หนงั สอื พุทธมนต์บำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ พมิ พค์ รัง้ ที่ ๑ ธนั วาคม ๒๕๕๔ ผเู้ ขียน เรียบเรยี ง พระธาตรี อุปฺปลวณฺโณ บรรณาธกิ าร วสุพล ลือนาม ผูพ้ ิมพ ์ ปราณี คณู ศรี คอมพวิ เตอร์กราฟิก พเิ ชษฐ์ หุม่ ขุนทด จำ�นวน ๒,๐๐๐ เล่ม ISBN - พิมพท์ ี่ โซ-ดที ราย อ.เมอื ง จ.บรุ ีรัมย์ สถานทต่ี ิดต่อ อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร ต.บา้ นเขว้า อ.บ้านเขวา้ จ.ชยั ภูมิ Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน
ภาพหนา้ ปก พระพุทธบิดาประชวรเสด็จไปโปรดกระท่ังสำ�เร็จพระอรหันต์แล้ว นพิ พานในปที ่ี ๕ นบั ต้ังแต่ตรัสรเู้ ปน็ ต้นมา กำ�หนดเวลาน้วี า่ ตามปฐมสมโพธิ พระพุทธเจ้าเสด็จประทับอยู่ท่ีป่ามหาวัน ใกล้กรุงไพศาลีได้ทรงทราบข่าวว่า พระเจ้าสุทโธทนะพุทธบิดาทรงประชวรหนักด้วยพระโรคชรา ทรงปรารถนา จะได้เฝ้าพระพุทธเจา้ ตลอดถึงพระภิกษสุ งฆท์ ี่เปน็ เจา้ ศากยะและเป็นพระญาติ อีกหลายรูปที่เสด็จออกบวชตามพระพุทธเจ้า เช่น พระอานนท์ พระนันทะ และสามเณรราหุลผู้เป็นหลานพระพุทธเจ้าจึงรับส่ังพระอานนท์ให้แจ้งข่าว พระสงฆ์ ถึงเรื่องท่ีพระองค์จะเสด็จกรุงกบิลพัสดุ์อีกวาระหนึ่งการเสด็จ กรุงกบิลพัสด์ุของพระพุทธเจ้าเพื่อทรงเยี่ยมพุทธบิดาที่กำ�ลังทรงประชวรครั้งน้ี ดเู หมอื นจะเปน็ ครงั้ สดุ ทา้ ยเมอ่ื เสดจ็ ถงึ กรงุ กบลิ พสั ดไ์ุ ดเ้ สดจ็ เขา้ เยย่ี มพทุ ธบดิ า ซึ่งมีพระอาการเพลียหนักแล้ว ทรงแสดงธรรมโปรดพุทธบิดาด้วยเรื่องความ เป็นอนิจจังของสังขาร ปฐมสมโพธิบันทึกพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า ครง้ั นีไ้ วต้ อนหน่งึ ว่า “ดกู รบพิตร อันวา่ ชวี ิตแหง่ มนษุ ยท์ ้งั หลายน้นี ้อยนักด�ำ รงอยู่ โดย พลนั บ่มไิ ด้ยงั่ ยนื อยู่ชา้ ครุวนาดจุ สายฟ้าแลบอันปรากฎมไิ ด้นาน...” พระเจ้าสุทโธทนะซ่ึงทรงสำ�เร็จอนาคามิผลอยู่ก่อนแล้วได้สดับ พระธรรมเทศนาตงั้ แตต่ น้ จนจบกไ็ ดส้ �ำ เรจ็ อรหนั ตใ์ นบนั้ ปลายแหง่ พระชนมช์ พี หลังจากน้ันอีก ๗ วันก็ส้ินพระชนม์(ปรินิพพาน)พระพุทธเจ้าเสด็จสรงนำ้� พระศพพทุ ธบดิ าและถวายพระเพลงิ พรอ้ มดว้ ยพระสงฆพ์ ระประยรู ญาตศิ ากยะ ท้งั มวลจนเสรจ็ สิน้
ค�ำ นำ� ชีวิตเปน็ ส่ิงที่ไดม้ าโดยยาก แต่ชวี ิตก็อยูภ่ ายใต้กฎแหง่ พระ ไตรลักษณ์ คือผนั แปรอยู่ตลอดเวลามที กุ ขเวทนาประกอบอยู่อย่างต่อเนอ่ื ง ทส่ี ดุ ชวี ติ ก็ดับสลายไปสคู่ วามตายดังภาษิตวา่ อนิจจาวะตะสังขารา สังขาร ทั้งหลายไม่เที่ยงแท้เมื่อบุคคลใดเข้าไปดับสภาวะทุกข์ท่ีปรุงแต่งสังขาร ได้ย่อมเกิดสุขน้ันเป็นเรื่องที่ดีแท้เพราะทุกข์กับสังขารที่ทั้งเปล่ียนแปลง และทรมานจากทุกขเวทนาต่างๆโดยเฉพาะอย่างย่ิงทุกขเวทนาที่เกิดจาก ความเจบ็ ป่วยน้นั ยงิ่ หนักหนาสาหัส ถ้าใจเราไม่น้อมลงสคู่ วามจริงและมี หลกั ใจเป็นทีพ่ ึ่งและยึดเหนีย่ วทงั้ กายทง้ั ใจแล้ว จะยิง่ ทุกข์ทรมานดน้ิ รน เพราะทุกขเวทนาน้ันเผาผลาญอยู่ตลอดเวลานาทีดังนั้นเพื่อให้ใจมีหลัก ฐานที่ม่ันคงเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวแล้วเราต้องขวนขวายหาหลักฐานเป็นท่ี ยึดเหนี่ยวหัวใจเอาไว้ไม่ให้ทุกข์มากและใจจะได้ร่มเย็นแช่มช่ืนข้ึนมาโดย อาศัยพุทธานุภาพแห่งองค์พระบรมศาสดาเป็นเครื่องส่องสว่างยังใจให้มีที่ ต้งั เพราะใจท่ีสวา่ งน้ีเองสภาวะทกุ ข์จึงมองไม่เห็น เม่ือจิตตง้ั มั่นทุกขก์ ็หายไป เมื่อใจเรามหี ลกั ฐาน คอื ใจมีสรณะทีพ่ ึง่ อย่างเปน็ หลักฐานท่ีถกู ต้องดงี าม ฉะนั้น บทสวดพุทธมนต์บำ�บัดน้ี จะเปน็ ประโยชน์แก่ใจเราเปน็ อย่างยง่ิ อาศัยความสว่างแห่งใจและพุทธานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าที่ทรงพลงั ยอ่ มยังใจของเราใหส้ งบลงได้อยา่ งไม่ตอ้ งสงสยั หวงั เป็นอย่างยิ่งวา่ หนงั สือพทุ ธมนต์บำ�บัด นี้จะยงั ประโยชนแ์ ก่สาธชุ นเป็นอันมากได้ ให้เป็นคู่มือในการนำ�มาสวดเพ่ือความไพบูลย์แห่งกายใจขอความสุขสวัสดี จงเกิดมีแกท่ า่ นท้งั หลายในท่ที กุ สถาน ในกาลทกุ เมอื่ เทอญ พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณโฺ ณ อโรคยาศาล วัดปา่ กดุ ฉนวนอุดมพร
อนจิ จัง สังขาร ไมเ่ ทีย่ ง ทกุ ขงั ความทกุ ขเ์ กดิ ขนึ้ อยรู่ �่ำ ไปไมม่ วี นั สรา่ งซาอนตั ตาพจิ ารณาวา่ ไมม่ สี ง่ิ ใดหลง เหลอื อยเู่ ลย เพอื่ ท�ำ ใหห้ วั ใจเราแชม่ ชนื่ ดว้ ย“พระสทั ธรรม” พระธาตร ี อปุ ปฺ ลวฺณโณ อโรคยาศาลวดั ปา่ กดุ ฉนวนอดุ มพร 4 พุทธมนตบ์ �ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ
พระพทุ ธเจา้ ทรงตรสั วา่ : “โย ภกิ ขเว มํ อุปฏฐเหยย โส คลิ านํ อปุ ฏฐเหยย” “ผ้ใู ดปราถนาจะอปุ ปัฏฐากเราตถาคต ผู้นนั้ พงึ รักษาภกิ ษปุ ่วยไข”้ การให้การพยาบาลหรอื บำ�บดั โรคภัยไขเ้ จบ็ ของพระสงฆ์ เท่ากบั การไดอ้ ปุ ฏั ฐาก พระพุทธองค์เลยทีเดียวตามความเช่ือผู้คนส่วนมากแล้วมีความเช่ือว่า “ถ้าหากผู้ใดที่ได้ถวายอาหารหรือสิ่งของต่อพระพุทธเจ้าไม่ว่าจะเป็นพระปัจเจก พุทธเจ้า หรือ พระสมั มาสมั พุทธเจา้ บญุ ที่เกดิ จากการถวายทานน้ัน มีอานสิ สงส์ มากจริง ๆ ถึงขนาดผูน้ นั้ ตั้งจติ อธิษฐาน ขอใหไ้ ด้เปน็ สาวก หรือ อคั รสาวก หรอื ปรารถนาพุทธภมู ิ ก็ไดส้ มดงั ใจปรารถนาเลย” ดังน้นั การที่เรามโี อกาสหรอื ตัง้ ใจทจ่ี ะปรนนบิ ตั ดิ ูแลชว่ ยเหลือพระภกิ ษุสงฆ์ ทป่ี ่วยไข้ อาพาธ แล้วเราน้อมจิตของเราระลกึ ถึงองค์พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้า จะส่งผล ต่อจิตใจอนั เปน็ กุศลเป็นอย่างมาก และอานิสสงส์ดังกลา่ วนัน้ บญุ จากการอุปฏั ฐาก พระพทุ ธองคย์ อ่ มมีกำ�ลังกศุ ลมหาศาล หากต้งั จิตอธษิ ฐานวา่ ขอให้เราเจริญในธรรม ในพระศาสนาของพระพทุ ธองคแ์ ลว้ ก�ำ ลังแหง่ ความตั้งใจนัน้ ก็ย่อมมีมากมาย และ ส่งผลใหเ้ รากา้ วหน้าในธรรม มีพละและอินทรยี ์ เพือ่ ความหลุดพน้ ในโอกาสภาย หนา้ ไดเ้ ปน็ แน่แท้ เหตุดังน้นั พวกเราอยา่ มัวประมาทอยู่เลย พงึ กระท�ำ มหากศุ ล ดังกลา่ วให้เกิดข้ึนแกต่ วั เอง ครอบครวั และสหธรรมกิ ของเราโดยพลนั ฯ พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณฺโณ วดั ป่ากดุ ฉนวนอุดมพร 5
อานสิ งสก์ ารบรจิ าคเงนิ บำ�รงุ ภิกษุสามเณรอาพาธ ๑. ช่ือวา่ เสมือนอุปัฏฐากพระพทุ ธเจ้า ดงั พระพทุ ธพจนท์ ่วี ่า“ผูใ้ ดต้องการ อปุ ฏั ฐากเราตถาคต ผ้นู ้ันจงไปอปุ ฏั ฐากภิกษไุ ข้เถิด” ๒. อกศุ ลกรรมในอดตี ชาติ จะเปล่ยี นจากหนักเป็นเบา จากเบาเป็นสญู ถอื เปน็ การสะเดาะเคราะหอ์ ยา่ งหนงึ่ ได้ ๓. เ จา้ กรรมนายเวรในอดตี ชาติเมอ่ื ไดร้ บั สว่ นบญุ นจี้ ะเลกิ จองเวรจองกรรม ช่วยใหพ้ ้นเวรพน้ กรรม ๔. สง่ิ ศักด์ิสทิ ธิค์ ้มุ ครอง เทวดารักษา สรรพวญิ ญาณเมตตาปราณี ๕. เหล่าวิญญาณรา้ ยไมอ่ าจเบยี ดเบียนบีฑาได้ ๖. จติ ใจสงบรม่ เย็น ปวงภยั ไม่เกิด ฝนั รา้ ยไม่มี มสี ง่าราศีผอ่ งใส สุขภาพ เเข็งเเรง กจิ การงานราบรน่ื เปน็ มงคลแกต่ ัว อายยุ ืนยาว ไมเ่ จ็บไขไ้ ดป้ ่วย ๗. คุณธรรมเจรญิ ม่ันคง ปฏบิ ตั ธิ รรมกา้ วหนา้ ปัญญาเกดิ ๘. ไม่พลัดพรากจากคนรัก ของรัก ก่อนเวลาอันควร ๙. ช่อื ว่าได้อปุ ถมั ภ์บำ�รงุ พระพทุ ธศาสนาใหม้ น่ั คง ยัง่ ยืน ๑๐. ถอื เป็นการทำ�สังฆทานอย่างหนงึ่ เพราะเป็นการถวายการอุปฏั ฐากบำ�รุง แกพ่ ระภิกษุสงฆ์จำ�นวนมาก ๑๑. จะไมไ่ รญ้ าตขิ าดมติ รเวลาแก่เวลาเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ยจะมคี นคอยดเู เลไมถ่ กู ทอดทง้ิ ให้อยู่คนเดียว ๑๒. มเี ดชบารมมี าก มยี ศวาสนา เป็นใหญเ่ ป็นโต ไม่มีใครขม่ ข่ีเบยี ดเบยี นได้ ๑๓. จะเป็นทีร่ กั แก่คนท้งั ปวง ไปที่ใดจะมีผ้คู อยช่วยเหลือเก้อื หนนุ ไม่ถูกปล่อย ให้ขดั ขอ้ งในเรือ่ งท้ังปวง ๑๔. จะมีสมบัติมาก และสมบัติจะไมถ่ ูกทำ�ลายโดยราชภัย โจรภัย อคั คีภยั อุทกภยั วาตภยั ฯลฯ ๑๕. จะไดพ้ บพระอริยสงฆ์ ได้พบพระอรหนั ต์ ไดพ้ บพระดี ไดพ้ บพระเครอ่ื ง พระบชู าท่มี ีความศักดสิ์ ิทธิ์ ไมเ่ จอพระปลอม ไม่เจอพระเก๊ พระทศุ ีล ๑๖. จะได้ฟังธรรมจากพระอรยิ เจา้ และเข้าถงึ ธรรมได้โดยงา่ ยดาย ๑๗. จะไดเ้ จอครูบาอาจารยแ์ ละเพื่อนทีท่ รงคุณธรรม ๑๘. ด้วยบญุ ทอี่ ปุ ัฏฐากภิกษุอาพาธน้จี ะเปน็ ปัจจัยแก่สวรรค์และนิพพาน ๑๙. ดว้ ยบญุ ท่ีอุปัฏฐากภิกษอุ าพาธน้ี สามารถอธิษฐานให้เป็นปจั จยั แก่ การบรรลุเป็นพระมหาสาวก พระอัครสาวก พระปจั เจกพทุ ธเจา้ และพระสัมมา สมั พุทธเจา้ ในอนาคตกาลได้ 6 พทุ ธมนตบ์ �ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภูมิ
พระธาตรี อุปปฺ ลวณโฺ ณ วดั ป่ากดุ ฉนวนอุดมพร 7
8 พทุ ธมนตบ์ �ำ บดั อโรคยาศาล จ.ชัยภมู ิ
การปฏิบตั ิธรรม เป็นการท�ำ ตามคำ�สัง่ สอนของ พระพทุ ธเจา้ ทรงตรสั สอนเรื่องกาย วาจา จิต มิได้ สอนเรือ่ งอื่น ทรงสอนใหป้ ฏิบตั ิฝึกหัดจิตใจ ใหเ้ อาจิต พิจารณากาย เรียกว่า กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน หัด สติใหม้ ากในการค้นควา้ เรียกว่า ธมั มวิจยะ พิจารณา ให้พอทีเดียว เมื่อพิจารณาพอจนเป็นสติสมั โพชฌงค์ จิตจึงจะเป็น สมาธิ รวมลงเอง
“เรา เกิด แก่ เจ็บ ตาย ในโลกนี้หนกั ขนาดไหน การเกิดแกเ่ จ็บตายไม่ใชเ่ รื่องเล็กน้อย เป็นเรือ่ งทกุ ข์ ทง้ั น้นั ไม่ปรากฏว่าเป็นความสขุ เลย เวลาประกอบ ความเพียรเท่านี้ทำ�ไมจะเห็นว่าเป็นความทุกข์เป็น ความลำ�บาก เราจะหาแดนพ้นทุกข์ได้ที่ตรงไหน จุด ใดจะเป็นจดุ ที่เราเกิดความอบอุ่นมนั่ ใจ ถ้าไม่เกิดจาก ความเพียรความพยายาม หนกั กเ็ อาเบากส็ ู้ เปน็ กส็ ู้ ตายก็สไู้ ม่ถอย ตายเอาดาบหนา้ นีเ้ ทา่ น้นั ท�ำ แบบนี้ แลคือ “ลกู ศิษยต์ ถาคต” ใหถ้ ือกิจนีเ้ ปน็ สำ�คญั นีแ่ หละ แดนแห่งความพ้นทุกขอ์ ย่ตู รงนี้ 10 พทุ ธมนตบ์ ำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ
การประกอบพิธีกรรมต่างๆ ทางพระพุทธศาสนาน้ันพิธีสำ�คัญอย่างแรกที่ ต้องท�ำ คือ กลา่ วคำ�บูชาพระรตั นตรัย ทำ�ไมจึงเป็นเช่นนั้น ขอยกตัวอย่าง่าย ๆ ใคร เคยเลน่ กฬี าผเู้ ลน่ จะอบอนุ่ รา่ งกายเรยี กวา่ “วอรม์ ” รา่ งกายใหพ้ รอ้ มกอ่ น ในขน้ั ตอน สวดมนต์เช่นกัน โดยเฉพาะการสวดมนต์ที่มุ่งหวงั ผลแก้ไขกรรม ต้องไม่ลืมว่า จิตใจ ของคนทีท่ �ำ กรรมไม่ดีน้ัน มนั มกั ว้าวุ่นขาดทีพ่ ึง่ จึงต้องหาหลกั ให้ใจยึดเหนีย่ วอยู่กบั ที่ และทพี่ งึ่ อนั ดสี ดุ ของพทุ ธบรษิ ทั ทกุ หมเู่ หลา่ ไมม่ อี ะไรประเสรฐิ เทยี บเทา่ คณุ ของ พระรัตนตรัย บทนี้ จงึ น�ำ บทสวดมนตเ์ กยี่ วกบั การบชู าพระรตั นตรยั มาแนะใหส้ วดกนั เรยี ก ว่าเป็นการ “ไหว้ครู” ก่อนสวดมนต์บทอื่นๆ ต่อไป บทสวดมนต์เหล่านี้ สามารถ คุ้มครองป้องกนั ใจได้สารพดั ทั้งยังกำ�จัดสิ่งชว่ั ร้าย ให้ห่างไกลตัวเราได้ พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณโฺ ณ วัดปา่ กุดฉนวนอุดมพร 11
วิธีชำ�ระล้างใจ นอกจากจะใช้ยาธรรมโอสถ คือ ปฏิบัติตามคำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ แล้วนน้ั อกี วิธีหน่ึงทน่ี ิยมท�ำ คือ การสวดสาธยาย ค�ำ สอนที่พระพทุ ธเจ้าตรัสไว้ เรียกงา่ ย ๆ วา่ “สวดมนต”์ ซง่ึ คนโบราณ ท่านสวดมนต์กันทุกวันไม่ขาดสายย่ิงโดยเฉพาะพระภิกษุสงฆ์ องค์ สามเณร ถือเป็นกจิ ทีข่ าดไม่ไดใ้ นวันหน่งึ ต้องสวดมนตถ์ ึง ๒ ครา เรยี ก ว่า สวดมนต์ท�ำ วัตรเช้าทำ�วตั รเยน็ ประการหน่งึ การไหว้พระสวดมนต์ ถอื เป็นการปฏบิ ตั ิตามหลัก ไตรสกิ ขา คือ ขณะสวดมนต์ ผสู้ วดส�ำ รวมความคกึ คะนองทางกายวาจา กลา่ วแตค่ �ำ สวดทีเ่ ป็นวาจาสภุ าษติ เรียกวา่ ศลี ขณะกลา่ วค�ำ สวดมนต์ ใจของผ้สู วดจดจอ่ กบั บทสวด มิฉะน้ัน จะทำ�ให้สวดผิดสวดถูก จึงทำ�ให้เป็นผู้มีจิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียวคือ การสวดมนต์ เรียกว่า สมาธิ ในการสวดมนต์ ผู้สวดมีความเพียรที่จะละส่ิงเป็นอกุศล (อาตาปี)นึกถึงแต่ส่ิงดีงาม(สติมา)รู้ตัวว่ากำ�ลังทำ�ความดี (สัมปชาโน) ทำ�ให้รู้ว่า ความดี เป็นสิ่งควรทำ� ความช่ัว เป็นส่ิงควรเว้นให้ไกล เรียกว่า ปญั ญา การสวดมนต์ หากทำ�ด้วยความตั้งใจ เรียนรู้ความหมายตาม ค�ำ สวดน�ำ ความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปปฏบิ ตั ิ ยอ่ มสามารถเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมทาง จิตใจ ใหเ้ ปน็ ผมู้ คี วามสะอาด สว่าง สงบได้ ใจท่มี คี ณุ สมบตั ิเช่นน้ียอ่ ม พร้อมที่จะน�ำ ไปแกไ้ ขกรรมของตนเองในทีส่ ดุ จากนี้ ผเู้ รยี บเรยี งขอน�ำ เขา้ สเู่ นอื้ หาบทสวดมนตม์ ากลน้ ดว้ ยคณุ ทางอิทธิปาฏิหาริย์ หากท่านสวดด้วยใจเป็นสมาธิ ด้วยอนุสาสนี ปาฏิหาริย์ หากทา่ นคิดพิจารณาตามความหมายต่อไป
ประวัตอิ โรคยาศาล วัดปา่ กุดฉนวนอุดมพร ในปัจจุบัน อัตราการเกิดโรคมะเรง็ ในเพื่อนมนุษยน์ ัน้ เกิดข้นึ รวดเรว็ และมจี �ำ นวนมากในแตล่ ะปนี �ำ มาซง่ึ ความสญู เสยี ตอ่ ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ อกี ทง้ั ยงั เปน็ ปญั หาดา้ นสาธารณสขุ ทตี่ อ้ งไดร้ บั การแกไ้ ขอยา่ งเรง่ ดว่ นอกี ดว้ ย กลาง ปี ๒๕๕๔ นี่เองได้มีคนไข้มะเร็งจากต่างอำ�เภอได้รับข่าวจากญาติ ท่ีสนิทกันว่า ทางวัดมียาสมุนไพรรักษามะเร็ง จึงเดินทางมาขอรับยา เมื่อ คนไข้มารับยา สอบถามได้ความว่าเป็นมะเร็ง เต้านมระยะสดุ ท้าย อาตมารู้ดีว่าคนไขค้ นนี้ยงั ไงก็ ตอ้ งเสียชวี ติ อย่างแนน่ อน แต่ด้วยความทวี่ ่าคนไข้ มศี รทั ธาและมาไกล และเรากแ็ จกยาเพอ่ื การกศุ ล อยู่แลว้ จึงพูดให้ก�ำ ลังใจคนไข้ไปว่า “อยา่ ทอ้ ใจ และอยา่ สนิ้ หวงั เพราะวา่ ความทอ้ และความสน้ิ หวังนี้เอง เกิดขนึ้ กับเราเมอ่ื ใด เราก็จะไม่มอี ะไร เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จงมีความหวังและยึดเอา พระไตรรัตนเ์ ป็นทห่ี วังนะ” กอ่ นกนิ ยาควรระลึก ถงึ พระรตั นตรยั และครบู าอาจารยด์ ว้ ย และก็ทำ�ใจให้ม่ันคง เพยี งเทา่ นี้ แลว้ กจ็ ัดยาให้คนไขไ้ ป ๓ ชุด ปรากฏว่าหลงั จากนั้นมา ๑๕ วนั คนไข้มะเรง็ คนดงั กล่าวกลับมาขอรับยาอีก แต่การมาของเธอในคร้ังนี้ต่างจากการมาครั้งก่อน มาก ดูเธอสดใสขน้ึ น้ำ�หนักตัวเพม่ิ ข้นึ แผลแห้ง และครงั้ แรกท่ีเจอหนา้ กบั อาตมาเธอพดู พรอ้ มยม้ิ อย่างดใี จว่า “ฉนั คงไมต่ ายแล้วหละหลวงพ่อ อาตมา เองกอ็ ศั จรรยใ์ จมากกบั คนไขม้ ะเรง็ รายน”้ี กย็ นิ ดแี ละอนโุ มทนากบั เขา กเ็ ลยถามเขา ว่านอกจากยาท่ีวัดแล้วโยมกินยาอะไรอีก หรือไม่เขาบอกว่าไม่ได้กินยาอะไรเลย นอกจากยาของทวี่ ดั คนไขร้ ายนก้ี เ็ ลยรอด ไปด้วยอำ�นาจแห่งบุญท่ีตัวเขาเองส่ังสม พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณโฺ ณ วดั ปา่ กดุ ฉนวนอุดมพร 13
เอาไวเ้ พราะยังไมถ่ งึ คราวทีจ่ ะไปนน่ั เอง พอ มคี นไขห้ ายจากการกนิ ยาตม้ คนไขก้ บ็ อกปาก ตอ่ ปาก เปน็ อนั ว่าทีน้ีมีคนไขม้ าเยอะขนึ้ ทาง วัดก็แจกยาเพิ่มข้ึนกว่าเม่ือก่อนมาก ซ่ึงใน ต อ น นี้ ก็ อ า ต ม า ไ ด้ มี โ อ ก า ส ไ ป เ ป็ น ค ณ ะ กรรมการมติ รภาพบ�ำ บดั โรงพยาบาลชยั ภมู ิ ในโครงการดแู ลผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ย ซงึ่ กต็ รงกบั งานทท่ี �ำ อยทู่ วี่ ดั ดว้ ย ในโอกาส นี้ได้มโี อกาสไปศึกษาดูงาน การดูแลผูป้ ่วยมะเร็ง ที่อโรคยาศาล วดั ค�ำ ปะมง อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร ด้วยซ่ึงที่นี่เป็นต้นแบบของอโรคยาศาลโดยมี ดร.หลวงตาปพนพชั ร์ จิรธมฺโม เป็นประธานดแู ลคนไขม้ ะเร็งท่นี ่ันหลวงตา ทา่ นใหค้ วามเมตตาดแู ลคนไขม้ ะเรง็ ทกุ คนเสมอภาคกนั โดยมกี ารน�ำ องคค์ วาม รกู้ ารแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื กรวมทงั้ การแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั มา ผสมผสานกนั เพือ่ ดแู ลคนไขม้ ะเรง็ ด้วยซึ่งเปน็ ท่ีน่าอศั จรรยว์ ่า การดแู ลทีน่ ัน่ เป็นผลดีมากทำ�ให้คนไข้มีกำ�ลังใจท่ีจะต่อสู้และมีความหวังกับการที่ว่าตนจะ หายจากโรคร้ายได้ และการไปดูงานที่วัดคำ�ปะมงในคร้ังน้ันจุดประกายทาง ความคิดวา่ ควรที่จะน�ำ แนวทางและรเิ ร่มิ ชว่ ยเหลือคนไข้ ดว้ ยการช่วยเหลอื ดแู ลทง้ั ดา้ นรา่ งกายและจติ ใจบา้ ง และการชว่ ยเหลอื คนไขม้ ะเรง็ กเ็ ปน็ รปู รา่ ง ขึ้นท่ชี ยั ภมู ิ โดยมนี ายแพทยป์ ระสาท เรอื งสขุ อดุ ม พร้อมทมี จติ อาสาจาก โรงพยาบาลชัยภูมิมาช่วยเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการดูแลคนไข้ท่ีวัด โดยยึดหลัก ธรรมชาตบิ �ำ บดั สมนุ ไพรไทย-จนี การแพทยผ์ สมผสานภายใตก้ ารด�ำ เนนิ งาน ผ่านกระบวนการคุณธรรม เมตตาธรรมสมที่พระบรมศาสดาของพวกเรา ชาวพทุ ธไดพ้ าพวกเราทำ�และไดด้ �ำ เนนิ เป็นคติตัวอย่างที่ดีมาแล้ว เพือ่ ใหถ้ งึ ที่ สดุ ทุกข์คอื พระนพิ พาน ดงั นี้ อ โรคยาศาล วัดปา่ กดุ ฉนวนอดุ มพร จ.ชัยภมู ิ 14 พุทธมนตบ์ ำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภูมิ
พระธาตรี อุปปฺ ลวณโฺ ณ วัดปา่ กุดฉนวนอดุ มพร 15
แผนท่กี ารเดินทาง **หมายเหตุ การเดนิ ทางจากกรงุ เทพ ผา่ น อ.ดา่ นขนุ ทด ใชเ้ สน้ ทาง ทางหลวง หมายเลข ๒๐๑ ผา่ น หนองบัวโคก จตั รุ ัส ถงึ บ้านโนนสง่า ทางแยกเล้ยี ว ซา้ ย ลดั ไปอ�ำ เภอบา้ นเขวา้ จากทางแยกซา้ ยมอื ๗ กม.ถงึ วดั ดตู ามแผนที่ 16 พุทธมนตบ์ �ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ
สวดมนต์ลา้ งใจ ใช้แก้ไขเคราะหก์ รรม ภารกิจในชวี ติ ประจำ�วันอย่างหนง่ึ ซ่งึ ทำ�กันชนิดขาดไม่ได้ คือ การอาบนา้ํ ชำ�ระร่างกายให้สะอาดอยูเ่ สมอ นอกจากช่วยให้รู้สกึ สดชืน่ แล้ว ยังเป็นการรักษาสุขภาพกายอีกทาง ดังค�ำ ท่กี ล่าววา่ “สะอาดกาย เจรญิ วัย” จิตใจ กค็ วรช�ำ ระใหใ้ สสะอาด อย่างน้อยวนั ละครง้ั ยงั ดีจะมผี ลเป็น ความสขุ ดงั ค�ำ ทว่ี า่ “สะอาดใจ เจรญิ สขุ ” และเมอ่ื มคี วามสะอาดทงั้ ใจ-กาย ทำ�ให้มีความสุข ความเจรญิ ไปพร้อมกนั การช�ำ ระทางกาย ท�ำ ไดง้ า่ ยดายมาก แตเ่ รอื่ งทย่ี งุ่ ยาก คอื การช�ำ ระ ลา้ งจติ ใจ ทงั้ นเี้ นอ่ื งจากคณุ ลกั ษณะของใจ เปน็ นามธรรม จบั ตอ้ งสมั ผสั ไมไ่ ด้ มกี ารซดั สา่ ยไปมาไม่อยู่น่งิ ดว้ ยมีสงิ่ ใหค้ ดิ ตลอดเวลา และตดิ อยู่ในอารมณ์ ตา่ ง ๆ ทั้งชอบและชัง เมือ่ ติดค้างในอารมณท์ ่ชี อบใจ กห็ ลงใหลอยใู่ นสงิ่ นั้นหากตกอย่ใู น อารมณช์ งั ยง่ิ แลว้ ใหญ่ เพราะมนั จะท�ำ ใหค้ ดิ แคน้ เคอื งขนุ่ น�ำ ความเดอื ดรอ้ น วนุ่ วายทง้ั กาย-ใจ มาสตู่ นเองอยตู่ ลอดเวลา พระพุทธศาสนา จึงให้ความสำ�คัญเร่ืองการทำ�ใจ ถึงกับยกให้เป็น สว่ นหนึง่ ของค�ำ สอนอนั เปน็ หัวใจของศาสนา ดงั ค�ำ ท่สี อนไว้ในโอวาทปาฏิโมกข์ว่า “การไมท่ ำ�ความชว่ั ทงั้ หลาย การท�ำ ความดใี ห้ถงึ พรอ้ มและการ ทำ�จติ ของตนใหผ้ ่องใส ธรรม ๓ อยา่ งน้ี เปน็ ค�ำ สอนในพระพุทธศาสนา” 18 พุทธมนต์บ�ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ
สวดมนต์ ดลปัญญา น�ำ พาพน้ เคราะหก์ รรมร้าย ยามสูญเสียสง่ิ ของเงินทอง อันเปน็ ทรัพยภ์ ายนอกไปเรายังสามารถ ใช้ความขยนั หมนั่ เพียรหามาไดใ้ หม่ แต่หากคนเราสูญเสยี กำ�ลงั ใจ อันเปน็ ทรัพย์ภายใน จากการท่ตี ้องพบกับเร่อื งรา้ ยตา่ ง ๆ จะเอาอะไรสรา้ งขวญั ใจ กำ�ลงั ใจให้กลบั คืนมา ซงึ่ หากว่าทา่ นเป็นชาวพุทธผูม้ ีศรัทธาไมห่ ว่ันไหว คงตอบพร้อมกนั ได้ว่า ต้องอาศัยความเช่ือมั่นศรัทธาในพระรัตนตรัยแล้วนำ�มาเป็นหลักยึด ของจติ ใจให้ได้ ดว้ ยเมื่อใจของเรามคี วามแนบชิดสนทิ แน่นในคุณความดีงาม ของพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ จะท�ำ ใหส้ ภาวะจติ ใจของเรามน่ั คงเขม้ แขง็ เป็นแรงผลักดันให้เกิดพลังกาย-ใจ ช่วยให้การประกอบกิจน้อยใหญ่สำ�เร็จ ลลุ ว่ งไปด้วยดี บทสวดในหนังสือ “พุทธมนต์บำ�บัดน้ี” นี้ มีความศักด์ิสิทธ์ิด้วย อำ�นาจพระปรติ รธรรมทกุ บท จึงช่วยลดทกุ เคราะห์กรรมให้จางหาย เพราะ เนอื้ หาในบทสวดสว่ นใหญเ่ ปน็ การสรรเสรญิ คณุ ความดขี องพระรตั นตรยั แต่ ที่แยกเปน็ หมวดหม่ไู ว้ กเ็ พ่ือความสะดวกของผู้สวด บางหมวดกแ็ ยกตามที่ โบราณาจารยแ์ นะให้สวดแกเ้ คราะหก์ รรมเฉพาะกรณี หวังเป็นอยา่ งย่งิ วา่ เมือ่ ทา่ นได้ลงมือสวด และปฏบิ ัติตามทแ่ี นะนำ� ไว้ในเล่มนี้ จะช่วยให้เกิดกำ�ลังใจมุ่งม่ันทำ�แต่กรรมดี มีความสุขทั้งในปัจจุบัน และอนาคต จนกวา่ จะหลดุ พน้ เคราะหก์ รรมไดเ้ ดด็ ขาด คอื บรรลนุ พิ พานเทอญ. พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณฺโณ วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร 19
สารบญั หน้า เรื่อง ๒๓ ๓๕ บทสวดมนตท์ ำ�วัตรเช้า ๓๗ ตงั ขณกิ ปัจเวกขณปาฐะวิธี(ปฏิสังขาโย) ๔๐ ปตั ตทิ านะคาถา(กรวดน�้ำ เช้า) ๕๑ บทสวดมนต์ท�ำ วตั รเย็น ๕๒ คำ�นมสั การพระอรหนั ต์แปดทศิ ๕๕ อตตี ปจั จเวกขณปาฐะวิธ(ี อัชมยา) ๕๗ อุทสิ สะนาธฏิ ฐานะคาถา(กรวดน้ำ� อมิ นิ า) ๕๙ ทวตั ติงสาการปาฐะ(พจิ ารนาอาการ ๓๒) ๖๖ พระคาถาอาการะวตั ตาสูตร (พรอ้ มคำ�แปล) ๖๘ ถวายพรพระ(พาหุง) ๗๐ คาถาโพธิบาท(พระคาถากนั ภยั ทัง้ สิบทิศ) ๗๑ พระคาถามงคลจักวาลท้งั แปดทิศ ๗๓ บทไหวพ้ ระบารมี ๓๐ ทัศ ๗๓ อะภะยะปริตตัง(สวดกอ่ นนอนทำ�ใหไ้ ม่ฝันร้าย) ๗๔ คาถาอณุ หสิ วชิ ยั (คาถาเทวดาตอ่ อายุ) ๗๕ พระคาถาโพชฌงั คะปะริตตัง(พุทธมนต์ท่ีผปู้ ่วยฟังแล้วหาย) ๘๐ พระคาถาชินบัญชร(สวดแล้วอันตรายใด ๆ ไม่แผ้วพาน) ๘๑ พระคาถานกยงู ทอง โมระปริตร(พระคาถาแคล้วคลาด) ๘๒ การแผ่เมตตา(ความหมายและคุณคา่ ) ๘๓ วธิ ีแผ่เมตตา ๘๕ ค�ำ แผ่เมตตา ๘๗ อานิสงสข์ องการแผ่เมตตา ๙๑ กรรมฐานวธิ ีอานาปานสตภิ าวนา แบบบรกิ รรม “พุทโธ” บทสวดมหาสมยสตู ร(คาถาเทวดาคมุ้ ครอง)
ปลงสงั ขาร ๑๐๓ สมาธกิ บั การรักษาโรค(หลวงปู่มัน่ ภูรทิ ัตโต) ๑๐๔ การฝกึ สมาธิ ๑๐๗ การสวดมนต์รกั ษาโรค(ในทางการแพทย)์ ๑๑๓ สวดมนต์กระตุ้นอวยั วะ ๑๑๖ เลอื กสวดมนตอ์ ย่างไรดี ๑๑๙ ประวัตพิ ระพากุลเถระ(เอตทคั คะ ด้านผู้มีอาพาธน้อย) ๑๒๐ ถวายยารกั ษาโรคแก่ผูม้ ีศลี ท�ำ ใหส้ ขุ ภาพดีไมเ่ ปน็ โรค ๑๓๔ การดูแลผู้ป่วยระยะสดุ ท้าย(พระไพศาล วสิ าโล) ๑๓๘ บทสวดมนต์สำ�หรบั ผู้เกดิ วันอาทิตย ์ ๑๔๗ บทสวดมนตส์ �ำ หรับผ้เู กดิ วนั จันทร์ ๑๔๘ บทสวดมนต์สำ�หรบั ผเู้ กิดวนั อังคาร ๑๔๙ บทสวดมนตส์ ำ�หรบั ผูเ้ กดิ วันพธุ (กลางวนั ) ๑๕๐ บทสวดมนต์สำ�หรบั ผเู้ กดิ วนั พุธ(กลางคืน) ๑๕๑ บทสวดมนต์สำ�หรบั ผู้เกดิ วนั พฤหัสบดี ๑๕๒ บทสวดมนต์ส�ำ หรบั ผ้เู กดิ วนั ศุกร์ ๑๕๓ บทสวดมนต์สำ�หรับผู้เกิดวนั เสาร์ ๑๕๔ บทสวดพลจักรกปั ปวตั นสูตร (บทสวดชยั น้อย นะโมเม) ๑๕๖ ปจั ฉิมบท ๑๕๘ บรรณานุกรม
บทสวดมนตท์ �ำ วตั ร เช้า-เยน็
บทสวดมนต์ทำ�วัตรเชา้ คำ�บชู าพระรัตนตรัย โย โส ภะคะวา อะระหงั สมั มาสมั พุทโธ พระผู้มีพระภาคเจ้าน้นั พระองค์ใด เป็นพระอรหนั ตด์ ับเพลงิ กเิ ลส เพลงิ ทุกขส์ ้ินเชงิ ตรัสร้ชู อบไดโ้ ดยพระองค์เอง สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรมเปน็ ธรรมอันประเสรฐิ ที่พระผู้มพี ระภาคเจา้ พระองค์ใด, ตรัสไว้ดีแล้ว. สปุ ะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆส์ าวกของพระผมู้ ีพระภาคเจ้า พระองคใ์ ด ปฏบิ ตั ดิ ีแล้ว ตมั มะยงั ภะคะวันตงั สะธัมมัง สะสังฆงั อเิ มหิ สกั กาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเิ ตหิ อะภปิ ชู ะยามะ, ข้าพเจ้าทงั้ หลาย, ขอบูชาอย่างย่งิ ซ่งึ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ พระองคน์ นั้ , พ รอ้ มทงั้ พระธรรมและพระสงฆด์ ว้ ยเครอื่ งสกั การะ ท้ังหลายเหลา่ น,้ี อันยกขึ้นตามสมควรแล้วอย่างไร, สาธโุ น ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรนิ พิ พโุ ตปิ ขา้ แตพ่ ระองคผ์ ู้เจริญ,พระผมู้ ีพระภาคเจา้ แม้ปรนิ ิพพานนานแล้ว ทรงสรา้ งคณุ อันสำ�เร็จประโยชน์ไว้แกข่ า้ พเจ้าทั้งหลาย, ปจั ฉิมา ชะนะตานกุ มั ปะมานะสา ทรงมพี ระหฤทัยอนุเคราะหแ์ กพ่ วกข้าพเจา้ อันเปน็ ชนรุน่ หลัง, พระธาตรี อุปปฺ ลวณโฺ ณ วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร ๒๓
อเิ ม สกั กาเร ทุคคะตะปัณณาการะภเู ต ปฏิคคณั หาตุ ขอพระผูม้ ีพระภาคเจา้ จงทรงรบั เครอ่ื งสกั การะ อนั เป็นบรรณาการของคนยากทั้งหลายเหลา่ น ี้ อมั หากงั ทีฆะรตั ตัง หิตายะ สขุ ายะ เพอื่ ประโยชน์และ ความสุขแก่ ข้าพเจ้าท้งั หลาย ตลอดกาลนานเทอญฯ อะระหงั สมั มาสัมพทุ โธ ภะคะวา พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ดบั เพลงิ กเิ ลสเพลงิ ทุกขส์ ้นิ เชิง ตรัสรู้ชอบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง พทุ ธัง ภะคะวนั ตัง อะภวิ าเทมิ ขา้ พเจ้าอภวิ าทพระผู้มีพระ ภาคเจา้ ผ้รู ู้ ผ้ตู นื่ ผูเ้ บิกบาน (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม พระธรรม เปน็ ธรรมที่พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรัสไว้ดีแลว้ ธมั มัง นะมัสสามิ ข้าพเจา้ นมัสการพระธรรม (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ พระสงฆ์สาวกของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า ปฏิบตั ิดีแล้ว สังฆงั นะมามิ ขา้ พเจา้ นอบนอ้ มพระสงฆ์ (กราบ) ๒๔ พทุ ธมนตบ์ ำ�บดั อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ
คำ�นอบน้อมพระพทุ ธเจ้า (ปุพพะภาคะนะมะการ) (นำ�) หนั ทะ มะยัง พทุ ธัสสะ ภะคะวะโต ปพุ พะภาคะ นะมะ การงั กะโร มะเส. ฯ (รับ) นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต ขอนอบนอ้ มแด่พระผู้มีพระภาคเจา้ พระองคน์ ้ัน อะระหะโต ซึง่ เปน็ ผไู้ กลจากกเิ ลส สมั มาสัมพุทธัสสะ ตรสั รู้ชอบได้โดยพระองค์เอง (วา่ ๓ หน) ๑. พุทธาภถิ ุติ (นำ�) หันทะ มะยัง พุทธาภถิ ตุ งิ กะโรมะเส.ฯ (รบั ) โยโส ตะถาคะโต, พระตถาคตเจา้ นั้น พระองคใ์ ด อะระหัง เป็นผไู้ กลจากกเิ ลส สัมมาสมั พุทโธ เป็นผตู้ รสั ร้ชู อบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง วชิ ชาจะระณะสัมปันโน เป็นผ้ถู ึงพรอ้ มด้วยวชิ ชาและจรณะ สคุ ะโต เป็นผูไ้ ปแลว้ ด้วยดี โลกะวทิ ู เปน็ ผ้รู โู้ ลกอยา่ งแจม่ แจง้ อะนตุ ตะโร ปรุ สิ ะทัมมะสาระถิ, เป็นผู้สามารถฝกึ บุรุษสมทค่ี วรฝึกไดอ้ ยา่ งไมม่ ีใครยิ่งกว่า สตั ถา เทวะมะนสุ สานงั เปน็ ครูผสู้ อน ของเทวดาและมนุษยท์ ั้งหลาย พุทโธ เป็นผู้รู้ ผูต้ ่นื ผ้เู บกิ บานดว้ ยธรรม พระธาตรี อุปฺปลวณโฺ ณ วัดปา่ กดุ ฉนวนอดุ มพร ๒๕
ภะคะวา, เป็นผมู้ คี วามจำ�เจรญิ จำ�แนกธรรมส่งั สอนสัตว ์ โย อมิ งั โลกงั สะเทวะกงั สะมาระกงั สะพรหั มะกงั , สสั สะ มะณะพราหมะณงิ ปะชงั สะเทวะมะนุสสงั สะยัง อภญิ ญา สัจฉกิ ัตวา ปะเวเทสิ พระผูม้ ีพระภาคเจ้า พระองคใ์ ด ไดท้ รงท�ำ ความดบั ทุกข ์ ใหแ้ จง้ ด้วยพระปญั ญา อนั ย่งิ เองแล้ว ทรงสอนโลกนพ้ี ร้อมท้งั เทวดา มาร พรหม และหมู่สตั ว์ พรอ้ มท้ัง สมณพราหมณ์ พร้อมทัง้ เทวดา และมนษุ ยใ์ ห้ร้ตู าม โย ธัมมัง เทเสสิ พระผมู้ ีพระภาคเจ้าพระองค์ใดทรงแสดงธรรมแล้ว อาทกิ ัลยาณงั ไพเราะในเบื้องต้น มัชเฌกัลยาณัง ไพเราะในท่ามกลาง ปะริโยสานะกลั ยาณงั ไพเราะในท่ีสุด สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะรปิ ณุ ณงั ปะริสุทธัง พรัหมะจะริยงั ปะกาเสสิ ทรงประกาศพรหมจรรย์ คอื แบบแหง่ การปฏบิ ัติอนั ประเสริฐบริสุทธิ์ บริบูรณ์สิน้ เชิง พร้อมทั้งอรรถะ (คำ�อธิบาย) พรอ้ มทั้งพยัญชนะ (หัวขอ้ ) ตะมะหังภะคะวนั ตัง อะภปิ ชู ะยามิ ขา้ พเจา้ บชู าอยา่ งยง่ิ เฉพาะพระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคน์ น้ั ตะมะหัง ภะคะวันตัง สริ ะสา นะมามิ ฯ ข้าพเจา้ นอบน้อมพระผมู้ ีพระภาคเจ้าพระองคน์ ั้น, ดว้ ยเศยี รเกลา้ (กราบระลกึ ถงึ พระพุทธคณุ ) ๒๖ พุทธมนตบ์ �ำ บดั อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ
๒. ธมั มาภิถุติ (น�ำ ) หนั ทะ มะยงั ธมั มาภิถตุ ิง กะโรมะ เส. ฯ (รับ) โยโส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรมนน้ั ใด เปน็ สง่ิ ทพ่ี ระผมู้ พี ระภาคเจา้ ไดต้ รสั ไวด้ แี ลว้ สันทฏิ ฐิโก, เป็นสิ่งที่ผศู้ ึกษาและปฏบิ ัตพิ งึ เหน็ ไดด้ ้วยตนเอง อะกาลิโก, เปน็ สง่ิ ที่ปฏิบตั ไิ ด้ และใหผ้ ลไดไ้ มจ่ ำ�กัดกาล เอหิปสั สิโก, เป็นสิ่งที่ควรกลา่ วกับผูอ้ ืน่ วา่ ทา่ นจงมาดเู ถิด โอปะนะยิโก, เปน็ ส่งิ ท่คี วรน้อมเข้ามาใส่ตัว ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ เปน็ สิง่ ท่ีผูร้ ู้ กร็ ูไ้ ดเ้ ฉพาะตน ตะมะหัง ธมั มงั อภปิ ชู ะยาม ิ ขา้ พเจา้ บชู าอยา่ งเฉพาะพระธรรมนน้ั ตะมะหงั ธมั มัง สริ ะสา นะมามิ ขา้ พเจ้า นอบนอ้ มพระธรรมนัน้ ด้วยเศยี รเกลา้ . (กราบระลึกถงึ พระธรรมคณุ ) ๓. สงั ฆาภิถตุ ิ (น�ำ ) หันทะ มะยัง สังฆาภถิ ุติง กะโรมะ เส. ฯ (รับ) โย โส สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สะวะกะสังโฆ สงฆ์ สาวกของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ หมู่ใด ปฏิบตั ิดแี ลว้ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆ์ สาวกของพระผมู้ พี ระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏบิ ตั ติ รงแล้ว ญายะปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใดปฏิบัติเพื่อรู้ธรรม เป็นเคร่ืองออกจากทุกขแ์ ลว้ พระธาตรี อุปฺปลวณโฺ ณ วดั ปา่ กุดฉนวนอุดมพร ๒๗
สามีจปิ ะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆส์ าวกของพระผู้มพี ระภาคเจา้ หมู่ใด ปฏบิ ตั ิสมควรแลว้ ยะทิทัง ได้แกบ่ คุ คลเหล่าน้ี คือ : จัตตาริ ปรุ ิสะยคุ านิ อัฏฐะ ปุรสิ ะปุคคะลา คู่แหง่ บุรษุ ๔ ค*ู่ นบั เรยี งตวั บรุ ุษได้ ๘ บรุ ษุ เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ นัน่ แหละสงฆ์สาวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ อาหุเนยโย เป็นสงฆค์ วรแกส่ ักการะท่ีเขานำ�มาบชู า ปาหเุ นยโย เปน็ สงฆ์ควรแก่สกั การะที่เขาจดั ไวต้ อ้ นรบั ทกั ขเิ นยโย เปน็ ผคู้ วรรับทกั ษณิ าทาน อญั ชะลีกะระณีโย เป็นผู้ท่ีบคุ คลทว่ั ไปควรทำ�อัญชลี อะนตุ ตะรัง ปุญญกั เขตตัง โลกสั สะ เป็นเน้อื นาบุญของโลก ไมม่ ีนาบุญอ่นื ย่งิ กวา่ ตะมะหัง สงั ฆงั อะภปิ ูชะยามิ ข้าพเจา้ บูชาอยา่ งย่ิง เฉพาะพระสงฆห์ มู่น้นั ตะมะหัง สงั ฆงั สิระสา นะมาม.ิ ฯ ขา้ พเจา้ นอบน้อมพระสงฆห์ มู่น้ันด้วย เศยี รเกล้า (กราบระลกึ ถึงพระสังฆคณุ ) (พึงนั่งพบั เพยี บ) *บ ุร ุษ ๔ ค คู่ อื ๑๓.. โอสนดาาคปาัตมติรมิรรครคอนโาสคดาามปิผัตลต ผิ ล ๒๔.. อสรกหิทตัาตคมามรมิรครรอครหสตักิทตผาคลามิผล
๔.รตนตั ตยัปณามคาถา (น�ำ ) หันทะ มะยงั ระตะนัตตะยปั ปะณามะคาถาโย เจวะ สงั เวคะ ปะรกิ ติ ตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส. ฯ (รบั ) พทุ โธ สสุ ุทโธ กรุณามะหันณะโว พระพทุ ธเจา้ ผูบ้ ริสทุ ธ์ิ มีพระกรุณาดจุ หว้ งมหรรณพ โยจ จันตะสุทธัพ พะระญาณะโลจะโน พระองค์ใดมีตาคือญาณอนั ประเสรฐิ หมดจดถึงทส่ี ดุ โลกัสสะ ปาปปู ะกเิ ลสะฆาตะโก เป็นผู้ฆ่าเสยี ซงึ่ บาปและอปุ กิเลสของโลก วนั ทามิ พทุ ธงั อะหะมาทะเรนะตงั ข้าพเจ้าไหวพ้ ระพทุ ธเจ้าพระองคน์ ั้น โดยใจเคารพเออ้ื เฟอ้ื ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน พระธรรมของพระศาสดา สวา่ งรุ่งเรืองเปรยี บดวงประทีป โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก จ�ำ แนกประเภท คอื มรรค ผล นิพพาน, ส่วนใด โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน, ซึ่งเปน็ ตัวโลกุตตระ, และสว่ นใดที่ชแี้ นวแหง่ โลกกุตตระนน้ั วันทามิ ธมั มงั อะหะมาทะเรนะ ตัง, ขา้ พเจา้ ไหวพ้ ระธรรมน้นั โดยใจเคารพเอ้ือเฟือ้ , สังโฆ สุเขตตา ภะยะตเิ ขตตะสญั ญโิ ต, พระสงฆ์เป็นนาบุญอันยิง่ ใหญ่ กวา่ นาบญุ อันดที ั้งหลาย, พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณฺโณ วัดปา่ กุดฉนวนอดุ มพร ๒๙
โยทฏิ ฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก, เป็นผู้เหน็ พระนิพพาน ตรสั รูต้ ามพระสคุ ต หม่ใู ด, โลลัปปะหโี น อะริโย สุเมธะโส เปน็ ผู้ละกเิ ลส เครื่องโลเลเป็นพระอริยเจ้ามปี ญั ญาดี วันทามิ สังฆงั อะหะมาทะเรนะ ตงั ขา้ พเจา้ ไหว้พระสงฆ์หมนู่ ้ัน, โดยใจเคารพเอือ้ เฟอ้ื อิจเจวะเมกันตะภปิ ูชะเนยยะกงั วัตถตุ ตะยงั วนั ทะยะตาภสิ งั ขะ ตงั ปุญญงั มะยา ยัง มะมะ สัพพุปทั ทะวา มาโหนตุ เว ตสั สะ ปะภาวะสิทธิยา, บญุ ใดทข่ี า้ พเจ้าผไู้ หวอ้ ยูซ่ ่งึ วตั ถุสาม คอื พระรัตนตรยั อันควร บชู ายง่ิ โดยสว่ นเดยี ว ไดก้ ระท�ำ แลว้ เปน็ อยา่ งยง่ิ เชน่ น้ี ๆ ขออปุ ทั วะ (ความชว่ั ) ท้งั หลาย จงอย่ามแี ก่ขา้ พเจา้ เลย ด้วยอำ�นาจความส�ำ เรจ็ อันเกิดจากบุญนัน้ ๕. สงั เวคะปริกติ ตะนะปาฐะ อิธะ ตะถาคะโต โลเก อปุ ปนั โน, พระตถาคตเจ้าเกิดขนึ้ แลว้ ในโลกน้ี, อะระหงั สมั มาสัมพุทโธ, เปน็ ผไู้ กลจากกเิ ลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก, และพระธรรมท่ีทรงแสดง,เปน็ ธรรมเครอ่ื งออกจากทกุ ข ์ อปุ ะสะมิโก ปรินิพพานโิ ก, เปน็ เครื่องสงบกิเลส, เปน็ ไปเพือ่ ปรนิ พิ พาน ๓๐ พุทธมนต์บำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชัยภมู ิ
สัมโพธะคามี สคุ ะตัปปะเวทโิ ต, เปน็ ไปเพื่อความร้พู รอ้ ม เป็นธรรมทพ่ี ระสคุ ตประกาศ มะยนั ตงั ธมั มัง สตุ วา เอวัง ชานามะ พวกเรา เม่ือไดฟ้ ังธรรมน้นั แลว้ จึงไดร้ ูอ้ ยา่ งนว้ี า่ ชาติปิ ทกุ ขา แมค้ วามเกดิ กเ็ ปน็ ทกุ ข์ ชะราปิ ทุกขา แมค้ วามแกก่ เ็ ป็นทกุ ข์ มะระณมั ปิ ทกุ ขงั แมค้ วามตายกเ็ ปน็ ทกุ ข์ โสกะปะริเทวะทุกขะ โทมะนสั สุปายาสาปิ ทกุ ขา, แม้ความโศก, ความร�่ำ ไรรำ�พนั , ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ, ความคับแค้นใจกเ็ ป็นทุกข์ อปั ปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข, ความประสพกบั ส่งิ ไมเ่ ปน็ ทรี่ ักทพี่ อใจ ก็เป็นทกุ ข์ ปเิ ยหิ วปิ ปะโยโค ทุกโข, ความพลดั พรากจากสิง่ เป็นท่ีรกั ทพ่ี อใจ, ก็เปน็ ทกุ ข์, ยมั ปิจฉงั นะ ละภะติ ตมั ปิ ทกุ ขัง มีความปรารถนาสิง่ ใด ไม่ได้สิ่งน้นั นั่นก็เปน็ ทกุ ข์ สังขติ เตนะ ปญั จุปาทานกั ขันธา ทุกขา, ว่าโดยยอ่ อุปาทานขนั ธ์ท้งั ๕ เป็นตวั ทกุ ข,์ เสยยะถที ัง, ไดแ้ กส่ ง่ิ เหลา่ น้คี ือ รปู ปู าทานกั ขนั โธ, ขันธ์ อันเป็นที่ต้ังแห่งความยดึ ม่ันคือ รปู เวทะนปู าทานักขนั โธ, ขันธ์ อันเป็นทีต่ งั้ แห่งความยึดมั่นคือ เวทนา สญั ญปู าทานักขนั โธ, ขันธ์ อันเปน็ ท่ตี ้งั แห่งความยึดมน่ั คอื สัญญา พระธาตรี อุปปฺ ลวณฺโณ วัดปา่ กุดฉนวนอุดมพร ๓๑
สังขารูปาทานักขันโธ, ขนั ธ์ อนั เปน็ ทต่ี ้งั แห่งความยึดมั่นคอื สงั ขาร วญิ ญาณปู าทานกั ขนั โธ, ขนั ธ์ อนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความยดึ มน่ั คอื วญิ ญาณ เยสัง ปะรญิ ญายะ, เพือ่ ให้สาวกก�ำ หนดรอบรู้อปุ าทานขนั ธเ์ หล่านเ้ี อง ธะระมาโน โส ภะคะวา, จึงพระผมู้ ีพระภาคเจา้ นนั้ , เมอื่ ยังทรงพระชนม์อยู่ เอวัง พะหลุ งั สาวะเก วิเนต,ิ ยอ่ มทรงแนะนำ�สาวกทงั้ หลาย เชน่ น้เี ปน็ สว่ นมาก เอวงั ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกส,ุ อะนุสาสะนพี ะหุลา ปะวัตตะติ, อนึ่งคำ�สง่ั สอนของพระผมู้ พี ระภาคเจ้านั้น ย่อมเปน็ ไป ในสาวกท้ังหลาย สว่ นมาก มสี ว่ นคอื การจ�ำ แนกอย่างนี้วา่ , รปู ัง อนจิ จงั , รูปไมเ่ ทยี่ ง เวทะนา อนิจจา, เวทนาไมเ่ ท่ยี ง สญั ญา อนจิ จา, สัญญาไมเ่ ทย่ี ง สงั ขารา อนจิ จา, สงั ขารไมเ่ ท่ียง วิญญาณัง อนิจจัง, วญิ ญาณไมเ่ ทย่ี ง รปู งั อะนตั ตา, รปู ไมใ่ ช่ตัวตน เวทะนา อะนัตตา, เวทนาไมใ่ ช่ตัวตน สญั ญา อะนตั ตา, สญั ญาไมใ่ ช่ตัวตน สงั ขารา อะนตั ตา, สังขารไม่ใช่ตวั ตน วญิ ญาณงั อะนตั ตา, วญิ ญาณไมใ่ ช่ตวั ตน ๓๒ พทุ ธมนต์บ�ำ บดั อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ
สพั เพ สังขารา อะนจิ จา, สงั ขารทงั้ หลายท้งั ปวงไม่เท่ียง สัพเพ ธมั มา อะนัตตาติ, ธรรมทง้ั หลายทง้ั ปวงไมใ่ ชต่ ัวตนดงั น้ี เต(ตา)* มะยงั โอตณิ ณามหะ, พวกเราทง้ั หลายเปน็ ผถู้ กู ครอบง�ำ แลว้ ชาติยา, โดยความเกิด ชะรามะระเณนะ, โดยความแก ่ และความตาย โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนสั เสหิ อปุ ายาเสห,ิ โดยความโศก ความร่ำ�ไรรำ�พนั ความไมส่ บายกาย ความไม่สบายใจ ความคบั แคน้ ใจทง้ั หลาย, ทุกโขติณณา, เป็นผถู้ กู ความทุกข์ หยง่ั เอาแลว้ ทุกขะปะเรตา, เปน็ ผมู้ คี วามทกุ ข์ เปน็ เบอื้ งหนา้ แล้ว อปั เปวะนามิมัสสะ เกวะลสั สะ ทกุ ขักขนั ธัสสะ, อนั ตะกริ ยิ า ปญั ญา เยถาต,ิ ทำ�ไฉนการทำ�ทส่ี ดุ แหง่ กองทุกข์ทง้ั สน้ิ นี้ จะพึงปรากฏชดั แก่เราได ้ (ถ้าสวดพรอ้ มภิกษุ สามเณร ควรใหพ้ ระภกิ ษุ สามเณรสวดจบกอ่ น) (สำ�หรบั ภิกษสุ ามเณรสวด) จิระปะรนิ พิ พุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตงั สมั มา สมั พุทธัง, เราทงั้ หลาย อุทิศเฉพาะพระผู้มพี ระภาคเจ้า ผู้ไกลจากกเิ ลส ตรัสรชู้ อบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง แม้ปรินิพพานนานแล้ว พระองค์นัน้ , สัทธา อะคารสั มา อะนะคารยิ ัง ปพั พะชิตา, เปน็ ผมู้ ศี รทั ธา ออกบวชจากเรอื น ไมเ่ กย่ี วขอ้ งดว้ ยเรอื นแลว้ *สำ�หรบั ผูห้ ญงิ วา่
ตัสมงิ ภะคะวะติ พรัหมะจะริยงั จะรามะ, ประพฤตอิ ยซู่ ง่ึ พรหมจรรย์ ในพระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคน์ น้ั ภกิ ขูนงั สิกขาสาชีวะสะมาปันนา, ถงึ พรอ้ มด้วยสกิ ขาและธรรมเป็นเครอ่ื งเลี้ยงชวี ิต ของพระภกิ ษุทง้ั หลาย ตงั โน พรหั มะจะรยิ งั อมิ สั สะ เกวะลสั สะ ทกุ ขกั ขนั ธสั สะ อนั ตะกิริยายะ สงั วัตตะตุ. ขอให้พรหมจรรย์ของเราท้ังหลายน้ัน จงเป็นไปเพื่อการทำ�ที่สดุ แหง่ กองทกุ ขท์ ้งั ส้นิ นีเ้ ทอญ. (สำ�หรบั อุบาสก อุบาสกิ าสวด) จริ ะปะรินิพพตุ มั ปิ ตัง ภะคะวนั ตงั สะระณงั คะตา, เราทัง้ หลาย ผถู้ ึงแล้วซง่ึ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ , แม้ปรนิ พิ พานนานแล้ว, พระองค์นั้น เปน็ สรณะ, ธัมมัญจะ สังฆัญจะ ถงึ พระธรรมด้วย ถึงพระสงฆด์ ้วย, ตสั สะ ภะคะวะโต สาสะนงั ยะถาสะติ ยะถาพะลงั มะนะสกิ ะโรมะ อะนปุ ะฏปิ ชั ชามะ, จกั ท�ำ ในใจอยู่ ปฏบิ ตั ิตามอยู่ ซงึ่ คำ�สั่งสอนของพระผมู้ พี ระภาคเจ้าน้ัน ตามสตกิ ำ�ลงั สา สา โน ปะฏปิ ัตต,ิ ขอใหค้ วามปฏบิ ตั ินั้นๆ ของเราทงั้ หลาย อมิ สั สะ เกวะลสั สะ ทุกขกั ขันธัสสะ อันตะกิรยิ ายะ สงั วัตตะต.ุ จงเป็นไปเพือ่ การทำ�ท่สี ุดแหง่ กองทกุ ข์ ท้งั สนิ้ น้ีเทอญ. (จบทำ�วตั รเชา้ ) ๓๔ พุทธมนตบ์ �ำ บัด อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ
ตังขณิกปจั จเวกขณปาฐะวิธี (น�ำ ) หนั ทะ มะยงั ตงั ขณกิ ะปจั จะเวกขะณะปาฐงั ภะณามะเส.ฯ (ว่าดว้ ยจีวร) ปะฏสิ งั ขา โยนิโส จีวะรงั ปะฏเิ สวามิ, เรายอ่ มพิจารณาโดยแยบคาย, แลว้ นุง่ ห่มจวี ร, ยาวะเทวะ สตี ัสสะ ปะฏฆิ าตายะ, เพยี งเพ่ือบำ�บดั ความหนาว, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบ�ำ บดั ความรอ้ น, ฑงั สะมะกะสะวา ตาตะปะสริ ิง สะปะสัมผสั สานงั ปะฏิฆาตายะ, เพ่อื บ�ำ บดั สมั ผัสอนั เกดิ จากเหลอื บ ยงุ ลม แดด, และสัตวเ์ ล้ือยคลานท้งั หลาย, ยาวะเทวะ หิรโิ กปนิ ะปะฏิจฉาทะนัตถงั .ฯ และเพียงเพอื่ ปกปดิ อวยั วะ, อันให้เกิดความละอาย (ว่าด้วยบณิ ฑบาต) ปะฏสิ งั ขา โยนิโส ปิณฑะปาตัง ปะฏเิ สวามิ. เรายอ่ มพิจารณา โดยแยบคาย แลว้ ฉนั บิณฑบาต เนวะ ทะวายะ, ไมใ่ หเ้ ปน็ ไป เพ่ือความเพลิดเพลิน สนกุ สนาน นะมะทายะ, ไม่ให้เปน็ ไปเพื่อความเมามัน เกิดกำ�ลงั พลงั ทางกาย, นะ มัณฑะนายะ, ไม่ให้เปน็ ไปเพ่ือประดบั , นะ วิภูสะนายะ, ไม่ใหเ้ ปน็ ไปเพอื่ ตกแตง่ , พระธาตรี อุปปฺ ลวณโฺ ณ วัดปา่ กุดฉนวนอดุ มพร ๓๕
ยาวะเทวะ อมิ สั สะ กายัสสะ ฐิติยา, แต่ให้เปน็ ไปเพยี งเพอ่ื ความตง้ั อยู่ได้แห่งกายน้ี, ยาปะนายะ, เพ่ือความเป็นไปไดข้ องอัตตภาพ วหิ ิงสุปะระติยา, เพอื่ ความสิน้ ไปแหง่ ความล�ำ บากทางกาย, พรหั มะจะริยานุคคะหายะ เพ่อื อนเุ คราะห์แก่การประพฤติพรหมจรรย์ อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ, ดว้ ยการท�ำ อยา่ งน,้ี เราย่อมระงับเสยี ได้ ซึง่ ทุกขเวทนาเกา่ , คอื ความหิว, นะวญั จะ เวทะนงั นะ อุปปาเทสสามิ, และไมท่ ำ�ทกุ ขเวทนาใหมใ่ ห้เกดิ ข้ึน ยาตรา จะ เม ภะวสิ สะติ อะนะวัชชะตา จะผาสวุ หิ าโร จาต.ิ ฯ อน่งึ ความเปน็ ไปโดยสะดวก แหง่ อัตตภาพนดี้ ้วยความเปน็ ผูห้ าโทษมไิ ดด้ ว้ ย และความเปน็ อยู่ โดยผาสกุ ดว้ ย, จกั มีแก่เราดงั น้ี (วา่ ดว้ ยเสนาสนะ) ปะฏิสงั ขา โยนโิ ส เสนาสะนัง ปะฏเิ สวาม,ิ เรายอ่ มพจิ ารณาโดยแยบคาย, แลว้ ใช้สอยเสนาสนะ, ยาวะเทวะ สตี สั สะ ปฏฆิ าตายะ เพียงเพ่ือบำ�บดั ความหนาว อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ เพอ่ื บ�ำ บดั ความรอ้ น ฑงั สะมะ กะสะวา ตาตะปะสริ งิ สะปะสมั ผสั สานงั ปะฏฆิ าตายะ, เพอ่ื บำ�บัดสมั ผสั อนั เกิดจาก เหลือบ ยงุ ลม แดด และสตั ว์ เลือ้ ยคลานทงั้ หลาย, ๓๖ พทุ ธมนตบ์ �ำ บดั อโรคยาศาล จ.ชยั ภมู ิ
ยาวะเทวะ อตุ ปุ ะรสิ สะยะ วิ โน ทะนงั ปะฏสิ ลั ลานา รามตั ถงั .ฯ เพยี งเพ่ือบรรเทา อนั ตรายอันจะพงึ มจี าก ดนิ ฟ้า อากาศและเพอื่ ความเปน็ ผู้ยนิ ดีอยไู่ ด้ในที่หลีกเร้นสำ�หรับภาวนา (วา่ ด้วยคลิ านเภสชั ) ปะฏสิ งั ขา โยนิโส คลิ านะ ปัจจะยะ เภสัชชะปะริกขารงั ปะฏิเสวามิ, เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแลว้ บรโิ ภคเภสชั บริขาร อนั เกือ้ กลู แกค่ นไข้ ยาวะเทวะ อปุ ปนั นานัง เวยยาพาธกิ านงั , เพยี งเพอ่ื บำ�บดั ทุกขเวทนา อันบังเกิดข้ึนแลว้ , เวทะนานัง ปฏิฆาตายะ, มอี าพาธตา่ ง ๆ เปน็ มลู , อัพยาปชั ฌะปะระมะตา ยาติ.ฯ เพือ่ ความเป็นผไู้ มม่ โี รคเบียดเบียน เปน็ อยา่ งย่งิ ดงั น้ี ปัตติทานะคาถา (กรวดนำ�้ ยาเทวะตา) (นำ�) หนั ทะ มะยัง ปตั ติทานะ คาถาโย ภะณามะ เส. ฯ ยา เทวะตา สันติ วิหาระวาสิน,ี เทวดาเหล่าใด ที่อยปู่ ระจ�ำ ในวัด, ถเู ป ฆะเร โพธฆิ ะเร ตะหงิ ตะหิง, สิงสถิตอย่ทู ่ีเรือนสถปู ทีต่ น้ พระศรีมหาโพธิและท่นี ้นั ๆ ตา ธัมมะทาเนนะ ภะวนั ตุ ปูชติ า, เทวดาเหล่าน้ันเปน็ ผู้ทเี่ ราบชู าด้วยธรรมทาน พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณโฺ ณ วดั ป่ากุดฉนวนอุดมพร ๓๗
โสตถิง กะโรนเตธะ วหิ าระมณั ฑะเล, ขอจงทำ�ความสวัสดีใหเ้ กดิ มีในบริเวณวดั นี้ เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภกิ ขะโว, ภิกษุทงั้ หลายทเ่ี ป็นพระเถระ, เป็นมัชฌิมะ เป็นนะวะกะ สารามิกา ทานะปะตี อปุ าสะกา อุบาสก อุบาสกิ า ผู้เปน็ ทานะบดี พร้อมด้วยอารามิกชน คามา จะ เทสา นคิ ะมา จะ อิสสะรา, ทีเ่ ปน็ ชาวบา้ นก็ดี ชาวนิคมกด็ ี ชาวเมืองกด็ ี ผู้ที่เปน็ อิสระเปน็ ใหญ่กด็ ี สัปปาณะภตู า สขุ ติ า ภะวนั ตุ เต, ขอให้ชนท้งั หลายเหลา่ นน้ั จงเป็นผูม้ คี วามสุขทกุ เมื่อเถิด ชะลาพชุ า เยปิ จะ อัณฑะสัมภะวา, สตั วท์ ัง้ หลายท่ีเกดิ ในครรภ ์ เกดิ ในไข ่ เกิดในไคล สงั เสทะชาตา อะถะโวปะปาตกิ า, เกดิ เป็นพรหม เทวดา และเกดิ ในนรก นยิ านกิ งั ธมั มะวะรงั ปะฏจิ จะ เต, จงอาศัยธรรมอนั ประเสรฐิ เป็นทางออกน�ำ ออกจากทกุ ข์ สพั เพปิ ทกุ ขสั สะ กะโรนตุ สงั ขะยงั .ฯ สตั วท์ ั้งหลาย จงทำ�ความสิ้นไปแห่งทุกขท์ ้ังปวง.ฯ ฐาตุ จิรัง สะตงั ธมั โม, ขอพระธรรมของสตั บรุ ุษ จงด�ำ รงอยูต่ ลอดกาลนาน ธัมมทั ธะรา จะ ปคุ คะลา, ขอบุคคลทง้ั หลาย ผูท้ รงไวซ้ ึ่งความเปน็ ธรรมจงมอี ายุยืน ๓๘ พทุ ธมนตบ์ ำ�บัด อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ
สงั โฆ โหตุ สะมัคโค วะ, ขอพระสงฆ์จงมคี วามพร้อมเพรียงกนั อตั ถายะ จะ หติ ายะ จะ, เพือ่ ประกอบสิง่ อนั เป็นประโยชน์ และความเก้อื กลู อมั เห รกั ขะตุ สทั ธัมโม สัพเพปิ ธัมมะจาริโน, ขอพระสทั ธรรมจงรักษาเราทงั้ หลาย วฑุ ฒิง สัมปาปุเณยยามะ ธมั เม อะรยิ ัปปะเวทิเต.ฯ ขอให้เราทัง้ หลายพึงถึงพรอ้ มซง่ึ ความเจริญ ในพระธรรมวนิ ยั ที่พระอรยิ เจ้าประกาศไวแ้ ลว้ .ฯ ปะสันนา โหนตุ สพั เพปิ ปาณิโน พทุ ธะสาสะเน, ขอสรรพสัตวท์ ้งั ปวง จงเปน็ ผเู้ ล่ือมใสในพระพทุ ธศาสนา, สมั มา ธารงั ปะเวจฉนั โต กาเล เทโว ปะวสั สะตุ, ขอฝนเมอื่ จะหลงั่ ลงมา จงตกตอ้ งตามฤดูกาล, วฑุ ฒภิ าวายะ สัตตานัง สะมิทธงั เนตุ เมทะนงิ , ขอฝนจงนำ�ความสำ�เรจ็ มาสแู่ ผ่นดนิ เพือ่ ความเจรญิ แก่ สรรพสตั วท์ ัง้ หลาย, มาตา ปิตา จะ อตั ระชงั นิจจงั รักขนั ติ ปตุ ตะกัง, มารดา บิดาย่อมรักษาบุตร ท่ีเกดิ ในตนเปน็ นจิ ฉันใด เอวัง ธมั เมนะ ราชาโน ปะชงั รักขันตุ สัพพะทา. ฯ ขอพระราชา จงปกครองประชาชนโดยธรรมในกาลทกุ เม่อื ฉันนนั้ เทอญ.ฯ พระธาตรี อุปฺปลวณโฺ ณ วดั ป่ากดุ ฉนวนอุดมพร ๓๙
บทสวดมนตท์ ำ�วตั รเยน็ คำ�บูชาพระรตั นตรัย โย โส ภะคะวา อะระหัง สมั มาสัมพุทโธ พระผูม้ ีพระภาคเจา้ น้นั พระองค์ใด เป็นพระอรหันตด์ ับเพลงิ กิเลส เพลิงทุกขส์ ้ินเชิง ตรัสรูช้ อบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรมเปน็ ธรรมอันประเสรฐิ ทพี่ ระผู้มีพระภาคเจา้ พระองคใ์ ด, ตรัสไว้ดแี ล้ว. สปุ ะฏปิ นั โน ยสั สะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, พระสงฆ์สาวกของพระผูม้ พี ระภาคเจา้ พระองค์ใด ปฏบิ ตั ดิ ีแล้ว ตมั มะยัง ภะคะวนั ตัง สะธมั มงั สะสงั ฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหงั อาโรปเิ ตหิ อะภปิ ชู ะยามะ, ขา้ พเจ้าทงั้ หลาย, ขอบชู าอย่างย่ิงซงึ่ พระผูม้ ีพระภาคเจา้ พระองคน์ น้ั , พร้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์ ด้วยเคร่ือง สกั การะทัง้ หลายเหลา่ นี้, อันยกขึ้นตามสมควรแลว้ อย่างไร, สาธุโน ภนั เต ภะคะวา สุจิระปะรนิ พิ พโุ ตปิ, ขา้ แตพ่ ระองคผ์ ู้เจริญ, พระผ้มู พี ระภาคเจ้าแมป้ รนิ พิ พาน นานแลว้ , ทรงสรา้ งคณุ อนั ส�ำ เรจ็ ประโยชนไ์ วแ้ กข่ า้ พเจา้ ทง้ั หลาย, ปจั ฉิมา ชะนะตานุกมั ปะมานะสา, ทรงมพี ระหฤทยั อนเุ คราะหแ์ กพ่ วกขา้ พเจา้ อนั เปน็ ชนรนุ่ หลงั , ๔๐ พุทธมนตบ์ �ำ บดั อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ
อิเม สกั กาเร ทุคคะตะปณั ณาการะภเู ต ปฏคิ คณั หาตุ, ขอพระผู้มพี ระภาคเจ้าจงทรงรบั เครื่องสักการะ อนั เปน็ บรรณาการของคนยากทง้ั หลายเหล่าน ี้ อมั หากัง ทฆี ะรตั ตัง หติ ายะ สขุ ายะ, เพ่อื ประโยชนแ์ ละความสุข แก่ข้าพเจา้ ทัง้ หลาย ตลอดกาลนานเทอญฯ อะระหงั สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผมู้ พี ระภาคเจ้า, เปน็ พระอรหันต,์ ดับเพลิงกเิ ลสเพลิง ทกุ ข์ส้ินเชิง ตรัสร้ชู อบได้โดยพระองคเ์ อง พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ, ขา้ พเจา้ อภวิ าทพระผมู้ พี ระภาคเจา้ , ผรู้ ู้ ผตู้ น่ื ผเู้ บกิ บาน, (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, พระธรรม เป็นธรรมทีพ่ ระผู้มพี ระภาคเจา้ ตรัสไวด้ ีแลว้ ธมั มัง นะมัสสาม,ิ ข้าพเจา้ นมัสการพระธรรม, (กราบ) สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆส์ าวกของพระผมู้ ีพระภาคเจ้า, ปฏบิ ัตดิ แี ลว้ , สงั ฆัง นะมามิ, ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ,์ (กราบ) พระธาตรี อุปปฺ ลวณฺโณ วัดปา่ กดุ ฉนวนอุดมพร ๔๑
คำ�นอบนอ้ มพระพุทธเจ้า (ปุพพะภาคะนะมะการ) (นำ�) หนั ทะ มะยงั พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปพุ พะภาคะ นะมะ การงั กะโรมะเส. ฯ (รบั ) นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต, ขอนอบน้อมแด่พระผูม้ ีพระภาคเจ้าพระองคน์ ้ัน อะระหะโต, ซ่งึ เป็นผไู้ กลจากกิเลส สัมมาสัมพทุ ธัสสะ ตรสั รู้ชอบไดโ้ ดยพระองค์เอง (ว่า ๓ หน) ๑. พุทธานุสสะติ (นำ�) หนั ทะ มะยัง พุทธานุสสะตนิ ะยงั กะโรมะ เส ฯ. (รับ) ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวงั กัละยาโณ กติ ติสัทโท อพั ภุคคะโต, กก็ ิตติศัพท์อนั งามของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ นัน้ , ได้ฟุ้งไปแล้วอย่างนี้วา่ อติ ปิ ิ โส ภะคะวา, เพราะเหตุอยา่ งนีิ้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้าน้ัน อะระหัง, เป็นผไู้ กลจากกิเลส สัมมาสัมพุทโธ, เปน็ ผตู้ รัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง วชิ ชาจะระณะสมั ปนั โน, เป็นผถู้ งึ พรอ้ มด้วยวชิ ชาและจรณะ สุคะโต, เปน็ ผู้ไปแล้วดว้ ยดี โลกะวิท,ู เป็นผู้ร้โู ลกอย่างแจม่ แจ้ง อะนุตตะโร ปุรสิ ะทมั มะสาระถิ, เปน็ ผูส้ ามารถฝกึ บุรษุ ทสี่ มควรฝกึ ได้อย่างไมม่ ีใครยิง่ กวา่ ๔๒ พุทธมนต์บำ�บดั อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ
สัตถา เทวะมะนสุ สานัง, เปน็ ครูผู้สอนของเทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย พทุ โธ, เปน็ ผู้รู้ ผู้ต่นื ผูเ้ บกิ บานดว้ ยธรรม ภะคะวาต.ิ ฯ เปน็ ผูม้ คี วามจ�ำ เจรญิ จำ�แนกธรรมส่ังสอนสัตว์ ดงั นี้. ฯ ๒. พุทธาภิคตี ิ (นำ�) หนั ทะ มะยงั พทุ ธาภิคีติง กะโรมะ เส. ฯ (รบั ) พุทธวาระหนั ตะวะระตาทิคุณาภยิ ตุ โต, พระพุทธเจา้ ประกอบด้วยคณุ มีความประเสรฐิ แห่งอรหนั ตคณุ เป็นต้น, สทุ ธา ภิญาณะกะรณุ าหิ สะมาคะตัตโต, มพี ระองคอ์ นั ประกอบดว้ ยพระญาณ และพระกรณุ าอนั บรสิ ทุ ธ,์ิ โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลงั วะ สโู ร, พระองคใ์ ด ทรงกระท�ำ ชนทด่ี ใี หเ้ บกิ บาน ดจุ อาทติ ยท์ �ำ บวั ใหบ้ าน, วนั ทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชเิ นนทัง, ขา้ พเจา้ ไหวพ้ ระชนิ สหี ์ ผไู้ มม่ กี เิ ลส พระองคน์ น้ั ดว้ ยเศยี รเกลา้ , พุทโธ โย สพั พะปาณนี งั สะระณงั เขมะมุตตะมัง, พระพุทธเจา้ พระองคใ์ ด, เปน็ สรณะอนั เกษมสงู สุด ของสัตว์ทงั้ หลาย, ปะฐะมานุสสะตฏิ ฐานงั วันทามิ ตัง สิเรนะหงั , ขา้ พเจา้ ไหวพ้ ระพทุ ธเจา้ พระองค์นน้ั อันเปน็ ทต่ี ั้ง แห่งความระลกึ องคท์ ีห่ น่ึง ด้วยเศียรเกลา้ , พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณฺโณ วดั ป่ากุดฉนวนอดุ มพร ๔๓
พุทธัสสาหสั มิ ทาโส (ทาส)ี * วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร, ข้าพเจา้ เปน็ ทาสของพระพทุ ธเจา้ พระพุทธเจา้ เปน็ นาย มีอสิ ระเหนือข้าพเจ้า พทุ โธ ทกุ ขสั สะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, พระพุทธเจ้าเปน็ เครอื่ งก�ำ จัดทุกข์ และทรงไว้ ซง่ึ ประโยชนแ์ ก่ขา้ พเจา้ พทุ ธสั สาหัง นิยยาเทมิ สะรรี ญั ชีวติ ญั จทิ ัง, ข้าพเจา้ มอบกายถวายชวี ติ นี,้ แด่พระพุทธเจ้า วันทันโตหงั (ตหี ัง)* จะริสสามิ พทุ ธสั เสวะ สุโพธติ ัง ขา้ พเจา้ ผู้ไหว้อยู่จกั ประพฤติตาม ซึง่ ความตรสั รู้ดี ของพระพุทธเจา้ นัตถิ เม สะระณงั อญั ญัง พทุ โธ เม สะระณงั วะรัง, สรณะอื่นของข้าพเจ้าไมม่ พี ระพทุ ธเจา้ เป็นสรณะ อันประเสริฐของข้าพเจ้า เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วฑั เฒยยงั สตั ถุ สาสะเน, ดว้ ยการกลา่ วค�ำ สจั จ์น้,ี ข้าพเจา้ พึงเจริญในพระศาสนา ของพระศาสดา, พทุ ธงั เม วนั ทะมาเนนะ (มานายะ)* ยัง ปุญญงั ปะสตุ ัง อิธะ, ขา้ พเจา้ ผไู้ หวอ้ ยซู่ ง่ึ พระพทุ ธเจา้ ไดข้ วนขวายบญุ ใด ในบดั น,้ี สพั เพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. ฯ อันตรายทงั้ ปวง อย่าไดม้ ีแก่ข้าพเจ้า, ดว้ ยเดชแห่งบุญนั้น. ๔๔ พุทธมนตบ์ �ำ บดั อโรคยาศาล จ.ชัยภมู ิ
(หมอบกราบ) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ดว้ ยกายก็ดี ดว้ ยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี พทุ เธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยายัง, กรรมนา่ ติเตยี นอันใดทขี่ ้าพเจ้ากระท�ำ แล้วในพระพุทธเจา้ พทุ โธ ปะฏิคคณั หะตุ อจั จะยันตัง, ขอพระพุทธเจา้ จงงดซ่ึงโทษล่วงเกนิ อันนัน้ กาลันตะเร สงั วะรติ งุ วะ พุทเธ. ฯ เพอ่ื การส�ำ รวมระวัง ในพระพุทธเจา้ ในกาลต่อไป (น่งั คุกเข่าวา่ ) ๓. ธัมมานสุ สะติ (น�ำ ) หันทะ มะยัง ธมั มานุสสะตนิ ะยงั กะโรมะ เส. ฯ (รบั ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, พระธรรมเปน็ สิง่ ที่พระผมู้ ีพระภาคเจา้ , ได้ตรสั ไวด้ แี ลว้ , สันทิฏฐิโก, เป็นส่งิ ท่ผี ศู้ กึ ษาและปฏิบตั ,ิ พงึ เห็นไดด้ ้วยตนเอง, อะกาลิโก, เปน็ สิ่งทปี่ ฏบิ ัติได้ และให้ผลไดไ้ มจ่ �ำ กัดกาล, เอหปิ ัสสโิ ก, เปน็ สิง่ ทคี่ วรกล่าวกบั ผอู้ ื่นวา่ ทา่ นจงมาดเู ถดิ , โอปะนะยโิ ก, เปน็ สิ่งท่ีควรน้อมเขา้ มาใส่ตัว ปัจจตั ตงั เวทิตพั โพ วิญญหู ีต.ิ ฯ* เปน็ สง่ิ ทผ่ี รู้ ู้ กร็ ไู้ ดเ้ ฉพาะตน ดงั น.้ี ฯ * อา่ นวา่ วญิ ญูฮีติ มาจากคำ�วา่ วญิ ญหู ิ + อติ ิ
๔. ธมั มาภิคตี ิ (นำ�) หนั ทะ มะยัง ธัมมาภคิ ตี ิง กะโรมะ เส. ฯ (รับ) สวากขาตะตาทคิ ณุ ะโยคะวะเสนะ เสยโย, พระธรรม เป็นสิ่งที่ประเสรฐิ เพราะประกอบดว้ ยคณุ คอื ความทพ่ี ระผ้มู ีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดแี ลว้ เป็นตน้ , โย มคั คะปากะปะรยิ ัตตวิ ิโมกขะเภโท, เป็นธรรมอนั จำ�แนก เปน็ มรรค ผล ปริยัติ และนพิ พาน ธัมโม กโุ ลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี, เปน็ ธรรมทรงไว้ซ่ึงผทู้ รงธรรม จากการตกไปสู่โลกท่ีชว่ั วันทามะหงั ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง, ขา้ พเจา้ ไหว้พระธรรมอนั ประเสรฐิ นัน้ อนั เป็นเคร่อื งขจัด เสียซึ่งความมืด ธมั โม โย สพั พะปาณนี งั สะระณงั เขมะมตุ ตะมัง, พระธรรมใด เปน็ สรณะอนั เกษมสูงสดุ ของสัตว์ทั้งหลาย ทุติยานสุ สะตฏิ ฐานงั วนั ทามิ ตงั สิเรนะหัง, ข้าพเจา้ ไหว้พระธรรมน้นั อันเป็นทีต่ งั้ แห่งความระลึก องค์ทีส่ อง ด้วยเศียรเกลา้ ธัมมัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี)* วะ ธัมโม เม สามกิ สิ สะโร, ข้าพเจา้ เป็นทาสของพระธรรม พระธรรมเปน็ นาย มีอิสระเหนือข้าพเจา้ ธัมโม ทกุ ขัสสะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หติ ัสสะ เม, พระธรรมเป็นเครื่องกำ�จัดทกุ ข์ และทรงไว้ซงึ่ ประโยชน์แก ่ ขา้ พเจ้า, ๔๖ พุทธมนตบ์ �ำ บดั อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ
ธัมมัสสาหัง นยิ ยาเทมิ สะรีรัญชวี ิตัญจทิ งั , ขา้ พเจ้ามอบกายถวายชวี ิตน้ี แดพ่ ระธรรม วนั ทนั โตหัง (ตหี งั )* จะรสิ สามิ ธัมมสั เสวะ สธุ มั มะตงั , ข้าพเจา้ ผ้ไู หว้อย่จู ักประพฤตติ าม ซึง่ ความเป็นธรรมดีของ พระธรรม, นัตถิ เม สะระณัง อัญญงั ธมั โม เม สะระณงั วะรงั , สรณะอ่ืนของขา้ พเจา้ ไม่มีพระธรรมเปน็ สรณะอนั ประเสรฐิ ของข้าพเจา้ , เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ วัฑเฒยยงั สตั ถุ สาสะเน, ด้วยการกลา่ วคำ�สัจจน์ ี้ ขา้ พเจา้ พงึ เจรญิ ในพระศาสนา ของพระศาสดา ธมั มงั เม วนั ทะมาเนนะ (มานายะ)* ยงั ปุญญงั ปะสตุ ัง อิธะ ขา้ พเจ้าผู้ไหวอ้ ย่ซู ง่ึ พระธรรม ไดข้ วนขวายบญุ ใดในบัดน้ี สพั เพปิ อันตะรายา เม มาเหสงุ ตัสสะ เตชะสา, อันตรายทงั้ ปวง อย่าไดม้ แี ก่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแหง่ บญุ นั้น (หมอบกราบ) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ด้วยกายกด็ ี ดว้ ยวาจากด็ ี ด้วยใจก็ดี ธัมเม กุกมั มัง ปะกะตงั มะยา ยัง, กรรมนา่ ตเิ ตียนอันใด ทขี่ ้าพเจา้ กระท�ำ แล้ว ในพระธรรม ธัมโม ปะฏิคคณั หะตุ อจั จะยันตัง, ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันน้นั กาลันตะเร สังวะรติ งุ วะ ธัมเม, เพื่อการส�ำ รวมระวัง ในพระธรรม ในกาลตอ่ ไป พระธาตรี อปุ ปฺ ลวณฺโณ วดั ป่ากดุ ฉนวนอดุ มพร ๔๗
(นัง่ คุกเขา่ วา่ ) ๕. สงั ฆานสุ สะติ (น�ำ ) หนั ทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยงั กะโรมะ เส. ฯ (รับ) สุปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ์สาวกของพระผมู้ ีพระภาคเจ้าหมใู่ ด ปฏิบัติดแี ล้ว อุชปุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงฆ์ สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมูใ่ ด ปฏบิ ตั ิตรงแลว้ ญายะปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจ้าหมใู่ ด, ปฏบิ ตั ิเพือ่ ร้ธู รรม เป็นเครอ่ื งออกจากทุกขแ์ ล้ว สามีจปิ ะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงฆ์สาวกของพระผ้มู ีพระภาคเจา้ หมู่ใด ปฏิบัตสิ มควรแล้ว ยะทิทัง, ไดแ้ กบ่ คุ คลเหลา่ นี้ คือ จัตตาริ ปรุ สิ ะยคุ านิ อัฏฐะ ปุริสะปคุ คะลา* คแู่ หง่ บรุ ษุ ๔ ค*ู่ นับเรียงตัวบรุ ษุ ได้ ๘ บรุ ุษ เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, นั่นแหละสงฆส์ าวกของพระผูม้ ีพระภาคเจ้า อาหุเนยโย, เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะท่ีเขานำ�มาบูชา ปาหเุ นยโย, เปน็ สงฆ์ควรแก่สักการะทีเ่ ขาจัดไวต้ ้อนรบั ทกั ขิเนยโย, เป็นผู้ควรรบั ทักษิณาทาน อัญชะลีกะระณโี ย, เปน็ ผทู้ ี่บุคคลทั่วไปควรทำ�อญั ชลี อะนุตตะรงั ปุญญกั เขตตัง โลกสั สาติ. ฯ เปน็ เน้ือนาบญุ ของโลก ไมม่ ีนาบญุ อน่ื ย่งิ กวา่ ดังนี.้ * บุรุษ ๔ ค ู่ ค อื ๑๓.. โอสนดาาคปาัตมตริ มิรครรคอนโาสคดาามปิผัตลต ิผล ๒๔.. อสรกหทิ ัตาตคมามรรมิ ครรอครหสัตกตทิ ผาคลามิผล
๖. สังฆาภิคีติ (นำ�) หันทะ มะยงั สงั ฆาภคิ ีติง กะโรมะ เส. ฯ (รบั ) สัทธัมมะโช สุปะฏปิ ตั ตคิ ณุ าทิยตุ โต, พระสงฆท์ ีเ่ กดิ โดยพระสทั ธรรม ประกอบด้วยคุณ มคี วามปฏิบตั ดิ ี เปน็ ตน้ , โยฏฐัพพโิ ธ อะรยิ ะปคุ คะละสงั ฆะเสฏโฐ, เปน็ หมู่แห่งพระอรยิ บุคคลอนั ประเสริฐ แปดจ�ำ พวก สีลาทธิ ัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต, มกี ายและจิต อันอาศัยธรรมมศี ีลเป็นตน้ อนั บวร วนั ทามะหัง ตะมะรยิ านะคะณัง สุสทุ ธัง, ขา้ พเจา้ ไหว้หมู่แห่งพระอริยเจ้าเหลา่ นั้น อันบรสิ ุทธ์ดิ ว้ ยดี สงั โฆ โย สพั พะปาณีณงั สะระณงั เขมะมุตตะมัง, พระสงฆห์ มู่ใด เปน็ สรณะอนั เกษมสูงสุด ของสตั วท์ ั้งหลาย, ตะตยิ านุสสะตฏิ ฐานงั วนั ทามิ ตัง สิเรนะหัง, ข้าพเจา้ ไหว้พระสงฆ์หมู่นัน้ อันเป็นทต่ี ัง้ แหง่ ความระลกึ องคท์ สี่ าม ด้วยเศียรเกลา้ สังฆสั สาหัสมิ ทาโส (ทาส)ี * วะ สงั โฆ เม สามกิ สิ สะโร, ขา้ พเจา้ เปน็ ทาสของพระสงฆ์ พระสงฆเ์ ปน็ นายมอี สิ ระเหนอื ขา้ พเจา้ สังโฆ ทกุ ขัสสะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หติ สั สะ เม, พระสงฆเ์ ปน็ เครอ่ื งก�ำ จดั ทกุ ข์ และทรงไวซ้ ง่ึ ประโยชนแ์ กข่ า้ พเจา้ สังฆัสสาหงั นยิ ยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจทิ ัง, ข้าพเจา้ มอบกายถวายชวี ติ นี้ แดพ่ ระสงฆ์ * ส�ำ หรบั ผู้หญงิ ว่า 49 พระธาตรี อปุ ฺปลวณฺโณ วัดปา่ กุดฉนวนอดุ มพร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161