยา่ งกจิ กรรมภายใตโ้ ครงการ ทเ่ี กิดขนึ้ ในประเทศไทย ประกอบด้วยเน้อื หา 8 บท ไดแ้ ก่ บทที่ 1 พลเมอื ง สิทธิทจี่ ะอยใู่ นเมือง และการนบั รวมทุกคน เมอ่ื กลา่ วถึงสิทธทิ ่ีจะอยู่ในเมือง (the Right to the City) และ เมอื งทน่ี ับรวม ทกุ คน (Inclusive Cities) เราก�ำลังคิดถงึ เรอื่ งการเขา้ ถงึ สิทธปิ ระโยชน์และ บรกิ ารตา่ ง ๆ ของผอู้ ยอู่ าศยั หรอื พลงั ทางเศรษฐกจิ ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความเหลอื่ มลำ�้ ทางสังคม หรือเราก�ำลงั พดู ถึงนโยบาย กฎหมาย และสถาบันทีส่ ง่ ผลต่อ ความไมเ่ ปน็ ธรรมกบั กลมุ่ คนตา่ ง ๆ หรอื เรากำ� ลงั ตอ้ งการเขา้ ไปเปน็ สว่ นหนง่ึ ของกระบวนการตดั สนิ ใจตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ราอาศยั อยู่ ในบทแรกนี้จะเป็นการน�ำเสนอแนวคิดและความเคลอ่ื นไหวตา่ ง ๆ เกยี่ วกบั ประเดน็ เหลา่ นี้ บทท่ี 2 MIDL กบั สมาร์ทซติ ้ี ยูเนสโก เสนอคำ� วา่ “MIL Cities” - Media Information Literacy Cities ดว้ ยมุมมองท่วี า่ สมาร์ทซติ ้จี ะคำ้� จนุ ความสมารท์ ได้ ผคู้ นในเมืองนนั้ ตอ้ งได้รบั ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตลอดจนมุมมองตา่ ง ๆ ทีจ่ �ำเปน็ เพื่อจะได้มีแนวทางจดั การกบั เครอื ขา่ ยของ เทคโนโลยีและเครือข่ายทางสังคมที่เปล่ียนแปลงและสลับซับซ้อนมากขึ้น ตลอดเวลา บทนเ้ี ราจะมาพจิ ารณาความเชอื่ มโยงของทกั ษะ MIDL กบั สมารท์ ซติ ้ี ในมมุ มองรฐั -ธรุ กจิ -พลเมอื ง A5_�����������.indd 12 3/23/2563 BE 4:35 PM
เทา่ ทันส่ือ : สร้างเมืองด้วยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 13 บทที่ 3 MIDL ทักษะการเรียนรู้เร่อื งราวด้วยสายตาใหม่ บทน้ี นำ� เสนอปฏบิ ตั กิ าร MIDL for Inclusive Cities ในสองกจิ กรรม ไดแ้ ก่ เยาวชน พลกิ การพิการ และ รถไฟ รถใคร ซ่งึ ช่วยทำ� ใหเ้ ห็นเปน็ รปู ธรรมในการใช้ กระบวนการ MIDL สำ� รวจว่า ผูค้ นกลมุ่ ใดทีไ่ มไ่ ดถ้ ูกนบั รวมในการพัฒนา เมอื งผา่ นกระบวนการ และขน้ั ตอนในการทำ� กจิ กรรมกบั กลมุ่ เดก็ และเยาวชน แนวคดิ ที่มคี วามเป็นนามธรรมอยา่ งอำ� นาจทุน อ�ำนาจรฐั ตลอดจนสิทธิ การเข้าถึงบริการสาธารณะได้ถูกน�ำมาออกแบบผ่านกิจกรรมและเครื่องมือ หลากหลายชนิดเพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้รับประสบการณ์ตรง และเกิดการต้ัง คำ� ถาม วเิ คราะห์ ไตร่ตรอง สะท้อนยอ้ นคิด และส่งผลตอ่ การปรับเปล่ียน ทัศนะและมมุ มองในหลายเร่อื งอย่างที่คาดไม่ถึง บทท่ี 4 Urban Jam นางเลงิ้ การสรา้ งพนื้ ทเ่ี รยี นรขู้ องพลเมอื ง การพฒั นาเมอื งสรา้ งผลกระทบในรปู แบบทีห่ ลากหลาย สโลแกนทีอ่ งคก์ ร ทงั้ ในและระหวา่ งประเทศนยิ มกลา่ วถงึ วา่ “การพฒั นาทไ่ี มท่ ง้ิ ใครไวข้ า้ งหลงั ” จะเปน็ จรงิ ในทางปฏบิ ตั หิ รอื ไม่ ทา่ มกลางพลวตั ของเมอื งทเี่ กดิ ขนึ้ ตลอดเวลา พลเมืองในเมืองน้ันจะสามารถมีบทบาทก�ำหนดชะตากรรมของตนเองและ เมืองได้อย่างไร “ย่านนางเลิ้ง” ชุมชนเก่าแก่แห่งมหานครกรุงเทพที่มี ประวตั ิศาสตร์ยอ้ นหลังนบั ร้อยปี นับเป็นกรณีตัวอยา่ งหนึง่ ที่กระบวนการ เท่าทนั สือ่ ข้อมูลขา่ วสาร และดิจทิ ลั ไดถ้ กู นำ� มาใชเ้ พอ่ื ส่งเสริมใหเ้ ยาวชน และคนรุ่นใหม่เปิดพ้ืนท่ีรับฟังเสียงที่ไม่ถูกได้ยินในการพัฒนาและสะท้อน เรอื่ งราวในแบบท่ีเขาเรียนรู้ A5_�����������.indd 13 3/23/2563 BE 4:35 PM
14 เทา่ ทันสื่อ : สร้างเมืองดว้ ยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities บทที่ 5 Design Thinking เพอื่ หอ้ งเรยี น โรงเรียนและชมุ ชนที่ นบั รวมทกุ คน เราจะมาดปู ระสบการณก์ ารนำ� แนวคดิ และวธิ กี ารของการคดิ เชงิ ออกแบบ หรอื Design Thinking มาประยกุ ตเ์ ขา้ กบั บรบิ ทของการศกึ ษา ระดับโรงเรียน และบรบิ ทของชุมชน โดยเร่ิมต้นท่ี กิจกรรม “รู้เรอ่ื งเมืองเก่า” ทป่ี ตั ตานี ซง่ึ เปน็ กจิ กรรมอบรมครแู ละเรยี นรตู้ วั อยา่ งการนำ� เครอ่ื งมอื นไ้ี ปใช้ ในชมุ ชนและโรงเรยี นทน่ี บั รวมทกุ คนและมตี วั อยา่ งประสบการณใ์ นตา่ งประเทศ ท่ีใช้การคิดเชิงออกแบบเพ่ือหาไอเดียในการพัฒนาชุมชนเมืองของประเทศ เยอรมนี บทที่ 6 เดนิ เมอื ง Walking Conversation-Walkshop “การเดนิ เมอื ง” เปน็ วิธหี รือเคร่ืองมือทช่ี ว่ ยใหเ้ ราทกุ คนได้รจู้ กั เข้าใจ และเทา่ ทัน ตลอดจน มองเหน็ ความสมั พนั ธช์ ดุ ตา่ ง ๆ เรยี นรสู้ งิ่ ทไี่ มเ่ คยเหน็ ตลอดจนใหค้ วามใสใ่ จ ในเมืองและชุมชนทเ่ี ราอาศยั อยู่ เนือ้ หาของบทแนะน�ำแนวคิดการเดนิ เมอื ง แบบพลเมอื งกบั เจน เจคอบส,์ ลกั ษณะการ walkshop เพอ่ื เทา่ ทนั สมารท์ ซติ ,ี้ รูปแบบการเดินเรียนร้รู อบโรงเรยี น, การเดินเมืองผ่านมุมมองเฟมินิสต์ และ ประสบการณจ์ ากกจิ กรรมเดนิ เมอื งในโครงการ MIDL for Inclusive Cites บทท่ี 7 Storytelling เรือ่ งเล่า เลา่ เรือ่ งเปล่ยี นเมอื ง เราจะใช้ เรื่องเล่าเกี่ยวกับเมืองในการสร้างแรงส่ันสะเทือนเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมท่ี เราอยู่ ไมว่ ่าจะเป็นหอ้ งเรียน ที่ท�ำงาน ในชุมชนหรือเมอื งท่เี ราอาศัยอยไู่ ด้ อยา่ งไร ? เร่อื งเล่าแบบไหนทสี่ ามารถสรา้ งความเปลย่ี นแปลงใหเ้ กดิ ขึ้นได้ ? ค�ำถามน้ีน�ำมาสู่การผลักดันกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ ท่ีพยายามจะน�ำเสนอ เร่อื งราวส�ำคัญ ๆ ของเมอื งและในขณะเดียวกันกใ็ ช้หลากหลายทกั ษะเพ่อื ใหเ้ รอื่ งราวของเมอื งเปน็ ทร่ี บั รใู้ นวงกวา้ ง บทนเี้ ราจะมาดกู นั วา่ การเลา่ เรอ่ื ง และเรื่องเล่ารูปแบบต่าง ๆ ได้ถูกน�ำไปใช้ในการเปลี่ยนแปลงชุมชนหรือ เมืองท่ีเราอยอู่ าศัยอย่างไรบา้ ง A5_�����������.indd 14 3/23/2563 BE 4:35 PM
เท่าทันสื่อ : สรา้ งเมอื งดว้ ยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 15 บทท่ี 8 ศลิ ปะกบั พนื้ ทส่ี รา้ งสรรคใ์ นเมอื ง บทนน้ี ำ� เสนอแนวทาง และประสบการณ์ของการใช้ศิลปะเพ่ือการเรียนรู้อันน�ำมาสู่การปรับเปลี่ยน พ้ืนที่และความสมั พันธข์ องผู้คนในเขตเมือง โดยนำ� เสนอผ่านมมุ มองและ ประสบการณข์ องนกั กจิ กรรมทางสังคมในสามพ้นื ทีไ่ ดแ้ ก่ จอรจ์ ทาวน์ เมือง ปนี ัง ประเทศมาเลเซยี ชุมชนวัดดวงแขในเขตกรุงเทพฯ และประสบการณ์ การแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ บั การพฒั นาเมอื งเกา่ แกข่ องประเทศญปี่ นุ่ ในชว่ งทา้ ย จะมีการน�ำเสนอตัวอย่างการใช้ศิลปะเพื่อขับเคล่ือนเมืองท่ีบ้านวังยาง จงั หวดั อุตรดิตถ์ ซึง่ เปน็ หนึง่ ในกิจกรรมภายใตโ้ ครงการ MIDL for Inclusive Cities A5_�����������.indd 15 3/23/2563 BE 4:35 PM
16 เทา่ ทันสอื่ : สรา้ งเมอื งดว้ ยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities A5_�����������.indd 16 3/23/2563 BE 4:35 PM
เท่าทันสื่อ : สร้างเมืองด้วยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 17 บทท่ี 1 พลเมอื ง สิทธิท่ีจะอย่ใู นเมือง และการนบั รวมทุกคน สทิ ธทิ ี่จะอยใู่ นเมอื ง ไมใ่ ช่แค่การนบั รวมผูค้ นเขา้ ไป ในระบบที่มีการเอาเปรียบและไม่เทา่ เทียม เชิงโครงสรา้ ง แตเ่ ป็นเรือ่ งท่ตี อ้ งท�ำให้เมืองและ กระบวนการตดั สินใจตา่ ง ๆ ของเมืองมีความเป็น ประชาธิปไตย ทัง้ นี้ ผู้อาศัยในเมอื งทกุ คนมสี ทิ ธิ ใชป้ ระโยชน์และบริการตา่ ง ๆ มสี ิทธิในท่ีอยู่อาศัย มีสว่ นโดยตรงในการจดั การเก่ยี วกับเมือง สทิ ธิในการมสี ่วนร่วม และยงั รวมถงึ สิทธอิ ่นื ๆ ท่เี กย่ี วข้อง A5_�����������.indd 17 3/23/2563 BE 4:35 PM
18 เท่าทันส่อื : สรา้ งเมืองด้วยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities “ ...อยา่ เขา้ ใจเมอื งในฐานะวตั ถุ ใหเ้ ขา้ ใจในฐานะความสมั พนั ธ์ นอกจากใช้ สายตาและหวั แลว้ ต้องใช้หัวใจดว้ ย ไม่ใช่วาดเมอื งมาสวย แต่ไมค่ ิดวา่ ท�ำอย่างนี้แลว้ เราโดนบ้างจะเป็นอย่างไร ทุกคนที่อยู่รอบตัวสัมพันธ์ กบั เรา หาบเรแ่ ผงลอยไมใ่ ชไ่ ลอ่ ยา่ งเดยี ว ตอ้ งจดั ทใ่ี หเ้ ขา ใชใ้ จคดิ หนอ่ ย...2 เจา้ ของคำ� กลา่ วขา้ งตน้ คอื พชิ ญ์ พงษส์ วสั ด์ิ นกั วชิ าการดา้ นรฐั ศาสตร์ ทศี่ กึ ษาเรอื่ งเมอื งมายาวนาน คำ� อธบิ ายของเขาชว่ ยตง้ั คำ� ถามในเรอ่ื งการเคารพ สทิ ธิและความหลากหลายของการอยู่รว่ มกนั ในเมอื งของกลมุ่ คนตา่ ง ๆ ได้ อย่างชัดเจน ในช่วงหลายปีหลังมาน้ี มีนโยบายการปรับปรงุ เมอื งทก่ี ระทบต่อวิถี ชีวติ ผคู้ น ไม่วา่ จะเป็นการจดั การกับหาบเร่แผงลอยในนามของความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยของผู้เดินถนน การไล่รื้อชุมชน ทา่ มกลางกระแสการทอ่ งเทยี่ วแบบโหยหาอดตี 3 การปดิ ชมุ ชนเกา่ แกเ่ พอ่ื เปลย่ี น เปน็ สวนสาธารณะ4 การตอ่ สเู้ พอื่ ทอ่ี ยอู่ าศยั ของคนจนเมอื ง5 ฯลฯ เราในฐานะ พลเมืองรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสารในเรื่องราวเหลา่ นี้ ตลอดจนความเปน็ ไปอื่น ๆ ท่ี เกยี่ วข้องกบั เมอื งหรอื ชุมชนท่ีเราอาศัยอยอู่ ย่างไร?และเสียงแยง้ ตา่ งๆของ ผคู้ นทอ่ี าศยั ในเมอื งเหลา่ นไ้ี ดร้ บั การรบั ฟงั มากนอ้ ยเพยี งใด ? ในบทนเ้ี ราจะมา ท�ำความเข้าใจความเช่ือมโยงระหว่างความเป็นพลเมืองกับแนวคิดว่าด้วย สิทธทิ จี่ ะอยู่ในเมือง และแนวคิดเรอ่ื งการนบั รวมทุกคน 2 https://www.the101.world/pitch-interview/ 3 http://lek-prapai.org/home/view.php?id=872 4 https://prachatai.com/journal/2019/04/82216 5 https://www.citizenthaipbs.net/node/22008 A5_�����������.indd 18 3/23/2563 BE 4:35 PM
เท่าทันส่อื : สรา้ งเมอื งดว้ ยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 19 พลเมือง กับ สทิ ธิทจ่ี ะอยใู่ นเมือง ความเหลือ่ มล�้ำท่ขี ยายไปยงั ภูมิภาคตา่ ง ๆ ทว่ั โลก กอ่ ใหเ้ กิด ความ เคลื่อนไหวของผคู้ นท่ตี ่อสู้เพอื่ เรียกร้องความยตุ ิธรรมทางสังคม ตลอดจน สทิ ธใิ นการเขา้ ถึงดา้ นต่าง ๆ แนวคิดเรอ่ื งสิทธิที่จะอย่ใู นเมือง6 (the Right to the City) ซง่ึ เสนอโดย Henri Lefebvre นักปรัชญาและนักสังคมวทิ ยา ชาวฝรง่ั เศส ผศู้ กึ ษาคน้ ควา้ เรอ่ื งการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมในบรบิ ทของเมอื ง แนวคิดของเขาได้รับการอ้างอิงอย่างกว้างขวางอีกคร้ังในช่วงระยะหลัง โดยเฉพาะภายใตส้ ถานการณท์ ก่ี ระแสการพฒั นาเมอื งลม้ เหลวในการจดั การ กับปัญหาความยากจนในเมอื งและการกดี กันทางสังคม (social exclusion) ซงึ่ เปน็ ปรากฏการณท์ พ่ี บเหน็ ไดท้ กุ เมอื งใหญ่ ขณะทต่ี วั เลขของสหประชาชาต7ิ ระบวุ า่ มากกวา่ ครง่ึ หนง่ึ ของประชากรโลก อาศยั อยใู่ นเมอื งใหญแ่ ละมแี นวโนม้ เพ่มิ ขนึ้ สองในสามเท่ากอ่ นปี พ.ศ.2593 แนวคดิ เรอ่ื ง “สิทธิที่จะอยใู่ นเมือง” ท่เี ลอแฟบรน์ �ำเสนอน้นั ปรากฏ คร้งั แรกในชว่ ง ปีพ.ศ.2511 ซงึ่ เชอื่ มโยงกบั ความเคลอ่ื นไหวของนักศึกษา ในฝร่ังเศสเวลานั้น สิ่งที่เขาให้ความส�ำคัญภายใต้แนวคิดนี้คือผลกระทบ อนั เกิดจากทุนนิยมท่ีมตี ่อ “เมอื ง” (city) ผลกระทบทว่ี ่านัน้ ไดท้ ำ� ให้ชีวติ เมือง (urban life) ถูกลดระดับลงเป็นสนิ ค้า การปฏสิ มั พันธ์ทางสังคม (social interaction) ถกู ถอนรากลงไปเรื่อย ๆ ขณะที่พื้นท่ีเมอื งและระบบการจัดการ กลบั กลายไปเปน็ สนิ คา้ ผกู ขาด (exclusive goods) เลอแฟบรม์ องวา่ พลเมอื ง เปน็ ตวั เอกพน้ื ฐานหลกั ทสี่ ำ� คญั ของเมอื งในการเปลยี่ นพนื้ ทเ่ี มอื งไปสู่ “จดุ นดั พบเพื่อสรา้ งชีวิตส่วนรวม” (a meeting point for building collective life)8 6 พชิ ญ์ พงษส์ วสั ดิ์ ไดน้ ยิ าม the Right to the City วา่ สทิ ธทิ จ่ี ะมอี ำ� นาจกำ� หนดชวี ติ และความเปลย่ี นแปลง ของเมอื ง สนใจดรู ายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ไดท้ ี่ https://www.matichon.co.th/columnists/news_1738940 7 http://habitat3.org/wp-content/uploads/Habitat%20III%20Policy%20Paper%201.pdf 8 https://en.wikipedia.org/wiki/Right_to_the_city A5_�����������.indd 19 3/23/2563 BE 4:35 PM
20 เทา่ ทนั ส่อื : สรา้ งเมืองด้วยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities สำ� หรบั เลอแฟบร์ เขาเหน็ วา่ คำ� วา่ the city และ the urban นนั้ มคี วามแตกตา่ ง กนั กลา่ วคอื the city ไมไ่ ดผ้ ลติ สรา้ ง และไมไ่ ดป้ กปอ้ งความผกู พนั ทางสงั คม (social engagement) หนำ� ซำ�้ ยงั บดขย้ีความเป็น urban ดว้ ย แตก่ ระนัน้ เขากม็ องวา่ ความเปน็ the city นน้ั เปรยี บเสมอื นดนิ ทเ่ี หมาะแกก่ ารเพาะปลกู the urban ไดอ้ ยา่ งดี เนอ่ื งจากการเขา้ ถงึ (access to) และการใชพ้ น้ื ทขี่ อง เมือง (the space of the city) เป็นพ้นื ฐานส�ำคัญในการสร้างความนึกคดิ การกอ่ ใหเ้ กดิ ตลอดจนการเขา้ ถงึ เป้าหมายของสงั คมเมอื งท่แี ทจ้ รงิ (a truly urban society) ทวา่ เลอแฟบรไ์ ม่ได้หมายความว่า สทิ ธิทจี่ ะอยใู่ นเมอื งคอื การเพ่ิมความสามารถเข้าถึงและเข้าควบคุมเมืองแห่งทุนนิยมของผู้คนที่ อยใู่ นเมอื ง ในทางตรงขา้ ม สทิ ธทิ จี่ ะอยใู่ นเมอื งเปน็ การเคลอ่ื นไหวทเ่ี พาะพนั ธ์ุ ความเปน็ เมอื ง (the urban) ใหเ้ กดิ เตบิ โตและกระจายกวา้ งไปไกลกวา่ เมอื ง ทก่ี ำ� ลังด�ำรงอยู่ (the existing city) เน่ืองจากเขามองว่า “the urban” ไมใ่ ช่ เรอ่ื งของกระบวนการกลายเปน็ เมอื ง แตเ่ ปน็ เรอ่ื งของสงั คมหนงึ่ ๆ ทมี่ คี ณุ ลกั ษณะ ซึ่งให้ความส�ำคัญกับความสัมพันธ์ทางสังคมของเครือข่าย โดยค�ำนึงถึง การมีสว่ นรว่ ม (engagement) อย่างมคี วามหมายของผู้ทีอ่ ย่อู าศัย ดว้ ย เหตุนี้เองหลายคนอาจมองว่าแนวคิดของเลอแฟบร์เป็นเร่ืองอยู่ในอุดมคติ มากกวา่ จะท�ำไดจ้ รงิ 9 นอกเหนือจากเลอแฟบร์ นักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ที่น�ำเสนอ แนวคิดเรอื่ ง the Right to the City ได้แก่ เดวดิ ฮาร์วีย่ ์ (David Harvey)10 เขาเสนอวา่ สทิ ธทิ จ่ี ะอยใู่ นเมอื ง ไมใ่ ชเ่ ปน็ เพยี งแตส่ ทิ ธใิ นการเขา้ ถงึ ทรพั ยากร เมอื ง หรอื สง่ิ ทอ่ี ยู่ในเมืองเท่าน้นั แตเ่ ปน็ สทิ ธ์ิท่จี ะเปล่ยี นสงิ่ ตา่ ง ๆ น้ันตามท่ี ใจปรารถนาหรือสิทธิ์ท่ีจะเปล่ียนแปลงตนเองด้วยการเปลี่ยนแปลงเมือง ดว้ ยเหตทุ ว่ี า่ เรานนั้ ตอ้ งการความแนใ่ จวา่ เราจะไดอ้ าศยั อยใู่ นทที่ เี่ ราไดส้ รา้ ง มันขนึ้ มาเอง ภายใต้สภาพการณ์ทร่ี ะบบทุนนิยมมีไม่เพียงเปลี่ยนโครงสร้าง พ้นื ฐานของเมืองแตไ่ ด้สร้างวิถชี ีวิตเมอื งแบบใหมท่ ง้ั หมด ตลอดจนรูปแบบ 9 http://faculty.washington.edu/mpurcell/jua_rtc.pdf 10 https://www.tci-thaijo.org/index.php/jars/article/download/168584/121305/ A5_�����������.indd 20 3/23/2563 BE 4:35 PM
เทา่ ทันสื่อ : สร้างเมอื งด้วยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 21 พลเมืองไม่ได้เปน็ เพียงผู้รบั บริการจากสาธารณูปโภคในเมอื งเท่านั้น แตค่ วรมีสิทธิในการควบคมุ กระบวนการกลายเป็นเมอื ง ทีม่ าภาพ : https://theurbanis.com/insight/2019/11/26/2204/ วถิ ชี วี ติ ของผคู้ นทอ่ี าศยั ในเมอื ง การขยายตวั ของการกลายเปน็ เมอื งในระดบั โลก ทพี่ ง่ึ พาสถาบนั ทางการเงนิ แบบใหมแ่ ละการทำ� งานของตลาดเงนิ ทเ่ี ชอ่ื มโยง กบั กระบวนการของการกลายเป็นเมอื ง การขยายตัวอยา่ งถอนรากถอนโคน ได้เปล่ียนแปลงไลฟ์สไตล์อย่างที่นึกไม่ถึงมาก่อน คุณภาพของชีวิตเมือง กลายมาเป็นสนิ ค้า บริโภคนยิ ม การท่องเท่ยี ว อุตสาหกรรมทีใ่ ชฐ้ านความรู้ และวฒั นธรรม กลายเปน็ ลกั ษณะสำ� คญั ของเศรษฐกจิ และการเมอื งของเมอื ง ชว่ งหลายทศวรรษท่ีผา่ นมา เสรนี ิยมใหม่ไดส้ ร้างความเขม้ แข็งให้กบั พลังของ ชนชนั้ สงู ทรี่ �ำ่ รวย ขณะทใ่ี นโลกกำ� ลังพัฒนา เมอื งเป็นส่วนทแ่ี ยกแตกตา่ ง มกี ารกอ่ รปู ของ “รฐั แบบจลุ ภาค” มากมาย ชมุ ชนมงั่ คง่ั รำ�่ รวยมบี รกิ ารเฉพาะ ทกุ ประเภท ตงั้ แตโ่ รงเรยี นแบบเอก็ ซค์ ลซู ฟี สนามกอลฟ์ คอรท์ เทนนสิ ตำ� รวจ เอกชนดูแลความปลอดภัย ในอีกฝงั่ หนงึ่ ของเหรียญเดียวกนั กลับมีชมุ ชน ทต่ี งั้ ถน่ิ ฐานแบบผดิ กฎหมาย ผคู้ นตอ้ งใชน้ ำ้� รวม ไมม่ รี ะบบสขุ อนามยั ไฟฟา้ มีใช้เฉพาะคนส่วนน้อยที่มีอภิสิทธ์ิ ถนนลูกรังและติดหล่มทุกคร้ังท่ีฝนตก การใช้บ้านพกั ร่วมกนั เปน็ ชีวติ ปกติ ภายใต้เง่ือนไขของชีวิตเมืองท่ีแตกต่างอย่างชัดเจนเช่นน้ี ส�ำนึก วา่ ด้วยอัตลกั ษณ์ ความเปน็ พลเมือง และความเป็นเจ้าของ ได้ถกู จรยิ ธรรม ของเสรีนิยมใหม่ท่ีแพร่กระจายคุกคามจนกระทั่งคุณลักษณะเหล่านี้ด�ำรง A5_�����������.indd 21 3/23/2563 BE 4:35 PM
22 เท่าทนั สอื่ : สรา้ งเมืองด้วยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities อยู่ต่อไปได้อยา่ งยากเยน็ ฮารว์ เี่ สนอวา่ หนทางในการด้นิ รนต่อสูจ้ ึงอยู่ท่ี การให้ความส�ำคัญกับ “สิทธิที่จะอยู่ในเมือง” ในฐานะท่ีเป็นค�ำขวัญใน การท�ำงานและเปน็ อุดมคตทิ างการเมอื ง เพราะแนวคดิ นมี้ ุง่ เน้นไปทค่ี นซึง่ มี อ�ำนาจในการใช้และการผลิตส่วนเกินมาช้านานภายใต้กระบวนการกลาย เปน็ เมอื ง ดงั นนั้ เขาจงึ เหน็ วา่ การรว่ มกนั ทำ� ใหส้ ทิ ธทิ จี่ ะอยใู่ นเมอื งมคี วามเปน็ ประชาธปิ ไตยและการสรา้ งการเคลอ่ื นไหวทางสงั คมเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามเจตนารมย์ จงึ เปน็ สิง่ ส�ำคัญ เพือ่ ให้อำ� นาจการควบคุมกลับคนื มาสู่มอื ของผคู้ นท่ีเคยโดน กดี กนั ออกไป และตลอดจนกอ่ เกิดวถิ ใี หม่ ๆ ในการควบคุมทุนสว่ นเกนิ ผา่ น กระบวนการกลายเปน็ เมอื ง11 ภายใตค้ วามหมายขา้ งตน้ สทิ ธทิ จ่ี ะอยใู่ นเมอื ง จงึ ไมใ่ ชแ่ คก่ ารนบั รวม ผคู้ นเข้าไปในระบบที่มีการเอาเปรยี บและไม่เทา่ เทยี มเชงิ โครงสรา้ ง แตเ่ ป็น เรื่องท่ตี อ้ งทำ� ใหเ้ มอื งและกระบวนการตดั สนิ ใจต่าง ๆ ของเมอื งมคี วามเป็น ประชาธปิ ไตย ทงั้ นี้ ผอู้ าศยั ในเมอื งทกุ คนมสี ทิ ธใิ ชป้ ระโยชนแ์ ละบรกิ ารตา่ ง ๆ มีสิทธิในท่ีอยู่อาศยั มีส่วนโดยตรงในการจดั การเกี่ยวกับเมือง สิทธใิ นการมี สว่ นรว่ ม และยงั รวมถงึ สทิ ธอิ น่ื ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่ สทิ ธใิ นการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสาร สทิ ธใิ นการแสดงออก สทิ ธใิ นวฒั นธรรม สทิ ธใิ นอตั ลกั ษณท์ แ่ี ตกตา่ ง และเทา่ เทยี ม สทิ ธใิ นการจดั การตนเอง สทิ ธใิ นการเคลอื่ นยา้ ยอยา่ งเสรี สทิ ธิ ในการใช้พื้นท่ีสาธารณะและปกป้องพื้นที่ส่วนรวมจากการเป็นเจ้าของโดย เอกชน สิทธใิ นการพบปะ รวมกลุ่ม สทิ ธิในการมีตัวแทนทางการเมอื งและ การลงคะแนน สทิ ธขิ องผอู้ ยอู่ าศยั ทมี่ สี ว่ นรว่ มสรา้ งพนื้ ทเ่ี มอื ง (the production of urban space) สิทธใิ นการควบคุมกระบวนการกลายเปน็ เมอื งและริเริ่ม วถิ ใี หม่ ๆ พลเมอื งในเมอื งจงึ ไมไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งแคผ่ รู้ บั บรกิ ารจากการปฏบิ ตั งิ าน ด้านบริการและระบบการปกครองแบบพ่อดูแลลูกที่ผู้บริหารเมืองหรือตลาด เปน็ ผวู้ างกตกิ าและดำ� เนนิ การ ดงั นน้ั สทิ ธทิ จ่ี ะอยใู่ นเมอื งจงึ เปน็ สง่ิ ทที่ า้ ทาย 11 https://davidharvey.org/media/righttothecity.pdf A5_�����������.indd 22 3/23/2563 BE 4:35 PM
เท่าทนั ส่ือ : สรา้ งเมืองด้วยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 23 ต่อความไม่เป็นธรรมและความเหล่ือมล�้ำของเสรีนิยมใหม่และทุนนิยมแบบ เมอื งโดยตรง12 สทิ ธิที่จะอย่ใู นเมือง ในมมุ มองของ UN แนวคิดเรื่อง สทิ ธทิ ี่จะอยูใ่ นเมอื ง ได้รับการขานรบั จากหนว่ ยงาน ดา้ นทอ่ี ยอู่ าศยั และการพฒั นาเมอื งอยา่ งยง่ั ยนื ขององคก์ ารสหประชาชาต-ิ UN Habitat และไดม้ กี ารจดั ทำ� เอกสารเผยแพรเ่ มอ่ื ปี พ.ศ.255913 โดยมนี ยิ ามวา่ เปน็ สทิ ธขิ องผอู้ าศยั ในปจั จบุ นั และอนาคตทจ่ี ะครอบครอง ใช้ และสรา้ งเมอื ง ทม่ี คี วามยง่ั ยนื มคี วามเปน็ ธรรม และนบั รวมทกุ คน (justice, inclusive and sustainable cities) แมว้ ่าแนวคิดดงั กล่าวจะใชค้ �ำว่า city แตค่ วามหมาย มคี วามครอบคลมุ การบริหารจัดการองค์กรในทุกระดบั ตั้งแตร่ ะดับมหานคร (metropolis) เมอื งใหญ่ (city) เทศบาลเมอื ง (town) ตลอดจนหมบู่ า้ นหรอื ตำ� บล องค์ประกอบของเมืองท่ีคำ� นึงถึงแนวคดิ สทิ ธิทจ่ี ะอยู่ในเมือง มดี งั นี้ 1. เมอื งทีป่ ลอดจากการเลอื กปฏิบตั ิทางเพศสภาพ อายุ สถานภาพ ดา้ นสขุ ภาพ รายได้ เชอ้ื ชาติ ชาตพิ นั ธ์ุ เงอ่ื นไขการอพยพหรอื การเมอื ง ศาสนา และเร่ืองทางเพศ 2. เมืองที่นับรวมความเปน็ พลเมอื งทกุ กลมุ่ ไดแ้ ก่ ผูอ้ าศัยในเมือง ไมว่ ่าถาวรหรือช่วั คราวลว้ นไดร้ ับการพิจารณาในฐานะทเ่ี ปน็ พลเมอื ง และ ไดร้ ับสิทธอิ ย่างเท่าเทียมกัน เชน่ ผหู้ ญงิ คนทีม่ ีความเปน็ อยยู่ ากจน หรือตก อยใู่ นสถานการณท์ ี่มีความเสีย่ งดา้ นส่ิงแวดล้อม แรงงานนอกระบบ กลมุ่ ศาสนาและชาตพิ ันธ์ุ กลุ่ม LGBT กล่มุ คนทีม่ ีความสามารถแตกต่าง เด็ก เยาวชน ผสู้ งู อายุ ผอู้ พยพ ผลู้ ภี้ ยั ผอู้ าศยั ตามถนน เหยอ่ื ความรนุ แรง ตลอดจน คนพ้นื เมือง 12 https://www.researchgate.net/publication/328397574_Citizenship_Justice_and_the_Right _to_the_Smart_City 13 http://habitat3.org/wp-content/uploads/Habitat%20III%20Policy%20Paper%201.pdf A5_�����������.indd 23 3/23/2563 BE 4:35 PM
24 เทา่ ทันสอ่ื : สรา้ งเมืองดว้ ยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 3. เมืองท่ีมกี ารปรับปรงุ การมีสว่ นรว่ มทางการเมือง ในเรอ่ื งนโยบาย ดา้ นตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การนำ� ไปใชใ้ หเ้ กดิ ผล การตดิ ตามประเมนิ ผล การจดั สรร เรอ่ื งงบประมาณ ตลอดจนการวางแผนพนื้ ทเี่ พอ่ื สรา้ งความโปรง่ ใส ประสทิ ธภิ าพ และครอบคลมุ ความหลากหลายของผ้อู ย่อู าศยั และองค์กรของพวกเขา 4. เมอื งทเ่ี ตมิ เตม็ หนา้ ทที่ างสงั คม เชน่ การสรา้ งหลกั ประกนั การเขา้ ถงึ บริการต่าง ๆ อย่างเป็นธรรม เชน่ ทพ่ี ัก สนิ คา้ บริการ และโอกาสตา่ ง ๆ โดยเฉพาะการเขา้ ถงึ ของผหู้ ญงิ และกลมุ่ คนชายขอบ เมอื งทใี่ หค้ วามสำ� คญั กับประโยชนส์ าธารณะท่เี ปน็ เร่ืองส่วนรวม คำ� นึงถงึ ความเปน็ ธรรมทางสงั คม และการใชพ้ ้ืนทีเ่ มอื งและชนบทอย่างสมดลุ ต่อสิ่งแวดลอ้ ม 5. เมอื งทม่ี พี น้ื ทส่ี าธารณะทม่ี คี ณุ ภาพ ชว่ ยสรา้ งปฏสิ มั พนั ธท์ างสงั คม และการมีส่วนร่วมทางการเมือง สนับสนุนการแสดงออกทางสังคมและ วฒั นธรรมและรวมความหลากหลาย ตลอดจนสนบั สนนุ การประสานรว่ มมอื ทางสังคม ทั้งนี้ พื้นท่ีสาธารณะยังเอ้ือต่อการสร้างเมืองท่ีปลอดภัยและ ตอบสนองต่อความต้องการของผู้อยู่อาศัย 6. เมืองท่ีมีความเท่าเทียมในเรื่องเพศสภาพ มีมาตรการในเร่ือง การเลอื กปฏบิ ตั ทิ กุ รปู แบบตอ่ สตรีบรุ ษุ ตลอดจนLGBTในมติ ทิ างการเมอื งสงั คม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม มีมาตรการท่ีเหมาะสมเพื่อสร้างหลักประกัน ในการพัฒนาและรับรองความเป็นธรรมท่ีมีต่อผู้หญิงบนพ้ืนฐานของสิทธิ มนษุ ยชนและมชี วี ิตทปี่ ลอดจากความรนุ แรง 7. เมืองทีม่ คี วามหลากหลายทางวฒั นธรรม เคารพ คมุ้ ครองและ สนบั สนนุ วถิ ีชวี ิต ธรรมเนยี มปฏิบัติ ความทรงจำ� อัตลกั ษณ์ การแสดงออก รูปแบบทางสงั คมวัฒนธรรมของผู้อยอู่ าศัย 8. เมอื งทีม่ ีเศรษฐกจิ แบบนับรวม (Inclusive Economies) โดยรบั ประกันการเข้าถึงการด�ำเนินชีวิตที่ม่ันคงและมีการงานท่ีเหมาะสมส�ำหรับ คนทุกคน ตลอดจนเปดิ พ้นื ทใี่ ห้กับเศรษฐกิจรูปแบบอื่น ๆ เชน่ เศรษฐกิจ แบบสมานฉนั ทไ์ มไ่ ดม้ งุ่ หาผลกำ� ไรเปน็ สำ� คญั (Solidarity Economy) เศรษฐกจิ A5_�����������.indd 24 3/23/2563 BE 4:35 PM
เท่าทนั ส่ือ : สรา้ งเมืองดว้ ยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 25 แบบแบ่งปัน (Sharing Economy) เศรษฐกิจแบบหมุนเวียน (Circular Economy) ตลอดจนยอมรับบทบาทของผู้หญิงในเศรษฐกิจทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับ งานดูแล (Care Economy) 9. เมอื งทมี่ รี ะบบการตงั้ ถนิ่ ฐานและระบบนเิ วศนท์ เ่ี คารพตอ่ ความสมั พนั ธ์ ระหว่างเมืองและชนบท ปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพและสงิ่ มชี วี ติ ทอ่ี าศยั อยตู่ ามธรรมชาตแิ ละระบบนเิ วศนโ์ ดยรอบ สนบั สนนุ การดำ� รงอยู่ของ ความเช่ือมต่อที่ค�ำนึงถึงความต่อเน่ืองในการเคล่ือนย้ายของผู้คนในพื้นท่ี ต่าง ๆ ของเมืองและรอบนอก เมอื งทน่ี บั รวมทกุ คน (Inclusive Cities) นอกเหนือจากแนวคดิ เรอ่ื งสิทธิทีจ่ ะอยูใ่ นเมอื ง ซง่ึ มีพื้นฐานท่ีวางอยู่ บนหลกั การสทิ ธมิ นษุ ยชนแลว้ ยงั มแี นวคดิ วา่ ดว้ ยการพฒั นาเมอื งทนี่ บั รวม ทิศทางการพัฒนาเมืองจำ� เปน็ ต้องเปิดพื้นทีใ่ นการสง่ เสยี งให้กับคนทุกกลุ่ม ทม่ี าภาพ : สสย. A5_�����������.indd 25 3/23/2563 BE 4:35 PM
26 เท่าทันส่อื : สรา้ งเมอื งดว้ ยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities ทกุ คน (Inclusive Urban Development) ซง่ึ เริ่มมกี ล่าวถงึ อยา่ งแพร่หลาย มากข้ึน ท่ีมาของแนวคิดน้ีมีพัฒนาการที่เช่ือมโยงกับการพัฒนาท่ีมุ่งเน้น การเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยเหน็ วา่ ทิศทางของเมืองจ�ำเป็นต้องเปิดพน้ื ท่ี ในการส่งเสียงของกลุ่มคนยากจนในเมืองเข้ามามีส่วนในการพัฒนาแทนท่ี จะมุ่งเน้นการเตบิ โตแตเ่ พยี งอย่างเดียว14 ล่าสุดเมอ่ื ปี พ.ศ.2560 ธนาคาร เพื่อการพฒั นาแห่งเอเชยี หรือเอดีบี ซ่ึงเป็นสถาบันการเงินที่มีบทบาทใน การใหเ้ งนิ กู้และเงนิ ลงทุน ตลอดจนช่วยเหลอื ทางเทคนคิ ในโครงการพัฒนา ขนาดใหญจ่ ำ� นวนมากและเปน็ หนว่ ยงานทมี่ ผี วู้ จิ ารณว์ า่ มงุ่ เนน้ แตก่ ารเตบิ โต ทางเศรษฐกจิ แต่ไมค่ ำ� นงึ ถึงความเสียหายดา้ นสงั คมและส่ิงแวดล้อม เอดีบี ได้ออกคมู่ อื เพอื่ ให้พันธมติ รและสมาชิกท่ีเกยี่ วข้องมเี ครอื่ งมือในการพัฒนา ทคี่ ำ� นงึ ถงึ ทกุ คนในขนั้ ตอนตา่ ง ๆ นบั ตงั้ แตก่ ารทำ� ความเขา้ ใจบรบิ ทของเมอื ง การบง่ ชีถ้ งึ ล�ำดบั ความส�ำคัญ การพัฒนาโครงการ และโปรแกรม ในเอกสารฉบับนี้นิยามความหมายของ “เมืองท่ีนับรวมทุกคน” (Inclusive Cities)15 หมายถึง เมืองทมี่ คี วามปลอดภยั และมีสภาพแวดลอ้ ม ท่ีเหมาะแก่การอยอู่ าศยั อนั หมายถึงสภาพทีผ่ คู้ นสามารถเขา้ ถึงบริการทาง สังคม (ด้านสุขภาวะ การศกึ ษา วัฒนธรรม พืน้ ที่สาธารณะ) บรกิ ารของเมอื ง (การเข้าถงึ น้�ำ การจัดการขยะของเสยี การส่งเสรมิ สขุ อนามยั ทอ่ี ยู่อาศัย การคมนาคม) ความเป็นอยู่ การครองชพี ทีเ่ ออ้ื ให้กบั ผอู้ ยอู่ าศยั และผู้เขา้ มา ใชเ้ มอื งทกุ คนเพอ่ื สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยอ์ ยา่ งเหมาะสม ทส่ี ดุ ตลอดจนสรา้ งความมนั่ ใจในเรอื่ งการเคารพศกั ดศิ์ รขี องความเปน็ มนษุ ย์ และความเสมอภาค ในมุมมองของเอดีบี เสนอว่า การสร้างเมืองที่นับรวมทุกคนมี องคป์ ระกอบทตี่ อ้ งคำ� นงึ ถงึ 8 เรอื่ งดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ (1) วสิ ยั ทศั นเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ รว่ มของผ้มู ีส่วนไดเ้ สยี (ประกอบด้วย รฐั บาล ชมุ ชน ภาคประชาสงั คมและ 14 http://www.happysociety.org/uploads/HsoDownload/33/download_file.pdf 15 https://www.adb.org/documents/enabling-inclusive-cities 7/23/2019 A5_�����������.indd 26 3/23/2563 BE 4:35 PM
เทา่ ทันสื่อ : สร้างเมอื งดว้ ยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 27 ภาคเอกชน) ผา่ นการวางแผนอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม กระบวนการตดั สนิ ใจทผี่ สมผสาน กบั อารยสถาปตั ย์ (universal design) การวางแผนเมอื ง กลไกทมี่ คี วามรบั ผดิ ชอบ โปรง่ ใส การใช้ทรพั ยส์ นิ ทมี่ ใี นเมืองนน้ั ๆ (2) การแบง่ ปันข้อมลู และความรู้ (3) การมสี ว่ นรว่ มตอ่ สว่ นรวมและการชว่ ยเหลอื (4) กลไกตา่ ง ๆ เชน่ การสนบั สนนุ ทางการเงนิ การคมุ้ ครองทางสงั คม (ประกอบดว้ ยระบบตา่ ง ๆ ทสี่ นบั สนนุ สทิ ธิ ของเดก็ เยาวชน ผูห้ ญิง ผสู้ ูงอายุ และกล่มุ ชาติพนั ธ์ุ ความสมดุลระหวา่ ง เพศสภาพ เพื่อเป็นหลักประกันในเรื่องมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอ ทงั้ ตอ่ กลมุ่ คนทเ่ี ปราะบางและถกู เอาเปรยี บทางเศรษฐกจิ (5) การเลอ่ื นชนชนั้ ทางสงั คมและการเคล่ือนยา้ ยทางกายภาพ (6) สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและ บริการทางการเงินท่ีเอ้ือแก่คนจนเพื่อให้ทุกคนมีโอกาสด�ำเนินการในกิจกรรม ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ (7) ความสามารถในการฟื้นตัวจากการคุกคามทาง เศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมโลก (8) กลไกท่ีเอ้ือให้เกิดการใช้ทรัพยากร อย่างย่ังยืน กรอบความคดิ วา่ ดว้ ยเมอื งทนี่ บั รวมทกุ คนในมติ ขิ องการพฒั นาเสนอวา่ ผมู้ อี ำ� นาจตดั สนิ ใจเชงิ นโยบายและเจา้ หนา้ ทบ่ี รหิ ารโครงการตอ้ งมคี วามเขา้ ใจ ลกั ษณะทเี่ ชอ่ื มโยงกนั ของการพฒั นาเมอื งในระหวา่ งทลี่ งมอื ทำ� โครงการตา่ ง ๆ เพือ่ สรา้ งเมอื งส�ำหรบั ทกุ คน ทำ� ใหก้ ารสรา้ งเมืองต้องใชแ้ นวทางบรู ณาการ และความรว่ มมือจากหลายภาคส่วน เนอื่ งจากผลกระทบของนโยบายหรอื โครงการหนง่ึ ๆ กอ่ ใหเ้ กดิ แรงกระทบตอ่ ภาคสว่ นอน่ื ๆ โดยเฉพาะคนจนในเมอื ง ยกตวั อย่างเช่น การออกแบบระบบขนสง่ มวลชนท่ชี ่วยในการย่นระยะเวลา การเดินทางเข้ามายังศูนย์กลางของเมืองเป็นโครงการที่เป็นประโยชน์ส�ำหรับ พลเมอื งทุกคน แต่โครงการนท้ี ำ� ให้ราคาและคา่ เชา่ ที่ดนิ ทเ่ี พ่มิ สูงลิบตลอด เส้นทาง ส่งผลให้คนจนเมืองถูกขับออกจากพ้ืนที่ที่เคยอยู่อาศัย เอดีบี เสนอวา่ การพฒั นาเมอื งทค่ี ำ� นงึ ถงึ ทกุ คน เปน็ ความจำ� เปน็ เรง่ ดว่ นทตี่ อ้ งลงทนุ เพอื่ แกไ้ ขเรอ่ื งความยากจนโดยคำ� นงึ ถงึ มติ ใิ นเรอื่ งรายได้ การศกึ ษา สงิ่ แวดลอ้ ม และสขุ ภาพ โดยเนน้ ไปทก่ี ารพฒั นาวถิ ชี วี ติ ทอี่ ยอู่ าศยั บรกิ ารเมอื งขนั้ พนื้ ฐาน โครงสร้างทีค่ ำ� นึงถงึ ทุกคน A5_�����������.indd 27 3/23/2563 BE 4:35 PM
28 เทา่ ทนั สือ่ : สรา้ งเมืองดว้ ยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities ตัวชีว้ ดั วา่ ด้วยการนับรวมทุกคน มิติทเ่ี ชอ่ื มโยงกับคนชายขอบ การพจิ ารณาว่าเมืองหรือสังคมหน่งึ ๆ มีการนบั รวมทุกคนอยูใ่ น ระดบั ใดสามารถพิจารณาได้ในหลายมติ ิ เม่อื ปีพ.ศ. 2559 ไดม้ ีรายงานดชั นี ชว้ี ัดเร่ืองการนับรวม หรอื Inclusiveness Index16 ท่จี ัดท�ำและเผยแพร่เป็น ครง้ั แรก โดย Haas Institute for a Fair and Inclusive Society สงั กดั มหาวทิ ยาลยั แคลิฟอร์เนีย เบิร์กเล่ย์ รายงานช้ินนี้ต้องการท�ำความเข้าใจพลวัตของ การนับรวม (inclusion) และความเป็นชายขอบของกลมุ่ คนตา่ ง ๆ (group based marginality) โดยดจู ากประสบการณ์ของกลุ่มคนในหลากหลายมติ ิ ทางสงั คม เชน่ เพศสภาพ เช้อื ชาติ ชาตพิ นั ธุ์ ศาสนา ผ้พู กิ ารและกลุม่ ที่มี แนวทางทางเพศตา่ ง ๆ ดัชนชี ว้ี ดั การนบั รวม (Inclusiveness Index) ไม่ไดม้ ุ่งเน้นไปทพ่ี ลัง ทางเศรษฐกจิ ที่ส่งผลตอ่ ความเหล่อื มล้�ำ แตม่ ุ่งเน้นไปท่นี โยบาย กฎหมาย และสถาบนั ทสี่ ง่ ผลตอ่ ความไม่ธรรมกบั กลุ่มคนตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ 1) ความรุนแรงท่เี กดิ กับเฉพาะกลมุ่ (exposure to group-specific violence) ได้แก่ กล่มุ ตามเพศสภาพ เชื้อชาติ ศาสนา แนวทางในเร่อื งเพศ เหลา่ นเ้ี ปน็ ตวั สะทอ้ นการนบั รวมของกลมุ่ คนตา่ ง ๆ ในสงั คมหนงึ่ ๆ ความรนุ แรง ในทนี่ ร้ี วมถงึ ความรนุ แรงตอ่ ผหู้ ญงิ (violence against women) ความรนุ แรง ต่อชมุ ชน LGBTQ ความรุนแรงต่อกลุ่มศาสนาตา่ ง ๆ (violence against religious groups) 2) การเปน็ ตวั แทนทางการเมอื งทคี่ ำ� นงึ ถงึ การเขา้ รว่ มของกลมุ่ ชายขอบ หรอื ขอ้ จำ� กดั อนั เกดิ จากการเลอื กปฏบิ ตั ิในกระบวนการทางการเมอื งต่าง ๆ (political representation) 16 http://haasinstitute.berkeley.edu/sites/default/files/haasinstitute_2016inclusiveness_index_ publish_sept26.pdf สนใจการจัดอันดับคะแนนของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งประเทศไทยดเู พมิ่ เติมได้ ในรายงานฉบบั นี้ระหวา่ งปี 2016-2018 A5_�����������.indd 28 3/23/2563 BE 4:35 PM
เท่าทนั สอ่ื : สร้างเมอื งด้วยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 29 3)ความเหลอ่ื มลำ�้ ในเรอื่ งรายได้(incomeinequality)เชน่ ความเหลอ่ื มลำ�้ อนั มสี าเหตจุ ากเรอ่ื งเพศสภาพ ศาสนา เชอ้ื ชาติ และความหลากหลายทางเพศ ข้อมูลเหล่าน้ีช่วยท�ำให้เราเห็นระดับของการนับรวมของกลุ่มคนกลุ่มนี้ ในสงั คม 4) กฎหมายท่ีตอ่ ต้านการเลือกปฏิบตั ิ (anti-discrimination laws) การบงั คบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเปน็ ตวั ชวี้ ดั ทส่ี ำ� คญั ในการบง่ บอก ถึงระดบั ของการนบั รวมชมุ ชนชายขอบของสังคมน้นั ๆ 5) การกกั ขงั (incarceration) จำ� นวนผตู้ อ้ งขงั เปน็ ตวั ชว้ี ดั หนง่ึ ทบ่ี ง่ บอก ถึงสถานการณ์เร่ืองการนับรวมของสังคมท่กี �ำลงั เผชญิ หน้าอยู่ ย่ิงมผี ้ตู ้องขงั จำ� นวนเพมิ่ มากขน้ึ เทา่ ใด เปน็ นยั ยะสะทอ้ นถงึ การหดตวั ลงในเรอื่ งการนบั รวม ของสงั คมน้ัน ๆ 6) นโยบายเรอื่ งการอพยพและผลู้ ภ้ี ยั (immigration) สงั คมทเี่ ปดิ รบั ผู้อพยพและผลู้ ้ภี ัยในจำ� นวนที่เพมิ่ สงู ขึ้น เปน็ ตัวช้วี ัดทแี่ สดงถึงการเปดิ รับสู่ ชุมชนในระดบั โลกของสังคมนนั้ ๆ แนวทางสกู่ ารสร้างเมอื งทีน่ บั รวมทกุ คน หากพิจารณาแนวคิดเรือ่ งสิทธทิ ่ีจะอย่ใู นเมอื ง และการนบั รวมทกุ คน เป็นแนวทางการพัฒนาเมืองที่ให้ความส�ำคัญกับพลเมืองทุกกลุ่มเป็นผู้มี สว่ นรว่ มออกแบบและกำ� หนดชะตากรรมของตนเองและความเปน็ ไปของเมอื ง ภายใต้สภาพการณ์ท่ีความเหล่ือมล้�ำและความไม่เท่าเทียมทางสังคมเป็น โจทยท์ า้ ทายผู้คนในเมืองตา่ ง ๆ ทั่วโลก ในรายงานชน้ิ หนง่ึ เผยแพร่เม่อื ปี 2560 น�ำเสนอผลการศึกษาปญั หา ที่กำ� ลังเผชญิ ของผ้คู นในส่ีเมอื งของกลุ่มประเทศนอร์ดิก ได้แก่ สต็อกโฮลม์ โคเปนเฮเกน ออสโลร์ และเฮลซิงกิ ลักษณะเดน่ ของท้งั สเ่ี มอื งเคยเปน็ สังคม ทไ่ี ดช้ อ่ื วา่ มคี วามเทา่ เทยี มทางสงั คมและระดบั ความไวว้ างใจทม่ี สี งู แตผ่ ลจาก A5_�����������.indd 29 3/23/2563 BE 4:35 PM
30 เทา่ ทนั สือ่ : สรา้ งเมอื งดว้ ยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities การสำ� รวจพบวา่ ช่องว่างระหวา่ งรายไดท้ เ่ี พิ่มสงู ข้ึน (income gaps) และ เมอื ง (city) มกี ารแบง่ เปน็ สองยา่ น คอื ยา่ นคนรวย และยา่ นคนมรี ายไดน้ อ้ ย แมว้ า่ แต่ละเมืองจะมจี ดุ เนน้ ของความกงั วลใจของผูค้ นแตกต่างกนั ไป แต่ สิง่ ทผ่ี ู้คนเหน็ ตรงกนั กค็ อื ผลกระทบจากความเหล่ือมลำ้� ไม่ไดเ้ ชอ่ื มโยงกับ ช่องวา่ งของรายไดเ้ ท่าน้ัน แต่ส่งผลกระทบต่อชวี ิตความเป็นอย่ทู ง้ั กายภาพ และจติ ใจ ต่อโอกาสในการท�ำงานและการเขา้ ถึงทีอ่ ย่อู าศยั อกี ทง้ั ยังมผี ลตอ่ การแสวงหามติ รภาพใหม่ ๆ ดว้ ย เนอื่ งจากความไมเ่ ทา่ เทยี มทป่ี รากฏในกลมุ่ และชุมชนมีส่วนท�ำให้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนลดลง กลุ่มคนมีรายได้สูง มแี นวโนม้ จะรจู้ กั กนั เองมากขนึ้ ผลจากความหา่ งเหนิ ตอ่ กนั ทำ� ใหเ้ กดิ การแบง่ แยกท่ขี ยายตัวรุนแรงขึ้น พน้ื ท่ีบางสว่ นของเมอื งได้ถกู แบง่ แยกออกไปเพื่อ ตอบสนองกับผู้คนเฉพาะบางกลุ่ม ขณะที่คนอีกกลุ่มเริ่มรู้สึกว่ามีพ้ืนท่ีไม่ ปลอดภยั ในเมืองทีพ่ วกเขาอาศยั อยู่ คำ� ถามสำ� คัญที่เกิดขน้ึ กค็ อื เราจะสามารถทำ� อะไรไดบ้ า้ ง พลเมือง ในกลมุ่ ประเทศนอร์ดิก17 เสนอวา่ สง่ิ แรกท่จี �ำเปน็ ต้องทำ� คอื การตระหนัก และยอมรับว่ามีปัญหาในเร่ืองความเหลื่อมล�้ำและความไม่เท่าเทียมเกิดขึ้น อยจู่ รงิ และเรม่ิ แสวงหาแผนการสำ� หรบั เมอื งทตี่ รงกบั ความตอ้ งการของพลเมอื ง เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารนบั รวมทกุ คน วธิ กี ารทจ่ี ะนำ� ไปสแู่ ผนการนคี้ อื การเปดิ อภปิ ราย แลกเปลย่ี นพดู คยุ และนำ� เสนอความเหน็ ซงึ่ พบวา่ พลเมอื งลว้ นตอ้ งการใหเ้ สยี ง และความเหน็ ของพวกเขาไดร้ ับการฟัง เพอื่ ใหต้ นเองได้มีสว่ นในการนิยาม ปัญหาและร่วมหาทางออก กระบวนการดังกล่าวประกอบไปด้วยผู้คนที่ อาศัยอยูใ่ นพืน้ ท่ีนนั้ นักการเมอื ง หนว่ ยงานรฐั ข้าราชการ และภาคเอกชน ในการแสวงหาความพยายามร่วม (collective effort) ในการพัฒนาเมอื งท่ี พวกเขาอาศัยอยู่ “ความพยายามร่วม” ในความเห็นของพลเมืองกลมุ่ ประเทศนอร์ดิก นับเป็นรูปธรรมของกระบวนการพัฒนาเมืองในมุมมองทางสังคมศาสตร์ที่ 17 https://www.theinclusivecity.com/ A5_�����������.indd 30 3/23/2563 BE 4:35 PM
เทา่ ทนั สื่อ : สร้างเมืองด้วยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 31 เวทีการถกเถยี ง แลกเปลยี่ นและอภปิ รายเปน็ ส่วนหน่งึ ของพ้ืนท่สี าธารณะท่ีเปิดใหท้ ุกฝา่ ย ไดป้ ะทะกนั ทางความคดิ เพอื่ รว่ มสรา้ งเมอื งทมี่ ี ความยง่ั ยนื มคี วามเปน็ ธรรมและนบั รวมทกุ คน ทีม่ าภาพ : Urban Jam ให้ความสำ� คัญกบั การเปดิ พื้นที่สาธารณะ (public space) เพื่อให้กลุ่มคน ตา่ ง ๆ สามารถปะทะกนั จนเกดิ จดุ ตดั ของความคดิ ทนี่ ำ� ไปสกู่ ารเปลยี่ นแปลง ใหม่ ๆ เนอื่ งจากการเมอื งของการพฒั นาเมอื งมหี ลากหลายมติ มิ าก แตป่ ญั หา ของการพฒั นาเมอื งในปจั จบุ นั คอื การลดทอนความเปน็ เมอื งเหลอื เพยี งบางมติ ิ ดงั นนั้ จดุ นจ้ี งึ ตอ้ งการใหค้ นในเมอื งมสี ว่ นรว่ ม เขา้ มาเคลอื่ นไหวใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ ใหม่ ๆ โดยมีพ้นื ท่ที ่คี นตา่ ง ๆ ในสังคมในชมุ ชนเมอื ง มาแสดงพลังเพือ่ บอก ความตอ้ งการของตนเอง ซ่งึ สงิ่ นค้ี ือทนุ ทางสังคมในการพฒั นาเมอื ง18 การผลักดนั ไปสูก่ ารนบั รวม (inclusiveness) จงึ เป็นกระบวนการที่ นำ� ไปสคู่ วามเปน็ ธรรมและความเทา่ เทยี มของโอกาสทคี่ ำ� นงึ ถงึ ความหลากหลาย อันสะท้อนข้อเท็จจริงเก่ียวประชากรที่มีความแตกต่างกันในแต่ละกลุ่ม กระบวนการเชน่ นไี้ มไ่ ดเ้ กดิ ขนึ้ ไดโ้ ดยบงั เอญิ หากแตต่ อ้ งมเี จตนา มแี นวทาง ดำ� เนนิ การ และมคี วามสามารถในการเปน็ ผนู้ ำ� ทตี่ ระหนกั วา่ เมอื งทเี่ หมาะกบั ทกุ คนนน้ั จำ� เป็นต้องนบั รวมทุกคน19 18 ทนุ ทางสงั คมกบั การพฒั นาเมอื ง. อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ 19 http://citiesofmigration.ca/building-inclusive-cities/social-inclusion/ A5_�����������.indd 31 3/23/2563 BE 4:35 PM
32 เทา่ ทันสอื่ : สรา้ งเมอื งดว้ ยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities A5_�����������.indd 32 3/23/2563 BE 4:35 PM
เทา่ ทันส่อื : สรา้ งเมืองด้วยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 33 บทท่ี 2 MIDL กับ สมารท์ ซติ ี้ แมว้ า่ โดยหลักการของความเป็นสมาร์ทซิต้จี ะเป็น การนำ� เทคโนโลยีมาใช้เพอ่ื ปรับปรงุ คณุ ภาพชวี ิต ของผูค้ นที่อาศยั อยู่ในเมืองน้นั ๆ แต่ระหวา่ งทาง ของเสน้ ทางการพัฒนาเมอื งในรปู แบบน้ี ต่างเต็ม ไปดว้ ยการช่วงชิงความหมายดว้ ยแรงผลกั ท่ี แตกต่างกนั ไป ดงั นน้ั การผลักดัน MIDL for Inclusive Cities กับ Smart City ใหก้ ลายเป็น เนอื้ เดยี วกนั ใหไ้ ดน้ น้ั จงึ มมี ติ มิ ากมายทต่ี อ้ งคำ� นงึ ถงึ และเปน็ เรอ่ื งทา้ ทายสำ� หรบั ทกุ ภาคสว่ นของสงั คม เพื่อใหท้ ศิ ทางการพฒั นาเมอื งคำ� นึงถงึ พลเมือง เป็นศนู ยก์ ลาง ดังเช่นค�ำกล่าวของ Jane Jacobs ทวี่ า่ “เมอื งจะมศี กั ยภาพ ความสามารถในการตอบสนอง ทุกคนได้ กต็ อ่ เมอ่ื มนั ถูกสรา้ งโดยทุกคน” A5_�����������.indd 33 3/23/2563 BE 4:35 PM
34 เท่าทันสือ่ : สร้างเมอื งด้วยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities “ สมารท์ ซติ ที้ จี่ ะมคี วามยง่ั ยนื ตอ้ งเปน็ เมอื งทผ่ี คู้ นรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื และขอ้ มลู ขา่ วสาร20 ข้อความดังกล่าวปรากฏในโปสเตอร์ออนไลน์ของงาน Global Media Information Literacy Week 2018 กจิ กรรมท่ี UNESCO จัดประจ�ำ ทุกปี ค�ำท่ไี ด้รับการนำ� เสนอประจำ� ปี คือ “MIL Cities” ซง่ึ ยอ่ มาจาก Media Information Literacy Cities ดว้ ยมมุ มองทว่ี า่ สมารท์ ซติ จ้ี ะคำ�้ จนุ “ความสมารท์ ” ให้มคี วามย่งั ยนื ได้ ผูค้ นในเมอื งนนั้ ต้องได้รบั ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตลอดจนมุมมองต่าง ๆ ท่จี ำ� เปน็ เพอื่ จะไดม้ ีแนวทางจัดการกับเครือขา่ ยของ เทคโนโลยีและเครือข่ายทางสังคมที่เปล่ียนแปลงและสลับซับซ้อนมากขึ้น ตลอดเวลา ประเดน็ เรอ่ื งทกั ษะเทา่ ทันส่ือ ขอ้ มูลขา่ วสาร และดจิ ิทลั กับ สมาร์ทซิตี้ได้ถูกน�ำมาเชื่อมโยงในการสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นที่ สถาบนั สอ่ื เดก็ และเยาวชน (สสย.) จดั ขน้ึ ภายใตโ้ ครงการ MIDL for Inclusive ภาพประชาสมั พันธง์ าน Global Media Information Literacy Week 2018 โดย UNESCO ทีม่ าภาพ: UNESCO 20 https://en.unesco.org/globalmilweek2018/milcity A5_�����������.indd 34 3/23/2563 BE 4:35 PM
เทา่ ทันส่อื : สร้างเมืองด้วยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 35 Cities201821บทนจ้ี ะน�ำเสนอประเดน็ ส�ำคญั ทน่ี ่าสนใจจากการแลกเปล่ียน พดู คยุ ในวงสนทนาเพอื่ เชอ่ื มโยงทกั ษะ MIDL สมารท์ ซติ ใ้ี นมมุ ของพลเมอื ง มุมของธุรกจิ และมุมของรัฐ สมารท์ ซิต้ี : มมุ ของรัฐ ประเทศไทยมแี นวคดิ เรอ่ื งเมอื งอจั ฉรยิ ะภายใตโ้ ครงการ Smart Thailand มาต้ังแตช่ ว่ งปลายทศวรรษ 2540 ในเวลานัน้ มีจงั หวดั ภเู กต็ และเชียงใหม่ เปน็ เมืองน�ำรอ่ ง อีกหนง่ึ ทศวรรษถัดมา หนึ่งในรปู ธรรมทถ่ี กู หยิบยกขน้ึ มา แสดงให้เห็นถึงการสร้างชุมชนอัจฉริยะซ่ึงเน้นในเรื่องความม่ันคงปลอดภัย คอื การตดิ ตง้ั กลอ้ ง CCTV ราว 2,000 ตวั ในจงั หวดั ภเู กต็ 22 เมอ่ื พจิ ารณาจาก เวบ็ ไซต์ smartcitythailand.or.th ซงึ่ ถอื เปน็ เวบ็ ไซตห์ ลกั ของรฐั ในการเผยแพร่ ความเคลอื่ นไหวเกยี่ วกบั นโยบายเรอ่ื งเมอื งอจั ฉรยิ ะของไทย พบวา่ ในปี 2560 ไดม้ กี ารแตง่ ตง้ั คณะกรรมการขบั เคลอื่ นเมอื งอจั ฉรยิ ะผา่ นคำ� สงั่ นายกรฐั มนตร2ี 3 องคป์ ระกอบของคณะกรรมการมรี องนายกรฐั มนตรที น่ี ายกรฐั มนตรมี อบหมาย ซึง่ ในเวลานัน้ ได้แก่ พลเอกประจนิ จนั่ ตอง กรรมการทเ่ี หลอื ได้แกร่ ัฐมนตรี และปลดั กระทรวงตา่ ง ๆ มากกวา่ 20 ตำ� แหนง่ อำ� นาจหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการ ชดุ น้ี ไดแ้ ก่ การเสนอรา่ งยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนแมบ่ ทการพฒั นาเมอื งอจั ฉรยิ ะ ให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศตามแนวทางการขับเคลื่อน ประเทศไทย 4.0 และยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ใหค้ ณะรฐั มนตรพี จิ ารณาเหน็ ชอบ ตอ่ มาในเดือนมีนาคม ปี 2562 คณะกรรมการชุดดังกลา่ วไดม้ กี ารประกาศ หลกั เกณฑก์ ารประเมนิ และคณุ สมบตั ิ วธิ กี ารและกระบวนการในการพจิ ารณา 21 เมอ่ื วนั ท่ี 3-4 พฤศจกิ ายน ปี 2561 ณ Prince Theatre Heritage Stay บางรกั กรงุ เทพ 22 https://www.bangkokpost.com/tech/850172/the-smart-city 23 https://smartcitythailand.or.th/web?committee A5_�����������.indd 35 3/23/2563 BE 4:35 PM
36 เท่าทันส่อื : สรา้ งเมอื งด้วยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities วิสยั ทัศนส์ มาร์ทซติ ี้ จงั หวัดภเู ก็ต ทีม่ าภาพ : https://www.techtalkthai.com/sipa-launched-the-opening-of-phuket- smart-city-innovation-park/ การเป็นเมืองอัจฉริยะ สาระส�ำคัญประกอบด้วยการนิยามเมืองอัจฉริยะ การแบ่งประเภทของเมืองอจั ฉรยิ ะ โดยแบ่งเปน็ สองเมอื ง ได้แก่ เมอื งเดิม และเมืองใหม่ มีการกำ� หนดลกั ษณะของการพฒั นาเมอื งอัจฉรยิ ะออกเป็น 7 ดา้ น ไดแ้ ก่ สง่ิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ การขนสง่ พลเมอื ง การดำ� รงชวี ติ การบรหิ าร ภาครัฐ ส�ำหรับกระบวนการขอรับการพิจารณาประกาศเป็นเมืองอัจฉริยะ มสี ำ� นกั งานเมอื งอจั ฉรยิ ะประเทศไทย ซง่ึ อยภู่ ายใตก้ ารกำ� กบั ของสำ� นกั งาน สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั ทำ� หนา้ ทร่ี วบรวมและประสานแผนกบั ผทู้ ยี่ น่ื ขอ้ เสนอ หากคณะกรรมการให้ความเห็นชอบเมืองอัจฉริยะ เมืองดังกล่าวจะได้รับ การประกาศเปน็ เมอื งอจั ฉรยิ ะและสามารถใชต้ ราสญั ลกั ษณเ์ มอื งอจั ฉรยิ ะได้ เป็นระยะเวลาสองปี และการลงทุนโดยหน่วยงานและหรือการลงทุนใน โครงสรา้ งพนื้ ฐานเมอื งอจั ฉรยิ ะสามารถขอรบั พจิ ารณาสทิ ธปิ ระโยชนท์ ง้ั ทาง ด้านภาษี และมิใช่ภาษีคณะกรรมการ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรอื คณะกรรมการระดบั ชาตอิ ่ืนใดกำ� หนดต่อไป24 24 https://smartcitythailand.or.th/file/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8 1%E0%B8%B2%E0%B8%A8%20Smart%20City%201-2562%20-%2002-final.pdf A5_�����������.indd 36 3/23/2563 BE 4:35 PM
เท่าทนั ส่ือ : สร้างเมอื งดว้ ยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 37 ประเดน็ เรอื่ งสทิ ธปิ ระโยชน์ ประกอบดว้ ย ดา้ นกฎหมาย กฎระเบยี บ ได้แก่ Regulatory Sandbox เป็นพืน้ ทีท่ ดลองนวตั กรรมเพื่อความคลอ่ งตวั ในการตรวจสอบดา้ นกฎหมายเพอ่ื สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารทดลองไอเดยี , สมารท์ วซี า่ ส�ำหรบั นักลงทนุ และผ้เู ชยี่ วชาญตา่ งประเทศ, ดา้ นโครงสรา้ งพ้ืนฐาน ไดแ้ ก่ Fast Track การพฒั นาโครงการพนื้ ฐาน ดจิ ทิ ลั คมนาคม พลงั งาน และกลไก สนับสนนุ ทางการเงนิ เวบ็ ไซตด์ งั กลา่ ว ไดม้ กี ารเผยแพรร่ ายงานผลการดำ� เนนิ การขบั เคลอ่ื น พฒั นาเมอื งอจั ฉรยิ ะประจำ� ปี 256125 เสนอวา่ ประเทศไทยมแี ผนการขบั เคลอื่ น การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ กำ� หนดเปา้ หมายในปที ี่หน่ึงคือ ปี 2561- 2562 พฒั นาเมืองอจั ฉริยะ 7 จงั หวัด 10 พ้ืนที่ ได้แก่ ภูเกต็ ขอนแก่น เชยี งใหม่ ชลบรุ ี ระยอง ฉะเชิงเทรา กรงุ เทพฯ ปที ่ี 2 (พ.ศ. 2562-2563) พฒั นาเมอื งอจั ฉรยิ ะ 24 จงั หวดั 30 พนื้ ที่ ไดแ้ ก่ เชยี งราย พิษณโุ ลก นา่ น อุบลราชธานี อดุ รธานี หนองคาย นครพนม มกุ ดาหาร กระบ่ี พงั งา สงขลา ยะลา ปตั ตานี นราธวิ าส สตลู นครศรธี รรมราช ระนอง เป้าหมายใน ปี 2565 ประเทศไทยจะมเี มืองอัจฉริยะกวา่ 100 แห่ง ใน 76 จงั หวดั รวมกรงุ เทพมหานคร โดยมีเมืองอัจฉรยิ ะที่ไดร้ บั การยอมรับ ระดับโลก 3 เมอื ง มกี ารใหบ้ รกิ ารระบบข้อมูลของเมอื ง หรอื ทีเ่ รียกวา่ City Data Platform ครอบคลมุ ทุกพน้ื ท่ใี นประเทศ มบี ริการเมืองอัจฉรยิ ะของ ภาครัฐและภาคเอกชนไม่นอ้ ยกว่า 100 บริการ จากการน�ำเสนอภาพรวมเกี่ยวกับทิศทางความเป็นเมืองอัจฉริยะ ของประเทศไทยทปี่ รากฏในเวบ็ ไซตข์ องหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบโดยตรง ไมช่ ว่ ย ท�ำให้เกิดความกระจ่างในแง่ของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของพลเมืองแต่ อยา่ งใด แตเ่ หน็ เดน่ ชดั ในการมงุ่ เนน้ เรอื่ งการพฒั นาเศรษฐกจิ เปน็ ธงนำ� ทวา่ หากจนิ ตนาการตามตวั เลขเชงิ ปริมาณของพื้นทท่ี ีน่ �ำเสนอ อีกเพียงไมก่ ่ีปี ข้างหน้า ประเทศไทยจะพัฒนาเป็น “สมารท์ ซิต้ี” ครอบคลุมทว่ั ทั้งประเทศ สว่ นจะ “สมารท์ ” เพยี งใดและในมุมของใครนนั้ ตอ้ งพจิ ารณากันต่อไป 25 https://smartcitythailand.or.th/web?download A5_�����������.indd 37 3/23/2563 BE 4:35 PM
38 เท่าทนั สือ่ : สร้างเมอื งด้วยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities อาทติ ย์ โกวทิ วรางกูร วิทยากรหัวขอ้ เทา่ ทันสมารท์ ซติ ี้ ในงาน MIDL for Inclusive Cities 2018 : สรา้ งเมอื งของทุกคน จัดโดย สสย. เมอ่ื วนั ที่ 4 พฤศจกิ ายน 2561 ทม่ี าภาพ : สสย. สมารท์ ซิต้ี : มมุ ของธรุ กิจ “เทา่ ทนั สมารท์ ซติ ”ี้ เปน็ หนงึ่ ในหวั ขอ้ ทมี่ กี ารนำ� เสนอในชว่ งจดุ ประกาย ทา้ ทายความคดิ วา่ ดว้ ยการสรา้ งเมอื งของทกุ คนในการจดั กจิ กรรมของสสย. ผเู้ ปิดประเด็นนี้ ได้แก่ อาทิตย์ โกวทิ วรางกรู พลเมอื งแข็งขนั แหง่ เครอื ข่าย มักกะสนั กรุงเทพฯ หนึง่ ในเครอื ข่ายของชาวกทม.ทีเ่ รยี กร้องให้ “มกั กะสนั เป็นสวนสาธารณะและพิพิธภณั ฑ์” เมอื่ หลายปีก่อน26 ในวงพดู คุยคร้งั น้ัน อาทติ ยไ์ ด้สบื ค้นปรากฏการณ์ “ขายของ” เพอื่ นำ� มาประกอบอุตสาหกรรม สรา้ งสมารท์ ซติ ้ีได้อยา่ งน่าสนใจ เขาเรมิ่ ต้นดว้ ยการเล่าถงึ หน้าปกหนงั สอื เรอ่ื ง Cities in Transformation เปน็ หนงั สอื ปกแขง็ หนา้ ปกเป็นรปู มหานคร นวิ ยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา และเมืองบิลบาโอ ประเทศสเปน หนังสอื เลม่ ดงั กลา่ วตพี มิ พเ์ ผยแพรเ่ มอ่ื ปี 2012 เมอื งทง้ั สองไดร้ บั รางวลั Lee Kuan 26 https://mgronline.com/live/detail/9580000054676 A5_�����������.indd 38 3/23/2563 BE 4:35 PM
เทา่ ทันสอ่ื : สรา้ งเมืองด้วยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 39 Yew World Prize เมอื่ อาทติ ยส์ บื คน้ ตอ่ ไปจากทม่ี าของรางวลั ดงั กลา่ ว เขาจงึ พบกระบวนการขายเทคโนโลยีสร้างสมาร์ทซิตี้ที่เรียงรายมาเป็นชุด “จะเห็นว่าสิงค์โปรเ์ ล่นแบบน้ีเลย รางวัลน้ีให้กับเมืองท่สี ุดยอดของ โลกทุก ๆ สองปี เริม่ ตน้ คร้งั แรกในปี 2008 ซึง่ เป็นปีท่ปี ระชากรมากกวา่ 50 เปอร์เซ็นต์อาศัยอยใู่ นเมอื งหน่วยงานทใ่ี ห้รางวลั มสี องหน่วยงานคอื Urban Redevelopment Authority เปน็ หน่วยงานวางผังเมืองแบบบูรณาการของ สิงคโปร์ และ Centre for Livable Cities ซ่งึ เกิดข้ึนในปี 2008 เพื่อจะทำ� ให้ ตำ� แหนง่ แหง่ ท่ขี องสงิ คโปรเ์ ปน็ ศนู ยก์ ลางความคดิ นวตั กรรมทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับ การพฒั นาทอี่ ยูอ่ าศัยเมืองท่มี ปี ระชากรหนาแนน่ พอไปคน้ ตอ่ กไ็ ม่ไดม้ ีแค่ World City Award แต่จดั World City Summit ด้วย เพ่งิ จัดปลี า่ สดุ และจัด ทุกสองปี ล้อกบั การให้รางวลั และเขาจดั ท่ี Marina Bay Sands เขา้ เนอ้ื งาน ของ World City Summit มี Mayors Forum, Young Leaders ปรากฏวา่ ในงานมกี ารแสดงสนิ คา้ เกยี่ วกบั บรกิ ารเรอ่ื งเมอื ง มคี นเขา้ รว่ มงาน 24,000 คน เกดิ ขอ้ ตกลงทางธรุ กจิ 30 พนั ลา้ นเหรยี ญสงิ คโปร์ อนั นแี้ ปลวา่ สงิ คโปรข์ ายของ ผา่ นการใหร้ างวลั สมั มนา และสรา้ งเครอื ขา่ ย และองคก์ รทใี่ หเ้ งนิ สนบั สนนุ คอื Kepple Corporation ซง่ึ เป็นรัฐวสิ าหกจิ ของสิงคโปร์ที่ดำ� เนนิ การดา้ น อสังหารมิ ทรัพย”์ จากการคน้ คว้าของอาทติ ย์ เขาพบว่า หน่วยงานดังกลา่ ว ไดพ้ ฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นสมารท์ ซติ ี้ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ ใหญ่ของสิงคโปร์ที่อุตสาหกรรมพัฒนาเมืองเป็นหน่ึงในยุทธศาสตร์ของ เกาะเลก็ ๆ แหง่ นี้ กรณขี องสงิ คโปรเ์ ปน็ เพยี งหนงึ่ ในตวั อยา่ งขององคก์ รธรุ กจิ หลาย ๆ แหง่ ในโลกท่แี สวงหาโอกาสใหม่ ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การพัฒนาเมอื ง ประวทิ ย์ ลส่ี ถาพรวงศา กรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม ดา้ นการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค (กสทช.) เปน็ หนง่ึ ในผรู้ ว่ ม สนทนาในกจิ กรรม MIDL for Inclusive Cities 2018 สะทอ้ นวา่ มมุ มองของ แต่ละฝ่ายทีม่ ีต่อการพัฒนาสมารท์ ซติ ้ีย่อมแตกต่างกันไป A5_�����������.indd 39 3/23/2563 BE 4:35 PM
40 เทา่ ทันส่ือ : สร้างเมืองด้วยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities ประวิทย์ ลีส่ ถาพรวงศา (คนทสี่ ีน่ ับจากซา้ ย) กรรมการ กสทช. วิทยากรในงาน MIDL for Inclusive Cities 2018 : สร้างเมืองของทุกคน จดั โดย สสย.เมอ่ื วนั ที่ 4 พฤศจกิ ายน 2561 ท่ีมาภาพ : สสย. “ยกตวั อยา่ ง เวลาไปประชมุ กบั ผู้ประกอบการโทรคมนาคม เขาก็ จะคุยเร่ืองเงินทจี่ ะหาได้ และ Smart City ทจี่ ะมาคือ Smart City ท่ีหาเงินได้ การขายกลอ้ งวงจรปดิ ขายงานบรกิ ารใหก้ บั รฐั ไมไ่ ดม้ องคนในชมุ ชน ดงั นน้ั ผมเหน็ ดว้ ยกบั การไปสะกดิ รฐั ใหม้ องคนเปน็ เปา้ หมายในการทำ� Smart City ตอนนม้ี ปี ญั หาทไี่ ปตง้ั เสาโทรคมนาคมและชมุ ชนไมพ่ อใจ สง่ิ ทบ่ี รษิ ทั ทำ� คอื ไปตั้งเสาเลยและโน้มนา้ วให้ชาวบ้านเช่อื สุดทา้ ยก็ต้องยอมรบั และ บรษิ ทั ไมเ่ คยเสนอว่าถ้าจะต้ังเสามที างเลือกก่จี ดุ และใหช้ าวบา้ นเลอื กจดุ ที่ พอใจท่สี ุด แตเ่ ขาจะบอกว่าจุดนเี้ ปน็ จุดเดียวที่ต้งั ได้ ชาวบา้ นกร็ อ้ งเรียนมา ปีละ 100 กว่าที่ เปน็ เวลากว่า 10 ปกี ็เป็น 1,000 ท่ี มีคนเดอื ดร้อนเป็นแสน เป็นล้านคน อนาคตก็จะเปน็ แบบน้ีถา้ เราเปน็ Smart City เรามโี ครงสร้าง แบบดจิ ิทัลโดยที่ไม่สนใจคนเลย เพยี งแตใ่ ห้ท�ำเงินได้” A5_�����������.indd 40 3/23/2563 BE 4:35 PM
เทา่ ทันส่อื : สร้างเมอื งด้วยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 41 สมาร์ทซิต้ี : มมุ ของพลเมือง “ในเชยี งใหมม่ แี นวคดิ เรอ่ื ง Smart City เชน่ กนั ปญั หากค็ อื ใครบา้ ง ท่จี ะเข้ามามีส่วนรว่ มในเรือ่ งการกำ� หนดทศิ ทางของจังหวดั เขาคดิ แตว่ า่ Smart City ต้องมีอะไรบา้ ง กเ็ ลยคดิ ถงึ แตเ่ รือ่ งการเปล่ยี นพืน้ ท่ใี ห้มารองรบั การเจรญิ เตบิ โตทางดา้ นการคมนาคม การสรา้ งทอ่ี ยอู่ าศยั การเตรยี มการดา้ น การทอ่ งเที่ยว ฯลฯ เหล่านจ้ี งึ เปน็ ท่มี าของปัญหา” ไพลิน ภจู่ นี าพนั ธ์ุ แห่ง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ นักวชิ าการท่ใี ชเ้ ครื่องมอื MIDL ใน การศึกษาเพอื่ ความเปน็ พลเมือง เปดิ ประเด็นสำ� คญั เร่อื งการมีส่วนร่วมใน การพฒั นาเมอื งสสู่ มาร์ทซติ ี้ 27 ไพลิน ภูจ่ นี าพันธุ์ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในงาน MIDL for Inclusive Cities 2018 : สร้างเมืองของทุกคน จัดโดย สสย.เมอ่ื วนั ท่ี 4 พฤศจกิ ายน 2561 ทีม่ าภาพ : สสย. ประเด็นท่ีนักรัฐศาสตร์หญิงต้ังค�ำถามเป็นการกระตุกให้เราทุกคน ตา่ งหนั กลบั มาทบทวนในเรอื่ งสทิ ธทิ จ่ี ะอยใู่ นเมอื ง ซง่ึ โดยปกตคิ วามเปน็ เมอื ง กม็ ีความสลับซบั ซอ้ นในตัวของมนั เองอยู่แล้ว เมื่อถกู เทคโนโลยีดิจทิ ลั ซอ้ น 27 เมือ่ วันท่ี 3-4 พฤศจิกายน ปี 2561 ณ Prince Theatre Heritage Stay บางรกั กรุงเทพฯ A5_�����������.indd 41 3/23/2563 BE 4:35 PM
42 เท่าทันส่อื : สรา้ งเมอื งด้วยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities ทบั ลงไปอกี ชัน้ หน่ึงในนามของความสมารท์ หรือความอัจฉริยะ สทิ ธิท่ีจะอยู่ ในเมอื งสมารท์ ซติ ี้ จงึ เปน็ เรอ่ื งทพี่ ลเมอื งจำ� ตอ้ งมาสำ� รวจตรวจตราทำ� ความเขา้ ใจ ในหลายมติ ิ เดอื นตุลาคม ของปี 2562 ไดม้ กี ารจดั อนั ดับเมือง “สมาร์ท” ในโลก โดยพิจารณาจากโครงสร้างพื้นฐานกับการจัดหาเทคโนโลยีและบริการของ เมอื งนนั้ ๆ ทม่ี คี วามสมดลุ ระหวา่ ง “มติ คิ วามเปน็ มนษุ ย”์ กบั “มติ ทิ างเทคโนโลยี และเศรษฐกจิ ” ผลการสำ� รวจของรายงานพบวา่ กรงุ เทพมหานครไดร้ บั การจัดอันดบั ท่ี 75 จาก 102 สมารท์ ซิตี้ในโลก เมืองในทวีปเอเชยี ที่ติดสิบ อนั ดับแรก ได้แก่ สิงคโปรต์ ดิ อนั ดบั ทีห่ นึ่ง และกรงุ ไทเป ประเทศไต้หวันติด อันดบั ที่ 728 ผลสำ� รวจการจดั อันดับความสมาร์ทของเมอื งต่าง ๆ ท่วั โลกขา้ งตน้ นับเป็นตัวอย่างขานรับกับทิศทางการพัฒนาสมาร์ทซิตี้ ที่มองผู้อยู่อาศัย ในเมอื งเปน็ ผบู้ รโิ ภคซง่ึ ตอบรบั ตอ่ แนวคดิ การใชเ้ ทคโนโลยมี าแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ของเมือง หากพจิ ารณาลึกลงไป เราจะพบวา่ ในดา้ นหน่ึงการสร้างสิ่งลอ่ ใจ สง่ ผลใหผ้ ู้อยู่อาศัยในเมืองรสู้ กึ ว่าตนมเี สรภี าพและมที างเลอื ก (freedom and choice) ได้รับความสะดวกสบาย เพ่ิมความสามารถในการผลติ ท�ำให้ มีผลผลติ เพม่ิ และควบคุมได้ แต่ในขณะเดยี วกนั ส่งิ ล่อใจตา่ ง ๆ เหล่านี้ อาจจะปกปดิ วาระซอ่ นเรน้ รวมถงึ กระบวนการสะสมทนุ โดยรวบรบิ ทรพั ยากร (accumulation by dispossession)29 ซ่ึงสง่ ผลใหพ้ ลเมอื งเสียเปรยี บใน ระยะยาวก็เปน็ ได้ เทคโนโลยีสมาร์ทซิตี้ยังท�ำให้เกิดประเด็นถกเถียงเร่ืองจริยธรรม ตา่ ง ๆ มากมาย เชน่ ความเปน็ สว่ นตัว (privacy) กระบวนการใช้ขอ้ มูลเพื่อ นำ� ไปเปลยี่ นแปลง (datafication) การติดตามและรวบรวมขอ้ มลู ออนไลน์ 28 https://www.imd.org/research-knowledge/reports/imd-smart-city-index-2019/ 29 https://www.researchgate.net/publication/328397574_Citizenship_Justice_and_the_ Right_to_the_Smart_City A5_�����������.indd 42 3/23/2563 BE 4:35 PM
เท่าทนั ส่อื : สรา้ งเมืองดว้ ยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 43 (dataveillance) การจบั จอ้ งผา่ นทางภมู ศิ าสตร์ (geosurveillance) การบนั ทกึ และวิเคราะห์ลักษณะเชิงพฤติกรรมและจิตวิทยาส่วนบุคคล (profiling) การแยกประเภททางสังคม (social sorting) เมืองใหญ่ต่าง ๆ ท่ีเต็ม ไปดว้ ยกลอ้ งวงจรปดิ มรี ะบบควบคมุ ซง่ึ สามารถตดิ ตามคนเดนิ ถนนในระดบั ปจั เจกบคุ คล มซี อฟแวตท์ จ่ี ดจำ� ใบหนา้ เพอื่ ชว่ ยในการตดิ ตาม เครอื ขา่ ยของ เสน้ ทางท้องถนนมกี ลอ้ งจราจรคอยมอร์นิเตอร์และบง่ ชยี้ านพาหนะต่าง ๆ ระบบเซน็ เซอรถ์ กู ตดิ ตงั้ ตามโครงสรา้ งพนื้ ฐานทชี่ ว่ ยแกะรอยไปยงั ผใู้ ชโ้ ทรศพั ท์ เคล่อื นท่ี พ้นื ทีส่ าธารณะเหลา่ นี้ยงั รวมถงึ ชอ็ ปปิ้งมอลลเ์ พ่ือพินิจพฤติกรรม บรรดานักช็อป ซ่ึงอาจเชื่อมต่อกับกล้องวงจรปิดอันน�ำไปสู่การเก็บข้อมูล ประชากรพ้ืนฐาน เช่น อายุ เพศสภาพ เมอื งใหญบ่ างแหง่ ตดิ ตง้ั ระบบท่ี Wifi สาธารณะเพอ่ื ตดิ ตาม IDs ของ เครอ่ื งมอื ตา่ ง ๆ ทพ่ี ลเมอื งเขา้ อนิ เทอรเ์ นต็ อาคารใหญแ่ ละขนสง่ สาธารณะ ติดตามข้อมูลจากสมาร์ทการ์ดของผู้ใช้ สมาร์ทโฟนของแต่ละคนสื่อสาร โลเคชน่ั กบั ผใู้ หบ้ รกิ ารโทรคมนาคม รวมทงั้ การเชอ่ื มตอ่ ตา่ ง ๆ การเกบ็ รวบรวม ข้อมูลท้ังหมดทั้งปวงเหล่านี้มีนัยส�ำคัญอย่างลึกซ้ึงต่อความเป็นส่วนตัว (privacy) ซ่ึงอาจกล่าวได้วา่ เป็นสิทธิมนุษยชนข้นั พืน้ ฐาน เทคโนโลยหี ลากหลายรปู แบบ ยงั สรา้ งอนั ตรายตอ่ ความเปน็ สว่ นตวั ผ่านการแชร์และวิเคราะห์ข้อมลู ทเี่ ทคโนโลยีติดตามรวบรวมมาดว้ ย ไม่วา่ จะเปน็ สนิ คา้ บรกิ ารทเ่ี รานยิ มซอื้ มลู คา่ ราคาของสง่ิ ตา่ ง ๆ รปู แบบการจา่ ยเงนิ เหลา่ นลี้ ว้ นกลายเปน็ ขอ้ มลู สำ� หรบั การคาดการณก์ บั กลมุ่ เปา้ หมายทถ่ี กู จบั จอ้ ง (predictive privacy harms) และสามารถติดตามไปยงั โลเคช่ันของกลมุ่ เปา้ หมายไดด้ ้วย ภายใตส้ ภาวการณแ์ วดลอ้ มเชน่ น้ี เครอื่ งมอื หนง่ึ ทชี่ ว่ ยในการคลค่ี ลาย ความซบั ซอ้ นและเทา่ ทนั กบั ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งทนุ อำ� นาจ และสมารท์ ซติ ี้ จงึ ประกอบดว้ ยชดุ คำ� ถามทพ่ี ลเมอื งควรตง้ั คำ� ถามเพอื่ ไปสกู่ ารสรา้ งแนวคดิ A5_�����������.indd 43 3/23/2563 BE 4:35 PM
44 เทา่ ทนั ส่ือ : สรา้ งเมืองด้วยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities สมารท์ ซติ ที้ ค่ี ำ� นงึ ถงึ พลเมอื งอยา่ งแทจ้ รงิ เชน่ ในสมารท์ ซติ นี้ นั้ พลเมอื งไดร้ บั การจัดวางอย่างไร ? พลเมอื งได้รับการคาดหวงั ให้มีสว่ นรว่ มและลงมอื ทำ� อย่างไร ? มกี ตกิ าวา่ ด้วยพ้ืนท่สี าธารณะและแนวคิดเรอื่ งความเปน็ ส่วนรวม ของเมอื ง(urbancommon)อยา่ งไร?มคี วามเปน็ สาธารณะในรปู แบบใดบา้ ง และการกระท�ำในแบบใดทส่ี ามารถทำ� ได้ในสมารท์ ซติ ี้ สมารท์ ซติ ้คี �ำนงึ ถงึ เรือ่ งจรยิ ธรรมอยา่ งไร ? มีโครงสรา้ งและระบบที่สร้างความเหลอื่ มลำ้� ที่ไดร้ บั การผลิตซ้ำ� ในสมารท์ ซิตบ้ี า้ ง ? มีรูปแบบของชนชั้น การเหยยี ดเช้ือชาติ ชาย เปน็ ใหญ่ กีดกนั ในเรื่องสภาพร่างกาย การเลอื กทรี่ ักมักท่ชี งั โดยใช้อายุ หรอื รสนิยมทางเพศเป็นเกณฑ์ในสมาร์ทซิตี้บ้าง ? วิถีชีวิตแบบเมืองอัจฉริยะ แบบไหนทีเ่ ราต้องการสรา้ งและอาศัยอยู่ ? นกั วชิ าการท่ีศึกษาเรอ่ื งความเป็นพลเมือง ความยุตธิ รรมและสทิ ธิ ทจ่ี ะอยใู่ นสมารท์ ซติ 3้ี 0 เสนอวา่ แมว้ า่ บอ่ ยครงั้ ทแี่ นวทางการพฒั นาสมารท์ ซติ ี้ จะเน้นในเรื่องพลเมืองเป็นศูนย์กลางเพื่อแก้ข้อกล่าวหาจากเสียงวิจารณ์ กระนัน้ ก็มขี อ้ จ�ำกัดในการลงมือปฏิบตั ิ ซึง่ มีสาเหตุมาจากสองปัจจยั ไดแ้ ก่ ปจั จยั แรก ได้แก่ การบรหิ ารงานแบบจากบนสลู่ ่าง และเนน้ ใช้ ผชู้ ำ� นาญการ (top-down, technocratic) ซงึ่ ไมเ่ ปดิ พน้ื ทใ่ี หก้ บั เสยี งวจิ ารณ์ และเนน้ ไปทพ่ี นั ธกจิ ในการมงุ่ สะสมทนุ โดยไมเ่ ปลยี่ นแปลงการบรหิ าร ดงั นน้ั การเสนอแนวทางเรอ่ื ง “พลเมอื งเปน็ ศนู ยก์ ลาง” จงึ เปน็ แคก่ ารสรา้ งแบรนดใ์ หม่ เทา่ นนั้ โดยใชว้ ิธกี ารเรียกให้พลเมอื งเขา้ มารว่ มหรอื มีการค้นหาพลเมืองท่ี ถูกลมื (missing citizen) ปัจจัยท่สี อง คอื การใหท้ ุนสนบั สนุนการเปล่ยี นการบรหิ ารเมอื งสู่ สมาร์ทซติ ที้ เ่ี นน้ ว่าตอ้ งให้พลเมืองเขา้ มารว่ มในการวางแผนโครงการ พบวา่ ในทางปฏบิ ตั พิ ลเมอื งไมไ่ ดถ้ กู นบั รวมตงั้ แตใ่ นขนั้ ตอนของการวเิ คราะหป์ ญั หา 30 อา่ นเพมิ่ เตมิ ใน บทความเรอ่ื ง Citizenship Justice and the Right to the Smart City. https://www. researchgate.net/publication/328397574_Citizenship_Justice_and_the_Right_to_the_Smart_City A5_�����������.indd 44 3/23/2563 BE 4:35 PM
เทา่ ทนั ส่อื : สรา้ งเมืองดว้ ยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities 45 และนำ� เสนอขอ้ แนะนำ� เพอ่ื การพฒั นา แตพ่ ลเมอื งจะไดเ้ ขา้ มารว่ มเมอ่ื โครงการ ตา่ ง ๆ เหลา่ นนั้ วางแผนมวี ตั ถปุ ระสงคแ์ ละแนวทางจดั การปญั หาเรยี บรอ้ ยแลว้ ดังน้ัน โอกาสในการวางกรอบโครงการต้ังแต่ขั้นตอนการริเร่ิมซึ่งสะท้อน ความกงั วลและความต้องการทีแ่ ท้จริงของพลเมอื งจึงไม่เกิดขนึ้ MIDL กบั สมาร์ทซิตี้ ประวทิ ย์ ลส่ี ถาพรวงศา มองวา่ “สอื่ ขอ้ มลู ขา่ วสาร และดจิ ทิ ลั ” (MID) คือพลงั งานของสังคม รัฐ ประเทศ เขาเปรียบว่า MID นนั้ คอื “น้�ำมัน” ใน การขบั เคลอื่ นประเทศ กลา่ วคอื MID เปน็ พลงั ของธรุ กจิ ทง้ั หมด เพราะธรุ กจิ ทงั้ หมดขับเคลอ่ื นบน Big Data และ MID เป็นประโยชนต์ อ่ การขบั เคลื่อน ดงั กล่าว “ดงั นนั้ ถา้ เราไมเ่ ท่าทันว่ามนั คือเชือ้ เพลิงของโลกธรุ กิจ โลกดจิ ิทัล เรากถ็ กู เขาใช้แสวงประโยชน์ แตถ่ ้าเราเท่าทนั เรากจ็ ะรวู้ ่าอะไรคือขอบเขต ทเี่ หมาะสมในการอยบู่ นโลกดจิ ทิ ลั ขณะทร่ี ฐั มองเรอ่ื งความมนั่ คง การเตบิ โต ทางเศรษฐกจิ และความสงบเรียบร้อยของสังคม รฐั ไม่สนใจว่าการกระจาย รายไดด้ ไี หมถา้ เศรษฐกจิ เตบิ โตดี รฐั ไมส่ นใจเรอ่ื งการมสี ว่ นรว่ มหรอื การกระจาย อ�ำนาจ ถ้าสงั คมยงั สงบเรยี บร้อยดี รัฐไมไ่ ดส้ นใจสงครามการคา้ /สงคราม ไซเบอร์ ถ้าประเทศยงั ม่ันคงอยู่ ดังนนั้ สิ่งท่ีเราต้องทำ� คือ นอกจากปฏิบัติ การในพืน้ ท่ี เราต้องปฏบิ ตั ิการเชิงนโยบายกับรัฐ ใหเ้ ขารวู้ า่ มันคืออะไร สงิ่ ที่ เขาทำ� เขาอาจจะเชอื่ วา่ เขาถกู เขาพยายามทำ� ประเทศใหเ้ ปน็ 4.0 ซง่ึ กไ็ มค่ ดิ ว่าผิด แต่ 4.0 ของรัฐอาจเป็น 4.0 ซึ่งไมไ่ ดเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ MID เลย เป็น 4.0 ของธรุ กจิ ” A5_�����������.indd 45 3/23/2563 BE 4:35 PM
46 เท่าทันส่ือ : สร้างเมอื งด้วยมอื ของทุกคน MIDL for Inclusive Cities วรพจน์ วงศก์ จิ รุ่งเรอื ง วิทยากรหวั ขอ้ เทคโนโลยกี ับการมสี ่วนรว่ ม ในงาน MIDL for Inclusive Cities 2018 : สร้างเมอื งของทกุ คน จดั โดย สสย.เมือ่ วันท่ี 4 พฤศจกิ ายน 2561 ทมี่ าภาพ : สสย. ประเด็นเร่ืองเทคโนโลยีกับการมีส่วนร่วม เป็นหัวข้อท่ีวรพจน์ วงศก์ จิ รงุ่ เรอื ง ผตู้ ดิ ตามนโยบายเรอื่ งสอ่ื ใหมแ่ ละโทรคมนาคม และเปน็ หนง่ึ ในวทิ ยากรทไ่ี ดร้ บั เชญิ มารว่ มจดุ ประกายทา้ ทายความคดิ วา่ ดว้ ยการสรา้ งเมอื ง ของทุกคนชวนพูดคยุ เขามองว่า ในโลกทีร่ ัฐบาลสามารถเปิดเผยขอ้ มูลให้ กบั สาธารณะได้มากขนึ้ และจา่ ยด้วยราคาท่ถี กู ลง ประชาชนสามารถเข้าถงึ ทรพั ยากรสอ่ื สารไดม้ ากขน้ึ เวบ็ ไซต์ 2.0 ทำ� ใหเ้ ราตา่ งเพมิ่ การปฏสิ มั พนั ธไ์ ดง้ า่ ย “เง่ือนไขเหล่านี้ได้เปลี่ยนวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมไปสู่สิ่งท่ีเรียกว่า “Read and Write Culture” กค็ อื การทเี่ ราสามารถมปี ฏสิ มั พนั ธแ์ ละสรา้ งอะไร ขนึ้ มาเองได้ ยกตวั อยา่ งเวบ็ ไซต์ Ohmynews ทเี่ นอ้ื หาทป่ี รากฏในเวบ็ ดงั กลา่ ว ร้อยละ 80 มาจากอาสาสมัครที่เขยี นขน้ึ เอง และคนท่ีเขียนข้อมลู เหลา่ น้ีคอื แม่บ้านชาวเกาหลีท่ีใช้อนิ เทอร์เนต็ ในการสง่ ข้อมลู เว็บดังกล่าวมอี ทิ ธิพลใน การเปลย่ี นแปลงการเมอื งเกาหลไี ด้ และเปน็ ตวั อยา่ งใหเ้ หน็ วา่ ภาคประชาสงั คม ใช้อินเทอร์เน็ตในการสร้างสิ่งท่ีเป็นสินค้าเชิงสาธารณะท่ีตลาดอาจจะไม่ ท�ำงาน” A5_�����������.indd 46 3/23/2563 BE 4:35 PM
เทา่ ทนั สื่อ : สรา้ งเมอื งดว้ ยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 47 นอกจากน้วี รพจน์ยงั ยกตัวอยา่ งเว็บไซต์ท่ีเปน็ แพลต็ ฟอร์ม เรยี กวา่ Innocentive31 ซงึ่ ภาคเอกชนใชใ้ นการหาความรคู้ วามเชยี่ วชาญจากประชาชน เชน่ บรษิ ัทยาอาจจะโยนโจทย์เขา้ ไป แล้วใหป้ ระชาชนช่วยเสนอการพฒั นา ยาบางอย่างขึน้ มา หรอื เวบ็ ไซต์ VolunteerMatch ท่ีรวมโปรไฟล์ของคนท่ี มีความเชย่ี วชาญ กบั การท�ำงานอาสาสมัคร และเวบ็ ไซต์ Global Citizen เปน็ โครงการท่ที ำ� งานรว่ มกับมลู นิธิของบิล เกตส์ ในการใช้องคค์ วามร้ขู อง พลเมืองโลกมาก�ำจัดความยากจนโลก วรพจน์ยังกล่าวถึง แนวคิดรัฐบาลเปิด (Open Government) ซ่ึงแพร่หลายหลังปี 2009 นับตั้งแต่ บารัค โอบามา อดีตประธานาธิบดี สหรฐั อเมรกิ า เมอ่ื เขา้ รบั ตำ� แหนง่ วนั แรก ประกาศวา่ จะทำ� ใหร้ ฐั บาลของตนเอง เปน็ รฐั บาลทโี่ ปรง่ ใส ดงึ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน และทำ� งานรว่ มกบั ประชาชน ในการสรา้ งสรรค์สงิ่ ตา่ ง ๆ “นยิ ามหลกั ของรฐั บาลเปดิ คอื การทเี่ วลาเราพดู ถงึ การมสี ว่ นรว่ มทาง Electronic เรมิ่ ตง้ั แต่ Information คอื การใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารผา่ นแพลตฟอรม์ ตา่ งๆ, พดู ถงึ E-consultation คอื การสรา้ งแพลต็ ฟอรม์ ในการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ และ E-decision Making คือการทีร่ ัฐบาลดงึ ความเหน็ ของประชาชนมาใช้ ในการออกแบบนโยบาย แตจ่ รงิ ๆ แลว้ ไปถงึ Crowdsourcing กลา่ วคอื ไมใ่ ช่ แคค่ วามเหน็ แตด่ งึ เอาประชาชนมาใชใ้ นการออกแบบนโยบายรว่ มกนั ตง้ั แตต่ น้ ” เขายกตวั อย่างกรณรี ฐั บาลอังกฤษ เวบ็ ไซต์ Gov.UK ถกู จดั ใหเ้ ป็น อนั ดบั หนงึ่ ดา้ นการมสี ว่ นรว่ มทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เพราะมขี อ้ มลู ขา่ วสารอยา่ ง ครบถ้วน และเปิดรับฟังความคิดเห็นในนโยบายโดยการให้ข้อมูลอย่าง รอบดา้ นกอ่ น แลว้ ประชาชนกจ็ ะสามารถมาลงความเหน็ ได้ สดุ ทา้ ยรฐั บาลกจ็ ะ สรุปเป็นรายงานออกมาว่ารัฐบาลตอบสนองต่อความเห็นเหล่าน้ันอย่างไร นอกจากนใ้ี นเวบ็ ไซตน์ ้ี สามารถสง่ คำ� รอ้ งเรยี นไปได้ ถา้ คำ� รอ้ งเรยี นมผี สู้ นบั สนนุ 100,000 รายชอ่ื ค�ำร้องเรียนนัน้ จะถูกน�ำเข้าไปถกเถียงในรฐั สภา 31 https://www.innocentive.com/ A5_�����������.indd 47 3/23/2563 BE 4:35 PM
48 เท่าทนั สอ่ื : สร้างเมอื งด้วยมอื ของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities เวบ็ ไซต์ Gov.UK ของรัฐบาลองั กฤษ ตัวอย่างเว็บทีส่ ร้างการมีสว่ นรว่ มของประชาชน ทีม่ าภาพ : https://www.gov.uk/ กรณีเวบ็ ไซต์ Challenge.Gov ไปไกลกว่าเรื่องความคิด รัฐบาลของ โอบามาออกกฎหมายใหห้ นว่ ยงานรฐั สามารถใชร้ างวลั ทจ่ี ะจงู ใจใหป้ ระชาชน มีส่วนร่วมและแก้ไขปัญหาของรัฐ อย่างเช่นการชวนให้ประชาชนมาร่วม ออกแบบแอปพลิเคชั่นเพ่ือให้ความรู้เร่ืองโรคติดต่อทางเพศแก่ประชาชน, การชวนใหป้ ระชาชนเสนอเทคโนโลยใี นการขจดั เกลอื ออกจากนำ้� ทะเล ฯลฯ “ตวั อยา่ งที่หยบิ ยกมาขา้ งต้น เพือ่ ชี้ประโยชนข์ องเทคโนโลยดี จิ ิทลั ทง้ั ในแงข่ องการเพมิ่ ความโปรง่ ใส การเพม่ิ อำ� นาจใหก้ บั ประชาชน การสรา้ ง นโยบายทต่ี อบสนองตอ่ ประชาชน สง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตยทางตรง สรา้ ง Inclusive Society ทีค่ นสามารถใหค้ วามเห็นได้หลากหลาย เพ่มิ โอกาสทางเศรษฐกจิ และใช้ความฉลาดของประชาชนในการท่ีจะดึงการมีส่วนร่วมและแก้ไข ปญั หาสาธารณะต่างๆ” คำ� ถามท่ตี ามมาคอื เราจะไปถงึ จดุ นั้นได้อย่างไร ? วรพจนเ์ สนอ ทางออกในเร่อื งน้สี ามข้อด้วยกัน ข้อแรก คอื ความมุ่งม่นั ทางการเมอื งของ ผ้นู �ำประเทศ หากผู้นำ� มนี โยบายในเรอื่ ง Open Government หนว่ ยงานรฐั ตา่ ง ๆ จะตอ้ งเปดิ เผยขอ้ มลู ใหก้ บั ประชาชนและมกี ารปรบั เทคโนโลยเี พอ่ื ให้ มีเว็บไซตห์ รอื แพลตฟอร์มทีร่ วบรวมข้อมลู ดงึ การมีสว่ นร่วมของประชาชน A5_�����������.indd 48 3/23/2563 BE 4:35 PM
เท่าทนั สื่อ : สรา้ งเมืองด้วยมือของทุกคน MIDL for Inclusive Cities 49 ขอ้ สองคอื การเปลย่ี นวฒั นธรรมการทำ� งานของหนว่ ยงานภาครฐั และรฐั บาล ทีต่ อ้ งเปดิ กว้างและท�ำงานกับประชาชนมากขน้ึ และขอ้ สุดทา้ ยคอื การลด ชอ่ งว่างทางดจิ ิทลั “ถ้าคนเข้าไม่ถึงอินเทอร์เน็ต เขาก็ไม่สามารถใช้ประโยชน์และมี สว่ นรว่ มไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ จรงิ ๆ แลว้ เรากอ็ ยากเหน็ รฐั บาลทด่ี ี รฐั บาลทชี่ อบธรรม คอื รฐั บาลทฟี่ ังเสียงประชาชน รฐั บาลท่ีฉลาด คือ รัฐบาลท่ดี ึงความฉลาด ของประชาชนมาใช้ในการแกป้ ัญหาสาธารณะ แต่รัฐบาลท่ีช่ัว เราคงตอ้ งใช้ เทคโนโลยีในการทีจ่ ะตรวจสอบเขาตลอดไป” มุมมองของหลายฝ่ายทน่ี �ำเสนอไปในช่วงต้นของบทน้ี คงทำ� ให้เรา เหน็ วา่ นยิ ามของสมารท์ ซติ มี้ มี มุ มองทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปของแตล่ ะกลมุ่ ผลประโยชน์ แมว้ า่ โดยหลกั การของความเปน็ สมารท์ ซติ จ้ี ะเปน็ การนำ� เทคโนโลยมี าใชเ้ พอื่ ปรับปรงุ คุณภาพชวี ิตของผู้คนที่อาศยั อยู่ในเมืองนั้น ๆ แต่ระหวา่ งทางของ เสน้ ทางการพัฒนาเมืองในรปู แบบนี้ ตา่ งเตม็ ไปดว้ ยการช่วงชิงความหมาย ดว้ ยแรงผลักท่ีแตกตา่ งกนั ไป ดังนั้น การผลักดนั MIDL for Inclusive Cities กบั Smart City ใหก้ ลายเปน็ เนอื้ เดยี วกนั ใหไ้ ดน้ นั้ จงึ มมี ติ มิ ากมายทตี่ อ้ งคำ� นงึ ถึงและเป็นเรือ่ งทา้ ทายสำ� หรบั ทุกภาคสว่ นของสงั คมท่ตี า่ งตอ้ งใช้ปฏบิ ตั ิการ ทางขอ้ มลู ขา่ วสารเพอื่ ใหท้ ศิ ทางการพฒั นาเมอื งคำ� นงึ ถงึ พลเมอื งเปน็ ศนู ยก์ ลาง ดงั เช่นคำ� กลา่ วของ Jane Jacobs ท่ีวา่ “เมอื งจะมีศักยภาพ ความสามารถ ในการตอบสนองทกุ คนได้ กต็ ่อเมอ่ื มันถกู สรา้ งโดยทุกคน” 32 32 “Cities have the capability of providing something for everybody, only because, and only when, they are created by everybody.” A5_�����������.indd 49 3/23/2563 BE 4:35 PM
50 เทา่ ทันสอื่ : สรา้ งเมอื งดว้ ยมือของทกุ คน MIDL for Inclusive Cities A5_�����������.indd 50 3/23/2563 BE 4:35 PM
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167