Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธมนต์บำบัด_ฉบับอโรคยาศาล

พุทธมนต์บำบัด_ฉบับอโรคยาศาล

Published by pakamas3008, 2020-04-08 22:53:35

Description: พุทธมนต์บำบัด_ฉบับอโรคยาศาล

Search

Read the Text Version

ภิกษุเหล่านั้นรับกัมมัฏฐานแล้วต่างแยกย้ายกันไปเจริญวิปัสสนาตาม เงือ้ มผา และโคนไมใ้ นโอกาสท่ีเงียบสงัดและก็ทยอยบรรลพุ ระอรหัต แลว้ ก็ลกุ ขน้ึ จากทีน่ ่ังเขา้ ไปเฝ้าพระพทุ ธเจา้ จนครบท้ัง ๕๐๐ รูป อรรถถาไดอ้ ธบิ ายความคดิ ของพระทไี่ ด้บรรลุพระอรหันตไ์ วว้ า่ พระผ้บู รรลุ พระอรหัตส้นิ กเิ ลสอาสวะทัง้ หลายแลว้ ย่อมมคี วามคดิ อยู่ ๒ อย่างคือ ๑.มีความคดิ ว่า คนทกุ คนตลอดจนเทวดาทงั้ หลาย ก็สามารถท่ี จะบรรลุธรรมตามทเี่ ราบรรลุไดเ้ ช่นเดียวกนั ๒.พระทบี่ รรลุธรรมไมป่ ระสงค์จะบอกคณุ ธรรมทต่ี นได้บรรลแุ ก่ ผู้อ่ืนเหมือนคนท่ีฝังขุมทรัพย์ไว้ไม่ต้องการให้ใครรู้ท่ีฝังขุมทรัพย์ ของตน เมอ่ื เทวดาท้ังหลายทราบวา่ พระบรมศาสดาประทบั อยู่ที่ป่ามหาวัน ใกล้กรุงกบลิ พัสดุ์ พร้อมดว้ ยภกิ ษุ ๕๐๐ รูป ล้วนเป็นพระอรหันตบ์ วช จากราชตระกลู ตา่ งก็กลา่ วว่าน้ีเปน็ สมยั แหง่ การประชมุ ใหญใ่ นปา่ มหาวันพวกเราจักไปชมความงดงามของพระพุทธเจ้าและพระ สงฆส์ าวกผู้หมดจดต่างกแ็ ตง่ คาถากลา่ วสรรเสรญิ พระพทุ ธเจ้าและ เหลา่ สาวกเทวดาท่มี าประชุมกนั ใวนน้นั มีจำ�นวนมากมาย ภกิ ษุบาง รูปกเ็ ห็นเทวดาร้อยหนง่ึ บางรูปกเ็ หน็ พนั หน่งึ บางรปู กเ็ หน็ หม่นื หน่ึง บางรปู ก็เหน็ แสนหนึง่ บางรูปกเ็ หน็ ไม่มีท่ีสิน้ สุด แตกตา่ งกนั ไปตาม กำ�ลังญาณของแตล่ ะองค์ ขณะที่เทวดาจากหมน่ื จักรวาลมาประชุมกนั จนครบน้ัน ท้องฟา้ โปรง่ ใสไ่ มม่ เี มฆหมอก กก็ ลบั เกิดเมฆฝนค�ำ รณค�ำ รามกกึ กอ้ งฟา้ แลบ แปลบ๊ พราย พระพุทธองค์ทรงพจิ ารณาทราบวา่ หมู่มารก็ไดม้ าดว้ ย จึงทรงแนะนำ�ให้ภกิ ษุรจู้ ักพญามารเอาไว้ ๑๐๐ พุทธมนต์บำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ

พญามารกำ�ลังส่ังบังคับเสนามารให้ผูกเหล่าเทวดาไว้ในอำ�นาจ แห่งกามราคะ แต่พระพุทธองคท์ รงอธิษฐานไม่ใหเ้ หลา่ เทวดาเห็น พญามารไมไ่ ดด้ ่ังใจจึงท�ำ ให้เกิดฟา้ รอ้ งกึกกอ้ งกัมปนาทไปทัว่ โดยปกตใิ นที่จะไม่มีการบรรลุมรรคผล พระพุทธองค์จะไม่ทรง ห้ามมารแสดงสิ่งอันน่ากลัวของมารแต่ในที่จะมีการบรรลุมรรคผล พระองค์จะทรงอธิษฐานไม่ให้ใครรู้เห็นสิ่งที่พญามารกำ�ลังทำ�เนื่อง จากการประชุมใหญ่ของเทวดาคร้ังน้ันจะมีเทพบรรลุมรรคผลเป็น จำ�นวนมากพระพุทธองคจ์ ึงทรงอธษิ ฐานไม่ให้พวกเทวดา รับรสู้ ิ่งอัน นา่ กลัวของหมู่มารนั้น พญามารนนั้ จงึ กลบั ไปด้วยความเดือดดาลฯ สวดเม่ือไร ? สวดแลว้ ได้อะไร ? มหาสมยั สูตร เปน็ สตู รวา่ ด้วยสมยั เป็นทีป่ ระชุมใหญข่ อง เหลา่ เทพ ในยคุ ของพระพทุ ธเจา้ แตล่ ะพระองค์จะมีการประชมุ ใหญ่ ของเหลา่ เทวดาท้ังหลาย เชน่ นเ้ี พียงครั้งเดยี ว เทวดาท้งั หลายจึง พากันคิดว่าพวกเราจะฟังพระสูตรน้ีเม่ือพระผู้มีพระภาคเจ้าแสดง มหาสมัยสูตรจบเทวดาจ�ำ นวนหน่งึ แสนโกฎิได้ บรรลุพระอรหนั ต์ พระสตู รน้จี ึงเปน็ ท่รี กั ท่ีชอบใจของพวกเทวดา เทวดาทงั้ หลาย ต่างก็คิดว่าพระสูตรของตนเม่ือสวดพระสูตรนี้จะทำ�ให้เหล่าเทวดา ท้ังหลายประชมุ กัน เม่อื เทวดาประชุม กนั กจ็ ะทำ�ให้สง่ิ ท่ีไมด่ ีทงั้ หลายถอยห่างออก ไปเป็นการปอ้ งกันสง่ิ ที่ ไมด่ ีไมใ่ ห้เขา้ มาใกลต้ วั เรานนั้ เอง พระอรรถกถาจารย์จึงแนะนำ�ว่า“มหาสมัยสูตรน้ีเป็นที่รัก ท่ีชอบใจของเทวดาในสถานท่ีใหม่เอี่ยมเมื่อจะกล่าวมงคลกถา ควรสวดพระสูตรน้”ี หมายความว่าในสถานท่สี �ำ คญั ที่จะประกอบ พระธาตรี อปุ ฺปลวณโฺ ณ วดั ป่ากุดฉนวนอดุ มพร ๑๐๑

กิจใหม่ หรือในสถานใดทต่ี อ้ งการใหม้ ีการเปลีย่ นแปลงส่งิ ใหม่ ๆ เมื่อ จะสวดมงคลกถาในสถานท่เี ชน่ น้คี วรสวดมหาสมยั สูตรนี้ เน่อื งจากมหาสมยั สตู รเปน็ สูตรใหญ่ จงึ ไม่นิยมใชส้ วดในงาน ทำ�บุญทั่ว ๆ ไปแตจ่ ะนยิ มน�ำ ไปสวดเฉพาะในพธิ ที ีเ่ กย่ี วขอ้ งกับความ อยูเ่ ยน็ เปน็ สุขของทางบา้ นเมอื งเปน็ หลกั นอกนน้ั แล้ว การเจริญ พระพุทธมนต์ยังเป็นรูปแบบของการเจริญสมาธิภาวนาอย่างหน่ึง แต่แทนท่ีจะใช้วิธีน่ังบริกรรมให้จิตเกาะเก่ียวอยู่กับคำ�ใดคำ�หน่ึงหรือ ส่ิงใดส่ิงหนึง่ เพียงอย่างเดยี ว เพื่อเป็นส่ือให้เข้าถึงความสงบก็ใช้วิธีจิตเกาะเก่ียวไปกับอักขระ เปน็ เกาะแสเชน่ นี้ไม่ปล่อยใหค้ วาม รัก โลภ โกรธ หลง กามราคะ อาฆาตพยาบาทไดโ้ อกาสแทรกเข้ามาครอบงำ�จิต ท�ำ ใหจ้ ิตมคี วาม ผ่องใสเป็นจิตมีพลังในการต้านทานกิเลสที่จะเข้ามามีอำ�นาจเหนือ สตปิ ัญญาจิตเช่นน้เี ป็นจิตสงบคอื สงบจากกามราคะ อาฆาตพยาบาท หงดุ หงิด ฟุ้งซ่าน รำ�คาญ เบื่อหนา่ ย จึงชื่อว่า “ จติ เป็นสมาธิ ” ๑๐๒ พทุ ธมนต์บ�ำ บดั อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ

ปลงสังขาร โอว้ ่า อนจิ จัง สังขารเอย๋ มาลงเอย ส้ินสุด หยดุ เคลอื่ นไหว เม่ือหมดหวัง ครงั้ สุดทา้ ย ไมห่ ายใจ ธาตุลมไฟ น้�ำ ดิน กส็ ิ้นตาม นอนตวั แขง็ และสลด เม่ือหมดชีพ เขาตราสงั ข์ ใสห่ บี สคี่ นหาม สู่ปา่ ชา้ สิ้นเชือ้ เหลือแตน่ าม ใครจะถาม เรียกเรา กเ็ ปล่าเลย นแ่ี หล่ะหนอ มนุษยเ์ รา กเ็ ทา่ นี้ หมดลมแลว้ กไ็ ม่มี ซงึ่ ความหมาย วญิ ญาณปราศ ขาดลับ ดับจากกาย หยุดวุ่นวาย ทุกทกุ ส่งิ นง่ิ นอนเอย เมอื่ ชีวิต เรานี้ มลี มอยู่ จงเร่งรู้ ศีลทาน นะท่านเอย๋ ทง้ั ภาวนา ท�ำ ใจ ใหช้ นิ เคย อย่าละเลย ความดี ทุกววี่ ัน เม่อื สิน้ ลม จิตพราก จากโลกน้ี จะได้พา ความดี ไปสวรรค์ อย่าท�ำ บาป นอ้ ยนดิ ให้ผดิ พลนั เพราะบาปนั้น จะเป็นเงา ตามเราไป สนู่ รก อเวจี ทม่ี ืดมิด สดุ ทใี่ คร ตามคดิ ไปช่วยได้ ตอ้ งทนทุกข์ สยดสยอง ในกองไฟ ตามแตก่ รรม ของผู้ใด ทีไ่ ดท้ ำ� หมั่นสวดมนต์ ภาวนา รักษาศีล สอนลูกหลาน ใหเ้ คยชิน ทุกเช้าคำ�่ ให้รู้ เคารพ นพพระธรรม อย่าลืมค�ำ ทีพ่ ระสอน วอนให้ดี เราเกดิ มา เพอ่ื ตาย มิใช่อย ู่ ทุกทกุ คน ตอ้ งสู่ ความเป็นผี เมอื่ เกดิ มา เปน็ คน ไดท้ ้งั ท ี ก็ควรสร้าง ความดี ติดตัวไป เพอ่ื จะได้ เป็นสขุ ไม่ทกุ ข์ยาก ไม่คบั แค้น ลำ�บาก เม่อื เกดิ ใหม่ ใครทำ�ดี ยอ่ มสขุ แท้ แนแ่ ก่ใจ ใครท�ำ ช่วั ทกุ ข์ยากไร้ ย่อมถึงตน เรง่ บ�ำ เพ็ญ ทานศลี และภาวนา แสวงหา แต่สงิ่ บุญกุศล ทรัพยภ์ ายนอก เปน็ โรค โศกระคน ทรัพย์ภายใน ประดับตน พน้ ทกุ ข์เอย พระธาตรี อุปปฺ ลวณฺโณ วดั ปา่ กุดฉนวนอุดมพร ๑๐๓

สมาธกิ บั การรกั ษาโรค หลวงป่มู นั่ ภรู ทิ ัตโต วัดป่าสทุ ธาวาส ต.ธาตุเชงิ ชุม อ.เมือง จ.สกลนคร การทำ�สมาธิ สวดมนต์ และภาวนา จะกลับมามีบทบาทในสังคม ชาวพุทธอกี แน่นอน เพราะปัจจบุ นั มคี วามสบั สนและวุ่นวายมากข้ึน และโรคภยั ไขเ้ จ็บทีเ่ ขา้ มาเบียดเบียนมนษุ ย์ก็มคี วามรา้ ยแรง อีกทั้งคน คนหน่งึ กเ็ ปน็ ไดห้ ลายโรคหลายภัย ซง่ึ การรักษาโดยยาแผนปจั จุบนั กย็ งั ไม่สามารถเป็นค�ำ ตอบทด่ี ไี ด้ ท�ำ ใหป้ ระชาชนหนั มาสนใจรักษาสุขภาพ ของตนเองโดยการพึง่ พาธรรมชาติ วถิ ีชีวติ และความเช่อื แบบด้งั เดิม มากขนึ้ ซึง่ กร็ วมถงึ การรักษาหรือการบ�ำ บดั ทางจิตอกี ดว้ ย ปัจจุบันมกี ารพิสูจนท์ างวิทยาศาสตรแ์ ล้ววา่ เสียงสามารถรักษา โรคหรอื ช่วยบรรเทาอาการของโรคต่าง ๆ ได้บา้ ง (Sound Theraphy) ซึง่ รวมไปถงึ การใช้เสยี งเพลงในการบำ�บดั โรคด้วย (Music Theraphy) โดยจะใชเ้ สียงเพลงทัง้ เสียงที่มาจากธรรมชาติ เช่น เสียงน้ำ�ตก ไหล ลมพดั นกรอ้ ง หรอื เสยี งสัตว์ต่างๆ และถา้ มอี อกซิเจนบรสิ ุทธิ์ หายใจเข้าออกลึกๆ แล้วท�ำ สมาธิสวดมนต์ กค็ งทำ�ให้สขุ ภาพดีย่ิง ขึน้ สำ�หรับสงั คมชาวพุทธ ตอ่ มามนุษย์ก็มกี ารคิดค้นและเลียนเสยี ง ธรรมชาติให้ออกมาเปน็ เสียงดนตรี เสียงลมพดั พลิว้ ก็ออกมาเป็น เสยี งขลุ่ย เสียงกระทบกนั ของไม้ก็กลายเป็นเสียงโปงลาง เสยี งแคน หรอื เสียงระนาด เปน็ ตน้ จากการท่ีคนไทยประยุกต์ใชส้ ง่ิ ทม่ี าจาก ธรรมชาตใิ หก้ ลายเป็นเสยี งดนตรี วฒั นธรรมในภาคต่างๆ เชน่ การ บายศรีสูข่ วญั ทางภาคเหนอื ทกี่ ลา่ ววา่ “มาเดอ้ ขวญั เอ๋ย ขวัญเจา้ อยู่ท่ีไหนมาอยู่กับเน้ือกับตัว”ซ่ึงถ้าผู้ใดได้ฟังหรือถูกกระทำ�ในพิธีนี้ ๑๐๔ พทุ ธมนต์บ�ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ

ก็จะท�ำ ให้มีความอบอุ่น ซง่ึ รวมถึงการบายศรีส่ขู วญั ในภาคกลาง ด้วย สว่ นภาคอสี านก็จะมีการร�ำ ผีฟา้ หรอื ในจังหวัดสุรนิ ทรก์ จ็ ะมี ร�ำ มะโมก หรอื ในภาคใต้ก็จะมีพิธโี นราเหยียบเสน หรือจะเปน็ ระบำ� ชาวเขา จุดประสงคข์ องการทำ�พธิ ีเหล่านเี้ พื่อให้ผู้ป่วยรสู้ ึกสบายใจ ทำ�ใหเ้ กดิ ความสุข ซง่ึ เป็นการช่วยรกั ษาและบ�ำ บัดโรคได้ทางหนง่ึ ถงึ จะไมม่ ีผลต่อการรกั ษาโรคโดยตรงแตก่ ็มผี ลต่อจติ ใจผูป้ ่วย ในสมัยก่อนคนทัว่ ไปก็จะเขา้ ใจวา่ การสวดมนต์ ภาวนา และ การท�ำ สมาธิ มีประโยชน์ก็คือ สามารถท�ำ ให้จติ ใจแจม่ ใส เบิกบาน ท�ำ ให้ท�ำ งานผิดพลาดนอ้ ยลง ทำ�งานเสรจ็ ตามมุง่ หมาย คลายเครียด มีผลต่อความจ�ำ ไม่เบียดเบยี นกัน ยดึ ม่นั ในพระรัตนตรัย มีใจเมตตา และกรณุ า ซ่ึงจะเห็นได้ว่าในอดีตคนไทยจะนยิ มไปท�ำ บุญทว่ี ัด หรือ นิมนต์พระมาทำ�บุญหรือบ้านไหนมีคนป่วยก็นิมนต์พระมาสวดและ รดนำ�้ มนต์ ซึง่ ทำ�ใหผ้ ้ปู ่วยมีความสบายใจ และมคี วามรู้สึกว่าถงึ แม้ผู้ปว่ ยใกล้เสียชวี ติ กย็ งั ไดใ้ กลผ้ า้ เหลอื ง ในวถิ ีพุทธเราเชอื่ ว่าจะ ทำ�ใหจ้ ติ ใจสงบและสบายใจขึน้ ตอ่ มาในปี พ.ศ.๒๕๐๓ หมอ่ มหลวง ปนิ่ มาลากุล รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ออกระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการสวดมนต์ไหว้พระของนักเรียน โดยมีใจความวา่ “ใหผ้ ูอ้ �ำ นวยการหรือครใู หญข่ องแต่ละโรงเรียน ต้องจัดให้นักเรียนสวดมนต์ไหว้พระเวลาเข้าแถวหลังเชิญธงชาติ และหลงั เลิกเรียนสุดสปั ดาห”์ โดยมคี วามเชือ่ วา่ การสวดมนต์ เปน็ การไดเ้ ฝา้ สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เพราะไดร้ ะลกึ ถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จิตกจ็ ะสงบปราศจากความโลภ โกรธ หลง พระธาตรี อุปฺปลวณฺโณ วัดป่ากุดฉนวนอดุ มพร ๑๐๕

ท�ำ ให้จติ มสี มาธิ เข้มแขง็ อดทน บา้ งกจ็ ะร้แู จ้งเห็นจรงิ เห็นสจั ธรรม ในการดำ�เนินชีวิตเป็นการสะสมบุญและเป็นการฝึกความพร้อมเพรียง เพราะการสวดมนต์จะตอ้ งปฏบิ ตั ริ ว่ มกันหลายๆ คนซงึ่ จะกอ่ ใหเ้ กิดพลัง ปัจจุบนั มีงานวจิ ัยเกยี่ วกบั เรือ่ งการสวดมนต์ ภาวนา และการ ท�ำ สมาธิ ทางดา้ นการแพทยม์ ากขนึ้ ซึง่ พบว่ามผี ลทำ�ใหอ้ ัตราการ หายใจลดลง ร่างกายกจ็ ะใชอ้ อกซิเจนแล้วถา่ ยเทคาร์บอนไดออกไซด์ ส่งผลให้กระบวนการเมตาบอลซิ ม่ึ ในรา่ งกายลดลง ท�ำ ให้สงบเป็น ผลดตี ่อปอด หัวใจ คนทน่ี ง่ั สมาธิลึก ๆ นานๆ อัตราการเต้นของ หวั ใจตำ่� ปริมาณแลค็ โทสในเลอื ดจะต่ำ�ลง กแ็ สดงใหเ้ ห็นว่ามคี วาม วิตกกังวลน้อยลงคล่ืนสมองของผู้น่ังสมาธิก็จะมีความราบเรียบ เหมือนคนทห่ี ลับลกึ ๆ ซงึ่ จะได้รบั การพกั ผอ่ นอยา่ งจริงจัง ไดม้ กี าร ทดลองให้เดก็ ออทสิ ตกิ ซงึ่ มีสมาธสิ ้ันทำ�อะไรได้ไม่นานมาสวดมนต์ พบวา่ การสวดมนตท์ ำ�ใหส้ มาธิของเด็กกล่มุ น้ียาวข้ึน เปน็ ต้น ต่อไปในอนาคตน่าจะมีการสนับสนุนให้เกิดโรงพยาบาลวิถี ไทยวถิ ีพุทธ โดยให้โรงพยาบาลจดั สถานที่ใหแ้ ก่ญาติผปู้ ว่ ย และ ผู้ป่วยในระยะพกั ฟื้นทีส่ ามารถเดนิ และชว่ ยเหลือตัวเองได้ ทำ�สมาธิ สวดมนต์ และภาวนาเพื่อใหเ้ รียนรู้ และเข้าใจหลักธรรม ผปู้ ่วยจะ ไดม้ คี วามสุขทั้งด้านรา่ งกายและจติ ใจอีกดว้ ย ๑๐๖ พทุ ธมนตบ์ ำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภูมิ

การฝกึ สมาธิ แนวทางการฝกึ สมาธแิ ละการเจรญิ สติ มแี นวทางการปฏิบตั ิส�ำ หรับผู้ท่จี ะเรม่ิ ตน้ ฝกึ ปฏบิ ตั ใิ หม่ เพ่อื ทดลองฝึกปฏบิ ัติ (หลงั จากท่ีได้อา่ นแนวทางปฏบิ ตั ทิ กุ แนวแล้วยงั งง ๆ อยู่ ไมร่ ู้วา่ จะเรม่ิ ต้นทต่ี รงไหน อย่างไรด)ี พอจะรวบรวมได้ ๑๖ ข้อ ดงั นี้ คอื ๑. เร่ิมจากตืน่ นอนในแตล่ ะวนั ให้ฝกึ ทำ�สมาธอิ ย่างน้อย ประมาณ ๑๕-๓๐ นาที แลว้ จงึ ค่อยเพิ่มจนถึง ๑ ชว่ั โมงเป็นประจำ� (อาจมกี ารสวดมนตไ์ หวพ้ ระด้วยหรอื ไมก่ ไ็ ด)้ การท�ำ สมาธจิ ะอยใู่ น อิริยาบถใดก็ได้ และค�ำ บรกิ รรมท่ใี ช้แลว้ แตถ่ นดั เพ่อื เริ่มฝึกจิตให้มีคุณภาพ ๒. ตอ่ ด้วยการเจริญสติ คอื ระลึกรู้ในการท�ำ กจิ สว่ นตวั เชน่ อาบนำ้�แปรงฟนั รับประทานอาหาร หรอื พบปะพูดจา ฯลฯ ท�ำ กิจ ได้ก็ใหม้ ีสตริ ะลึกรูแ้ ละตื่นตวั อย่เู สมอทุก ๆ อิรยิ าบถ “เดินนับเท้า นอนนับทอ้ ง จับจ้องลมหายใจ เคลอื่ นไหวดว้ ยสติ” หัดร้สู ึกตัวบ่อยๆ ๓. ให้ฝึกทำ�สมาธิ สลับกับการเจรญิ สติเช่นน้ี ทกุ ๆ ๑-๓ ชว่ั โมง (ระยะเวลาอาจปรับสนั้ ยาวไดต้ ามความเหมาะสม) ทงั้ น้ีต้องแน่ใจ วา่ เปน็ การปฏิบตั ิในแนวทางท่ีถกู เป็นสัมมาทฏิ ฐิ เมอ่ื เจรญิ สติได้ คลอ่ งขึน้ ให้เพม่ิ การเจริญสติใหม้ ากกว่าการท�ำ สมาธิ ๔. ศีลห้าและกศุ ลกรรมบถสบิ อย่าใหข้ าด และให้งดเวน้ อบายมุข ทุกชนิดตลอดชีวิตหากศีลข้อใดขาดให้สมาทานศีลห้าใหม่ทันทีโดย วธิ ีสมาทานวิรตั ดิ ว้ ยตนเองเอาเจตนางดเวน้ เป็นทต่ี งั้ เพราะศีลเปน็ บาทฐานของการปฏิบตั ิ ๕. ท่านท่มี ภี ารกจิ มากและต้องทำ�กิจการงานต่าง ๆ ทีจ่ ะตอ้ ง พระธาตรี อุปฺปลวณโฺ ณ วัดป่ากดุ ฉนวนอุดมพร ๑๐๗

พบปะติดตอ่ กับบุคคลอน่ื ๆ ให้หม่ันสำ�รวม กาย วาจา ใจ อย่เู ปน็ นจิ ให้มสี ตริ ะลึกรู้ อยู่กบั งานนั้นๆ ขณะพูดเจรจากใ็ หม้ ีสตริ ะลกึ รอู้ ย่กู บั การพดู เจรจาน้ัน ๆ ตลอดเวลา เม่อื อยู่ตามล�ำ พงั ก็ให้เรม่ิ สมาธหิ รือ เจริญสตติ อ่ ไป ๖. เม่ือเริ่มฝึกใหมๆ่ จะมีอาการเผลอสตบิ ่อยมาก และบางที เจรญิ สตไิ ม่ถูก หลงไปทำ�สมถะเข้า เรื่องนใ้ี นหนงั สือวมิ ุตตปิ ฏปิ ทา ของท่านปราโมทย์ สนั ตยากร ท่านกลา่ วว่า “ ผทู้ ี่เจรญิ สตปิ ัฏฐานได้ จะต้องเตรียมจติ ใหม้ คี ุณภาพเสยี กอ่ น ถ้าจิตไม่มีคณุ ภาพ คอื รตู้ ัวไม่ เปน็ จะรู้ปรมัตถธรรมไมไ่ ด้ เมอื่ ไปเจรญิ สติเข้ากจ็ ะกลายเปน็ สมถะ ทกุ คราวไป ฯลฯ ” ดังน้นั จึงต้องฝกึ รู้ตัวใหเ้ ป็น และเมือ่ ใดทเี่ ผลอ หรือคิด ใจลอยฟงุ้ ซ่านไป ก็ให้กลับมามสี ตริ ะลึกรู้อยกู่ ับสภาวะ ปจั จุบนั ขณะทร่ี ู้ว่าเผลอหรอื รูว้ ่าคดิ ฟุ้งซา่ น ขณะน้ันก็เกดิ การรู้ท่ีถูก ตอ้ งแลว้ แตต่ ้องไมใ่ ช่การกำ�หนดหรือนอ้ มและไม่ใช่ต้ังทา่ หรือจอ้ ง หรอื เพ่งหากจติ มอี าการเกดิ กามราคะ หรือโทสะท่รี นุ แรงให้หันกลับ มาอยู่กับการทำ�สมาธิแทนจนกวา่ อาการจะหายไป แลว้ เริม่ เจริญ สติต่อไปใหม่ถ้าอาการยังไม่หายแสดงวา่ ท่านไมไ่ ดอ้ ย่กู บั สมาธิ ให้ ตั้งใจปฏิบัตสิ มาธใิ ห้มนั่ ใหม่อีกครง้ั จนกว่าจะสงบ ความสงบอยู่ท่ี การปลอ่ ยวางจติ ใหพ้ อดี ตงึ ไปก็เลย หยอ่ นไปกไ็ ม่ถงึ ตอ้ งวางจิตให้ พอดี ๆ ๗. ขณะท่เี ขา้ ห้องน้ำ�ถ่ายทุกข์ หนกั -เบา หนาว-รอ้ น หิว-กระหาย กใ็ ห้เจรญิ สติระลกึ ร้ทู กุ ครง้ั ไป ๘. ตอนกลางวัน ควรหาหนงั สือธรรมะมาอ่าน หรอื ฟังเทป ธรรมะสลบั การปฏิบัตถิ า้ เห็นวา่ มอี าการเบื่อหรอื อ่อนลา้ อาการดงั กลา่ ว อาจเกดิ จากการตง้ั ใจเกนิ ไป หรืออาจปฏบิ ตั ิไมถ่ ูกทางกเ็ ป็นได้ ให้เฝ้า ๑๐๘ พทุ ธมนตบ์ �ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ

สังเกตและพจิ ารณาดว้ ย ๙. ให้มองโลกแงด่ ีเสมอๆ ท�ำ จิตใจใหร้ า่ เริงแจม่ ใสตลอดทง้ั วนั ไมค่ ดิ พูด หรือทำ�ในส่ิงอกศุ ล ไมก่ ลา่ วรา้ ยผู้อืน่ ใหพ้ ูด คิด แต่ สว่ นทดี่ ขี องเขา การพูด การคดิ และท�ำ กใ็ ห้เป็นไปในกุศล คือ ทาน ศีล สมาธิ และภาวนาเท่าน้ัน (ไมพ่ ูดดริ จั ฉานกถา) พยายาม ประคบั ประคองรกั ษากุศลธรรมให้เกดิ และใหเ้ จริญย่งิ ๆ ขึ้นเรอื่ ยๆ บางทีบางโอกาสอาจเหน็ ความโกรธโดยไม่ต้งั ใจ และเหน็ การดับไป ของความโกรธ ซึง่ ความโกรธจะเกดิ ข้ึนเร็วมากแตต่ อนจะหายโกรธ กลบั ค่อยๆ เบาลงๆ แล้วหายไปอยา่ งชา้ ๆ เปรยี บได้เหมอื นกับการ จุดไมข้ ดี ทีเ่ ร่มิ จดุ เปลวไฟจะลกุ สวา่ งเร็วมาก แล้วจึงคอ่ ยๆมอดดบั ลงไป น่ันแหละคอื การเจรญิ วิปัสสนา และตอ่ ไปจะทำ�ใหก้ ลายเป็น คนที่มคี วามโกรธนอ้ ยลง จนการแสดงออกทางกายน้อยลงๆ จะเหน็ แตค่ วามโกรธที่เกิดอยแู่ ตใ่ นจติ เท่านัน้ ๑๐. ใหป้ ระเมินผลทกุ ๆ ๑-๓ ชัว่ โมง หรือวันละ ๓-๔ ครง้ั และ ใหท้ �ำ ทุกวนั ใหส้ ังเกตดูตวั เองวา่ เบากายเบาใจกวา่ แตก่ ่อนหรอื ไม่ เพราะเหตุใด ๑๑. ก่อนนอนทุกคืน ใหอ้ ยกู่ บั สมาธใิ นอิรยิ าบถนอนตะแคง ขวา(สีหไสยาสน)์ หรือเจรญิ สตจิ นกวา่ จะหลบั ทกุ ครัง้ ไป ถ้าไม่หลับ ใหน้ อนดู “รปู นอน” จนกวา่ จะหลับ ๑๒. เมื่อประเมนิ ผลแลว้ ใหส้ ำ�รวจตรวจสอบ เป้าหมาย คอื การเพยี รให้มีสติระลึกร้อู ยู่อยา่ งต่อเนอ่ื งสม่�ำ เสมอ ให้สงั เกตดูวา่ มีความกา้ วหนา้ อย่างไรบ้างหรือไม่ หากยังไมก่ ้าวหน้า ตอ้ งคน้ หา สาเหตุแท้จริงแล้วรีบแก้ไขให้ตรวจสอบดูว่าท่านได้ปฏิบัติถูกทาง พระธาตรี อปุ ฺปลวณฺโณ วดั ปา่ กดุ ฉนวนอุดมพร ๑๐๙

หรือไม่ หาสตั บรุ ษุ ผู้รหู้ รอื กลั ยาณมติ รเพือ่ ขอคำ�แนะนำ� ไม่ควรขอ คำ�แนะนำ�จากเพือ่ นนักปฏิบัตดิ ้วยกัน เพราะอาจหลงทางได้ ๑๓. ใหพ้ ยายามฝึกท�ำ ความเพยี ร เฝ้าใส่ใจในความรูส้ กึ ให้ แยบคาย(โยนิโสมนสิการ) พยายามแล้วพยายามอกี ให้เพม่ิ มากขึน้ เร่อื ย ๆ จากทคี่ ิดวา่ ยากมากๆ จนกลายเปน็ ง่าย และเกิดเป็นนิสยั ประจำ�ตวั ๑๔. จงอย่าพยายามสงสัย ให้เพยี งแตพ่ ยายามเฝา้ ระลึกรู้ใน ปัจจุบันธรรมอยู่ในกายในจิต(รูป-นาม)กลุ่มปัญหาข้อสงสัยก็จะหมด ความหมายไปเอง (หลวงปเู่ ทยี น จติ ฺตสุโภ ท่านว่า“คดิ เป็นหนรู ู้ เปน็ แมว”)อย่าพยายามอยากได้ญาณหรอื มรรคผลนิพพานใด ๆ ท้ัง สนิ้ ตวั ของเราเองมหี นา้ ที่เพยี งแต่ สร้างเหตทุ ีด่ ีเทา่ นน้ั นกั ปฏบิ ตั ิที่ คิดมากมีปัญหามากเพราะไม่พยายามรู้ตัวและยังรู้ตัวไม่เป็นไม่มีสติ พิจารณาอยู่ในกายในจิตของตนเองเอาแต่หลงไปกับสิ่งที่ถูกรู้หรือ ไมก่ ไ็ ปพยายามแก้อาการของจิต ดงั นนั้ จงึ ให้พยายามรตู้ วั ใหเ้ ปน็ ถา้ รู้เป็นจะต้องเห็นว่ามีส่ิงที่ถูกรู้กับมีผู้รู้และให้พยายามมีสติพิจารณา อยู่แต่ภายในจิตของตนก็พอประการที่สำ�คัญอีกประการหนึ่งโปรดจำ� ไว้ว่าให้รู้อารมณ์เท่านั้นอย่าพยายามไปแก้อารมณ์ท่ีเกิดขึ้น(วิมุตติ ปฏิปทา) ๑๕. จงอยา่ คดิ เอาเองว่าตนเองยงั มบี ุญวาสนาน้อย ขอทำ�บุญทำ� ทาน ไปกอ่ น หรอื อนิ ทรยี ข์ องตวั ยงั ออ่ นเกินไป คดิ เชน่ นีไ้ มถ่ ูกตอ้ ง จงอย่าดหู มน่ิ ตัวเอง เมอ่ื เร่มิ ฝกึ ปฏบิ ตั หิ รอื เจรญิ สตใิ หม่ จะเกดิ การ เผลอสตบิ อ่ ยๆจะเป็นอยู่หลายเดอื น หรอื บางทีอาจหลายปี แต่ฝึก ๑๑๐ พทุ ธมนตบ์ �ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ

บอ่ ย ๆ เขา้ กจ็ ะค่อยๆระลกึ ร้ถู ขี่ ึ้นเร่ือย ๆ ขอใหพ้ ยายามท�ำ ความเพียร ตอ่ ไป ถา้ ผดิ ก็เริ่มใหมเ่ พราะขณะใดท่ีรวู้ ่าผดิ ขณะนน้ั จะเกิดการร้ทู ่ี ถูกตอ้ งโดยอัตโนมตั ิอยแู่ ล้วประการที่ส�ำ คัญ คอื ตอ้ งเลกิ เชือ่ มงคลต่ืน ขา่ ว และตอ้ งไม่แสวงบญุ นอกศาสนา จงอยแู่ ตใ่ น ทาน ศลี สมาธิและ ภาวนา (บญุ กิริยาวัตถสุ บิ ) กพ็ อ ๑๖.จงพยายามทำ�ตนให้หนักแน่นและกว้างใหญ่ดุจแผ่นดินและ ผืนน้ำ�ท่สี ามารถรองรับไดท้ ัง้ ส่ิงของทสี่ ะอาดและโสโครก ซงึ่ แผน่ ดนิ และผนื น�้ำ รักชังใครไม่เป็น คอื ท้ังไม่ยนิ ดี (สิ่งของทส่ี ะอาด) และไม่ ยินรา้ ย (ของโสโครก) ใด ๆ วางใจใหเ้ ป็นกลางๆ ให้ได้ ความสำ�เรจ็ ก็อยทู่ ี่ตรงนี้ ทา่ นทรี่ ู้ตวั ได้ชำ�นชิ ำ�นาญข้ึนแลว้ การเจรญิ สติน่ันแหละ จะเป็นเครื่องมือท่ีสำ�คัญท่ีจะหาอารมณ์ท่ีเป็นปรมัตถ์มาเป็นเคร่ือง มอื อยทู่ ถ่ี นดั (วิหารธรรม) ใหจ้ ิตมสี ตเิ ฝา้ ร้อู ย่างตอ่ เน่ือง หลวงพ่อชา สภุ ทั โท ท่านเคยกล่าวไวว้ า่ “ทอ่ นซุงทลี่ อยล่อง ไประหว่างสองฝั่ง ถา้ ไมต่ ดิ อยูข่ ้างฝง่ั ใดฝ่ังหน่งึ ไม่ชา้ กจ็ ะไปถึงจุด หมายปลายทางอยา่ งแน่นอน” แตถ่ า้ ลอยไปตดิ อยูก่ บั ฝั่งใด (กามสขุ ลั ลิกานุโยค หรอื ความ ยนิ ด)ี ฝั่งหนง่ึ (อตั ตกลิ มถานโุ ยค หรอื ความยินรา้ ย) ไม่ชา้ กค็ งกลาย เปน็ ซงุ ผุใช้การไมไ่ ดเ้ ปน็ แน่ การท�ำ สมาธเิ บอ้ื งตน้ ต้องชำ�ระศลี ให้บรสิ ุทธ์ิ ท�ำ วัตรสวดมนต์ บชู าพระ เจริญพรหมวหิ าร ๔ และสมาทานกรรมฐาน เดินสมาธิ หรอื เดินจงกรม การเดนิ สมาธิหรอื เดินจงกรม เหมาะสำ�หรบั คนที่ มักมคี วามคดิ ฟงุ้ มากพระพุทธองค์กล่าววา่ ประโยชน์ของการเดนิ จงกรม มีดังน้ีคอื พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณฺโณ วดั ป่ากดุ ฉนวนอดุ มพร ๑๑๑

-- ท�ำ ให้ร่างกายแข็งแรงไม่เจบ็ ป่วยง่าย -- ทำ�ใหข้ าแขง็ แรงเดนิ ไดท้ นและไกล -- เมอ่ื ท�ำ หลังอาหารทำ�ใหอ้ าหารย่อยงา่ ย -- สมาธิท่ีไดจ้ ากการเดินจงกรมจะอยไู่ ด้นาน วิธีการเดนิ สมาธหิ รอื เดินจงกรม เลือกสถานทย่ี าวประมาณ ๕ เมตร ถงึ ๑๐ เมตร แล้วแต่ ความกวา้ งของสถานที่ และความรสู้ ึกพอดี บางทยี าวนักกไ็ มด่ ี เหนอื่ ย บางคร้งั สั้นไปก็ท�ำ ใหเ้ วยี นหัว หนั หนา้ ไปทางเดนิ จงกรม แต่ อย่ามองไกลเกนิ ไป มองทอดสายตาดู ไปข้างหนา้ ประมาณ ๔ กา้ ว เพ่อื ไม่ให้จติ ใจวอกแวก แต่ไม่ใกลเ้ กนิ ไป จนรสู้ กึ ปวดต้นคอ มอื ซ้าย มาวางทห่ี นา้ ทอ้ งและมอื ขวามาวางทับ เพือ่ ป้องกนั แขนแกวง่ ขณะ เดิน และดูสวยงาม เม่ือไดท้ ่าท่ีพอดแี ล้วกเ็ ดินกา้ วขาขวาไป ก็นึกค�ำ ว่า “พทุ ” และ เม่อื กา้ วขาซ้ายไปกน็ ึก ค�ำ วา่ “โธ” เวลาเดนิ ไม่หลบั ตาแต่ให้ลมื ตา และ กำ�หนดสมั ผสั ของเท้าท่กี า้ วเหยยี บลงพืน้ เดินวา่ พุทโธไปเรอ่ื ย พอถงึ ปลายทาง เดินก็หยดุ นดิ หนง่ึ แล้วกห็ นั กลบั ดา้ นขวามือ มาทางเดิม และเดนิ วา่ พุทโธตอ่ ไป อย่าเร็วเกนิ ไป หรือชา้ เกินไป ก�ำ หนดจิตของเรา อยู่ทกี่ ้าวเดนิ และคำ�ภาวนา ไมใ่ หจ้ ิตวอกแวก สงิ่ ส�ำ คญั คอื การกำ�หนดจิตให้ทนั การเคลื่อนไหว สว่ นการเดนิ เป็นเพียงส่วนประกอบเท่าน้ัน เราควรท�ำ อยา่ งนอ้ ย ๓๐ นาที และจะดี มากขน้ึ ถ้าตามด้วยการนัง่ สมาธิ เพราะการเดนิ จงกรม เปน็ การเปลีย่ น อิริยาบท ปลอ่ ยอารมณ์ และเตรียมรา่ งกายให้พรอ้ มสู่การนั่งสมาธิ ๑๑๒ พทุ ธมนตบ์ �ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภูมิ

อริ ิยาบถนง่ั สมาธิ นง่ั ขัดสมาธิ เอาขาขวาทับขาซา้ ย มอื ขวาทบั มอื ซ้าย วางลงบน ตกั ตงั้ กายตรง (ไมน่ ัง่ ก้มหน้า ไมน่ ั่งเงยหนา้ ไมน่ ่งั เอียงซา้ ย ไม่ เอยี งขวา ไม่โยกหน้า ไมโ่ ยกหลัง) ไม่กดและข่มอวยั วะในร่างกาย วางกายใหส้ บายๆ ตงั้ จิตใหต้ รง ลงตรงหน้า ก�ำ หนดรู้ซึง่ จติ เฉพาะ หนา้ ไม่สง่ จติ ให้ฟงุ้ ซา่ น ไปในเบอ้ื งหนา้ -เบือ้ งหลัง (อนาคตและ อดีต) พงึ เป็นผู้มีสติ ก�ำ หนดจติ รวมเขา้ ตัง้ ไวใ้ นจติ บริกรรม “พทุ โธ” จนกวา่ จะเปน็ เอกคั คตาจิต การสวดมนตร์ ักษาโรค ประโยชน์ของการสวดมนต์ (ทางการแพทย)์ จากนิตรสารชวี จิต ฉบับแรกของเดือน มกราคม ๒๕๕๑ เรื่อง Vibrational Therapy : สวดมนตบ์ ำ�บัด โดย : ชมนาด เช่อื หรอื ไม่ วา่ หากเราสวดมนต์(ไมว่ ่าศาสนาใดกต็ าม) เพื่อให้ใครสักคนหายป่วยแมจ้ ะอยหู่ ่างกนั คนละซีกโลก แต่พลงั แหง่ บทสวดน้ันจะเดินทางไปเยียวยาความเจ็บป่วยของเขาได้เพราะการ สวดมนต์บำ�บัดทำ�ให้เกิดทั้งคลื่นเสียงท่ีสามารถเดินทางลึกเข้าไปใน สมอง และคลืน่ ไฟฟ้าที่ส่งกระจายไปในชัน้ บรรยากาศไกล ๆ ได้ การสวดมนตบ์ ำ�บดั คือหลักการหน่งึ ของ Vibrational Therapy หรือ Vibrational Medicine คือการใชค้ ุณสมบัตขิ องคลืน่ บางคลื่น มาบำ�บดั ความเจบ็ ป่วย ซ่ึงมหี ลากหลายวธิ ี อาทิ เก้าอ้ีไฟฟา้ เครอ่ื ง นวดตา่ งๆ ก็เปน็ Vibrational Therapy เช่นกนั แต่เป็นคลืน่ ไฟฟ้า พระธาตรี อปุ ฺปลวณฺโณ วดั ป่ากดุ ฉนวนอดุ มพร ๑๑๓

เชงิ ฟสิ ิกส์ ท่ีเกดิ จากสง่ิ ไมม่ ีชีวิต ต่างจากสวดมนต์บำ�บัดซ่งึ เปน็ คลน่ื ท่ีเกดิ จากสิ่งมชี วี ติ ดังน้ันมาดูพลังแห่งการสวดมนต์บำ�บัดกันว่าคืออะไรและมี ประโยชน์อยา่ งไร ??? คล่นื แหง่ การเยียวยาการสวดมนตใ์ ช้หลกั การทำ�ให้เกิดคล่ืนเสียงที่มีความสม่ำ�เสมอเพ่ือเข้าไปกระตุ้นร่างกาย ให้เกิดการเยียวยาซ่ึงหากคล่ืนเสียงที่มากระทบดังแบบไร้ระเบียบ คือประกอบดว้ ยเสยี งทมี่ ีความถ่ีต่าง ๆ กนั ก็ไม่เกิดประโยชนต์ อ่ การ บำ�บัดกลไกดังกล่าวเริ่มต้นเมื่อหูของเราได้ยินเสียงบทสวดก็จะส่ง สัญญาณต่อไปยังศูนย์การได้ยินท่ีอยู่บริเวณสมองกลีบขมับก่อนส่ง ไปบริเวณก้านสมองซึ่งเม่อื ได้รบั คลนื่ เสยี งชา้ ๆ สม่�ำ เสมอประมาณ ๑๕ นาที กจ็ ะหลั่งสารสื่อประสาททม่ี ปี ระโยชน์มากมายเสยี งสวด มนต์ดว้ ยสมาธเิ ป็นยาให้ผลกับร่างกายอเนกอนันต์ รองศาสตราจารย์ ดร.สมพร กนั ทรดุษฎีเตรยี มชัยศรี หัวหน้าภาควิชาการพยาบาลสาธารณสขุ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล อธิบายเพมิ่ เตมิ ดงั นี้ “สมองของเราเมือ่ ได้รบั การกระตนุ้ ดว้ ยคลนื่ เสยี งชา้ ๆ สม่ำ� เสมอประมาณ ๑๕ นาทีขนึ้ ไป จะท�ำ ใหเ้ ซลล์ประสาทของระบบ ประสาทสมองสงั เคราะหส์ ารส่อื ประสาทหลาย ๆ ชนิด บรเิ วณ กา้ นสมองจะหล่ังสารสือ่ ประสาทช่อื ซโี รโทนนิ (serotonin) เพิ่ม ขน้ึ ซง่ึ มฤี ทธ์คิ ล้ายยานอนหลับ ชว่ ยการเรยี นรู้ ลดความเครยี ด ลดอาการซึมเศร้าลดระดับนำ้�ตาลในเลือดและเป็นสารต้ังต้นใน การสังเคราะหส์ ารสื่อประสาทอ่ืน ๆ เช่น เมลาโทนิน ซ่ึงเปรยี บ คลา้ ยกับยาอายุวฒั นะ เพราะจะช่วยยึดอายุการทำ�งานของเซลล์ ประสาท เซลลร์ า่ งกาย ใหช้ วี ิตยนื ยาวข้ึน และยังมีคณุ สมบัตชิ ว่ ยให้ ๑๑๔ พุทธมนตบ์ ำ�บดั อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ

นอนหลับ เพิ่มภมู ิตา้ นทาน ทำ�ใหเ้ ซลล์สดชื่นขน้ึ รวมถงึ โดปามนี มีฤทธลิ์ ดความก้าวรา้ วและอาการพาร์กินสัน นอกจากน้ีปรมิ าณของ ซีโรโทนินมีความสัมพันธ์ต่อการกระตุ้นการหลั่งสารสื่อประสาท อื่น ๆ เชน่ อะเซทลิ โคลีนช่วยในกระบวนการเรยี นร้แู ละความจ�ำ ชว่ ยขยายเส้นเลอื ด ท�ำ ใหค้ วามดนั ลดลง และยังช่วยลดปรมิ าณ อาร์กนิ นิ วาโซเปรสซิน ซ่ึงมีหนา้ ทค่ี วบคุมความก้าวรา้ วความสมดุล ของน�ำ้ และซีโรโทนนิ ยังเข้าไปลดปรมิ าณของสารเคมชี นิดหน่ึงที่เปน็ ตวั กระตุ้นของการท�ำ งานของต่อมหมวกไตให้ลดลง ส่งผลใหร้ ะบบ ประสาทสว่ นกลางท�ำ งานนอ้ ยลง รา่ งกายจึงรสู้ ึกผอ่ นคลาย ปลอดโปรง่ และไม่เครียด ภมู ติ ้านทานเพมิ่ ขน้ึ ” ดังนั้นจุดสำ�คญั จึงอยูท่ ่ีรา่ งกายจะสามารถสรา้ งสารส่อื ประสาท ไดห้ รือไม่ อาจารย์สมพรเสริมวา่ “หลกั การสำ�คญั อย่ทู ี่หากมสี ิง่ เรา้ หลาย ๆ ประเภทเข้ามารบ กวนกระบวนการท�ำ งานของคลนื่ สมองพรอ้ ม ๆ กนั ท�ำ ให้สัญญาณ คล่นื สมองเปล่ียนไป การหลง่ั สารสอื่ ประสาทจะสบั สน ไมม่ ีผลใน การเยยี วยา ส่งิ เร้าน้ีมาจากหลายส่วน ท้ังตัวเอง เชน่ บางคนปาก สวดมนต์ แต่คิดฟุ้งซ่านไปเร่อื งอ่ืน กไ็ มไ่ ด้ประโยชน์ และการเกดิ เสยี งดังอน่ื ๆ เขา้ มารบกวนขณะสวดมนต์ เพราะประสาทสัมผสั ของมนษุ ยร์ ับรู้ได้ไวและอ่อนไหวมาก เรามีตวั ประสาทรับสัญญาณ มากมาย เรารับส่ิงเรา้ ได้ท้ังจากทางปาก ตา หู จมกู การเคล่ือนไหว และใจเหล่านีท้ �ำ ให้สัญญาณคล่ืนสมองสบั สนและเปล่ียนไป รา่ งกาย ก็จะสร้างซโี รโทนนิ ไดไ้ มม่ ากพอ” และไมใ่ ชเ่ ฉพาะสารสือ่ ประสาทที่ มีประโยชน์เท่านั้นท่ีเราจะได้จากการสวดมนต์แต่การสวดมนต์ยัง พระธาตรี อุปปฺ ลวณฺโณ วดั ปา่ กดุ ฉนวนอดุ มพร ๑๑๕

ท�ำ ให้อวัยวะตา่ งๆได้รับการกระตุ้น คลา้ ยกับการนวดตวั เองจากการ เปล่งเสียงสวดมนต์ สวดมนตก์ ระตุ้นอวยั วะ อาจารยเ์ สถียรพงษ์ วรรณปก ราชบัณฑติ อธบิ ายหลักการนีว้ า่ “เวลาเราสวดมนตน์ านๆ ค�ำ แตล่ ะคำ�จะสรา้ งความสน่ั สะเทือนไม่ เทา่ กันตามฐานทเ่ี กิดของเสยี งหรอื ตามวธิ ีเปล่งเสียง แมว้ า่ เสยี งจะ ออกมาจากปากเหมือนกัน แต่วา่ เสียงบางเสียงออกมาจากริมฝีปาก บางเสียงออกมาจากปุม่ เหงือก บางเสียงออกมาจากไรฟนั บางเสียง ออกมาจากคอ ดงั น้นั ถา้ เราสวดมนตถ์ ูกตอ้ งตามฐานกรณจ์ งึ เกดิ พลงั ของการสน่ั ” และเมอื่ เกดิ พลังของการสน่ั การส่นั นจ้ี ะเข้าไป เยียวยาอาการป่วยไดอ้ ยา่ งไร อาจารยเ์ สถียรพงษอ์ ธบิ ายต่อว่า “เวลาเราสวดมนต์ เสียงสวดจะไปชว่ ยกระตุ้นต่อมต่าง ๆ ซ่งึ จะช่วยปราบเชอ้ื โรคบางชนดิ เช่นการวจิ ัยของฝรั่ง พบว่า อกั ษร เอ บี ซี ดี จะชว่ ยกระตุ้นระบบน้�ำ ย่อย ส่วนบทสวด มนต์ในพระพุทธศาสนาเสียงอักขระแต่ละตัวมีคำ�หนักเบาไม่เท่า กัน บางตัวสนั่ สะเทอื นมาก บางตวั สนั่ สะเทือนน้อย ทำ�ให้ต่อม ต่างๆในรา่ งกายถูกกระตุน้ เมื่อตอ่ มทีฝ่ อ่ ถูกกระต้นุ บอ่ ยๆเขา้ ก็คงคนื สภาพ อาการป่วยกจ็ ะดีข้นึ ” นอกจากนย้ี ังมีบทความท่ี อธิบายเก่ยี วกบั การฝึกเปลง่ เสียงเพอ่ื รักษาโรคจากเสียงตา่ ง ๆ เช่น โอม ...... กระตุน้ หนา้ ผาก ฮัม ....... กระต้นุ คอ ยมั ....... กระตุ้นหวั ใจ ราม .......กระต้นุ ล่นิ ปี่ วัม ....... กระตุ้นสะดือ ลัม ....... กระตุน้ กน้ กบ เป็นต้น แตท่ ่ีส�ำ คญั มากไปกว่านนั้ “การสวด ๑๑๖ พทุ ธมนตบ์ �ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ

มนต์ใหป้ ระโยชน์ทางใจที่มีคณุ ค่ากับผสู้ วด ” รองศาสตราจารย์จุฑาทิพย์ อมุ ะวชิ นี ภาควชิ าปรชั ญา และศาสนา คณะศลิ ปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สรปุ วา่ มี ๒ ขอ้ คอื ๑.การสวดมนตเ์ ปน็ เครอื่ งชว่ ยใหเ้ กดิ สมาธิ โดยต้องสวดเสยี ง ดัง ใหห้ ไู ด้ยินเสียงตวั เอง และจิตใจตอ้ งจดจอ่ อย่กู ับเสียงสวด เมอ่ื ใจไม่ฟงุ้ ไปที่อื่น ใจอยู่กับเสยี งเดยี ว จงึ เกิดสมาธิ ๒.ถ้าเข้าใจความหมายของบทสวดนน้ั ๆ จะทำ�ใหเ้ รามี ความเลอื่ มใสศรทั ธา เพราะบทสวดของทกุ ศาสนาเปน็ เรื่องของ ความดีงามจิตใจก็จะสะอาดขึ้นบริสุทธ์ิขึ้นเป็นการยกระดับจิตใจ ของผู้สวดเม่ือร่างกายท่ีรับสารสื่อประสาทท่ีมีประโยชน์และการ กระต้นุ ระบบอวัยวะตา่ ง ๆ ให้ทำ�งานเปน็ ปกติ เท่ากับว่าเราได้ผอ่ น คลายทั้งร่างกายและจติ ใจ ยอ่ มท�ำ ใหภ้ มู ิชีวิตดขี ึ้นเป็นลำ�ดบั ความ ป่วยกจ็ ะดีข้นึ เปน็ ล�ำ ดับ ซึง่ สอดคล้องกบั งานวจิ ยั ในต่างประเทศที่ อาจารยส์ มพร สรุปใหฟ้ ังวา่ การสวดมนต์ช่วยบำ�บดั อาการป่วยและ โรคร้ายดังตอ่ ไปนี้ ๑. หวั ใจ ๒. ความดนั โลหติ สงู ๓.เบาหวาน ๔. มะเร็ง ๕. อลั ไซเมอร์ ๖.ซมึ เศรา้ ๗. ไมเกรน ๘. ออทสิ ติก ๙.ย�ำ้ คดิ ยำ�้ ท�ำ ๑๐. โรคอ้วน ๑๑.นอนไมห่ ลับ ๑๒.พาร์กินสนั สวดมนต์อยา่ งไรใหห้ ายจากโรค สวดมนต์บ�ำ บดั มวี ิธกี ารและ จดุ ประสงค์ท่ีหลากหลาย สรุปออกมาได้ ๓ แบบ ๑.การสวดมนต์ด้วยตัวเอง เปน็ การเหนีย่ วนำ�ตวั เอง จงึ เปน็ ทม่ี าของคำ�วา่ Prayer Therapy ถือเปน็ วธิ กี ารที่ดีท่ีสุด เพราะ หากใครสกั คนคดิ ทีจ่ ะสวดมนต์ นน่ั หมายความวา่ เขากำ�ลงั มีความ พระธาตรี อุปฺปลวณฺโณ วดั ป่ากุดฉนวนอดุ มพร ๑๑๗

ปรารถนาดีตอ่ ตนเอง วธิ กี ารทอี่ าจารยส์ มพรแนะนำ�คือ -ควรสวดด้วยตัวเองไม่ควรสวดมนต์หลังกินอาหารทันที ควรทิ้งช่วงใหร้ า่ งกายผ่อนคลายอาจเปน็ เวลาก่อนเขา้ นอน -หาสถานที่ทีส่ งบเงยี บ -สวดบทสน้ั ๆ ๓-๔ พยางค์ โดยใช้เวลาประมาณ ๑๐-๑๕ นาทีข้นึ ไป จะท�ำ ใหร้ ่างกายได้หลั่งสารซโี รโทนนิ แต่หากสวดมนต์ ดว้ ยบทยาวๆ จะไดค้ วามผอ่ นคลายและความศรทั ธา -ขณะสวดมนต์ใหห้ ลบั ตา สวดให้เกดิ เสียงดงั เพอ่ื ใหต้ ัวเองไดย้ ิน ๒.การฟังผอู้ ่นื สวดมนต์ เปน็ การเหนี่ยวนำ�โดยคลนื่ เสยี งจากผู้ อืน่ เชน่ การฟังเสียงพระสวดมนต์ เสยี งผู้น�ำ สวดในศาสนาตา่ งๆ หากผู้สวดมีสมาธิ เสียงสวดนั้นจะนุม่ ทุม้ ทำ�ให้เกิดคล่นื ท่ชี ่วย เยยี วยา (healing) ผฟู้ งั แต่หากผ้สู วดไม่มสี มาธิ ไมม่ คี วามเมตตา เสียงสวดทีเ่ กิดข้นึ อาจเป็นคล่นื ขนึ้ ๆลงๆ นอกจากจะไมช่ ่วยเยียวยา อาการป่วย อาจทำ�ใหเ้ สียสขุ ภาพได้ ๓.การสวดมนตใ์ หผ้ ้อู ่ืน ปรากฏการณ์มากมายทีเ่ ราเห็นใน สงั คม เมอื่ ใครสกั คนเจบ็ ป่วย เรามักสวดมนต์อธิษฐานขอใหค้ วาม เจบ็ ป่วยของเขาหายไป บางคร้ังอยหู่ า่ งกันคนละซีกโลก เสียงสวด มนต์เหลา่ นจี้ ะมผี ลท�ำ ให้สขุ ภาพเขาดีขึน้ จรงิ หรอื ไม่ อาจารย์สมพร อธิบายดังนี้ คลน่ื สวดมนต์เป็นคล่ืนบวก เพราะเกดิ จากจติ ใจท่ดี งี ามปรารถนาดี ตอ่ ผู้ปว่ ย และเมื่อเราคดิ จะส่งสัญญาณนอ้ี อกไปสู่ที่ไกล ๆ มันจะ เดินทางไปในรูปของคล่ืนไฟฟา้ ซ่ึงมนษุ ยม์ ีเซลลส์ มองที่สามารถสง่ สญั ญาณคลืน่ ไฟฟ้าและสารเคมีได้ถึง สิบยกก�ำ ลังสบิ คลนื่ นี้ จงึ เดนิ ทางไปไดไ้ กล ๆ บางทีพอ่ กำ�ลังปว่ ยหนักอยู่ท่ีน่ี แตล่ ูก อยู่ต่างประเทศก็สามารถรับคล่ืนน้ีได้และรู้ว่ามีใครกำ�ลังไม่สบาย ๑๑๘ พทุ ธมนตบ์ �ำ บดั อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ

ทเี่ ราเรียกวา่ ลางสังหรณ์หรอื สัมผสั ท่หี ก การรบั รไู้ ด้หรือไมข่ ้ึนอยู่ กับผู้รับผสู้ ง่ ด้วย ถ้าคนไหนรบั สญั ญาณคล่ืนแห่งบทสวดมนต์ได้จงึ ไดผ้ ลเหมือนเราเปดิ วิทยุ ถา้ คนฟังปิดหูก็จะไมไ่ ด้ยนิ ดงั นนั้ ถา้ ต่าง ฝา่ ยตา่ งเปดิ รบั คล่ืนบวกทเี่ ราสง่ ไปผู้ปว่ ยก็จะไดร้ ับ และท�ำ ให้อาการ ป่วยดีขึน้ ได้ ไม่ใชเ่ รือ่ งของความมหศั จรรย์ แต่เป็นหลักธรรมชาตทิ ั่วไป เลอื กสวดมนต์อย่างไรดี แลว้ บทสวดทีเ่ ลอื กควรใช้บทไหนดี อาจารยส์ มพรแนะน�ำ วา่ “นา่ แปลกท่ีบทสวดในศาสนาสว่ นใหญ่ไมค่ อ่ ยมีจงั หวะขน้ึ ๆ ลง ๆ เหมอื นจังหวะเพลง จะมโี ทนเสียงแคไ่ มเ้ อกไม้โทเท่าน้นั สักสาม สี่พยางค์ มาสวดซ้ำ�ไปมาไดท้ ง้ั น้นั ” พระพทุ ธศาสนา มบี ทสวดมากมายหลายบท ให้เลอื ก ใชต้ ามความชอบ ยกตวั อย่างเช่น อิติปโิ ส หรอื นะโมตัสสะ นะโมพทุ ธายะ หรือสพั เพสตั ตาฯ เลอื กทอ่ นใดท่อนหนงึ่ แลว้ สวดวน ไปวนมาหรือโพชฌงค์ ทห่ี ลายคนนยิ มสวดให้ตวั เองหรอื คนไขห้ ายป่วย “ข้อท่ีน่าสงั เกตคือ บทสวดโพชฌงค์ จะมคี วามแตกตา่ งจากบทสวด อน่ื ๆ คือ คลน่ื เสียงของบทสวดจะมีแคเ่ สยี งสระมีแคส่ องจังหวะ คล่นื เสียงจากบทสวดจึงทำ�ใหเ้ กดิ คล่ืนทเ่ี ยยี วยาได้ดีที่สุด” อยากให้ตัวเองและ ผ้อู ื่นมสี ขุ ภาพกายใจเป็นสุขและยงั นอ้ มนำ�กุศลจติ เริ่มจากการสวดมนต์ เปน็ ประจำ�ดว้ ยสมาธิ พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณฺโณ วัดปา่ กดุ ฉนวนอดุ มพร ๑๑๙

ประวัติพระพากลุ เถระ เอตทคั คะ ด้านผมู้ อี าพาธน้อย การที่ท่านพระพากุลเถรท่าน นี้ได้รับการสถาปนาจากพระบรม ศาสดาให้อยู่ในตำ�แหน่งที่เป็น เลิศกว่าเหล่าภิกษุสาวกทั้งหลาย ผู้มีอาพาธน้อยน้ันก็เน่ืองด้วย เหตุ ๒ ประการคอื โดยเป็นผู้ย่ิงดว้ ยคณุ คือพระมหาสาวกองคน์ ั้น ได้แสดงความสามารถออกมาให้ปรากฏในเรื่องการเป็นผู้มีอาพาธ น้อยได้อย่างชัดแจ้งและอีกเหตุหน่ึงก็คือเน่ืองด้วยท่านได้ตั้งความ ปรารถนาในต�ำ แหน่งนน้ั ตลอดแสนกปั ตามเร่ืองที่จะกลา่ วตามล�ำ ดับ ดงั นี้ บุรพกรรมในสมยั พระอโนมทสั สีพุทธเจา้ นับยอ้ นไป อสงไขยกบั อีกแสนกัปนบั แตก่ ัปนี้ในกาลแหง่ พระทศพลพระนามวา่ อโนมทัสสี พระเถระนถี้ อื ปฏสิ นธิในสกุลพราหมณ์ เมื่อเติบใหญ่แล้วก็เล่าเรียนพระเวทแต่เมื่อท่านมาพิจารณาดูก็มอง ไม่เห็นสาระในคมั ภรี ์ไตรเพท จงึ คิดว่าน่าจะแสวงหาทางท่จี ะเป็น ประโยชน์ต่อไปภายภาคหน้าจึงไดอ้ อกบวชเปน็ ฤษี บำ�เพ็ญเพยี รจน ได้อภญิ ญา ๕ และสมาบัติ ๘ จากนนั้ ท่านก็เสวยสขุ อยู่ในฌาน สมยั น้ันเปน็ เวลาทพ่ี ระอโนมทสั สีโพธสิ ตั ว์ ได้ทรงบรรลุ พระสัพพัญญุตญาณแล้วทรงเสด็จจาริกไปพร้อมหมู่พระอริยสาวก ท่านเม่ือได้ทราบข่าวว่าเกิดพระรัตนตรัยข้ึนในโลกแล้วจึงไปเข้าเฝ้า พระศาสดาครั้นได้ฟังธรรมจากพระผู้มีพระภาคก็เกิดความเล่ือมใส ต้ังอยู่ในสรณะแต่ไม่ได้ออกบวชยังคงอยู่ในฐานะแห่งดาบสอยู่ ๑๒๐ พุทธมนต์บ�ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภูมิ

ทา่ นไปเฝ้าพระศาสดาและฟังธรรมเป็นครัง้ คราวตอ่ มา สมยั หนงึ่ พระตถาคตทรงพระประชวร เกดิ ลมในพระอทุ รท่านดาบสน้ันเม่ือเดนิ ทางมาเพื่อจะเฝ้าพระศาสดาตามท่ีเคยทำ�ครั้นทราบว่าพระศาสดา ประชวร จงึ ถามพระภกิ ษุว่า ทา่ นเจ้าขา้ พระศาสดาประชวรเปน็ โรคอะไร เม่อื ภกิ ษุทงั้ หลายกลา่ วว่าเปน็ โรคลมในพระอทุ รทา่ นจงึ คดิ ว่านี้เป็นโอกาสของเราท่ีจะได้ทำ�บุญจึงเดินทางไปยังเชิงเขารวบรวม ยาสมนุ ไพรชนิดต่าง ๆ แลว้ ประกอบเปน็ ยา นำ�ไปถวายพระเถระ ผอู้ ปุ ฏั ฐากพระศาสดา กล่าววา่ ท่านโปรดน้อมถวายยานแ้ี ตพ่ ระ ศาสดา ครนั้ เมื่อพระศาสดาได้เสวยยาทที่ า่ นน�ำ มาถวายน้นั โรคลม ในพระอุทรก็สงบต่อมาเม่ือดาบสนั้นไปเฝ้าในเวลาที่พระศาสดาทรง พระสำ�ราญแลว้ ทา่ นก็ทลู วา่ ความผาสกุ ทเ่ี กิดแก่พระตถาคต เพราะ ยาของข้าพระองค์น้ีอันใดด้วยผลแห่งการถวายยาของข้าพระองค์นั้น ขอความเจ็บไข้ทางร่างกายแม้แตเ่ พยี งเท่าการถอนผม ก็จงอยา่ มใี น ภพที่ข้าพระองค์เกดิ แล้วนี้เป็นกลั ยาณกรรมในภพนนั้ ของท่านและเมอ่ื ทา่ นจุตจิ ากภพนั้น กบ็ งั เกิดในพรหมโลกเวยี นว่ายอยใู่ นเทวดามนุษย์ ส้ินอสงไขยหน่งึ บรุ พกรรมในสมัยพระปทุมุตตรพุทธเจา้ ในกัปทแี่ สนแต่ภัทรกัปน้ี ในกาลของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า ทรงพระนามวา่ ปทมุ ุตตระ ท่านเกิดเป็นบุตรเศรษฐีในพระนครหงสาวดี วันหน่ึงท่านได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อฟังพระธรรมเทศนา ได้ยืนฟังธรรมอยู่ท้ายหมู่พุทธบริษัทได้แลเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงสถาปนาภิกษุรปู หนึ่ง ไว้ในตำ�แหนง่ ภิกษุผเู้ ลิศกว่าภิกษุผูม้ ี อาพาธนอ้ ย ทา่ นกป็ รารถนาจะไดอ้ ยใู่ นตำ�แหน่งเชน่ นั้นบา้ งในสมยั พระพุทธเจา้ องค์ใดองคห์ นึง่ ในอนาคต จึงได้นมิ นตพ์ ระตถาคต พร้อมด้วยพระสงฆใ์ หฉ้ นั ตลอด ๗ วนั แลว้ แสดงความปรารถนา พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณโฺ ณ วัดปา่ กดุ ฉนวนอุดมพร ๑๒๑

ในตำ�แหนง่ น้ันท่านกระท�ำ กศุ ลจนตลอดชวี ติ เวียนวา่ ยอย่ใู นเทวดา และมนุษย์ บรุ พกรรมในสมัยพระวิปสั สพี ทุ ธเจ้า ในกปั ที่ ๙๑ แต่ภทั รกปั น้ี ในก่อนกาลทีพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจ้า พระนามว่าวิปัสสจี ะทรงอุบัติ ท่านมาเกิดในครอบครวั พราหมณ์ ณ กรุงพนั ธมุ วดี บวชเป็นฤๅษโี ดยนยั เดียวกบั เมือ่ ครั้งในกาลสมยั พระอโนมทสั สีพุทธเจ้านั่นแหละ เปน็ ผูไ้ ด้ฌาน อาศยั อยู่เชิงเขา พระ วิปัสสีโพธิสัตว์บรรลุพระสัพพัญญุตญาณมีภิกษุหกล้านแปดแสน เป็นบรวิ าร ทรงอาศยั กรุงพันธมุ วดี ทรงท�ำ การสงเคราะห์พระ มหาราชเจ้าผูเ้ ป็นพทุ ธบิดาแลว้ ประทับอยู่ ณ มคิ ทายวัน อนั เกษม คร้งั น้ัน ดาบสนท้ี ราบว่าพระทศพลอบุ ัตขิ ้ึนในโลก จงึ มาฟงั ธรรมกถาของพระศาสดา แล้วตง้ั อยู่ในสรณะ แตก่ ไ็ มอ่ าจละเพศ ดาบสของตนได้แต่ก็มาอุปัฏฐากพระศาสดาเป็นคร้ังคราวสมัย หน่งึ ภิกษทุ ัง้ หลาย เวน้ พระศาสดาและพระอัครสาวก เกิดโรคที่ ศีรษะเพราะถูกลมของต้นไม้มีพิษท่ีออกดอกสพร่ังในป่าหิมพานต์ อยู่ในเวลาน้นั ท่านดาบสทมี่ าเฝา้ พระศาสดาเห็นเหล่าภิกษุนั่งคลมุ ศรี ษะจงึ ถามวา่ ทา่ นเจา้ ข้าภิกษุสงฆเ์ ป็นอะไร ภกิ ษทุ ้ังหลายตอบวา่ ผู้มีอายุเหล่าภิกษุเป็นโรคดอกไม้พิษดาบสคิดว่านี้เป็นเวลาท่ีจะ ทำ�การขวนขวายทางกายแก่ภกิ ษุสงฆ์ ใหบ้ ญุ บงั เกิดแกเ่ รา ท่านจงึ ไปเกบ็ ยาสมุนไพรชนิดต่าง ๆ แล้วเอาประกอบเป็นยาถวาย เมอื่ ได้ ฉนั ยาของดาบสนั้นโรคของภิกษุทกุ รูปก็สงบไปทันที ดาบสนนั้ ด�ำ รง อยู่ชั่วอายุก็บังเกิดในพรหมโลกเวียนว่ายอยู่ในเทวดาและมนุษย์ เก้าสบิ เอ็ดกปั ๑๒๒ พุทธมนตบ์ ำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ

บรุ พกรรมในสมยั พระกัสสปพทุ ธเจา้ คร้ังพระพุทธเจา้ พระนามว่ากสั สป ทา่ นพระเถระมาบงั เกิด ในกรุงพาราณสี เป็นฆราวาสผคู้ รองเรอื นอยู่ วันหนง่ึ เขาเหน็ วา่ เรือนที่ท่านอาศยั อยูช่ ำ�รดุ ทรดุ โทรมลงไปมากแล้ว ควรทจี่ ะตอ้ ง เดนิ ทางไปยงั ชายแดนเพอ่ื จดั หาวสั ดุอปุ กรณ์มาซอ่ มแซมเรือน จึง ออกเดนิ ทางไปกบั พวกช่างไม้ ในระหว่างทางไดพ้ บวัดใหญซ่ ่งึ เก่า ครำ่�ครา่ และปรักหกั พังลงไปเพราะขาดการบำ�รุงรกั ษา ท่านก็คดิ วา่ การซ่อมแซมเรือนของเราเห็นควรรอไว้ก่อน ทา่ นได้ให้พวก ช่างไม้เหล่าน้ันนำ�เอาวัสดุอุปกรณ์ที่จะซ่อมเรือนเหล่านั้นมาส ร้างโรงอโุ บสถในวดั นนั้ ใหส้ ร้างโรงฉัน โรงไฟ (ท่จี งกรม) เรอื น ไฟ กปั ปยิ กุฏิ (เรอื นพยาบาล) ทพี่ ักกลางคืนและท่พี กั กลางวัน วัจจกฏุ ิ (ส้วม) จัดตัง้ ยาใช้และฉันส�ำ หรบั ภกิ ษุสงฆไ์ ว้ทกุ อยา่ ง. ก�ำ เนิดเปน็ พกั กลุ ในสมัยพระสมณโคดมพุทธเจ้า ในภัทรกปั น้ี ทา่ นจตุ ิจากเทวโลกเกดิ ในตระกูลมหาเศรษฐี แห่ง นครโกสัมพีในสมัยก่อนเวลาท่ีพระพุทธเจ้าของพวกเราจะทรงอุบัติ ต้ังแต่วันที่ท่านถือปฏิสนธิสกุลเศรษฐีนั้นก็ประสบลาภผลอันเลิศมา โดยตลอดครั้งน้ันมารดาของท่านคิดวา่ ลกู ของเราคนนมี้ ีบุญ กระทำ� บญุ ไว้แตป่ างกอ่ นเปน็ ผู้ไมม่ ีโรค อายยุ ืน ยงั ด�ำ รงอยู่ตลอดกาล เทา่ ใด ก็จักเป็นผใู้ หส้ มบัติแก่เราตลอดกาลเพียงนน้ั ในสมยั นน้ั มี ธรรมเนียมท่ีถือกันว่าเด็กทั้งหลายที่อาบนำ้�ในแม่น้ำ�ยมุนาจะเป็นผู้ ไมม่ ีโรค ทา่ นมารดาจึงส่งทารกนนั้ ไปอาบน�้ำ เมือ่ พวกพ่ีเล้ยี งพาทา่ น ไปดำ�เกล้าแล้วลงเล่นในแม่น้ำ�เม่ือพวกพี่เล้ียงกำ�ลังให้ทารกเล่นดำ� พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณโฺ ณ วัดป่ากดุ ฉนวนอดุ มพร ๑๒๓

ผุดดำ�ว่ายอยู่ปลาตัวหน่ึงเห็นทารกสำ�คัญว่าเป็นอาหารจึงคาบเด็ก ไปพวกพ่ีเลี้ยงต่างก็ทิ้งเด็กหนีไปฝ่ายปลานั้นเม่ือกลืนเด็กลงไปแล้ว นั้นเป็นธรรมดาของผู้ที่จะมาเกิดเป็นภพสุดท้ายย่อมไม่มีอันตรายถึง ชีวิตกอ่ นทจี่ ะบรรลพุ ระอรหตั ผล ดังนัน้ ทารกนั้นไมเ่ ดือดร้อนเลย ทา่ นได้เปน็ เหมือนเขา้ ไปสูห่ ้องนอนแลว้ นอนหลับไป ด้วยเดชแห่ง ทารก ปลามสี ภาพเหมือนกลืนภาชนะทรี่ อ้ นลงไป ถกู ความร้อนแผด เผาอยู่ มีก�ำ ลังว่ายไปไดเ้ พยี ง ๓๐ โยชนแ์ ลว้ เข้าไปตดิ ข่ายของชาว ประมงเมืองพาราณสี ปกติปลาใหญท่ ี่ติดข่ายนัน้ จะยังไมต่ ายทันที ตอ่ เมือ่ ถกู นำ�ไปถึงจะตาย แต่ด้วยเดชแห่งทารก ปลาตัวนพ้ี อเขานำ� ออกจากข่ายก็ตายทนั ที และธรรมดาชาวประมง ไดป้ ลาตวั ใหญ่ ๆ แล้วย่อมผ่าออกแบ่งขาย แต่กด็ ว้ ยอานภุ าพของเดก็ ชาวประมงยัง ไมผ่ า่ ปลานนั้ ใช้คานหามไปทั้งตัว ร้องประกาศไปทว่ั เมอื งวา่ จะ ขายราคาหนง่ึ พันกหาปณะ แต่กไ็ มม่ ใี ครซ้อื . ในเมอื งพาราณสนี ้นั มี ตระกูลเศรษฐี มสี มบตั ิ ๘๐ โกฏิ แต่ไมม่ ีบตุ รผูส้ ืบสกุลอยตู่ ระกลู หน่งึ คร้นั เม่อื ชาวประมงหาบปลามาถงึ ประตูเรอื นของเศรษฐนี ้ัน ภรยิ า เศรษฐีเห็นปลาน้ันเขา้ กช็ อบใจ จงึ ถามว่า จะขายเทา่ ไร ชาวประมง แทนท่ีจะตอบตามราคาที่ตั้งใจไว้กลับตอบว่าขายหน่ึงกหาปณะ นางจึงให้เงินหน่ึงกหาปณะแล้วซ้ือไว้ธรรมดาภริยาท่านเศรษฐีนั้น ปกตจิ ะไมช่ อบท�ำ ปลา แตใ่ นวนั นัน้ กว็ างปลาไวบ้ นเขียง แล้วลงมือ ผา่ เองทีเดียว และกธ็ รรมดาปลาต้องผ่าทีท่ อ้ ง แต่นางกลบั ผ่าขา้ ง หลงั เห็นทารกผิวดังทองในท้องปลา กย็ นิ ดตี ะโกนว่าเราได้บตุ รใน ท้องปลาแล้วอุ้มเด็กไปให้เศรษฐีผู้เป็นสามีดูท่านเศรษฐีก็ให้คนตี กลองประกาศข่าวไปทั่วพระนครในทันทีทันใดนั้นเองแล้วอุ้มทารก ตรงไปยังราชสำ�นักกราบทูลพระราชาว่าขอเดชะข้าพระพุทธเจ้าได้ ๑๒๔ พทุ ธมนตบ์ ำ�บดั อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ

ทารกในท้องปลาข้าพระพุทธเจ้าจะทำ�ประการใดพระราชาตรัสว่า ทารกทอ่ี ยใู่ นท้องปลาไดโ้ ดยปลอดภยั ได้นม้ี ีบุญทา่ นจงเลย้ี งไว้เถิด. ข่าวน้ันได้กระจายไปถึงนครโกสัมพีว่าในพระนครพาราณสี ตระกูลเศรษฐีตระกูลหน่ึงได้ทารกในท้องปลามารดาเดิมของทารก นั้นจึงเดินทางไปในเมืองน้ันได้เห็นเขากำ�ลังแต่งตัวเด็กแล้วให้เล่น อยู่จึงตรงเข้าอุ้มด้วยคิดว่าเด็กคนน้ีน่ารักจริงหนอแล้วบอกเล่าความ เปน็ ไปตา่ ง ๆ ภริยาเศรษฐเี มืองพาราณสีพดู ว่าเดก็ คนนเ้ี ปน็ ลกู เรา มารดาเดมิ ของทารกนนั้ ถามวา่ ทา่ นได้มาจากไหนภริยาเศรษฐีเมือง พาราณสพี ดู ว่าเราไดใ้ นท้องปลามารดาเดมิ ของทารกนั้นจึงพดู ว่า เด็กคนน้ี ไม่ใชล่ กู ของท่าน เป็นลกู ของเรา ภรยิ าเศรษฐเี มอื งพาราณสี ถามว่า ท่าน ได้ทไ่ี หนมารดาเดิมของทารกน้ันน้นั เลา่ ว่าเราอุม้ ท้องเดก็ คนนี้มาถงึ ๑๐ เดอื น คราวนนั้ ปลาได้กลนื เด็กทพ่ี วกพเี่ ลีย้ งกำ�ลงั ใหเ้ ลน่ น้ำ�ภริยา เศรษฐีเมืองพาราณสีจึงแย้มว่าลูกของท่านชะรอยปลาอ่ืนจะกลืน ไปแต่เด็กคนนี้ข้าพเจ้าได้ในท้องปลาทั้งสองฝ่ายจึงพากันไปยังราช สำ�นกั พระราชาตรัสวา่ หญิงผู้เป็นมาดาเดิมนี้ใคร ๆ กไ็ มส่ ามารถ จะปฏเิ สธได้ว่าไมใ่ ชม่ ารดา เพราะตัง้ ท้องมาถึง ๑๐ เดอื น แมห้ ญิง คนนี้ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าไม่ใช่มารดาเพราะได้เด็กในท้องปลาส่วนพวก ชาวประมงท่ีจับปลาได้ก็ได้ทำ�การซ้ือขายเสร็จส้ินไปแล้วจึงหมดสิทธิ เพราะฉะนั้นขอทง้ั สองฝ่ายจงเลี้ยงดูเดก็ รว่ มกันเถดิ นับแต่นั้นมาท้งั สองตระกูลกเ็ ล้ยี งดูเด็กรว่ มกนั สกุลทัง้ สองก็ประสบลาภยศอันเลิศ อยา่ งย่งิ จึงพากนั ขนานนามท่านวา่ พากุลกมุ าร ซ่ึงหมายความว่า เติบโตขน้ึ เพราะสองสกลุ เลี้ยงดู (พา= สอง, กลุ =ตระกลู ) เมื่อเดก็ เจรญิ วัยแลว้ ตระกลู ท้ังสองกไ็ ดส้ รา้ งปราสาทใหเ้ ขาไวใ้ นพระนครทัง้ สองแลว้ ให้บำ�รุงบำ�เรอดว้ ยพวกหญิงฟอ้ นรำ�เขาจะอยูน่ ครละ ๔ เดอื น พระธาตรี อปุ ฺปลวณโฺ ณ วดั ป่ากุดฉนวนอุดมพร ๑๒๕

เมื่อเขาอยู่ในนครหนงึ่ ครบ ๔ เดือนแลว้ ทง้ั สองตระกูลให้ช่าง สรา้ งมณฑปไว้ในเรือท่ีต่อขนานกัน แล้วให้เขาอยูใ่ นเรอื นัน้ พร้อม ด้วยหญงิ ฟอ้ นร�ำ ทั้งหลาย.เขาเสวยสมบัติเพลนิ เดนิ ทางไปอีกเมอื ง หน่ึง หญงิ ฟอ้ นรำ�ชาวพระนครได้ไปส่งเขาถงึ ครงึ่ ทาง หญงิ เหลา่ นนั้ ตอ้ นรบั ห้อมลอ้ มแล้วนำ�เขาไปยังปราสาทของตน หญงิ ฟอ้ นร�ำ ชดุ เก่าก็พากันกลบั เมืองของตนเหมอื นกัน เขาอยใู่ นปราสาทนน้ั ตลอด ๔ เดือน แล้วเดนิ ทางกลับไปยังอกี เมอื งหนึ่ง โดยท�ำ นองนั้นแล เขา เสวยสมบัตอิ ยอู่ ย่างนี้จนอายุครบ ๘๐ ปบี ริบูรณ์ สมยั นนั้ พระโพธิสัตว์ของเรา ทรงบรรลพุ ระสพั พญั ญุตญาณ ประกาศธรรมจักรอนั ประเสรฐิ เสดจ็ จาริกมาโดยลำ�ดบั ถงึ กรุงโกสมั พี พากุลเศรษฐีสดบั ข่าวว่า พระทศพลเสด็จมาแลว้ จึงถอื เอาของหอม และมาลยั ไปส�ำ นักพระศาสดาฟงั ธรรม ได้ศรทั ธาก็บวชท่านเปน็ ปถุ ชุ นอยู่ ๗ วัน อรุณวันที่ ๘ กบ็ รรลุพระอรหัตพรอ้ มด้วยปฏิสัมภิทา ครั้งนนั้ พวกหญิงแมบ่ ้านที่ทา่ นสร้างสมไวค้ ร้งั เปน็ คฤหสั ถ์ใน นครทั้งสอง ก็กลบั ไปเรือนสกลุ ของตน อยู่ในเรือนสกุลน้นั นนั่ แหละ ทำ�จวี รสง่ ไปถวาย พระเถระใชส้ อยจีวรผืนหน่ึง ทีช่ าวกรงุ โกสมั พีส่งไป ถวาย ครง่ึ เดอื น จวี รผนื หน่ึงทีช่ าวกรุงพาราณสสี ง่ ไปถวาย ครงึ่ เดือน โดยท�ำ นองนี้ นแ่ี ล ชาวนครกน็ �ำ จีวรแต่ชนิดสุดยอด ในนครทง้ั สอง มาถวายแตพ่ ระเถระรปู เดียว พระเถระครองเรือน ๘๐ ปี อาพาธเจ็บ ปว่ ยใด ๆ กม็ ิไดม้ ีตลอดกาล แมเ้ พยี งใช้ ๒ นวิ้ จับกอ้ นของหอมสูด ดม ในปีที่ ๘๐ ก็เข้าบรรพชาโดยสะดวกดาย ทา่ นแม้บวชแล้ว อาพาธ แมเ้ ลก็ น้อยหรอื ความขาดแคลนดว้ ยปจั จัย ๔ มิไดม้ ีเลย พระเถระเปน็ ผูส้ ำ�เร็จอภญิ ญาใหญ่ ๑๒๖ พทุ ธมนตบ์ ำ�บดั อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ

ในสมัยพระพุทธเจ้าองค์หน่ึงจะมีผู้ที่สำ�เร็จอภิญญาใหญ่ได้ เพยี ง ๔ ท่าน เท่านนั้ พระสาวกที่เหลือแม้จะไดอ้ ภญิ ญาแตก่ ็ไมเ่ รียก วา่ ได้อภิญญาใหญ่ เพราะพระสาวกที่เหลอื ผู้ได้อภญิ ญาเหลา่ นั้น ย่อมสามารถระลึกชาตไิ ด้เพียงแสนกัปเท่านน้ั ย่งิ ขึ้นไปกว่านัน้ ระลกึ ไม่ได้ แตท่ ่านผู้บรรลอุ ภิญญาใหญย่ ่อมระลกึ ชาติได้อสงไขยหน่งึ กับ อกี แสนกปั ในศาสนาของพระศาสดาของพวกเรา ผทู้ ่ีสำ�เร็จอภิญญา ใหญ่ ๔ ท่าน คือ พระสารบี ตุ รเถระ พระมหาโมคคลั ลานะเถระ พระพากุลเถระ และพระนางภทั ทากัจจานาเถรี(พระนางยโสธราพมิ พา) สามารถระลึกชาติได้ประมาณเท่าน้ีทรงสถาปนาพระเถระไว้ในตำ�แหน่ง เอตทัคคะการที่พระเถระได้รับการแต่งต้ังจากพระผู้มีพระภาคเจ้าให้เป็น เอตทัคคะเลิศกว่าเหล่าภิกษุสาวกท้ังหลายผู้มีอาพาธน้อยนั้นเป็นผลบุญ ทท่ี า่ นไดก้ ระทำ�ไว้ในกาลสมยั ของพระพทุ ธเจ้าถึง ๔ พระองค์ ได้แก่ ใน กาลท่พี ระผู้มพี ระภาคเจา้ พระนามว่า อโนมทสั สี ทรงอบุ ตั ขิ ึ้นแล้ว เมื่อ พระศาสดาเกิดการอาพาธเน่อื งด้วยโรคลม จงึ ไปนำ�เอาเภสัชมาจากปา่ ระงบั โรคลมนนั้ จนสงบดี ในสมัยพระพุทธเจา้ พระนามว่า ปทุมุตตระ ไดเ้ หน็ ภกิ ษุรูป หนึ่งซึ่งพระศาสดาทรงสถาปนาท่านไว้ในตำ�แหน่งที่เลิศแห่งพวก ภกิ ษุผู้มีอาพาธนอ้ ย ตนเองหวงั จะได้ตำ�แหนง่ นน้ั บา้ ง จงึ ได้ตงั้ ความ ปรารถนาไวอ้ ยา่ งน้ัน ในสมยั พระผู้มพี ระภาคเจ้าพระนามว่า วิปัสสี เม่อื ภิกษุท้ังหลาย เกดิ ความป่วยไข้เพราะดอกไมป้ า่ เป็นเหตุ จงึ ช่วยประกอบยารกั ษาโรคนนั้ จนสงบ ในกาลแหง่ พระผู้มพี ระภาคเจา้ พระนามว่า กัสสปะ ได้มองเหน็ มหาวิหารหลงั หนงึ่ ซึ่งคร�ำ่ ครา่ ทรุดโทรม จงึ ใหช้ ่างจดั การสรา้ งทีอ่ ยู่ อาศัยทง้ั หมด มีโรงอุโบสถเปน็ ต้นในมหาวิหารนั้น และไดจ้ ัดแจงถวาย พระธาตรี อุปปฺ ลวณฺโณ วัดปา่ กุดฉนวนอดุ มพร ๑๒๗

เภสัชทุกชนิดแก่ภิกษุสงฆ์ในท่ีนั้นด้วยและท่านก็ได้ตั้งความปรารถนา ในผลบญุ ทต่ี นกระทำ�ไปน้ันว่า “ความผาสุกเกิดแก่พระตถาคต เพราะ ยาของข้าพระองค์นีอ้ นั ใด ดว้ ยผลแห่งการถวายยาของข้าพระองค์นัน้ ขอความเจ็บไข้ทางรา่ งกายแมแ้ ตเ่ พยี งเท่าการถอนผม ก็จงอย่ามใี น ภพทข่ี ้าพระองค์เกิดแลว้ ” ด้วยผลบุญและดว้ ยเจตจำ�นง ทีไ่ ด้ตัง้ เอาไว้แลว้ น้ัน อาพาธแม้ มปี ระมาณนอ้ ยเพียงครูเ่ ดียวก็ไมเ่ คยมีแก่พระเถระน้นั พระเถระครองเรอื น ๘๐ ปี อาพาธเจบ็ ป่วยไร ๆ ก็มิได้มีตลอดกาล แม้เพียงจะใช้ ๒ นวิ้ จับ กอ้ นของหอมสูดดมกไ็ ม่เคยเกดิ ในชว่ งตลอด ๘๐ ปีทีท่ ่านออกบวช ท่านไม่รู้จักเคยเกิดอาพาธท่ีสุดแม้ชั่วขณะรีดนมโคสำ�เร็จไม่เคยต้อง ฉันยาแมส้ มอชิ้นหน่ึง พระเถระแสดงวตั รของท่านตลอดเวลาทบ่ี วช สมัยหนึ่งเม่ือคร้ังปลายอายุของพระพากุลเถระขณะน้ันท่าน อายุได้ ๑๖๐ พรรษา ๘๐ สมยั นน้ั ท่านได้อยู่ ณ เวฬวุ นาราม กรุงราชคฤห์ สมยั น้ัน มีปริพพาชกผู้หนงึ่ นามวา่ อเจลกสั สปะ เป็น สหายของท่านมาแต่ครั้งเม่ือทา่ นยงั เป็นคฤหสั ถ์ อเจลกัสสปะได้ เขา้ มาพบพระมหาเถระได้สนทนากัน และได้ถามพระมหาเถระว่า ไดบ้ รรพชามานานเทา่ ใดแลว้ พระมหาเถระตอบวา่ ได้บรรพชามา ไดแ้ ปดสิบปแี ล้ว อเจลกสั สปะจึงถามต่อไปวา่ ในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว ท่านไดเ้ สพเมถุนธรรมกค่ี รัง้ พระมหาเถระตอบว่า ทา่ นไมค่ วรถาม เราอย่างน้นั เลยแต่ควรจะถามเราอย่างน้ีว่า ก็ช่ัว ๘๐ ปีนี้ กาม สัญญาเคยเกิดขน้ึ แกท่ ่านกคี่ ร้งั แลว้ ทา่ นก็ตอบว่า เมื่อเราบวชมา ตลอด ๘๐ พรรษา ไม่รู้สกึ กามสัญญาเคยเกดิ ข้ึน อเจลกัสสปะ ๑๒๘ พุทธมนต์บ�ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภูมิ

จงึ ไดถ้ ามตอ่ ไปถึง พยาบาทสญั ญา และวหิ ิงสาสัญญา กามวติ ก พยาบาทวิตก .. วิหงิ สาวิตก ซึ่งทา่ นกไ็ ดต้ อบว่า เม่อื ทา่ นบวชมา ตลอด ๘๐ พรรษาไมร่ ู้สึกว่าเรอ่ื งดังกล่าวเคยเกดิ ขนึ้ กับทา่ นเลย และท่านได้กล่าวถึงวัตรปฏิบัติของท่านตลอดเวลาที่ท่านได้บวชอยู่ ดังนีพ้ ระเถระ ไมย่ นิ ดคี หบดจี ีวร ไม่กระทำ�นวกรรม มกี ารตัดและ การเยบ็ เปน็ ตน้ พักกุล ดูกรท่านผ้มู อี ายุ เมอ่ื เราบวชมาตลอด ๘๐ พรรษา เรา ไม่รสู้ กึ ยินดีคหบดจี วี ร ฯ (ไดแ้ ก่ จีวรของภิกษผุ ู้อยจู่ �ำ พรรษา)พกั กุล ดูกรทา่ นผู้มอี ายุ เม่อื เราบวชมาตลอด ๘๐ พรรษา ไมร่ ้จู ักใช้ ศาต ราตดั จีวร .. ไม่รจู้ กั ใช้เขม็ เย็บจวี ร .. ไม่ร้จู กั ใชเ้ ครอ่ื งยอ้ มจีวร .. ไมร่ ู้ จกั เยบ็ จีวรในสะดึง .. ไมร่ ู้จกั จดั ทำ�จวี รของเพอ่ื นภกิ ษุร่วมประพฤติ พรหมจรรยด์ ้วยกนั .. ก็ถา้ ทา่ นพักกลุ เถระน้นั ไมย่ ินดคี หบดจี วี ร ไมก่ ระท�ำ นวกรรม มกี ารตัดและการเย็บเปน็ ต้น ตลอดเวลาเช่นน้นั ท่านจะได้จวี รมา แต่ไหน จวี รทีท่ ่านใชน้ ั้นก็มาจาก คนในตระกลู ของท่าน พระเถระ ได้รับการทะนุบำ�รุงจากสองตระกูลในสองพระนครตระกูลทั้งสอง เปน็ ตระกลู เศรษฐมี หาศาล ทา่ นจงึ เป็นผู้มยี ศใหญ่ยง่ิ บตุ รธดิ าหลาน เหลนของท่านในแตล่ ะตระกลู ให้คนท�ำ จีวรดว้ ยผา้ เนื้อละเอียดอ่อน ให้ยอ้ มแล้วใสใ่ นผอบสง่ ไปถวาย ในเวลาทีพ่ ระเถระอาบนำ�้ เขาจะ วางไว้ทป่ี ระตหู ้องนำ�้ พระเถระก็จะน่งุ และหม่ จีวรทเี่ ขาวางไว้เหลา่ น้ันและท่านก็จะให้จีวรเก่าแก่บรรพชิตท้ังหลายที่ท่านพบเม่ือตระกูล ทัง้ สองเป็นผจู้ ัดทำ�จีวรถวายท่านเช่นน้ันแลว้ ทา่ นจึงไม่ตอ้ งกระท�ำ นวกรรม กิจกรรมท่จี ะตอ้ งรวบรวมอะไร ๆ กไ็ มม่ ี ทา่ นจะนั่งเข้า ผลสมาบตั ิ เมือ่ ครบสีเ่ ดอื นไปแล้ว ผ้านน้ั กจ็ ะมขี นหลุดล่ยุ คราวน้ัน พระธาตรี อปุ ฺปลวณโฺ ณ วัดป่ากดุ ฉนวนอดุ มพร ๑๒๙

ลูก ๆ หลาน ๆ ก็จะส่งจวี รไปถวายทา่ นโดยทำ�นองน้ันแหละ พระอรรถกถาจารยบ์ างทา่ นกลา่ วไวว้ า่ จีวรของพระเถระน้ัน พวกหญิงในตระกลู ของทา่ นทั้งสองตระกูล คือทีก่ รงุ โกสมั พี และ กรุงพาราณสี ก็ได้จัดท�ำ ส่งไปถวาย ทุกกงึ่ เดอื น พระเถระใช้จวี ร ทช่ี าวกรงุ โกสัมพสี ง่ ไปถวายทกุ ก่งึ เดือน ชาวกรุงพาราณสี ก็ส่งไป ถวายทุกกึ่งเดอื น โดยทำ�นองน้ี พระเถระไม่รสู้ กึ ยนิ ดีกิจนิมนต์ ไม่รู้สึกยินดีกิจนิมนต์..ไม่รู้สึกเคยเกิดจิตเห็นปานน้ีว่าขอใครๆ พึงนิมนต์เราเถิด..ไม่รู้จักน่ังในละแวกบ้าน..ไม่รู้จักฉันอาหารใน ละแวกบา้ น ...พระเถระนน้ั คนร้จู ักกันทว่ั สองพระนคร โดยท่ีทา่ นถอื การอยปู่ ่าเป็นวัตร ทา่ นจงึ ไม่รบั กิจนมิ นต์ และไมเ่ ข้าในเรือนใครนบั แตช่ ายคาของบ้านนนั้ เมอ่ื ท่านออกบิณฑบาต พอท่านมาถงึ ประตู เรอื นเท่านัน้ คนจะพากนั มารบั บาตรไป แลว้ ใส่โภชนะอันมรี สเลิศ ต่าง ๆ ถวายพระมหาเถระกจ็ ะกลับมานง่ั กระท�ำ ภัตตกิจ ซง่ึ มีอยู่ แห่งเดียว เป็นนติ ย์มไิ ดข้ าด พระเถระไมเ่ คยมองดมู าตคุ ามเลย ไม่รู้จักถือเอานิมิตของมาตุคามโดยอนุพยัญชนะ..ไม่รู้จักแสดง ธรรมแก่มาตคุ ามแมท้ ี่สุดคาถา ๔ บาท..ไม่รจู้ ักเขา้ ไปส่สู �ำ นกั ของ ภิกษุณี..ไม่รู้จักแสดงธรรมแก่ภิกษุณี..ไม่รู้จักแสดงธรรมแก่สิกขมานา.. ไมร่ ู้จักแสดงธรรมแกส่ ามเณรี... พระมหาเถระไม่เคยถือเอานมิ ติ แห่งมาตคุ าม โดยอนุพยญั ชนะ เป็นต้นวา่ เนตรงาม นมงาม ผมงาม เลย ทา่ นหลกี เล่ยี งการเก่ียว ๑๓๐ พุทธมนต์บ�ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ

เนอ่ื งกบั สตรไี ม่วา่ ในรูปแบบใด ๆ แม้สตรีน้นั จะเป็นภกิ ษณุ ี หรือ นางสิกขมานา หรอื สามเณรี ทา่ นไมเ่ คยแสดงธรรมให้ฟังสตรีฟงั แม้เพียงบทส้ัน ๆ หรือเขา้ ไปในสำ�นกั ของนางภิกษุณีเลย พระเถระไมเ่ คยมีศษิ ย์ ไม่รจู้ กั ให้บรรพชา ...ไมร่ ้จู ักให้อปุ สมบท .. ไม่รู้จักให้นสิ สัย .. พระเถระน้ันเม่อื ท่านบวชแล้ว ท่านกม็ ิไดม้ ศี ษิ ย์ หรอื อปุ สมบท หรอื ใหโ้ อวาทสง่ั สอนผ้ใู ด ในเรอ่ื งนี้พระอรรถกถาจารย์บางท่านจงึ กลา่ วว่า พึงทราบธตุ บุคคล (บคุ คลผู้ก�ำ จดั กิเลส) ธตุ วาทะ (การสอน เร่ืองการก�ำ จัดกิเลส) ธตุ ธรรม (ธรรมเครือ่ งกำ�จัดกิเลส) ธดุ งค์ (องคข์ องผกู้ ำ�จัดกเิ ลส) มีบคุ คลผู้ก�ำ จดั กเิ ลส ไมม่ ีการสอนเร่อื งก�ำ จดั กเิ ลส ๑ มบี คุ คลผ้ไู มก่ ำ�จัดกิเลสแต่มีการ สอนเร่อื งก�ำ จัดกิเลส ๑ มีบุคคลผไู้ มก่ �ำ จดั กเิ ลส ท้งั ไม่มกี ารสอนเรื่องก�ำ จัดกเิ ลส ๑ มบี ุคคลผู้ท้ังกำ�จดั กิเลสและมกี ารสอนเร่ือง กำ�จดั กเิ ลส ๑ ในบรรดาบุคคลเหล่าน้ัน บคุ คลใดกำ�จัดกิเลสของตนดว้ ยธุดงค์ แตไ่ ม่โอวาทไม่อนศุ าสนค์ นอ่ืนด้วยธดุ งค์ เหมอื นพระพกั กุลเถระ บคุ คลนี้ช่อื วา่ ผกู้ ำ�จดั กเิ ลส แตไ่ มม่ กี ารสอนเรอ่ื งก�ำ จัดกเิ ลส ในอรรถกถาอีกแห่งหน่ึงไดก้ ล่าววา่ พระธาตรี อุปฺปลวณโฺ ณ วดั ป่ากุดฉนวนอดุ มพร ๑๓๑

ขึน้ ช่ือวา่ ผปู้ ฏบิ ตั ิ มี ๔ ประเภท คอื -ผูป้ ฏบิ ัตเิ พ่อื ประโยชนต์ นไม่ปฏิบัตเิ พือ่ ประโยชนผ์ อู้ ่ืน ๑ -ผ้ปู ฏบิ ตั ิเพื่อประโยชน์ผู้อื่น ไม่ปฏบิ ตั ิเพอ่ื ประโยชน์ตน ๑ -ผ้ปู ฏบิ ัติทั้งเพือ่ ประโยชน์ตน ท้งั เพอ่ื ประโยชน์ผ้อู ืน่ ๑ -ไมป่ ฏิบตั ทิ ั้งเพื่อประโยชนต์ นทง้ั ไม่ปฏิบตั เิ พื่อประโยชนผ์ ู้อื่น ๑ บรรดาผ้ปู ฏิบัตเิ หล่านัน้ ผ้ใู ดได้กถาวัตถุ ๑๐ เอง ไม่กลา่ วไม่ สอนผู้อน่ื ในกถาวัตถุ ๑๐ นั้นเหมอื นอย่างท่านพากลุ ะ ผู้นช้ี ่อื ว่า ปฏิบตั ิเพอ่ื ประโยชน์ตน ไม่ปฏบิ ตั เิ พ่ือประโยชน์ผอู้ น่ื พระเถระไมย่ นิ ดีในการบ�ำ รงุ ตน ไม่รู้จักใช้สามเณรอุปฏั ฐาก .. ไม่รู้จักอาบนำ�้ ในเรือนไฟ .. ไมร่ ู้ จกั ใช้จณุ อาบน�้ำ .. ไมร่ ู้จกั ยนิ ดีการนวดฟนั้ ตวั ของเพ่อื นภกิ ษรุ ว่ ม ประพฤติพรหมจรรยด์ ว้ ยกัน .. พระเถระไม่เคยอาพาธ ไมร่ ู้จักเคยเกิดอาพาธท่สี ดุ แม้ชัว่ ขณะรดี นมโคสำ�เร็จ ไม่ร้จู ัก ฉนั ยาทส่ี ุดแม้ชิ้นสมอ..เร่อื งนี้ไดก้ ลา่ วไว้แล้วในข้อ “ทรงสถาปนาพระเถระไวใ้ นตำ�แหนง่ เอตทัคคะ” พระเถระสมาทานธุดงค์ขอ้ “เนสชั ชกิ ธุดงค”์ คอื ถือการนั่งเปน็ วตั ร อยา่ งอุกฤษฏ์ ไม่ร้จู กั องิ พนกั .. ไม่รู้จักสำ�เรจ็ การนอน ฯ พระอรรถกถาจารย์กล่าวไวว้ า่ พระพากลุ เถระไมเ่ คยเหยยี ดหลังบน เตียง หรือ แมก้ ารเอนหลังพิงพนัก ตลอด ๘๐ ปีที่ทา่ นบวช จน ปรินิพพาน พระเถระสมาทานธุดงคข์ ้อ “อรญั ญกิ ธดุ งค์” คือการอย่ปู า่ เป็น วัตรอยา่ งอกุ ฤษฏ์ ๑๓๒ พทุ ธมนต์บำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ

ดูกรท่านผ้มู อี ายุ เมือ่ เราบวชมาตลอด ๘๐ พรรษา ไม่รูจ้ ัก จำ�พรรษาในเสนาสนะใกลเ้ ขตบ้าน ฯ อเจลกสั สปะ ได้กลา่ ววาจา สรรเสริญ จากน้ันจึงไดข้ อบรรพชาอปุ สมบทในพระธรรมวนิ ัยใน พระพทุ ธศาสนา และเม่ือไดบ้ รรพชาอุปสมบทแลว้ ไมน่ าน กไ็ ด้ หลกี ออกอยผู่ เู้ ดียวมไิ ด้ประมาท มคี วามเพยี รเผากเิ ลส มีตนอันสง่ ไปในพระนิพพาน กระท�ำ ใหแ้ จ้งซง่ึ ทีส่ ุดแห่งพระธรรมอนั ยงิ่ ใน ทิฏฐิธรรมดว้ ยตนเอง ทา่ นได้กล่าวอทุ านวาจาประกอบด้วย โสมนัส ญาณวา่ ชาตสิ ้นิ แล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กรณีกจิ สิบหกประการ ท่ีต้องกระท�ำ ไดก้ ระท�ำ เสรจ็ แล้ว กจิ อ่ืนทีจ่ ะต้องกระท�ำ ตอ่ ไปมไิ ด้มี แลว้ พระอเจลกัสสปะเถระกไ็ ดเ้ ปน็ พระอรหันตอ์ งค์หน่ึงในโลก พระเถระปรินิพพาน หลังจากท่ีท่านได้จัดการให้อเจลกัสสปะได้บวชแล้วท่านก็ได้ พจิ ารณาวา่ กาลแห่งการปรินิพพานของทา่ นมาถึงแล้ว พระเถระ ดำ�ริวา่ แม้เมอ่ื เรามชี ีวิตอยกู่ ็อยา่ ได้เปน็ ภาระแกภ่ กิ ษเุ หลา่ อืน่ สรรี ะ ของเราแม้ปรนิ พิ พานแล้ว อยา่ ให้ภกิ ษสุ งฆ์ต้องเป็นกังวลเลยจึง เขา้ เตโชธาตปุ รินพิ พานแล้วเปลวไฟลุกขึ้นทว่ มสรรี ะ ผิวหนงั เนื้อ และโลหิตถกู เผาไหม้สน้ิ ไป เหมือนเนยใส ยังคงเหลอื อยูแ่ ตธ่ าตทุ ่ีมี ลกั ษณะดงั ดอกมะลิตูม. พระธาตรี อปุ ฺปลวณฺโณ วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร ๑๓๓

ถวายยารกั ษาโรค แก่พระภิกษุผู้มศี ลี ทำ�ให้สุขภาพดี ไม่เปน็ โรค และมีอายุยืน พระพกั กลุ เถระ ซ่ึงพระพุทธองคท์ รงยกยอ่ งท่านเปน็ เอตทัคคะ ในความเป็นผมู้ อี าพาธนอ้ ย คอื ทา่ นมีอายุ ๑๖๐ ปี ตลอดชีวติ ของทา่ น ไมเ่ คยเจ็บปว่ ยหรอื ฉันยาเลย เร่ืองคนอายุยนื ในแงม่ มุ ต่าง ๆ ให้ไดพ้ ิจารณากันไปแล้ว หลานตอนสำ�หรับในตอนนี้จะขอกล่าวถึงเร่ืองของพระเถระท่ีมีอายุ ยนื ในพระพทุ ธศาสนา ปฏิปทาท่นี ่านับถือและน�ำ มาปฏิบตั ติ ามของ ทา่ นเพอื่ เป็นตวั อย่าง การไดร้ ับรู้เรือ่ งราวของท่าน ช่วยให้เรามีแรง บันดาลใจ ในการท�ำ บญุ กศุ ลตามแบบอยา่ งของท่าน ขอกลา่ วถงึ ประวัตขิ องทา่ นพกั กลุ เถระ ซึง่ พระพุทธองค์ ทรงยกย่องทา่ นเปน็ เอตทัคคะในความเปน็ ผมู้ อี าพาธน้อย คือ ท่าน มอี ายุ ๑๖๐ ปี ตลอดชีวติ ของทา่ นไม่เคยเจ็บป่วยหรือฉันยาเลยใน ฐานะชาวพทุ ธเราควรจะไดร้ บั รปู้ ฏปิ ทาของท่าน ซง่ึ เปน็ เรอ่ื งทนี่ ่า อศั จรรย์ใจมาก เรื่องของทา่ นอยู่ใน พักกุลัตเถรัจฉริยัพภตู สูตร มัชฌิมนกิ าย อปุ ริปณั ณาสก์ สุญตวรรรค ทา่ นเกิดในตระกลู มหาเศรษฐแี หง่ นครโกสมั พ ี เม่ือเด็ก พีเ่ ล้ียงพาไปอาบนำ้�ทที่ า่ นำ�้ ถูกปลาใหญต่ ัวหน่ึงอุบกินเขา้ ไปในท้อง ท่านอยู่ในท้องปลาตัวใหญ่โดยไม่เป็นอันตรายด้วยบุญบารมีท่ีสะสม มา ปลาวา่ ยน�ำ้ ไปได้ ๓๐ โยชน์ ก็ตดิ ขา่ ยของชาวประมงชาวเมอื ง พาราณสี ชาวประมงก็แบกปลาตวั นน้ั ไปขาย ราคาหนึ่งพนั กห็ าคน ซือ้ ไม่ได้ ๑๓๔ พทุ ธมนต์บ�ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชัยภมู ิ

เม่อื ผ่านมาถึงประตูเศรษฐีตระกลู หน่ึง ซ่ึงมีทรัพย์ ๘๐ โกฐิ ไม่มี บตุ ร ภริยาเศรษฐีซ้อื เอาไวเ้ พ่ือใชท้ ำ�อาหาร เม่ือผา่ ท้องปลาออกกพ็ บ เด็กยงั มีชวี ิตอยูใ่ นท้องภรยิ าเศรษฐดี ีใจมาก อมุ้ เดก็ ไปหาท่านเศรษฐี เศรษฐจี ึงให้ป่าวประกาศไปทั่ววา่ เราได้บุตรแลว้ ครนั้ ตอ่ มาขา่ วทราบไปถงึ บิดามารดาเดิมของท่านพักกุลเถระ ทัง้ สองก็ตามหาบตุ รทีบ่ ้านเศรษฐี แตต่ กลงกนั ไมไ่ ด้ว่าเปน็ ลุกของใคร กันแน่ ตา่ งก็อา้ งสิทธวิ า่ เปน็ บตุ รของตน ท้งั สองฝ่ายจงึ พากันไปเข้า เฝา้ พระราชา พระราชาจึงตดั สนิ ใจใหท้ ง้ั สองตระกูลดแู ลรว่ มกัน ตระกูลท้ังสองไดส้ ร้างปราสาทไว้นพระนครทง้ั สองแลว้ ใหบ้ �ำ รุง บ�ำ เรอด้วยพวกหญิงฟ้อนร�ำ ท่านอยู่นครละ ๔ เดือน ทา่ นเสวย สมบตั อิ ยอู่ ย่างน้คี รบ ๘๐ ปคี รง้ั นัน้ พระพุทธเจา้ เสด็จจารกิ ไปถึง พระนครพาราณสแี ล้วทา่ นได้ฟังธรรมในส�ำ นกั พระผมู้ พี ระภาคเจ้า เกดิ ศรัทธาจึงออกบวช บวชได้ ๗ วนั กบ็ รรลุพระอรหันตพ์ รอ้ มด้วยปฏปิ ทา ทั้งหลาย เน่ืองจากทา่ นเป็นคนสองตระกูลท่านจงึ ไดช้ ือ่ ว่า พักกลุ ละ ท่านจะเห็นไดว้ ่า ลลี า ชีวิตของทา่ นพกั กลุ ะ มคี วามนา่ อัศจรรย์มากในช่วงท่ที ่านบวชอยู่กม็ เี รอื่ งทีน่ า่ อัศจรรย์อกี มาก กล่าว คอื ครั้งหนงึ่ ท่ีวัดเวฬวัน กรุงราชคฤห์ เพอ่ื นเกา่ ของท่านซึ่งเป็น ปรพิ าชก ชื่อ อเจลกัสสปะ ได้มาเยีย่ มท่านทวี่ ดั หลงั จากทกั ทายกัน แลว้ อเจลกัสสปะไดถ้ ามทา่ นวา่ บวชมาก่พี รรษาแล้ว ทา่ นตอบว่า บวชมาได้ ๘๐ พรรษา แลว้ อเจลกัสสปะถามต่อไปวา่ ตลอด ๘๐ ปที ผี่ ่านมาทา่ นไดเ้ สพเมถุน (มีเพศสมั พันธ)์ กี่ครง้ั พระเถระตอบวา่ ไมค่ วรถามอยา่ งน้ัน แต่ควรถามว่า บวชมา ๘๐ ปี เคยเกิดกาม สัญญา (ความนกึ คิดในทางกาม) กีค่ ร้ัง ซง่ึ ท่านตอบว่า ไมเ่ คยเลย แม้แต่คร้ังเดยี ว อเจลกสั สปะไดฟ้ งั ก็กลา่ วว่า เป็นเร่ืองทีน่ ่าอัศจรรย์ พระธาตรี อุปปฺ ลวณโฺ ณ วัดปา่ กดุ ฉนวนอดุ มพร ๑๓๕

ไม่น่าจะเป็นไปได้พระเถระจึงกล่าวต่อว่านอกจากไม่เคยมีกาม สญั ญาแลว้ ท่านยังไม่เคยมีพยาบาทสัญญา (ความนึกหมายในทาง โกธรเคอื ง) และวหิ งิ สาสัญญา (ความนึกหมายในทางเบยี ดเบยี น) ด้วยย่ิงกว่านั้นพระเถระยังกล่าวอีกว่าท่านไม่เคยมีกามวิตกพยาบาท วติ ก วิหิงสาวิตก (ความตรกึ ในใจทางกามพยาบาท การเบียดเบยี น) เลยตลอดเวลา ๘๐ ปี ซ่ึงเกิดเรอ่ื งน่าอัศจรรย์ใจ ความน่าอศั จรรยไ์ ม่นา่ จะเปน็ ไปได้ ตลอดเวลา ๘๐ ปี ในรม่ กาสาวพัสตร์ ยงั มีอกี คอื ตลอดเวลา ๘๐ ปี นัน้ - ทา่ นไม่เคยยนิ ดกี บั จวี รท่ีชาวบ้านน�ำ มาถวาย - ท่านไม่รจู้ ักใชม้ ีดตัดจีวร เขม็ เย็บจีวร สีย้อมจวี ร จีวรท�ำ จาก ไม่สะดงึ ไมเ่ คยทำ�จวี รกับภิกษดุ ว้ ยกัน - ท่านไม่ยนิ ดีในการรบั นิมนต์ ไม่เคยนึกคิดอยากให้มคี นมานมิ นต์ - ท่านไมเ่ คยน่ังในละแวกบ้าน ไมเ่ คยฉันอาหารในละแวกบ้าน - ท่านทา่ นไม่เคยมองสตรีในลักษณะทวั่ ไป และในราย ละเอียดของร่างกายจนทำ�ให้เกิดความยินดีพอใจไม่เคยแสดงธรรม แก่สตรเี กินคาถา ๔ บาท ไมเ่ คยไปสำ�นกั ภิกษณุ ีไม่เคยแสดงธรรม แก่ภิกษณุ ี สิกขมานา สามเณรี - ทา่ นไมเ่ คยบรรพชาให้ใครไม่เคยให้นสิ ัย (รบั เป็นอาจารย)์ แก่ ใคร ไมเ่ คยมีสามเณรอปุ ัฏฐาก - ทา่ นไม่เคยสรงน้�ำ ในเรือนไฟ ไม่เคยใชจ่ ุน (ผงสบู่ )อาบน�้ำ - ทา่ นไมเ่ คยให้ภกิ ษุด้วยกนั นวดเฟน้ ให้ - ทา่ นไมเ่ คยเจ็บไขไ้ ดป้ ่วยแม้ในชว่ั ระยะเวลารีดนมโคเสร็จ ไม่ เคยฉันยาแมเ้ ท่าชินเสมอ - ทา่ นไม่เคยนั่งพิงพนัก ไมเ่ คยเอนหลงั ลงนอน แตน่ ั่งตัวตรง ตลอดชีวติ - ทา่ นไม่เคยอยู่จำ�พรรษาในวัดใกล้บา้ น อย่แู ต่ในป่า ๑๓๖ พุทธมนตบ์ ำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภูมิ

อเจลกัสสปะได้ฟังเรื่องที่น่าอัศจรรย์ไม่น่าเป็นไปได้ของพระเถระ ก็เกิดขอบรรพชาอุปสมบทหลังจากนั้นปลีกตัวบำ�เพ็ญความเพียรอยู่ ไม่นานกบ็ รรลุ อรหตั ตผล ในตอนสดุ ทา้ ยของชีวติ รพเถระนง่ั ปรินิพพานในทา่ มกลางภิกษุ ท้งั หลาย ท�ำ เตโชธาตุปรนิ ิพพานแล้วไฟลุกขนึ้ ท่วมสรรี ะ ผวิ หนัง เน้อื และโลหติ ถกู เผ่าไหมส้ ิ้นไปเหมือนเนยใส ยงั คงเหลืออยู่แตธ่ าตุ ที่มลี กั ษณะดังดอกมะลติ ูม มีค�ำ ถามว่า พระเถระท�ำ กรรมอะไร ทา่ นจงึ ไม่เคยเจ็บป่วยเลย พระอรรถกถาจารย์อธบิ ายว่า ในสมยั พระพุทธเจ้าปทมุ มตุ ตระ มีภกิ ษหุ นึ่งแสนเปน็ บริวารได้เที่ยว จารกิ ไปในป่า แล้วโดนดอกหญา้ มีพษิ ทำ�ใหเ้ กดิ ป่วยขน้ึ พระพกั กุลละ เปน็ ดาบสผมู้ ีฤทธไิ์ ดน้ �ำ โอสถมาถวาย ทำ�ใหภ้ กิ ษเุ หล่านัน้ หายจากอาพาธ นอกจากนัน้ ในสมัยพระพุทธเจ้ากสั สปะ ท่านเปน็ ชาวนา ทา่ น หยุดไถนาในวนั แรกนา ใหส้ ร้างโรงครัว และเวจกฎุ ีจัดยาถวายภกิ ษุ สงฆเ์ ป็นประจ�ำ ดว้ ยกรรมนที้ า่ นจึงเปน็ ผูป้ ราศจากอาพาธ เราน�ำ เอาความรู้ในขอ้ นมี้ าใช้ในการดำ�เนนิ ชีวิต โดยหาโอกาส ท�ำ บญุ ดว้ ยการถวายยารกั ษาโรคแก่พระภกิ ษผุ ู้มีศีล ครบู าอาจารย์ผู้ ใหก้ รรมฐานทัง้ หลาย กจ็ ะมีอานสิ งส์ ท�ำ ให้เรามสี ขุ ภาพดี แขง็ แรง ไม่เป็นโรค และมอี ายุยนื พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณฺโณ วัดปา่ กดุ ฉนวนอดุ มพร ๑๓๗

การช่วยเหลือดแู ลผูป้ ว่ ยระยะสุดทา้ ย “ความเจ็บป่วยเม่ือ เกิดข้ึนแล้วมิได้เกิดผลกระ ทบต่อร่างกายเท่านั้นหาก ยังมีอิทธิพลต่อจิตใจด้วย” คนที่เจ็บป่วยส่วนใหญ่แล้ว จึงไม่ได้มีความเจ็บป่วยทาง กายเทา่ น้ัน หากยังมคี วาม เจ็บป่วยทางจิตใจอีกด้วยยิ่ง พระไพศาล วสิ าโล ผปู้ ่วยระยะสดุ ทา้ ยดว้ ยแลว้ ความเจบ็ ป่วยทางจติ ใจเปน็ สาเหตุแหง่ ความทุกข์ทรมานไม่น้อยไปกว่าความเจ็บป่วยทางกายหรืออาจจะมากกว่า ด้วยซ้ำ�เพราะสิ่งท่ีเผชิญเบ้ืองหน้าเขาคือความตายและความ พลดั พราก สญู เสยี อยา่ งสิ้นเชิง ซ่งึ กระต้นุ เร้าความกลัว ความวติ ก กังวลและความรู้สึกอ้างว้างโดดเดี่ยวให้ผุดขึ้นมาอย่างเข้มข้นรุนแรง อย่างที่ไมเ่ คยประสบมาก่อน ด้วยเหตุนี้ผู้ป่วยจึงต้องการการดูแลรักษาทางจิตใจไม่น้อยไป กวา่ การดูแลทางรา่ งกาย และส�ำ หรับผู้ปว่ ยระยะสดุ ท้ายซ่งึ แพทย์ หมดหวังทจี่ ะรักษารา่ งกายให้หายหรือดีขึน้ กวา่ เดมิ แล้ว การดูแล ชว่ ยเหลอื ทางจติ ใจกลบั จะมีความสำ�คญั ย่งิ กวา่ เพราะแม้ร่างกาย จะเสื่อมถอยลงไปเร่อื ยๆ แต่จิตใจยงั มีโอกาสท่ีจะกลับมาดขี น้ึ หาย ทุรนทรุ าย จนเกดิ ความสงบขึ้นไดแ้ มก้ ระทัง่ ในวาระสดุ ทา้ ยของ ชวี ติ ทั้งน้ีเพราะกายกับใจแม้จะสัมพันธก์ นั อยา่ งใกล้ชิด แตเ่ ม่ือ กายทุกข์ ไมจ่ ำ�เปน็ วา่ ใจจะต้องเป็นทุกข์ไปกับกายดว้ ยเสมอไปเรา ๑๓๘ พทุ ธมนตบ์ �ำ บดั อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ

สามารถรักษาใจไม่ให้ทุกข์ไปกับกายได้ดังพระพุทธองค์ได้เคยตรัสแก่น กลุ ปิตาอุบาสกผปู้ ่วยหนักว่า “ขอให้ท่านพิจารณาอยา่ งน้วี า่ เมื่อกาย เรากระสับกระส่าย จิตเราจะไมก่ ระสบั กระส่าย” ในสมัยพุทธกาลมีหลายเหตุการณ์ที่พระพุทธองค์และ พระสาวกได้ทรงมีส่วนช่วยเหลือผู้ท่ีกำ�ลังป่วยและใกล้ตายเป็นการ ชว่ ยเหลอื ท่มี ุง่ บ�ำ บดั ทุกขห์ รอื โรคทางใจโดยตรง ดังมบี ันทกึ ในพระ ไตรปฎิ กว่า คราวหนึ่งทฆี าวุอุบาสกปว่ ยหนกั ไดข้ อให้บดิ าช่วยพา เขา้ เฝา้ พระพุทธองค์ และกราบทูลวา่ ตนเองป่วยหนกั เห็นจะอยูไ่ ด้ ไมน่ าน พระพทุ ธองค์ทรงแนะใหท้ ฆี าวุอบุ าสกตัง้ จิตพิจารณาว่า ๑. จักมคี วามเลอ่ื มใสไม่หวัน่ ไหวในพระพุทธเจ้า ๒. จักมีความเลื่อมใสไม่หวน่ั ไหวในพระธรรม ๓. จกั มีความเล่ือมใสไม่หวน่ั ไหวในพระสงฆ์ ๔. จักตงั้ ตนอยใู่ นศีลที่พระอริยะสรรเสริญ เม่อื ทีฆาวทุ ลู วา่ ได้ประกอบตนอยู่ในธรรมทั้ง ๔ ประการแล้ว พระพุทธองค์ก็ทรงแนะให้ทีฆาวุพิจารณาว่าสังขารทั้งปวงน้ันไม่เที่ยง เปน็ ทกุ ข์ และเปน็ อนตั ตา ทฆี าวไุ ด้พจิ ารณาเห็นตามนนั้ หลงั จาก นั้นพระพุทธเจ้าได้เสด็จออกไปไม่นานทีฆาวุก็ถึงแก่กรรมพระพุทธ องค์ได้ตรัสในเวลาต่อมาว่าอานิสงส์จากการท่ีทีฆาวุพิจารณาตามที่ พระองค์ได้ตรัสสอน ทฆี าวไุ ดบ้ รรลุเป็นพระอนาคามี ในอีกทห่ี น่ึงพระพุทธเจา้ ไดต้ รสั สอนว่า เมอื่ มอี ุบาสกปว่ ยหนัก อบุ าสกด้วยกันพึงให้ค�ำ แนะน�ำ ๔ ประการว่า จงมีความเลือ่ มใส อนั ไม่หวนั่ ไหวในพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ และมีศลี ทพี่ ระ อรยิ ะสรรเสริญ จากน้ันใหถ้ ามวา่ เขายังมีความหว่ งใยในมารดาบิดา ในบุตรและภริยา และในกามคุณ ๕ อยหู่ รือ พึงแนะให้เขาละความ พระธาตรี อุปฺปลวณโฺ ณ วดั ป่ากุดฉนวนอดุ มพร ๑๓๙

ห่วงใยในมารดาบดิ า ในบุตรและภรยิ า และในกามคณุ ๕ (รปู รส กลนิ่ เสยี ง สัมผสั ท่ีน่าพอใจ) จากนนั้ ก็แนะให้เขานอ้ มจติ สภู่ พภมู ทิ ่ี สงู ข้ึนไปเร่ือยๆ จนถึงขนั้ ละจากพรหมโลก น้อมจิตส่คู วามดบั แหง่ กายตน (สักกายนโิ รธ) อันเปน็ ความหลุดพ้นเช่นเดยี วกับการหลุด พน้ จากอาสวะกิเลส กรณีของพระติสสะเป็นอีกกรณีหนึ่งที่น่าสนใจพระติสสะได้ล้ม ปว่ ยดว้ ยโรครา้ ย มีตุ่มขนาดใหญข่ น้ึ เต็มตวั ตมุ่ ทแี่ ตกก็ส่งกลิน่ เหมน็ จนผ้าสบงจีวรเปอ้ื นดว้ ยเลือดและหนอง เมอ่ื พระพทุ ธองค์ทรงทราบ จึงเสดจ็ ไปดแู ลรักษาพยาบาล ผลดั เปลยี่ นสบงจีวร ตลอดจนถูสรรี ะ และอาบน�้ำ ให้ พระตสิ สะเมอ่ื สบายตัวและรู้สึกดีขึน้ พระองค์ก็ตรสั วา่ “อกี ไม่นาน กายนีจ้ ะนอนทับแผน่ ดิน ปราศจากวิญญาณ เหมอื น ทอ่ นไม้ทีถ่ กู ทง้ิ แลว้ หาประโยชน์ไม่ได”้ พระตสิ สะพิจารณาตาม เมอ่ื พระพุทธองคต์ รัสเสรจ็ พระตสิ สะก็บรรลเุ ป็นพระอรหนั ต์ พร้อมกับดับ ขนั ธ์ไปในเวลาเดียวกัน จากตัวอยา่ ง ๓ กรณีที่เลา่ มา มีขอ้ พิจารณา ๒ ประการ คือ ๑. ความเจบ็ ปว่ ยและภาวะใกล้ตายนน้ั แม้จะเป็นภาวะวิกฤติ หรือความแตกสลายในทางกาย แตส่ ามารถเปน็ “โอกาส” แหง่ ความหลดุ พน้ ในทางจิตใจ หรอื การยกระดบั ในทางจติ วิญญาณได้ ความเจ็บป่วยและภาวะใกล้ตายจึงมิได้เป็นสิ่งเลวร้ายในตัวมันเอง หากใช้ใหเ้ ปน็ กส็ ามารถเป็นคณุ แก่ผเู้ จบ็ ป่วยได้ ๒. ค�ำ แนะน�ำ ของพระพุทธเจา้ สามารถจ�ำ แนกเป็น ๒ สว่ นคอื - การนอ้ มจติ ให้มีศรทั ธาในพระรัตนตรัยและความม่นั ใจ ในศลี หรอื ความดที ไี่ ดบ้ �ำ เพ็ญมา กลา่ วอกี นยั หน่งึ คือการนอ้ มจติ ให้ ระลกึ ถึงสง่ิ ท่ดี งี าม ๑๔๐ พทุ ธมนต์บ�ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภูมิ

- การละความหว่ งใยและปล่อยวางในส่ิงทงั้ ปวง เพราะแลเหน็ ดว้ ยปัญญาว่าไมม่ อี ะไรท่ีจะยดึ ถอื ไวไ้ ดเ้ ลย คำ�แนะนำ�ของพระพุทธเจ้าดังกล่าว เปน็ แนวทางอยา่ งดี สำ�หรับการให้ความช่วยเหลือทางจิตใจแก่ผู้ใกล้ตายในปัจจุบันใน บทความน้จี ะนำ�หลักการดังกล่าวมาประยุกตส์ �ำ หรบั แพทย์ พยาบาล และญาตมิ ติ รที่ตอ้ งการช่วยเหลือผู้ใกล้ตาย โดยน�ำ เอาประสบการณ์ จากกรณตี ัวอย่าง อน่ื ๆ มาประกอบเป็นแนวทางดังตอ่ ไปนี้ ๑. ใหค้ วามรกั และความเห็นอกเหน็ ใจ ผู้ป่วยระยะสุดท้ายไม่เพียงถูกความเจ็บปวดทางกายรุมเร้า เทา่ นั้น หากยังถูกรบกวนด้วยความกลัว เชน่ ความกลวั ตาย กลวั ท่ีจะถกู ทอดทิ้ง กลวั ทจ่ี ะตายอยา่ งโดดเดยี่ วอา้ งว้าง กลวั ส่ิงทร่ี อ อยขู่ ้างหนา้ หลงั จากสิน้ ลม ตลอดจนกลัวความเจ็บปวดท่ีจะเกดิ ขึน้ ความกลัวดังกล่าวอาจสร้างความทุกข์ให้แก่เขาย่ิงกว่าความเจ็บ ปวดทางกายด้วยซ้ำ� ความรกั และก�ำ ลังใจจากลกู หลานญาตมิ ติ รเปน็ ส่ิงสำ�คัญในยามนี้เพราะสามารถลดทอนความกลัวและช่วยให้เขา เกิดความมั่นคงในจิตใจได้พึงระลึกว่าผู้ป่วยระยะสุดท้ายน้ันมีสภาพ จิตที่เปราะบางอ่อนแออย่างมากเขาต้องการใครสักคนท่ีเขาสามารถ พง่ึ พาได้ และพรอ้ มจะอยู่กับเขาในยามวิกฤต หากมีใครสักคนที่ พร้อมจะให้ความรักแก่เขาได้อย่างเต็มเปี่ยมหรืออย่างไม่มีเง่ือนไข เขาจะมีกำ�ลงั ใจเผชิญกบั ความทุกข์นานาประการทโี่ หมกระหน่ำ�เขา้ มา ความอดทนอดกลั้น เห็นอกเห็นใจ ออ่ นโยนและใหอ้ ภยั เป็น อาการแสดงออกของความรัก ความทกุ ข์ทางกายและสภาพจิตท่ี เปราะบางมักทำ�ให้ผปู้ ว่ ยแสดงความหงดุ หงิด กราดเกร้ียว ออก มาไดง้ า่ ย เราสามารถช่วยเขาได้ด้วยการอดทนอดกล้นั ไม่แสดง พระธาตรี อุปปฺ ลวณโฺ ณ วดั ปา่ กุดฉนวนอุดมพร ๑๔๑

ความข่นุ เคืองฉุนเฉยี วตอบโต้กลบั ไป พยายามให้อภยั และเห็นอก เห็นใจเขา ความสงบและความออ่ นโยนของเราจะชว่ ยใหผ้ ูป้ ว่ ยสงบ นง่ิ ลงไดเ้ ร็วขน้ึ การเตอื นสติเขาอาจเป็นสงิ่ จำ�เป็นในบางครั้ง แต่ พึงทำ�ดว้ ยความน่มุ นวลอยา่ งมีเมตตาจติ จะทำ�เช่นน้นั ไดส้ ิ่งหนึ่งท่ี ญาตมิ ติ รขาดไม่ได้คือมีสติอยูเ่ สมอ สติช่วยให้ไม่ลืมตัว และประคอง ใจใหม้ ีเมตตา ความรัก และความอดกลั้นอย่างเต็มเป่ยี ม “แมไ้ มร่ ้วู า่ จะพดู ให้กำ�ลังใจแก่เขาอยา่ งไรดี เพยี งแค่การใช้ มอื สัมผัสผ้ปู ว่ ยดว้ ยความอ่อนโยน ก็ช่วยให้เขารับรู้ถึงความรกั จาก เราได”้ เราอาจจับมือจบั แขนเขา บบี เบาๆ กอดเขาไว้ หรือใชม้ ือท้งั สอง สัมผัสบรเิ วณหนา้ ผากและหนา้ ท้อง พร้อมกับแผ่ความปรารถนาดี ให้แกเ่ ขา ส�ำ หรับผู้ที่เคยทำ�สมาธิภาวนา ขณะท่สี ัมผสั ตัวเขา ให้ นอ้ มจติ อยใู่ นความสงบ เมตตาจากจติ ท่ีสงบและเป็นสมาธิจะมีพลัง จนผ้ปู ว่ ยสามารถสัมผสั ได้ การแผเ่ มตตาอยา่ งหนง่ึ ท่ชี าวพทุ ธธเิ บตนิยมใชก้ ค็ อื การน้อม ใจนกึ หรอื อัญเชญิ ส่งิ ศกั ดสิ์ ทิ ธท์ิ ี่ผปู้ ่วย(หรือเรา)เคารพนบั ถือ เช่น พระพุทธเจา้ พระโพธิสัตว์ หรือเจา้ แม่กวนอิม ใหม้ คี วามรู้สกึ วา่ ท่านเหลา่ น้ันปรากฏเปน็ ภาพนมิ ติ อยเู่ หนือศรี ษะของผู้ป่วย จากน้นั จินตนาการว่าท่านเหล่าน้ันได้เปล่งรังสีแห่งความกรุณาและการ เยยี วยา เป็นล�ำ แสงอันน่มุ นวลอาบรดทั่วร่างของผปู้ ่วย จนร่างของ ผูป้ ่วยผสานเปน็ อนั หน่งึ อันเดียวกบั ลำ�แสงนั้น ขณะทีน่ อ้ มใจนึกภาพ ดังกลา่ ว เราอาจสมั ผัสมอื ของผปู้ ว่ ยไปด้วย หรอื นงั่ สงบอยขู่ ้างๆ เตยี งผู้ปว่ ยก็ได้ ๑๔๒ พทุ ธมนต์บำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภูมิ

๒. ช่วยให้ผูป้ ่วยยอมรบั ความตายทจี่ ะมาถงึ การรู้ว่าวาระสุดท้ายของตนใกล้จะมาถึงย่อมช่วยให้ผู้ป่วยมี เวลาเตรียมตัวเตรยี มใจในขณะท่สี ังขารยงั เอ้อื อ�ำ นวยอยู่ แตม่ ีผ้ปู ่วย จำ�นวนมากที่ไม่คาดคิดมาก่อนว่าตนเป็นโรคร้ายที่รักษาไม่หายและ อาการไดล้ ุกลามมาถงึ ระยะสดุ ท้ายแล้ว การปล่อยเวลาให้ล่วงเลย ไปโดยปกปิดความจริงไม่ให้ผู้ป่วยรับรู้ย่อมทำ�ให้เขามีเวลาเตรียมตัว ได้น้อยลง อย่างไรกต็ ามการเปิดเผยความจริงซ่งึ เป็นข่าวรา้ ยโดยไม่ ได้เตรยี มใจเขาไวก้ อ่ น กอ็ าจทำ�ใหเ้ ขามีอาการทรุดหนกั ลงกว่าเดมิ โดยทั่วไปแลว้ แพทย์จะมีบทบาทสำ�คญั ในเร่ืองนี้ โดยเฉพาะหลงั จาก ท่ีได้สร้างความสัมพันธ์ท่ีใกล้ชิดหรือได้รับความไว้วางใจจากผู้ป่วย แลว้ แต่แม้กระนนั้ การท�ำ ให้ผ้ปู ว่ ยยอมรบั ความตายทก่ี ำ�ลงั จะเกิด ขน้ึ มักเปน็ กระบวนการทีใ่ ชเ้ วลานาน นอกเหนอื จากความรกั และ ความไวว้ างใจแลว้ แพทย์ พยาบาล ตลอดจนญาติมิตร จ�ำ ตอ้ งมี ความอดทน และพรอ้ มทจี่ ะฟังความในใจจากผู้ปว่ ย แต่บางครั้งหน้าที่ดังกล่าวก็ตกอยู่กับญาติผู้ป่วยเนื่องจากรู้จัก จติ ใจผ้ปู ว่ ยดกี ว่าแพทย์ ญาตินน้ั มกั คดิ ว่าการปกปิดความจริงเปน็ สงิ่ ดีกวา่ (จะดีส�ำ หรบั ผปู้ ่วยหรือตนเองกแ็ ล้วแต่) แต่เท่าท่เี คยมี การสอบถามความเห็นของผปู้ ว่ ย ผ้ปู ่วยส่วนใหญต่ อ้ งการให้เปิดเผย ความจริงมากกว่าที่จะปกปดิ และถงึ จะปกปิด ในทส่ี ดุ ผปู้ ่วยก็ย่อม รู้จนได้จากการสังเกตอากัปกิริยาของลูกหลานญาติมิตรท่ีเปลี่ยนไป เช่นจากใบหนา้ ทีไ่ รร้ อยยมิ้ หรือจากเสยี งทพี่ ดู คอ่ ยลง หรอื จากการ เอาอกเอาใจท่มี มี ากข้นึ อยา่ งไรกต็ ามเม่ือบอกข่าวรา้ ยแล้ว ใช่วา่ ผู้ป่วยจะยอมรบั ความ จรงิ ไดท้ ุกคน แตส่ าเหตอุ าจจะมมี ากกว่าความกลัวตาย เป็นไปได้ พระธาตรี อปุ ฺปลวณฺโณ วัดป่ากุดฉนวนอดุ มพร ๑๔๓

ว่าเขามภี ารกิจบางอย่างทย่ี งั ค่งั ค้างอยู่ หรอื มีความกงั วลกบั บาง เร่ือง ญาตมิ ติ รควรชว่ ยให้เขาเปิดเผยหรือระบายออกมา เพ่ือจะได้ บรรเทาและเยยี วยา หากเขามั่นใจวา่ มคี นที่พรอ้ มจะเข้าใจเขา เขา จะรู้สึกปลอดภยั ท่จี ะเผยความในใจออกมา ขณะเดยี วกันการซัก ถามที่เหมาะสมอาจช่วยให้เขาระลึกรู้ว่าอะไรคือสิ่งท่ีทำ�ให้เขามิอาจ ยอมรับความตายได้ หรือทำ�ใหเ้ ขาไดค้ ดิ ขน้ึ มาวา่ ความตายเป็นสง่ิ ที่ มิอาจหลีกเล่ียงได้และไม่จำ�ต้องลงเอยอย่างเลวร้ายอย่างที่เขากลัว สิ่งท่ีญาติมิตรพึงตระหนักในขั้นตอนนี้ก็คือรับฟังเขาด้วยใจท่ีเปิด กวา้ งและเห็นอกเห็นใจ พร้อมจะยอมรับเขาตามทีเ่ ปน็ จรงิ และให้ ความสำ�คัญกับการซักถามมากกวา่ การเทศนาสัง่ สอน การช่วยให้เขาคลายความกังวลเก่ียวกับลูกหลานหรือคนท่ีเขา รัก อาจช่วยให้เขาทำ�ใจรับความตายไดม้ ากข้นึ บางกรณีผ้ปู ่วยอาจ ระบายโทสะใส่แพทย์ พยาบาล และญาติมิตร ทั้งน้เี พราะโกรธท่ี บอกข่าวร้ายแก่เขาหรือโกรธที่ปิดบังความจริงเกี่ยวกับอาการของ เขาเป็นเวลานาน ปฏกิ ิรยิ าดงั กล่าวสมควรได้รับความเขา้ ใจจาก ผูเ้ กยี่ วขอ้ ง หากผู้ป่วยสามารถขา้ มพน้ ความโกรธและการปฏเิ สธ ความตายไปได้ เขาจะยอมรับสภาพความเปน็ จริงทีเ่ กิดกบั ตวั เขาได้ งา่ ยขน้ึ “ในการบอกข่าวร้าย ส่งิ ท่ีควรท�ำ ควบคไู่ ปดว้ ยก็คือ การใหก้ �ำ ลัง ใจและความมัน่ ใจแก่เขาว่าเรา (ญาติมิตร) และแพทยพ์ ยาบาลจะ ไม่ทอดทิ้งเขาจะอยู่เคียงข้างเขาและช่วยเหลือเขาอย่างเต็มที่และ จนถึงทสี่ ุด” การใหก้ �ำ ลงั ใจในยามวิกฤตก็มีประโยชนเ์ ช่นกัน ดงั กรณเี ดก็ อายุ ๑๐ ขวบคนหนงึ่ อาการทรุดหนักและอาเจียนเปน็ เลือด ร้อง ๑๔๔ พทุ ธมนต์บำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภูมิ

อยา่ งตนื่ ตระหนกว่า “ผมก�ำ ลงั จะตายแลว้ หรอื ?” พยาบาลได้ตอบ ไปว่า “ใช่ แต่ไมม่ ีอะไรนา่ กลัว ลูกก้าวไปขา้ งหน้าเลย อาจารย์พทุ ธทาส รออยแู่ ลว้ หนเู ปน็ คนกลา้ หาญ ข้าง ๆ หนกู ็มีคุณพอ่ คุณแม่คอย ชว่ ยอย”ู่ ปรากฏว่าเดก็ หายทุรนทรุ าย และทำ�ตามคำ�แนะนำ�ของแม่ ท่ีใหบ้ ริกรรม “พุทโธ” ขณะทหี่ ายใจเข้าและออก ไมน่ านเดก็ ก็จาก ไปอย่างสงบประโยชน์อย่างหนึ่งจากการบอกความจริงแก่ผู้ป่วยก็ คือ ชว่ ยใหผ้ ปู้ ่วยตัดสินใจลว่ งหนา้ ว่าเมอ่ื ตนมีอาการเพยี บหนกั ไม่มี ความร้สู กึ ตัวแล้วจะให้แพทยเ์ ยยี วยารักษาไปถงึ ข้ันไหน จะใหแ้ พทย์ ยืดชวี ติ ไปใหถ้ งึ ทส่ี ดุ โดยใช้เทคโนโลยที ุกอยา่ งเทา่ ที่มี เช่น ปมั๊ หัวใจ ตอ่ ทอ่ ชว่ ยหายใจ และทอ่ ใสอ่ าหารฯ หรือให้งดวิธีการดังกลา่ ว ชว่ ย เพียงแค่ประทงั อาการและปลอ่ ยใหค้ อ่ ยๆ สน้ิ ลมไปอยา่ งสงบ บ่อย คร้ังผู้ป่วยไม่ได้ตัดสินใจในเร่ืองน้ีล่วงหน้าเพราะไม่รู้สภาพท่ีแท้จริง ของตวั ผลก็คือเมื่อเข้าสูภ่ าวะโคมา่ ญาตมิ ิตรจงึ ไมม่ ที างเลือกอนื่ ใด นอกจากการขอใหแ้ พทยแ์ ทรกแซงอาการอย่างถงึ ที่สดุ ซึ่งมักก่อให้ เกิดความทุกข์ทรมานแก่ผู้ป่วยโดยมีผลเพียงแต่ยืดกระบวนการตาย ใหย้ าวออกไป และไมช่ ว่ ยใหค้ ณุ ภาพชวี ติ ดขี ึน้ เลย ซำ�้ ยงั สน้ิ เปลอื ง คา่ ใช้จ่ายเป็นจำ�นวนมาก ๓. ช่วยให้จติ ใจจดจอ่ กับสง่ิ ดงี าม การนึกถึงสิ่งดีงามช่วยให้จิตใจเป็นกุศลและบังเกิดความ สงบทำ�ให้ความกลัวคุกคามจิตได้น้อยลงและสามารถเผชิญกับความ เจ็บปวดได้ดีข้ึนวิธีหนึ่งที่พระพุทธเจ้าและพระสาวกมักแนะนำ�ให้ ผใู้ กลต้ ายปฏิบตั กิ ็คอื การระลกึ ถึงและมศี รทั ธาม่นั ในพระรัตนตรัย คอื พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ จากน้นั กใ็ หต้ ัง้ ตนอยใู่ นศีล และระลึกถึงศีลท่ีได้บำ�เพ็ญมาพระรัตนตรัยน้ันกล่าวอีกนัยหน่ึงคือ พระธาตรี อุปฺปลวณฺโณ วดั ป่ากดุ ฉนวนอุดมพร ๑๔๕

ส่งิ ดงี ามหรือสงิ่ ศกั ด์สิ ทิ ธท์ิ ผ่ี ปู้ ่วยนับถอื ส่วนศีลน้ันก็คอื ความดีงามท่ี ตนได้กระท�ำ มา เราสามารถน้อมนำ�ให้ผู้ป่วยนึกถึงส่ิงดีงามได้หลายวิธีเช่น นำ�เอาพระพุทธรูปหรือสิ่งศักดิ์สิทธ์ิตลอดจนภาพครูบาจารย์ที่ผู้ ป่วยเคารพนับถือมาติดตั้งไว้ในห้องเพื่อเป็นเครื่องระลึกนึกถึงหรือ ชักชวนให้ผู้ป่วยทำ�วัตรสวดมนต์ร่วมกันนอกจากการอ่านหนังสือ ธรรมะใหฟ้ ังแลว้ การเปดิ เทปธรรมบรรยายหรอื บทสวดมนตเ์ ป็นอกี วิธีหนึ่งที่ช่วยน้อมจิตของผู้ป่วยให้บังเกิดความสงบและความสว่าง การนิมนต์พระมาเย่ยี มและแนะน�ำ การเตรียมใจ ยิ่งเปน็ พระทผ่ี ปู้ ่วย เคารพนับถือ จะช่วยให้กำ�ลงั ใจแกเ่ ขาได้มาก อยา่ งไรก็ตามพงึ ค�ำ นึง ถึงวัฒนธรรมและความคุ้นเคยของผู้ป่วยด้วยสำ�หรับผู้ป่วยท่ีเป็นคน จนี ภาพพระโพธิสัตว์หรือเจา้ แม่กวนอมิ อาจนอ้ มน�ำ จติ ใจให้สงบ และมกี �ำ ลงั ใจไดด้ ีกว่า ๑๔๖ พทุ ธมนตบ์ �ำ บดั อโรคยาศาล จ.ชยั ภูมิ

บทสวดมนตส์ ำ�หรับผู้เกดิ วนั อาทติ ย์ “ปางถวายเนตร” พระพทุ ธรปู อยูใ่ นพระอริยาบถยืน ลืมพระเนตร ทง้ั สองเพง่ ไปขา้ งหนา้ พระหตั ถท์ งั้ สองหอ้ ยลงมาประสาน กันอย่รู ะหว่างพระเพลา (ตัก) พระหตั ถ์ขวาซอ้ นเหลอ่ื ม พระหัตถ์ซ้าย อยใู่ นพระอาการสังวรทอดพระเนตรดูตน้ พระศรมี หาโพธ์ิ ประวัตยิ อ่ ... เม่อื พระพทุ ธองคไ์ ด้ตรัสร้แู ล้ว จึงประทบั ยับยงั้ เสวยวิมตุ ตสิ ขุ อยู่ ใต้ร่มโพธ์ิเป็นเวลา ๗ วัน จากนั้นจึงเสด็จออกไปจากภายใต้ร่มโพธิ์ไป ประทับยืนอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ทอดพระเนตรพระ ศรมี หาโพธ์ิ โดยไม่กระพริบพระเนตรเป็นเวลา ๗ วัน เพอื่ รำ�ลึกถงึ คุณ ประโยชน์ของต้นมหาโพธิ์ที่แผ่กิ่งก้านประทานร่มเงา ให้ความชุ่มเย็น เปน็ การอำ�นวยชว่ ยพระองคจ์ นไดต้ รัสรเู้ ปน็ พระพุทธเจ้า บทสวดมนต์บูชาพระประจำ�วันอาทติ ย.์ .. อเุ ทตะยัญจกั ขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส ตัง ตงั นะมัสสามิ หะรสิ สะวัณณงั ปะฐะวปิ ปะภาสงั ตะยชั ชะคุตตา วิ หะเรมุ ทวิ ะสงั เย พราหมะณา เวทะคุ สพั พะ ธัมเม, เต เม นะโม เต จะ มงั ปาละยนั ตุ นะมัตถุ พึทธานัง นะมตั ถุ โพธิยา, นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตตยิ า อมิ งั โส ปะรติ ตงั กตั วา โมโร จะระติ เอสะนา สวดวันละ ๖ จบ จะมีความรงุ่ เรอื งและความสุขสวสั ดตี ลอดกาล ผทู้ เี่ กดิ วนั อาทติ ย์ พงึ ใชส้ ที เี่ ปน็ มงคลส�ำ หรบั เครอื่ งนงุ่ หม่ ประจ�ำ บา้ นเรอื น หรือเคร่ืองประดับตัวเป็นของที่มีสีแดง จะเป็นสิริมงคลลาภผล ดียิ่งนัก ส่วนสีรองๆ ลงไป มีสีมว่ ง สเี ขยี ว สีเทา สีเมฆหมอก สีดอกรัก พึงเว้น สนี �้ำ เงนิ พระธาตรี อุปฺปลวณฺโณ วดั ป่ากดุ ฉนวนอดุ มพร ๑๔๗

บทสวดมนต์สำ�หรบั ผู้เกดิ วันจนั ทร์ “ปางหา้ มสมุทร” พระพทุ ธรปู อยใู่ นพระอรยิ าบถยนื ยกพระหตั ถท์ งั้ สองแบ ตั้งข้ึนยื่นออกไปข้างหน้าเสมอพระอรุ ะ (อก) เป็นกริ ยิ า ห้าม บางแบบเป็นพระทรงเคร่อื ง (บางตำ�ราใช้พระปาง หา้ มพยาธเิ ปน็ พระประจำ�วันจันทร์) “ปางห้ามญาต”ิ พระพทุ ธรปู อยใู่ นพระอรยิ าบถยนื ยกพระหตั ถท์ ง้ั สองยก ข้ึนเสมอพระอุระ (อก) ตั้งฝ่าพระหัตถ์ย่ืนออกไปข้างหน้าเป็นกิริยาห้าม เป็นปางเดยี วกนั กบั ปางห้ามสมุทร นยิ มท�ำ เป็นแบบพระทรงเครอื่ ง ประวตั ิยอ่ ... ครง้ั หนง่ึ ไดเ้ กดิ โรคระบาดครงั้ ใหญข่ น้ึ ในเมอื งไพศาลี มปี ระชาชน ลม้ ตายเปน็ จ�ำ นวนมาก กษตั รยิ ล์ จิ ฉวี เจา้ ผคู้ รองเมอื งจงึ ไดก้ ราบบงั คมทลู อาราธนาพระพทุ ธองค์ ใหเ้ สด็จมาโปรดชาวเมือง พระพทุ ธองคท์ รงรับสัง่ ใหพ้ ระอานนท์ เจรญิ รตั นสตู รและประพรมน�้ำ พระพทุ ธมนตร์ อบพระนคร จนต่อมาภายหลงั โรครา้ ยกห็ ายสน้ิ จากพระนครด้วยพุทธานุภาพ บทสวดมนตบ์ ูชาพระประจำ�วันจนั ทร์... ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สทั โท ปาปัคคะโห ทสุ สปุ ินงั อะกันตงั พทุ ธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปนิ ัง อะกันตงั ธมั มานภุ าเวนะ วนิ าสะเมนตุ ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสปุ นิ ัง อะกันตงั สงั ฆานุภาเวนะ วนิ าสะเมนตุ สวดวนั ละ ๑๕ จบ จะมีความสขุ ความเจริญปราศจากโรคาพยาธทิ ั้งปวง ผทู้ เ่ี กดิ วนั จนั ทร์ ควรใชข้ องประดบั ตวั และบา้ นเรอื นเปน็ สขี าวเหลอื งออ่ นๆ เป็นดที ่ีสุด ส่วนสรี องๆ ลงมา คือสีเขียว สดี �ำ สรกรมทา่ สนี ำ�้ เงิน พึง เวน้ สแี ดง ”ปางโปรดอสรุ นิ ทราหู (ปางไสยาสน์)” ๑๔๘ พทุ ธมนต์บำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ

บทสวดมนตส์ ำ�หรับผู้เกดิ วันอังคาร “ปางโปรดอสรุ ินทราหู (ปางไสยาสน์)” พระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถนอน ตะแคงขวา พระบาททั้งสองข้างซ้อนทับ เสมอกัน พระหัตถ์ซ้ายทาบไปตามพระ วรกาย พระหตั ถข์ วาตงั้ ขนึ้ รบั พระเศยี รและ มพี ระเขนย (หมอน) รองรบั บางแบบพระเขนยวางอยใู่ ตพ้ ระกจั ฉะ (รกั แร)้ ประวตั ยิ ่อ... สมัยหนงึ่ เมือพ่ ระพุทธองคป์ ระทบั อยู่ ณ วัดเชตวัน ในพระนครสาวัตถี คร้ังนั้นอสุรินทราหจู อมอสรู ซึง่ ส�ำ คัญว่ามรี า่ งโตใหญก่ ว่าพระพทุ ธเจ้า จึง ไมย่ อมแสดงความออ่ นน้อม พระพุทธองคท์ รงประสงค์จะลดทิฐิจองอสรู จงึ ทรงเนรมติ กายให้ใหญโ่ ตกว่าจอมอสรู จอมอสูรจึงละทฐิ ยิ อมอ่อนนอ้ ม ต่อพระพุทธองค์ บทสวดมนต์บูชาพระประจ�ำ วันอังคาร... ยสั สานสุ สะระเณนาปิ อันตะลิก เขปิ ปาณิโน ปะตฏิ ฐะมะธิ คัจ ฉนั ติ ภมู ยิ ัง วยิ ะ สพั พะทา สพั พปู ทั ทะวะชาลมั หา ยักขะโจราทิ สมั ภะ วา คะณะนานะ จะ มตุ ตานัง ปะริตตันตัมภะณามะ เห ผทู้ เี่ กดิ วนั องั คาร ควรใชข้ องประดบั ตวั และบา้ นเรอื อนเปน็ สชี มพู หรือ สีแดงหลัว ส่วนสีรองๆ ลงมาคือ สีดำ� สีกรมท่า สีนำ้�เงินแก่ สีเหลอื ง สแี ดง พงึ เวน้ สีขาวนวล พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณโฺ ณ วัดป่ากดุ ฉนวนอดุ มพร ๑๔๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook