Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัดท่าบุญมี

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัดท่าบุญมี

Published by Chotika Sueapin, 2022-08-15 06:40:39

Description: หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัดท่าบุญมี

Search

Read the Text Version

... หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดทา่ บุญมี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๑

... หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทา่ บุญมี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ทา่ บุญมี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๒

... คำนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ใน โรงเรียนต้นแบบและโรงเรียนที่มีความพร้อมการใช้หลักสูตรในพุทธศักราช ๒๕๕๕ และใช้ในโรงเรียนท่ัวไปในปี การศึกษา ๒๕๕๕ โรงเรียนวัดท่าบุญมีได้จัดทาหลักสูตรสถานศึกษา ในปีการศึกษา ๒๕๕๓ จึงได้มีการพัฒนา หลักสูตรในพุทธศักราช ๒๕๕๕ และวันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๐ ได้มีประกาศกระทรวงเร่ือง การบรหิ ารจดั การเวลาเรยี นของสถานศึกข้ันพ้ืนฐาน พรอ้ มคาส่งั กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ.๑๒๓๙/๒๕๖๐ และ ประกาศสานกั งานคณะกรรมการการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน เร่อื ง การบริหารจดั การหลักสูตรสถานศึกษา กลุม่ สาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระสังคมศึกษา (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตาม หลักสูตรแกนกลางข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ณ วันทื่ ๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๑ และคาสั่งสานักงาน คณะกรรมการการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๙๒๑/๒๕๖๑ เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดสาระท่ี ๒ และสาระที่ ๓ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี เพื่อใหห้ ลักสูตรมีความเหมาะสม ชัดเจน ใน การพัฒนาผู้เรียน จึงได้กาหนดวิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ตลอดจนเกณฑ์การวัดผลให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชีว้ ดั หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๕๕ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ฉบับน้ีจัดทา ข้ึนเพื่อใช้เป็นกรอบ และทิศทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียนวดั ท่าบุญมี เพ่ือให้กระบวนการ นาหลักสูตรไปสู่การปฏบิ ัตอิ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพร่วมกันรับผดิ ชอบ และทางานรว่ มกันอย่างเป็นระบบ เพื่อพฒั นา ผูเ้ รียนใหม้ คี ุณภาพ ท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจติ สานกึ การเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยึดมัน่ ในการ ปกครองตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐานสาหรับใช้เปน็ เครือ่ งมอื ในการดารงชวี ิตในสังคมท่ีเปลีย่ นแปลงได้อยา่ งมคี วามสขุ ขอขอบคุณผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต ๒ ศึกษานิเทศก์ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนวัดท่าบุญมี คณะครู ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ทรงคุณวุฒิ ตลอดจน หน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนท่ีให้ความร่วมมือ อานวยความสะดวกต่างๆ อันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา หลักสูตรจนเสร็จส้ินสมบูรณ์ โรงเรียนวัดท่าบุญมี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๕๕ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) จะเปน็ ประโยชน์สาหรับครูผู้สอน และผู้ท่ีเกี่ยวข้องสามารถนา หลักสูตรไปใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน และดาเนนิ การวัดผล ประเมนิ ผล ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (นายแมนสรวง เมนะเนตร) หนา้ ก ผ้อู านวยการโรงเรยี นวดั ท่าบุญมี หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั ทา่ บญุ มี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

... หน้ำ ๑ สำรบัญ ๒ เร่ือง ๔ - บทนา ๔ - ลักษณะของหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดท่าบญุ มี ๕ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ๕ - วิสัยทัศน์หลกั สูตร - สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ๑๔ - คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑๕ - สาระมาตรฐานการเรยี นรู้ ๒๑ โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษา ๓๕ - โครงสรา้ งและอัตราเวลาการจดั การเรยี นรู้ ๓๔ - โครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษา ระดบั ชั้นประถมศกึ ษา ๔๒ - โครงสรา้ งกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ระดับชน้ั ประถมศกึ ษา ๕๓ ๖๖ คาอธบิ ายรายวชิ า ๗๓ - กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๘๒ - กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ๙๐ - กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ๙๗ - กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม - กลุ่มสาระการเรยี นรปู้ ระวัติศาสตร์ ๑๐๕ - กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษา และพลศกึ ษา ๑๑๒ - กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ๑๑๙ - กลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ๑๓๖ - กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ - กลมุ่ รายวชิ าเพิม่ เตมิ - ภาษาอังกฤษเพมิ่ เตมิ - หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร ภาคผนวก - คาสง่ั แตง่ ต้ังคณะกรรมการจัดทาหลกั สตู รสถานศึกษา หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดทา่ บุญมี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ข

... ประกาศโรงเรยี นวัดทา่ บุญมี เร่ือง ปรบั ปรุงหลกั สูตรโรงเรยี นวดั ทา่ บญุ มี พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ………………………………. ตามท่ีโรงเรียนวดั ท่าบุญมมี กี ารปรับปรงุ หลกั สูตรในปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ นนั้ เพ่อื ใหก้ ารจดั การศกึ ษาของ โรงเรียนวัดท่าบุญมีสอดคล้องและเป็นไปตามคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ.๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ เร่ืองให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละ สาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ เร่ือง ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ รวมทั้งประกาศเรื่องการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๑ และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ที่ ๙๒๑/๒๕๖๑ เร่ือง ยกเลกิ มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวดั สาระที่ ๒ และสาระที่ ๓ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การ งานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนวัดท่าบุญมีจึงได้ปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนขึ้น ดังปรากฏแนบท้ายประกาศนี้ เพ่ือให้ครูผู้สอนนาไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการจัดการเรียนการสอนและพัฒนานักเรียนทุกคนให้มีคุณภาพด้าน ความรู้ คณุ ธรรมและทักษะชีวิตท่ีจาเป็นสาหรบั ใชเ้ ปน็ เคร่อื งมอื ในการดารงชีวติ ในสงั คมแหง่ การเปลยี่ นแปลง รู้จัก แสวงหาความรเู้ พื่อพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิต ท้ังนี้ การปรบั ปรุงหลักสูตรโรงเรยี นวัดท่าบุญมีได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้น พ้นื ฐาน โรงเรยี นวดั ทา่ บญุ มีแล้ว ประกาศ ณ วันที่ ๑๓ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ............................................ .......................................... (นายสมชาย บญุ เอย่ี ม) (นายแมนสรวง เมนะเนตร) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ผู้อานวยการโรงเรยี นวดั ทา่ บุญมี หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ทา่ บุญมี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ค

... ประกาศโรงเรยี นวดั ทา่ บุญมี เร่ือง ใหใ้ ช้หลกั สตู รโรงเรียนวัดท่าบญุ มี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ........................................................................... ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรียนวัดท่าบุญมีได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้หลักสูตรมีความ เหมาะสม ชัดเจน ในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานสอดคล้องกับสภาพความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และความก้าวหนา้ ทางวิทยาการ การพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา ให้สามารถตอบสนองความต้องการของบุคคล สังคมไทย ผู้เรียนมีศักยภาพในการสร้างสรรค์สังคมโลก ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตสานึกในความเป็นไทย มีระเบียบ วินัย คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวม และยึดม่ันในการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรง เป็น ประมุข เป็นไปตามเจตนารมณ์ มาตรา ๘๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และ พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ และทแี่ ก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบับ ที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๓ ท้งั นีห้ ลกั สตู รโรงเรียนได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน เมอ่ื วนั ที่ ๑๓ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๕ จงึ ประกาศให้ใช้หลกั สูตรโรงเรียนต้งั แตบ่ ดั น้ีเป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี ๑๕ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ............................................ .......................................... (นายสมชาย บุญเอยี่ ม) (นายแมนสรวง เมนะเนตร) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ผอู้ านวยการโรงเรยี นวัดทา่ บญุ มี หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดทา่ บญุ มี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ง

... บทนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตรใ์ นกลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคาสงั่ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมีคาส่ังให้โรงเรียนดาเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยใหใ้ ชใ้ นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ และ ๔ ตงั้ แตป่ ีการศกึ ษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เปน็ หลกั สตู รแกนกลาง ของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ เพ่ือให้สอดคล้องกับ นโยบายและเปา้ หมายของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน โรงเรียนวัดท่าบุญมี จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖๕ ในกลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ใช้ในทุกระดับช้ัน เพื่อนาไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตร ของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน อีกทั้งในปีการศึกษา ๒๕๖๕ โรงเรียนวัดท่าบุญมี ได้จัดการเรียนการ สอนโดยเน้นให้ผู้เรียน เกิดความรู้ มีคุณธรรมและเสริมสร้างทักษะอาชีพ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ให้มีกระบวนการนาหลักสูตรไป สู่การปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญ ของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์ การวัดประเมินผล ให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกาหนดทิศทาง ในการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลาง เป็นแนวทางท่ีชัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้ อยา่ งแทจ้ รงิ และมีทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ การจัดหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวังได้ ทุกฝ่าย ท่ีเกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบ และต่อเน่ือง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนา เยาวชนของชาตไิ ปสคู่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูท้ ี่กาหนดไว้ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดท่าบุญมี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๑

... ลักษณะของหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) เป็นหลักสูตรท่ีโรงเรียนได้พัฒนาข้ึน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนในระดับประถมศึกษา โดยยึดองค์ประกอบหลักสาคัญ ๕ ส่วนคือ ๑) หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒) มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ัดกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๓) นโยบายการจัดการเรียน การสอนหน้าท่ีพลเมือง ๔) กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และ๕) สาระสาคัญ จุดเน้นที่โรงเรียนพัฒนาเพิ่มเติม เป็นกรอบในการจัดทารายละเอียดเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีกาหนดเหมาะสมกับสภาพ ชุมชนและท้องถิ่นและจุดเน้นของโรงเรียน โดยหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ทพี่ ัฒนาขน้ึ มลี กั ษณะของหลักสตู ร ดังน้ี ๑. เป็นหลักสูตรเฉพาะของโรงเรียนวดั ท่าบุญมี สาหรับจัดการศึกษาในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน พนื้ ฐานจัดในระดบั ประถมศึกษา ๒. เป็นหลักสตู รทม่ี ีความเปน็ เอกภาพสอดคล้องกบั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาหรับให้ครผู ้สู อนนาไปจดั การเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย โดยกาหนดใหม้ ีรายละเอียด ดังน้ี ๒.๑ สาระการเรียนรู้ท่ีโรงเรียนใช้เป็นหลักเพื่อสร้างพ้ืนฐานการคิด การเรียนรู้ และการแก้ปัญหา ประกอบด้วย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๒.๒ สาระการเรยี นรทู้ ี่เสรมิ สร้างความเป็นมนษุ ย์ ศกั ยภาพการคิดและการทางาน ประกอบด้วย สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ศิลปะ การงานอาชพี และภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ๒.๓ สาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม โดยจัดทาเป็นรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติมตามความเหมาะสม และสอดคลอ้ งกับโครงสร้างเวลาเรียน สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น ความต้องการของผู้เรยี น และบริบทของโรงเรียน และเพิ่มวิชาภาษาอังกฤษ และการป้องกันการทุจริต ให้สอดคล้องกับนโยบายของสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครราชสีมา เขต ๗ สานักงานงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานและกระทรวงศกึ ษาธกิ ารด้วย ๒.๔ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสงั คม เสริมสรา้ งการเรียนรูน้ อกจากกลุม่ สาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม และการพัฒนาตนตามศักยภาพ ๒.๕ การกาหนดมาตรฐานของโรงเรียนท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานระดับต่าง ๆ เพื่อเป็นเป้าหมาย ของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน จัดทารายละเอียดสาระการเรียนรู้ และจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สอดคลอ้ งกับสภาพในชุมชน สังคม และภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ๓. มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาคัญของการพัฒนาคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน หนองอ้อวิทยาคม พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานเป็นตัวกาหนดเก่ียวกับความรู้ ทักษะ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดทา่ บญุ มี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๒

... กระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เพื่อเป็นแนวทางในการประกันคุณภาพ การศกึ ษา โดยมีการกาหนดมาตรฐานไว้ดังนี้ ๓.๑ มาตรฐานหลักสูตร เป็นมาตรฐานด้านผู้เรียนหรือผลผลิตของหลักสูตรโรงเรียน เกิดขึ้นจาก การจัดกิจกรรมตามโครงสร้างของหลักสูตรท้ังหมดของครู และใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพโดยรวม ของการจัดการศึกษาตามหลักสูตรในทุกระดับ ซ่ึงโรงเรียนต้องใช้สาหรับการประเมินตนเองเพื่อจัดทารายงาน ประจาปตี ามบทบญั ญัติในพระราชบญั ญตั ิการศึกษา เพื่อนามาเป็นข้อมูลใน การกาหนดแนวปฏิบัติในการสง่ เสรมิ กากบั ตดิ ตาม ดูแล และปรับปรงุ คุณภาพ เพอ่ื ให้ไดต้ ามมาตรฐานที่กาหนด ๓.๒ มีตัวช้ีวัดชั้นปี เป็นเป้าหมายระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียน ในแต่ละระดับช้ันซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช้ในการ กาหนดเนื้อหา จัดทาหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับ การวัดประเมินผล เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ตรวจสอบพัฒนาการผู้เรียน ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ และเป็นหลักในการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์จากการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย ๓.๓ มีความเปน็ สากล ความเป็นสากลของหลักสูตรโรงเรียน คอื มุ่งใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ในเรอ่ื งเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาองั กฤษ การจดั การสิง่ แวดล้อม ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ มคี ณุ ลักษณะทจ่ี าเปน็ ในการ อยใู่ นสังคมได้แก่ ความซ่ือสัตย์ ความรบั ผิดชอบ การตรงต่อเวลา การเสยี สละ การเออื้ เฟื้อ โดยอยบู่ นพืน้ ฐานของ ความพอดีระหว่างการเป็นผู้นา และผู้ตาม การทางานเป็นทีม และการทางานตามลาพัง การแข่งขัน การรู้จักพอ และการร่วมมือกันเพื่อสังคม วิทยาการสมัยใหม่ และภูมิปัญญาท้องถิ่น การรับวัฒนธรรมต่างประเทศ และการ อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยการฝกึ ฝนทักษะเฉพาะทาง และการบูรณาการในลกั ษณะที่เป็นองค์รวม ๔. มีความยืดหยุ่น หลากหลาย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) เป็นหลักสูตรท่ีโรงเรียนจัดทารายละเอียดต่าง ๆ ขึ้นเอง โดยยึดโครงสร้างหลักท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เป็นขอบข่ายในการจัดทา จึงทาให้ หลักสูตรของโรงเรียนมีความยืดหยุ่น หลากหลาย สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของท้องถ่ิน โดยเฉพาะอย่างยงิ่ มคี วามเหมาะสมกบั ตัวผเู้ รียน ๕. การวัดและประเมินผลเน้นหลักการพ้ืนฐานสองประการคือการประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและ เพ่ือตัดสินผลการเรียน โดยผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ ระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และใช้ผลการประเมินเป็น ข้อมูลและสารสนเทศท่ีแสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรยี นของผู้เรียน ตลอดจนขอ้ มูล ทเี่ ปน็ ประโยชน์ต่อการส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการพฒั นาและเรยี นร้อู ย่างเต็มตามศกั ยภาพ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบญุ มี พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๓

... วิสัยทัศน์ของหลกั สูตรสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) มงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ มนุษยท์ ม่ี สี มบรู ณ์ มี ความสมดุลทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา พัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนมีทักษะชีวิต ร่วมสร้างจิตสานึกความเป็นพลเมืองดี ยึดหลักศาสตร์พระราชา พัฒนาครูสู่มืออาชีพสู่ระดับสากล โดยมุ่งเน้น ผเู้ รียนเป็นสาคญั บนพน้ื ฐานความเช่อื วา่ ทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดงั นี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วธิ ีการสอื่ สาร ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทีม่ ีต่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรอื สารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจเกย่ี วกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปญั หา และมีการตัดสินใจท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบท่เี กิดขนึ้ ต่อตนเอง สงั คมและสิง่ แวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้ นการดาเนิน ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วย การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตัวใหท้ ันกบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรูจ้ ักหลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ ทส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผ้อู ื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดทา่ บญุ มี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๔

... คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เพ่อื ใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกับผู้อน่ื ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุขในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. ซื่อสัตย์สจุ รติ ๓. มวี ินัย ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง ๖. ม่งุ ม่ันในการทางาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มจี ิตสาธารณะ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน ๓๑ สาระ ๕๕ มาตรฐาน ดังน้ี กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย (๕ สาระ ๕ มาตรฐาน) สาระท่ี ๑ การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ แก้ปัญหา ในการดาเนนิ ชีวิตและมีนิสยั รกั การอ่าน สาระที่ ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เร่อื งราวในรปู แบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สาระท่ี ๓ การฟัง การดแู ละการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรสู้ กึ ในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิ ของชาติ สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คณุ ค่าและนามาประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดทา่ บุญมี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๕

... กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ (๓ สาระการเรยี นรู้ ๗ มาตรฐานการเรียนรู้) สาระที่ ๑ จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการ ของจานวน ผลท่ีเกิดขน้ึ จากการดาเนนิ การสมบตั ขิ องการดาเนินการและนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสัมพนั ธ์ ฟังกช์ นั ลาดบั และอนุกรม และนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหา ทกี่ าหนดให้ สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพ้ืนฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนาไปใช้ สาระท่ี ๓ สถิติและความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ แิ ละใชค้ วามรู้ทางสถติ ใิ นการแกป้ ญั หา มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ ใจหลกั การนับเบือ้ งต้น ความนา่ จะเปน็ และนาไปใช้ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (๔ สาระ ๑๐ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ ส่ิงมีชีวิตและความสัมพันธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชวี ิตกับสิ่งมีชีวติ ต่างๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงานการเปลี่ยนแปลง แทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหา และผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปญั หาสงิ่ แวดล้อม รวมท้ังนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของส่งิ มีชีวติ หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชวี ิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ ส่ิงมชี ีวิต รวมทงั้ นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ติ ประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการ เคล่ือนที่แบบตา่ งๆ ของวัตถุ รวมทงั้ นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๖

... มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ เสียง แสง และคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทง้ั นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของ เอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะท่ีส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยอี วกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณพี ิบัติภัย กระบวนการเปลีย่ นแปลงลม ฟา้ อากาศ และภมู ิอากาศโลก รวมท้งั ผลตอ่ ส่งิ มชี ีวิตและสงิ่ แวดลอ้ ม สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนา งานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดย คานึงถึงผลกระทบตอ่ ชีวติ สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวติ จริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ร้เู ท่าทัน และมจี ริยธรรม กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (๕ สาระ ๑๑ มาตรฐาน) สาระท่ี ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเขา้ ใจประวตั ิ ความสาคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนา ทีต่ นนับถือและศาสนาอ่นื มีศรัทธาทีถ่ กู ตอ้ ง ยดึ ม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรม เพอ่ื อย่รู ่วมกันอย่างสันตสิ ุข มาตรฐาน ส๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนท่ีดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนบั ถือ สาระที่ ๒ หนา้ ที่พลเมืองวฒั นธรรมและการดาเนนิ ชีวิตในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมท่ีดีงามและธารง รกั ษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดารงชีวิตอยรู่ ่วมกนั ในสังคมไทยและสงั คมโลกอย่างสนั ตสิ ุข มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจั จุบนั ยดึ ม่ัน ศรทั ธา และธารงรักษา ไวซ้ ่งึ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรัพยากรท่ีมีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่อื การดารงชวี ติ อย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ ความจาเปน็ ของการร่วมมอื กันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดทา่ บุญมี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๗

... สาระที่ ๔ ประวตั ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถ ใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตุการณ์ตา่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณอ์ ยา่ งต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบทเี่ กิดขน้ึ มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยมีความรัก ความภูมิใจและธารงความเปน็ ไทย สาระที่ ๕ ภูมศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซึ่งมี ผลต่อกัน ใช้แผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทาง ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ ูมสิ ารสนเทศอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาที่ ยง่ั ยนื กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา (๕ สาระ ๖ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ สาระที่ ๒ ชวี ิตและครอบครวั มาตรฐาน พ๒.๑เขา้ ใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครวั เพศศึกษาและมที ักษะในการดาเนินชีวิต สาระที่ ๓ การเคลอ่ื นไหว การออกกาลงั กาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มที กั ษะในการเคลอื่ นไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกมและกฬี า มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาปฏิบัติเป็นประจา อยา่ งสมา่ เสมอ มวี ินัย เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มนี ้าใจนกั กีฬา มจี ติ วิญญาณในการแข่งขันและชนื่ ชมในสนุ ทรยี ภาพ ของการกฬี า สาระที่ ๔ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกนั โรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคณุ ค่าและมที กั ษะในการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ การดารงสุขภาพ การปอ้ งกันโรค และการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพ่อื สุขภาพ สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชวี ิต มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเล่ียงปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ทา่ บญุ มี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๘

... สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ (๓ สาระ ๖ มาตรฐาน) สาระท่ี ๑ ทศั นศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระช่ืนชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างทศั นศลิ ป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรมเห็นคุณค่างาน ทศั นศลิ ปท์ ีเ่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรมภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมปิ ัญญาไทยและสากล สาระท่ี ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดตอ่ ดนตรอี ยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวัน มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของดนตรที ี่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณคา่ นาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สึกความคดิ อยา่ งอสิ ระชน่ื ชมและประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวัน มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศลิ ป์ทีเ่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปญั ญาไทยและสากล กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ (๒ สาระ ๒ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ การดารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะ การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อม เพ่ือการดารงชีวิต และครอบครัว สาระท่ี ๒ การอาชพี มาตรฐาน ง ๒.๑ เขา้ ใจ มที ักษะที่จาเป็น มปี ระสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยเี พอ่ื พัฒนาอาชพี มคี ุณธรรมและมีเจตคติทดี่ ีต่ออาชพี หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ท่าบญุ มี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๙

... สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (๔ สาระ ๘ มาตรฐาน) สาระที่ ๑ ภาษาเพ่อื การส่อื สาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรื่องท่ีฟังและอ่านจากส่ือประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็น อยา่ งมเี หตุผล มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และความคิดเหน็ อย่างมีประสทิ ธิภาพ มาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอข้อมลู ข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคดิ เห็นในเรอื่ งตา่ ง ๆ โดยการ พูดและการเขยี น สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้ อยา่ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใชอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม สาระท่ี ๓ ภาษากับความสัมพนั ธ์กับกลุม่ สาระการเรียนรอู้ นื่ มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน และเป็น พนื้ ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั น์ของตน สาระที่ ๔ ภาษากบั ความสัมพนั ธ์กบั ชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณต์ า่ งๆทั้งในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสงั คม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเคร่ืองมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลีย่ นเรียนรกู้ ับสังคมโลก หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ท่าบญุ มี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๑๐

... หลกั สูตรต้านทจุ รติ ศึกษา กรอบการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต โดยท่ีประชุม ได้เห็นชอบร่วมกันในการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการ ป้องกนั การทจุ ริต หัวข้อวิชา ๔ วชิ า ประกอบด้วย ๑) การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ๒) ความอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต ๓) STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทจุ ริต ๔) พลเมอื งและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม เน้ือหาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (ระดับปฐมวัย และป.๑-ม.๖) มีชื่อหลักสูตรว่า “รายวิชาเพ่ิมเติม การป้องกันการทุจริต หลักสูตรการศึกษาข้ัน พื้นฐาน ดาเนินการจัดทาเป็นแผนการจัดการเรียนรู้โดยแยกเป็น ๑๓ ระดับชั้นปี ได้แก่ ระดับปฐมวัย ระดับ ประถมศึกษาชั้นปีท่ี ๑ - ๖ และระดับมัธยมศึกษาช้ันปีที่ ๑ - ๖ ในแต่ละระดับช้ันปี จะใช้เวลาเรียนท้ังปี จานวน ๔๐ ชั่วโมง ต้องจัดทาเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนให้แตกต่างกัน ตามความเหมาะสมและการ เรียนรใู้ นแตล่ ะช่วงวยั หลักสูตรตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา ระดบั หลกั สตู รการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ๑. ชื่อหลกั สูตร “รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การป้องกันการทจุ ริต” ตามทส่ี านกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ รว่ มกับสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการจัดทาหลักสตู รหรือชุดการเรยี นรู้และส่ือประกอบการ เรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต สาหรับใช้เป็นเน้ือหามาตรฐานกลางให้สถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานท่ี เกีย่ วข้องนาไปใช้ในการเรียนการสอนให้กับกลุ่มเปา้ หมายครอบคลุมทุกระดับช้ันเรียน เพือ่ ปลูกฝงั จิตสานกึ ในการ แยกประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม จิตพอเพยี ง การไม่ยอมรับและไม่ทนต่อการทุจริต โดยใช้ช่ือวา่ หลักสูตรตา้ นทุจรติ ศกึ ษา (Anti-Corruption Education) หลกั สูตรที่ ๑ หลกั สตู รการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน โดยมแี นว ทางการนาไปใช้ตามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรยี น ดังนี้ ๑.นาไปจดั เป็นรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ของโรงเรยี น ๒.นาไปจัดในชวั่ โมงลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้ ๓.นาไปบรู ณาการกับการจดั การเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม (สาระ หนา้ ที่พลเมอื ง) หรอื นาไปบรู ณาการกบั กล่มุ สาระการเรยี นร้อู ื่น ๆ ๒. จดุ มุ่งหมายของรายวิชา เพอ่ื ให้นักเรียน ๒.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ๒.๒ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ รติ ๒.๓ มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ต้านการทุจริต ๒.๔ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับพลเมอื งและมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม ๒.๕ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ ๒.๖ ปฏบิ ัติตนเปน็ ผลู้ ะอายและไมท่ นต่อการทจุ รติ ทกุ รปู แบบ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ทา่ บุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๑๑

... ๒.๗ ปฏิบตั ิตนเปน็ ผู้ท่ี STRONG / จิตพอเพียงต่อตา้ นการทุจรติ ๒.๘ ปฏิบตั ิตนตามหน้าทพ่ี ลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ๓. คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ STRONG / จิตพอเพยี งตอ่ ตา้ นการทุจริต รหู้ นา้ ท่ขี องพลเมอื งและรับผิดชอบต่อสังคมในการตอ่ ตา้ น การทจุ ริต โดยใช้กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบตั จิ ริง การทาโครงงานกระบวนการเรยี นรู้ ๕ ข้นั ตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การสบื สอบ การแกป้ ญั หา ทกั ษะการอา่ นและการเขยี น เพ่อื ใหม้ ีความตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและการป้องกันการทจุ ริต ๔.ผลการเรียนรู้ ๑. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ๒. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต ๓. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับ STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ต้านการทุจรติ ๔. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั พลเมอื งและมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ๕. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ ๖. ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผลู้ ะอายและไมท่ นตอ่ การทุจริตทกุ รูปแบบ ๗. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผทู้ ่ี STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ตา้ นการทุจรติ ๘. ปฏบิ ัติตนตามหนา้ ที่พลเมอื งและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม ๙. ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการตอ่ ตา้ นและป้องกนั การทจุ ริต รวมทง้ั หมด ๙ ผลการเรยี นรู้ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั ท่าบุญมี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๑๒

... โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบญุ มี หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ได้กาหนดโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา เพอื่ ใหผ้ ู้สอนและผู้ท่เี ก่ียวข้องในการจดั การเรียนรตู้ ามหลักสูตรของสถานศกึ ษามแี นวปฏบิ ัติ ดังนี้ ระดับการศึกษา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) จัดระดับการศึกษา ดงั นี้ ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖) การศึกษาระดับน้ีเป็นช่วงแรกของการศึกษา ภาคบังคับ มุ่งเน้นทักษะพ้นื ฐานด้านการอา่ น การเขียน การคิดคานวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อสอ่ื สาร กระบวนการเรยี นรูท้ างสงั คม และพ้ืนฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวติ อย่างสมบูรณ์และสมดุลท้ังใน ดา้ นร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวฒั นธรรม โดยเน้นจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดเวลาเรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ได้จัดเวลาเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยจัดให้เหมาะสมตามบริบท จุดเน้นของโรงเรียน และสภาพ ของผเู้ รียน ดงั นี้ ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖) จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดยมีเวลาเรียนวันละ ๖ ชวั่ โมง โครงสรา้ งหลักสูตร หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ประกอบด้วยโครงสร้างเวลาเรียน และโครงสร้างหลักสตู รช้นั ปี ดงั นี้ ๑. เวลาเรียน เป็นโครงสร้างท่ีแสดงรายละเอียดในภาพรวม โครงสร้างเวลาเรียนของแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ ท่ีเป็นเวลาเรียนรายวิชาพื้นฐาน เวลาเรียนรายวิชาเพ่ิมเติม และเวลาในการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน จาแนกแตล่ ะชน้ั ปี ในระดับประถมศกึ ษา ดังนี้ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ทา่ บุญมี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๑๓

... โครงสรา้ งและอตั ราเวลาการจัดการเรียนรู้ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ทา่ บุญมี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) เวลาเรยี น กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ จิ กรรม / ระดับประถมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรียนรู้ ป๑ . ป๒ . ป๓ . ป๔ . ป๕ . ป๖ . ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ สงั คมศึกษา ศาสนา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ และวฒั นธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ - ภมู ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาต่างประเทศ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรยี น (พน้ื ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๒. ลูกเสือ – เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓กิจกรรมชุมนมุ . ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๔กิจกรรมเพื่อสังคม และ . สาธารณประโยชน์ ๔๐ ๘๐ ชว่ั โมง ๔๐ ชั่วโมง ๔๐ รายวิชาเพิม่ เตมิ ๑หน้าทีพ่ ลเมือง . ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - ๑,๐๔๐ ๑,๐๐๐ (บูรณาการหลกั สตู รตา้ นทุจรติ ) ชัว่ โมงป/ี ๔๐ ๔๐ -- ช่วั โมงป/ี ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๒ .ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ชั่วโมงป/ี ชวั่ โมงป/ี ชว่ั โมงป/ี ชัว่ โมงป/ี รวมเวลาเรยี นทั้งหมด หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดท่าบุญมี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๑๔

... โครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลาเรยี น (ช่วั โมง/ปี) รายวชิ ากิจกรรม/ ๘๔๐ รายวิชาพื้นฐาน ๒๐๐ ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๘๐ ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔๐ ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม ๔๐ ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ พ ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐ ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑๖๐ อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ๔๐ รายวิชาเพ่ิมเตมิ ๔๐ ส ๑๑๒๓๑ หน้าท่พี ลเมอื ง ๔๐ อ ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพม่ิ เติม ๑๒๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๔๐ กจิ กรรมแนะแนว * กิจกรรมนกั เรยี น * ๔๐ ลูกเสือเนตรนารี/ ๓๐ ชมุ นมุ ๑๐ กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ * ๑,๐๔๐ รวมเวลาเรยี นทั้งส้ิน หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดท่าบญุ มี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๑๕

... ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๒ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๒ เวลาเรยี น (ช่วั โมง/ปี) รายวชิ ากจิ กรรม/ ๘๔๐ รายวชิ าพนื้ ฐาน ๒๐๐ ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๘๐ ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔๐ ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม ๔๐ ส ๑๒๑๐๒ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ศ ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐ ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๑๖๐ อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน ๔๐ รายวชิ าเพิม่ เตมิ ๔๐ ส ๑๒๒๓๒ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๔๐ อ ๑๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพมิ่ เติม ๑๒๐ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๔๐ กจิ กรรมแนะแนว* กิจกรรมนักเรียน* ๔๐ ลูกเสือเนตรนารี/ ๓๐ ชุมนุม ๑๐ กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์* ๑,๐๔๐ รวมเวลาเรยี นทง้ั ส้นิ หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ทา่ บญุ มี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๑๖

... ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ เวลาเรยี น (ชวั่ โมง/ปี) รายวชิ ากิจกรรม/ ๘๔๐ รายวิชาพ้นื ฐาน ๒๐๐ ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๘๐ ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔๐ ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม ๔๐ ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ พ ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ๑๖๐ อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษพนื้ ฐาน ๔๐ รายวิชาเพ่ิมเตมิ ๔๐ ส ๑๓๒๓๓ หน้าทพี่ ลเมอื ง ๔๐ อ ๑๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพม่ิ เติม ๑๒๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๔๐ กจิ กรรมแนะแนว* กจิ กรรมนกั เรยี น* ๔๐ ลูกเสือเนตรนารี/ ๓๐ ชมุ นมุ ๑๐ กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์* ๑,๐๔๐ รวมเวลาเรยี นทั้งสน้ิ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดท่าบญุ มี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๑๗

... ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลาเรยี น (ชัว่ โมง/ปี) รายวิชากจิ กรรม/ ๘๔๐ รายวิชาพื้นฐาน ๑๖๐ ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๒๐ ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ๔๐ ส ๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๘๐ พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๑๒๐ อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน ๔๐ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ๔๐ ส ๑๔๒๓๔ หน้าทพี่ ลเมอื ง ๑๒๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๔๐ กจิ กรรมแนะแนว* กจิ กรรมนกั เรียน* ๔๐ ลกู เสือเนตรนารี/ ๓๐ ชมุ นมุ ๑๐ กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์* ๑,๐๐๐ รวมเวลาเรยี นทัง้ ส้ิน หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดทา่ บุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๑๘

... ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลาเรยี น (ชัว่ โมง/ปี) รายวิชากิจกรรม/ ๘๔๐ รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑๖๐ ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๒๐ ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ๔๐ ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๘๐ พ ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ศ ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐ ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๑๒๐ อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษพืน้ ฐาน ๔๐ รายวิชาเพมิ่ เตมิ ๔๐ ส ๑๕๒๓๕ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ๑๒๐ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ๔๐ กิจกรรมแนะแนว* กิจกรรมนักเรียน* ๔๐ ลกู เสือเนตรนารี/ ๓๐ ชุมนมุ ๑๐ กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน*์ ๑,๐๐๐ รวมเวลาเรยี นท้ังสน้ิ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ท่าบุญมี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๑๙

... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เวลาเรยี น (ชัว่ โมง/ปี) รายวชิ ากิจกรรม/ ๘๔๐ รายวิชาพน้ื ฐาน ๑๖๐ ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๒๐ ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๐ ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ๔๐ ส ๑๖๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๘๐ พ ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๑๒๐ อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ๔๐ รายวชิ าเพิ่มเตมิ ๔๐ ส ๑๖๒๓๖ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ๑๒๐ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๔๐ กิจกรรมแนะแนว* กจิ กรรมนักเรียน* ๔๐ ลกู เสอื เนตรนารี/ ๓๐ ชมุ นุม ๑๐ กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์* ๑,๐๐๐ รวมเวลาเรยี นทงั้ ส้นิ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทา่ บญุ มี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๒๐

... โครงสร้างกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวชิ าพนื้ ฐาน ท.๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ท.๑๒๑๑๐ ภาษาไทย จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ท.๑๓๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง ท.๑๔๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง ท.๑๕๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง ท.๑๖๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ค.๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ค.๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ค.๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๒๐๐ ชั่วโมง ค.๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ช่วั โมง ค.๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง ค.๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ รายวชิ าพน้ื ฐาน ว.๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน ๘๐ ช่วั โมง ว.๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จานวน ๘๐ ชว่ั โมง ว.๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จานวน ๘๐ ชวั่ โมง ว.๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จานวน ๑๒๐ ชั่วโมง ว.๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน ๑๒๐ ชั่วโมง ว.๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ าพืน้ ฐาน ส.๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส.๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จานวน ๔๐ ชั่วโมง ส.๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส.๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จานวน ๘๐ ชั่วโมง ส.๑๕๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม จานวน ๘๐ ช่ัวโมง ส.๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จานวน ๘๐ ชั่วโมง หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๒๑

... กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (รายวิชาประวัติศาสตร์) รายวิชาพื้นฐาน ส.๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง ส.๑๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส.๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ส.๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ส.๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ส.๑๖๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษา และพลศึกษา รายวิชาพน้ื ฐาน พ.๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา จานวน ๔๐ ชัว่ โมง พ.๑๒๑๐๑ สุขศึกษา และพลศกึ ษา จานวน ๔๐ ชว่ั โมง พ.๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษา และพลศึกษา จานวน ๔๐ ชวั่ โมง พ.๑๔๑๐๑ สุขศึกษา และพลศึกษา จานวน ๔๐ ชว่ั โมง พ.๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา จานวน ๔๐ ชั่วโมง พ.๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษา และพลศกึ ษา จานวน ๔๐ ชวั่ โมง รายวชิ าพืน้ ฐาน กล่มุ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ ศ.๑๑๑๐๑ ศิลปะ ศ.๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ จานวน ๔๐ ชัว่ โมง จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ศ.๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ศ.๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ จานวน ๔๐ ชัว่ โมง ศ.๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ศ.๑๖๑๐๑ ศิลปะ จานวน ๔๐ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ รายวิชาพืน้ ฐาน ง.๑๑๑๐๑ การงานอาชพี จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ง.๑๒๑๐๑ การงานอาชพี จานวน ๔๐ ชั่วโมง ง.๑๓๑๐๑ การงานอาชพี จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ง.๑๔๑๐๑ การงานอาชพี จานวน ๔๐ ชั่วโมง ง.๑๕๑๐๑ การงานอาชพี จานวน ๔๐ ชัว่ โมง ง.๑๖๑๐๑ การงานอาชพี จานวน ๔๐ ชวั่ โมง หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ทา่ บญุ มี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๒๒

... กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ รายวชิ าพนื้ ฐาน อ.๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จานวน ๑๖๐ ช่ัวโมง อ.๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง อ.๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง อ.๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง อ.๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จานวน ๑๒๐ ชั่วโมง อ.๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง รายวชิ าเพ่มิ เตมิ จานวน ๔๐ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จานวน ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๑๒๓๑ หนา้ ที่พลเมอื ง จานวน ๔๐ ชวั่ โมง ส ๑๒๒๓๒ หน้าที่พลเมือง จานวน ๔๐ ชัว่ โมง ส ๑๓๒๓๓ หน้าทพ่ี ลเมอื ง จานวน ๔๐ ช่วั โมง ส ๑๔๒๓๔ หนา้ ทพ่ี ลเมือง ส ๑๕๒๓๕ หน้าท่ีพลเมอื ง จานวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๖๒๓๖ หน้าทีพ่ ลเมือง จานวน ๔๐ ชว่ั โมง จานวน ๔๐ ช่วั โมง กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ อ.๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพมิ่ เติม อ.๑๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพม่ิ เตมิ อ.๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพม่ิ เติม หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๒๓

... คาอธบิ ายรายวชิ า หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ไดก้ าหนดคาอธิบายรายวชิ าของวชิ าตา่ ง ๆ ที่สอนในแต่ละปีการศึกษา ซึ่งประกอบด้วย ช่ือรหัสวิชา ช่ือรายวิชา จานวนช่ัวโมงต่อปีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และสาระการเรียนรรู้ ายปี คาอธบิ ายรายวชิ าจะชว่ ยให้ผู้สอนจดั หนว่ ยการเรยี นรู้ในแตล่ ะชั้นปี ไดส้ อดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้ เนื่องจากคาอธิบายรายวิชาจะรวมสาระการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องเรยี นรู้ตลอดท้ังปี กลุ่มของสาระการเรียนรตู้ ลอดปี จะมีจานวนมาก ดังน้ัน การจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้หลาย ๆ หน่วย จะช่วยให้กลุ่มของสาระการเรียนรู้มีขนาดเล็กลง และบูรณาการไดห้ ลากหลายมากขนึ้ โรงเรียนวดั ทา่ บุญมี ได้กาหนดรายละเอียดของคาอธิบายรายวิชาเรยี งตามลาดับไว้ ดงั น้ี ๑. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๒. คาอธิบายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ถึงชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ ๓. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๔. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๕. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๖. คาอธิบายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถงึ ชน้ั ประถมศึกษา ปีที่ ๖ ๗. คาอธบิ ายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๘. คาอธบิ ายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึงชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๙. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ถงึ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑๐. คาอธิบายรายวชิ าเพม่ิ เติม วชิ าภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สาร ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึงช้ันประถมศึกษา ปที ่ี ๖ ๑๑. คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม วิชาการปอ้ งกนั การทุจรติ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ๑๓. คาอธบิ ายรายวชิ ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึงช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๒๔

... คาอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ทา่ บญุ มี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๒๕

... ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ฝึกอ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง และข้อความสั้น ๆ บอกความหมายของคาและข้อความ ตอบคาถาม เล่าเร่ืองย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอ นาเสนอเรื่องที่อ่าน บอกความหมาย ของเครื่องหมายหรอื สญั ลักษณ์สาคญั ที่มักพบเหน็ ในชวี ติ ประจาวัน มีมารยาทในการอ่าน ฝกึ คัดลายมือด้วยตวั บรรจง เตม็ บรรทดั เขยี นสือ่ สารด้วยคาและประโยคง่าย ๆ มีมารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะในการฟัง ฟังคาแนะนา คาส่ังง่าย ๆ และปฏิบัติตาม ตอบคาถาม เล่าเร่ือง พูดแสดงความคิดเห็น และความรู้สกึ จากเร่อื งท่ฟี ังและดู พูดสื่อสารไดต้ ามวัตถุประสงค์ เน้นมารยาทในการฟงั การดูและการพดู ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา เรยี บเรียงคาเป็นประโยคง่าย ๆ ตอ่ คาคลอ้ งจองง่าย ๆ บอกข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรับเด็ก ฝึกท่องจาบทอาขยาน ตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหา ความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ังคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพดู พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรกั ษ์ ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้กบั ชีวิตประจาวันได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั ท 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5, ป.1/6, ป.1/7, ป.1/8 ท 2.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3 ท 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5 ท 4.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4 ท 5.1 ป.1/1, ป.1/2 รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตัวชวี้ ดั หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดทา่ บุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๒๖

... ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ฝึกอา่ นออกเสยี งคา คาคลอ้ งจอง ข้อความ และบทร้อยกรองงา่ ย ๆ อธิบายความหมายของคาและขอ้ ความท่ี อ่าน ต้ังคาถาม ตอบคาถาม ระบุใจความสาคัญและรายละเอียด แสดงความคดิ เหน็ และคาดคะเนเหตกุ ารณ์ เลอื ก อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเร่ืองท่ีอ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคาส่ัง หรอื ข้อแนะนา มมี ารยาทในการอา่ น ฝึกคดั ลายมือดว้ ยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเรอ่ื งสน้ั ๆ เกยี่ วกับประสบการณ์ เขยี นเร่ืองสนั้ ๆ ตามจินตนาการ มี มารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง ฟังคาแนะนา คาส่ังท่ีซับซ้อนและปฏิบัติตาม เล่าเรื่อง บอกสาระสาคัญของเร่ือง ต้ังคาถาม ตอบคาถาม พูดแสดงความคดิ เห็น ความรู้สึก พดู ส่อื สารไดช้ ดั เจนตรงตามวตั ถุประสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา เรียบเรียงคาเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการส่อื สาร บอกลักษณะคาคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถน่ิ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ฝึกจับใจความสาคัญจากเรอ่ื ง ระบขุ ้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟงั วรรณกรรมสาหรับเด็ก เพ่ือนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน ร้องบทร้องเล่นสาหรับเด็กในท้องถ่ิน ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า ตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดแู ละการพูด พูดแสดงความคิดเหน็ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรกั ษ์ ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม มำตรฐำน/ตวั ช้วี ดั ท 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8 ท 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 ท 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7 ท 4.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5 ท 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3 รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตวั ช้ีวดั หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๒๗

... ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ฝึกอ่านออกเสยี งคา ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ย ๆ อธิบายความหมายของคาและข้อความที่ อ่าน ต้งั คาถาม ตอบคาถามเชงิ เหตุผล ลาดบั เหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรปุ ความรู้ ข้อคดิ จากเรื่องท่อี ่าน เพอ่ื นาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเร่ืองท่ีอ่าน อ่านข้อเขียนเชิง อธิบาย และปฏิบัติตามคาสั่งหรือข้อแนะนา อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ มี มารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจาวัน เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอียด บอกสาระสาคัญ ต้ังคาถาม ตอบคาถาม พูดแสดง ความคดิ เห็น ความรสู้ ึก พดู สือ่ สารไดช้ ัดเจนตรงตามวัตถปุ ระสงค์ มมี ารยาทในการฟงั การดูและการพดู ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา ระบุชนิด หน้าท่ีของคา ใช้พจนานุกรมค้นหา ความหมายของคา แต่งประโยคง่าย ๆ แต่งคาคล้องจองและคาขวัญ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได้ เหมาะสมกับกาลเทศะ ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านวรรณกรรม เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก เพ่ือปลูกฝงั ความชนื่ ชมวัฒนธรรมท้องถน่ิ แสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกบั วรรณคดที ีอ่ ่าน ท่องจาบทอาขยานตามทก่ี าหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บนั ทกึ การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใชท้ กั ษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิด รวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ ับชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม มำตรฐำน/ตวั ชวี้ ดั หนา้ ๒๘ ท 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9 ท 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6 ท 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6 ท 4.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6 ท 5.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4 รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตวั ชว้ี ดั หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

... ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องท่ีอ่าน อ่านเร่ืองสั้น ๆ ตามเวลาที่กาหนดและตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่ืองที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเร่ืองท่ีอ่าน เพ่ือนาไปใช้ ในชวี ิตประจาวนั เลือกอ่านหนงั สอื ทีม่ ีคณุ ค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับเร่อื งท่ีอ่าน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเร่อื งและแผนภาพความคดิ เพื่อใชพ้ ัฒนางานเขียน เขยี นยอ่ ความจากเร่ืองสน้ั ๆ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและมารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เขียนเรื่องตามจินตนาการ มมี ารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นเรื่องท่ีฟังและดู พูดสรุปจากการฟัง และดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเก่ียวกับเร่ืองที่ฟังและดู ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล จากเรื่องที่ฟังและดู พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา มีมารยาท ในการฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่าง ๆ ระบุชนิดและหน้าท่ีของคาในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา แต่งบทรอ้ ยกรองและคาขวัญ บอกความหมายของสานวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ได้ ระบุข้อคิดจากนิทานพ้ืนบ้านหรือนิทานคติธรรม อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตจริง รอ้ ง เพลงพื้นบ้าน ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ังคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิด รวบยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรกั ษ์ ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนโ์ ดยใชว้ ธิ ีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ นาไปประยุกตใ์ ชก้ ับชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดทา่ บญุ มี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๒๙

... มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั ท 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8 ท 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8 ท 4.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7 ท 5.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4 รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวชวี้ ัด หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดท่าบุญมี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๓๐

... คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ฝกึ อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและข้อความทเ่ี ป็นการ บรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัย แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม เลือกอ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจ มีมารยาท ในการอา่ น ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสาร เขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพ ความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น กรอกแบบ รายการต่าง ๆ เขยี นเรอื่ งตามจินตนาการ มมี ารยาทในการเขียน ฝกึ ทักษะการฟัง การดแู ละการพดู พดู แสดงความรู้ ความคดิ เหน็ และความร้สู ึก ต้ังคาถาม ตอบคาถาม วิเคราะห์ ความ พดู รายงาน มมี ารยาทในการฟัง การดแู ละการพูด ระบุชนิดและหน้าท่ีของคาในประโยค จาแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถ่นิ ใชค้ าราชาศัพท์ บอกคาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย แต่งบทรอ้ ยกรอง ใช้สานวนได้ถูกตอ้ ง สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้ ข้อคิดจากการอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีสามารถ นาไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและ บทร้อย กรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรปุ ความ กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกป้ ัญหา การฝกึ ปฏิบัติ อธบิ าย บันทึก การตงั้ คาถาม ตอบคาถาม ใชท้ ักษะการฟงั การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเหน็ กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรกั ษ์ ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรไู้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธกี ารของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถ นาไปประยกุ ต์ใช้กับชีวติ ประจาวันไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม มำตรฐำน/ตวั ชวี้ ดั ท 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8 ท 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8, ป.5/9 ท 3.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5 ท 4.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7 ท 5.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวชว้ี ดั หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดทา่ บุญมี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๓๑

... คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็นโวหาร อ่านเรื่องสั้น ๆ อย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่ืองท่ีอ่าน วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเร่ืองท่ีอา่ นเพ่อื นาไปใช้ในการดาเนินชีวิต อ่านงานเขียนเชิงอธบิ าย คาสั่ง ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม อธิบาย ความหมายของข้อมูลจากการอา่ นแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและกราฟ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบาย คุณค่าท่ีไดร้ บั มีมารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคดิ เพ่อื ใชพ้ ฒั นางานเขยี น เขยี นเรยี งความ เขียนยอ่ ความจากเรื่องอ่าน เขียนจดหมายสว่ นตัว กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ เขยี นเร่ืองตามจินตนาการและสรา้ งสรรค์ มีมารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจ จุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู ต้ังคาถามและตอบ คาถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองท่ีฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเร่ืองท่ีฟังและดูสื่อโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูด รายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเช่ือถือ มี มารยาทในการฟงั การดแู ละการพดู ฝึกวิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ใช้คาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอก ความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบ สานวนที่เปน็ คาพังเพยและสภุ าษิต ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้านท้องถ่ินตนเองและนิทานพ้ืนบ้าน ของท้องถ่ินอื่น อธิบายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา่ นและนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง ท่องจาบทอาขยาน ตามที่กาหนดและบทร้อย โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ กระบวนการ แก้ปัญหา กระบวนการสังเกต กระบวนการแยกข้อเท็จจริง กระบวนการค้นคว้า กระบวนการใช้เทคโนโลยี ในการส่ือสาร กระบวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ังคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะ การฟัง การดแู ละการพูด พูดแสดงความคดิ เห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรกั ษ์ ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรไู้ ปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์โดยใช้วธิ ีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ นาไปประยุกตใ์ ชก้ บั ชวี ิตประจาวันได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดทา่ บญุ มี พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๓๒

... มำตรฐำน/ตวั ช้ีวดั ท 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9 ท 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9 ท 3.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6 ท 4.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6 ท 5.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4 รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวชวี้ ดั หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั ท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๓๓

... คาอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดทา่ บญุ มี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๓๔

... ค๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ บอกจานวนของส่ิงต่าง ๆ แสดงส่ิงต่าง ๆ ตามจานวนที่กาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย แสดงจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้เคร่ืองหมาย = ≠ > < เรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ต้ังแต่ ๓ ถึง ๕ จานวน หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวกและประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการลบของจานวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ ปญั หาการบวกและโจทยป์ ญั หาการลบของจานวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐ และ ๐ ระบุจานวนท่ีหายไปในแบบรูปของจานวนที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงทีละ ๑ และทีละ ๑๐ และระบุรูปท่ีหายไป ในแบบรปู ซา้ ของรปู เรขาคณิตและรูปอื่น ๆ ท่ีสมาชกิ ในแตล่ ะชุดทซ่ี า้ มี ๒ รปู วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร วัดและเปรียบเทียบน้าหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด และใชห้ น่วยท่ไี มใ่ ชห่ นว่ ยมาตรฐาน จาแนกรปู สามเหลย่ี ม รปู สี่เหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสเี่ หลย่ี มมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เมือ่ กาหนดรูป ๑ รปู แทน ๑ หนว่ ย มำตรฐำน/ตวั ชวี้ ดั ค ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ค ๑.๒ ป.๑/๑ ค ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ค ๒.๒ ป.๑/๑ ค ๓.๑ ป.๑/๑ รวม ๕ มาตรฐาน ๑๐ ตวั ช้ีวัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั ทา่ บุญมี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๓๕

... ค๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ บอกจานวนของส่ิงต่าง ๆ แสดงสิ่งต่าง ๆ ตามจานวนท่ีกาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตวั หนงั สือแสดงจานวนนับไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ เปรยี บเทียบจานวนนับไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช้เคร่อื งหมาย = ≠ > < เรียงลาดับจานวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จานวนจากสถานการณต์ ่าง ๆ หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณแ์ สดงการลบของจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวน ๑ หลักกับจานวนไม่เกิน ๒ หลัก หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการหารท่ีตัวต้ังไมเ่ กนิ ๒ หลัก ตัวหาร ๑ หลกั โดยทผ่ี ลหารมี ๑ หลัก ท้ังหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน ของจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธี หาคาตอบของโจทยป์ ญั หา ๒ ข้ันตอน ของจานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาที่มีหน่วยเดี่ยวและเป็นหน่วยเดียวกัน วัดและเปรียบเทียบ ความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมท้ังแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับความยาว ที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและเปรียบเทียบน้าหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด พร้อมทั้ง แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับน้าหนกั ท่มี หี น่วยเป็นกิโลกรัมและกรมั กิโลกรมั และขีด วดั และเปรยี บเทยี บปริมาตรและความจุเป็นลติ ร จาแนกและบอกลกั ษณะของรปู หลายเหลยี่ มและวงกลม ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หาเม่ือกาหนดรูป ๑ รูป แทน ๒ หน่วย ๕ หน่วย หรอื ๑๐ หน่วย มำตรฐำน/ตวั ชวี้ ดั ค ๑.๑ ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5 ค ๒.๑ ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6 ค ๒.๒ ป.๒/๑ ค ๓.๑ ป.๒/๑ รวม ๔ มาตรฐาน ๑๖ ตวั ชี้วดั หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดท่าบุญมี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๓๖

... ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทยี บและเรียงลาดบั จานวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณต์ ่าง ๆ บอก อ่าน และเขยี นเศษสว่ น ท่ีแสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วนท่ีกาหนด เปรียบเทียบเศษส่วนท่ีตัวเศษเท่ากัน โดยที่ตัวเศษ น้อยกว่าหรือเทา่ กับตวั สว่ น หาค่าของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลักษณแ์ สดงการบวกและการลบของจานวนนับ ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวน ๑ หลักกับจานวน ไมเ่ กิน ๔ หลกั และจานวน ๒ หลักกบั จานวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสัญลักษณแ์ สดงการหาร ที่ตัวตงั้ ไมเ่ กนิ ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลกั และหาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน และแสดงวธิ ีการหาคาตอบของ โจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอน ของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา การบวกของเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบพร้อมท้ังแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ ปัญหาการลบของเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน ระบุจานวนท่ีหายไปในแบบรูปของจานวนท่ีเพ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละเทา่ ๆ กัน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับเงิน เวลา และระยะเวลา เลือกใช้เครื่องมือความยาวที่เหมาะสม วัดและบอกความยาวของส่ิงต่าง ๆ เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตร และเป็นเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวระหว่างเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั ความยาวท่มี ีหนว่ ยเป็นเซนตเิ มตรและมลิ ลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร เลือกใช้เครื่องช่ังท่ีเหมาะสม วัดและบอกนา้ หนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้าหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด เปรียบเทียบน้าหนักและแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ ปัญหาเกี่ยวกบั นา้ หนักที่มีหนว่ ยเปน็ กิโลกรัมกบั กรัม เมตรกิ ตันกับกโิ ลกรัม จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ เลอื กใชเ้ คร่อื งตวง ที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตรความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร และแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกย่ี วกับปริมาตรและความจุทีม่ หี นว่ ยเปน็ ลติ รและมลิ ลเิ มตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติท่ีมีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพ และใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เขียนตาราง ทางเดยี วจากข้อมลู ท่เี ป็นจานวนนับ และใชข้ อ้ มลู จากตารางทางเดยี วในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ทา่ บุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๓๗

... มำตรฐำน/ตวั ช้วี ดั ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11 ค 1.2 ป.3/1 ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11, ป.3/12, ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2 รวม ๕ มาตรฐาน ๒๘ ตวั ช้วี ดั หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดท่าบญุ มี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๓๘

... ค๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ คาอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ เปรยี บเทยี บและเรยี งลาดบั จานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อา่ น และเขียนเศษส่วน จานวนคละแสดงปรมิ าณสิง่ ตา่ ง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามเศษสว่ น จานวนคละทก่ี าหนด เปรียบเทยี บ เรียงลาดับ เศษส่วนและจานวนคละท่ีตัวส่วนตัวหน่ึงเป็นพหุคูณของอีกตัวหน่ึง อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามทศนิยมท่ีกาหนด เปรียบเทียบและเรียงลาดับทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่งจากสถานการณ์ต่าง ๆ ประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหาร จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ อย่างสมเหตุสมผล หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลักษณแ์ สดงการบวกและการลบของจานวนนับที่มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวนหลายหลัก ๒ จานวน ที่มีผลคูณไม่เกิน ๖ หลัก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวต้ังไม่เกิน ๖ หลัก ตัวหารไม่เกิน ๒ หลัก หาผลลัพธ์ การบวก ลบ คูณ หารระคน ของจานวนนับ และ ๐ แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจานวนนบั ท่ีมากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สร้างโจทย์ปญั หา ๒ ขน้ั ตอนของจานวนนับ และ ๐ พรอ้ มทงั้ หาคาตอบ หาผลบวก ผลลบของเศษสว่ นและจานวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหคุ ูณของอีกตัวหนึ่ง แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หา การบวกและการลบเศษสว่ นและจานวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของอีกตวั หนึ่ง หาผลบวก ผลลบของทศนิยม ไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และแสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก การลบ ๒ ข้ันตอนของทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตาแหนง่ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกยี่ วกับเวลา วดั และสรา้ งมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปส่ีเหล่ียมมุมฉาก จาแนกชนิดของมุม บอกช่ือมุม ส่วนประกอบ ของมุมและเขียนสญั ลักษณแ์ สดงมุม สร้างรปู ส่เี หล่ียมมุมฉากเม่ือกาหนดความยาวของดา้ น ใชข้ ้อมูลจากแผนภมู แิ ท่ง ตารางสองทางในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา มำตรฐำน/ตวั ช้วี ดั ค 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8, ป.4/9, ป.4/10, ป.4/11, ป.4/12, ป.4/13, ป.4/14, ป.4/15, ป.4/16 ค 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ค 2.2 ป.4/1, ป.4/2 ค 3.1 ป.4/1 รวม ๔ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ช้ีวดั หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดท่าบญุ มี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๓๙

... ค๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ เขียนเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวิธีหาคาตอบ ของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษสว่ นและจานวนคละ แสดงวิธี หาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ข้ันตอน หาผลคูณของทศนิยมท่ีผลคูณ เป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง หาผลหารที่ตัวตั้งเป็นจานวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และตัวหารเป็น จานวนนับ ผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๒ ขั้นตอน และแสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละไม่เกิน ๒ ขั้นตอน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว น้าหนัก ที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูปทศนิยม แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและ ความจุของภาชนะทรงสี่เหล่ียม มุมฉาก แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพืน้ ที่ของรูปสี่เหลี่ยม ด้านขนานและรปู สีเ่ หล่ียมขนมเปยี กปนู สร้างเสน้ ตรงหรอื สว่ นของเส้นตรงให้ขนานกับเสน้ ตรงหรอื ส่วนของเส้นตรง ที่กาหนดให้ จาแนกรูปสี่เหล่ียมโดยพจิ ารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปสี่เหล่ยี มชนิดต่าง ๆ เม่ือกาหนดความยาว ของด้านและขนาดของมุมหรือเมื่อกาหนดความยาวของเส้นทแยงมุม และบอกลักษณะของปรซิ ึม ใชข้ อ้ มลู จากกราฟเส้นในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา และเขียนแผนภมู ิแทง่ จากข้อมูลท่ีเปน็ จานวนนับ มำตรฐำน/ตวั ช้วี ดั ค 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8, ป.5/9 ค 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ค 2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ค 3.1 ป.5/1, ป.5/2 รวม ๔ มาตรฐาน ๑๙ ตวั ช้วี ดั หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ท่าบุญมี พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๔๐

... คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ค๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ เปรียบเทียบ เรียงลาดับเศษสว่ นและจานวนคละ จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ เขียนอตั ราสว่ นแสดงการเปรยี บเทยี บ ปริมาณ ๒ ปรมิ าณจากขอ้ ความหรอื สถานการณ์ โดยทป่ี รมิ าณแตล่ ะปริมาณเป็นจานวนนบั หาอัตราสว่ นทีเ่ ท่ากับ อตั ราสว่ นท่กี าหนดให้ หา ห ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนบั ไมเ่ กิน.๓ จานวน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา โดยใชค้ วามรเู้ กี่ยวกบั ห ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธข์ องการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษสว่ นและจานวนคละ. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาเศษสว่ นและจานวนคละ ๒-๓ ขั้นตอน หาผลหารของทศนิยมที่ตัวหารและผลหาร เปน็ ทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตาแหนง่ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม ๓ ขน้ั ตอน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาอัตราส่วน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละ ๒-๓ ขั้นตอน และแสดง วธิ คี ดิ และหาคาตอบของปัญหาเกีย่ วกับแบบรปู แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงส่เี หลี่ยม มุมฉาก แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและพนื้ ท่ีของรปู หลายเหลย่ี ม และความยาว รอบรูปและพื้นที่ของวงกลม จาแนกรูปสามเหล่ียมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สรา้ งรูปสามเหลี่ยมเมื่อกาหนด ความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติ ท่ีประกอบจากรูปคล่ี และระบรุ ปู คลีข่ องรปู เรขาคณิตสามมติ ิ ใช้ข้อมลู จากแผนภูมิรปู วงกลมในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา มำตรฐำน/ตวั ชีว้ ดั ค 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9, ป.6/10, ป.6/11 ค 1.2 ป.6/1 ค 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 ค 2.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4 ค 3.1 ป.6/1 รวม ๕ มาตรฐาน ๒๐ ตวั ชวี้ ดั หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดทา่ บญุ มี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๔๑

... คาอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดทา่ บญุ มี พุทธศักราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๔๒

... คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา ๘๐ ชั่วโมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ระบุชือ่ พืชและสัตวท์ ีอ่ าศัยอยบู่ ริเวณต่าง ๆ จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ บอกสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมกับการ ดารงชีวิตของสัตว์ในบริเวณที่อาศัยอยู่ ระบุชื่อ บรรยายลักษณะและบอกหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สตั ว์ และพชื รวมทง้ั บรรยายการทาหน้าท่รี ว่ มกนั ของส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายมนษุ ย์ในการทากิจกรรมตา่ ง ๆ จากขอ้ มูล ที่รวบรวมได้ ตระหนักถึงความสาคัญของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดูแลส่วนต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ใหป้ ลอดภยั และรักษาความสะอาดอยูเ่ สมอ อธิบายสมบัติท่ีสังเกตได้ของวัสดุท่ีใช้ทาวัตถุซ่ึงทาจากวัสดุชนิดเดียวหรือหลายชนิดประกอบกันโดยใช้ หลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุตามสมบัติที่สังเกตได้ บรรยายการเกิดเสียงและทิศทาง การเคล่ือนท่ีของเสียงจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ระบุดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืนจากข้อมูลที่รวบรวมได้ อธิบายสาเหตุที่มองไม่เห็น ดวงดาวสว่ นใหญ่ในเวลากลางวนั จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ อธิบายลักษณะภายนอกของหินจากลกั ษณะเฉพาะตัว ท่สี ังเกตได้ แก้ปัญหาอยา่ งง่ายโดยใชก้ ารลองผดิ ลองถูก การเปรียบเทียบ แสดงลาดับขั้นตอนการทางานหรอื การแก้ปญั หา อย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ ใช้เทคโนโลยี ในการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลง ในการใช้คอมพวิ เตอร์รว่ มกนั ดแู ลรกั ษาอปุ กรณ์เบอื้ งต้น ใช้งานอยา่ งเหมาะสม มำตรฐำน/ตวั ชวี้ ดั ว 1.1 ป.1/1, ป.1/2 ว 1.2 ป.1/1, ป.1/2 ว 2.1 ป.1/1, ป.1/2 ว 2.3 ป.1/1 ว 3.1 ป.1/1, ป.1/2 ว 3.2 ป.1/1 ว 4.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5 รวม ๗ มาตรฐาน ๑๕ ตวั ชว้ี ัด หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดทา่ บญุ มี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หน้า ๔๓

... คาอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง คำอธบิ ำยรำยชำ ระบุว่าพืชต้องการแสงและน้า เพื่อการเจริญเติบโต โดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักถึง ความจาเป็นท่ีพืชต้องการได้รับน้าและแสงเพ่ือการเจริญเติบโต โดยดูแลพืชให้ได้รับส่ิงดังกล่าวอย่างเหมาะสม สร้างแบบจาลองที่บรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก เปรียบเทียบลักษณะส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตจากข้อมูลท่ีรวบรวม ได้ เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับน้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์ และระบุการนาสมบัติการดูดซับน้าของวัสดุ ไปประยุกต์ใช้ในการทาวัตถุในชีวิตประจาวัน อธิบายสมบัติท่ีสังเกตได้ของวัสดุท่ีเกิดจากการนาวัสดุมาผสมกันโดยใช้ หลักฐานเชิงประจักษ์ เปรียบเทยี บสมบัติทีส่ ังเกตได้ของวสั ดุ เพือ่ นามาทาเป็นวัตถุในการใช้งานตามวัตถุประสงค์ และ อธิบายการนาวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักถึงประโยชน์ของการนาวัสดุ ทใี่ ช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ โดยการนาวัสดทุ ใ่ี ชแ้ ล้วกลับมาใชใ้ หม่ บรรยายแนวการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกาเนิดแสง และอธิบายการมองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ตระหนักในการเห็นคุณค่าของความรู้ของการมองเหน็ โดยเสนอแนะแนวทางการป้องกันอนั ตรายจากการมองเหน็ วัตถุในที่มแี สงสวา่ งไม่เหมาะสม ระบุส่วนประกอบของดิน และจาแนกชนิดของดินโดยใช้ลักษณะเน้อื ดนิ และการจับตัวเป็นเกณฑ์ อธิบาย การใช้ประโยชน์จากดนิ จากข้อมลู ที่รวบรวมได้ แสดงลาดับขั้นตอนการทางานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขยี น โปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัด หมวดหมู่ คน้ หา จดั เก็บ เรยี กใชข้ ้อมลู ตามวตั ถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัตติ ามข้อตกลงใน การใช้คอมพวิ เตอร์รว่ มกัน ดแู ลรักษาอุปกรณ์เบ้อื งตน้ ใชง้ านอยา่ งเหมาะสม มำตรฐำน/ตวั ช้ีวดั ว 1.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3 ว 1.3 ป.2/1 ว 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 ว 2.3 ป.2/1, ป.2/2 ว 3.2 ป.2/1, ป.2/2 ว 4.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 รวม ๖ มาตรฐาน ๑๖ ตวั ชวี้ ดั หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ทา่ บุญมี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ ๔๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook