Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารคำสอนภิกขุนีวิภังคปาลี56

เอกสารคำสอนภิกขุนีวิภังคปาลี56

Published by wichit1588, 2018-06-15 14:51:44

Description: เอกสารคำสอนภิกขุนีวิภังคปาลี56

Search

Read the Text Version

๑ บทที่ ๑ ปาราชกิ กณั ฑ์ พระมหาวิจติ ร กลฺยาณจิตโฺ ตวัตถปุ ระสงคป์ ระจาบทเรยี น หลังเรียนจบรายวิชาน้แี ล้ว ผเู้ รียนสามารถ ๑. อธิบายความหมาย ลักษณะเฉพาะ ความสาคัญและคุณประโยชน์ของการบัญัติ สิกขาบทได้ ๒. อธบิ ายมลู เหตุทที่ าใหบ้ ัญญตั ิสกิ ขาบทได้ ๓. บอกประเภทของปฐมบญั ญัติ อนุบัญญัตไิ ด้ ๔. อธบิ ายพฤตกิ รรมของภกิ ษณุ ที ีเ่ ปน็ ปฐมบัญญตั ิ อนบุ ัญญัตไิ ด้ขอบข่ายเนอ้ื หา ๑. ความรเู้ บือ้ งต้นเกย่ี วกบั ภกิ ขนุ ีวภิ ังค์ ๒. สาระสาคัญในปาราชิกสิกขาบท ๑-๔

๒ความนา อาบตั ขิ องภกิ ษณุ ีนน้ั เปน็ การบญั ญตั เิ พิ่มเตมิ จากของภิกษเุ รยี กวา่ อสาธารณบัญญตั ิ มที ัง้ หมด๔สกิ ขาบทรวมกับของภกิ ษอุ กี ๔ สิกขาบทเปน็ ๘ สกิ ขาบทมีขั้นตอนการบญั ญัตสิ กิ ขาบทนน้ั ดังน้ีลาดบั เนอื้ หา ลาดบั เน้อื หาของปาราชกิ กัณฑ์ สงั ฆาทเิ สสกณั ฑ์ นสิ สคั คยิ กัณฑ์ ปาจติ ติยกัณฑ์ ปาฏเิ ทสนยีกณั ฑ์ เสขิยกณั ฑ์ ดงั กลา่ วมา ดาเนินไปในลกั ษณะเดียวกนั ดงั น้ี ๑. ตน้ บัญญัติ เลา่ เรื่องภกิ ษณุ ผี เู้ ปน็ อาทกิ ัมมิกะ คอื ผปู้ ระพฤตเิ สียหายในกรณีน้ัน ๆ เปน็ รายแรกทีพ่ ระพุทธเจ้าทรงยกข้ึนเป็นตน้ เหตุเพ่อื การบัญญตั สิ กิ ขาบท เช่น ภิกษณุ สี ุนทรีนันทายินดกี ารถูกต้องกายกบั นายสาฬหะ เปน็ เหตุใหท้ รงบญั ญัติ ปาราชิกสิกขาบท หา้ มภกิ ษณุ ีผู้กาหนัดถูกตอ้ งกายกบั ชายผู้กาหนดั ๒. พระบญั ญตั ิ คือสกิ ขาบททพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงบัญญตั เิ ปน็ ข้อหา้ มมใิ ห้ภกิ ษณุ ลี ว่ งละเมดิ มบี ทกาหนดโทษหรอื ปรับอาบตั ิผลู้ ่วงละเมดิ ถา้ เป็นการบัญญัติสกิ ขาบท ในครั้งแรก เรยี กวา่ มลู บัญญตั ิเชน่ มูลบัญญัตขิ องปาจิตตีย์สิกขาบทท่ี ๑ แห่ง อารามวรรควา่ “ก็ภิกษณุ ใี ดเขา้ ไปสอู่ ารามโดยไมบ่ อกตอ้ งอาบตั ิปาจติ ตีย์” ถ้ามกี ารบัญญตั เิ พ่ิมเติมขอ้ ความสิกขาบทนน้ั เพอ่ื ความรอบคอบรดั กมุ สกิ ขาบททท่ี รงบญั ญัติเพ่ิมเตมิ นเ้ี รยี กวา่ อนบุ ัญญตั ิ เชน่ อนุบญั ญตั ขิ องปาจิตตยี ์๑.๑. ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกบั ภกิ ขุนวี ิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ จัดเป็นพระวินัยปิฎกเล่มท่ี ๓ ประกอบด้วยเนื้อหาปาราชิกกัณฑ์ สังฆาทิเสสกัณฑ์ นสิ สคั คิยกณั ฑ์ ปาจิตติยกัณฑ์ ปาฏิเทสนียกัณฑ์ เสขิยกัณฑ์ และอธิกรณสมถะ มีเนื้อหาว่าด้วยบทบัญญัติฝ่ายภิกษุณี รวมเป็น ๓๑๑ สิกขาบท เรียกว่าภิกขุนีปาฏิโมกข์โดยปรับโทษสถานหนกั แก่ภกิ ษณุ ผี ลู้ ว่ งละเมดิ บทบญั ญตั ิในปาราชิกกัณฑ์ และสงั ฆาทิเสสกัณฑ์ และปรับโทษสถานเบาแก่ภกิ ษุณีผลู้ ว่ งละเมดิ บทบญั ญัติกัณฑท์ ่เี หลอื คาว่า “ภิกขุนีวิภังค์” แปลว่า ข้อแจกแจงเกี่ยวกับภิกษุณี เป็นบทบัญญัติท่ีภิกษุณีสงฆ์จะตอ้ งสวดในท่ปี ระชุมสงฆ์ทุกครึง่ เดอื น

๓ บทบัญญัตขิ องภิกษณุ มี ี ๒ กลมุ่ คือ ๑) อสาธารณบัญญัติ หรือ เอกโตบัญญัติ บทบัญญัติที่พระผู้มีพระภาคทรงปรารภภิกษุณีบัญญตั ิไว้เฉพาะสาหรับภกิ ษณุ ีสงฆฝ์ า่ ยเดียว ๑๓๐ สิกขาบท ภิกษสุ งฆ์ไมต่ ้องรกั ษา ๒) สาธารณบัญญัติ หรือ อุภโตบัญญัติ บทบัญญัติท่ีพระผู้มีพระภาคทรงปรารภภิกษุสงฆ์บัญญัติไว้ซ่ึงภิกษุพึงรักษา และภิกษุณีพึงรักษาด้วย ๑๘๑ สิกขาบท มีเน้ือหาดังท่ีแสดงไว้แล้วในพระวินยั ปิฎก มหาวภิ งั ค์ ภาค ๑ และ ๒๑.๒ สารสาคัญในปาราชกิ กณั ฑ์ ปาราชิก เป็นช่ืออาบตั ิ แปลวา่ ทาใหพ้ า่ ยแพ้ เป็นชือ่ บุคคลผู้ตอ้ งอาบัตปิ าราชิก แปลว่าผพู้ า่ ยแพ้ ปาราชิกเป็นบทบัญญัติที่ ปรับโทษสถานหนักแก่ภิกษุณีผู้ล่วงละเมิด ครุกาบัติ คือ อาบัติหนัก เป็นทุฏฐุลลาบัติ คือ อาบัติชั่วหยาบ เป็นอนวเสสาบัติ คือ อาบัติไม่มีส่วนเหลือ และเป็นอเตกจิ ฉา คือ แกไ้ ขไม่ได้ ปาราชกิ ของภกิ ษณุ ีแบ่งเป็น สองส่วน คือ ๑) อสาธารณปาราชิก ๔ สิกขาบท เป็นสิกขาบทท่ีพระผู้มีพระภาค ทรงปรารภภิกษุณีสงฆ์บัญญัติไว้เฉพาะสาหรับภิกษุณี ได้แก่ สิกขาบทที่ ๑ ว่าด้วยการยินดี การจับต้องของชายท่ีบริเวณใต้รากขวญั ลงมาเหนอื เขา่ ขึน้ ไปตอ้ งอาบตั ิปาราชกิ ช่ือว่า อุพภชาณุมณั ฑลิกา สิกขาบทท่ี ๒ ว่าด้วยการปกปิดโทษ ภิกษุณีรู้อยู่ปกปิดโทษของภิกษุผู้ต้องอาบัติปาราชิกตอ้ งอาบตั ปิ าราชิก ช่อื วา่ วัชชปฏจิ ฉาทกิ า สิกขาบทท่ี ๓ วา่ ดว้ ยการประพฤติตามภกิ ษุทีถ่ กู สงฆล์ งอุกเขปนยี กรรม ต้องอาบัติปาราชิกช่ือว่า อกุ ขิตตานุวัตตกิ า สกิ ขาบทที่ ๔ ว่าดว้ ยวตั ถุ ๘ มีการยินดีการจับต้องมือชายเป็นต้น ต้องอาบัติปาราชิกชื่อว่าอัฏฐวัตถุกา ๒) สาธารณปาราชิก ๔ สิกขาบทเป็นสิกขาบทที่พระผู้มีพระภาค ทรงปรารภภิกษุบัญญัติไว้ ซ่งึ ภิกษุณพี ึงรักษาด้วยให้ศึกษารายละเอียดท่ีปาราชิกของภิกษุ๑.๒.๑ การบญั ญัตปิ าราชิกสกิ ขาบท การบญั ญตั ิสิกขาบทเกดิ ขึ้นจากชาวบ้านหรอื ภกิ ษุณตี าหนิ ติเตียน โพนทะนา ภิกษณุ ผี มู้ ีความมกั นอ้ ย สันโดษ ไดย้ นิ ภิกษณุ ตี าหนิ ติเตยี น นาเร่ืองไปบอกแกภ่ ิกษสุ งฆ์ ภิกษสุ งฆน์ าเรื่องไปกราบทูลพระผมู้ ีพระภาคเจา้ พระผ้มู ีพระภาคเจา้ เรยี กประชมุ สงฆ์ สอบถามเหตุเกิดทรงแสดงธรรมมี

๔กถา ยกอทุ าหรณ์ ตาหนิโดยประการตา่ งๆแลว้ ทรงยกสิกขาบทขน้ึ แสดง สถานท่บี ญั ญตั ิสิกขาบทพระเชตวันมหาวิหารของอนาถปณิ ฑกิ เศรษฐี ในเมอื งสาวัตถี ในแตล่ ะสกิ ขาบทจะมเี หตุเกิด สถานท่ีบคุ คลทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ตวั บัญญตั ิ หรอื อนุบัญญัติ สิกขาบทวิภังค์ (การจาแนกคา) บทภาชนยี ์ อนาปตั ติวาร ๑.๓.๑ ปาราชกิ สิกขาบทท่ี ๑ วา่ ดว้ ยการยินดกี ารจบั ตอ้ งท่บี ริเวณเหนอื เข่าข้นึไปของชายเรอื่ งภกิ ษณุ สี นุ ทรีนนั ทา สมยั นัน้ พระผู้มีพระภาคพทุ ธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถปณิ ฑิกเศรษฐีเขตกรุงสาวัตถี นายสาฬหะหลานของนางวสิ าขา มคิ ารมาตาประสงคจ์ ะสรา้ งวหิ ารถวายภิกษณุ ีสงฆ์นายสาฬหะจึงเข้าไปแจ้งความประสงค์แก่ภกิ ษุณีและขอภกิ ษุณผี ดู้ แู ลการกอ่ สรา้ งสกั ๑ รปู สมยั นัน้ มหี ญิงสาว ๔ คนพ่ีนอ้ งบวชอยู่ในสานกั ภิกษุณี คือนนั ทา นันทวดี สุนทรนี ันทาถุลลนันทา ในจานวน ๔ รูปน้ี ภิกษุณสี นุ ทรนี ันทาบวชต้งั แตว่ ัยสาว มรี ูปงามนา่ ดู น่าชม เปน็ บัณฑติเฉลียวฉลาด มปี ัญญา ขยนั ไมเ่ กียจคร้านประกอบด้วยปญั ญาไตร่ตรองในงานนั้น ๆ สามารถกระทาสามารถจดั แจงได้ ภกิ ษุณีสงฆ์จงึ แต่งต้งั ภิกษณุ ีสนุ ทรนี ันทาให้เป็นผูด้ ูแลการก่อสรา้ งของนายสาฬหะหลานของนางวิสาขามิคารมาตา ภกิ ษุณสี ุนทรนี ันทาน้นั ไปบา้ นนายสาฬหะเนือง ๆ บอกสิ่งตอ้ งการในการกอ่ สร้าง ฝ่าย นายสาฬหะก็หม่ันไปสานกั ภกิ ษุณอี ยูเ่ นอื ง ๆ เพ่อื ให้ รู้งานที่ทาแลว้ และยงั ไม่ได้ทา คนท้งั สองนน้ั มีจติ รักใคร่ต่อกนั เพราะพบเห็นกนั เนอื งๆ นายสาฬหะเมอื่ ไมไ่ ด้โอกาสท่จี ะทามิดมี ิรา้ ยภิกษณุ ีสุนทรีนนั ทา จงึ ได้จัดเตรยี มภัตตาหารสาหรับถวายภิกษณุ สี งฆ์เพอ่ื หาทางทจ่ี ะประทษุ ร้ายนางนัน้ เมอื่ จะปอู าสนะในโรงฉัน ปูอาสนะไว้ ๒สว่ นเพื่อให้ภกิ ษุณเี ขา้ ใจผิด ปอู าสนะไวส้ าหรับ ภิกษุณีสนุ ทรนี นั ทา ณ ส่วนขา้ งหน่งึ ในท่มี ิดชิด มีที่กาบัง เพอ่ื ใหภ้ ิกษณุ ีผเู้ ป็นเถระ เข้าใจว่า “ภกิ ษุณีสุนทรนี นั ทานง่ั อย่กู ับพวกภิกษุณนี วกะ” แมภ้ ิกษณุ ีนวกะก็จะเข้าใจไปว่า “ภิกษณุ ีสุนทรีนันทาน่ังอยกู่ บั พวกภิกษุณีผู้เป็นเถระ” ครัน้ แล้วนายสาฬหะจึงใหค้ นไปเรยี นภกิ ษุณสี งฆ์ว่า ไดเ้ วลาแลว้ ภตั ตาหารเสร็จแลว้ ” ภกิ ษุณสี ุนทรีนันทาสังเกตรวู้ า่ เปน็ อบุ าย จึงส่ังภิกษณุ ีอันเตวาสนิ ีไปนาบิณฑบาตมาให้ ถ้ามผี ู้ถาม กจ็ งตอบว่าเปน็ ไข้ เวลาน้นั นายสาฬหะยืนคอยท่ีซุม้ ประตดู ้านนอก ถามถึงภิกษุณีสุนทรีนนั ทาทราบจากภิกษุณอี ันเตวาสนิ ขี องภิกษุณีสนุ ทรีนันทาว่า ภกิ ษณุ ีสุนทรนี ันทาเปน็ ไข้ และนาบิณฑบาตไปถวาย ลาดับน้นั นายสาฬหะคิดวา่ “การทเ่ี ราเตรียมอาหารถวายภกิ ษุณีสงฆ์ ก็เพราะแม่เจ้าสนุ ทรีนนั ทา” จึงสง่ั ใหเ้ ลี้ยงดภู ิกษณุ ีสงฆ์แลว้ เข้าไปทางสานกั ภกิ ษุณี ภิกษุณีสุนทรีนันทายนื คอยนายสาฬหะอย่นู อกซุ้มประตูวดั พอเหน็ เขาเดินมาแตไ่ กลจึงหลบเขา้ ทอ่ี ย่นู อนคลมุ โปงอย่บู นเตียง

๕ นายสาฬหะเข้าไปหาภกิ ษณุ สี ุนทรนี นั ทาถงึ ท่ีอยู่ คร้นั ถงึ แล้วถามว่า “ท่านไมส่ บายหรอื ทาไมจึงนอนอยู่ ขอรับ” ภกิ ษณุ ีสนุ ทรนี นั ทากล่าววา่ “นาย สตรผี ปู้ รารถนาคนท่ไี มป่ รารถนาตอบ ก็มีอาการเช่นนี้แหละ” เขากล่าววา่ “แมเ่ จ้า ทาไม กระผมจะไม่ปรารถนาทา่ น แต่หาโอกาสท่ีจะ ทามิดมี ิร้ายท่านไมไ่ ด”้ มีความกาหนดั ถกู ตอ้ งกายภิกษณุ ีสนุ ทรีนันทาซง่ึ มคี วามกาหนัด คราวนั้น ภกิ ษุณีชรามเี ท้าเจ็บรปู หนงึ่ นอนอยไู่ ม่ไกลจากท่ขี องภิกษณุ สี ุนทรนี นั ทานนั้ เหน็นายสาฬหะผู้กาหนดั กาลงั ถกู ตอ้ งกายกับภกิ ษุณีสุนทรีนนั ทาผูก้ าหนัด จงึ ตาหนิ ประณาม โพนทะนาว่า “ไฉนแม่เจ้าสุนทรนี นั ทาผ้กู าหนดั จงึ ยินดีการถูกตอ้ งกายกบั ชายผู้กาหนัดเลา่ ” บอกเร่ืองนั้นแก่ภิกษณุ ที ้งั หลาย บรรดาภกิ ษณุ ีผมู้ ักนอ้ ย สนั โดษ มีความละอาย มีความระมัดระวงั ใฝก่ ารศกึ ษา พากันตาหนิ ประณาม โพนทะนาจงึ นาเรอื่ งไปบอกภกิ ษทุ ง้ั หลาย พวกภกิ ษุผู้มักน้อย สนั โดษ มคี วามละอาย มีความ ระมดั ระวัง ใฝ่การศกึ ษา กต็ าหนิ ประณาม โพนทะนา ตาหนิ ภกิ ษณุ ีสนุ ทรีนันทาโดยประการต่าง ๆ แล้วจงึ นาเรื่องนไ้ี ปกราบทูลพระผมู้ พี ระภาคให้ทรงทราบ ทรงประชุมสงฆบ์ ญั ญัติสกิ ขาบท ลาดับนนั้ พระผูม้ พี ระภาครบั สั่งใหป้ ระชุมสงฆเ์ พราะเรื่องนีเ้ ป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายวา่ “ภิกษทุ ้งั หลาย ทราบวา่ ภกิ ษุณสี ุนทรีนนั ทากาหนัด ยนิ ดกี ารถกู ตอ้ งกายกบั ชายผู้กาหนัดจรงิ หรอื ” พวกภกิ ษุทูลรับวา่ “จรงิ พระพุทธเจ้าขา้ ” พระผู้มพี ระภาคพทุ ธเจ้าทรงตาหนิวา่ “ภิกษุทั้งหลาย การกระทาของภิกษณุ สี ุนทรีนันทาไม่สมควร ไมค่ ลอ้ ยตาม ไม่เหมาะสม ไม่ใช่กิจของสมณะใช้ไม่ได้ ไมค่ วรทา ไฉนภิกษณุ สี นุ ทรนี นั ทาผกู้ าหนดั จงึ ยินดกี ารถกู ต้องกายกับชายผูก้ าหนดั เลา่ ภิกษุทงั้ หลาย การกระทาอยา่ งนี้ มิได้ทาคนที่ยังไมเ่ ลื่อมใสใหเ้ ลอ่ื มใส หรอื ทาคนทเ่ี ลื่อมใสอย่แู ล้วให้เล่อื มใสย่ิงขึ้นไดเ้ ลย ที่จริงกลับจะทาให้คนทไ่ี มเ่ ลือ่ มใส ก็ไม่เล่อื มใสไปเลย คนทเ่ี ลือ่ มใสอยแู่ ลว้ บางพวกกจ็ ะกลายเปน็ อ่ืนไป” ครนั้ พระผู้มพี ระภาคทรงตาหนิภกิ ษุณสี ุนทรนี นั ทาโดยประการตา่ ง ๆ แล้ว ได้ตรสั โทษแหง่ความเป็นคนเลี้ยงยาก บารงุ ยาก มกั มาก ไมส่ ันโดษ ความคลกุ คลี ความเกียจคร้าน ตรัสคณุ แห่งความเป็นคนเลี้ยงงา่ ย บารงุ ง่าย มักนอ้ ย สันโดษ ความขัดเกลา ความกาจัดกิเลส อาการน่าเลอ่ื มใส การไม่สะสม การปรารภความ เพียรโดยประการตา่ ง ๆ ทรงแสดงธรรมกี ถาแกภ่ กิ ษุทงั้ หลายใหเ้ หมาะสมให้คล้อยตามกบั เรอื่ งนนั้ แลว้ รบั ส่ังกับภิกษทุ ง้ั หลายวา่ ภิกษทุ ัง้ หลาย เพราะเหตุนั้น เราจะ บัญญัติสิกขาบทแก่ภกิ ษณุ ที ั้งหลาย โดยอาศยั อานาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ ๑. เพื่อความรบั ว่าดแี หง่ สงฆ์ ๒. เพอ่ื ความผาสุกแห่งสงฆ์ ๓. เพ่อื ข่มภกิ ษณุ ีผเู้ กอ้ ยาก ๔. เพอื่ ความอย่ผู าสุกแห่งเหล่าภิกษุณีผู้มีศลี ดีงาม

๖ ๕. เพอื่ ปดิ กัน้ อาสวะท้ังหลายอันจะบงั เกดิ ในปจั จบุ ัน ๖. เพอ่ื กาจัดอาสวะท้งั หลายอันจะบังเกิดในอนาคต ๗. เพ่ือความเลือ่ มใสของคนที่ยังไมเ่ ล่อื มใส ๘. เพือ่ ความเล่อื มใสย่งิ ขึน้ ไปของคนทเ่ี ลือ่ มใสแล้ว ๙. เพ่อื ความตง้ั ม่ันแหง่ สัทธรรม ๑๐. เพื่อเออ้ื เฟอ้ื วนิ ัย แลว้ จึงรับสงั่ ใหภ้ กิ ษณุ ีท้งั หลายยกสกิ ขาบทนขี้ น้ึ แสดงดงั นี้พระบญั ญัติ กภ็ กิ ษุณีใดกาหนดั ยนิ ดกี ารจบั ตอ้ ง การลูบคลา การจับ การตอ้ ง หรือการบบี ของชายผู้กาหนัดบริเวณใตร้ ากขวญั ลงมาเหนอื เข่าขึ้นไป แมภ้ กิ ษณุ ี๑ นี้เปน็ ปาราชิกทีช่ ่ือว่าอุพภชาณมุ ณั ฑลกิ า๒ หาสงั วาสมิได้สิกขาบทวภิ ังค์ ท่ชี ่อื ว่า กาหนดั ไดแ้ ก่ ภกิ ษณุ ีมคี วามยินดี เพ่งเล็ง มีจิตรกั ใคร่ ท่ีช่อื วา่ ผูก้ าหนัด ได้แก่ ชายมคี วามยินดี เพง่ เลง็ มจี ติ รักใคร่ ท่ชี อื่ วา่ ชาย ไดแ้ ก่ มนษุ ย์ผู้ชาย ไมใ่ ชย่ กั ษ์ ไมใ่ ช่เปรต ไม่ใช่สัตวด์ ริ ัจฉาน ตัวผู้ แตเ่ ป็นชายทร่ี ู้เดยี งสา สามารถถกู ต้องกายได้ จบั ตอ้ ง ไดแ้ ก่ กริ ยิ าเพยี งแต่ลบู คลา ลูบคลา ไดแ้ ก่ ลูบคลาไปทางโนน้ ทางน้ี จบั ได้แก่ลักษณะเพยี งแต่จับ ต้อง ได้แก่ ลกั ษณะเพียงสัมผสั คาว่า ยินดี ... หรือการบบี ไดแ้ ก่ ยนิ ดีทจี่ ะให้จบัอวยั วะแลว้ บบี คาวา่ เป็นปาราชิก อธิบายวา่ ภิกษุณีกาหนัดยินดีการจับตอ้ ง การลูบคลา การจับ การต้องหรือการบีบของชายผกู้ าหนดั บรเิ วณใตร้ ากขวัญลงมาเหนอื เข่าขึ้นไป ยอ่ มไม่เป็นสมณะหญงิ ไมเ่ ปน็ ๑ ความหมายของภิกษณุ ชี ่อื ว่า ภกิ ษุณี เพราะเป็นผู้ขอ เพราะอาศัยการเที่ยวขอ เพราะใช้ผืนผ้าท่ีถูกทาให้เสียราคา เพราะเรียกกันโดยโวหาร เพราะการปฏิญญาตน เพราะพระพุทธเจ้าทรงบวชให้ เพราะเป็นผู้อุปสมบทดว้ ยไตรสรณคมน์ เพราะเปน็ ผ้เู จริญ เพราะเปน็ ผู้มีสาระ เพราะเป็นผู้ยังต้องศึกษา เพราะเป็นผู้ไม่ต้องศกึ ษาเพราะเปน็ ผู้ท่ีสงฆ์ ๒ ฝ่ายพร้อมเพรียงกนั อุปสมบทใหด้ ้วยญัตตจิ ตุตถกรรมที่ถกู ตอ้ ง สมควรแกเ่ หตุ ๒ อุพภชาณุมณั ฑลกิ า แปลว่าบริเวณเหนอื เข่า แม้บรเิ วณเหนือข้อศอกก็รวมอยกู่ บั บริเวณเหนือเขา่ คาน้ีเปน็ ชือ่ เรียกภิกษุณีผูต้ อ้ งอาบัติปาราชิกสิกขาบทนี้ (ว.ิ อ. ๒/๖๕๗-๘/๔๖๓)

๗เช้ือสายศากยธิดา เปรียบเหมอื นคนถกู ตัดศีรษะ ไม่อาจมชี วี ติ อยไู่ ดโ้ ดยการตอ่ ศรี ษะเข้ากับร่างกายนนั้ด้วยเหตนุ ั้น พระผ้มู ีพระภาค จงึ ตรสั ว่า เปน็ ปาราชกิ คาว่า หาสงั วาสมิได้ อธบิ ายว่า ทช่ี อ่ื ว่าสังวาส ได้แก่ กรรมทท่ี าร่วมกนั อทุ เทสท่สี วดร่วมกันความมสี กิ ขาเสมอกัน นช้ี ่อื ว่าสงั วาส สงั วาสน้นั ไมม่ ีกบั ภกิ ษณุ ีรูปน้ัน ดว้ ยเหตนุ ้นั พระผู้มีพระภาคจงึตรัสว่า หาสังวาสมไิ ด้บทภาชนีย์ ทง้ั สองฝ่ายมีความกาหนดั ฝา่ ยใดฝา่ ยหนึ่งใช้กายจบั ต้องกายบริเวณ ใตร้ ากขวัญลงมาเหนือเข่าขึน้ ไป ภกิ ษุณตี ้องอาบตั ปิ าราชกิ ใชก้ ายจบั ตอ้ งของท่ีเนอื่ งด้วยกาย ต้องอาบัติถลุ ลัจจัย ใช้ของที่เน่อื งด้วยกายถกู ตอ้ งกาย ตอ้ งอาบตั ถิ ุลลัจจยั ใช้ของท่เี น่ืองดว้ ยกายถกู ต้องของทเี่ นอื่ งด้วยกาย ตอ้ งอาบัติทกุ กฏ ใชข้ องโยนไปถูกตอ้ งกาย ต้องอาบัตทิ กุ กฏ ใชข้ องโยนไปถกู ต้องของท่ีเนือ่ งดว้ ยกาย ตอ้ งอาบตั ทิ กุ กฏ ใชข้ องโยนไปถกู ตอ้ งของที่โยนมา ต้องอาบัตทิ กุ กฏ ใชก้ ายถกู ตอ้ งกายบริเวณเหนือรากขวัญขึ้นไปใตเ้ ข่าลงมา ตอ้ งอาบัตถิ ลุ ลัจจยั ใช้กายถกู ตอ้ งของท่ีเน่ืองดว้ ยกาย ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ ใชข้ องทเ่ี น่อื งดว้ ยกายถกู ต้อง กาย ต้องอาบตั ทิ กุ กฏ ใชข้ องที่เนอื่ งด้วยกายถกู ต้องของที่เน่ืองดว้ ยกาย ตอ้ งอาบัติ ทุกกฏ ใช้ของโยนไปถกู ตอ้ งกาย ต้องอาบัตทิ ุกกฏ ใช้ของโยนไปถกู ตอ้ งของที่เนอื่ งด้วยกาย ต้องอาบตั ิทุกกฏ ใช้ของโยนไปถกู ต้องของท่โี ยนมา ต้องอาบตั ิทกุ กฏ ฝ่ายหนึ่งมีความกาหนดั ใช้กายจบั ตอ้ งกาย บรเิ วณใต้รากขวญั ลงมาเหนือเขา่ ขน้ึ ไป ตอ้ งอาบตั ิถุลลจั จัย ใชก้ ายจับต้องของทเี่ น่ืองด้วยกาย ต้องอาบัติทกุ กฏ ใชข้ องเนอ่ื งด้วยกายถกู ต้องกายต้องอาบตั ทิ กุ กฏ ใช้ของที่เนอ่ื งด้วยกายถกู ต้องของทเี่ นื่องดว้ ยกาย ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ ใช้ของโยนไปถกู ต้องกาย ต้องอาบัติทกุ กฏ ใช้ของโยนไปถกู ต้องของที่เน่อื งดว้ ยกาย ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ ใชข้ องโยนไปถูกตอ้ งของทโ่ี ยนมา ต้องอาบัตทิ กุ กฏ ใชก้ ายจบั ต้องกายบริเวณเหนอื รากขวญั ขน้ึ ไปใต้เขา่ ลงมา ต้องอาบตั ิทุกกฏ ใช้ กายจับตอ้ งของทีเ่ น่อื งดว้ ยกาย ตอ้ งอาบัติทกุ กฏ ใชข้ องทเ่ี น่ืองด้วยกายถูกตอ้ งกาย ต้องอาบัติทุกกฏ ใชข้ องท่ีเนอ่ื งด้วยกายถกู ต้องของทเ่ี นื่องดว้ ยกาย ตอ้ งอาบตั ทิ กุ กฏ ใชข้ องโยนไปถูกตอ้ งกาย ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ ใชข้ องโยนไปถูกตอ้ งของท่เี นือ่ ง ดว้ ยกาย ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏ ใช้ของโยนไปถูกตอ้ งของท่โี ยนมา ต้องอาบตั ทิ กุ กฏ ทง้ั สองฝา่ ยมีความกาหนดั ใชก้ ายถกู ต้องกายของยักษ์ เปรต บัณเฑาะก์ หรอื สัตวด์ ิรัจฉานท่ีแปลงกายเป็นมนษุ ย์ บริเวณใตร้ ากขวญั ลงมาเหนือเขา่ ขึ้นไป ต้องอาบัตถิ ุลลจั จัย ใช้กายถูกต้องของท่ีเน่ืองด้วยกาย ตอ้ งอาบตั ิทุกกฏ ใชข้ องทเ่ี น่ืองด้วยกายถกู ต้องกาย ต้องอาบตั ิทุกกฏ ใช้ของที่เน่ืองดว้ ยกายถูกต้องของท่ีเน่ืองดว้ ยกาย ต้องอาบัติทกุ กฏ

๘ ใชข้ องโยนไปถูกตอ้ งกาย ตอ้ งอาบัติทุกกฏ ใชข้ องโยนไปถกู ต้องของทีเ่ นอื่ ง ด้วยกาย ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏ ใช้ของโยนไปถกู ตอ้ งของท่โี ยนมา ตอ้ งอาบตั ิทกุ กฏ ใชก้ ายถกู ต้องกายบรเิ วณเหนอื รากขวญั ขน้ึ ไปใต้เข่าลงมา ตอ้ งอาบัติทกุ กฏ ใช้กายถูกต้องของทีเ่ นื่องด้วยกาย ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ ใช้ของที่เนื่องดว้ ยกายถูกต้องกาย ต้องอาบัติทกุ กฏ ใช้ของท่ีเน่อื งดว้ ยกายถูกตอ้ งของทเ่ี น่อื งดว้ ยกาย ต้องอาบตั ิ ทุกกฏ ใชข้ องโยนไปถกู ต้องกาย ตอ้ งอาบัติทุกกฏ ใชข้ องโยนไปถกู ต้องของทีเ่ นอื่ ง ดว้ ยกาย ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ ใชข้ องโยนไปถกู ตอ้ งของทีโ่ ยนมา ต้องอาบตั ิทุกกฏ ฝ่ายหน่งึ มีความกาหนัด ใช้กายจับตอ้ งกาย บริเวณใต้รากขวัญลงมาเหนอื เข่าขนึ้ ไป ต้องอาบัตทิ ุกกฏ ใช้กายจับต้องของท่เี น่ืองดว้ ยกาย ตอ้ งอาบัติ ทุกกฏ ใช้ของท่ีเนอื่ งดว้ ยกายถูกต้องกายตอ้ งอาบตั ิทกุ กฏ ใช้ของทีเ่ น่ืองดว้ ยกายถกู ต้องของทเ่ี น่ืองด้วยกาย ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ ใชข้ องโยนไปถกู ต้องกาย ต้องอาบตั ทิ กุ กฏ ใช้ของโยนไปถูกตอ้ งของทเี่ นื่อง ดว้ ยกาย ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ ใช้ของโยนไปถกู ต้องของทโ่ี ยนมา ตอ้ งอาบัติทุกกฏ ใช้กายจับต้องกายบริเวณเหนอื รากขวัญขนึ้ ไปใต้เข่าลงมา ต้องอาบตั ทิ กุ กฏ ใช้กายจับของที่เนื่องดว้ ยกาย ตอ้ งอาบตั ทิ กุ กฏ ใชข้ องที่เนือ่ งด้วยกายถูกต้องกาย ต้องอาบตั ิทกุ กฏ ใชข้ องทเ่ี นอื่ งด้วยกายถูกตอ้ งของที่เน่ืองดว้ ยกาย ต้องอาบตั ิทุกกฏ ใชข้ องโยนไปถูกตอ้ งกาย ต้องอาบัติทุกกฏ ใชข้ องโยนไปถูกตอ้ งของทเี่ นอ่ื ง ด้วยกาย ตอ้ งอาบตั ิทุกกฏ ใชข้ องโยนไปถูกต้องของที่โยนมา ตอ้ งอาบตั ทิ ุกกฏอนาปัตตวิ าร ภิกษุณีตอ่ ไปน้ไี มต่ ้องอาบัติ คอื ๑. ภกิ ษณุ ไี ม่จงใจ ๒. ภกิ ษณุ ีไม่มีสติ ๓. ภิกษุณีผูไ้ ม่รู้ ๔. ภกิ ษุณีผูไ้ มย่ นิ ดี ๕. ภิกษณุ ีวิกลจริต ๖. ภิกษณุ จี ิตฟุ้งซา่ น ๗. ภกิ ษณุ กี ระสบั กระสา่ ยเพราะเวทนา ๘. ภกิ ษุณีต้นบัญญตั ิ ปาราชกิ สกิ ขาบทที่ ๑ จบ๓ ๓ สกิ ขาบทนนี้ บั เป็นสิกขาบทที่ ๕ เพราะสิกขาบทที่ ๑-๔ นบั ตามปาราชกิ สิกขาบทของภกิ ษุ วิ.อ.แปล ๕/

๙๑.๒.๒ ปาราชกิ สิกขาบทท่ี ๒ วา่ ดว้ ยการปกปิดโทษ๔ เรอ่ื งภิกษุณีสุนทรนี นั ทา ครง้ั น้นั ภิกษุณีสุนทรีนันทามคี รรภก์ บั นายสาฬหะหลานของนางวสิ าขามคิ ารมาตา แต่ปกปิดเรื่องไว้ในขณะทค่ี รรภย์ งั ออ่ น ๆ เม่อื ครรภแ์ กจ่ ึงสึกไปคลอดบุตร ภกิ ษณุ ที ง้ั หลายได้กลา่ วกบั ภกิ ษุณีถลุ ลนันทาวา่ แมเ่ จ้า สนุ ทรนี นั ทาสกึ ไปไม่นานกค็ ลอดบุตรเธอคงจะมคี รรภข์ ณะเป็นภิกษณุ ีกระมงั ภิกษุณถี ลุ ลนันทาจึงยอมรับ ภกิ ษณุ ีทั้งหลายกล่าววา่ เหตใุ ดจงึ ไม่โจทเอง ไมบ่ อกแกค่ ณะเลา่ ภกิ ษณุ ีถุลลนันทาตอบว่า แมเ่ จา้ ความเสยี หาย ความเสือ่ มเกียรติ ความอปั ยศ เส่ือมลาภของภกิ ษุณสี ุนทรีนันทานี้ กค็ ือความเสยี หาย ความเสือ่ มเกยี รติ ความอปั ยศ ความเสอ่ื มลาภของดิฉันนัน่ แหละ ดฉิ ันจะบอกความเสียหายของตน ความเสือ่ มเกยี รติของตน ความอปั ยศของตน ความเสอื่ มลาภของตนแกค่ นอื่นได้อย่างไร บรรดาภิกษุณีผมู้ กั น้อย ฯลฯ พากนั ตาหนิ ประณาม โพนทะนาการกระทาของนาง ไดน้ าเรอ่ื งนไี้ ปบอกภิกษุทัง้ หลายใหท้ ราบ พวกภกิ ษไุ ดน้ าเรือ่ งน้ีไปกราบทลู พระผมู้ พี ระภาคใหท้ รงทราบ พระผ้มู ีพระภาครบั สัง่ ใหป้ ระชมุ สงฆเ์ พราะเรือ่ งนีเ้ ป็นต้นเหตุ แล้วทรงสอบถามภกิ ษุทัง้ หลายแล้วจึงรบั สง่ั ให้ภิกษุณีทงั้ หลายยกสิกขาบทน้ีขึน้ แสดงดังน้ีพระบัญญัติ กภ็ กิ ษุณใี ดรูอ้ ยูไ่ ม่ทกั ท้วงภกิ ษุณผี ตู้ ้องธรรมคือปาราชิกดว้ ยตนเอง ไม่บอกแก่คณะ กใ็ นกาลใดภกิ ษณุ นี ัน้ ยงั ครองเพศอยูก่ ด็ ี เคลื่อนไปกด็ ี ถกู นาสนะก็ดี ไปเขา้ รีตก็ดี ภายหลงั ภกิ ษณุ ผี ู้รู้เรื่องน้ันพึงกล่าวอยา่ งนวี้ า่ “แม่เจ้า เมื่อกอ่ นดฉิ นั รู้จักภกิ ษุณนี ีด้ วี า่ •นางมีความประพฤติอย่างน้ีๆ แต่ดิฉนั ไม่ไดโ้ จทด้วยตนเอง ไมไ่ ดบ้ อกแกค่ ณะž แมภ้ ิกษุณีนเ้ี ปน็ ปาราชกิ ทีช่ อื่ ว่าวชั ชปฏิจฉาทิกา๑ หาสงั วาสมิได้สกิ ขาบทวภิ ังค์๕ ๔วัชชปฏิจฉาทิกา” แปลว่าปกปิดโทษ, ปกปิดความผดิ เปน็ ชื่อเรียกภกิ ษุณผี ้ตู อ้ งอาบัตปิ าราชกิ สกิ ขาบทนี้(วิ.อ. ๒/๖๖๕/๔๖๕)

๑๐ ทชี่ ือ่ ว่า ครองเพศอยู่ พระผมู้ พี ระภาคตรัสหมายถึงภกิ ษณุ ผี ดู้ ารงอย่ใู นเพศของตน ท่ชี อ่ื วา่เคล่ือนไป ตรัสหมายถึงภิกษณุ ผี มู้ รณภาพ ท่ีชอ่ื วา่ ถกู นาสนะ๕ ตรสั หมายถงึ ภิกษณุ ผี ้สู ึกเองหรอื ถกูผู้อน่ื ใหส้ กึ ทีช่ ื่อว่า เข้ารตี ตรัสหมายถึงภิกษณุ ผี ูเ้ ข้ารีตเดียรถยี ์ ภายหลงั ภิกษุณผี รู้ เู้ รอ่ื งน้นั พงึ กล่าวอย่างน้วี า่ “แม่เจ้า เมือ่ กอ่ นดฉิ ันรู้จกั ภกิ ษณุ ีน้ีดีวา่ •นางมคี วามประพฤตอิ ย่างนี้ ๆอนาปตั ตวิ าร ภิกษณุ ีต่อไปน้ไี ม่ต้องอาบัติ คือ ๑. ภกิ ษุณีไมบ่ อกด้วยคดิ ว่า“สงฆ์จักบาดหมางทะเลาะขัดแยง้ หรอื วิวาทกัน” ๒. ภกิ ษุณไี มบ่ อกดว้ ยคดิ ว่า “สงฆ์จกั แตกแยก จกั ร้าวราน” ๓. ภกิ ษุณไี มบ่ อกด้วยคดิ วา่ “ภิกษุณีนีเ้ ปน็ คนหยาบช้า ดรุ า้ ย จกั ทาอนั ตราย แกช่ ีวติ หรอื อันตรายแกพ่ รหมจรรยไ์ ด้” ๔. ภกิ ษณุ ีไม่บอกเพราะไม่พบภกิ ษณุ ีอื่น ๆ ทสี่ มควร ๕. ภกิ ษณุ ีไม่ประสงค์จะปกปดิ แตย่ ังไมไ่ ด้บอกใคร ๖. ภกิ ษุณไี ม่บอกด้วยคิดว่า “ผ้นู ้ันจกั เปดิ เผยเพราะกรรมของตนเอง” ๗. ภิกษณุ วี ิกลจริต ๘. ภกิ ษุณีตน้ บญั ญตั ิ๑.๒.๓ ปาราชกิ สกิ ขาบทที่ ๓ ว่าด้วยการประพฤตติ ามภกิ ษุที่ถกู สงฆล์ งอกุ เขปนียกรรม เรือ่ งภิกษุณีถลุ ลนันทา ครั้งน้นั ภิกษณุ ถี ลุ ลนันทาประพฤติตาม๖ พระอรฏิ ฐะ๗ผูม้ ีบรรพบรุ ุษเป็นพรานฆ่านกแรง้ ๘ท่ีสงฆ์พรอ้ มเพรยี งกันลงอุกเขปนยี กรรมแล้ว บรรดาภกิ ษณุ ีผู้มักน้อย ฯลฯ พากนั ตาหนิ ประณาม ๕ นาสนะ หมายถึงใหส้ ึกจากความเปน็ ภิกษณุ ี (วิ.อ.๓/๒๓๗/๑๕๙) ๖ประพฤตติ ามพระอริฏฐะหมายถงึ ประพฤติในทานองเดียวกนั ประพฤติเลียนแบบ คอื พระอริฏฐะมีทิฏฐิบาปเกิดขนึ้ ในใจวา่ “ตวั เองรู้ธรรมถงึ ขนาดที่ว่า ธรรมตามท่พี ระผมู้ ีพระภาคตรัสวา่ เป็นธรรมทาอนั ตรายกห็ าสามารถทาอันตรายได้จริงไม่...” ภิกษณุ ถี ุลลนนั ทาก็มีทฏิ ฐเิ ชน่ นั้นเหมือนกัน (วิ.(แปล) เล่ม ๒/๔๑๗/๕๒๕) ๗ พระอรฏิ ฐะ รูปน้เี ป็นพหูสูต เปน็ ธรรมกถึก รู้แต่อนั ตรายิกธรรมบางส่วน เพราะเหตุที่ท่านไมฉ่ ลาดเร่ืองวินยั จึงไม่รู้เรือ่ งอันตรายิกธรรมแหง่ การล่วงละเมิดพระวนิ ยั บญั ญตั ิ ดังนัน้ คร้ังทที่ า่ นอย่ใู นทห่ี ลกี เร้นจงึ ไดเ้ กดิความคิดอยา่ งนว้ี า่ พวกคฤหสั ถ์ท่ียุ่งเกย่ี วอยกู่ บั กามคณุ ทเ่ี ปน็ โสดาบนั กม็ ี เปน็ สกทาคามกี ็มี เป็นอนาคามีกม็ ี ส่วนพวกภกิ ษกุ ็ยังเหน็ รปู ท่จี ะพึงรู้ด้วยจกั ษุ ฯลฯ ยังถกู ตอ้ งส่งิ สัมผัสที่จะพงึ รู้ดว้ ยกาย ยังใช้สอยผา้ ปูผา้ หม่ อ่อนนุ่ม ส่งิ นี้ทงั้ หมดถอื ว่าควร ทาไมรูป เสียง กล่ิน รส สมั ผสั ของหญิงจะไมค่ วร ส่งิ เหลา่ น้นั ตอ้ งควรแน่นอน ทา่ นเกิดทิฏฐิบาปขนึ้ มาแลว้ ขดั แย้งกบั พระสพั พัญญตุ ญาณวา่ “ทาไมพระผู้มีพระผ้มู ีพระภาคจึงบัญญตั ปิ ฐมปาราชกิ อย่างกวดขันประดจุ กนั้ มหาสมุทรฉะนัน้ ในข้อน้ไี มม่ ีโทษ” ตัดความหวงั ของเหล่าภัพพบุคคลคดั คา้ นพระเวสารัชญาณ ใสต่ อและ

๑๑โพนทะนาไดน้ าเรอ่ื งน้ไี ปบอกภกิ ษุทงั้ หลายใหท้ ราบ พวกภิกษุไดน้ าเรอื่ งน้ไี ปกราบทูล พระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ พระผู้มพี ระภาครบั ส่งั ให้ประชุมสงฆ์เพราะเรอื่ งนี้เปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทงั้ หลาย แล้วจงึ รบั สง่ั ให้ภกิ ษุณีทงั้ หลายยกสกิ ขาบทนข้ี ึน้ แสดงดังน้ีพระบญั ญตั ิ ก็ภิกษุณีใดประพฤตติ ามภิกษผุ ถู้ ูกสงฆพ์ รอ้ มเพรยี งกนั ลง อกุ เขปนียกรรม๙ โดยธรรม โดยวินยั โดยสตั ถุศาสน์นน้ั ผู้ไม่เอือ้ เฟ้ือ สงฆ์ยังไม่รับรอง ยังไม่ได้ทาภกิ ษุผู้มสี ังวาสเสมอกนั ให้เป็นสหาย๑ ภกิ ษณุ นี ้นั อนั ภิกษณุ ีทัง้ หลายพึงวา่ กล่าวตักเตือนอย่างนว้ี า่ “แม่เจา้ ภกิ ษุนัน่ ถกู สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงอกุ เขปนยี กรรมโดยธรรม โดยวินยั โดยสตั ถุศาสน์๒ เปน็ ผ้ไู ม่เอือ้ เฟ้อื สงฆย์ ัง ไม่รับรอง ยงั ไม่ไดท้ าภกิ ษผุ ูม้ ีสงั วาสเสมอกนั ให้เป็นสหาย แม่เจ้าอย่าประพฤติ ตามภกิ ษนุ น่ั ” ภิกษุณีนน้ั ผู้อันภิกษณุ ที ง้ั หลายว่ากลา่ วอยอู่ ยา่ งนี้ ยังยกยอ่ งอยอู่ ย่างน้ัน ภกิ ษุณนี น้ั อันภิกษุณที ั้งหลายพงึสวดสมนุภาสนจ์ นครบ ๓ คร้ังเพื่อให้ สละเรอื่ งน้นั ถ้านางกาลังถูกสวดสมนภุ าสนก์ วา่ จะครบ ๓ครัง้ สละเรอื่ งนั้นได้ นั่นเป็นการดี ถา้ นางไมส่ ละ แมภ้ ิกษุณีน้ีก็เปน็ ปาราชิกชอ่ื อกุ ขิตตานวุ ัตตกิ า๓หาสังวาสมไิ ด้สกิ ขาบทวภิ ังค์ สงฆ์ทีช่ ือ่ วา่ พรอ้ มเพรยี งกัน คือ มีสังวาสเสมอกัน อยใู่ นสมานสังวาสสมี า ถกู ... ลงอุกเขปนียกรรม คอื ถกู ลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็น เพราะไม่ทาคนื หรือเพราะไม่สละคนื อาบตั ิ โดยธรรมใด โดยวินัยใด โดยคาส่ังสอนของพระชนิ เจา้ โดยคาส่ังสอนของพระพุทธเจา้ ทชี่ ่อื วา่ ผูไ้ ม่เอ้ือเฟอ้ื คือ ไมย่ อมรับสงฆ์ คณะ บคุ คล หรอื กรรม ทช่ี ่ือว่า สงฆย์ งั ไมร่ บั รอง คือ ถกู สงฆข์ ับไลแ่ ล้วยงั ไม่เรยี กกลับเข้าหมู่หนามในอริยมรรค ประหารอาณาจักรของพระชินเจา้ ดว้ ยกลา่ วว่า “เมถุนธรรม ไมม่ โี ทษ” (ว.ิ อ. ๒/๔๑๗/๔๑๘-๔๑๙, ม.ม.ู อ. ๒/๒๓๔/๙-๑๐) ๘ คทธฺ าธิปพุ ฺโพ ผู้มีบรรพบรุ ษุ เปน็ พรานฆา่ นกแรง้ อรรถกถาอธบิ ายว่า คทฺเธ พาธยึสูติ คทธฺ พาธิโน, คทฺธพาธิโน ปพุ ฺพปรุ ิสา อสฺสาติ คทธฺ พาธิปพุ ฺโพ. ...คิชฌฺ ฆาฏกกลุ ปฺปสูตสสฺ พรานฆ่านกแร้งเป็นบรรพบรุ ษุ ของเขา เหตุนนั้ เขาจึงชอ่ื วา่ เป็นผู้มีบรรพบรุ ษุ เปน็ พรานฆ่านกแรง้ หมายความว่า เป็นคนเกิดในตระกลู พรานฆา่ นกแร้ง (ว.ิ อ. ๒/๔๑๗/๔๑๘) ๙ อกุ เขปนียกรรม คือการกันออกจากหมู่, การยกออกจากหมู่ (ว.ิ มหา(ปาลิ) ๕/๔๑๕/๒๐๘)

๑๒ ทีช่ อ่ื ว่า ยังไม่ไดท้ าภกิ ษุผมู้ สี ังวาสเสมอกันใหเ้ ป็นสหาย คือ ภกิ ษุทงั้ หลาย ผู้มสี งั วาสเสมอกัน๑ พระผู้มพี ระภาคตรัสเรียกวา่ ผ้เู ป็นสหาย ภกิ ษุผู้ถกู สงฆล์ ง อุกเขปนียกรรม ไม่มสี ังวาสนัน้ กบั ภิกษุเหลา่ น้ัน ด้วยเหตนุ ัน้ พระผู้มีพระภาคจงึ ตรสั ว่า ยงั ไม่ได้ทาภิกษผุ ้มู ีสงั วาสเสมอกนั ให้เปน็ สหาย ภิกษุณที ้ังหลายทไี่ ดเ้ ห็นไดย้ ินพึงวา่ กล่าวตักเตอื นเธอ พึงวา่ กลา่ วตักเตอื นเธอแมค้ รง้ั ท่ี ๒ พงึว่ากล่าวตักเตอื น เธอแม้ครัง้ ที่ ๓ ถา้ เธอสละได้ น่นั เป็นการดี ถ้าเธอไม่สละ ตอ้ งอาบตั ิทกุ กฏ ภิกษุณีทง้ั หลายได้ยินไม่วา่ กล่าวตักเตือน ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ ภกิ ษุณีนนั้ อนั ภกิ ษุณีทั้งหลายพึงคุมตัวมาสู่ท่ามกลางสงฆ์ว่ากล่าวตักเตือน พึงวา่ กลา่ วตักเตอื นเธอแม้ครง้ั ท่ี ๒ พงึ ว่ากลา่ วตักเตอื นเธอแม้ครั้งที่ ๓ถ้าเธอสละได้ นนั่ เป็นการดี ถา้ เธอไม่สละ ตอ้ งอาบตั ิทกุ กฏ ภิกษุณนี น้ั อันภกิ ษุณีสงฆพ์ ึงสวดสมนุภาสน์ คาวา่ เป็นปาราชกิ อธบิ ายวา่ ภกิ ษณุ ถี ูกสงฆส์ วดสมนุภาสน์จนครบ ๓ ครั้งกย็ งั ไมย่ อมสละเธอยอ่ มไม่เป็นสมณะหญงิ ไม่เป็นเชอ้ื สายศากยธิดา เปรยี บเหมือนแผ่นศิลาหนาแตกออกเป็น ๒ เสี่ยงจะประสานให้สนิทเป็นเน้อื เดียวกนั อกี ไม่ได้ ด้วยเหตุนนั้ จงึ ตรสั ว่า เปน็ ปาราชกิบทภาชนยี ์ตกิ ทุกกฏ กรรมทที่ าไมถ่ ูกตอ้ ง ภกิ ษุณีสาคัญวา่ เปน็ กรรมท่ีทาถูกต้อง ภิกษุณไี ม่แน่ใจ ภกิ ษณุ ีสาคัญวา่เปน็ กรรมทีท่ าไม่ถกู ตอ้ ง ต้องอาบตั ทิ ุกกฏอนาปตั ตวิ าร ภกิ ษุณตี ่อไปนี้ไม่ตอ้ งอาบัตปิ าราชกิ คอื ๑. ภกิ ษุณียงั ไมถ่ กู สวดสมนภุ าสน์ ๒. ภิกษณุ ยี อมสละ ๓. ภกิ ษุณีวกิ ลจริต ๔. ภกิ ษุณตี ้นบัญญตั ิ๑.๒.๔ ปาราชิกสกิ ขาบทที่ ๔ ว่าด้วยวัตถุ ๘ มีการยนิ ดีการจับมอื ของชายเปน็ ต้น๑๐ ๑๐ คาว่า อฏั ฐวัตถุกา แปลวา่ วตั ถุ เหตหุ รือกรณี ๘ อย่าง เปน็ ช่ือเรียกภกิ ษณุ ผี ูต้ อ้ งอาบัติปาราชิกสิกขาบทน้ี เมื่อทาครบ ๘ อย่าง คือ ๑. ยินดีการจับมือ ๒. ยินดีการจับมุมสังฆาฏิ ๓. ยืนเคียงคู่ ๔. สนทนากัน ๕. ไปท่ีนัดหมาย ๖. ยินดีท่ีเขามาหา ๗. เดินตามเข้าไปสู่ที่ลับ ๘. น้อมกายเข้าไปเพื่อจะเสพอสัทธรรมกับชายผู้กาหนัด(วิ.อ. ๒/๖๗๖/๔๖๘)เมอื่ ภกิ ษณุ ลี ่วงละเมดิ แตล่ ะวัตถุ ต้องอาบัติเลก็ น้อยดงั นี้ ๑. ในขณะทเ่ี ดนิ ทางไปท่นี ดั หมาย ต้องอาบัติทกุ กฏทุก ๆ ย่างก้าว พอก้าวเข้าสู่หัตถบาส(ระยะช่วงแขน)ของชายตอ้ งอาบตั ิถลุ ลจั จยั

๑๓ เรอ่ื งภิกษณุ ีฉัพพัคคีย์ ครั้งนัน้ พวกภกิ ษณุ ีฉัพพัคคยี ก์ าหนดั ยนิ ดีการจบั มอื บา้ ง ยนิ ดีการท่ีชายผกู้ าหนัดจับมุมสงั ฆาฏบิ า้ ง ยืนเคียงคกู่ นั กบั ชายบ้าง สนทนากันบ้าง ไปท่ีนดั หมายบา้ ง ยนิ ดกี ารท่ีชายมาหาบ้าง เดินตามเขา้ ไปสู่ท่ีลับบ้าง น้อมกายเขา้ ไปเพ่อื คลกุ คลกี ันดว้ ยกายน้นั เพื่อจะเสพอสัทธรรม นน้ั กบั ชายผู้กาหนดั บา้ ง พวกภิกษุจงึ ไดน้ าเร่ืองนี้ไปกราบทลู พระผู้มีพระภาคใหท้ รงทราบ พระผ้มู ีพระภาครบั ส่งั ให้ประชุมสงฆ์เพราะเรอ่ื งน้เี ปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษทุ งั้ หลายแลว้ จงึ รบั สง่ั ใหภ้ กิ ษุณที งั้ ลายยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงดงั นี้พระบัญญัติ กภ็ ิกษุณีใดกาหนัดพึงยินดีการจับมือ ยินดีการที่ชายผู้กาหนัดจับมุมสังฆาฏิ ยืนเคียงคู่กันกับชาย สนทนากัน ไปที่นัดหมาย ยินดีการท่ีชาย มาหา เดินตามเข้าไปสู่ท่ีลับ หรือน้อมกายเข้าไปเพอ่ื คลกุ คลกี ันดว้ ยกายน้ันเพ่อื จะเสพอสัทธรรม๑น้นั กับชายผู้กาหนัด แม้ภิกษุณีน้ีเป็นปาราชิกชื่ออัฏฐวตั ถกุ า๒ หาสงั วาสมไิ ด้สิกขาบทวภิ ังค์ ทชี่ ือ่ ว่า มือ หมายเอาตั้งแต่ข้อศอกถึงปลาย เล็บ ภิกษุณยี นิ ดีการจับอวัยวะบรเิ วณเหนอื รากขวัญข้นึ ไป ใต้เขา่ ลงมา เพ่อื จะเสพ อสัทธรรมน้ัน ต้องอาบัติถุลลัจจยั คาว่า เป็นปาราชกิ อธบิ ายวา่ ภกิ ษณุ เี มอ่ื ทาวัตถุครบท้งั ๘ ประการย่อม ไม่เปน็ สมณะหญงิไม่เป็นเชือ้ สายศากยธิดา๑ เปรยี บเหมือนต้นตาลยอดด้วนทไ่ี มอ่ าจงอกไดต้ อ่ ไป ดว้ ยเหตุน้นั พระผู้มีพระภาคจึงตรัสวา่ เป็นปาราชิก๑๑ ๒. ยินดีการท่ชี ายมา ตอ้ งอาบัติทุกกฏ พอชายกา้ วเข้าส่หู ตั ถบาส ต้องอาบัตถิ ุลลัจจยั ส่วนวัตถุทเี่ หลืออกี ๖ คือ ๑. ยินดกี ารจับมือ ๒. ยินดกี ารจับมมุ สงั ฆาฏิ ๓. ยืนเคียงคกู่ นั ๔. สนทนากัน ๕. ตามเข้าไปสู่ทล่ี ับ ๖. น้อมกายเข้าไปเพ่ือจะเสพอสัทธรรม ปรับอาบัติถุลลัจจัยเท่านั้นสาหรับแต่ละวัตถุ ภิกษุณีต้องอาบัติถุลลัจจัยเพราะล่วงละเมิดแต่ละวัตถุแล้ว ไม่คิดจะสลัดท้ิง โดยคิดว่า “เราจะต้อง อาบัติแม้เพราะวัตถุอื่นอีก” แม้จะแสดง(ปลง)อาบัติก็ไม่เป็นอันแสดง อาบัติน้ันยังสะสมอยู่ เม่ือต้องอาบัติ ถุลลัจจัยเพราะล่วงละเมิดวัตถุอ่ืน ๆ ก็เป็นการสะสมอาบัติเร่ือยไป พอเมื่อล่วงละเมิดครบวัตถุทั้ง ๘ ต้อง อาบัติปาราชิก แต่ถ้าภิกษุณีน้ันล่วงละเมิดวัตถุใดวัตถุหนึ่งแลว้ คดิ สลัดทง้ิ ไปว่า “บัดน้ีเราจักไม่ต้องอาบัติ” แล้วแสดง(ปลง)อาบัติ อาบัติถุลลัจจัยน้ันย่อมตกไป ไม่สะสมอยู่ แม้จะล่วงละเมิดวัตถุอ่ืน ๆ อีกจนครบทั้ง ๘ ก็ไม่ต้องอาบัติปาราชิก เพราะเธอทาการสลัดท้ิงโดยแสดง(ปลง)อาบัตทิ กุ ครั้งทลี่ ่วงละเมิดวตั ถุแต่ละอย่าง (ว.ิ อ. ๒/๖๗๖/๔๖๘, กงฺขา.อ. ๓๔๕/๓๔๖) ๑๑ ปาราชกิ ของภิกษณุ ีท่เี หลอื อีก ๔ สกิ ขาบท มเี น้อื ความเหมือนกันกบั ปาราชิก ๔ สิกขาบทของภิกษุ

๑๔อนาปัตตวิ าร ภกิ ษุณตี อ่ ไปนี้ไมต่ อ้ งอาบตั ิ คอื ๑. ภกิ ษุณีไมจ่ งใจ ๒. ภิกษุณไี มม่ สี ติ ๓. ภกิ ษุณีผู้ไม่รู้ ๔. ภกิ ษุณผี ู้ไม่ยินดี ๕. ภิกษณุ วี กิ ลจรติ ๖. ภิกษุณจี ติ ฟงุ้ ซา่ น ๗. ภกิ ษุณกี ระสับกระส่ายเพราะเวทนา ๘. ภกิ ษุณีต้นบัญญัติบทสรปุ ธรรมคอื ปาราชิก ๘ สิกขาบท ซ่งึ ภกิ ษณุ ีตอ้ งเข้าแลว้ ย่อมอยู่รว่ มกับภิกษณุ ที ัง้ หลายไมไ่ ด้ เป็นปาราชิก หาสังวาสมไิ ด้ คาว่า ปาราชกิ เปน็ ชื่อธรรมคืออาบัตปิ าราชกิ แปลวา่ ทาให้พ่ายแพ้ เปน็ ชื่อบคุ คลผู้ตอ้ งอาบัติปาราชิก แปลวา่ ผู้พา่ ยแพ้ บทบญั ญตั ใิ นปาราชกิ กณั ฑ์ ปรบั โทษสถานหนกั แก่ภิกษณุ ผี ลู้ ว่ งละเมดิ จัดเป็นครุกาบตั ิคืออาบัติหนกั ภิกษณุ ีผูล้ ่วงละเมิดย่อมขาดจากความเป็นภิกษุณที นั ที ต้องสละสมณเพศและไม่ไดร้ บัฉะนนั้ จงึ รวมเปน็ ๘ สกิ ขาบท (ว.ิ แปล ๑/๔๔/๓๒,๙๑/๘๐,๑๗๑/๑๔๐-๑,๑๙๗/๑๘๓)

๑๕อนญุ าตให้บวชเปน็ ภกิ ษุณีอีก อาบตั ปิ าราชกิ จดั เป็นทุฏฐลุ ลาบัตคิ ืออาบัตชิ ั่วหยาบ เป็นอนวเสสาบตั ิคือ อาบัติไมม่ ีส่วนเหลอื และเปน็ อเตกจิ ฉา คือแกไ้ ขไม่ได้ ปาราชกิ ของภกิ ษณุ ีสงฆแ์ บ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ๑. อสาธารณปาราชกิ เป็นสิกขาบทท่พี ระผมู้ พี ระภาคทรงปรารภภกิ ษณุ ีสงฆ์ บัญญัติไว้เฉพาะสาหรับภกิ ษุณีสงฆ์ ๒. สาธารณปาราชกิ เปน็ สกิ ขาบทท่ีพระผู้มพี ระภาคทรงปรารภภกิ ษสุ งฆบ์ ญั ญตั ิไว้ ซึ่งภกิ ษุณีสงฆพ์ ึงรกั ษาดว้ ย ในภกิ ขนุ ีวิภงั ค์น้ี แสดงไวเ้ ฉพาะอสาธารณปาราชิก ๔ สกิ ขาบท สว่ นสาธารณปาราชิก ๔สิกขาบทอนโุ ลมตามของภกิ ษุ การตอ้ งอาบัตขิ อ้ ที่ ๓ ของภกิ ษุณนี ั้นจะต้องสวดสมนภุ าสนเ์ หมอื นสงัสงั ฆาทเิ สสของภกิ ษซุ ึ่งการสวดน้ันมลี าดับดงั นี้ วิธีสวดสมนุภาสนแ์ ละกรรมวาจาสวดสมนภุ าสน์ ภิกษณุ สี งฆ์พงึ สวดสมนุภาสน์ภิกษุณีนนั้ อย่างนี้ คอื ภกิ ษณุ ี ผูฉ้ ลาดสามารถพงึ ประกาศใหส้ งฆ์ทราบด้วยญัตตจิ ตุตถกรรมวาจาว่า แมเ่ จ้า ขอสงฆจ์ งฟงั ข้าพเจ้า ภกิ ษณุ ชี ื่อนี้ประพฤติตามภกิ ษุผถู้ กู สงฆ์ พร้อมเพรยี งกันลงอุกเขปนยี กรรมโดยธรรม โดยวินยั โดยสตั ถุศาสน์ เปน็ ผู้ไม่เอือ้ เฟ้ือ สงฆ์ยงั ไมร่ ับรอง ยังไมไ่ ดท้ าภิกษุผู้มีสังวาสเสมอกนั ให้เปน็ สหาย เธอไม่สละเรอ่ื งนน้ั ถา้ สงฆ์พร้อมกนั แล้วพึงสวดสมนุภาสน์ภกิ ษณุ ชี ื่อน้ีเพ่ือให้สละเรือ่ งน้นั น่เี ป็นญตั ติ๑ แม่เจา้ ขอสงฆ์จงฟังขา้ พเจ้า ภิกษณุ ีนปี้ ระพฤติตามภกิ ษผุ ู้ถูกสงฆพ์ รอ้ มเพรยี ง กนั ลงอุกเขปนียกรรมโดยธรรม โดยวินัย โดยสตั ถศุ าสน์ เป็นผูไ้ ม่เอือ้ เฟื้อ สงฆย์ งั ไม่รบั รอง ยังไม่ได้ทาภกิ ษผุ ู้มสี ังวาสเสมอกันให้เป็นสหาย เธอไมส่ ละเร่อื งนัน้ สงฆ์ สวดสมนุภาสนภ์ กิ ษชุ ่อื น้ีเพื่อให้สละเร่อื งนน้ั แมเ่ จา้ รปูใดเหน็ ดว้ ยกบั การสวด สมณุภาสนภ์ กิ ษุณนี เ้ี พ่ือใหส้ ละเร่ืองนั้น แมเ่ จา้ รปู นนั้ พงึ นิง่ แมเ่ จา้ รูปใดไมเ่ หน็ ดว้ ย แมเ่ จ้ารูปน้ันพึงทักท้วง แม้คร้งั ท่ี ๒ ขา้ พเจ้าขอกล่าวความน้ี ฯลฯ แม้ครงั้ ที่ ๓ ขา้ พเจา้ ขอกล่าว ความน้ี ฯลฯ ภกิ ษณุ ชี ือ่ นส้ี งฆส์ วดสมนภุ าสน์เพ่อื ใหส้ ละเรื่องน้นั แลว้ สงฆเ์ หน็ ด้วย เพราะฉะน้ันจึงนิง่ข้าพเจ้าขอถือความนิ่งน้ันเปน็ มตอิ ยา่ งน้ี”จบญัตติ ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏ จบกรรมวาจา ๒ ครงั้ ตอ้ งอาบตั ิถุลลจั จยั จบกรรมวาจาครงั้ สดุ ท้าย ตอ้ งอาบัติปาราชิกคาถามประจาบท ๑. จงวเิ คราะห์ปาราชกิ สกิ ขาบทของภกิ ษณุ ีทั้ง ๔ สิกขาบทว่ามเี หตุเกิด สถานท่ี และบุคคล ที่เกีย่ วข้อง? ภิกษุณตี ้องอาบตั สิ ิกขาบทข้อที่ ๑ ของภกิ ษุได้หรอื ไม่อยา่ งไร อธบิ าย บทท่ี ๒

๑๖ สังฆาทิเสสกัณฑ์ พระมหาวิจิตร กลยฺ าณจติ โฺ ตวตั ถปุ ระสงค์ประจาบทเรยี น เมื่อนิสิตเรียนบทนแี้ ลว้ สามารถ บอกความสาคญั ของอาบัตสิ ังฆาทเิ สสได้ อธิบายขนั้ ตอนการบัญญัตสิ ังฆาทเิ สสได้ อธิบายเหตเุ กดิ สถานทแ่ี ละเนือ้ หาของสังฆาทเิ สสได้ บอกเหตทุ ่ีตอ้ งอาบตั ิและไมต่ ้องอาบัตไิ ด้เนอ้ื หาโดยสงั เขป สาระสาคัญในสังฆาทเิ สส สิกขาบทท่ี ๑-๑๐

๑๗ความนา ธรรมคือสังฆาทิเสส ๑๗ สิกขาบท ๙ สิกขาบท ให้ต้องอาบัติเม่ือแรกทา ๘ สิกขาบทให้ต้องอาบตั เิ มื่อสวดสมนภุ าครบสามจบภิกษุณีล่วงสิกขาบทใดสกิ ขาบทหนึง่ แล้ว ภิกษุณีนน้ั ตอ้ งประพฤติปักขมานตั ในสงฆส์ องฝ่าย ภิกษณุ ีประพฤตมิ านัต แลว้ ภกิ ษณุ สี งฆ์มคี ณะ ๒๐ อยู่ในสีมาใด พงึ เรียกภกิ ษณุ ีนั้นเข้าหมู่ในสีมาน้ัน หากภิกษุณีสงฆ์มีคณะ ๒๐ หย่อนแม้รูปหน่ึง พึงเรียกภิกษุณีน้ันเข้าหมู่ ภิกษุณีนั้นก็ไม่เปน็ อนั สงฆ์ เรยี กเข้าหมแู่ ล้ว และภิกษณุ ีเหล่านน้ั ควรถูกตาหนิ สังฆาทิเสส๑๒ สาหรับภิกษุณีไม่ต้องอยู่ปริวาสเหมือนภิกษุ สาหรับอาบัตินั้นสงฆ์เท่าน้ันให้มานัต ชกั เข้าหาอาบัติเดิม เรยี กเข้าหมู่๑ ภกิ ษณุ ีหลายรูปกท็ าไม่ได้ ภิกษุณีรูปเดียวก็ทาไม่ได้ ด้วยเหตุนน้ั พระผมู้ ีพระภาคจึงตรัสวา่ สงั ฆาทเิ สส๑๓ ๑๒ สงั ฆาทิเสสนเี้ ปน็ ชื่อเรียกกองอาบตั ิ แปลวา่ “หมอู่ าบัติที่ต้องการสงฆ์ท้ังในระยะเบื้องต้นและในระยะท่ีเหลือ” หมายความว่า ภิกษุณีผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสสจะออกจากอาบัตินั้นได้ต้องอาศัยสงฆ์ให้มานัต (ปักข มานัต)ชักเข้าหาอาบัติเดมิ และอัพภาน(เรียกเข้าหมู่) ในกรรมท้ังหมดนี้ ขาดสงฆ์เสียแล้ว ก็ทาไม่ได้สาเร็จ ภิกษุณีผู้จะออกจากอาบัติสังฆาทิเสสน้ัน แม้จะปิดอาบัติไว้ก็ไม่ต้องอยู่ปริวาส ประพฤติปักขมานัตในสงฆ์ ๒ ฝ่ายเลยทีเดียว” (กงฺขา.อ. ๓๕๕, (วิ. มหา. ๑/๒๓๗/๒๕๒)สังฆาทิเสสน้ี เป็นช่ือเรียกกองอาบัติ แปลว่า“หมู่อาบัติท่ีต้องการสงฆ์ท้ังในระยะเบ้ืองต้นและในระยะท่ีเหลือ”หมายความว่า ภกิ ษผุ ู้ต้องอาบัตสิ งั ฆาทเิ สส จะออกจากอาบตั นิ ัน้ ได้ตอ้ งอาศัยสงฆ์ให้ปริวาส ให้มานัต ชักกลับเข้าหาอาบัตเิ ดิมและอัพภาน ในกรรมท้ังหมดนข้ี าดสงฆเ์ สยี แล้วก็ทาไม่สาเรจ็ (ว.ิ อ. ๒/๒๓๗/๖) ๑๓ สงั ฆาทิเสส ๑๗ สกิ ขาบทของภกิ ษณุ สี งฆ์น้ีปรากฏเพียง ๑๐ สกิ ขาบท เป็นอสาธารณบัญญตั ิ คอื ภกิ ษุสงฆไ์ ม่ตอ้ งรกั ษา ทเ่ี ปน็ สาธารณบัญญตั ิ คือภกิ ษุสงฆ์ตอ้ งรกั ษาดว้ ย ๗ สกิ ขาบท คอื๑. สัญจรติ ตสกิ ขาบท ว่าด้วยการชักสือ่๒. ปฐมทฏุ ฐโทสะ ขอ้ ที่ ๑ วา่ ด้วยภกิ ษณุ ขี ัดเคืองมีโทสะ๓. ทตุ ยิ ทุฏฐโทสะ ว่าดว้ ยภกิ ษุณขี ัดเคืองมีโทสะขอ้ ท่ี ๒๔. สังฆเภท วา่ ด้วยการทาสงฆใ์ หแ้ ตกกนั๕. สังฆเภทานุวัตตกะ ว่าด้วยภิกษุณีผ้ปู ระพฤติตามกลา่ วสนบั สนนุ ภกิ ษุผทู้ าลายสงฆ์๖. ทุพพจะ ว่าด้วยภิกษณุ ีเปน็ คนวา่ ยาก๗. กลุ ทูสกะ ว่าดว้ ยภกิ ษุณผี ู้ประทษุ รา้ ยตระกลู (วิ แปล ๑/๒๙๙/๓๔๒,๓๐๑/๓๔๔, ๓๘๕/๔๑๙,๓๙๒/๔๓๒,๔๑๑/๔๔๔- ๔๔๕,๔๑๘/๔๕๐,๔๒๕/๔๕๕,๔๓๖/๔๖๖ -๔๖๗)

๑๘๒.๑ สังฆาทิเสสสกิ ขาบทท่ี ๑ ว่าดว้ ยการก่อคดีพพิ าท เร่อื งอบุ าสกกับภกิ ษณุ ถี ุลลนนั ทา ครัง้ นน้ั อบุ าสกคนหนึง่ ถวายโรงเกบ็ ของแก่ภิกษุณีสงฆ์แลว้ ถึงแกก่ รรม เขามบี ตุ ร ๒ คน คนหนึง่ ไม่มศี รทั ธาไม่เลอ่ื มใส อกี คนหน่งึ มีศรัทธาเลอ่ื มใส บุตรทง้ั สองแบง่ สมบัตขิ องบดิ า บตุ รคนทไ่ี มม่ ีศรทั ธาไมเ่ ลอ่ื มใสได้กล่าวกบั บุตรคนทีม่ ศี รทั ธาเลื่อมใสนน้ั ดังนวี้ ่า “พวกเรายังมีโรงเก็บของอยู่ เอาโรงเก็บของนี้มาแบง่ กันเถิด” เม่อื เขากลา่ วอย่างนน้ั บุตรคนที่มีศรัทธาเลอ่ื มใสไดก้ ลา่ ววา่ “ทา่ นอย่าได้กล่าวอยา่ งนี้ บดิ าของพวกเราถวายโรงเกบ็ ของให้ภิกษุณีสงฆแ์ ล้ว” แม้ครั้ง ที่ ๒ แมค้ รง้ั ท่ี ๓ ต่อมา บตุ รคนทีม่ ศี รทั ธาเล่ือมใสคดิ วา่ ถา้ เราได้โรงเกบ็ ของกจ็ ักถวายภิกษณุ ีสงฆ์ จงึ ตกลงเแบง่ มรดกกนั ครัง้ นนั้ เม่อื ทั้งสองกาลังแบง่ กนั อยู่ โรงเก็บของตกเป็นสมบัตขิ องบตุ รคนท่ไี ม่มศี รัทธาไมเ่ ลือ่ มใส เขาไดเ้ ข้าไปหาภกิ ษณุ ีทงั้ หลาย กลา่ ววา่ เชิญท่านท้งั หลายออกไป โรงเกบ็ ของเป็นสมบัติของกระผม ภิกษณุ ถี ุลลนนั ทาไดก้ ลา่ วว่า “เธออยา่ ไดก้ ลา่ วอย่างนี้ บิดาของเธอถวายโรงเกบ็ ของใหภ้ กิ ษณุ ีสงฆแ์ ลว้ ” ทง้ั สองฝา่ ยโตเ้ ถียงกันว่า ถวายไม่ได้ถวาย จึงพากนั ไปฟ้องพวกมหาอมาตยผ์ ูพ้ ิพากษาๆ ถามว่า “แม่เจ้า มีใครบา้ งทพ่ี อจะรู้เหน็ เป็นพยานได้ว่า โรงเกบ็ ของเขาถวายภิกษณุ สี งฆแ์ ลว้ ” เม่อื พวกมหาอมาตยก์ ลา่ วอย่างน้ี ภิกษณุ ีถลุ ลนนั ทาจึงได้กลา่ วว่า “พวกท่านเคยเหน็ หรอื ได้ยินบา้ งไหมว่า เมอ่ื จะถวายทานจะตอ้ งมีพยานดว้ ย” พวกมหาอมาตย์ จงึ ตดั สินมอบโรงเก็บของให้ภกิ ษุณีสงฆ์ไป บรุ ษุ นั้นแพค้ ดี จึงตาหนิ ประณาม โพนทะนาว่า “หญิงชั่วหัวโล้นเหล่าน้ี ไม่ใช่สมณะหญงิไฉนจึงใหผ้ พู้ ิพากษารบิ โรงเก็บของของเราเลา่ ” ภิกษณุ ีถุลลนันทาบอกเร่ืองน้นั ใหพ้ วกมหาอมาตยท์ ราบ พวกมหาอมาตยไ์ ด้ปรับสินไหมเขาบุรุษนั้นถูกปรบั จงึ ใหส้ ร้างท่พี กั อาชีวก ๑ ไวใ้ กล้ทอ่ี ยูภ่ ิกษณุ แี ลว้ สงั่ อาชีวกวา่ “พวกทา่ นจงชว่ ยกนั พดูตะโกนใสภ่ กิ ษุณีเหลา่ นี้” ภกิ ษุณีถลุ ลนันทาจึงบอกเร่อื งนน้ั ให้พวกมหาอมาตยท์ ราบ พวกมหาอมาตย์ส่ังใหจ้ ับบุรุษนัน้จองจาไว้ พวกชาวบา้ นพากนั ตาหนิ ประณาม โพนทะนาว่า “ครงั้ แรกพวกภกิ ษุณใี หเ้ จา้ หนา้ ทีร่ บิ โรงเกบ็ ของ ครัง้ ท่ี ๒ ให้ปรบั สนิ ไหม ครัง้ ท่ี ๓ ให้ จองจา คราวน้ีเหน็ ทจี ะส่ังฆา่ ” บรรดาภกิ ษุณผี ูม้ ักน้อย พากนั ตาหนิ ประณาม โพนทะนาถุลลนันทาท่ีชอบกอ่ คดพี พิ าท พระผูม้ พี ระภาครบั ส่งั ใหป้ ระชมุ สงฆเ์ พราะเร่ืองนีเ้ ปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษทุ งั้ หลาย แล้วจงึ รบั ส่ังให้ภิกษณุ ที งั้ หลายยกสกิ ขาบทนข้ี ึน้ แสดงดงั นี้

๑๙พระบญั ญัติ กภ็ กิ ษณุ ใี ดก่อคดพี พิ าทกบั คหบดี กับบตุ รคหบดี กบั ทาส หรือกบั กรรมกร โดยทีส่ ุดกระทั่งกบั สมณปรพิ าชก ภกิ ษุณนี ี้ต้องธรรมคอื สงั ฆาทเิ สสท่ชี ื่อว่าปฐมาปัตตกิ ะ นสิ สารณียะ๑๔สิกขาบทวิภังค์ กอ่ คดพี พิ าท พระผมู้ พี ระภาคตรัสหมายถึงผกู้ ่อคดี ภิกษุณีแสวงหาเพือ่ นหรือเดินไปดว้ ยต้ังใจว่า “จะก่อคด”ี ต้องอาบตั ิทุกกฏ บอกเร่ืองของคนหนง่ึ (แกต่ ุลาการ) ต้องอาบัติทกุ กฏ บอกเรือ่ งของคนท่สี อง ต้องอาบัติถลุ ลัจจัย เมอื่ ศาลตดั สนิ แล้วต้องอาบตั ิสังฆาทิเสส คาวา่ ปฐมาปัตติกะ คอื ตอ้ งอาบัติพร้อมการล่วงละเมดิ วตั ถโุ ดยไมต่ อ้ งสวด สมนภุ าสน์ คาวา่ นสิ สารณียะ ไดแ้ ก่ ทาให้ถูกขับออกจากหมู่ คาว่า สังฆาทิเสส ความว่า สาหรบั อาบตั ิน้นั สงฆ์เทา่ นั้นใหม้ านตั ชักเข้าหาอาบัติเดมิ เรียกเข้าหมู่๑ ภกิ ษณุ ีหลายรูปกท็ าไมไ่ ด้ ภิกษุณรี ูปเดียวก็ทาไม่ได้ ด้วยเหตุนนั้ พระผู้มพี ระภาคจึงตรัสวา่สงั ฆาทเิ สสอนาปัตติวาร ภิกษุณตี อ่ ไปนไ้ี ม่ตอ้ งอาบตั ิ คอื ๑. ภกิ ษณุ ีถกู พวกชาวบ้านดึงตวั ไป ๒. ภกิ ษณุ ขี ออารกั ขา ๓. ภกิ ษณุ บี อกไมเ่ จาะจงบคุ คล ๔. ภิกษุณวี กิ ลจรติ ๕. ภกิ ษณุ ีต้นบญั ญตั ิ๒.๒ สังฆาทิเสสสกิ ขาบทท่ี ๒ ว่าด้วยการบวชให้สตรีผูเ้ ปน็ โจร เร่ืองชายาเจา้ ลจิ ฉวีกับภกิ ษณุ ีถุลลนันทา คร้ังนั้น ในกรุงเวสาลี ชายาของเจ้าลิจฉวี องค์หน่ึงประพฤตินอกใจพระสวามี เจ้าลิจฉวีผู้น้ันตรัสบอกใหเ้ ลิก ถา้ ไมเ่ ช่นน้ันฉันจะทาโทษเธอ นางแม้จะถูกว่ากล่าวอย่างนี้ก็ไม่เช่ือต่อมา คณะเจ้าลิจ ๑๔ ปฐมาปัตติกะ นิสสารณียะ” เปน็ ช่อื เฉพาะของธรรมคอื อาบตั สิ งั ฆาทเิ สสท่ตี อ้ งในทันทที ี่ล่วงละเมดิโดยไม่มีการสวดสมนภุ าสนแ์ ละภกิ ษุณีทต่ี อ้ งอาบตั สิ ังฆาทเิ สสตอ้ งถกู ไล่ออกจากภกิ ษณุ สี งฆ์ (วิ.อ. ๒/๖๗๙/๔๗๑)ชกั เขา้ หาอาบตั ิเดมิ ” คือมลู ปฏกิ สั สนา “เรียกเข้าหมู่” คอื อัพภาน

๒๐ฉวีได้ประชุมกันด้วยราชกรณียกิจบางอย่าง เจ้าลิจฉวีองค์น้ันได้ตรัสกับพวกเจ้าลิจฉวีขออนุญาตลงโทษสตรคี นหนึง่ คณะถามวา่ “สตรีผนู้ น้ั คือใคร” เจ้าลิจฉวีนน้ั ตอบวา่ “นางคอื ภรรยาประพฤตินอกใจของขา้ พเจ้า ขา้ พเจ้าจัก ฆา่ นาง” คณะกลา่ วว่า “ท่านจงรู้เองเถดิ ” สตรนี ้ันทราบข่าววา่ สามปี ระสงคจ์ ะฆา่ นาง จึงเกบ็ ของสาคัญ ๆ หนีไปยังกรงุ สาวตั ถี เขา้ ไปหาพวกเดยี รถียข์ อบวช พวกเดียรถยี ไ์ มต่ อ้ งการบวชให้ นางจึงเขา้ ไปหาพวกภิกษณุ ีขอบวช พวกภิกษณุ กี ไ็ ม่ต้องการจะบวชให้ จงึ เขา้ ไปหาภกิ ษณุ ีถลุ ลนนั ทาอวดของมีค่าแล้วขอบวช ภิกษุณีถุลลนันทารบั เอาสงิ่ ของแลว้ บวชใหน้ าง ตอ่ มา เจ้าลจิ ฉวีน้นั ทรงตามหาสตรนี ้นั ไปถงึ กรุงสาวัตถี พบนางบวชอยู่ในสานกั ภกิ ษณุ ี จงึ เขา้ไปเฝา้ พระเจา้ ปเสนทิโกศลแลว้ ไดก้ ราบทลู ขออนญุ าตจบั นาง พระเจา้ ปเสนทโิ กศลตรัสวา่ เชญิ ทา่ นสบื หานาง พบแล้วจงมาบอก เจา้ ลิจฉวีกราบทลู วา่ นางบวชอยู่ในสานักภกิ ษณุ ี พระเจ้าขา้ พระเจ้าปเสนทโิ กศลตรัสว่า ถา้ นางบวชอย่ใู นสานกั ภกิ ษุณี ใคร ๆ กท็ าอะไรไมไ่ ด้ พระธรรมอนั พระผมู้ ีพระภาคตรัสไวด้ แี ลว้ ขอให้นางประพฤตพิ รหมจรรย์เพื่อทาท่ีสุดทกุ ขโ์ ดยชอบเถิด เจา้ ลิจฉวนี น้ั ตาหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ ไฉนพวกภิกษุณีจึงบวชให้สตรีผู้เป็นโจรเลา่ บรรดาภกิ ษุณี ผ้มู กั น้อย ฯลฯ พากันตาหนิ ประณาม โพนทะนาไดน้ าเรอ่ื งน้ไี ปบอกภิกษใุ ห้ทราบ พวกภิกษุได้นาเรอื่ งนีไ้ ปกราบทูลพระผู้มีพระภาคใหท้ รงทราบ พระผ้มู พี ระภาครับสัง่ ให้ประชุมสงฆเ์ พราะเรื่องนเ้ี ปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษทุ ั้งหลาย แลว้จึงรับส่งั ให้ภกิ ษุณที งั้ หลายยกสิกขาบทนีข้ น้ึ แสดงดังนี้พระบัญญตั ิ ก็ภิกษณุ ใี ดรอู้ ยไู่ มบ่ อกพระราชา สงฆ์ คณะ สมาคม หรือกลุ่มชนให้ทราบ บวชใหส้ ตรผี ู้เปน็ โจรซึ่งเปน็ ท่ีรกู้ ันว่าตอ้ งโทษประหาร เว้นไวแ้ ต่สตรที ี่สมควร แม้ภิกษุณีนี้ก็ตอ้ งธรรมคอื สงั ฆาทเิ สสท่ชี ่อื วา่ ปฐมาปัตตกิ ะ นสิ สารณียะสกิ ขาบทวิภงั ค์ สตรผี ู้เปน็ โจร คือ สตรีผู้ถอื เอาสิ่งของทเ่ี จา้ ของไม่ไดใ้ ห้ มรี าคา ๕ มาสกหรือมากกวา่ ๕มาสก โดยสว่ นแห่งจติ คดิ จะลกั นช้ี ่ือวา่ สตรีผู้เปน็ โจร ตอ้ งโทษประหาร หมายถงึ ผทู้ าความผดิ โทษถงึ ประหารชวี ิต ท่ชี อ่ื วา่ เป็นทร่ี กู้ นั หมายถงึ ผู้คนเหล่าอนื่ ก็ร้วู ่าผนู้ ้ีตอ้ งโทษประหารชวี ติ พระราชา ความวา่ พระราชาทรงปกครองในทใี่ ด ต้องขอพระบรมราชานญุ าตในถ่ินนน้ั ที่ชือ่ ว่า สงฆ์ พระผูม้ ีพระภาคตรสั ถงึ ภกิ ษณุ ีสงฆ์ ตอ้ งขอนุญาตภิกษุณีสงฆ์ ที่ชื่อว่า คณะ ความว่า คณะปกครองในถิ่นใด ตอ้ งบอกคณะในถิน่ น้นั ที่ชอ่ื ว่า สมาคม ความว่า สมาคมปกครองในถ่ินใด ต้องบอกสมาคมในถน่ิ น้ัน

๒๑ ท่ชี อื่ ว่า กลุม่ ชน ความวา่ กลุม่ ชนปกครองในถิ่นใด ตอ้ งบอกกลมุ่ ชนในถ่ินน้นั สตรีทสี่ มควร มี ๒ ประเภท คอื (๑) ผู้ท่บี วชในสานกั เดยี รถยี ์ (๒) ผทู้ ีบ่ วชในสานกั ภกิ ษณุ อี ื่นภกิ ษณุ ีคดิ ว่า เราจกั บวชให้เวน้ ไวแ้ ตผ่ ู้ทผ่ี ่านการบวชมาแลว้ แล้วจึงแสวงหาคณะ กรรมวาจาจารย์บาตรหรอื จีวร หรือสมมติสมี า ตอ้ งอาบตั ิทุกกฏ จบญัตติ ตอ้ งอาบตั ิทุกกฏ จบกรรมวาจา ๒ ครั้ง ต้องอาบัตถิ ุลลัจจัย จบกรรมวาจาครัง้สุดทา้ ย อปุ ชั ฌายต์ ้องอาบัติสงั ฆาทิเสส คณะและอาจารย์ต้องอาบัติทกุ กฏบทภาชนยี ์ สตรีผู้เปน็ โจร ภิกษุณสี าคญั วา่ เป็นสตรผี ู้เปน็ โจร บวชให้ ตอ้ งอาบตั ิ สังฆาทเิ สส เวน้ ไวแ้ ต่สตรีทส่ี มควร สตรผี ู้เป็นโจร ภิกษณุ ไี ม่แนใ่ จ บวชให้ ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ เวน้ ไวแ้ ต่สตรีที่ สมควร สตรีผ้เู ปน็ โจร ภกิ ษณุ สี าคัญวา่ ไม่ใช่สตรผี เู้ ป็นโจร บวชให้ เว้นไว้แต่สตรที ่ีสมควร ไม่ตอ้ งอาบัติ ไมใ่ ช่สตรีผเู้ ป็นโจร ภกิ ษณุ สี าคัญสตรผี ูเ้ ปน็ โจร บวชให้ ตอ้ งอาบตั ทิ ุกกฏ ไม่ใช่สตรีผู้เป็นโจร ภิกษุณีไมแ่ นใ่ จ บวชให้ ต้องอาบัติทกุ กฏ ไมใ่ ช่สตรผี ู้เป็นโจร ภิกษณุ ีสาคัญวา่ ไม่ใช่สตรีผเู้ ป็นโจร บวชให้ ไม่ต้องอาบตั ิอนาปัตติวาร ภกิ ษณุ ีต่อไปนีไ้ ม่ตอ้ งอาบตั ิ คือ ๑. ภิกษุณไี ม่รวู้ ่าเป็นสตรผี ู้เปน็ โจรจงึ บวชให้ ๒. ภกิ ษณุ ขี ออนญุ าตแล้วบวชให้ ๓. ภกิ ษณุ บี วชใหส้ ตรูผี ้เป็นโจรผสู้ มควร ๔. ภกิ ษุณวี ิกลจรติ ๕. ภิกษณุ ตี ้นบญั ญตั ิ๒.๓ สงั ฆาทเิ สสสกิ ขาบทท่ี ๓ ว่าดว้ ยการเข้าละแวกหมบู่ ้านตามลาพงั เป็นต้น เร่ืองภิกษุณีอนั เตวาสินีของพระภัททกาปิลานี ครง้ั น้นั อนั เตวาสนิ ขี องพระภัททกาปลิ านี ทะเลาะกบั ภิกษุณที ัง้ หลาย จงึ หนีไปตระกลู ญาติในหมู่บ้าน พระภัททกาปลิ านไี ม่เห็นเธอจึงถามภิกษุณที งั้ หลาย ทราบความแลว้ จึงลา่ วว่า ที่หมู่บา้ นโนน้ มตี ระกูลญาตขิ องภิกษุณีน้ีอยู่ ท่านทั้งหลายจงไปสบื หาดูท่ตี ระกูลญาตนิ ้นั ภกิ ษุณีท้งั หลายไปที่ตาบลน้ันพบภกิ ษณุ นี ั้นแลว้ ไดก้ ลา่ วว่า แม่เจ้า ทาไมเธอมาคนเดยี ว ไมถ่ ูกใครทามิดมี ิรา้ ยบ้างหรือ เธอตอบว่า แม่เจา้ ท้งั หลาย ดิฉนั ไม่ถกู ใครทามดิ มี ริ ้ายเลย

๒๒ พระผู้มพี ระภาครับส่ังให้ประชุมสงฆเ์ พราะเรื่องน้ีเปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุทัง้ หลาย แลว้จึงรับส่ังให้ภิกษณุ ที ง้ั หลายยกสิกขาบทนีข้ น้ึ แสดงดงั น้ีพระบญั ญตั ิ ก็ภกิ ษุณใี ดไปสลู่ ะแวกหมูบ่ า้ นรปู เดยี ว แม้ภกิ ษณุ ีนต้ี ้องธรรมคอื สงั ฆาทเิ สส ที่ชอ่ื วา่ ปฐมาปตั ตกิ ะ นิสสารณยี ะ เรื่องภิกษณุ ี ๒ รปู สมยั น้ัน ภิกษุณี ๒ รปู เดนิ ทางไกลจากเมืองสาเกตไปกรงุ สาวตั ถี ระหว่างทางตอ้ งข้ามแมน่ า้ลาดบั นน้ั ภกิ ษณุ เี หลา่ นั้นไดเ้ ข้าไปหาพวกเรือจา้ งแลว้ ได้บอกให้พาข้ามฟาก พวกเรอื จา้ งตอบว่า แม่เจ้า พวกเราไม่สามารถพาขา้ มไปคราวละ ๒ รูปได้ นายเรอื จา้ งคนหนึง่ จึงพาภิกษุณรี ูปหนึง่ ขา้ มฟากนายเรือจ้างคนท่ีขา้ มฟากแล้ว ข่มขืนภิกษุณรี ูปท่ขี ้ามฟากแล้ว นายเรอื จ้างคนทย่ี ังไม่ขา้ มฟากก็ข่มขนือีกรปู หนึ่งท่ยี ังไมข่ ้ามฟาก ภายหลงั ภิกษณุ ีทง้ั สองนนั้ พบกนั แล้วถามกันว่า ถูกทามิดีมิร้ายบ้างไหม ต่างบอกว่า ถูกทามิดมี ิรา้ ย คร้นั เธอท้ังสองถึงกรงุ สาวตั ถี บอกเรอื่ งนใ้ี ห้ภิกษุณีทง้ั หลายทราบ ลาดับนนั้ พระผู้มพี ระภาครบั สง่ั ใหป้ ระชมุ สงฆ์เพราะเร่อื งน้เี ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุท้ังหลายแล้วจงึ รบั สัง่ ให้ภิกษุณีท้ังหลายยกสิกขาบทนี้ข้ึนแสดง ดังนี้พระอนบุ ัญญัติ อนง่ึ ภิกษณุ ีใดไปสู่ละแวกหมบู่ ้านรปู เดยี ว หรือขา้ มฝ่งั แมน่ า้ รปู เดยี ว แม้ภกิ ษณุ นี ก้ี ต็ อ้ งธรรมคอื สังฆาทิเสสท่ชี อ่ื ว่าปฐมาปตั ตกิ ะ นิสสารณยี ะ เร่อื งภกิ ษุณีหลายรูป สมัยน้ัน ภกิ ษณุ ีจานวนหลายรปู เดนิ ทางไปกรงุ สาวตั ถี ในแควน้ โกศล ไดเ้ ขา้ ไปสหู่ มู่บา้ นหนึง่ในตอนเยน็ ในบรรดาภกิ ษุณเี หล่านัน้ ภกิ ษณุ รี ปู หนึ่งมรี ูปงาม นา่ ดู นา่ ชม ชายคนหนึง่ พอไดเ้ หน็ ก็มจี ิตรกั ใครภ่ ิกษุณนี น้ั ชายผนู้ ั้นเมื่อจัดทีน่ อนถวายภิกษุณเี หล่าน้ัน ได้จดั ทน่ี อนไวเ้ พ่อื ภิกษุณีรปู งามนนั้ ณสว่ นขา้ งหนง่ึ ภิกษุณนี ้ันร้ทู นั ว่า ชายคนน้ถี ูกราคะครอบงา ถ้าเขามาหาตอนกลางคนื เราตอ้ งเสยี หายแน่ จึงไปนอนทต่ี ระกูลหน่งึ โดยไมบ่ อกภกิ ษณุ ที ้ังหลาย คร้ังนน้ั ชายผู้น้นั มาค้นหาภิกษณุ นี ัน้ พอดไี ปถูกตวั ภกิ ษุณที ัง้ หลาย พวกภกิ ษณุ (ี ต่นื ขึ้นมา)ไมเ่ หน็ ภกิ ษุณีน้ันจงึ กลา่ วอยา่ งนวี้ ่า ภกิ ษุณีนน้ั ออกไปกบัผ้ชู ายแล้วแนน่ อน” คร้ันเมอ่ื ผ่านราตรีน้นั ภกิ ษุณนี นั้ เขา้ ไปหาภกิ ษณุ ีท้ังหลาย พวกภิกษณุ ไี ด้ถามภิกษณุ ีนน้ัภกิ ษณุ นี ั้นกล่าวว่า แม่เจา้ ดฉิ นั มิได้ออกไปกับผ้ชู าย แล้วบอกเรือ่ งน้ันให้ภิกษณุ ที ั้งหลายทราบ

๒๓ ทรงประชมุ สงฆบ์ ญั ญตั ิสิกขาบท ลาดับนน้ั พระผ้มู พี ระภาครับสง่ั ใหป้ ระชุมสงฆ์เพราะเรื่องน้ีเปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทง้ั หลายแลว้ จงึ รับส่ังให้ภิกษณุ ที ้ังหลายยกสิกขาบทน้ีข้ึนแสดงดังน้ีพระอนุบญั ญตั ิ อนึ่ง ภิกษุณีใดไปสลู่ ะแวกหมู่บ้านรูปเดยี ว ขา้ มฝั่งแมน่ า้ รูปเดียว หรือออกไปอยู่พกั แรมในราตรีรปู เดียว แมภ้ กิ ษุณีน้ีก็ตอ้ งธรรมคอื สงั ฆาทเิ สสช่อื ปฐมาปัตติกะ นสิ สารณยี ะ เร่ืองภิกษณุ ีหลายรูป สมัยนนั้ ภกิ ษณุ ีจานวนหลายรปู เดนิ ทางไกลไปกรงุ สาวตั ถี ในแควน้ โกศล ภิกษณุ ีรูปหนึ่งปวดอจุ จาระ จึงปลีกตัว เดินตามหลังไปรูปเดียว คนทง้ั หลาย เห็นเธอจงึ ข่มขนื ลาดบั น้นั ภกิ ษุณนี ้ันเขา้ ไปหาภกิ ษณุ เี หลา่ น้นั พวกภกิ ษณุ ีไดก้ ลา่ วกบั ภกิ ษุณีน้ันดงั น้วี า่ ทาไมเธอจึงปลกี ตัวอยู่เพยี งรูปเดียว ไมถ่ ูกทามดิ ีมริ ้าย ดอกหรือ ภิกษุณีนนั้ จงึ ตอบวา่ แมเ่ จา้ ดฉิ ันถกู ทามิดีมริ า้ ย ลาดับนน้ั พระผูม้ ีพระภาครับส่งั ให้ประชุมสงฆ์เพราะเรือ่ งนเ้ี ปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุท้งั หลาย แลว้ จงึ รบั ส่งั ให้ภิกษณุ ที ้ังหลายยกสกิ ขาบทน้ขี ึ้นแสดงดังนี้ พระอนบุ ัญญัติ อนงึ่ ภกิ ษณุ ีใดไปสู่ละแวกหมู่บ้านรูปเดียว ขา้ มฝงั่ แมน่ า้ รูปเดียว ออกไปอยูพ่ ักแรมในราตรีรูปเดียว หรอื ปลีกตัวจากคณะอย่รู ปู เดียว แม้ภิกษุณีนก้ี ต็ อ้ งธรรมคือสังฆาทิเสสที่ช่อื วา่ ปฐมาปัตติกะ นิสสารณียะสกิ ขาบทวภิ ังค์ คาว่า ไปสูล่ ะแวกหมบู่ ้านรปู เดียว ความว่า เมอื่ เธอย่างเทา้ กา้ วที่ ๑ เขา้ ส่บู รเิ วณรวั้ ของหมู่บา้ นทีม่ ีร้ัวล้อม ตอ้ งอาบัตถิ ุลลัจจัย ยา่ งเทา้ กา้ วท่ี ๒ ตอ้ งอาบตั ิสงั ฆาทเิ สส เม่อื เธอย่างเทา้ กา้ วท่ี ๑ เขา้ สู่อุปจารของหมูบ่ า้ นที่ไมม่ รี ั้วล้อม ต้องอาบัติ ถุลลจั จัย ยา่ งเทา้ก้าวท่ี ๒ ตอ้ งอาบัติสังฆาทเิ สส คาว่า ข้ามฝัง่ แม่นา้ รูปเดยี ว ความว่า ทชี่ ่อื ว่าแม่นา้ คือสถานทีใ่ ดท่ีหน่ึงซ่ึง เมอื่ ภิกษุณคี รองผา้ปกปิดมณฑล ๓ เดนิ ข้าม อนั ตรวาสกเปียก เมื่อเธอย่างเทา้ กา้ ว ที่ ๑ ข้ามไปต้องอาบตั ิถุลลัจจัยย่างเท้ากา้ วท่ี ๒ ขา้ มไปต้องอาบัตสิ งั ฆาทิเสส คาว่า ออกไปอยูพ่ ักแรมในราตรรี ปู เดียว ความวา่ เธอละหัตถบาส(ระยะ ห่างสองศอกครึ่ง)จากภิกษุณีที่เป็นเพ่อื นในขณะที่อรณุ ขนึ้ ตอ้ งอาบตั ถิ ุลลัจจยั พน้ หัตถบาสแลว้ ตอ้ งอาบัตสิ งั ฆาทิเสส

๒๔ คาว่า หรือปลีกตัวจากคณะอยู่รูปเดยี ว ความวา่ ในป่าซงึ่ ไม่มหี มบู่ า้ นอยู่ เมอื่ เดินไปกาลังจะพ้นระยะท่ีจะมองเห็นไดห้ รอื บริเวณท่ีเพอื่ นภกิ ษุณีจะไดย้ นิ เสียง ต้องอาบตั ถิ ุลลจั จยั เมื่อพ้นไปแล้วต้องอาบัตสิ งั ฆาทเิ สสอนาปตั ติวาร ภกิ ษุณีต่อไปน้ีไมต่ อ้ งอาบตั ิ คอื ๑. ภิกษณุ ีที่เพื่อนภกิ ษุณจี ากไป สกึ มรณภาพ หรือไปเขา้ รีต ๒. ภกิ ษุณีผู้มเี หตขุ ัดขอ้ ง ๓. ภิกษุณีวิกลจริต ๔. ภิกษุณีต้นบัญญัติ๒.๔ สังฆาทเิ สสสกิ ขาบทที่ ๔ วา่ ด้วยการเรียกภกิ ษุณีทถ่ี กู สงฆล์ งอกุ เขปนยี กรรม๑๕เขา้ หมู่ เร่ืองภกิ ษุณีจัณฑกาลี ครัง้ น้ัน ภิกษณุ ีจณั ฑกาลเี ปน็ ผู้กอ่ ความบาดหมาง ก่อการทะเลาะ กอ่ การววิ าท กอ่ ความออื้ ฉาวถกเถียง ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ เม่อื สงฆ์จะลงโทษภกิ ษุณจี ณั ฑกาลีนน้ั ภกิ ษณุ ีถลุ ลนันทาก็คัดคา้ นตอ่ มา ภกิ ษุณีถุลลนนั ทาเดนิ ทางไปหมู่บ้านดว้ ยธรุ ะบางอยา่ ง ครง้ั น้ัน ภิกษุณสี งฆ์ทราบว่า ภิกษณุ ีถุลลนนั นทาจากไปแล้ว จึงลงอกุ เขปนียกรรมภิกษณุ จี ัณฑกาลีเพราะไมเ่ หน็ อาบัติ คร้นั ภิกษุณีถลุ ลนนัทาทาธรุ ะในหมู่บ้านเสร็จแล้วกลบั มายังกรุงสาวตั ถี เมอื่ ภิกษุณถี ลุ ลนันทากาลังมาภิกษุณีจณั ฑกาลไี ม่ปูอาสนะ ไม่ตง้ั นา้ ลา้ งเท้า ตง่ั รองเท้า กระเบอ้ื งเช็ดเท้า ไม่ลกุ รบั บาตรและจวี ร ไมเ่ อานา้ ดืม่ ตอ้ นรับภกิ ษุณี ถุลลนนั ทาไดก้ ล่าวกับภกิ ษุณีจัณฑกาลีนั้นดังนีว้ ่า เมื่อฉันกาลังมา ไฉนเธอจงึ ไม่ ปอู าสนะ ไม่ตง้ั นา้ ลา้ งเทา้ ตง่ั รองเท้า กระเบื้องเชด็ เทา้ ไมล่ ุกรับบาตรและจีวร ไม่เอาน้าดม่ื ต้อนรบั เลา่ ภิกษณุ ีจณั ฑกาลีจงึ แจ้งเร่อื งใหท้ ราบ ภิกษุณีถลุ ลนันทากลา่ ววา่ ภกิ ษุณีพวกน้โี งเ่ ขลา ภิกษณุ ีพวกน้ไี ม่ฉลาด ภิกษณุ พี วกนไ้ี ม่รจู้ กั กรรม โทษของกรรม กรรมวบิ ัติ หรือกรรมสมบัติ เราน่แี หละ รูจ้ กักรรมบา้ ง โทษของกรรมบา้ ง กรรมวิบัติบ้าง กรรมสมบัตบิ า้ ง เรานี่แหละพงึ ทา กรรมที่ยังไม่มีใครทาหรอื รอื้ ฟื้นกรรมทต่ี ัดสนิ ไปแลว้ ได้ จงึ สั่งใหป้ ระชุมภกิ ษณุ ีสงฆ์ ทันทีแล้วเรยี กภกิ ษณุ ีจณั ฑกาลกี ลบั เขา้หมู่ ๑๕ อุกเขปนียกรรม แปลว่ากรรมอันสงฆ์พึงทาแก่ภิกษุณีผู้ควรยกเสียจากหมู่ สงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมแก่ภกิ ษณุ ผี ู้แมต้ ้องอาบตั กิ ็ไม่ปรารถนาจะเห็นว่าเป็นอาบัติ แม้ต้องอาบัติแล้วก็ไม่ปรารถนา จะทาคืน(แสดง)อาบัติ แม้มีทฏิ ฐิบาปก็ไม่ปรารถนาจะสละทิฏฐบิ าปนน้ั

๒๕ บรรดาภกิ ษณุ ีผู้มักน้อย ฯลฯ พากนั ตาหนิ ประณาม โพนทะนาการกระทาของถลุ ลนนั ทา ได้นาเรื่องนไี้ ปบอกภกิ ษทุ งั้ หลายให้ทราบ พวกภิกษุไดน้ าเรื่องน้ีไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบพระผูม้ ีพระภาครับสง่ั ใหป้ ระชุมสงฆ์เพราะเรื่องนีเ้ ป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทง้ั หลาย แลว้ จึงรบั ส่งัให้ภกิ ษุณที ัง้ หลายยกสกิ ขาบทนี้ข้นึ แสดงดงั น้ีพระบญั ญตั ิ ก็ภิกษุณีใดเรียกภิกษุณีทีส่ งฆ์พรอ้ มเพรยี งกนั ลงอกุ เขปนียกรรมโดยธรรม โดยวนิ ยั โดยสตั ถุศาสนใ์ หก้ ลบั เขา้ หมโู่ ดยไมบ่ อกการกสงฆ์ ทั้งไม่ รับรฉู้ นั ทะของคณะ แมภ้ กิ ษณุ ีนตี้ อ้ งธรรมคือสงั ฆาทเิ สสท่ชี ่ือวา่ ปฐมาปัตตกิ ะ นิสสารณียะสิกขาบทวิภงั ค์ สงฆ์ทชี่ ือ่ วา่ พร้อมเพรียงกนั คือ มีสังวาสเสมอกัน๑ อย่ใู นสมานสังวาสสีมา๒ ท.ี่ ..ลงอกุ เขปนยี กรรม คอื ถกู สงฆ์ลงโทษเพราะไมเ่ หน็ หรอื ไม่ทา คนื อาบตั ิ หรอื เพราะไมย่ อมสละทิฏฐบิ าป ภกิ ษณุ ีคิดวา่ จะเรยี กเข้าหมู่ จงึ แสวงหาคณะ หรอื สมมติสีมา ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ จบญัตติ ต้องอาบตั ิทกุ กฏ จบกรรมวาจา ๒ ครั้ง ต้องอาบตั ิถลุ ลจั จัย จบกรรมวาจาคร้ังสุดท้าย ต้องอาบตั ิสังฆาทิเสสบทภาชนยี ์ ตกิ ทุกกฏ กรรมทที่ าไมถ่ ูกตอ้ ง ภกิ ษณุ สี าคญั ว่าเป็นกรรมท่ีทาถกู ต้อง ต้องอาบตั ิทุกกฏ กรรมทท่ี าไม่ถูกต้อง ภกิ ษณุ ไี ม่แนใ่ จ ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ กรรมทท่ี าไม่ถูกตอ้ ง ภิกษณุ ีสาคญั ว่าเป็นกรรมท่ีทาไมถ่ ูกตอ้ ง ตอ้ งอาบัติทกุ กฏอนาปัตตวิ าร ภกิ ษุณตี อ่ ไปนี้ไม่ต้องอาบตั ิ คอื ๑. ภิกษุณีบอกสงฆผ์ ้ทู ากรรมแลว้ เรยี กกลับเขา้ หมู่ ๒. ภิกษุณเี รยี กกลบั เขา้ หมู่ เมือ่ รบั รฉู้ นั ทะของคณะแล้ว ๓. ภกิ ษุณีเรียกภกิ ษุณผี ูป้ ระพฤตขิ อ้ วัตรกลับเข้าหมู่ ๔. ภิกษุณีเรยี กกลับเข้าหมใู่ นเมอื่ ไม่มีการกสงฆผ์ ้ทู ากรรม ๕. ภิกษุณีวกิ ลจรติ ๖. ภกิ ษุณตี น้ บัญญัติ๒.๕ สังฆาทิเสสสกิ ขาบทที่ ๕ วา่ ด้วยการรับโภชนะจากมอื ชายผกู้ าหนัด

๒๖ เรอื่ งภกิ ษุณสี นุ ทรีนนั ทา สมัยนัน้ ภิกษณุ สี นุ ทรนี นั ทามีรปู งาม น่าดู น่าชม คนทงั้ หลายเหน็ เธอท่ีโรงฉัน ต่างก็กาหนดัจงึ ถวายอาหารท่ดี ี ๆ แกน่ างผกู้ าหนัด ภิกษณุ สี นุ ทรีนนั ทาจงึ ได้ฉนั ตามความตอ้ งการ สว่ นภิกษณุ อี ่นืๆ ไม่ไดฉ้ ันตามท่คี ดิ ไว้ บรรดาภกิ ษณุ ีผมู้ ักนอ้ ย ฯลฯ ตาหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ ไฉนภิกษณุ ี สุนทรนี ันทากาหนดัจึงรับของเคยี้ วหรือของฉนั จากมอื ชายผู้กาหนดั ด้วยมอื ของตนแล้วเค้ียวฉนั เล่า ได้นาเร่ืองนีไ้ ปบอกภิกษทุ งั้ หลายให้ทราบ พวกภิกษุไดน้ าเรื่องนไี้ ปกราบทลู พระผู้มีพระภาคใหท้ รงทราบ พระผู้มีพระภาครับส่ังให้ประชุมสงฆเ์ พราะเรอ่ื งนี้เปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษทุ ้งั หลาย แล้วจึงรบั สัง่ ให้ภกิ ษณุ ที ้ังหลายยกสิกขาบทนี้ขน้ึ แสดงดงั นี้ พระบญั ญัติ ก็ภิกษุณีใดกาหนัด รับของเคีย้ วหรือของฉันจากมอื ชายผู้กาหนดั ดว้ ยมอื ของตนแลว้ เค้ยี วหรือฉนั แมภ้ ิกษณุ ีน้ีต้องธรรมคอื สังฆาทเิ สสทช่ี อ่ื ปฐมาปตั ติกะ นิสสารณยี ะสกิ ขาบทวิภังค์ ของเคยี้ ว คือ ยกเวน้ โภชนะ ๕ นา้ และไมช้ าระฟัน นอกน้ันชือ่ วา่ ของเค้ยี ว ของฉัน ไดแ้ ก่ โภชนะ ๕ คือ ข้าวสกุ ขนมสด ข้าวตู ปลา เนือ้ ภิกษุณรี ับประเคนดว้ ยตง้ั ใจวา่จะเคย้ี ว จะฉนั ” ต้องอาบตั ิถลุ ลัจจัย ฉนั ตอ้ งอาบัติสงั ฆาทเิ สสทกุ ๆ คากลืน ภิกษุณีรบั ประเคนนา้ และไมช้ าระฟนั ต้องอาบตั ทิ กุ กฏ เม่อื ฝ่ายหนง่ึ กาหนัด รบั ประเคนดว้ ยตั้งใจวา่ จะเคีย้ ว จะฉนั ตอ้ งอาบัติทกุ กฏบทภาชนีย์ ฉันตอ้ งอาบตั ถิ ุลลัจจยั ทกุ ๆคากลืน ภิกษณุ รี ับประเคนนา้ และไมช้ าระฟัน ต้องอาบัตทิ กุ กฏ เม่อื ทง้ั สองฝ่ายตา่ งกาหนัด รับประเคนจากมอื ยกั ษ์ เปรต บณั เฑาะก์หรือ สตั วด์ ริ จั ฉานมกี ายเปน็ มนุษย์ ด้วยตัง้ ใจวา่ จะเคยี้ ว จะฉัน ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ ฉนั ต้องอาบัติถุลลัจจัยทุกๆ คากลนื รับประเคนนา้ และไม้ชาระฟนั ต้องอาบตั ิทกุ กฏ เม่ือกาหนดั ฝ่ายเดียว รบั ประเคนดว้ ยต้ังใจว่า “จะเค้ียว จะฉัน” ตอ้ งอาบัติ ทุกกฏ ฉนั ตอ้ งอาบัติทกุ กฏทกุ ๆ คากลนื รบั ประเคนนา้ และไมช้ าระฟนั ต้อง อาบตั ิทกุ กฏอนาปัตติวาร ภกิ ษณุ ตี ่อไปนไ้ี ม่ตอ้ งอาบตั ิ คือ ๑. ภิกษุณีไมก่ าหนดั รับของจากชายผ้ไู ม่กาหนดั ๒. ภิกษุณีร้อู ยวู่ า่ “เขาไม่กาหนัด” จึงรับประเคน ๓. ภิกษณุ วี กิ ลจรติ

๒๗ ๔. ภิกษณุ ตี ้นบญั ญตั ิ๒.๖ สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๖ ว่าด้วยการสง่ เสริมภิกษุณใี ห้รบั โภชนะจากมือชายผกู้ าหนดั เร่อื งภิกษณุ ีสนุ ทรนี ันทา คร้ังนั้น ภกิ ษณุ ีสุนทรีนันทามรี ูปงาม น่าดู น่าชม คนทั้งหลายเห็นภิกษุณสี นุ ทรีนนั ทานนั้ ทีโ่ รงฉนั ตา่ งกก็ าหนัด จงึ ถวายอาหารทดี่ ี ๆ แกภ่ กิ ษณุ ีสุนทรนี นั ทา แตภ่ ิกษุณีสุนทรีนนั ทามีความยาเกรงไมย่ อม รับประเคน ภิกษุณีผนู้ ั่งถัดกันได้กลา่ วกับภิกษณุ สี นุ ทรนี ันทานนั้ ดงั น้วี ่า แม่เจ้า เหตไุ รทา่ นจงึไม่รบั ประเคน เพราะพวกเขาเป็นผู้กาหนัด ก็ทา่ นกาหนัดด้วยหรอื ดิฉันไม่กาหนัด ภิกษุณีนน้ั พูดว่า แม่เจา้ ชายผ้นู ี้จะกาหนัดหรอื ไมก่ าหนดั กท็ าอะไรท่านไมไ่ ด้ เพราะท่านไม่กาหนัด นิมนตเ์ ถดิ แมเ่ จา้ ชายผนู้ ี้จะถวายของเค้ยี วหรือของฉันกต็ าม ท่านจงรับประเคนของนัน้ ด้วยมือของตนเองแล้วเคีย้ วหรอื ฉันเถิด พระบัญญัติ กภ็ กิ ษณุ ีใดกล่าวอย่างนี้วา่ “ชายผนู้ ั้นจะกาหนัดหรือไม่กาหนดั ก็ตามก็ทาอะไรทา่ นไมไ่ ด้ เพราะท่านไมก่ าหนัด นิมนต์เถิด แม่เจา้ ชายผนู้ จ้ี ะถวายสงิ่ ใดจะเปน็ ของเคยี้ วหรอื ของฉันกต็ าม ท่านจงรับประเคนของนนั้ ดว้ ย มือของตนเองแลว้ เคี้ยวหรือฉนั เถดิ ” ดงั นี้ แมภ้ ิกษณุ ีนี้ต้องธรรมคือสังฆาทเิ สส ท่ชี ่ือว่าปฐมาปัตติกะ นิสสารณียะสิกขาบทวิภงั ค์ ภกิ ษุณสี ่งเสรมิ ให้รบั ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ ภิกษณุ รี ับประเคนตามคาของภกิ ษุณีนน้ั ดว้ ยตง้ั ใจวา่ “จะเคี้ยว จะฉัน” ต้องอาบัติทกุ กฏ ฉันต้องอาบัตถิ ลุ ลจั จัยทกุ ๆ คากลนื ฉันเสร็จแลว้ ตอ้ งอาบัติ สงั ฆาทิเสส ภิกษณุ ีสง่ เสรมิ ด้วยกล่าวว่า “จงรบั ประเคนน้าและไมช้ าระฟัน” ต้องอาบตั ิ ทุกกฏ ภิกษุณรี บัประเคนตามคาของภิกษณุ ีนน้ั ดว้ ยตง้ั ใจว่า “จะเคย้ี ว จะฉัน” ต้อง อาบัติทุกกฏบทภาชนีย์ ฝ่ายหนง่ึ กาหนดั ภกิ ษุณีสง่ เสริมดว้ ยกลา่ วว่า “จงเคยี้ วของเคี้ยวหรอื จงฉันของฉนั จากมือของยกั ษ์ เปรต บัณเฑาะก์ หรอื สตั วด์ ิรัจฉานท่ีมกี ายเปน็ มนษุ ย์” ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏ ภิกษุณรี บั ประเคนตามคาของภิกษณุ นี ้นั ด้วยตั้งใจว่า “จะเคีย้ ว จะฉนั ” ตอ้ งอาบตั ิทกุ กฏ ฉนัต้องอาบตั ิทกุ กฏทุก ๆ คากลนื เมอ่ื ฉนั เสร็จ ต้องอาบตั ถิ ุลลัจจัย ภกิ ษุณีส่งเสริมด้วยกลา่ วว่า “จงรบั ประเคนน้าและไมส้ ฟี นั ” ตอ้ งอาบัติทกุ กฏ ภกิ ษุณีรับประเคนตามคาของภิกษุณีน้ันด้วยต้งั ใจว่า “จะเคีย้ ว จะฉนั ” ต้องอาบัตทิ กุ กฏ

๒๘อนาปัตตวิ าร ภิกษุณีต่อไปนีไ้ มต่ อ้ งอาบัติ คือ ๑. ภกิ ษุณรี อู้ ยู่ว่า “ชายไม่กาหนัด” จงึ ส่งเสรมิ ๒. ภกิ ษณุ รี ้อู ยวู่ า่ “นางโกรธ จงึ ไม่รบั ประเคน” จึงสง่ เสรมิ ๓. ภกิ ษณุ รี อู้ ยวู่ า่ “นางจะไมร่ ับประเคนเพราะความเอน็ ดูตระกลู ”จึงสง่ เสริม ๔. ภิกษุณวี ิกลจรติ ๕. ภิกษุณตี ้นบัญญัติ๒.๗ สังฆาทเิ สสสิกขาบทที่ ๗ วา่ ดว้ ยการบอกคนื พระรตั นตรยั เรือ่ งภกิ ษุณีจัณฑกาลี ครง้ั นนั้ ภกิ ษณุ จี ัณฑกาลีทะเลาะกับ ภิกษุณีท้ังหลาย โกรธ ไมพ่ อใจ จงึ กลา่ ววา่ เราขอบอกลาพระพุทธ ขอบอกลาพระธรรม ขอบอกลาพระสงฆ์ ขอบอกลาสิกขา สมณะหญิงจะมีแต่สมณศากยธดิ าเหล่านก้ี ระนั้นหรอื แมส้ มณะหญิงเหลา่ อ่นื ท่ปี ระพฤติดีมคี วามละอาย มีความระมัดระวงั ใฝ่การศกึ ษาก็ยังมีอยู่ เราจะไปประพฤตพิ รหมจรรยใ์ นสานักสมณะหญิงเหล่าน้ัน พระบญั ญัติ กภ็ กิ ษณุ ีใดโกรธ ไมพ่ อใจ กลา่ วอยา่ งนวี้ า่ “ดิฉนั ขอบอกลาพระพทุ ธ ขอบอกลาพระธรรมขอบอกลาพระสงฆ์ ขอบอกลาสกิ ขา สมณะหญงิ จะมแี ต่สมณศากยธดิ าเหลา่ นัน้ กระนั้นหรอื แม้สมณะหญงิ เหลา่ อ่ืนผู้มีความละอาย มีความระมดั ระวงั ใฝก่ ารศกึ ษาก็ยงั มอี ยู่ เราจะไปประพฤติพรหมจรรยใ์ นสานักของสมณะหญิงเหล่านัน้ ” ภกิ ษณุ ีนน้ั อนั ภิกษณุ ที ้งั หลายพงึ ว่ากลา่ วตกั เตือนอย่างนวี้ า่ “แมเ่ จ้า ทา่ นโกรธ ไมพ่ อใจ กอ็ ย่าไดก้ ล่าวอยา่ งนีว้ ่า •ดิฉันขอบอกลาพระพทุ ธ ขอบอกลาพระธรรม ขอบอกลาพระสงฆ์ ขอบอกลาสกิ ขา สมณะหญงิ จะมแี ต่สมณศากยธดิ ากระน้นัหรอื แม้สมณะหญิงเหล่าอนื่ ผมู้ ีความละอาย มคี วามระมดั ระวัง ใฝ่การศกึ ษากม็ ีอยู่ เราจะไปประพฤติ พรหมจรรยใ์ นสานักของสมณะหญิงเหล่านน้ั ž ดงั นี้ แมเ่ จ้า ทา่ นจงยินดีเถิด พระธรรมอนั พระผู้มพี ระภาคตรสั ไว้ดีแลว้ จงประพฤตพิ รหมจรรยเ์ พอื่ ทาทีส่ ุดทุกขโ์ ดยชอบเถิด” ภกิ ษณุ นี ัน้อนั ภกิ ษณุ ีทัง้ หลายวา่ กล่าวตักเตือนอยูอ่ ย่างน้ี ก็ยังยืนยนั อยอู่ ย่างนัน้ ภกิ ษณุ ีน้นั อันภิกษณุ ีทั้งหลายพึงสวดสมนภุ าสนจ์ นครบ ๓ คร้ังเพือ่ ใหส้ ละเรือ่ งนัน้ ถ้าเธอกาลังถูกสวดสมนุภาสนก์ ว่าจะครบ ๓ ครัง้ สละเรอ่ื งนน้ั ได้ นนั่ เปน็ การดี ถา้ ไมส่ ละ แม้ภิกษุณนี ี้ตอ้ งธรรมคือสังฆาทเิ สส ทช่ี ่ือว่ายาวตตยิ กะ นิสสารณยี ะสกิ ขาบทวิภังค์ คาว่า โกรธไมพ่ อใจ คือ ไม่ชอบใจ แค้นใจ เจบ็ ใจ

๒๙ ภิกษณุ ที ้ังหลายท่ไี ด้เห็นไดย้ ินภิกษณุ กี ลา่ วอยา่ งนี้ พงึ ว่ากลา่ วตักเตอื น พงึ วา่ กลา่ วตักเตอื นเธอแม้ครง้ั ท่ี ๒ พงึ ว่ากลา่ วตักเตอื นเธอแม้ครัง้ ท่ี ๓ ถา้ เธอสละได้ น่ันเป็นการดี ถา้ ไมส่ ละ ตอ้ งอาบตั ิทุกกฏ ภิกษณุ ีทัง้ หลายไดย้ ินแลว้ ไมว่ ่ากลา่ ว ต้องอาบตั ทิ กุ กฏ ภิกษณุ นี น้ั อนั สงฆพ์ ึงสวดสมนุภาสน์บทภาชนีย์ ติกทกุ กฏ กรรมท่ีทาไมถ่ กู ต้อง ภกิ ษณุ ีสาคัญวา่ เป็นกรรมทที่ าถกู ตอ้ ง ตอ้ งอาบตั ทิ ุกกฏ กรรมทีท่ าไมถ่ กู ตอ้ ง ภกิ ษุณีไมแ่ น่ใจ ต้องอาบตั ิทุกกฏ กรรมทีท่ าไม่ถกู ตอ้ ง ภิกษุณสี าคญั วา่ เปน็ กรรมทท่ี าไม่ถกู ตอ้ ง ต้องอาบตั ิทกุ กฏอนาปตั ตวิ าร ภิกษุณีตอ่ ไปนไี้ มต่ อ้ งอาบัติ คอื ๑. ภิกษณุ ียังไม่ถูกสวดสมนุภาสน์ ๒. ภกิ ษุณียอมสละ ๓. ภิกษุณีวิกลจรติ ๔. ภกิ ษุณีต้นบัญญัติ๒.๘ สงั ฆาทิเสสสิกขาบทท่ี ๘ วา่ ด้วยภิกษุณีโกรธเพราะถกู ตัดสินใหแ้ พ้คดีในอธกิ รณ์๑๖ ๑๖ อธกิ รณ์หนง่ึ ” หมายถงึ อธกิ รณอ์ ย่างใดอย่างหน่ึงในอธิกรณ์ ๔ (วิ.อ. ๒/๗๑๕/๔๘๐, ดู อธิกรณ์ ๔ ในสกิ ขาบทวิภงั คแ์ ห่งสกิ ขาบทน้แี ละใน ว,ิ ป (ปาลิ) ๘/๓๔๘/๓๒๓-๓๒๕)อธกิ รณ์ หมายถงึ เรื่องท่สี งฆ์ต้องดาเนนิ การมี ๔ อย่าง คอื๑. ววิ าทาธิกรณ์ การเถียงกนั เกย่ี วกบั พระธรรมวินัย๒. อนวุ าทาธิกรณ์ การโจทหรือกลา่ วหากันดว้ ยอาบัติ๓. อาปัตตาธิกรณ์ การต้องอาบตั ิ การปรบั อาบตั ิและการแก้ไขตัวเองใหพ้ น้ จากอาบัติ๔. กจิ จาธิกรณ์ กจิ ธรุ ะต่าง ๆ ทส่ี งฆจ์ ะตอ้ งทา เชน่ ให้อุปสมบท ใหผ้ า้ กฐินเป็นต้น (อง.ฺ ทุก.อ. ๒/๑๕/๑๒)อธิการณ์ ๔ อยา่ ง คือ๑. ววิ าทาธิกรณ์ ได้แก่ การเถยี งกนั วา่ นเี้ ปน็ ธรรมวินัย นีไม่ใช่ธรรมวินัยเป็นต้น๒. อนวุ าทาธกิ รณ์ ไดแ้ ก่ การโจทก์กนั ด้วยอาบตั ติ ่าง ๆ๓. อาปตั ตาธิกรณ์ ได้แก่ การต้องอาบัติ การปรบั อาบัตแิ ละแกต้ า่ งใหพ้ ้นอาบตั ิ๔. กิจจาธิกรณ์ ได้แก่ กิจธรุ ะของสงฆ์ เชน่ การสวดปาติโมกข์ (ดู.ว,ิ ป (ปาลิ) ๘/๒๘๘-๒๙๑/๒๒๒-๒๒๕: มหาจุฬาเตปิฏก)อธิกรณ์ ๔ ประการ ระงับดว้ ยอธกิ รณสมณะแตล่ ะอย่างดงั นี้วิวาทาธิกรณ์ ระงับดว้ ยสัมมขุ าวินัยและเยภยุ ยสกิ า

๓๐ เรือ่ งภิกษณุ จี ัณฑกาลี คร้ังนั้น ภกิ ษุณีจณั ฑกาลีถกู ตดั สินใหแ้ พ้คดใี นอธกิ รณ์หนง่ึ โกรธ ไม่พอใจ กลา่ วอยา่ งนวี้ ่า“พวกภิกษุณีลาเอียงเพราะชอบ พวกภิกษณุ ลี าเอยี งเพราะชัง พวกภกิ ษุณีลาเอียงเพราะหลง และพวกภิกษณุ ีลาเอยี งเพราะกลัว”อนวุ าทาธกิ รณ์ ระงบั ดว้ ยสมั มุขาวินยั สตวิ ินัย อมูฬหวินัยและตัสสปาปยิ สิกาอาปตั ตาธกิ รณ์ ระงับดว้ ยสมั มุขาวินยั ปฏญิ ญาตกรณะและติณวตั ถารกะกิจจาธกิ รณ์ ระงับดว้ ยสัมมขุ าวินยั (กงฺขา.อ. ๓๓๘-๓๓๙ ดู องฺ.ทุก. ๒๐/๒๐๒-๒๐๓/๑๒๓)สมถะ ๗๑. สัมมขุ าวนิ ยั คือวธิ ีตดั สินทพ่ี ึงทาในท่พี รอ้ มหน้าสงฆ์ ธรรมและวัตถุ๒. สติวินัย คือวิธีตดั สินทยี่ กสติข้นึ เปน็ หลกั๓. อมูฬหวนิ ยั คอื วธิ ีตัดสนิ ที่ให้แก่ภกิ ษณุ ผี หู้ ายเปน็ บา้ แล้ว๔. ปฏญิ ญาตกรณะ คือวิธตี ดั สนิ โดยปรับโทษตามคาสารภาพ๕. เยภุยยสกิ า คอื วิธีตัดสนิ โดยอาศยั เสยี งขา้ งมาก๖. ตัสสปาปยิ สิกา คือวิธตี ดั สนิ โดยปรับโทษแก่ผูท้ าความผดิ๗. ติณวตั ถารกะ คอื วิธตี ดั สนิ โดยวิธยี อมความ ตามศพั ท์แปลวา่ ระเบียบดังกลบไว้ด้วยหญ้า (นัย ว.ิ จูฬ(ปาลิ )๖/๑๘๕-๒๑๓/๒๑๘-๒๔๑) สัมมขุ าวนิ ัย หมายถงึ วธิ รี ะงบั อธกิ รณ์ในท่ีพร้อมหนา้ คือต้องพร้อมทง้ั ๔ พรอ้ มดังนี้๑. พร้อมหน้าสงฆ์ ไดแ้ ก่ ภกิ ษเุ ขา้ ร่วมประชมุ ครบองค์ประชมุ ตามท่ีกาหนดไว้ในแตล่ ะกรณี๒. พรอ้ มหน้าบุคคล ไดแ้ ก่ คกู่ รณีหรอื บคุ คลที่เกยี่ วข้องในเร่ืองนนั้ อย่พู รอ้ มหนา้๓. พรอ้ มหน้าวตั ถุ ไดแ้ ก่ ยกเรอื่ งที่เกิดข้ึนน้ันมาวนิ จิ ฉัย๔. พร้อมหนา้ ธรรม ได้แก่ วนิ ิจฉัยถูกต้องตามธรรมวนิ ยัสตวิ ินยั หมายถงึ วิธีระงับอธิกรณ์โดยประกาศสมมติให้วา่ พระอรหนั ตเ์ ปน็ พระอรยิ ะผ้มู ีสตสิ มบูรณ์ เป็นวิธรี ะงับโดยเอาสติเป็นหลักในกรณีทม่ี ีผูโ้ จทพระอรหันตขีณาสพ เปน็ การบอกให้รู้ว่าใครจะโจทพระอรหันต์ไม่ได้อมูฬหวินยั หมายถงึ วิธีระงบั อธิกรณ์โดยยกประโยชน์แกภ่ ิกษุณที หี่ ายเปน็ บา้ แลว้ ในกรณีทม่ี ผี ู้โจทภิกษุณนี น้ั ดว้ ยอาบตั ทิ ี่ตอ้ งในขณะเปน็ บา้ สงฆ์จะสวดประกาศสมมติเพื่อไมใ่ ห้ใคร ๆ โจทเธอดว้ ยอาบตั ิปฏิญญาตกรณะ หมายถึง วธิ รี ะงบั อธิกรณ์โดยปรับอาบัตติ ามคารบั สารภาพของภกิ ษุณผี ูต้ อ้ งอาบัติเยภยุ ยสิกา หมายถึง วิธรี ะงบั อธกิ รณ์โดยตัดสนิ ตามเสยี งข้างมาก สงฆจ์ ะใชว้ ธิ ีการนี้ในกรณที ่ีบคุ คลหลายฝา่ ยมีความเหน็ ไมต่ รงกนัตัสสปาปยิ สกิ า หมายถงึ วิธรี ะงับอธิกรณ์โดยตดั สนิ ลงโทษแก่ผูก้ ระทาผิด เม่อื สงฆพ์ จิ ารณาตามหลักฐานพยานแล้วเห็นวา่ มคี วามผดิ จริง แมเ้ ธอจะไม่รับสารภาพกต็ ามติณวัตถารกะ หมายถึง วธิ ีระงับอธกิ รณโ์ ดยใหท้ ้ัง ๒ ฝ่ายประนีประนอมกัน เปรียบเหมือนเอาหญา้ กลบไว้ ไม่ต้องชาระสะสางความ วิธนี ี้ใช้ระงับอธิกรณ์ทยี่ ุ่งยาก เชน่ กรณพี ิพาทกนั ของภกิ ษชุ าวกรุงโกสัมพี (กงขฺ า.ฏกี า ๔๗๐, ว.ิ อ.๓/๑๙๕/๒๙๒-๒๙๓,๒๐๒/๒๙๓,๒๐๗/๒๙๔,๒๑๒/๒๙๔-๒๙๕,๓๔๐/๔๘๗, ๔๘๓/๕๔๘, ว.ิ จูฬ.ปาลิ ๖/๑๘๕-๒๑๒/๒๑๘-๒๔๓, วิ.ปาลิ ๘/๒๗๕/๒๑๐

๓๑ พระผมู้ พี ระภาครับสง่ั ให้ประชุมสงฆเ์ พราะเรอ่ื งนเ้ี ปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษทุ ง้ั หลายแลว้ จงึ รบั สง่ั ให้ภกิ ษณุ ีทัง้ หลายยกสิกขาบทนข้ี ึ้นแสดงดังน้ีพระบญั ญตั ิ กภ็ กิ ษุณใี ดถูกตัดสนิ ใหแ้ พค้ ดีในอธกิ รณ์หน่ึง โกรธ ไม่พอใจ จงึ กล่าวอย่างน้วี า่ “พวกภกิ ษณุ ลี าเอียงเพราะชอบ พวกภิกษุณลี าเอียงเพราะชัง พวกภิกษุณลี าเอียงเพราะหลง และพวกภกิ ษณุ ลี าเอยี งเพราะกลัว” ภิกษณุ ีน้นั อันภิกษุณีทั้งหลายพึงว่ากล่าวตกั เตือนอยา่ งนว้ี า่ “แมเ่ จา้ท่านเม่อื ถูกตดั สนิ ให้แพค้ ดใี นอธิกรณ์หนงึ่ โกรธ ไม่พอใจ ก็อย่าได้กลา่ วอย่างนวี้ ่า •พวกภิกษณุ ีลาเอยี งเพราะชอบ พวกภิกษณุ ีลาเอียงเพราะชัง พวกภิกษุณีลาเอียงเพราะ หลง และพวกภกิ ษณุ ีลาเอยี งเพราะกลวั ž แม่เจา้ เองกย็ ังลาเอยี งเพราะชอบบ้าง ลาเอยี งเพราะชังบา้ ง ลาเอยี งเพราะหลงบ้าง ลาเอยี งเพราะกลวั บา้ ง” ภิกษณุ ี นัน้ อันภกิ ษุณที ้งั หลายวา่ กล่าวตกั เตือนอยอู่ ย่างนี้ก็ยงัยนื ยนั อยู่อยา่ งนั้น ภิกษณุ ี น้นั อนั ภกิ ษุณที ้ังหลายพงึ สวดสมนภุ าสนจ์ นครบ ๓ ครง้ั เพ่อื ให้สละเร่อื งนนั้ ถา้ เธอกาลงั ถกู สวดสมนุภาสน์กวา่ จะครบ ๓ ครั้งสละเรือ่ งนั้นได้ นน่ั เป็นการดี ถา้ ไม่สละ แม้ภิกษุณีนี้ก็ต้องธรรมคือสงั ฆาทเิ สสท่ชี ่อื วา่ ยาวตตยิ กะ นิสสารณียะสกิ ขาบทวิภังค์ ในอธิกรณห์ นึ่ง คอื ท่ชี ื่อวา่ อธิกรณ์ ได้แก่ อธิกรณ์ ๔ อย่าง๑ คือ (๑) ววิ าทาธกิ รณ์ (๒) อนุวาทาธิกรณ์ (๓) อาปัตตาธกิ รณ์ (๔) กิจจาธกิ รณ์ คาวา่ โกรธไม่พอใจ คือ ไมช่ อบใจ แคน้ ใจ เจบ็ ใจ ภิกษุณที งั้ หลายทไี่ ด้เหน็ ได้ยนิ พงึ ว่ากลา่ วตกั เตอื น พึงว่ากล่าวตกั เตอื นเธอแม้คร้ังที่ ๒ พงึ ว่ากล่าวตักเตือนเธอแมค้ รงั้ ท่ี ๓ ถา้ เธอสละได้ นน่ั เป็นการดี ถ้าไมส่ ละ ต้องอาบตั ทิ กุ กฏ ภกิ ษุณที งั้ หลายได้ยินแล้วไมต่ กั เตือน ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ ภิกษุณนี ั้น อนั ภกิ ษุณที ง้ั หลายพงึ พามาท่ามกลางสงฆ์แล้วว่ากลา่ วตักเตือนเธอแมค้ รัง้ ท่ี ๒ พงึ ว่ากลา่ วตักเตือนเธอแม้ครง้ั ท่ี ๓ ถ้าเธอสละได้ นน่ั เปน็ การดี ถ้าไม่สละ ต้องอาบัติทุกกฏ ภิกษุณีนั้นอันสงฆ์พึงสวดสมนภุ าสน์ จบญตั ติ ตอ้ งอาบัติทกุ กฏ จบกรรมวาจา ๒ คร้งั ต้องอาบตั ถิ ุลลัจจยั จบกรรมวาจาครงั้สดุ ท้าย ต้องอาบตั สิ งั ฆาทเิ สส เมอื่ เธอตอ้ งอาบตั ิสงั ฆาทเิ สส อาบัติทกุ กฏ(ทตี่ ้อง)เพราะญัตติ อาบัติถลุ ลจั จยั (ทต่ี อ้ ง)เพราะกรรมวาจา ๒ ครง้ั ยอ่ มระงบั ไปบทภาชนยี ์ติกทุกกฏ กรรมทีท่ าไมถ่ กู ต้อง ภกิ ษุณีสาคัญวา่ เปน็ กรรมทที่ าถกู ตอ้ ง ภิกษุณีไมแ่ นใ่ จ ภกิ ษณุ สี าคัญวา่เป็นกรรมทที่ าไม่ถกู ต้อง ตอ้ งอาบัติทุกกฏ

๓๒อนาปตั ติวาร ภิกษณุ ีต่อไปนีไ้ มต่ ้องอาบตั ิ คือ ๑. ภิกษณุ ียังไม่ถูกสงฆ์สวดสมนุภาสน์ ๒. ภกิ ษุณผี ู้สละ ๓. ภิกษุณวี ิกลจริต ๔. ภกิ ษุณีตน้ บญั ญตั ิ๒.๙ สังฆาทเิ สสสกิ ขาบทท่ี ๙ ว่าดว้ ยภกิ ษณุ มี คี วามประพฤตเิ ลวทราม เรอ่ื งภิกษุณีอนั เตวาสนิ ีของภกิ ษณุ ถี ุลลนันทา พวกภกิ ษุณอี ันเตวาสินขี องภิกษณุ ี ถลุ ลนนั ทา อย่คู ลุกคลีกัน๑๗๑ มีความประพฤติเลวทราม มีกติ ติศพั ท์ในทางเส่ือมเสยี มีชือ่ เสยี งไมด่ ี๑๘ มักเบียดเบยี นภกิ ษณุ สี งฆ์ ปกปดิ โทษของกนั และกนั บรรดาภกิ ษณุ ีผมู้ ักน้อย ฯลฯ พากันตาหนิ ประณาม โพนทะนาไดน้ าเรือ่ งนไ้ี ปบอกภกิ ษุท้งั หลายให้ทราบ พวกภิกษไุ ด้นาเร่ืองน้ไี ปกราบทลู พระผู้มีพระภาคใหท้ รงทราบ พระผูม้ พี ระภาครบั สง่ั ใหป้ ระชุมสงฆ์เพราะเรอ่ื งนีเ้ ปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุทง้ั หลาย แล้วจึงรับสัง่ ใหภ้ กิ ษุณีท้งั หลายยกสิกขาบทนข้ี ึ้นแสดงดังน้ี พระบญั ญัติ กภ็ ิกษณุ ที ั้งหลายอยู่คลุกคลีกนั มคี วามประพฤติเลวทราม มกี ิตตศิ ัพทใ์ นทางเส่ือมเสีย มีช่ือเสียงไมด่ ี มักเบียดเบยี นภกิ ษณุ สี งฆ์ ปกปิดโทษของกันและกัน ภกิ ษุณเี หล่านน้ั อันภิกษณุ ีทงั้ หลายพงึ วา่ กล่าวตกั เตอื นอย่างน้ีว่า “นอ้ งหญงิ ทัง้ หลายอยคู่ ลกุ คลกี นั มีความประพฤติเลวทราม มีกิตติศัพทใ์ นทางเสอ่ื มเสีย มชี อ่ื เสียงไม่ดี มกั เบยี ดเบยี นภิกษณุ สี งฆ์ ปกปดิ โทษของกันและกนั น้องหญิงทงั้ หลาย พวกท่านจงแยกกันอยเู่ ถดิ สงฆย์ อ่ มสรรเสริญการแยกกนั อยู่ของน้องหญิงทั้งหลายเทา่ นน้ั ” ภิกษุณีเหลา่ นัน้ อนั ภิกษณุ ีทัง้ หลายว่ากลา่ วตกั เตอื นอยอู่ ย่างน้ี กย็ งั ยนื ยนั อยู่อย่างนน้ั ภิกษุณเี หล่านัน้ อนั ภกิ ษุณีทงั้ หลายพงึ สวดสมนภุ าสนจ์ นครบ ๓ ครั้งเพือ่ ใหส้ ละเรอ่ื งนัน้ถ้าพวกเธอกาลงั ถกู สวดสมนภุ าสนก์ วา่ จะครบ ๓ คร้งั สละเรื่องน้นั ได้ น่นั เปน็ การดี ถา้ ไมส่ ละ แม้ภิกษณุ เี หล่านก้ี ็ต้องธรรมคอื สงั ฆาทิเสสท่ีช่ือว่ายาวตติยกะ นิสสารณียะสกิ ขาบทวิภงั ค์ ๑๗ อยคู่ ลุกคลีกัน” หมายถงึ อยคู่ ลุกคลกี นั กบั พวกคฤหสั ถท์ ั้งทางกาย เชน่ การตาข้าว หุงข้าว บดของหอมรอ้ ยดอกไมเ้ ป็นตน้ และทางวาจา เช่นการช่วยสง่ ขา่ วสาร การชกั ส่อื เป็นตน้ (ว.ิ อ. ๒/๗๒๓/๔๘๐) ๑๘ มีช่อื เสียงไมด่ ี” คือมคี วามเปน็ อยู่ทเ่ี สอ่ื มเสยี มอี าชพี ไมเ่ หมาะสม (ว.ิ อ. ๒/๗๒๓/๔๘๐)

๓๓ คลกุ คลกี นั ได้แก่ อยคู่ ลุกคลีกนั ทางกายและทางวาจาท่ไี มเ่ หมาะสม มีความประพฤตเิ ลวทราม คอื ประกอบดว้ ยความประพฤติเลวทราม มีกติ ติศพั ทใ์ นทางเส่อื มเสยี คือ มกี ติ ติศัพท์เส่อื มเสยี ขจรไป มชี ือ่ เสียงไมด่ ี คอื เลีย้ งชีพด้วยมิจฉาอาชีวะเลวทราม มักเบยี ดเบยี นภิกษณุ ีสงฆ์ คอื เม่ือถูกสงฆ์ทากรรมแกพ่ วกเดียวกนั กค็ ดั ค้าน ปกปิดโทษของกันและกัน คอื ปกปิดความผิดของกนั และกนั ไว้ ภิกษุณีทงั้ หลายท่ีไดเ้ หน็ ไดท้ ราบพึงวา่ กลา่ วตกั เตือน พึงวา่ กล่าวตักเตือนพวกเธอแม้ครั้งที่ ๒พึงว่ากล่าวตักเตือพวกเธอแม้ครัง้ ท่ี ๓ ถา้ พวกเธอสละได้ น่นั เปน็ การดี ถา้ ไมส่ ละ ตอ้ งอาบตั ิทุกกฏภกิ ษุณเี หลา่ นน้ั อันสงฆ์พึงสวดสมนุภาสน์ จบญัตติ ต้องอาบัตทิ กุ กฏ จบกรรมวาจา ๒ ครงั้ ตอ้ งอาบตั ถิ ลุ ลจั จยั จบกรรมวาจาคร้ังสุดทา้ ย ต้องอาบตั สิ งั ฆาทเิ สส เมอ่ื เธอต้องอาบัติสงั ฆาทิเสส อาบัติทกุ กฏ(ทตี่ อ้ ง)เพราะญัตติ อาบตั ิถลุ ลัจจยั (ที่ตอ้ ง)เพราะกรรมวาจา ๒ ครง้ั ยอ่ มระงับไป สงฆ์พงึ สวดสมนภุ าสนภ์ กิ ษุณี ๒-๓ รูปคราวเดียวกนั ไมพ่ งึ สวดสมนภุ าสน์ ภิกษุณมี ากกว่านั้นคราวเดียวกันบทภาชนีย์ตกิ ทกุ กฏ กรรมทีท่ าไม่ถกู ต้อง ภกิ ษุณีสาคญั วา่ เปน็ กรรมทีท่ าถูกต้อง ภิกษุณีไมแ่ น่ใจ ภิกษณุ สี าคญั วา่เปน็ กรรมทท่ี าไมถ่ ูกตอ้ ง ต้องอาบัติทุกกฏอนาปัตติวาร ภิกษณุ ีตอ่ ไปนีไ้ ม่ตอ้ งอาบตั ิ คือ ๑. ภกิ ษุณียังไม่ถูกสวดสมนุภาสน์ ๒. ภิกษณุ ีผสู้ ละ ๓. ภิกษุณวี ิกลจริต ๔. ภิกษณุ มี ีจิตฟุ้งซ่าน ๕. ภิกษณุ กี ระสบั กระส่ายเพราะเวทนา ๖. ภกิ ษุณีต้นบญั ญัติ๒.๑๐ สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑๐ ว่าดว้ ยการยยุ งส่งเสริมใหภ้ กิ ษุณีประพฤตเิ ลวทราม เรื่องภิกษณุ ีถุลลนันทา

๓๔ ครง้ั นัน้ ภิกษุณถี ลุ ลนนั ทากล่าวกับ ภิกษุณที ้งั หลายผู้ถูกสงฆส์ วดสมนุภาสน์แลว้ อยา่ งนีว้ า่“แมเ่ จ้าท้ังหลาย พวกทา่ นจงอยคู่ ลกุ คลีกนั เถิด อย่าแยกกันอยู่ ภิกษุณเี หลา่ อืน่ ผู้มคี วามประพฤติอยา่ งนี้ มีกิตติศัพทอ์ ย่างนี้ มีชอื่ เสยี งอย่างนี้ มักเบียดเบยี นภิกษุณีสงฆ์ ปกปดิ โทษของกันและกันก็มีอยใู่ นสงฆ์ สงฆ์ก็ไมไ่ ดว้ ่ากล่าวภกิ ษุณเี หล่าน้ันเลย สงฆ์ไดแ้ ต่ว่ากล่าวพวก ทา่ นเทา่ น้นั ด้วยความดหู ม่ินเหยยี ดหยาม ด้วยความไม่พอใจ ดว้ ยการขม่ ขู่ เพราะพวกท่านอ่อนแออย่างนวี้ า่ •น้องหญิงท้งั หลายอยู่คลกุ คลกี ัน มคี วามประพฤติ เลวทราม มกี ิตตศิ ัพท์ในทางเสอ่ื มเสยี มีชื่อเสียงไมด่ ี มกั เบยี ดเบยี นภิกษุณีสงฆ์ ปกปิดโทษของกนั และกนั นอ้ งหญงิ ทั้งหลาย พวกทา่ นจงแยกกนั อยเู่ ถดิ สงฆ์ย่อมสรรเสรญิ การแยกกนั อยูข่ องน้องหญงิ ท้ังหลายเทา่ น้ัน” พวกภกิ ษุได้นาเรอื่ งน้ไี ปกราบทูล พระผู้มีพระภาครบั สั่งให้ประชมุ สงฆ์เพราะเร่ืองนเ้ี ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษทุ ง้ั หลาย แลว้ จงึ รับสั่งใหภ้ ิกษณุ ีทั้งหลายยกสิกขาบทน้ขี นึ้ แสดงดังนี้พระบัญญตั ิ ก็ภิกษุณีใดกลา่ วอย่างนว้ี า่ “นอ้ งหญิงทั้งหลาย ท่านทงั้ หลาย จงอยคู่ ลกุ คลกี นั อย่าแยกกนั อยู่ ภิกษณุ ีเหลา่ อืน่ ผ้มู คี วามประพฤติอย่างน้ี มกี ิตตศิ ัพท์อยา่ งนี้ มชี อื่ เสยี งอยา่ งนี้ มกัเบียดเบียนภกิ ษณุ สี งฆ์ ปกปดิ โทษของกนั และกนั ไวก้ ม็ ีอย่ใู นสงฆ์ สงฆ์กไ็ มไ่ ด้ว่ากลา่ วพวกเธอเลยสงฆไ์ ดแ้ ต่ว่ากลา่ ว พวกท่านเทา่ นน้ั ดว้ ยความดูหมน่ิ เหยียดหยาม ดว้ ยความไมพ่ อใจ ด้วยการขม่ ขู่เพราะพวกทา่ นอ่อนแอ อย่างนว้ี า่ “น้องหญงิ ท้ังหลายอยคู่ ลุกคลกี ัน มคี วามประพฤตเิ ลวทราม มีกิตติศพั ท์ในทางเส่ือมเสีย มชี อ่ื เสียงไมด่ ี มกั เบียดเบยี น ภกิ ษุณีสงฆ์ ปกปดิ โทษของกนั และกันน้องหญงิ ทัง้ หลาย พวกท่านจงแยกกนั อยเู่ ถดิ สงฆย์ ่อมสรรเสรญิ การแยกกันอยขู่ องนอ้ งหญิงทง้ั หลายเท่านัน้ ” ภิกษุณีนัน้ อันภิกษณุ ีทงั้ หลายพึงวา่ กลา่ วตักเตือนอยา่ งนวี้ า่ “น้องหญิง ท่านอย่ากล่าวอยา่ งน้วี ่า •น้องหญิงทงั้ หลาย ท่านทง้ั หลายจงอยูค่ ลกุ คลีกัน อยา่ แยกกนั อยู่ ภกิ ษุณแี ม้เหล่าอ่นื ผมู้ คี วามประพฤติอย่างนี้ มกี ิตติศัพทอ์ ย่างน้ี มีชอ่ื เสยี งอยา่ งนี้ มกั เบียดเบยี นภกิ ษุณีสงฆ์ชอบปกปดิ โทษกนั ไวก้ ม็ ีอย่ใู นสงฆ์ สงฆ์ก็ไมไ่ ดว้ ่ากลา่ วภิกษุณเี หล่านนั้ เลย ได้แตว่ า่ กลา่ วพวกท่านเท่านัน้ ดว้ ยความดูหมิน่ เหยียดหยาม ด้วยความไม่พอใจ ด้วยการข่มขู่ เพราะพวกทา่ น ออ่ นแออย่างนีว้ ่า •นอ้ งหญงิ ทั้งหลายอยคู่ ลุกคลีกนั มคี วามประพฤติเลวทราม มีกติ ตศิ พั ทใ์ นทางเสือ่ มเสยี มชี ่อื เสียงไมด่ ี มักเบยี ดเบียนภกิ ษุณีสงฆ์ ปกปิดโทษของกนั และกนั นอ้ งหญิงทง้ั หลาย พวกท่านจงแยกกันอยเู่ ถดิ สงฆย์ อ่ มสรรเสรญิ การแยกกนั อยู่ของน้องหญิงทง้ั หลายเท่าน้นั ” ภกิ ษณุ นี ั้นอนั ภิกษุณี ทงั้ หลายวา่ กล่าวตักเตือนอยอู่ ย่างน้ี กย็ ังยืนยันอยู่อย่างนั้น ภิกษณุ นี ัน้ อันภกิ ษณุ ีท้งั หลายพึงสวดสมนภุ าสน์จนครบ ๓ ครัง้ เพ่ือใหส้ ละเรื่องนั้น ถ้าเธอกาลังถูกสวดสมนภุ าสนก์ ว่าจะครบ ๓ คร้งั สละเรือ่ งน้ันได้ น่ันเปน็ การดี ถ้าไม่สละ แม้ภิกษุณีนก้ี ต็ อ้ งธรรมคือสังฆาทเิ สสทช่ี อื่วา่ ยาวตตยิ กะ นสิ สารณยี ะ

๓๕สกิ ขาบทวิภงั ค์ คาวา่ เหยยี ดหยาม ได้แก่ ความหยาบคาย คาว่า ด้วยการข่มขู่ ไดแ้ ก่ ดว้ ยการการาบ คาวา่ เพราะพวกท่านอ่อนแอ คอื เพราะความไมม่ ีพวก วธิ สี วดสมนุภาสน์และกรรมวาจาสวดสมนภุ าสน์เหมอื นสกิ ขาบทกอ่ นบทภาชนยี ์ ตกิ สังฆาทเิ สส กรรมที่ทาถูกตอ้ ง ภกิ ษณุ ีสาคัญวา่ เป็นกรรมที่ทาถูกตอ้ ง ไม่สละ ภกิ ษณุ ไี มแ่ น่ใจ ไมส่ ละภกิ ษณุ ีสาคญั วา่ เป็นกรรมท่ีทาไมถ่ กู ตอ้ ง ไม่สละ ตอ้ งอาบตั ิสงั ฆาทเิ สส ตกิ ทกุ กฏ กรรมที่ทาไม่ถกู ต้อง ภิกษุณสี าคัญวา่ เป็นกรรมทท่ี าถกู ตอ้ ง ภกิ ษุณีไมแ่ นใ่ จ ภกิ ษณุ สี าคัญว่าเปน็ กรรมที่ทาไม่ถูกต้อง ตอ้ งอาบัติทุกกฏอนาปตั ติวาร ภิกษุณตี อ่ ไปนีไ้ มต่ ้องอาบัติ คือ ๑. ภกิ ษุณียงั ไม่ถกู สวดสมนภุ าสน์ ๒. ภิกษณุ ีผ้สู ละ ๓. ภิกษุณวี ิกลจริต ๔. ภกิ ษุณีตน้ บญั ญตั ิ สงั ฆาทเิ สส ๑๗ สกิ ขาบท จบบทสรุป สงั ฆาทิเสส แปลว่า หมวดอาบัตทิ ีต่ ้องอาศยั สงฆใ์ นกรรมเบ้ืองตน้ และกรรมที่เหลอืหมายความวา่ วธิ กี ารจะออกจากอาบัติน้ีตอ้ งอาศยั สงฆต์ งั้ แตต่ ้นไปจนตลอด สังฆาทิเสสเปน็ ชือ่ ธรรมคอื อาบตั สิ งั ฆาทิเสส และเป็นชอื่ สกิ ขาบทในสงั ฆาทเิ สสกณั ฑน์ ้ีบทบัญญัติในสงั ฆาทเิ สสกณั ฑ์ปรบั โทษสถานหนักแกภ่ ิกษณุ ีผลู้ ว่ งละเมิดรองลงมาจากปาราชิก จัดเปน็ครกุ าบตั ิ คอื อาบตั หิ นัก เป็นทุฏฐลุ ลาบตั ิ คอื อาบัติช่ัวหยาบ เปน็ สาวเสสาบตั ิ คอื อาบัติมีสว่ นเหลือและเป็นสเตกิจฉา คอื ยังพอแกไ้ ขได้

๓๖ สังฆาทิเสสของภกิ ษณุ ีสงฆ์ ๑๗ สกิ ขาบท แบ่งเปน็ ๒ ส่วน คอื ๑. อสาธารณสงั ฆาทิเสส เป็นสิกขาบททพี่ ระผ้มู พี ระภาคทรงปรารภภกิ ษณุ สี งฆ์ บญั ญตั ิไวเ้ ฉพาะสาหรับภกิ ษุณีสงฆ์ ๒. สาธารณสงั ฆาทิเสส เปน็ สิกขาบทที่พระผมู้ ีพระภาคทรงปรารภภิกษสุ งฆ์ บญั ญัติไว้ซ่งึ ภิกษุณีสงฆ์พงึ รักษาด้วย ในภกิ ขุนีวิภังค์นี้ แสดงไว้เฉพาะอสาธารณสงั ฆาทิเสส ๑๐ สิกขาบท ส่วนสาธารณสังฆาทเิ สสอีก ๗ สิกขาบทอนโุ ลมตามสกิ ขาบทของภกิ ษุ สังฆาทเิ สสกัณฑข์ องภิกษุณีสงฆม์ ี ๑๗ สิกขาบท แต่แสดงไวใ้ นพระวินยั ปฎิ ก เล่ม ๓ ภกิ ขุนีวภิ ังคน์ ้ีเฉพาะอสาธารณสงั ฆาทเิ สส ๑๐ สิกขาบท สังฆาทิเสสของภกิ ษุณสี งฆ์มกี ารแบง่ กลมุ่ อยา่ งชัดเจน โดยเฉพาะอสาธารณ สังฆาทิเสสท่ีแสดงไว้ในภิกขุนวี ิภังค์นี้ แบง่ เปน็ ๒ กลุ่ม คือ ๑. ต้ังแตส่ กิ ขาบทที่ ๑ - ๖ ช่อื วา่ ปฐมาปตั ตกิ ะ นสิ สารณียะ ภิกษณุ ีผ้ลู ว่ งละเมดิ บทบญั ญตั ิในกล่มุ น้ี ตอ้ งอาบตั ิสังฆาทิเสสในขณะทีล่ ่วงละเมดิ และต้องถกู ขับออกจากหมู่๑๙ ๒. ตง้ั แต่สกิ ขาบทท่ี ๗ - ๑๐ ชือ่ วา่ ยาวตตยิ กะ นิสสารณียะ ภิกษุณีผูล้ ่วงละเมิดบทบญั ญตั ิในกลุม่ นี้ ตอ้ งอาบัติสงั ฆาทิเสสต่อเมือ่ ยังยืนยันอยู่จนสงฆ์สวดสมนภุ าสน์ครบ ๓ ครัง้ และตอ้ งถูกขบัออกจากหมู่๒๐วิธสี วดสมนุภาสน์และกรรมวาจาสวดสมนภุ าสน์ ภิกษุทง้ั หลาย กส็ งฆพ์ ึงสวดสมนุภาสนภ์ กิ ษณุ นี ั้นอย่างน้ี คือ ภกิ ษณุ ีผฉู้ ลาด สามารถพึงประกาศใหส้ งฆท์ ราบดว้ ยญตั ตจิ ตุตถกรรมวาจาวา่ “แม่เจา้ ขอสงฆ์จงฟังขา้ พเจา้ ภกิ ษุณีชอื่ นโี้ กรธ ไม่พอใจ กล่าวอย่างนวี้ ่า •ดฉิ ันขอบอกลาพระพทุ ธ ขอบอกลาพระธรรม ขอบอกลาพระสงฆ์ ขอบอกลาสิกขา สมณะหญงิ จะมีแตส่ มณศากยธิดาเหล่านกี้ ระนน้ั หรือ แมส้ มณะหญงิ เหลา่ อ่นื ผู้มีความละอาย มคี วามระมัดระวงั ใฝก่ ารศึกษาก็ยงั มอี ยู่เราจะไปประพฤตพิ รหมจรรย์ในสานกั ของสมณะหญงิ เหลา่ นนั้ ž เธอไมย่ อมสละเรอื่ งนน้ั ถา้ สงฆ์พรอ้ มกนั แล้วพงึ สวดสมนุภาสนภ์ ิกษุณชี ือ่ นีเ้ พื่อให้สละเร่ืองน้ัน นีเ่ ป็นญัตติ แมเ่ จา้ ขอสงฆ์จงฟงั ขา้ พเจ้า ภิกษุณีช่อื นี้โกรธ ไม่พอใจ กลา่ วอยา่ งน้วี ่า •ดฉิ นั ขอบอกลาพระพุทธ ขอบอกลาพระธรรม ขอบอกลาพระสงฆ์ ขอบอกลาสกิ ขา สมณะหญงิ จะมแี ต่สมณะศากยธิดาเหล่านก้ี ระนัน้ หรือ แม้สมณะหญงิ เหล่าอื่นผู้มีความละอาย มคี วามระมดั ระวงั ใฝก่ ารศกึ ษากย็ งั มีอยู่ เราจะไปประพฤติพรหมจรรย์ ในสานักของสมณะหญงิ เหลา่ นั้นž เธอไมส่ ละเรอ่ื งน้นั สงฆ์สวดสมนุ ๑๙ (กงขฺ า.อ. ๓๔๗) ๒๐ (กงฺขา. อ. ๑๗๔,๓๔๗)

๓๗ภาสน์ภิกษณุ ชี อื่ นเ้ี พื่อให้สละเรอื่ งนั้น แม่เจ้ารปู ใดเหน็ ด้วยกับการสวดสมนุภาสนภ์ ิกษณุ ีชอ่ื นเ้ี พ่อื ให้สละเร่อื งนัน้ แม่เจา้ รูปนน้ั พงึ นิ่ง แม่เจ้ารูปใดไมเ่ ห็นด้วย แมเ่ จ้ารปู นัน้ พงึ ทกั ท้วง ข้าพเจา้ กล่าวความนีเ้ ป็นครัง้ ที่ ๒ ฯลฯ ขา้ พเจ้ากล่าวความน้เี ปน็ คร้ังที่ ๓ ฯลฯ ภกิ ษุณนี ส้ี งฆส์ วดสมนภุ าสน์เพ่ือใหส้ ละเรื่องนัน้ แลว้ สงฆ์เหน็ ดว้ ย เพราะฉะนนั้ จงึ น่ิง ข้าพเจา้ขอถือความน่ิงนนั้ เปน็ มตอิ ย่างน้ี” จบญัตติ ต้องอาบัติทกุ กฏ จบกรรมวาจา ๒ คร้งั ต้องอาบัติถลุ ลจั จยั จบกรรมวาจาครง้ัสดุ ท้าย ตอ้ งอาบัติสงั ฆาทิเสส เม่ือเธอตอ้ งอาบตั สิ ังฆาทเิ สส อาบตั ทิ ุกกฏ(ทตี่ อ้ ง)เพราะญัตติ ถลุ ลัจจัย(ทีต่ ้อง)เพราะกรรมวาจา ๒ ครงั้ ยอ่ มระงับไป ภกิ ษณุ ีผูล้ ว่ งละเมิดสิกขาบทใดสกิ ขาบทหนงึ่ บรรดา ๑๗ สกิ ขาบทนตี้ อ้ งอาบัติ สงั ฆาทเิ สสแล้ว ตอ้ งขอปกั ขมานตั ต่อสงฆท์ ีม่ จี านวน ๔ รปู เปน็ อยา่ งน้อยภายใน วหิ ารสมี าหรอื ขัณฑสมี า แล้วประพฤตปิ กั ขมานัตเปน็ เวลา ๑๕ ราตรี โดยไมต่ ้อง อยู่ปรวิ าสกรรม แมจ้ ะปกปิดอาบตั ิไว้หรอื ไม่ได้ปกปดิ ไวก้ ต็ าม๒๑ วิธขี อปักขมานัต ถ้าภกิ ษุณตี อ้ งอาบัติสังฆาทเิ สสสิกขาบทที่ ๑ วา่ ด้วยการก่อคดพี พิ าทกับคหบดี เป็นต้น เธอพึงเขา้ ไปหาภิกษณุ ีสงฆ์มีจานวน ๔ รูปเปน็ อยา่ งนอ้ ย ห่มอตุ ตราสงค์ เฉวียงบ่าข้างหนง่ึ กราบเทา้ภกิ ษณุ ีผู้แก่พรรษา นง่ั กระโหยง่ ประนมมอื กล่าวอยา่ งนี้ว่า “แมเ่ จ้า ดิฉนั ต้องอาบัติตัวหน่ึงชอ่ื อุสยุ ยวาท(กอ่ คดีพิพาท) ดฉิ นั ขอปักขมานัต เพอื่ อาบตั ติ วัหนึง่ ชอื่ อสุ ุยยวาท” ภกิ ษุณผี ู้ฉลาดสามารถพงึ ใหเ้ ธอกล่าวขอ ๓ ครงั้ อย่างน้ี แลว้ ประกาศใหส้ งฆ์ ทราบดว้ ยญัตติจตตุ ถกรรมวาจาวา่ “แมเ่ จ้า ขอสงฆจ์ งฟังขา้ พเจา้ ภกิ ษณุ ีนี้มีชื่อนตี้ ้องอาบัตติ ัวหน่ึงชือ่ อสุ ุยยวาท เธอขอปักขมานัตเพ่ืออาบตั ติ ัวหนึ่งชื่ออสุ ุยยวาทต่อสงฆ์ ถา้ สงฆพ์ รอ้ มกนั แลว้ พงึ ใหป้ กั ขมานัตเพือ่ อาบัตติ ัวหนึ่งชอื่ อุสุยยวาทแกภ่ กิ ษณุ ีชื่อนี้ น่เี ปน็ ญัตติ แม่เจ้า ขอสงฆ์จงฟงั ข้าพเจา้ ภิกษณุ ีนมี้ ีชอื่ นตี้ ้องอาบัตติ ัวหน่ึงช่อื อสุ ุยยวาท ขอปกั ขมานตั เพ่อือาบัตติ ัวหน่ึงชอ่ื อุสยุ ยวาทตอ่ สงฆ์ สงฆใ์ ห้ปกั ขมานัตเพอ่ื อาบัติตวั หน่ึงช่อื อสุ ยุ ยวาท แมเ่ จา้ รูปใดเหน็ดว้ ยกับการให้ปักขมานัตเพื่ออาบัติตัวหน่งึ ชือ่ อสุ ุยยวาทแกภ่ กิ ษุณชี ือ่ น้ี แมเ่ จ้ารูปน้ันพงึ นงิ่ แมเ่ จ้ารูปใดไม่เหน็ แม่เจา้ รูปน้นั พึงทกั ทว้ ง ฯลฯ แม้คร้งั ที่ ๒ ฯลฯ แม้ครงั้ ท่ี ๓ ขา้ พเจา้ กล่าวความน้วี ่า แม่เจา้ ขอสงฆ์ จงฟงั ข้าพเจ้า ฯลฯ ๒๑ ภิกฺขุนิยา หิ อาปตตฺ ึ ฉาเทนตฺ ยิ าปิ ปริวาโส นาม นตถฺ ิ, ฉาทนปจฺจยาปิ น ทุกกฺ ฏ อาปชชฺ ติ, ตสมฺ า ฉาเทตวฺ าปิ อฉาเทตวฺ าปิ เอก ปกขฺ มานตฺตเมว จริตพฺพ. - กงฺขา.อ. ๓๕๕

๓๘ ปกั ขมานัตเพ่อื อาบตั ติ วั หนึ่งชอ่ื อสุ ุยยวาท สงฆ์ใหแ้ ลว้ แก่ภิกษณุ ีชือ่ นี้ สงฆ์เหน็ ดว้ ยเพราะฉะนั้นจงึ นงิ่ ข้าพเจ้าขอถอื ความนงิ่ นนั้ เป็นมติอยา่ งน้ี” เมอ่ื จบกรรมวาจาแล้ว ภกิ ษณุ ีผู้ต้องอาบตั นิ นั้ พึงกล่าวคาสมาทานวัตร สมาทานมานตั ถา้ต้องการอูยแ่ บบเก็บวตั รกพ็ ึงเกบ็ วัตรเก็บมานัต ก่อนอรณุ ขน้ึ จึงค่อยสมาทานวตั รประพฤตมิ านตั ตอ้ งแจง้ ใหภ้ กิ ษณุ ีสงฆ์จานวน ๔ รปู และภกิ ษสุ งฆ์ จานวน ๔ รูปทราบทุกวันว่าตนประพฤติมานัต เมื่อภกิ ษุณีนั้นประพฤติปกั ขมานตั ครบ ๑๕ ราตรีแลว้ จงึ ขออพั ภาน คือใหภ้ กิ ษณุ สี งฆ์มจี านวน ๒๐ รปูเรยี กเข้าหม๒ู่ ๒คาถามทา้ ยบท ภกิ ษุณตี อ้ งอาบตั สิ ังฆาทเิ สส จะตอ้ งอยปู่ รวิ าสหรอื ไมอ่ ยา่ งไร อธบิ าย ๒๒ กงขฺ า.อ. ๓๕๕-๓๕๗

๓๙ บทท่ี ๓ นิสสัคคยิ กณั ฑ์ พระมหาวิจิตร กลฺยาณจิตฺโตวัตถปุ ระสงค์ประจาบทเรยี น เมื่อนิสิตเรยี นบทนแ้ี ล้วสามารถ อธบิ ายนสิ สคั คยิ สิกขาบท ทั้ง๑๒ สิกขาบทได้ อธิบายสิกขาบททเี่ ปน็ สาธารณบัญญัตแิ ละอสาธารณบัญญัตไิ ด้ อธิบายเหตุเกิด สถานท่ี บุคคลท่ีเกี่ยวข้อง ตัวบัญญัติ หรืออนุบัญญัติ สิกขาบทวิภังค์ (การ จาแนกคา) บทภาชนีย์ อนาปัตติวารได้เน้ือหาโดยสังเขป สาระสาคญั ในนิสสคั คิยปาจิตตยี ์ ๑๒ สกิ ขาบท

๔๐ความนา นสิ สัคคิยกัณฑ์ ตอนวา่ ด้วยนสิ สคั คิยปาจิตตยี ์ คาว่า นิสสัคคิยปาจติ ตยี ์ ประกอบดว้ ยคา ๒คา คือ ๑. คาว่า นิสสัคคยิ แปลวา่ ทาให้สละส่งิ ของ อาบตั ิทส่ี ละแลว้ พึงแสดง หรือ แปลวา่ การสละซึ่งเป็นช่ือกระบวนการทางวินัยทพ่ี ึงทาในเบ้อื งตน้ ๒๓ ๒. คาว่า ปาจิตตยี ์ แปลว่า ทากุศลจติ กลา่ วคือกศุ ลธรรมของผ้จู งใจตอ้ งอาบัติให้ตกไป โดยสรปุ กค็ ือทาจติ ใหต้ กไป และจิตทีถ่ ูกทาใหต้ กไปน้ัน ย่อมพลาด จากอริยมรรค หรือทาอริยมรรคใหเ้ สียไป และปาจิตตยี ์นเ้ี ป็นเหตุให้จติ ลมุ่ หลง๒๔ รวมทง้ั ๒ คาน้เี ข้าด้วยกนั เปน็ “นิสสคั คิยปาจิตตีย์” ซ่งึเปน็ ชอื่ สิกขาบท หมายถงึ บทบัญญัตใิ นนิสสคั คยิ กัณฑ์ ๓๐ สิกขาบท และเปน็ ชื่ออาบตั ิ หมายถงึ อาบัตินิสสคั คยิ ปาจติ ตีย์ที่ภกิ ษตุ ้องเพราะเกยี่ วขอ้ งกบั เคร่ืองอุปโภคบรโิ ภคในทางทไี่ ม่ เหมาะสม เปน็ลหุกาบัติ คืออาบตั ิเบา และเป็นสเตกิจฉา คือยงั พอแก้ไขได้ เมอื่ ภกิ ษตุ ้องเขา้ แล้ว สามารถพ้นไดด้ ้วยการสละสิ่งของ เชน่ จีวร บาตร ผ้านสิ ที นะ เป็นตน้ ท่ที าใหต้ อ้ งอาบตั ิ ตอ่ จากนนั้ จึงแสดงอาบัติตอ่ หนา้สงฆ์ คณะ หรอื บุคคล ๒๓ นิสฺสชฺชติ วฺ า ย เทเสติ, เตเนตนตฺ ิ นิสฺสชฺชิตวฺ า เทเสตพฺพโต นิสสฺ คคฺ ยิ นตฺ ิ วุจฺจติ -วิ.อ. ๓/ ๓๓๙/๔๘๕ ๒๔ สญฺจิจฺจ อาปชฺชนตฺ สฺส กสุ ลธมมฺ สงขฺ าตํ กสุ ลจิตฺตํ ปาเตต,ิ ตสฺมา ปาเตติ จิตฺตนฺติ ปาจติ ฺตยิ ํ ว.ิ อ. ๓/๓๓๙/๔๘๕

๔๑ นิสสัคคิยสิกขาบท เป็นนิสสัคคิยคือต้องเสียสละ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ท่ีทรงบัญญัติสาหรับภิกษุณีฝ่ายเดียว ๑๒ สิกขาบท ๑๘ สิกขาบททรงบัญญัติแก่ทั้ง ๒ ฝ่ายซึ่งขบวนการบัญญัติสิกขาบทเกิดจากมชี าวบ้านหรอื ภกิ ษุณตี าหนิ ติเตียน โพนทะนา ภิกษุณีผู้มีความมักน้อย สันโดษ ได้ยินภิกษุณีตาหนิ ติเตียน นาเรื่องไปบอกแก่ภิกษุสงฆ์ ภิกษุสงฆ์นาเร่ืองไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าพระผู้มีพระภาคเจา้ เรียกประชุมสงฆ์ สอบถามเหตุเกิดทรงแสดงธรรมมีกถา ยกอุทาหรณ์ ตาหนิโดยประการต่างๆแล้วทรงยกสิกขาบทข้ึนแสดง สถานที่บัญญัติสิกขาบท พระเชตวันมหาวิหารของอนาถปิณฑิกเศรษฐี ในเมืองสาวัตถี ในแต่ละสิกขาบทจะมีเหตเุ กดิ สถานที่ บุคคลที่เกี่ยวข้อง ตัวบญั ญตั ิ หรอื อนบุ ัญญัติ สิกขาบทวภิ งั ค์ (การจาแนกคา) บทภาชนยี ์ อนาปัตติวารสาระสาคญั ในนสิ สัคคยิ ปาจติ ตีย์ ๑๒ สิกขาบท๓.๑ ปัตตวรรค หมวดวา่ ดว้ ยบาตร สิกขาบทท่ี ๑ วา่ ดว้ ยการสะสมบาตร เรอื่ งภกิ ษุณีฉพั พคั คีย์ ครงั้ นนั้ พวกภิกษุณฉี ัพพัคคยี ท์ าการ สะสมบาตรไวเ้ ป็นอันมาก พวกชาวบ้านเดนิ เท่ียวตามวิหารเห็นเขา้ จงึ ตาหนิ ประณาม โพนทะนาว่า พวกภิกษณุ ฉี ัพพคั คยี ์ทาการสะสมบาตรไว้เป็นอนั มากจะขาย บาตรหรอื ตง้ั รา้ นขายภาชนะดนิ เผา ลาดับนนั้ พระผูม้ พี ระภาครบั สงั่ ให้ประชมุ สงฆเ์ พราะเรอ่ื งน้ีเป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทั้งหลาย แล้วจึงรบั สั่งให้ ภกิ ษุณีทง้ั หลายยกสิกขาบทน้ีข้นึ แสดงดังนี้ พระบญั ญตั ิ กภ็ กิ ษุณใี ดทาการสะสมบาตร ต้องอาบตั นิ สิ สคั คยิ ปาจิตตยี ์๒๕ ๒๕ ทแี่ ปลวา่ “ต้องอาบตั นิ ิสสัคคยิ ปาจิตตยี ์” น้ีเป็นไปตามนยั อธิบายแหง่ อรรถกถาว่า “นสิ ฺสคคฺ ยิ ปาจติ ฺตยิ

๔๒ สกิ ขาบทวิภังค์ ท่ชี ่ือวา่ บาตร ได้แก่ บาตร ๒ ชนดิ คอื (๑) บาตรเหล็ก (๒) บาตรดนิ เผา บาตรมี ๓ ขนาด คอื (๑) บาตรขนาดใหญ่ (๒) บาตรขนาดกลาง (๓) บาตร ขนาดเลก็ ทช่ี ื่อว่า บาตรขนาดใหญ่ จุขา้ วสุกจากข้าวสาร ๒ ทะนาน จุของเค้ยี วเศษหน่ึงสว่ นสี่๒ จุกับข้าวพอสมควรแกข่ ้าวสุกนั้น ทีช่ ่อื ว่า บาตรขนาดกลาง จขุ ้าวสกุ จากขา้ วสาร ๑ ทะนาน จขุ องเคี้ยวเศษหนง่ึ สว่ นส่ี จุกบั ขา้ วพอสมควรแกข่ า้ วสุกนัน้ ทช่ี ือ่ วา่ บาตรขนาดเลก็ จขุ า้ วสกุ จากขา้ วสาร ครงึ่ ทะนาน จขุ องเค้ียวเศษหนง่ึ ส่วนสี่ จุกบั ข้าวพอสมควรแกข่ า้ วสกุ นนั้ บาตรทม่ี ีขนาดใหญ่กว่านัน้ เปน็ บาตรท่ีใชไ้ ม่ได้ บาตรมีขนาดเล็กกวา่ นนั้ ก็เปน็ บาตรทใี่ ชไ้ มไ่ ด้ คาวา่ ทาการสะสม คอื บาตรทีไ่ ม่ได้อธษิ ฐาน ไมไ่ ดว้ ิกัป คาวา่ บาตรเป็นนสิ สคั คยี ์ ความว่า บาตรเปน็ นสิ สัคคีย์พร้อมกับอรณุ ขน้ึ คอื เป็นของจาต้องสละแกส่ งฆ์ แกค่ ณะ หรือแกภ่ ิกษณุ ีรปู หนึง่วิธสี ละบาตรที่เป็นนสิ สคั คีย์ สละแก่สงฆ์ ภกิ ษณุ ีรูปนัน้ พึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มอุตตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนึง่ กราบเทา้ ภิกษณุ ผี แู้ ก่พรรษานั่งกระโหยง่ ประนมมือ กลา่ วอย่างนวี้ ่า แมเ่ จา้ บาตรใบนี้ของดฉิ ันเกนิ กาหนดราตรี เปน็ นสิ สัคคยี ์ดฉิ ันขอสละบาตรใบน้ีแก่สงฆ์ ครั้นสละแล้วพงึ แสดงอาบตั ิ ภิกษุณผี ู้ฉลาดสามารถพงึ รับอาบตั ิ พงึ คืนบาตรท่ีเธอสละใหด้ ้วยญตั ติกรรมวาจา ว่า แม่เจ้าขอสงฆ์จงฟงั ขา้ พเจา้ บาตรใบนีข้ องภิกษุณีชอ่ื น้ีเปน็ นิสสัคคยี ์ เธอสละแก่สงฆ์ ถ้าสงฆ์พร้อมกันแล้วพงึคนื บาตรใบนใี้ ห้แกภ่ กิ ษณุ ีชอ่ื น้ี สละแกค่ ณะ ภิกษุณีรูปน้นั พึงเข้าไปหาภิกษุณหี ลายรูป ห่มอุตตราสงคเ์ ฉวียงบ่าข้างหน่ึง กราบเท้าภิกษณุ ผี ู้แกพ่ รรษา น่งั กระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้วา่ แมเ่ จา้ ทัง้ หลาย บาตรใบนีข้ องดฉิ นั เกนิ กาหนดราตรี เป็นนิสสัคคีย์ ดฉิ ันขอสละบาตรใบน้แี กแ่ ม่เจา้ ท้งั หลาย ครนั้ สละแล้วพงึ แสดงอาบัติ, ตญจฺ จวี ร นสิ สฺ คฺคยิ โหติ, ปาจิตตฺ ิยาปตฺติ จสสฺ โหติ ตอ้ งอาบตั ินิสสคั คยิ ปาจติ ตยี ์ คือจีวรเป็นนิสสัคคีย์ตอ้ งสละภกิ ษณุ รี ปู นั้นตอ้ งอาบตั ิปาจิตตีย์” (ว.ิ อ. ๒/๔๖๒-๔๖๓/๑๔๒, กงขฺ า.อ. ๑๘๖) นสิ สคั คิยปาจิตตีย์ คืออาบตั ิปาจติ ตยี ์ท่ภี กิ ษุณผี ตู้ อ้ งแล้วเม่อื จะแสดงเทสนาบัติ จะต้องทาการสละวัตถุก่อน จึงจะถือวา่ เปน็ ผู้บริสทุ ธ์จิ ากอาบัตินี้

๔๓ ภกิ ษณุ ผี ้ฉู ลาดสามารถพึงรับอาบัติ พงึ คืนบาตรท่เี ธอสละใหด้ ว้ ยกลา่ วว่า แมเ่ จา้ ทง้ั หลายจงฟังขา้ พเจา้ บาตรใบนีข้ องภิกษณุ ีช่ือนเ้ี ปน็ นิสสคั คยี ์ เธอสละแล้ว แกแ่ มเ่ จา้ ทง้ั หลาย ถา้ แม่เจ้าทง้ั หลายพร้อมกันแล้วพงึ คืนบาตรใบน้ใี ห้แกภ่ กิ ษณุ ีชือ่ น้ี สละแก่บคุ คล ภกิ ษณุ รี ูปน้นั พึงเขา้ ไปหาภิกษุณีรปู หน่งึ ห่มอตุ ตราสงค์เฉวยี งบ่าข้างหนึง่ นง่ั กระโหย่งประนมมอื กลา่ วอยา่ งนวี้ า่ แมเ่ จา้ บาตรใบนข้ี องดิฉันเกินกาหนดราตรี เป็นนิสสคั คีย์ ดิฉนั ขอสละบาตรนแี้ กแ่ มเ่ จา้ ครนั้ สละแล้วพงึ แสดงอาบตั ิ ภิกษณุ ีผู้รับสละนัน้ พึงรับอาบัติ แลว้ คืนบาตรที่เธอสละให้ด้วยการกล่าวว่า “ดิฉนั คนื บาตรนี้ให้แก่แม่เจ้าบทภาชนีย์ ตกิ ทกุ กฏ บาตรท่เี ป็นนสิ สัคคีย์ ภกิ ษุณียงั ไม่สละ ใช้สอย ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ บาตรท่ียงั ไม่เกินกาหนดราตรี ภกิ ษุณสี าคญั ว่าเกนิ กาหนดแลว้ ภกิ ษุณไี มแ่ น่ใจ ต้องอาบตั ิทุกกฏ บาตรทีย่ ังไมเ่ กินกาหนดราตรี ภิกษุณีสาคัญว่ายงั ไมเ่ กนิ กาหนด ไมต่ อ้ งอาบัติอนาปตั ตวิ าร ภกิ ษณุ ตี อ่ ไปน้ีไมต่ ้องอาบตั ิ คือ ๑. ภิกษุณผี ู้อธษิ ฐานภายในอรณุ ขึน้ ๒. ภกิ ษุณผี ู้วกิ ัปไวภ้ ายในอรณุ ข้ึน ๓. ภกิ ษณุ ผี ู้สละให้ไปภายในอรณุ ข้ึน ๔. ภกิ ษณุ ผี ู้มบี าตรสญู หายภายในอรณุ ขนึ้ ๕. ภิกษณุ ผี ู้มบี าตรฉิบหายภายในอรุณขึ้น ๖. ภิกษุณผี ู้มบี าตรแตกภายในอรณุ ข้นึ ๗. ภกิ ษณุ ีผู้มบี าตรถกู โจรชิงเอาไปภายในอรณุ ข้ึน ๘. ภกิ ษุณผี ู้มีบาตรถกู ถอื วสิ าสะเอาไปภายในอรุณขึน้ ๙. ภกิ ษุณผี ู้วิกลจรติ ๑๐. ภิกษุณีผู้ต้นบญั ญัติ เรอ่ื งไมย่ อมคนื บาตรให้เจา้ ของเดิม

๔๔ สมยั นัน้ พวกภิกษุณฉี ัพพัคคีย์ไม่ยอมคืนบาตรทีม่ ผี ู้สละให้ ภกิ ษุท้ังหลายจงึ นาเรื่องนไ้ี ปกราบทูลพระผ้มู ีพระภาคใหท้ รงทราบ พระองค์รับสั่งว่า ภกิ ษุทั้งหลาย บาตรท่ีภิกษณุ ีสละให้แล้วจะไมค่ นืใหไ้ ม่ได้ ภิกษณุ รี ูปใดไม่คนื ตอ้ งอาบัติทุกกฏ สิกขาบทท่ี ๒ ว่าด้วยการแจกอกาลจีวร เรื่องภกิ ษณุ ีถุลลนันทา ครั้งนั้น ภกิ ษุณหี ลายรปู จาพรรษาใน วัดใกลห้ มู่บา้ นแหง่ หนง่ึ มีวตั รปฏบิ ตั ิสมบูรณ์ มีอิรยิ าบถงดงาม แต่มีผา้ ไม่ดี มแี ต่ จีวรเกา่ ๆ ได้เดนิ ทางไปกรงุ สาวตั ถี อบุ าสกอุบาสกิ าเห็นภกิ ษณุ เี หล่าน้ันแลว้คดิ วา่ ภกิ ษณุ ีเหลา่ น้ีมีวัตรปฏบิ ตั ิสมบรู ณ์ มีอริ ยิ าบถงดงาม แต่มีผ้าไมด่ ี มแี ต่จวี รเก่า ๆ คงถูกโจรชิงเอาไป จึงพากันถวายอกาลจีวร๒๖แกภ่ ิกษณุ สี งฆ์ ภิกษณุ ีถลุ ลนนั ทากลา่ วว่า พวกเรากรานกฐนิ แล้ว ผา้น้ีเป็นกาลจวี ร๒๗ แล้วอธิษฐานใหแ้ จกกนั อบุ าสกอบุ าสกิ าตาหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ ไฉนแมเ่ จ้าถุลลนันทาจึงอธิษฐานอกาลจวี รเป็นกาลจวี รแล้วใหแ้ จกกันเล่า บรรดาภกิ ษณุ ผี ูม้ ักนอ้ ย ฯลฯ พากันตาหนิ ประณาม โพนทะนาได้นาเรือ่ งนีไ้ ปบอกภกิ ษุท้ังหลายให้ทราบ พวกภิกษุจงึ ได้นาเรอื่ งน้ีไปกราบทูลพระผู้มพี ระภาคให้ทรงทราบ พระผู้มพี ระภาครับสง่ั ใหป้ ระชุมสงฆเ์ พราะเร่อื งนีเ้ ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุท้ังหลาย แลว้จงึ รบั สง่ั ใหภ้ ิกษุณที ัง้ หลายยกสิกขาบทนีข้ ้นึ แสดงดงั น้ีพระบญั ญตั ิ ก็ภกิ ษุณใี ดอธษิ ฐานอกาลจีวรเปน็ กาลจีวรแลว้ ใหแ้ จกกัน ตอ้ งอาบัตนิ ิสสัคคยิ ปาจติ ตีย์ ๒๖ อกาลจวี ร หมายถงึ ผา้ สาหรับทาจวี รทีเ่ กิดข้นึ นอกฤดูกาล คือนอกกาลทภี่ ิกษุจะพงึ รบั ผ้าผืนท่ี ๔นอกจากไตรจวี รเก็บไว้ได้ หมายถงึ จวี รท่ีเกิดขน้ึ นอกฤดกู าล คอื๑. ในเมอ่ื ไม่ได้กรานกฐิน จวี รท่ีเกิดขนึ้ ในระหว่างแรม ๑ คา่ เดือน ๑๒ ถงึ ข้นึ ๑๕ คา่ เดือน ๑๑ ของปีถัดไป (ตามจันทรคต)ิ รวมเปน็ ๑๑ เดอื น ช่อื วา่ อกาลจีวร๒. ในเมือ่ ไดก้ รานกฐนิ แลว้ จวี รท่เี กิดขึ้นในระหว่างแรม ๑ ค่า เดือน ๔ ถึงขึน้ ๑๕ คา่ เดือน ๑๑ ในปีเดยี วกัน (ตามจนั ทรคต)ิ รวมเป็น ๗ เดือน ชื่อวา่ อกาลจวี ร๓. สว่ นจวี รทเี่ กดิ ข้ึนนอกเวลาทง้ั ๒ กรณีดังกล่าวน้ี ช่ือวา่ กาลจีวรจีวรมีค่ามาก จงึ ไม่สามารถใช้สอยในคราวมภี ยั อันเกิดจากโจรผูร้ ้ายเป็นต้น ในกรณเี ช่นนี้ ช่อื วา่ มีเหตขุ ัดขอ้ ง (ว.ิ อ.๒/๙๐๑/๕๐๑, กงขฺ า.อ. ๓๗๕) ๒๗ กาลจีวร คือในเมื่อไม่ไดก้ รานกฐนิ นับเอาต้งั แต่แรม ๑ ค่าเดือน ๑๑ ถงึ ข้ึน ๑๕ ค่าเดือน ๑๒ รวมเวลา๑ เดอื น ในเมอ่ื ไดก้ รานกฐินแลว้ นับเอาตั้งแต่แรม ๑ คา่ เดอื น ๑๑ ถงึ ข้ึน ๑๕ คา่ เดือน ๔ รวมเวลา ๕ เดือนระยะเวลาในชว่ งนเี้ รยี กว่าสมยั แหง่ จวี รกาล

๔๕สิกขาบทวภิ ังค์ ที่ชอื่ ว่า อกาลจวี ร๑ ไดแ้ ก่ (๑) ผา้ ท่ีเกดิ ข้ึนตลอด ๑๑ เดือนในเม่ือไมไ่ ด้ กรานกฐนิ (๒) ผา้ ที่เกดิ ขึน้ ตลอด ๗ เดือนในเมือ่ ได้กรานกฐินแลว้ (๓) แมผ้ ้า ทเี่ ขาถวายเจาะจงในกาล นชี้ อ่ื วา่ อกาลจวี ร ภิกษุณีอธิษฐานอกาลจวี รเปน็ กาลจวี รแล้วใหแ้ จกกัน ต้องอาบัติทกุ กฏในขณะ ทีแ่ จกจีวรเปน็ นสิ สคั คีย์เพราะได้มา คือเป็นของจาต้องสละแก่สงฆ์ แก่คณะ หรอื แกภ่ ิกษณุ ีรูปหนง่ึ ภิกษุทัง้ หลาย ภิกษุณพี งึ สละจีวรท่ีเป็นนิสสัคคยี ์อยา่ งน้ี วิธสี ละจีวรทีเ่ ป็นนิสสัคคีย์ เหมอื นทีก่ ล่าวแลว้บทภาชนยี ์ ทุกทุกกฏ กาลจีวร ภิกษณุ สี าคัญวา่ เปน็ อกาลจวี ร ตอ้ งอาบัติทกุ กฏ กาลจีวร ภกิ ษุณีไมแ่ น่ใจ ตอ้ งอาบัติทุกกฏ กาลจวี ร ภิกษณุ ีสาคัญวา่ เป็นกาลจวี ร ไม่ต้องอาบตั ิอนาปตั ติวาร ภกิ ษุต่อไปนไ้ี ม่ตอ้ งอาบัติ คอื ๑. ภิกษณุ ผี ู้ให้แจกอกาลจีวรดว้ ยสาคัญวา่ เป็นกาลจวี ร ๒. ภิกษุณีให้แจกกาลจีวรด้วยสาคัญวา่ เป็นกาลจีวร ๓. ภิกษณุ วี ิกลจริต ๔. ภิกษุณีตน้ บญั ญตั ิ สิกขาบทท่ี ๓ ว่าดว้ ยการแลกเปลย่ี นจีวร เรอื่ งภกิ ษุณีถุลลนนั ทา ครง้ั นนั้ ภกิ ษณุ ีถุลลนันทาแลกเปลยี่ นจวี รกับภกิ ษณุ ีรูปหนึง่ ใชส้ อย ครั้งนน้ั ภกิ ษณุ นี น้ั พับจีวรเก็บไว้ ภิกษณุ ถี ลุ ลนันทาได้กล่าวกบั ภกิ ษุณนี นั้ ให้นาจีวรนน้ั ออกมาใหด้ ูแลว้ ขอคืนเมอ่ื ไม่ไดจ้ งึ ชิงเอาคืนลาดบั นน้ั ภิกษุณนี ้นั นาเรือ่ งไปบอกภกิ ษุณที ัง้ หลาย บรรดาภกิ ษณุ ีผมู้ ักน้อยสนั โดษ ฯลฯ ตาหนิ ประณาม โพนทะนาได้นาเรอ่ื งน้ไี ปบอกภกิ ษุทัง้ หลายให้ทราบ พวกภกิ ษจุ ึงไดน้ าเรื่องนีไ้ ปกราบทลู พระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ พระผ้มู พี ระภาครบั สัง่ ให้ประชุมสงฆ์เพราะเร่อื งนี้เปน็ ต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษทุ ้ังหลายแลว้จึงรับสง่ั ใหภ้ ิกษุณีท้ังหลายยกสกิ ขาบทน้ีข้ึนแสดงดงั นี้พระบญั ญัติ กภ็ กิ ษณุ ีใดแลกเปลีย่ นจวี รกับภิกษณุ ี ภายหลังภิกษุณนี ั้นกล่าวอย่างน้ีวา่ “แม่เจ้า จวี รของเธอ จงนาจีวรของดฉิ นั มา จีวรของเธอตอ้ งเปน็ ของเธอ จีวรของดิฉนั ต้องเป็นของดิฉัน จงนา

๔๖จวี รของดฉิ ันมา จงรบั เอาจวี ร ของเธอคนื ไปเถดิ ” ชงิ เอาคนื หรือใช้ให้ชงิ เอาคืน ตอ้ งอาบตั ินสิสคั คิยปาจิตตยี ์สิกขาบทวิภงั ค์ จีวร ได้แก่ จีวร ๖ ชนดิ ๑ อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ซ่ึงมขี นาดพอที่จะทาวิกัปไดเ้ ป็นอยา่ งต่า คาว่า แลกเปล่ยี น คือ แลกเปล่ยี นจีวรเน้ือดีกับจีวรเนอื้ ไม่ดี หรือจีวรเนื้อดีกบั จวี รเนอื้ ไมด่ ี คาวา่ ชงิ เอาคืน คอื ชงิ เอาคนื เอง ต้องอาบัตินสิ สคั คยิ ปาจิตตีย์ คาวา่ ใช้ใหช้ งิ เอาคืน คือ ใช้ให้ผู้อ่ืนชิง ต้องอาบัตทิ ุกกฏ ผู้รบั คาส่ังคร้ังเดยี วแตช่ ิงเอาคนื หลายครงั้ จีวรนน้ั เปน็ นสิ สัคคยี ์ คือเป็นของจาต้องสละแกส่ งฆ์ แกค่ ณะหรือแกภ่ กิ ษณุ รี ปู หนึง่ ภกิ ษทุ ั้งหลาย ภิกษณุ พี งึ สละจีวรที่เปน็ นิสสคั คยี อ์ ยา่ งน้ี วิธสี ละจวี รทีเ่ ปน็ นสิ สคั คยี ์ เหมือนทกี่ ลา่ วแลว้บทภาชนยี ์ ทกุ กฏ ภิกษณุ เี ปล่ียนบริขารอยา่ งอน่ื แล้วชงิ เอาคืนหรือใชผ้ ูอ้ นื่ ให้ชงิ เอาคืน ตอ้ งอาบตั ทิ กุ กฏ ภกิ ษณุ เี ปล่ยี นจวี รหรือบรขิ ารอยา่ งอนื่ กบั อนุปสมั บนั แล้วชงิ เอาคืนหรือใช้คนอ่ืนให้ชิงเอาคืนต้องอาบตั ิทุกกฏ อนุปสัมบัน ภิกษุณีสาคัญว่าเป็นอปุ สมั บนั ตอ้ งอาบตั ิทกุ กฏ อนปุ สัมบนั ภิกษุณไี ม่แนใ่ จ ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ อนปุ สัมบัน ภกิ ษณุ สี าคญั ว่าเปน็ อนปุ สัมบนั ตอ้ งอาบตั ทิ กุ กฏอนาปัตตวิ าร ภกิ ษณุ ตี อ่ ไปนไี้ มต่ ้องอาบตั ิ คอื ๑. ภกิ ษุณีผูร้ ับแลกเปลี่ยนคืนใหเ้ อง หรอื ภิกษุณผี ู้แลกเปลีย่ นถอื เอาคืนโดย วิสาสะจากภกิ ษณุ ผี ้รู บั แลกเปลย่ี นแล้ว ๒. ภกิ ษณุ ีวิกลจรติ ๓. ภิกษณุ ตี น้ บญั ญัติ สกิ ขาบทที่ ๔ วา่ ด้วยการออกปากขอของอย่างหนึ่งแลว้ ออกปากขอของอยา่ งอ่ืน เร่อื งภิกษณุ ถี ลุ ลนนั ทา คร้ังนัน้ ภกิ ษุณีถุลลนันทาเปน็ ไขอ้ ยู่ อบุ าสก คนหน่งึ เข้าไปเยี่ยมถามวา่ แมเ่ จา้ ไม่สบายหรือจะให้ผมนาอะไรมาถวาย นางตอบว่า ดิฉันตอ้ งการเนยใส อุบาสกนน้ั นาเนยใสราคา ๑ กหาปณะมา

๔๗จากบ้านของเจา้ ของร้านคา้ คนหนง่ึ ถวายแก่ภกิ ษุณีถุลลนนั ทาๆ กล่าววา่ ดิฉันไมต่ ้องการเนยใส แต่ต้องการนา้ มัน อบุ าสกนน้ั กลบั ไปหาเจ้าของร้านค้าคนน้นั ขอเปลย่ี นเปน็ นา้ มนั เจา้ ของรา้ นค้าจึงตอบว่า ถา้เรารบั ของทข่ี ายไปกลบั คนื อีก เมอ่ื ไรเราจึงขายสนิ คา้ ได้ ทา่ นซ้ือเนยใสตามราคาเนยใสไปแลว้ ทา่ นจะเอานา้ มนั ก็จงนาเงนิ คา่ นา้ มันมา อบุ าสกนัน้ ตาหนิ ประณาม โพนทะนาวา่ ภิกษณุ ถี ุลลนันทาออกปากขอของอยา่ งหน่งึ แลว้ไฉนจงึ ออกปากขอของอยา่ งอน่ื เลา่ ลาดับน้นั พระผมู้ ีพระภาครบั สั่งให้ประชมุ สงฆเ์ พราะเรื่องนีเ้ ป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุท้ังหลาย แล้วจงึ รบั สง่ั ใหภ้ กิ ษุณที ั้งหลายยก สิกขาบทนข้ี น้ึ แสดงดังน้ีพระบัญญตั ิ กภ็ กิ ษุณใี ดออกปากขอของอยา่ งหน่งึ แลว้ ออกปากขอของอย่างอืน่ ตอ้ งอาบัตนิ สิ สัคคิยปาจิตตีย์สิกขาบทวิภงั ค์ คาวา่ ออกปากขอของอย่างอ่นื ความวา่ ออกปากขอสงิ่ ของอยา่ งอ่ืนนอก จากท่อี อกปากขอไว้กอ่ นนนั้ ตอ้ งอาบตั ิทกุ กฏในขณะทข่ี อ ของนน้ั เป็นนิสสัคคยี เ์ พราะไดม้ า คือเปน็ ของจาต้องสละแก่สงฆ์ แกค่ ณะ หรือแกภ่ กิ ษุณรี ูปหน่ึง ภิกษทุ ง้ั หลาย ภิกษุณีพงึ สละของทเี่ ป็นนสิ สัคคียน์ น้ั อย่างน้ี วิธสี ละของที่เป็นนิสสัคคีย์ เหมือนที่กลา่ วแล้วบทภาชนีย์ ทกุ ทุกกฏ ไมใ่ ช่ของอยา่ งอื่น ภกิ ษณุ ีสาคญั ว่าเป็นของอยา่ งอน่ื ออกปากขอของท่ไี ม่ใช่ของอยา่ งอ่นื (นน้ั )ต้องอาบัตทิ ุกกฏ ไม่ใชข่ องอยา่ งอ่นื ภิกษณุ ไี มแ่ น่ใจ ออกปากขอของทไ่ี มใ่ ชข่ องอย่างอน่ื ตอ้ งอาบัติทกุ กฏ ไมใ่ ชข่ องอย่างอ่ืน ภิกษณุ สี าคญั วา่ ไม่ใช่ของอย่างอ่นื ไม่ตอ้ งอาบัติอนาปัตติวาร ภิกษุณีต่อไปนีไ้ ม่ต้องอาบตั ิ คือ ๑. ภิกษุณผี อู้ อกปากขอของนัน้ เพ่มิ และออกปากขอของูคอ่ ย่างอ่นื ๑ ๒. ภิกษุณีแสดงอานิสงสแ์ ล้วจึงคอ่ ยออกปากขอ ๓. ภกิ ษุณวี กิ ลจริต ๔. ภกิ ษณุ ตี ้นบญั ญัติ

๔๘ สิกขาบทท่ี ๕ วา่ ด้วยการให้ซอื้ ของอยา่ งหนึง่ แลว้ ให้ซอื้ ของอย่างอนื่ เรอื่ งภกิ ษุณีถลุ ลนันทา ครง้ั นนั้ ภกิ ษณุ ถี ลุ ลนันทาเป็นไข้ ลาดับนน้ั อบุ าสกคนหน่งึ เขา้ ไปเย่ียมภิกษุณถี ลุ ลนันทาถงึ ที่อยู่ ครน้ั ถึงแลว้ ไดก้ ลา่ วกับภกิ ษุณี เหมือนสกิ ขาบทท่ี ๔ ภิกษณุ ีถลุ ลนันทาให้เปล่ียนนา้ มนั เป็นเนยใสพระผมู้ ีพระภาครับสั่งให้ประชุมสงฆเ์ พราะเรอ่ื งนเี้ ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทง้ั หลาย แล้วจึงรับสง่ัให้ภกิ ษุทงั้ หลายยกสกิ ขาบทนข้ี ้นึ แสดงดังน้ีพระบัญญัติ ก็ภิกษณุ ีใดสง่ั ให้ซ้อื ของอย่างหนง่ึ แลว้ สงั่ ให้ซอ้ื ของอย่างอนื่ ตอ้ งอาบัตินสิ สัคคยิ ปาจิตตยี ์สกิ ขาบทวิภงั ค์ วิธสี ละของท่ีเป็นนิสสคั คีย์ เหมอื นท่ีกล่าวแล้วบทภาชนยี ์ ทกุ ทกุ กฏ ไม่ใชข่ องอยา่ งอืน่ ภิกษุณสี าคญั ว่าเปน็ ของอย่างอื่น สง่ั ใหซ้ ือ้ ของทีไ่ ม่ใชอ่ ย่างอืน่ ไมใ่ ช่ของอย่างอื่น ภกิ ษุณไี มแ่ น่ใจ ส่งั ใหซ้ ือ้ ของที่ไม่ใชอ่ ย่างอ่นื ตอ้ งอาบตั ทิ ุกกฏ ไม่ใช่ของอยา่ งอืน่ ภิกษุณสี าคัญวา่ ไมใ่ ช่ของอยา่ งอ่นื ไม่ตอ้ งอาบัติอนาปัตตวิ าร ภิกษณุ ตี อ่ ไปน้ไี มต่ ้องอาบตั ิ คอื ๑. ภกิ ษุณีสั่งให้ซอ้ื ของน้นั เพิม่ และสง่ั ใหซ้ อื้ ของูคอ่ ย่างอนื่ ๒. ภิกษณุ ีแสดงอานสิ งสแ์ ลว้ สง่ั ให้ซอ้ื ๓. ภกิ ษุณวี กิ ลจริต ๔. ภกิ ษณุ ตี น้ บัญญัติ สกิ ขาบทที่ ๖ ว่าดว้ ยการแลกเปลี่ยนบริขารทเี่ ขาถวายสงฆ์ขอ้ ที่ ๑ เรอ่ื งภกิ ษณุ หี ลายรปู ครั้งนน้ั อบุ าสกและอุบาสกิ า รวบรวมบริขาร ที่เขาใหด้ ้วยความพอใจเพ่อื ค่าจวี รถวายภกิ ษณุ ีสงฆ์แลว้ ฝากไว้ทบ่ี ้านของคนขาย ผา้ คนหน่ึงแล้วเข้าไปหาภิกษณุ ีท้ังหลายแล้วบอกให้ทราบ ภกิ ษุณีท้งั หลายใหเ้ อาบริขารนนั้ แลกเปล่ียนเภสัชเองแลว้ บริโภค ลาดบั น้นั พระผูม้ พี ระภาครบั สงั่ ให้ประชุมสงฆเ์ พราะเรอื่ งนเ้ี ป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภกิ ษุทง้ั หลาย แล้วจงึ รบั ส่ังใหภ้ ิกษุณที ั้งหลายยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงดังนี้พระบญั ญตั ิ

๔๙ ก็ภกิ ษณุ ีใดให้เอาบรขิ ารทีเ่ ขาถวายเพือ่ ประโยชนแ์ กป่ จั จัยอย่าง หนงึ่ ทเี่ ขาถวายอทุ ศิ ของอยา่ งหนึ่ง ที่เขาบริจาคแกส่ งฆ์ แลกเปลยี่ นของอย่างอน่ื ตอ้ งอาบัตนิ ิสสัคคิยปาจติ ตยี ์สิกขาบทวิภังค์ คาว่า ให้ ... แลกเปล่ียนของอยา่ งอืน่ ความว่า ให้แลกเปลย่ี นเปน็ ปจั จัย อย่างอื่นนอกจากที่เขาถวายเจาะจงไว้ ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏในขณะทใี่ หแ้ ลกเปล่ยี น ของน้ันเปน็ นสิ สัคคยี ์เพราะไดม้ า คอื เป็นของจาต้องสละแกส่ งฆ์ แกค่ ณะ หรอื แก่ภกิ ษณุ ีรูปหนึง่ วธิ สี ละของทีเ่ ปน็ นสิ สัคคยี ์ เหมือนท่ีกลา่ วแลว้บทภาชนยี ์ ทกุ ทุกกฏ ไม่ใชข่ องทเี่ ขาถวายเพือ่ ประโยชนแ์ ก่ปัจจยั อย่างหน่ึง ภิกษณุ สี าคัญวา่ เปน็ ของ ท่เี ขาถวายเพื่อประโยชน์แกป่ จั จัยอย่างหน่งึ ต้องอาบัตทิ กุ กฏ ไม่ใช่ของทีเ่ ขาถวายเพอื่ ประโยชน์แกป่ จั จยั อยา่ งหนึง่ ภกิ ษณุ ีไมแ่ นใ่ จ ต้องอาบัตทิ ุกกฏ ไมใ่ ชข่ องท่เี ขาถวายเพอื่ ประโยชน์แก่ปจั จยั อย่างหน่งึ ภิกษณุ สี าคญั วา่ ไมใ่ ชข่ องท่ีเขาถวายเพื่อประโยชน์แก่ปัจจัยอยา่ งหนง่ึ ไมต่ ้องอาบัติ อนาปตั ตวิ าร ภิกษณุ ตี ่อไปน้ีไม่ตอ้ งอาบตั ิ คือ ๑. ภิกษณุ นี ากปั ปิยภณั ฑ์ท่เี หลือไปใชเ้ พ่อื ประโยชน์อยา่ งอ่ืน ๒. ภิกษณุ ีขออนญุ าตเจ้าของก่อนจงึ นาไปใช้เพ่ือประโยชน์อย่างอน่ื ๓. ภิกษณุ ผี ู้มเี หตุขดั ข้อง ๔. ภิกษุณีวิกลจรติ ๕. ภิกษณุ ตี น้ บัญญัติ สิกขาบทท่ี ๗วา่ ดว้ ยการแลกเปล่ียนบริขารทเี่ ขาถวายสงฆข์ ้อที่ ๒ เรอื่ งภิกษุณีหลายรปู ครั้งนั้น อบุ าสกและอบุ าสกิ ารวบรวม บริขารท่เี ขาใหด้ ว้ ยความพอใจเพื่อค่าจวี รถวายภิกษณุ ีสงฆ์แลว้ ฝากไว้ท่บี า้ นของคนขายผา้ คนหน่ึงแลว้ เข้าไปหาภกิ ษณุ ีบอกใหท้ ราบ ภกิ ษณุ ีท้งั หลายขอให้เอาบรขิ ารน้นั แลกเปล่ียนเภสชั เองแล้วบริโภค ลาดบั นัน้ พระผมู้ ีพระภาครับสัง่ ใหป้ ระชมุ สงฆ์เพราะเรอื่ งนีเ้ ป็นตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษุทง้ั หลาย แลว้ จงึ รับสง่ั ให้ภิกษุณที ้งั หลาย ยกสกิ ขาบทนี้ข้นึ แสดงดงั น้ีพระบญั ญัติ

๕๐ ก็ภิกษุณใี ดให้เอาบรขิ ารท่ีเขาถวายเพอ่ื ประโยชน์แกป่ จั จยั อย่างหน่งึ ที่เขาถวายอทุ ิศของอยา่ งหน่งึ ทเี่ ขาบรจิ าคแก่สงฆ์ ท่ขี อมาเอง แลกเปลี่ยนของอยา่ งอน่ื ต้องอาบัตนิ ิสสคั คียปาจิตตีย์สิกขาบทวภิ งั ค์ วิธีสละของทเ่ี ปน็ นิสสัคคยี ์ เหมือนที่กล่าวแล้วบทภาชนยี ์ ทุกทกุ กฏ ไม่ใชข่ องทเี่ ขาถวายเพื่อประโยชน์แกป่ ัจจัยอยา่ งหน่ึง ภิกษุณสี าคัญวา่ เป็นของ ท่เี ขาถวายเพือ่ประโยชนแ์ กป่ ัจจยั อย่างหนงึ่ ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ ไมใ่ ชข่ องท่ีเขาถวายเพือ่ ประโยชน์แก่ปจั จัยอยา่ งหน่งึ ภิกษุณีไม่แน่ใจ ตอ้ ง อาบัติทุกกฏ ไม่ใชข่ องที่เขาถวายเพื่อประโยชนแ์ กป่ จั จยั อย่างหนงึ่ ภกิ ษณุ สี าคัญวา่ ไมใ่ ช่ของทีเ่ ขาถวายเพ่ือประโยชนแ์ กป่ ัจจัยอย่างหนง่ึ ไม่ตอ้ งอาบตั ิอนาปตั ติวาร ภกิ ษุณตี ่อไปน้ไี ม่ต้องอาบัติ คอื ๑. ภิกษุณนี ากปั ปิยภัณฑ์ท่ีเหลอื ไปใช้เพ่อื ประโยชน์อยา่ งอื่น ๒. ภิกษุณขี ออนญุ าตเจา้ ของก่อนจึงนาไปใชเ้ พอื่ ประโยชนอ์ ย่างอนื่ ๓. ภิกษณุ ผี ู้มีเหตุขัดขอ้ ง ๔. ภกิ ษณุ ีวิกลจริต ๕. ภิกษุณตี น้ บญั ญัติ สกิ ขาบทที่ ๘ว่าดว้ ยการแลกเปลยี่ นบริขารท่เี ขาถวายคณะข้อที่ ๑ เรอื่ งภกิ ษณุ หี ลายรูป ครั้งนั้น ภิกษุณีทั้งหลายอาศัยอยู่ในบริเวณของสมาคมแห่งหนึ่ง อัตคัดข้าวต้ม สมาคมนั้นจึงรวบรวมบริขารที่เขาให้ด้วยความพอใจเพื่อค่าข้าวต้มถวายภิกษุณีทั้งหลายแล้วฝากไว้ที่บ้านของเจ้าของร้านค้าคนหนึ่งแล้วเข้าไปหาภิกษุณีทั้งหลาย บอกให้ทราบ ภิกษุณีทั้งหลายให้เอาบริขารนั้นแลกเปลี่ยนเภสชั แลว้ บรโิ ภค ลาดบั น้ัน พระผมู้ ีพระภาครบั ส่งั ใหป้ ระชมุ สงฆเ์ พราะเรอ่ื งนเี้ ปน็ ตน้ เหตุ ทรงสอบถามภิกษุทง้ั หลาย แล้วจงึ รบั สง่ั ใหภ้ ิกษณุ ที ง้ั หลายยกสิกขาบทน้ีขน้ึ แสดงดงั นี้พระบญั ญัติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook