Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธมนต์บำบัด_ฉบับอโรคยาศาล

พุทธมนต์บำบัด_ฉบับอโรคยาศาล

Published by pakamas3008, 2020-04-08 22:53:35

Description: พุทธมนต์บำบัด_ฉบับอโรคยาศาล

Search

Read the Text Version

บทสวดมนต์ส�ำ หรับผเู้ กิดวันพุทธ(กลางวัน) “ปางอุ้มบาตร” พระพุทธรูปอยใู่ นพระอริยาบถยืน พระหตั ถท์ ้ังสอง ประคองบาตรราวสะเอว ประวัติยอ่ ... ครัง้ หนง่ึ หลังจากพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าได้ทรงแสดง ธรรมเวสสันดรชาดก โปรดพระพทุ ธบดิ าและหมูพ่ ระ ญาติทง้ั หลาย บรรดาพระประยูรญาตติ า่ งมคี วามแชม่ ช่ืนโสมนัส จนลืมกราบทูลอาราธนาพระพทุ ธองค์ใหม้ ารับภัตตาหารเชา้ ในพระพราชวงั ดงั นัน้ ในวันรุ่งขึ้น พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้า จงึ เสดจ็ ออกรับบณิ ฑบาตจากประชาชนท่ัวไปในกรงุ กบลิ พสั ดุ์ บทสวดมนตบ์ ูชาพระประจำ�วนั พธุ (กลางวัน)... สพั พาสีวิสะชาตนี งั ทพิ พะมันตาคะทงั วิยะ ยนั นาเสติ วสิ ังโฆรัง เสสัญ จาปิ ปะริสสะยัง อาณักเขตตมั หิ สพั พัตถะ สัพพะทา สัพพะปาณินงั สัพพะโสปิ นวิ าเรติ ปะรติ ตนั ตัมภะณามะเห สวดวันละ ๑๗ จบ จะมคี วามสุขสวสั ดยี ่งิ ๆ ขึ้นไปผทู้ ีเ่ กิดวันพุธ ควรใช้ของประดับตัวและบ้านเรืออนเป็นสีเขียว หรือสีเขียวใบไม้ ส่วนสี รอง ๆ ลงมา คือ สีเหลือง สีเทา สีดอกรัก สีเมฆหมอก สีขาวนวล พงึ เวน้ สมี ่วง ๑๕๐ พทุ ธมนต์บำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชัยภมู ิ

บทสวดมนต์สำ�หรบั ผู้เกิดวันพทุ ธ(กลางคนื ) “ปางปาลิไลยก์ (พระประจำ�วนั พุธกลางคืน)” พระพทุ ธรูปอยู่ในพระอริยาบถประทบั (น่งั ) บนก้อน ศลิ า พระบาททงั้ สองวางบนดอกบวั พระหตั ถซ์ า้ ยวาง ควำ่�บนพระขนุ (เข่า) พระหัตถ์ขวาวางหงาย นิยม สรา้ งชา้ งหมอบใชง้ วงจบั กระบอกน�ำ้ อกี ดา้ นหนงึ่ มลี งิ ถอื รวงผ้ึงถวาย ประวัติย่อ... คร้ังหน่ึง พระภิกษุในวัดโฆสิตาราม เมืองโกสัมพี ทะเลาะกันดว้ ยเรอ่ื งพระวินัย พระพุทธเจ้าตรสั สอนให้สามัคคีกนั เท่าไหรก่ ็ ไมย่ อมเชอื่ เพราะตา่ งฝา่ ย ตา่ งยดึ ถอื ในความคดิ ของตนเปน็ ใหญ่ พระพทุ ธ องค์ ทรงรอาพระทยั จงึ เสดจ็ หนไี ปจ�ำ พรรษาอยใู่ นปา่ รกั ขติ วนั แถบหมบู่ า้ น ปาลเิ ลยยกะ ณ ท่ีน่ันมีชา้ งช่อื ปาลเิ ลยยะและลิงตวั หนง่ึ คอยอปุ ัฏฐากอยู่ บทสวดมนต์บชู าพระประจ�ำ วนั พุธ (กลางคืน)... ยสั สานุภาเวนะ ยกั ขา เนวะ ทัสเสนะติ ภิงสะนงั ยมั หิ เจวานุ ยุญชันโต รตั ตนิ ทิวะมะตนั ทิโต สุขงั สุปะติ สุตโตจะ ปาปงั กิญจิ นะ ปสั สะติเอวะมาทิคณุ เู ปตงั ปะริตตันตมั ภะณามะ เห หรือบทสวด... กนิ นุ สนั ตะระมาโนวะ ราหุ จันทงั ปะมญุ จะสิ สังวิคคะรโู ป อา คัมมะ กนิ นุ ภโี ต ตฏิ ฐะสีติ สตั ตะธา เม ผะเล มทุ ธา ชีวันโต นะ สขุ ัง ละเภพุทธาคาถาภิคิโตมหิ โนเจ มุญเจยะ จนั ทิมนั ติ สวดวนั ละ ๑๒ จบ จะมคี วามเจริญสขุ สวสั ดผี ู้ที่เกิดวันราหู หรอื วันพธุ กลางคนื น้ี ควรใชข้ องประดบั ตัวและบา้ นเรอื อนเปน็ สเมฆหมอก สี เทา หรอื สดี �ำ หลวั ส่วนสรี องๆ ลงมา คือ สแดง สีขาวนวล สีกรมท่า สนี ำ้�เงนิ แก่ พึงเวน้ สีเหลอื ง พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณฺโณ วดั ป่ากดุ ฉนวนอุดมพร ๑๕๑

บทสวดมนต์ส�ำ หรับผู้เกดิ วันพฤหัสบดี “ปางสมาธหิ รือปางตรสั รู้” พระพุทธรปู อยใู่ นพระอรยิ าบถประทบั (นั่ง) ขัด สมาธิ พระหตั ถท์ ง้ั สองวางหงายซอ้ นกนั บนพระเพลา (ตกั ) พระหัตถ์ขวาทับพระหัตถ์ซ้าย พระชงฆ์ (แข้ง) ขวาทับ พระชงฆ์ซา้ ย ประวัตยิ อ่ ... ภายหลงั จากทีพ่ ระมหาบรุ ุษไดก้ �ำ ราบพรยามารลงได้แลว้ พระองคจ์ งึ ไดต้ ้งั พระทยั เจรญิ สมาธจิ นไดญ้ าณขน้ั ตา่ งๆ และในทสี่ ดุ กไ็ ดบ้ รรลอุ นตุ ตรสมั มา สมั โพธิญาณ ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในเวลาเช้าตรู่ของวันเพญ็ ข้ึน ๑๕ ค�ำ่ เดือน ๖ (วนั วิสาขบูชา) บทสวดมนตบ์ ูชาพระประจำ�วนั พฤหสั บด.ี .. อัตถิโลเก สลี ะคโุ ณ สจั จังโสเจยยะ นุททะยา เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจ จะกริ ยิ ะมะนตุ ตะรงั อาวชั ชติ วา ธมั มพั ะลงั สะรติ วา ปพุ พะเก ชเิ น สจั จะ พะละมะสายะ สจั จะกริ ิยะมะกาสะหัง สนั ติ ปักขา อะปตั ตะนา สันติ ปา ทา อะวญั จะนา มาตาปติ า จะนิกขนั ตา ชาตะเวทะ ปฏกิ กะมะ สะหะ สัจเจกะเต มยั หัง มะหาปัชชะลโิ ต สิขี วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ อทุ ะ กัง ปตั วา ยะถา สขิ ี สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ เอสา เม สจั จะปาระมตี ิ สวดวนั ละ ๑๙ จบ จะมคี วามสขุ ความเจริญยิ่งๆ ข้ึนไปผทู้ เ่ี กดิ วนั พฤหสั บดี พงึ ใชเ้ ครอื่ งประดบั และบา้ นเรอื นเปน็ สเี หลอื งหรอื สไี พล สว่ นสรี อง ลงมาคอื สีนำ้�เงนิ สีแดง สเี ขียว พงึ เวน้ สีด�ำ สรกรมท่า และสนี �ำ้ เงินแก่ ๑๕๒ พุทธมนต์บ�ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ

บทสวดมนตส์ �ำ หรับผู้เกิดวันศุกร์ “ปางรำ�พึง” พระพทุ ธรปู อย่ใู นพระอริยาบถยืน พระหตั ถ์ทงั้ สอง ประสานกันยกขึ้นประทับท่ีพระอุระ (อก) พระหตั ถขื วา ทบั พระหัตถซ์ ้าย ประวตั ยิ ่อ... ภายหลังจากท่ตี รัสร้ไู ด้ไม่นาน พระสมั มาสัมพุทธเจ้า ซึ่ง ประทบั อยู่ภายใต้ต้นไทร (อชปาลนโครธ) ก็ได้ทรงรำ�พึงถึงธรรมท่ีได้ตรสั รู้ นน้ั วา่ เป็นธรรมทล่ี ะเอยี ดลกึ ซง่ึ ยากแกก่ ารเขา้ ใจ จึงทรงรสู้ ึกออ่ นพระทัยใน การทจี่ ะน�ำ ออกแสดงโปรดสตั ว์ แตเ่ พราะพระมหากรณุ าคุณของพระองค์ ซึ่งไดพ้ ิจารณาเหน็ ว่าสรรพสตั ว์มีภมู ติ า่ งกัน จงึ ทรงพระดำ�รทิ ี่จะแสดงธรรม ตามภูมิชน้ั แหง่ ปญั ญาสรรพสตั วน์ น้ั ๆ บทสวดมนต์บูชาพระประจำ�วันศกุ ร์... อัปปะสันเนติ นาถสั สะ สาสะเน สาธุสัมมะเต อะมะนสุ เสหิ สะทา กพิ พิ สะการภิ ิ ปะรสิ านัญจะตสั สันนะ มะหงิ สายะจะคตุ ตยิ า ยนั เทเสสิ มะหาวี โร ปะริตตันตัมภะณามะ เห สวดวันละ ๒๑ จบ จะมคี วามสขุ สวัสดตี ลอดกาลนานผทู้ ี่เกิดวนั ศุกร์ พึงใชเ้ ครอื่ งประดบั และบา้ นเรือนเปน็ สฟี ้าหรอื สนี ำ้�เงินแก่ สว่ นสรี อง ลงมาคือ สขาวนวล สีมว่ ง สเี หลอื ง พงึ เว้นสเี ทา สีเมฆหมอก สดี อกรัก พระธาตรี อปุ ฺปลวณฺโณ วดั ปา่ กดุ ฉนวนอดุ มพร ๑๕๓

บทสวดมนต์สำ�หรบั ผูเ้ กดิ วันเสาร์ “ปางนาคปรก” พระพทุ ธรูปอย่ใู นพระอริยาบถประทบั (น่ัง) ขดั สมาธิ หงายพระหตั ถ์ท้งั สองวางซอ้ นกันบนพระเพลา (ตกั ) พระหัตถข์ วาซอ้ นทบั พระหตั ถซ์ า้ ยเหมอื นปางสมาธิ แต่ มพี ญานาคขนดร่างเปน็ วงกลมเป็นพทุ ธบลั ลงั กแ์ ละแผ่ พังพานปกคลุมอยเู่ หนือพระเศียร ประวตั ยิ ่อ... คร้งั เม่ือพระสัมมาสมั พุทธเจา้ ประทับเสวยวิมตุ ติสุขอยู่ใต้ต้นจิก (มจุ จลินท)์ บงั เอิญในช่วงน้นั มฝี นตกพร�ำ ๆ ตลอด ๗ วนั พระยานาคมจุ ลนิ ทไ์ ดเ้ ลอื้ ย มาท�ำ ขนดลอ้ ม พระวรกายของพระพุทธองค์ ๗ ชนั้ แลว้ แผพ่ ังพานปกไวใ้ น เบอ้ื งบนเหมอื นกน้ั ฉัตร ดว้ ยประสงค์จะกำ�บงั ลมฝนมิใหต้ อ้ งพระวรกาย บทสวดมนตบ์ ชู าพระประจ�ำ วนั เสาร์.. ยะโตหัง ภะคินิ อะรยิ ายะ ชาติยา ชาโต, นาภิชานามิ สัญจจิ จะ ปาณงั ชวี ติ า โวโรเปตาฯ เตนะ สจั เจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คพั ภสั สะ สวดวนั ละ ๑๐ จบ จะมีความสขุ ความเจรญิ และเกิดความสวัสดีมี มงคลตลอดกาลนาน ผูท้ ่เี กิดวันเสาร์ พงึ ใช้เครื่องประดับและบา้ นเรือนเป็น สดี ำ�หลัว หรือสีมว่ ง สว่ นสีรองๆ ลงมา คือ สเี ทา สีเมฆหมอก สีดอกรัก สนี ้�ำ เงนิ พงึ เว้นสีเขียว ๑๕๔ พทุ ธมนตบ์ �ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ

“ปางสมาธเิ พชร” พระพุทธรูปอยูใ่ นพระอรยิ าบถประทบั (น่ัง) ขดั สมาธไิ ขวพ้ ระชงฆ์ (แขง้ ) หงายฝ่าพระบาททง้ั สองขา้ ง พระหัตถ์วางซ้อนกันบนพระเพลา (ตัก) พระหัตถ์ขวา ซอ้ นทบั พระหตั ถ์ซา้ ย ประวัติย่อ... หลังจากที่พระมหาบุรุษรับหญ้าคาจากนายโสตถิยะแล้ว ทรงปลู าดทโี่ คนตน้ โพธแ์ิ ลว้ ประทบั นงั่ พรอ้ มอธฐิ านความ เพียรคร้ังสำ�คัญว่า “หากไม่ตรัสรู้ก็ไม่ลุกจากที่นี่ ไม่ว่า เลอื ดและเนอ้ื ในกายจะเหย่ี วแห้งจนถึงส้ินชีวติ ก็ตาม” ด้วยพระทัยท่ีแน่วแน่ และมั่นคงพระองคจ์ งึ ชนะอุปสรรค และตรัสรูเ้ ปน็ พระพุทธเจ้าในเวลาตอ่ มา บทสวดมนตบ์ ชู าเม่อื พระเกตเุ สวยอายุ.. ชะยันโต โพธยิ า มเู ล สักยานงั นนั ทิวฑั ฒะโน เอวัง ตวงั วิชะโย โหหิ ชะยสั สุ ชะยะมงั คะเล อะปะราชิตะปลั ลงั เก สเี ส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สพั พะพทุ ธานงั อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ สนุ ักขัตตัง สุมงั คะลงั สุปะภาตงั สุหฏุ ฐติ งั สุกขะโณ สุมตุ หุตโต จะ สุยฏิ ฐงั พรัหมะจารสิ ุ ปะทกั ขิณัง มะโนกมั มัง วาจากมั มัง ปะทักขณิ งั ปะทกั ขิณงั มะโนกัมมงั ปะณิธี เต ปะทกั ขณิ า ปะทักขณิ านิ กตั วานะ ละภนั ตัตเถ ปะทกั ขิเณ (สวดวนั ละ ๙ จบ) พระธาตรี อุปปฺ ลวณฺโณ วัดป่ากุดฉนวนอดุ มพร ๑๕๕

บทสวดพลจักรกัปปวตั นสูตร (บทสวดชยั นอ้ ย นะโมเม) นะโม เม พทุ ธะเตชสั สา ระตะนะตะยะธัมมกิ า เตชะประสิทธิ ปะสีเทวา นารายะปะระเมสุรา สิทธพิ รัหมา จะ อินทา จะ จะตโุ ลกา คัมภรี ักขะกา สะมทุ า ภูตงุ คังกา จะ สะพรหั มาชัยยะประสิทธิ ภะวันตุ เต ชัยยะ ชยั ยะ ธรณิ ธรณ ี อทุ ะธิ อุทะธี นะทิ นะที ชัยยะ ชยั ยะ คะคนละตนละนิสยั นริ ยั สัยเสนนะ เมรรุ าชชะพล นระชี ชยั ยะ ชยั ยะ คมั ภรี ะ โสมภี นาเคนทะนาคี ปศิ าจจะ ภตู ะกาลี ชยั ยะ ชยั ยะ ทนุ นิมติ ตะโรคี ชัยยะ ชยั ยะ สงิ คี สทุ า ทานะ มขุ ะชา ชัยยะ ชยั ยะ วะรุณณะ มุขะ สาตรา ชยั ยะ ชัยยะ จัมปา ทนิ าคะ กลุ ะ คัณโถ ชยั ยะ ชัยยะ คัชชะคนนะตรุ ง สกุ ะระภชุ ง สหี ะ เพียคฑะ ทปี า ชัยยะ ชัยยะ วะรุณณะ มุขะ ยาตรา ชติ ะ ชติ ะ เสนนารี ปุนะ สุทธิ นระดี ชยั ยะ ชัยยะ สขุ า สุขา ชวี ี ชัยยะ ชัยยะ ธระณตี ะเลสะทาสุชยั ยา ชยั ยะ ชยั ยะ ธระณี สานติน สะทา ชยั ยะ ชยั ยะ มงั กะราช รญั ญา ภะวคั เค ชยั ยะ ชยั ยะ วะรณุ ณะ ยักเข ชยั ยะ ชยั ยะ รกั ขะเส สุระภชุ ะเตชา ชัยยะ ชยั ยะ พรหั มเมนทะคะณา ชัยยะ ชัยยะ ราชาธริ าชสาชชยั ชยั ยะ ชยั ยะ ปะฐะวงิ สัพพงั ชัยยะ ชัยยะ อะระหนั ตา ปัจเจกะ พทุ ธะสาวัง ชยั ยะ ชัยยะ มะเหสุโร หะโรหะรินเทวา ชัยยะ ชัยยะ พรัหมา สุรกั โข ชยั ยะ ชัยยะ นาโค วิรุฬหะโก วริ ูปกั โข จันทมิ า ระวิ อินโท จะ เวนะเตยโย จะ กเุ วโร วะรโุ ณปิ จะ อัคคิ วาโย จะ ปาชณุ โห กุมาโร ธะตะรฏั ฏะโก อัฏฐาระสะ มะหาเทวา สทิ ธติ าปะสะอาทะโย อสิ โิ น สาวะกา สัพพา ชัยยะ ราโม ภะวนั ตุ เต ชัยยะ ธัมโม จะ สังโฆ จะ ทะสะปาโล จะ ชยั ยะกัง เอเตนะ ชัยยะ เตเชนะ ชัยยะ โสตถี ภะวันตุเต เอเตนะ พทุ ธะเตเชนะ โหตุเต ชยั ยะมังคะลงั ชยั โยปิ พทุ ธัสสะ สริ ิมะโต อะยงั มารัสสะ จะปาปมิ ะโต ปะราชะโย อุคโฆ สะยัมโพธมิ ัณเฑ ปะโมทติ า ชัยยะ ตะทา พรัหมะคะนา มะเหสิโน ชัยโยปิ พุทธสั สะ สริ มิ ะโต อะยงั มารัสสะ จะ ปาปมิ ะโต ปะราชะโย อุคโฆ สะยมั โพธิมัณเฑ ปะโมทติ า ชยั ยะ ตะทา อินทะคะณา มะเหสิโน ชยั โยปิ พุทธัสสะ สริ ิมะโต อะยัง มารสั สะ จะ ปาปมิ ะโต ปะราชะโย ๑๕๖ พทุ ธมนต์บำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภูมิ

อคุ โฆ สะยัมโพธิมัณเฑ ปะโมทติ า ชัยยะตะทา เทวะคะณา มะเหสโิ น ชัยโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยงั มารัสสะ จะ ปาปมิ ะโต ปะราชะโย อคุ โฆ สะยมั โพธมิ นั เฑ ปะโมทิตา ชยั ยะตะทา สปุ ัณณะคะนา มะเหสิโน ชยั โยปิ พุทธัสสะ สริ ิมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปมิ ะโต ปะราชะโย อคุ โฆ สะยัมโพธิมณั เฑ ปะโมทติ า ชยั ยะ ตะทา นาคะคะณา มะเหสโิ น ชัยโยปิ พุทธัสสะ สริ มี ะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย อคุ โฆ สะยมั โพธิมัณเฑ ปะโมทติ า ชัยยะ ตะทา สะพรัหมะคะณา มะเหสิโน ชะยันโต โพธยิ า มูเล สกั กะยานงั นนั ทิ วัฑฒะโน เอวัง ตะวงั วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมัง คะเล อะปะรา ชติ ะปัลลงั เก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สพั พะพทุ ธานงั อคั คปั ปัตโต ปะโมทะติ สนุ กั ขตั ตัง สุมังคะลงั สปุ ะภาตงั สหุ ฏุ ฐิตงั สุกขะโน สุมหุ ตุ โต จะ สยุ ฏิ ฐงั พรหั มะจารสิ ุ ปะทกั ขิณัง กายะกัมมัง วาจากมั มงั ปะทกั ขณิ ัง ปะทักขณิ งั มะโนกมั มงั ปะณธี ี เต ปะทกั ขิณา ปะทกั ขณิ านิ กัตวานะ ละภัณตัตเถ ปะทักขิเณ เต อัตถะลัทธา สขุ ติ า วริ ุฬหา พุทธะสาสะเน อะโรคา สุขติ า โหถะ สะหะ สัพเพหิ ญาตภิ ิ สุณันตุ โภนโต เย เทวา อัสมงิ ฐาเน อะธคิ ะตา ฑฆี ายุกา สะทา โหนตุ สุขติ า โหนตุ สัพพะทา รักขันตุ สพั พะสัตตานัง รักขันตุ ชนิ ะสาสะนัง ยา กาจิ ปตั ถะนา เตสัง สพั เพ ปเู รนตุ มะโนระถา ยุตตะกาเล ปะวัสสันตุ วสั สงั วสั สา วะราหะกา โรคา จปุ ัททะวา เตสงั นวิ าเรนตุ จะ สพั พะทา กายาสขุ งั จติ ติสุขัง อะระหนั ตุ ยะถาระหัง (อิติ จลุ ละชัยยะสทิ ธิมงั คะลัง สมันตงั ฯ) พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณฺโณ วดั ป่ากดุ ฉนวนอดุ มพร ๑๕๗

ปัจฉิมบท เบื้องสุดท้ายในหนังสือน้ีขอยกเอาปัจฉิมวาจาท่ีมีในครั้งสุดแห่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าของเราท้ังหลายมีสาธกคาถาว่า “ขยวยธมฺมาสงฺขารา อปฺปมาเทน สมปฺ าเทถ” ซงึ่ มีเนอ้ื ความว่า สังขารทัง้ หลายมีความเสอ่ื มไป เป็นธรรมดา ท่านทั้งหลายจงอยู่ด้วยความไม่ประมาทเถิด เพราะความ ประมาทเกิดขึ้นกับบุคคลใดแล้วบุคคลน้ันย่อมอยู่และคลุกคลีกับความตาย จกั เสยี ประโยชน์ ในชวี ติ ทกุ เชา้ ค�ำ่ วนั คนื ถา้ บคุ คลใดอยดู่ ว้ ยความไมป่ ระมาท พึ่งกระทำ�ความดีให้ถึงท่ีสุดแห่งทุกข์ แม้บุคคลนั้นจักมีชีวิตที่ไม่ยืดยาว มชี วี ติ อยวู่ นั เดยี วบคุ คลนน้ั กช็ อื่ วา่ ไมป่ ระมาทไมข่ าดทนุ เพราะสงั่ สมบญุ ไวเ้ ตม็ หัวใจแล้วเขาล่วงจากโลกไปก็ไม่ตกตำ่�เพราะส่ังสมบุญกุศลไว้มาก เม่ือ พลัดพรากจากชวี ติ กไ็ ปสู่สุคตโิ ดยทันที เพราะอ�ำ นาจแห่งบญุ ทเี่ ขาบุคคลน้ัน ได้กระทำ�ไว้ดีแล้วอย่างไม่ประมาทพวกเราก็เหมือนกันเม่ือมาเจอของดีคือ พระพทุ ธศาสนากต็ ง้ั หนา้ ตงั้ ตากระท�ำ บ�ำ เพญ็ ความดใี สต่ วั โดยการหมนั่ ระลกึ นกึ ถงึ คุณความดมี ีพระไตรรตั นเ์ ปน็ ท่ีพงึ่ แหง่ ใจ สรา้ งฐานทต่ี ่ังแหง่ บุญไวใ้ นใจ มสี วดมนตไ์ หว้พระให้ทาน รกั ษาศลี เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจ�ำ ทุกเช้า คำ่�วันคืน ทำ�ได้ดังนี้แล้วจึงสมกับทำ�ตามพุทธพจน์ท่ีมีในคร้ังสุดท้ายแห่ง พระตถาคตเจา้ ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ การปฏบิ ตั บิ ชู า เหนอื ยง่ิ สงิ่ ใดในโลกาคอื การปฏบิ ตั ิ บชู า นน้ั แลที่พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ต้องการ อวสานในปัจฉมิ บทน้ีขอให้ท่าน สาธุชนที่ได้ท่องบ่นสาธยายพุทธมนต์บำ�บัดนี้ จงหายจากโรคาพยาพาธิ ปรารถนามาตรแมน้ สง่ิ ใดถา้ ไมเ่ หลอื วสิ ยั ในธรรมทพ่ี ระบรมศาสดา พระสมั มา สัมพุทธเจ้าตรัสไว้โดยชอบประกอบด้วยธรรมแล้ว ขอส่ิงท่ีท่านปรารถนา จงสำ�เรจ็ ตามเจตนาเทอญ. พระธาตรี อุปฺปลวฺโณ อโรคยาศาล วดั ป่ากดุ ฉนวนอุดมพร ๑๕๘ พทุ ธมนต์บ�ำ บดั อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ

บรรณานกุ รม สวดมนตไ์ หว้พระ ชนะกรรม ไพยนต์ กาสี คณาจารยส์ �ำ นักพิมพเ์ ลี่ยงเซยี ง ส�ำ นกั พมิ พเ์ ลี่ยงเเซียง ๒๕๕๔. ชวี จิต ฉบับเดือนมกราคม ๒๕๕๔ , ชมนาด ธรรมะลลี า ฉบับเดอื นสิงหาคม ๒๕๕๔ หนังสือสวดมนต์วัดบา้ นโคกเหลก็ ,พระมหาชวี อิสโร,โรงพมิ พ์วนิ ยั อินทปั ปัจจยตา , พุทธทาส ภิกขุ สมุนไพรในรั้ววดั , พระธาตร ี อุปฺปลวณฺโณ

“ดูกอ่ นอบุ าสกอบุ าสิกาทัง้ หลาย บุคคลใดถวายทานดว้ ยตวั เอง แต่ไม่ชักชวนผอู้ ื่นให้ถวายทานด้วย บคุ คลนัน้ เมือ่ ตายไปแล้วไมว่ า่ จะเกดิ ในที่ใด ย่อมได้ซึ่งโภคสมบัติ (ความร่ำ�รวย) แต่จักไม่ได้ซึ่งบริวารสมบัติ (มติ รสหาย,บรวิ าร) บคุ คลใดชักชวนผู้อืน่ ให้ถวายทาน แตต่ นเองกลับไม่ถวายบุคคล นนั้ เมอ่ื ตายไปแล้วไม่วา่ จะเกดิ ในที่ใด ยอ่ มได้ซง่ึ บรวิ ารสมบตั ิ (มากด้วย มิตรสหาย, บรวิ าร) แต่จกั ไมไ่ ดซ้ ่งึ โภคสมบัติ (มคี วามยากจน) บุคคลใดตนเองก็ไม่ถวายทานด้วย แม้คนอ่ืนก็ไม่ได้ชักชวนด้วย บุคคลน้ันเมื่อตายไปเกิดในท่ีใด ๆ ย่อมไม่ได้แม้สักว่าข้าวปลายเกรียน (ขา้ วสารหกั ) พออ่มิ ท้อง เขาย่อมเปน็ คนอนาถา หาทพ่ี ึง่ ไมไ่ ด้ บคุ คลใดถวายทานดว้ ยตนเองดว้ ย ชกั ชวนผอู้ นื่ ใหถ้ วายทานดว้ ย บุคคลน้ันเมือ่ ตายไปเกิดในทีใ่ ด ๆ ย่อมไดท้ ง้ั โภคสมบตั ิ(ความราํ่ รวย) ทง้ั บรวิ ารสมบตั ิ (มติ รสหาย, บรวิ าร) สน้ิ รอ้ ยชาตบิ า้ ง พน้ ชาตบิ า้ ง แสนชาตบิ า้ ง” โอวาทธรรม พระสารีบุตร ถอดความจาก พระสตู รและพระอรรถกถาแปล ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท ฉบับมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย : ๒๕๒๕ เลม่ ท่ี ๔๐ หนา้ ๑๐๘


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook