141 1. ฝ่ายคุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน มีหน้าที่จัดการเรื่องร้องเรียน และ กำกับดูแลด้านการให้บริการแก่ลูกค้าอย่างเป็นธรรม (market conduct) ซึ่งการให้บริการแก่ ลกู คา้ ทเ่ี ปน็ ธรรมของสถาบันการเงนิ ประกอบไปด้วย 4 ขอ้ หลักดังน้ี 1) ไม่หลอก ผู้ให้บริการต้องให้ข้อมูลที่ครบถ้วนชัดเจน ไม่เกินจริง ไม่บิดเบือน และเพียงพอต่อการตัดสินใจ สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง และเพียงพอต่อการใช้ บรกิ ารตอ่ ไป 2) ไม่บังคับ ลูกค้าได้รับการเสนอทางเลือกในการซื้อผลิตภัณฑ์ที่ลูกค้า สนใจ ผู้ให้บริการมีระบบและกระบวนการในการตรวจสอบคุณภาพการขายในทุกช่องทาง เพ่ือใหม้ ่นั ใจว่าการเสนอขาย ไมเ่ ปน็ การบงั คับ ไมห่ ลอก ไม่รบกวน เปิดเผยโปรง่ ใส 3) ไม่รบกวน ผู้ให้บริการมีการกำหนดช่วงเวลาและจำนวนครั้งในการ ติดต่อเสนอขายทางโทรศัพท์ มีแนวปฏบิ ัติที่ชัดเจนเมือ่ ลูกค้าไมส่ นใจ มีการลงโทษกรณีพบการ ขายที่รบเร้าลูกค้าหรือบังคับ มีระบบรายชื่อผู้ห้ามติดต่อ (do not call list) สำหรับลูกค้าที่ไม่ ประสงค์ให้ติดต่ออีก และมีการปรับปรุงรายชื่อดังกล่าวให้เป็นปัจจุบันตลอดเวลา มีการจัดทำ เว็บไซต์หรืออีเมลเพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์และให้ลูกค้าที่มีความสนใจแจ้งหมายเลข โทรศพั ทเ์ พ่ือใหผ้ ูใ้ ห้บริการติดต่อกลบั มาเสนอขายได้ 4) ไมเ่ อาเปรียบ ลูกค้าไดร้ ับผลติ ภัณฑแ์ ละบริการท่ีเป็นธรรมทัง้ ด้านราคา และเง่ือนไข ตรงกับความประสงค์และความสามารถของลูกค้า และเป็นไปตามความคาดหวัง ของลูกค้า รวมถึงข้อมูลและสินทรัพย์ของลูกค้าที่ได้รับการดูแลไม่ให้นำไปใช้ในทางที่ไม่ เหมาะสม ชุดวชิ าการเงินเพื่อชีวติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 สิทธิและหน้าที่ของผู้ใช้บริการทางการเงนิ
142 สามารถขอคำปรึกษาหรือร้องเรียนเกี่ยวกับบริการทางการเงินได้ท่ีศูนย์คุ้มครอง ผู้ใช้บริการทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย โทร. 1213 หรือที่เว็บไซต์ศูนย์คุ้มครอง ผ้ใู ชบ้ ริการทางการเงนิ แหลง่ ศกึ ษาข้อมลู เพ่มิ เตมิ เว็บไซต์ ศคง. https://www.1213.or.th/th/aboutfcc/ แนวทางการรบั และ complainthandling/Pages/complain- พิจารณาเรอื่ งรอ้ งเรยี น condition.aspx 2. ฝ่ายส่งเสริมความรู้ทางการเงิน มีหน้าที่ส่งเสริมความรู้ทางการเงิน เพื่อให้ ประชาชนมีความรู้เบื้องต้นทางการเงินเพื่อให้สามารถวางแผนทางการเงินของตนเองได้อย่าง เหมาะสม สามารถตัดสินใจเลือกใช้บริการทางการเงินได้ตามที่ตนเองต้องการ รู้เท่าทันกลโกง ของมิจฉาชีพ โดยให้ความรู้ในรูปแบบสื่อ เช่น อินโฟกราฟิก บทความ รวมถึงการจัดกิจกรรม ต่าง ๆ ผา่ นช่องทางการให้ความรทู้ างการเงินดังนี้ ชุดวชิ าการเงนิ เพือ่ ชีวิต 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 สทิ ธิและหน้าท่ขี องผใู้ ช้บรกิ ารทางการเงิน
143 เวบ็ ไซต์ ศคง. https://www.1213.or.th/ เฟซบุ๊ก ศคง. https://www.facebook.com/hotline1213 หน่วยงานที่รับเรอื่ งร้องเรยี นอนื่ ๆ ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 สิทธแิ ละหนา้ ที่ของผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงนิ
144 สำหรบั ผลิตภณั ฑแ์ ละผใู้ ห้บรกิ ารทางการเงนิ ท่ีไมไ่ ดอ้ ยูภ่ ายใตก้ ารกำกบั ดแู ลของ ธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้ใช้บรกิ ารสามารถขอคำแนะนำหรือร้องเรยี นได้ดงั น้ี 1. สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง https://1359.go.th/fidp/index.php (สศค.) โทร. 1359 2. สำนักงานคณะกรรมการ https://www.sec.or.th/th/pages/ กำกับหลักทรัพย์และตลาด home.aspx หลกั ทรัพย์ (ก.ล.ต.) โทร. 1207 3. สำนกั งานคณะกรรมการ https://www.oic.or.th/th/consumer กำกบั และสง่ เสรมิ การ ประกอบธุรกจิ ประกนั ภยั (คปภ.) โทร. 1186 4. บรษิ ัท ขอ้ มลู เครดติ แห่งชาติ https://www.ncb.co.th/ จำกดั (เครดติ บูโร) 5. สำนักงานคณะกรรมการ http://www.ocpb.go.th คุม้ ครองผู้บริโภค (สคบ.) โทร. 1166 6. หน่วยงานทร่ี บั เรอื่ งร้องเรียน 1) กรมการปกครอง โทร. 0 2356 9660 เกี่ยวกับการทวงหนอ้ี ยา่ ง 2) สำนกั งานเศรษฐกจิ การคลัง โทร. 1359 ไมเ่ หมาะสม 3) กองบัญชาการตำรวจนครบาล โทร. 0 2354 5249 4) ทที่ ำการปกครองจังหวัด 5) สถานีตำรวจ 6) ทว่ี า่ การอำเภอ ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่อื ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4 สทิ ธิและหน้าทข่ี องผูใ้ ช้บรกิ ารทางการเงิน
145 7. หนว่ ยงานที่รับเร่อื ง ร้องเรยี นเกยี่ วกับสหกรณ์ สำนักเลขานกุ าร กรมส่งเสริม http://office.cpd.go.th/secretary/ สหกรณ์ โทร.1111 หรือโทร. 0 2281 3095 8. หน่วยงานทร่ี ับเร่อื ง ร้องเรียนเกยี่ วกับโรงรับจำนำ 1) สำนกั งานธนานุเคราะห์ http://www.pawn.co.th (สธค.) กระทรวงพฒั นาสังคม และความมน่ั คงของมนษุ ย์ โทร.0 2281 7500 2) สำนกั งานสถานธนานุบาล http://pawnshop.bangkok.go.th/ กรงุ เทพมหานคร (สธก.) โทร. 0 2158 0042 ถึง 44 3) คณะกรรมการควบคุม โรงรับจำนำ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย โทร. 1548 กจิ กรรมท้ายเรอื่ งท่ี 4 การคมุ้ ครองผใู้ ช้บริการทางการเงนิ ของธนาคารแห่งประเทศไทย และหนว่ ยงานที่รับเรอ่ื งรอ้ งเรียนอน่ื ๆ (ให้ผู้เรียนไปทำกจิ กรรมเรื่องที่ 4 ทสี่ มุดบันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู)้ ชุดวชิ าการเงินเพอื่ ชีวิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สิทธแิ ละหนา้ ที่ของผูใ้ ชบ้ รกิ ารทางการเงิน
146 เรือ่ งที่ 5 ข้ันตอนการรอ้ งเรียนและหลักการเขยี นหนังสอื ร้องเรยี น ขั้นตอนการรอ้ งเรยี น หากได้รับการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องหรือถูกเอาเปรียบจาก สถาบันการเงินหรือ ผู้ให้บริการทางการเงินภายใต้การกำกับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย เช่น เงินต้นหรือ ยอดหนี้ไมถ่ ูกตอ้ ง ไถ่ถอนหลกั ประกนั ลา่ ช้า ไมไ่ ดร้ ับการติดตอ่ จากผูใ้ ห้บรกิ ารทางการเงิน ได้รบั ข้อมูลไม่ถูกต้องทำให้เข้าใจผิดในตัวผลิตภัณฑ์ คำนวณดอกเบี้ยผิด หรือได้รับการบริการท่ี ไมเ่ หมาะสม ผ้ใู ช้บรกิ ารทางการเงินสามารถร้องเรยี นได้ตามขน้ั ตอนดังนี้ 1. ร้องเรียนท่ีศูนย์บริการลูกค้า (call center) ของสถาบันการเงินหรือ ผู้ใหบ้ ริการทางการเงินน้ัน ๆ เพอ่ื แจ้งเรอ่ื งรอ้ งเรยี นหรอื ปัญหาทพี่ บ 2. หากไม่ได้รับการติดต่อกลับภายในระยะเวลาการให้บริการมาตรฐาน4 หรือไม่ได้รับการปฏิบัติที่เหมาะสม สามารถขอรับคำปรึกษาได้ที่ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการ ทางการเงิน (ศคง.) โทร. 1213 ในวันจันทร์ - วันศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 - 12.00 น. และ 13.00 - 16.30 น. หรอื ช่องทางอนื่ ๆ ดังนี้ 1) จดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-mail) ของ ศคง. [email protected] 2) เว็บไซต์ ศคง. www.1213.or.th 3) ร้องเรียนด้วยตนเอง เพื่อติดต่อขอพบเจ้าหน้าที่ตามเวลาข้างต้นโดย การนัดหมายลว่ งหนา้ 4) จดหมาย/โทรสาร (fax) ตามท่อี ยหู่ รอื หมายเลขโทรสารดงั น้ี 4 ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) โดยศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) ร่วมกับสมาคม ธนาคารไทย และสาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศที่ให้บริการลูกค้าบุคคลธรรมดารายย่อย กำหนดมาตรฐานการ ให้บริการของแต่ละธนาคาร (SLA) โดยจัดทำเป็นตารางแสดงระยะเวลาการให้บริการของธนาคารแต่ละแห่งเผยแพร่ผ่าน ทางเวบ็ ไซต์ ศคง. www.1213.or.th โดยเลอื ก “ข้อมลู เปรยี บเทียบ” เลอื ก “SLA” ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชีวิต 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 สทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องผูใ้ ชบ้ รกิ ารทางการเงิน
147 ฝา่ ยคุม้ ครองผู้ใช้บรกิ ารทางการเงนิ ภาคกลาง ธนาคารแหง่ ประเทศไทย สำนักงานใหญ่ 273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 สว่ นคุม้ ครองและให้ความรผู้ ู้ใชบ้ ริการทางการเงิน ธนาคารแหง่ ประเทศไทย สำนักงานภาคเหนอื ภาคเหนอื 68/3 ถนนโชตนา ตำบลชา้ งเผือก อำเภอเมอื ง จงั หวัดเชียงใหม่ 50300 โทรสาร (fax) 0 5393 1103 สว่ นคุ้มครองและให้ความรูผ้ ู้ใชบ้ รกิ ารทางการเงนิ ภาค ธนาคารแหง่ ประเทศไทย สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวนั ออก 45 ถนนนกิ รสำราญ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแกน่ เฉยี งเหนือ 40000 โทรสาร (fax) 0 4324 1045 สว่ นคุ้มครองและให้ความรผู้ ้ใู ชบ้ รกิ ารทางการเงนิ ภาคใต้ ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคใต้ 472 ถนนเพชรเกษม อำเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา 90110 โทรสาร (fax) 0 7423 4701 หลกั การเขียนหนงั สือร้องเรียน ในการร้องเรียน ควรเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้องให้ครบถ้วน เช่น เอกสารแสดง ตัวตน (สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน/หนังสือเดินทาง) เอกสารประกอบเรื่องร้องเรียน (เช่น สำเนาใบแจ้งหน้ี/สญั ญา) โดยควรดำเนินการดงั น้ี ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชีวติ 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 สิทธแิ ละหนา้ ทข่ี องผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงนิ
148 ▪ เล่าเหตุการณ์สำคญั โดยมีการเรียงลำดับเหตกุ ารณแ์ ละใชถ้ อ้ ยคำทีส่ ุภาพ ▪ ใหข้ อ้ มูลท่ีสำคญั และจำเปน็ ใหค้ รบถว้ น ▪ แจง้ สงิ่ ทีต่ ้องการใหส้ ถาบนั การเงนิ ดำเนนิ การ ▪ แจ้งขอ้ มูลสว่ นตวั เช่น ชอื่ ทอ่ี ยู่ เบอรโ์ ทรศัพทท์ ีส่ ามารถตดิ ตอ่ ได้ ▪ แนบเอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ งใหค้ รบถ้วน สามารถศึกษาเงือ่ นไขการรบั เรื่องร้องเรียนได้ที่เว็บไซต์ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บรกิ าร ทางการเงนิ เว็บไซต์ ศคง. https://www.1213.or.th/th/aboutfcc/ แนวทางการรบั และ complainthandling/Pages/complain- พิจารณาเร่อื งรอ้ งเรียน condition.aspx กิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 5 ขั้นตอนการร้องเรยี นและหลักการเขียนหนงั สือร้องเรยี น (ใหผ้ ู้เรียนไปทำกิจกรรมเรือ่ งที่ 5 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้) ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชีวิต 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 สทิ ธแิ ละหนา้ ท่ีของผู้ใช้บรกิ ารทางการเงิน
149 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 ภยั ทางการเงิน สาระสำคัญ รปู แบบการดำรงชวี ติ และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้มจิ ฉาชีพพัฒนาสารพัด กลโกงเพื่อหลอกขโมยเงินจากเหยื่อ โดยมักจบั จดุ อ่อนของเหยือ่ คือ ความกลัว ความโลภ และ ความไมร่ ู้มาเป็นตวั ช่วย เราจึงจำเป็นต้องรู้เทา่ ตามทนั กลโกงของมจิ ฉาชีพ ไม่ว่าจะเป็นกลโกงที่มา ในรูปแบบของการเงินนอกระบบ ที่มีทั้งหนี้นอกระบบและแชร์ลูกโซ่ ภัยใกล้ตัว ภัยออนไลน์ และภัยที่แฝงมากับบัตรอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถป้องกันตนเองจากภัยเหล่านี้ได้ รวมไปถึงรู้จกั หนว่ ยงานหรอื องคก์ รท่ใี หค้ ำปรึกษาหากตกเปน็ เหย่ือภัยทางการเงนิ ตวั ช้ีวัด 1. บอกประเภทและลกั ษณะของภยั ทางการเงนิ และยกตัวอย่างภัยทางการเงนิ ทม่ี ีในชุมชน 2. บอกวธิ ีการปอ้ งกันตนเองจากภยั ทางการเงิน 3. บอกวธิ ีแก้ปัญหาทีเ่ กดิ จากภัยทางการเงิน ขอบขา่ ยเน้ือหา เรอ่ื งที่ 1 หน้นี อกระบบ เรอ่ื งที่ 2 แชรล์ ูกโซ่ เรื่องที่ 3 ภัยใกล้ตวั เรื่องที่ 4 แกง๊ คอลเซนเตอร์ เร่อื งท่ี 5 ภัยออนไลน์ เรื่องท่ี 6 ภัยธนาคารออนไลน์ เรือ่ งท่ี 7 ภยั บัตรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชีวติ 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 5 ภยั ทางการเงนิ
150 สอ่ื การเรยี นรู้ 1. ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชวี ิต 1 2. เวบ็ ไซตศ์ ูนย์ค้มุ ครองผู้ใช้บรกิ ารทางการเงนิ (ศคง.): www.1213.or.th 3. เฟซบุก๊ ศคง. 1213: www.facebook.com/hotline1213 เวลาที่ใช้ในการศกึ ษา 20 ชว่ั โมง ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชีวิต 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภยั ทางการเงนิ
151 เรือ่ งท่ี 1 หนน้ี อกระบบ เมื่อจำเป็นต้องใช้เงิน แต่ไม่สามารถขอกู้เงินจากสถาบันการเงินได้ หลายคนคง นึกถึงการกู้เงินนอกระบบที่ได้เงินเร็ว ไม่ยุ่งยาก ไม่ต้องมีหลักประกันหรือใช้บุคคลค้ำประกัน จนอาจลืมนึกถึงเล่ห์เหล่ยี มหรอื กลโกงที่อาจแฝงมากบั การกู้เงนิ นอกระบบ ลกั ษณะกลโกงหน้นี อกระบบ 1. ใช้ตวั เลขน้อย ๆ เพ่อื จูงใจ นายทุนเงินกู้นอกระบบมักบอกตัวเลขน้อยเพื่อจูงใจผู้กู้ ไม่ว่าจะเป็นจำนวน เงินผ่อนต่องวดหรือดอกเบี้ย เช่น กู้เงิน 10,000 บาท ให้ผ่อนวันละ 150 บาทเป็นระยะเวลา 90 วนั แต่เม่อื คำนวณแล้วต้องจ่ายหนค้ี ืน 13,500 บาทภายใน 3 เดือน ดอกเบี้ยสงู ถึง 35% ต่อ สามเดอื นหรือ 140% ต่อปี เจา้ หนบี้ างรายก็บอกแคอ่ ตั ราดอกเบ้ีย แต่ไม่ได้บอกว่าเปน็ อัตราดอกเบี้ยต่อ วัน ต่อเดือน หรือต่อปี เช่น เจ้าหนี้รายหนึ่งปล่อยเงินกู้ 3% ลูกหนี้เห็นว่าอัตราดอกเบี้ยน้อย กว่าสถาบันการเงินก็แห่ไปกู้เงิน แต่เมื่อคำนวณดอกเบี้ยทั้งปีแล้ว ลูกหนี้ก็ตกใจ เพราะดอกเบ้ีย 3% นั้นเป็นดอกเบ้ียตอ่ วัน ถ้าคดิ เปน็ ต่อปี กส็ งู ถงึ 1,080% 2. ให้เซน็ เอกสารท่ีไมไ่ ด้กรอกตวั เลข นอกจากจะใช้ตัวเลขค่างวดหรือดอกเบี้ยน้อย ๆ ดึงดูดลูกหนี้แล้ว เจ้าหน้ี บางรายก็ให้ลูกหนี้เซ็นสัญญากูย้ ืมโดยทีย่ ังไมไ่ ด้กรอกตัวเลข ทำให้ลูกหนีต้ ้องเป็นหนี้มากกว่าท่ี ได้ตกลงกันไว้ด้วยวาจา เช่น ลูกหนี้รายหนึ่งต้องใช้เงินคืนเจ้าหนี้ 100,000 บาท ทั้ง ๆ ที่กู้เงิน มาแค่ 20,000 บาท เพยี งเพราะไปเซ็นสญั ญาในเอกสารทย่ี งั ไมไ่ ด้กรอกจำนวนเงนิ กู้ 3. บบี ให้เซน็ สญั ญาเงินกู้เกินจรงิ เจ้าหนี้บางรายบีบบังคับให้ลูกหนี้เซ็นสัญญาเงินกู้เกินจริง เช่น ขอกู้ 10,000 บาท แต่บังคับให้เซ็นในเอกสารที่เขียนว่าขอกู้ 30,000 บาท ลูกหนี้บางรายมีความ จำเป็นต้องใชเ้ งิน กจ็ ำใจเซ็นสัญญานนั้ ชดุ วิชาการเงินเพือ่ ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ภยั ทางการเงิน
152 4. หลกี เล่ียงให้ก้โู ดยตรง หลายครั้งที่สัญญาอำพรางเงินกู้ถูกนำมาใช้เพื่อหลอกล่อผู้ที่เดือดร้อนเรื่อง เงิน เช่น ลูกหนี้รายหนึ่งติดตอ่ ขอกูเ้ งินกับเจ้าหนี้นอกระบบจำนวน 20,000 บาท เจ้าหนี้บังคบั ให้ลกู หนีใ้ ชบ้ ัตรผอ่ นสนิ ค้าหรือบตั รเครดติ ซอ้ื สนิ ค้าท่ีกำลังเปน็ ที่นิยมมูลค่า 23,000 บาทเพอื่ มา แลกกับเงินกู้ 20,000 บาท ลูกหนี้ได้เงินมาแค่ 20,000 บาท แต่กลับต้องแบกภาระเงินกู้สูงถึง 23,000 บาทกับบริษัทบัตรผ่อนสินค้าหรือบริษัทบัตรเครดิต และยังมีภาระดอกเบี้ยที่ต้องจ่าย อกี ต่างหาก สว่ นเจ้าหนแี้ ทบจะไมม่ คี วามเส่ยี งใดเลย แถมยงั ได้สินค้าในราคาถกู อกี ดว้ ย 5. ทวงหนี้โหด นอกจากภาระดอกเบี้ยที่แสนแพงแล้ว ลูกหนี้เงินกู้นอกระบบอาจต้องเจอกับ การทวงหนี้โหดหากไม่ชำระตรงตามเวลา ซึ่งเจ้าหนี้อาจไม่ได้แค่ขู่หรือประจานให้ได้อาย แต่บางรายกถ็ งึ ขัน้ ทำร้ายรา่ งกาย นอกจากนี้ เงินกู้นอกระบบยังมีให้กู้ผ่านแอปพลิเคชันเงินกู้ ที่ผู้กู้จะต้อง ยินยอมให้แอปเข้าถึงข้อมูลชื่อผู้ติดต่อในโทรศัพท์และรูปภาพในโทรศัพท์มือถือ ทำให้สามารถ โทรหรือส่งข้อความไปทวงหนี้หรือประจานกับเพื่อนของผู้กู้หรือบุคคลที่มีชื่ออยู่ในเบอร์ โทรศัพทท์ ำใหผ้ กู้ ้เู กิดความอบั อายอีกดว้ ย วธิ ปี ้องกนั ภยั หนน้ี อกระบบ 1. ไม่ใช้เงินเกินตัว – ตรวจสอบพฤติกรรมการใช้เงินของตนเองโดยการ จดบนั ทึกรายรบั -รายจ่าย แล้ววางแผนใชเ้ งนิ อยา่ งเหมาะสมกับรายไดแ้ ละความจำเปน็ 2. วางแผนการเงินล่วงหน้า – คำนึงถึงค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ที่อาจเกิดขึ้นใน อนาคต เช่น ค่าเล่าเรียนลูก แล้ววางแผนทยอยออมล่วงหน้า รวมถึงออมเงินเผื่อเหตุ การณ์ ฉกุ เฉนิ ดว้ ย 3. คิดให้ดีก่อนตัดสินใจก่อหน้ี – ทบทวนดูความจำเป็นว่าต้องใช้เงินจริง ๆ หรือไม่ และหากต้องกู้ จะสามารถชำระหนี้ได้หรือไม่ เพราะนอกจากดอกเบี้ยที่แสนแพงแล้ว อาจตอ้ งเจอกบั เหตุการณ์ทวงหนีแ้ บบโหด ๆ อีกด้วย ชดุ วิชาการเงินเพอื่ ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 ภยั ทางการเงิน
153 4. เลือกกู้ในระบบ – หากจำเป็นต้องกู้ ควรเลือกกู้ในระบบดีกว่า เพราะ นอกจากจะมีหนว่ ยงานภาครฐั คอยดูแลแลว้ ยังระบุดอกเบ้ยี ในสัญญาชดั เจนและเปน็ ธรรมกว่า 5. ศึกษารายละเอียดผใู้ ห้กู้ – ดวู า่ ผูใ้ หก้ นู้ น้ั นา่ เช่ือถอื หรือไม่ มเี งอ่ื นไขชำระเงิน หรอื อตั ราดอกเบีย้ ทเ่ี อาเปรียบผกู้ ูเ้ กินไปหรอื ไม่ 6. ศึกษาวิธีคิดดอกเบี้ย – หนี้นอกระบบมักคิดอัตราดอกเบี้ยด้วยวิธีเงินต้น คงที่ (flat rate) ซึ่งทำให้ลูกหนี้ต้องจ่ายดอกเบี้ยมากกว่าการคิดดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก (effective rate) เพราะดอกเบี้ยจะถูกคิดจากเงินต้นทั้งก้อนแม้ว่าจะทยอยจ่ายคืนทุกเดือน กต็ าม 7. หากจำเปน็ ตอ้ งกูเ้ งินนอกระบบตอ้ งใส่ใจ • ไม่เซ็นสัญญาในเอกสารที่ยังไม่ได้กรอกข้อความหรือวงเงินกู้ไม่ตรงกับ ความจริง • ตรวจสอบขอ้ ความในสญั ญาเงินกู้ รวมถงึ ดวู ่าเป็นเง่อื นไขท่ีเราทำได้จริง ๆ • เกบ็ สญั ญาค่ฉู บบั ไวก้ บั ตวั เพื่อเป็นหลกั ฐานการกู้ 8. ติดตามขา่ วสารกลโกงเปน็ ประจำ ทำอย่างไรเม่อื ตกเปน็ เหยอื่ หน้นี อกระบบ หากเป็นเหยื่อหนี้นอกระบบแล้ว ผู้กู้ควรหาแหล่งเงินกู้ในระบบที่มีดอกเบ้ีย ถูกกว่ามาชำระคืน แต่หากไม่สามารถกู้ยืมในระบบได้ ผู้กู้อาจต้องยอมขายทรัพย์สินบางส่วน เพื่อนำมาชำระหน้ี ท้งั นี้ ลูกหนเ้ี งินก้นู อกระบบสามารถขอรบั คำปรึกษาไดจ้ ากองค์กรดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ศูนย์รบั แจง้ การเงินนอกระบบ https://1359.go.th/1359LoanShark/ สำนักงานเศรษฐกิจการคลงั index.php กระทรวงการคลงั โทร. 1359 ชดุ วิชาการเงินเพื่อชวี ิต 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 ภัยทางการเงนิ
154 2. สำนกั งานคุม้ ครองสิทธแิ ละ http://www.lawaid.ago.go.th/ ช่วยเหลอื ทางกฎหมายแก่ ประชาชน สำนักอัยการสูงสุด โทร. 0 2142 2034 และ 1157 3. ศูนยช์ ่วยเหลือลูกหน้แี ละ https://www.moj.go.th/home-dhc ประชาชนทีไ่ มไ่ ดร้ บั ความ เปน็ ธรรม กระทรวงยตุ ธิ รรม โทร. 0 2575 3344 4. ศนู ยด์ ำรงธรรมจงั หวัด และศูนย์ดำรงธรรมอำเภอ กระทรวงมหาดไทย โทร. 1567 5. หน่วยงานท่ีรบั เรือ่ งร้องเรยี น • กรมการปกครอง เกีย่ วกบั การทวงถามหน้ไี ม่ • สำนักงานเศรษฐกิจการคลงั เหมาะสม • ที่ทำการปกครองจงั หวัด • กองบญั ชาการตำรวจนครบาล • สถานีตำรวจทอ้ งที่ • ที่ว่าการอำเภอทกุ แห่ง กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 1 หนน้ี อกระบบ (ให้ผเู้ รยี นไปทำกิจกรรมเรอื่ งท่ี 1 ทส่ี มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู้) ชดุ วชิ าการเงนิ เพอื่ ชวี ติ 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 ภยั ทางการเงนิ
155 เรื่องท่ี 2 แชรล์ ูกโซ่ แชร์ลูกโซ่เป็นภัยทางการเงินที่อาจสร้างความเสียหายได้ตั้งแต่เงินจำนวนน้อย ๆ จนไปถงึ เงินหลักแสนหลักล้าน มจิ ฉาชีพมกั ใช้ “โอกาสรวย” มาหลอกล่อให้เหยื่อร่วมลงทุน โดยให้ ผลประโยชน์ตอบแทนสูงแกผ่ ู้ร่วมลงทุนในระยะแรก ๆ เพ่ือสร้างความน่าเชื่อถือและกระตุ้นให้เกิด การชักจูงให้ร่วมลงทุน แต่แท้จริงแล้วจะใช้วิธีการนำเงินลงทุนของสมาชิกใหม่หมุนเวียนมาจ่ายให้ สมาชกิ เก่า ไม่ไดม้ ีการนำเงินไปลงทุนตามท่ีกล่าวอ้างแต่อย่างใด นอกจากน้ี ยงั มีกรณีการหลอกว่า ขาย “สินค้าราคาถูกมาก” แล้วส่งสินค้าให้จริงตามที่เหยื่อสั่งในช่วงแรก ๆ พอเหยื่อหลงเชื่อใจ สั่งซื้อเพิ่มหรือชวนคนอื่นมาซื้อด้วยก็ไม่ส่งของให้อีกต่อไป กลโกงที่ใช้ “โอกาสรวย” และ “สนิ คา้ ราคาถูกมาก” จบลงในแบบเดยี วกันคือสุดทา้ ยแล้วมิจฉาชีพก็เชิดเงินหนีไป ลกั ษณะกลโกงแชรล์ กู โซ่ 1. แชร์ลูกโซใ่ นคราบธรุ กจิ ขายตรง มจิ ฉาชพี จะโฆษณาชวนเชื่อให้เหยื่อทำธุรกจิ ขายตรงทม่ี ีผลตอบแทนสูง โดยที่ เหยื่อไม่ต้องทำอะไร เพียงแค่ชักชวนเพื่อนหรือญาติพี่น้องให้ร่วมทำธุรกิจ แต่ไม่เน้นการขาย หรือสาธิต หรือทำให้สมาชิกเข้าใจในตัวสินค้า เมื่อเหยื่อเริ่มสนใจจะให้เหยื่อเขา้ ร่วมฟังสัมมนา และโน้มน้าวหรือหลอกล่อให้เหยื่อจ่ายค่าสมัครสมาชิก หรือซื้อสินค้าแรกเข้าซึ่งมีมูลค่าที่ ค่อนขา้ งสูง (สินคา้ ส่วนมากมกั ไม่มคี ณุ ภาพ) หรืออาจให้เหยื่อซอื้ หุ้นหรอื หนว่ ยลงทุนโดยไม่ต้อง รบั สินคา้ ไปขายแล้วก็รอรบั เงินปนั ผลได้เลย คา่ สมัครสมาชิก ค่าซอื้ สินคา้ แรกเข้า คา่ หุ้นหรอื คา่ หน่วยลงทุนของสมาชิกใหม่ จะถูกนำมาจ่ายเป็นผลตอบแทนให้แก่สมาชิกเก่า เมื่อใดที่ไม่สามารถหาสมาชิกใหม่ได้ แชร์ก็จะลม้ เพราะไม่สามารถหาเงนิ มาจา่ ยผลตอบแทนและเงนิ ท่ีลงทนุ คืนสมาชกิ ได้ ปัจจุบันยังมีการโฆษณาชักชวนผ่านอินเทอร์เน็ตและสังคมออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊กกลุ่มต่าง ๆ ในแอปพลิเคชัน LINE อีกด้วย โดยมิจฉาชีพจะหลอกให้เหยื่อกรอกข้อมูล ส่วนตัวในอินเทอร์เน็ต แล้วติดต่อเหยื่อเพื่อชักชวนให้เข้าร่วมทำธุรกิจโดยอ้างว่ามีบุคคลที่มี ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 ภัยทางการเงิน
156 ชื่อเสียงเข้าร่วมด้วย และอาจจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเสริมความน่าเชื่อถือ เช่น งานสัมมนาโดย เช่าหอ้ งประชุมโรงแรมหรือหอประชมุ มหาวิทยาลัย 2. แชรล์ กู โซ่หลอกลงทุน มิจฉาชีพมักอ้างว่ามีการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนสูงและแน่นอน หรือมีสิทธิ พิเศษ หรือได้โควตาซื้อสินค้าราคาถูกเป็นจำนวนมาก จึงอยากชักชวนให้เหยื่อลงทุนทำธุรกิจ ร่วมกัน เช่น โควตาจำหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาล (แชร์ลอตเตอรี่) อุตสาหกรรมปลูกป่าเพื่อ ส่งขายตลาดในต่างประเทศ (แชร์ไม้) เก็งกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน (แชร์ FOREX) โดยสร้าง เว็บไซต์เพื่อให้ดูน่าเชื่อถือ หรือบางรายก็อ้างว่ามีสาขาในต่างประเทศ และอาจจัดกิจกรรมเพ่ือ เสริมความน่าเชื่อถือเช่นเดียวกับแชร์ลูกโซ่ในคราบธุรกิจขายตรง แต่ความจริงแล้ว ไม่ได้มีการ ทำธรุ กิจตามทก่ี ล่าวอ้างจรงิ มิจฉาชีพจะใช้วิธีหมุนเงินจากผู้ลงทุนรายใหม่ไปจ่ายเป็นผลตอบแทนให้แก่ ผู้ลงทุนรายเก่า จึงต้องพยายามหาผู้ลงทุนรายใหม่อยู่เรื่อย ๆ เพื่อให้มีเงินไปจ่ายเป็น ผลตอบแทน แต่หากไม่สามารถหาผู้ลงทุนรายใหมไ่ ด้ ก็จะไม่สามารถจ่ายผลตอบแทนคืนใหแ้ ก่ รายเก่าได้ 3. แชร์ลกู โซ่หลอกขายสนิ ค้าผ่านอินเทอร์เน็ต มจิ ฉาชพี จะแฝงตัวเป็นพ่อค้าหรือแม่คา้ แลว้ อา้ งวา่ สามารถหาสินค้าหายาก หรือสินค้าที่กำลังอยู่ในความต้องการของตลาด (เช่น สินค้ารุ่นใหม่ล่าสุด หรือยังไม่มีขายใน ประเทศไทย) ได้ในราคาถูก จึงประกาศขายสินค้าดังกล่าวในราคาที่ถูกกว่าท้องตล าดเป็น จำนวนมากผา่ นทางอินเทอรเ์ นต็ เมื่อเหยื่อหลงเชื่อสั่งซื้อสินค้าและโอนเงินให้แก่มิจฉาชีพในครั้งแรก มิจฉาชีพจะสง่ สินค้าใหเ้ หยื่อตามจำนวนทีส่ ัง่ ซ้ือ และเมื่อเหยื่อไดส้ นิ ค้าในราคาถกู ก็จะบอกต่อ ชักชวนญาตพิ ่นี ้องหรอื เพ่อื นฝูงให้มาซอ้ื สนิ ค้าเป็นจำนวนมากแล้วโอนเงนิ ค่าสนิ ค้าทั้งหมดให้แก่ มิจฉาชีพ หลังจากนน้ั มจิ ฉาชพี ก็จะเชิดเงนิ นั้นหนไี ปโดยไมส่ ่งสินค้าใด ๆ ใหแ้ ก่เหยื่อเลย ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 ภัยทางการเงิน
157 วธิ ปี ้องกนั ภยั แชรล์ ูกโซ่ 1. ไม่โลภไปกับผลตอบแทนหรือสินค้าราคาถูกที่นำมาหลอกล่อ เพราะ ผลตอบแทนยิง่ สูง ยงิ่ มีความเสี่ยงมากทจ่ี ะเปน็ แชรล์ กู โซ่ 2. ไม่กรอกข้อมูล หรือให้ข้อมูลส่วนตัวในเว็บไซต์ หรือตอบกลับอีเมลท่ี ไม่น่าเชื่อถือ เพราะอาจเป็นช่องทางให้มิจฉาชีพเข้าถึงตัวเราและสร้างความเสียหายให้เราได้ เชน่ ส่งขอ้ ความมาชวนเราลงทนุ หรอื ซอ้ื ของ แตแ่ ท้จรงิ แลว้ เป็นแชร์ลูกโซ่ 3. หลีกเลี่ยงการเข้าร่วมกิจกรรมกับกลุ่มธุรกิจที่ไม่แน่ใจ เพราะอาจถูก หวา่ นลอ้ มให้รว่ มลงทนุ ในธุรกจิ แชร์ลกู โซ่ 4. อย่าเกรงใจจนไม่กล้าปฏิเสธ เมื่อมีคนชักชวนทำธุรกิจที่มีลักษณะคล้าย แชร์ลูกโซ่ เพราะอาจทำใหส้ ูญเสียเงนิ ได้ 5. ศึกษาที่มาที่ไปของการลงทุนหรือสินค้าให้ดีก่อนการลงทุน ใช้เวลา ไตร่ตรองให้ดี (หากถูกเร่งรัดให้ตอบตกลงโดยเร็ว ให้ตั้งขอสงสัยไว้ก่อนว่าน่าจะเป็นธุรกิจที่ หลอกลวง) โดยเฉพาะธรุ กิจหรอื สินคา้ ท่ีให้ผลตอบแทนสงู มากในเวลาอนั ส้ัน หรอื มีราคาถูกผดิ ปกติ ชดุ วิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 ภัยทางการเงิน
158 6. ติดตามขา่ วสารกลโกงเป็นประจำ ทำอย่างไรเมื่อตกเปน็ เหยื่อแชรล์ ูกโซ่ 1. เก็บรวบรวมเอกสารต่าง ๆ ที่ได้จากบริษัทให้มากที่สุด เช่น แผ่นพับ (โบรชัวร)์ เอกสารรบั – จ่ายเงิน เอกสารการชกั ชวนหรือแนะนำใหส้ มัครสมาชกิ 2. ไปแจ้งความที่สถานีตำรวจในท้องที่เกิดเหตุ กองบังคับการปราบปราม หรือ กองบังคบั การปราบปรามการกระทำความผิดเก่ียวกบั อาชญากรรมทางเศรษฐกจิ (ปอศ.) 3. โทร. ปรกึ ษาศูนย์รบั แจ้งการเงนิ นอกระบบ 1359 หรอื แจง้ ขอ้ มลู ท่ี ส่วนป้องปรามการเงนิ นอกระบบ สำนักนโยบายพัฒนาระบบการเงนิ ภาคประชาชน สำนักงานเศรษฐกิจการคลงั กระทรวงการคลัง ซอยอารยี ส์ มั พนั ธ์ ถนนพระราม 6 สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 กจิ กรรมท้ายเรอื่ งที่ 2 แชร์ลูกโซ่ (ให้ผูเ้ รียนไปทำกจิ กรรมเรอ่ื งที่ 2 ท่ีสมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู)้ ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ิต 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 ภัยทางการเงนิ
159 เรอ่ื งท่ี 3 ภยั ใกลต้ ัว ลักษณะกลโกงของภัยใกล้ตวั 1. เบ้ียประกันงวดสดุ ท้าย มิจฉาชีพจะแอบอ้างเป็นพนักงานบริษทั ประกันชีวิตติดต่อญาตขิ องผูต้ ายวา่ ผู้ตายทำประกันชีวิตไว้กับบริษัท แต่ขาดการชำระเบี้ยประกันงวดสุดท้าย หากญาติจ่ายค่าเบ้ีย ประกันที่ค้างอยู่ ก็จะได้รับเงินคืนตามกรมธรรม์ซึ่งเป็นจำนวนเงินค่อนข้างมาก เมื่อเหย่ือ จา่ ยเงนิ ให้ ผทู้ ี่อ้างว่าเป็นพนกั งานบริษทั ประกันภยั ก็จะหายตวั ไปพร้อมเงินประกนั งวดสดุ ทา้ ย 2. ตกทอง/ลอตเตอรี่ปลอม มิจฉาชีพจะอ้างว่ามีทองหรือลอตเตอรีร่ างวัลที่หนึ่ง แต่ไม่มีเวลาไปขายหรือ ขึ้นเงิน จึงเสนอขายให้เหยื่อในราคาถูก กว่าจะรู้ว่าเป็นทองหรือลอตเตอรี่ปลอม มิจฉาชีพก็ หายไปพร้อมกบั เงินที่ไดไ้ ป 3. นาย (พัน) หนา้ ...หลอกลวงเงนิ มิจฉาชีพจะแอบอ้างว่าเป็นเจ้าหน้าที่ในองค์กรหรือสถ าบันการเงินท่ี สามารถช่วยเหยื่อหางาน หรือขอสินเช่ือจากสถาบันการเงินได้ แต่เหยื่อต้องจ่ายค่านายหน้าให้ ก่อน มิจฉาชีพบางรายก็หลอกให้เหยื่อเป็นนายหน้าขายที่ดิน โดยทำงานกันเป็นทีม คนแรก หลอกว่าอยากขายที่ดิน คนที่สองหลอกว่าอยากซื้อที่ดิน แล้วขอให้เหยื่อเป็นนายหน้ าให้ จากนั้นคนซื้อจะอ้างว่าเงินไม่พอจา่ ยคา่ มัดจำจึงขอให้เหย่ือช่วยออกเงินคา่ มัดจำ สุดท้ายคนซอ้ื และคนขายหนีหาย เหยื่อไมไ่ ด้ค่านายหนา้ แถมยังเสียเงนิ ค่ามดั จำไปอีกด้วย 4. แก๊งเงนิ ดำ มิจฉาชีพจะอ้างว่ามีธนบัตรดอลลาร์สหรัฐฯ ที่เคลือบด้วยสารเคมีสีดำเป็น จำนวนมาก และมีน้ำยาพิเศษที่สามารถล้างน้ำยานั้นออกได้ พร้อมทั้งสาธิตการล้างเงินดำให้ เหยื่อดู เมื่อเหยื่อหลงเชื่อ จะหลอกเหยื่อว่า น้ำยาพิเศษนั้นอยู่ที่สถานทูต แต่ไม่สามารถนำ ออกมาไดเ้ พราะต้องจ่ายคา่ ธรรมเนยี มในการดำเนินการคอ่ นข้างสูง ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชีวติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภยั ทางการเงนิ
160 มิจฉาชีพจึงชักชวนเหยื่อให้ร่วมหุ้นจ่ายค่าธรรมเนียม แล้วจะแบ่งธนบัตร ดอลลารส์ หรัฐฯ ท่ลี ้างเรยี บร้อยแลว้ ใหเ้ หยอ่ื หากเหยื่อหลงเชื่อจ่ายเงินไป มิจฉาชีพก็จะหายไป พรอ้ มกบั เงนิ ของเหยื่อ วิธีป้องกันจากภยั ใกล้ตวั 1. ไมโ่ ลภ ไมอ่ ยากได้เงินรางวัลทไ่ี มม่ ที ่ีมา หากมีคนเสนอให้ ควรสงสยั ไวก้ อ่ นวา่ อาจเปน็ ภัยทางการเงนิ 2. ไม่รู้จัก...ไม่ให้ ไม่ให้ทั้งข้อมูลส่วนตัว เช่น เลขที่บัตรประจำตัวประชาชน วัน/เดือน/ปีเกิด และข้อมูลทางการเงิน เช่น เลขที่บัญชี รหัสบัตรเอทีเอ็ม/บัตรเดบิต และ ไมโ่ อนเงนิ แม้ผ้ตู ดิ ตอ่ จะอา้ งว่าเปน็ หนว่ ยงานราชการหรือสถาบนั การเงนิ 3. ศกึ ษาหาข้อมูล กอ่ นเซน็ สญั ญา ตกลงจา่ ยเงนิ หรือโอนเงินให้ใคร ควรศึกษา ขอ้ มลู เง่อื นไข ขอ้ ตกลง ความน่าเชือ่ ถอื และความน่าจะเป็นไปไดก้ ่อน 4. อ้างใคร ถามคนนั้น อ้างถึงใครให้สอบถามคนนั้น เช่น ธนาคารแห่ง ประเทศไทย โทร. 1213 กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) โทร. 1202 ธนาคาร บริษัทประกันที่ถกู อ้างถึง สามารถดูเบอร์โทรศพั ท์ไดจ้ ากเว็บไซตข์ องผปู้ ระกอบธรุ กจิ นน้ั ๆ 5. สงสัยให้ปรึกษา ควรหาที่ปรึกษาที่ไว้ใจได้ หรือปรึกษาเกี่ยวกับภัยทาง การเงินได้ท่ีศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) โทร. 1213 และศูนย์รับแจ้งการเงิน นอกระบบ โทร. 1359 6. ตดิ ตามขา่ วสารกลโกงเปน็ ประจำ เพอื่ ร้เู ทา่ ทันเล่ห์เหล่ียมกลโกง รไู้ ว้...ไม่เส่ียงเปน็ เหยื่อ 1. อ้างหน่วยงานราชการไม่ได้แปลว่าเชื่อถือได้ มิจฉาชีพมักอ้างถึงหน่วยงาน ราชการหรือองค์กรขนาดใหญ่เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ หากมีการอ้างถึง ควรสอบถาม หนว่ ยงานนั้นโดยตรง 2. ธุรกิจที่จดทะเบียนแล้วไม่ได้แปลว่าไม่โกง บางธุรกิจจดทะเบียนอย่าง ถกู ต้องตามกฎหมายจริง แตไ่ มไ่ ด้ประกอบธรุ กิจตามทขี่ ออนญุ าตไว้ ชดุ วชิ าการเงินเพอ่ื ชวี ติ 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 ภยั ทางการเงนิ
161 3. ไมม่ ี “ทางลดั รวยทีม่ นี อ้ ยคนร”ู้ หากทางลดั นี้มจี รงิ คงไม่มีใครอยากบอกคนอื่น ใหร้ ู้ แอบรวยเงยี บ ๆ คนเดียวดีกว่า 4. หวั ขโมยไมห่ มน่ิ เงนิ นอ้ ย มิจฉาชีพไม่ไดม้ ุ่งหวงั เงินหลักแสนหลักหม่ืนเท่านั้น มจิ ฉาชพี บางกลมุ่ มงุ่ เงนิ จำนวนนอ้ ยแตห่ วงั หลอกคนจำนวนมาก 5. อย่าระวังแค่เรื่องเงิน มิจฉาชพี บางรายกห็ ลอกขอข้อมูลส่วนตัวหรือข้อมลู ท่ี ใชท้ ำธรุ กรรมการเงิน เพ่ือนำไปถอนเงิน โอนเงิน ขอสนิ เช่อื หรอื ทำธรุ กรรมทางการเงินอนื่ ๆ ใน นามของเหยอ่ื 6. มิจฉาชีพไม่ใช้บัญชีตนเองรับเงินจากเหยื่อ มิจฉาชีพบางรายจ้างคนเปิด บญั ชเี พอ่ื เป็นที่รบั เงินโอนจากเหยอ่ื อกี รายหน่ึง เพอื่ หนกี ารจับกุมของเจา้ หนา้ ท่ีตำรวจ รหู้ รอื ไมว่ า่ การรับจ้างเปิดบัญชีหรือการหลอกให้ผู้อื่นโอนเงินให้เข้าข่ายฉ้อโกงประชาชน ซึ่งเป็นหนึ่งในความผิดมูลฐานตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 60 ตอ้ งระวางโทษจำคุกต้งั แต่หน่งึ ปถี ึงสิบปี หรือปรับตั้งแตส่ องหม่ืนบาท ถึงสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ดังนั้น การเห็นแก่ค่าจ้างเพียงไม่กี่บาทจึงอาจทำให้ เราต้องตกเป็นผูต้ อ้ งหาและไปใช้ชีวิตในเรอื นจำได้ จึงไมค่ วรหลงเช่อื หรือรบั จ้างเปิดบัญชีโดย เด็ดขาด กิจกรรมท้ายเร่ืองที่ 3 ภัยใกลต้ ัว (ให้ผู้เรยี นไปทำกิจกรรมเรื่องที่ 3 ทีส่ มดุ บนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นร้)ู ชดุ วชิ าการเงนิ เพอื่ ชีวิต 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 ภัยทางการเงนิ
162 เรอื่ งที่ 4 แกง๊ คอลเซนเตอร์ แก๊งคอลเซนเตอร์มักใช้วิธีสุ่มเบอร์โทรศัพท์เพื่อโทรไปหาเหยื่อแล้วใช้ข้อความ อัตโนมัติสร้างความตื่นเต้นหรือตกใจให้แก่เหยื่อ บางครั้งก็แอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่หน่วยงาน ต่าง ๆ หลอกให้เหยื่อทำรายการที่เครื่องเอทีเอ็มเป็นเมนูภาษาอังกฤษ โดยแจ้งว่าเป็นการทำ รายการ เพือ่ ล้างหนี้ หรืออาจหลอกใหเ้ หยื่อไปโอนเงนิ ให้หนว่ ยงานภาครฐั เพอ่ื ตรวจสอบ ลักษณะกลโกงแก๊งคอลเซนเตอร์ 1. บญั ชีเงนิ ฝากถกู อายัดหรือเป็นหน้บี ตั รเครดติ มิจฉาชีพจะหลอกเหยื่อว่า บัญชีเงินฝากถูกอายัด หรือเป็นหนี้บัตรเครดิต จำนวนหนึ่ง โดยเริ่มจากการใช้ระบบตอบรับอัตโนมัติแจ้งเหยื่อว่าจะอายัดบัญชีเงินฝาก เนื่องจากเหตุการณ์ต่าง ๆ เช่น เป็นหนี้บัตรเครดิตหรือกระทำการผิดกฎหมาย โดยอาจมีเสียง อัตโนมัติ เช่น “คุณเป็นหนี้บัตรเครดิตกับทางธนาคาร กด 0 เพื่อติดต่อพนักงาน” ซึ่งเหย่ือ สว่ นมากมักจะตกใจและรบี กด 0 เพอ่ื ตดิ ต่อพนักงานทนั ที หลังจากนั้นมิจฉาชีพจะหลอกถามฐานะทางการเงินของเหยื่อ หากเหยื่อมี เงินฝากจำนวนไม่มากนัก มิจฉาชีพอาจหลอกให้เหยื่อโอนเงินผ่านเครื่องเอทีเอ็มโดยหลอกว่า เป็นการทำรายการเพื่อลา้ งบัญชีหน้ี 2. บญั ชเี งินฝากพัวพนั กบั การค้ายาเสพตดิ หรือการฟอกเงนิ แต่หากมิจฉาชีพพบว่า เหยื่อมีเงินฝากค่อนข้างมาก ก็จะหลอกเหยื่อให้ ตกใจว่า บัญชีเงินฝากนั้นพัวพันกับการค้ายาเสพติดหรือการฟอกเงิน และจะให้เหยื่อโอนเงิน ทั้งหมดผา่ นเคร่ืองเอทีเอ็ม/เครอ่ื งฝากเงนิ อัตโนมตั ิ (CDM หรือ ADM) เพ่ือทำการตรวจสอบกับ หนว่ ยงานราชการ เพอื่ ปอ้ งกันไมใ่ ห้เหยอ่ื ไดม้ ีโอกาสสอบถามความจริงจากพนกั งานธนาคาร 3. เงนิ คืนภาษี นอกจากจะหลอกให้เหยื่อตกใจแล้วมิจฉาชีพบางรายก็อ้างว่าตนเป็น เจ้าหน้าที่สรรพากร หลอกให้เหยื่อตื่นเต้นดีใจว่า เหยื่อได้รับเงินคืนค่าภาษี แต่ต้องทำรายการ ยืนยันการรับเงินที่เครื่องเอทีเอ็ม และวันนี้เป็นวันสุดท้ายที่จะยืนยันรับเงินคืน หากเลย ชดุ วชิ าการเงนิ เพือ่ ชวี ติ 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภัยทางการเงนิ
163 กำหนดเวลาแล้ว เหยื่อจะไม่ได้รับเงินคืนค่าภาษี ด้วยความรีบเร่งและกลัวว่าจะไม่ได้เงินคืน เหยอื่ กจ็ ะรบี ทำตามท่มี จิ ฉาชีพบอก โดยไม่ไดส้ งั เกตว่ารายการทมี่ จิ ฉาชีพให้ทำที่เคร่ืองเอทีเอ็มนั้น เป็นการโอนเงินใหแ้ ก่มิจฉาชีพ 4. โชคดไี ดร้ บั รางวลั ใหญ่ มิจฉาชีพบางรายก็หลอกให้เหยื่อดีใจว่า เหยื่อได้รับรางวัลใหญ่ที่มีมูลค่าสูง จากการจับสลากรางวัล หรือเปิดบริษัทใหม่จึงจบั สลากมอบรางวัลแก่ลูกค้า แต่ก่อนทีล่ ูกค้าจะ รับรางวลั ลกู คา้ จะตอ้ งจ่ายคา่ ภาษใี ห้กบั ทางผแู้ จกรางวัลก่อน จงึ จะสามารถสง่ ของรางวัลไปให้ 5. ข้อมูลสว่ นตวั หาย มิจฉาชีพประเภทนี้จะโทรศัพท์หลอกถามข้อมูลส่วนตัวของเหยื่อเพื่อใช้ ประกอบการปลอมแปลงเอกสาร หรือใช้บริการทางการเงินในนามของเหยื่อ โดยมิจฉาชีพจะ อ้างว่าตนเป็นเจ้าหน้าที่ของสถาบันการเงินที่เหยื่อใช้บริการอยู่ แต่เกิดเหตุการณ์ที่ทำให้ข้อมลู ส่วนตัวของลูกค้าสูญหาย เช่น น้ำท่วม จึงขอให้เหยื่อแจ้งข้อมูลส่วนตัวเพื่อยืนยันความถูกต้อง เช่น วัน/เดอื น/ปเี กดิ เลขทบ่ี ัตรประชาชน เลขทบี่ ญั ชเี งินฝาก ชุดวิชาการเงนิ เพอื่ ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ภยั ทางการเงนิ
164 เมอื่ ได้ขอ้ มลู สว่ นตวั ของเหยอ่ื แลว้ มิจฉาชีพจะนำขอ้ มลู เหลา่ นไ้ี ปแอบอ้างใช้ บริการทางการเงินในนามของเหย่อื เช่น ขอสนิ เช่อื 6. โอนเงนิ ผดิ หากมิจฉาชีพมีข้อมูลหรือเอกสารส่วนตัวของเหยื่อ มิจฉาชีพอาจใช้เอกสาร และข้อมูลส่วนตัวของเหยื่อติดตอ่ ขอสินเช่ือ เม่อื ได้รับอนมุ ตั ิสินเช่ือ สถาบันการเงินจะโอนเงินกู้ ที่ได้รับอนุมัติเข้าบัญชีเงินฝากของเหยื่อ หลังจากนั้นมิจฉาชีพจะโทรศัพท์ไปแจ้งเหยื่อว่า โอนเงินผดิ เข้าบญั ชขี องเหยอื่ และขอให้เหยอ่ื โอนเงนิ คนื ให้ เมือ่ เหย่ือตรวจสอบบญั ชีเงินฝากของตนเองและพบว่ามีเงินโอนเงินเข้ามาใน บัญชีจริง เหยื่อก็รีบโอนเงินคนื ให้แกม่ ิจฉาชีพทันที โดยไม่รู้ว่าเงินนั้นเป็นเงินสินเช่ือที่มิจฉาชพี ขอในนามของเหยอ่ื วธิ ปี อ้ งกนั ภยั แก๊งคอลเซนเตอร์ 1. คิดทบทวน ว่าเรื่องราวที่ได้ยินมามีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหน เคยทำ ธรุ กรรมกบั หนว่ ยงานท่ถี กู อา้ งถึงหรือไม่ หรอื เคยเขา้ ร่วมชิงรางวัลกบั องคก์ รไหนจรงิ หรือเปล่า 2. ไม่รู้จัก ไม่คุ้นเคย ไม่ให้ข้อมูล ทั้งข้อมูลส่วนตัว เช่น เลขที่บัตรประชาชน วัน/เดือน/ปีเกิด และขอ้ มลู ทางการเงิน เชน่ เลขที่บัญชี รหสั กดเงิน 3. ไม่ทำรายการที่เครื่องเอทีเอ็มตามคำบอก แม้คนที่โทรมาจะบอกว่าเป็น เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือสถาบันการเงิน เพราะหน่วยงานของรัฐและสถาบันการเงินไม่มีนโยบาย สอบถามข้อมูลส่วนตัวของประชาชนหรือลูกค้าผ่านทางโทรศัพท์ สำหรับการคืนภาษี มีเพียง 2 วิธี เท่านั้น คือ โอนผ่านระบบพร้อมเพย์ที่ลงทะเบียนด้วยเลขประจำตัวประชาชน และส่งเป็นเช็ค ธนาคาร 4. ตรวจสอบข้อมูลก่อนโอนเงิน สอบถามสถาบันการเงินหรือหน่วยงานที่ถูก อ้างถึงโดยตรง เช่น ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) หรือสาขาของสถาบันการเงินนั้น ๆ ดว้ ยตนเอง ชดุ วิชาการเงินเพ่ือชีวิต 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ภัยทางการเงิน
165 5. หากมคี นโอนเงนิ ผิดบญั ชีมาท่บี ญั ชีเรา • ไม่ต้องรีบโอนคืนทันทีหากมีคนติดต่อมาให้โอนกลับหรือโอนต่อไปอีก บญั ชหี นง่ึ เพราะอาจเปน็ มิจฉาชพี มาใชบ้ ัญชขี องเราเป็นทางผ่านในการกระทำผิดกฎหมาย • ควรสอบถาม call center หรือสาขาของธนาคารที่เรามีบัญชีอยู่ ให้ดำเนนิ การตรวจสอบรายละเอยี ด • หากตรวจสอบกับเจ้าหน้าที่ธนาคารแล้วเป็นเงินที่โอนผิดบัญชีมาจริง ให้เราไปที่ธนาคารเพื่อเซ็นยินยอมให้ธนาคารดำเนินการโอนกลับไปยังบญั ชีต้นทางต่อไป (อย่า โอนกลบั ด้วยตนเอง) ทำอย่างไรเมื่อตกเป็นเหยอ่ื ภัยแกง๊ คอลเซนเตอร์ 1. ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของธนาคารต้นทาง (บัญชีของเราท่ี ใช้โอนเงินไปให้มิจฉาชีพ) และธนาคารปลายทาง (บัญชีของมิจฉาชีพ) เพื่อระงับการโอนและ ถอนเงิน โดยรวบรวมเอกสารเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการขอระงับการโอนและถอนเงิน ทั้งน้ี แต่ละสถาบันการเงินมีวิธีปฏิบัติที่แตกต่างกัน ควรติดต่อสอบถามขั้นตอนจากสถาบันการเงิน โดยตรง 2. แจ้งสำนกั งานปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงิน (สำนักงาน ปปง.) สำนกั งานป้องกนั และ https://www.amlo.go.th/ ปราบปรามการฟอกเงิน (สำนักงาน ปปง.) สายด่วน โทร. 1710 กจิ กรรมท้ายเรื่องท่ี 4 แก๊งคอลเซนเตอร์ (ให้ผเู้ รยี นไปทำกจิ กรรมเร่ืองที่ 4 ท่สี มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้) ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชีวติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 ภยั ทางการเงนิ
166 เร่ืองที่ 5 ภัยออนไลน์ อินเทอร์เน็ตและโซเชียลมีเดียเป็นช่องทางการสื่อสารที่สะดวกและรวดเร็ว ทำให้ เพื่อนฝูง ญาติพี่น้อง หรือคนที่ไม่รู้จัก สามารถติดต่อหากันได้อย่างง่ายดาย ความสะดวกสบาย เหล่านี้นอกจากจะเอื้อประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการแล้ว ก็เอื้อประโยชน์ต่อมิจฉาชีพเช่นกัน อนิ เทอร์เน็ตจงึ กลายเปน็ อีกช่องทางที่มจิ ฉาชีพจะเข้ามากอบโกยผลประโยชน์จากเหยื่อ ลักษณะกลโกงภยั ออนไลน์ 1. แอบอา้ งเป็นบุคคลต่าง ๆ มจิ ฉาชพี อาจแอบอา้ งเปน็ บคุ คลตา่ ง ๆ และหลอกเหยอ่ื วา่ จะโอนเงินจำนวน มากให้แก่เหยื่อ พร้อมทั้งส่งหลักฐานการโอนเงินปลอมให้ดูว่ามีการโอนเงิน แต่แท้จรงิ ไมม่ ีการ โอนเงินใด ๆ ทั้งสิ้น หลังจากนั้นจะแอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่องค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ธนาคารกลางของประเทศต้นทาง ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือสหประชาชาติ แจ้งเหยื่อว่า เงินที่โอนมาถูกระงบั และขอตรวจสอบเงิน ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชีวิต 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 ภยั ทางการเงนิ
167 จากนั้นจะขอให้เหยื่อจ่ายค่าธรรมเนียมเพื่อยกเลิกการระงับเงินโอน โดย จะเริ่มจากค่าธรรมเนียมที่ไม่มากนักแล้วค่อย ๆ เพิ่มมูลค่าสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนกว่าเหยื่อจะรู้ตัว เหยื่อบางรายโอนเงินให้แก่มิจฉาชีพมากกว่าสิบครั้ง มูลค่าความเสียหายรวมกันเป็นหลักล้าน ขอยกตวั อย่างเรอ่ื งหลอกลวงที่มจิ ฉาชีพชอบใชด้ งั น้ี • นักธุรกิจต้องการสั่งสนิ ค้าจำนวนมาก – เหยื่อส่วนมากเป็นผู้ประกอบ ธุรกิจขายสินค้าทางอินเทอร์เน็ต มิจฉาชีพจะส่งอีเมลแอบอ้างเป็นนักธุรกิจต่างชาติที่ต้องการ สั่งซื้อสินค้าจำนวนมาก แล้วส่งหลักฐานการโอนเงินปลอมให้เหยื่อตายใจว่าโอนเงินแล้ว ส่วนเหยื่อ นอกจากจะไมไ่ ด้เงนิ ค่าสินค้าแล้ว ยังเสียเงินทุนและเวลาในการผลติ สินค้าตามคำสง่ั ซอ้ื อีกดว้ ย (บางรายสง่ สนิ คา้ ไปใหม้ ิจฉาชีพแล้ว) • ผู้ใจบุญต้องการบริจาคเงินจำนวนมาก – เหยื่อมักจะเป็นองค์กร การกุศลทเ่ี ปดิ รับเงินบริจาคอยู่แล้ว โดยมิจฉาชีพจะส่งอีเมลถึงเหยื่อแจ้งว่า ต้องการบริจาคเงิน พร้อมทั้งขอเลขที่บัญชีของเหยื่อ เมื่อได้ข้อมูลทางการเงินของเหยื่อแล้ว มิจฉาชีพจะนำข้อมูล ดังกล่าวไปสร้างหลกั ฐานการโอนเงินปลอมแลว้ ส่งมาให้เหย่ือดูเสมือนว่ามีการโอนเงินจรงิ • ทายาททไี่ มส่ ามารถรับมรดกได้ – มจิ ฉาชีพมักตดิ ต่อเหยื่อผ่านช่องทาง โซเชียลมีเดีย (social media) ต่าง ๆ แล้วอ้างว่าตนเองได้รับมรดกเป็นเงินจำนวนมากใน ประเทศหนึ่ง แต่ไม่สามารถรบั มรดกน้ันไดด้ ว้ ยติดเหตผุ ลทางการเมืองหรือเหตุผลอน่ื ๆ จงึ ขอใช้ ชื่อและเลขที่บัญชีเงินฝากของเหยื่อในการรับมรดก แล้วส่งหลักฐานการโอนเงินปลอมให้เหยื่อ ดูเสมือนวา่ มีการโอนเงนิ มรดกไปให้เหย่อื จรงิ • ชายหนุ่มที่ต้องการหารักแท้ – มิจฉาชีพจะเริ่มทำความรู้จักกับเหยื่อ ผา่ นทางโซเชียลมเี ดียโดยอา้ งว่าตนเปน็ ชาวต่างชาติทม่ี ีรายได้และหน้าท่ีการงานทด่ี ี แล้วใชเ้ วลา ตีสนิทเป็นปีก่อนจะบอกว่าอยากย้ายมาแต่งงานและอยู่เมืองไทยกับเหยื่อ และหลอกว่าได้ โอนเงนิ มาให้เพอื่ เตรยี มซอ้ื บ้านพร้อมสง่ หลกั ฐานการโอนเงินปลอมมาให้แกเ่ หย่อื ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวติ 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 ภัยทางการเงนิ
168 นอกจากหลอกว่าจะโอนเงินมาให้เหยื่อแล้ว มิจฉาชีพบางรายก็อ้างว่า ส่งของขวัญพร้อมเงินสดมาให้เหยื่อ แล้วอ้างตัวเป็นกรมศุลกากรเรียกเก็บค่าภาษี หรือ ค่าธรรมเนียมในการนำเงนิ สดออกมา • องค์กรใจดีแจกเงินทุนหรือรางวัล – เหยื่อจะได้รับอีเมลแจ้งว่าเหย่ือ ได้รับเงินทุนหรือรางวัล แต่เหยือ่ จะต้องปฏิบัติตามข้ันตอนที่แจ้งมาตามอีเมล ซึ่งจะต้องจา่ ยค่า เปิดบัญชี คา่ ธรรมเนยี ม ค่าเอกสารตา่ ง ๆ สุดทา้ ยก็ไม่ไดร้ บั เงินทนุ หรือรางวัลใด ๆ รู้หรอื ไม่ว่า ผู้รับสินค้าหรือรับเงินโอนจากต่างประเทศ ไม่จำเป็นต้องเสียภาษีหรือ ค่าธรรมเนียมเป็นเงินสดแก่เจ้าหน้าที่ในต่างประเทศ สำหรับการส่งสินค้าเข้ามาให้ผู้รับใน ประเทศ เจ้าหน้าที่จะเรียกเก็บอากรจากผู้รับตามกฎหมายไทยในขั้นตอนการรับสินค้า โดย ไม่มีการเปิดตรวจหรือเก็บภาษีที่ต่างประเทศ หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ท่ี สายดว่ นศลุ กากร โทร. 1164 สำหรับการโอนเงินระหว่างประเทศ ผู้โอนสามารถเลือกได้ว่าจ่าย ค่าธรรมเนียมเอง หรือระบุให้หักค่าธรรมเนียมจากยอดเงินโอนได้โดยผู้รับโอนไม่จำเป็นต้อง จ่ายเปน็ เงินสด แหล่งศกึ ษาข้อมลู เพิ่มเติม เวบ็ ไซต์กรมศลุ กากร http://www.customs.go.th/ 2. แอบอา้ งเปน็ คนร้จู ัก มิจฉาชีพบางรายอาจใช้วิธีแฮกบัญชีอีเมลหรือแอปพลิเคชัน LINE หรือ เฟซบุ๊กของเหยื่อ ซึ่งอาจจะแอบอ้างเป็นผู้ให้บริการอีเมลหรือผู้ให้บริการแอปพลิเคชัน ติดต่อ เหยื่อ หลอกให้เหยื่อกรอกหรือให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ บัญชีผู้ใช้อีเมล (e-mail address) และ รหัสผ่าน (password) หากเหยื่อใหข้ ้อมลู ไป มิจฉาชีพกจ็ ะนำขอ้ มลู ดงั กล่าวไปเข้าใช้บัญชีอีเมล ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชีวติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 ภัยทางการเงนิ
169 หรือแอปพลิเคชันของเหยื่อ แล้วเปลี่ยนรหัสผ่านใหม่ทันที เพื่อไม่ให้เจ้าของตัวจริงสามารถใช้ บัญชหี รอื แอปพลิเคชนั นนั้ ไดอ้ ีกตอ่ ไป หรือบางครั้งมิจฉาชีพอาจใช้วิธีปลอมบัญชีโดยใช้ชื่อ รูปภาพโปรไฟล์ ของเหยื่อ หากไม่สังเกตดี ๆ อาจจะไม่รู้ว่าเป็นมิจฉาชีพ เช่นชื่อที่ใกล้เคียงกันมาก ต่างกันท่ี ตวั อกั ษรหรอื ใช้เคร่อื งหมายอื่น ๆ เพม่ิ เติมในชอ่ื หลังจากสวมรอยได้แล้ว กจ็ ะสง่ อเี มลทกั แชทไปยงั กลมุ่ เพ่ือนของเหยื่อโดย สร้างเร่อื งเพ่อื หลอกให้โอนเงิน เช่น • เหยอ่ื ไปตา่ งประเทศและได้ทำกระเป๋าเงินหาย จึงใชค้ วามเป็นห่วงเพื่อน ในการหลอกใหเ้ พ่อื นของเหยื่อโอนเงนิ ให้แก่มจิ ฉาชีพ • ทักแชทไปในกลุ่มเพื่อนเพื่อยืมเงิน โดยอ้างเหตุการณ์ต่าง ๆ เช่น กระเป๋าสตางค์หาย ต้องรีบใช้เงิน แต่จะอ้างว่าต้องโอนให้บัญชีของคนอื่นก่อน หรือให้จ่ายเงิน คา่ สินคา้ แทนตนเองไปท่ีบญั ชีของผอู้ น่ื • เข้าไปยังกลุ่มสนทนา LINE Group เช่น ปลอมเป็นเจ้าหน้าที่การเงิน หรือครูของโรงเรียน เข้าไปยังกลุ่มสนทนาของโรงเรียน แจ้งให้นักเรียนโอนเงินค่าเทอม ค่าใชจ้ ่ายต่าง ๆ ซึ่งหากผู้เสียหายไม่ได้ทำการตรวจสอบโดยการติดต่อทางช่องทางอื่น เช่น โทรศัพท์เพื่อสืบถามความจริง ก็อาจหลงเชื่อว่ามิจฉาชีพนั้นเป็นเพื่อนหรือคนรู้จักของตนจริง แล้วโอนเงินให้ตามที่ร้องขอ ดังนั้นจึงต้องระมัดระวัง ไม่เชื่ออะไรง่ายเกินไป และตรวจสอบ ขอ้ เทจ็ จริงทกุ ครั้ง นอกจากนี้ ยังมีการแอบอ้างเป็นสถาบันการเงิน โดยสร้างบัญชีโปรไฟล์ ปลอมในแอปพลิเคชัน LINE หลอกขอขอ้ มูลสว่ นตัวท่ีสำคัญของเหย่อื เม่อื ไดข้ ้อมูลแลว้ ก็นำไปใช้ ทำธุรกรรมการเงิน ซึ่งที่จริงแล้วสถาบันการเงินไม่มีนโยบายขอข้อมูลที่ใช้ในการทำธุรกรรม ของลูกค้า เช่น username password รหัส OTP ข้อมูลบัตรเครดิต (เลขบัตรเครดิต วันบัตรหมดอายุ และเลข CVV ด้านหลังบัตรเครดิต) หรือข้อมูลส่วนบุคคลที่สำคัญอื่น ๆ ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวติ 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 5 ภัยทางการเงนิ
170 เช่น เลขบนบัตรประชาชนด้านหน้าและด้านหลัง เพราะเป็นข้อมูลที่ธนาคารมีอยู่แล้ว ไม่จำเปน็ ต้องขอจากลูกคา้ อกี 3. หลอกขายของออนไลน์ มิจฉาชีพมักประกาศขายสินค้าดีราคาถูกในเว็บไซต์แล้วหลอกให้เหยื่อโอน เงินค่าสินค้าหรือเงินมัดจำให้ เมื่อถึงเวลาส่งของ ผู้ซื้อก็ไม่ได้รับสินค้าและไม่สามารถติดต่อ คนขายได้ เงินค่าสินค้าหรือเงินมัดจำที่โอนไปก็ไม่ได้คืน เมื่อตรวจสอบก็พบว่า มิจฉาชีพใช้วิธี จ้างคนอื่นเปิดบัญชีหรือหลอกใช้บัญชีคนอื่นรับเงินโอนเพื่อหลีกหนีการจับกุม เช่น กรณีท่ี เกดิ ข้นึ เม่ือเดอื นมิถนุ ายน 2562 ผูเ้ สียหายเปดิ เผยกับเจ้าหน้าท่ตี ำรวจชดุ สืบสวนว่าตนเองได้ไป โพสต์หาซื้อกล้อง ในเฟซบุก๊ เพจต่าง ๆ และมิจฉาชีพได้ทำทีเข้ามาทักในกล่องข้อความวา่ มขี อง ที่ตนอยากได้ และจะขายให้ตามราคาที่ตกลงกันไว้ที่ 6,500 บาท แต่เมื่อโอนเงินค่าสินค้าไป แล้ว ผูเ้ สียหายไมไ่ ดร้ ับของตามทต่ี กลงกัน ซึ่งมิจฉาชพี กลุ่มนี้จะใช้วิธแี ฝงตวั เข้าไปในเฟซบุ๊กเพจท่มี กี ารโพสตซ์ อ้ื - ขาย ของต่าง ๆ เมื่อเห็นว่ามีใครต้องการสินค้าอะไรก็จะเข้าไปทักผ่านกล่องข้อความแล้วหลอกเอา เงินจากผู้เสียหาย ซึ่งถือเป็นความผิดฐานฉ้อโกง และผิด พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ในการนำเข้า ขอ้ มูลอนั เปน็ เทจ็ นอกจากนี้ มจิ ฉาชพี บางรายก็ประกาศขายสินค้าโดยใช้เลขทีบ่ ญั ชีของผู้ขาย สินค้าตวั จรงิ เมือ่ มเี หยื่อสง่ั ซอ้ื และโอนเงินให้ผ้ขู ายตวั จริง มจิ ฉาชพี จะติดต่อไปยังผู้ขายตัวจรงิ แล้วอ้างว่าตนโอนเงินผิดไปและขอรับคืนเป็นเงินสด ขณะเดียวกันเหยื่อที่สั่งซื้อสินค้าก็ไม่ได้ รบั สินคา้ ผขู้ ายสนิ คา้ ตวั จริงจึงกลายเป็นผ้ตู อ้ งสงสัยทนั ที ดังนัน้ หากมีผู้อน่ื อ้างว่าได้โอนเงินผิด เข้าบัญชี ควรสอบถาม call center หรือสาขาของธนาคารที่เรามีบัญชีอยู่ ให้ดำเนินการ ตรวจสอบรายละเอียด หากตรวจสอบแลว้ เป็นเงินที่โอนผิดบัญชีมาจริง ให้เราไปที่ธนาคารเพ่ือ เซ็นยนิ ยอมให้ธนาคารดำเนนิ การโอนกลบั ไปยงั บญั ชตี น้ ทางต่อไป (อยา่ โอนกลับด้วยตนเอง) 4. ขอเลขที่บญั ชเี งินฝากเปน็ ทพี่ ักเงนิ มิจฉาชีพจะประกาศรับสมัครงานผ่านทางอินเทอร์เน็ตหรืออาจติดต่อเหยื่อ ไปเองว่าเป็นบริษัทจากต่างประเทศที่ส่งสินค้าเข้ามาขายในประเทศไทย ต้องการพนักงานที่ ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภัยทางการเงนิ
171 คอยรวบรวมเงินค่าสินค้าในประเทศไทย จึงต้องใช้บัญชีเงินฝากของเหยื่อเป็นที่พักเงิน โดยตกลงวา่ จะแบ่งส่วนแบ่งจากการขายสินค้าให้ (เชน่ ร้อยละ 25 ของเงนิ คา่ สนิ คา้ ) วันหนึ่งเหยื่อได้รับโทรศัพท์จากมิจฉาชีพแจ้งว่า มีคนโอนค่าสินค้า ให้เหยื่อ หักส่วนแบ่งไว้ตามที่ตกลงกัน และให้โอนเงินที่เหลือให้แก่บริษัทแม่ เมื่อเหยื่อตรวจสอบบัญชี เงนิ ฝาก ก็พบวา่ มเี งินเขา้ มาจรงิ จึงโอนเงนิ ท่ีเหลอื หลงั หักสว่ นแบ่งแล้วให้แก่มิจฉาชีพ เวลาผ่านไป เหยื่อได้รับการติดต่อจากเจ้าหน้าที่ตำรวจว่า เงินที่เข้ามาใน บัญชีเงินฝากของเหยื่อนั้นเป็นเงินที่มิจฉาชีพไปหลอกเหยื่อรายอื่นมา สุดท้ายเหยื่อกลายเป็น ผตู้ อ้ งสงสัย ส่วนมิจฉาชีพตวั จรงิ ก็ลอยนวลหายไป 5. เงินกอู้ อนไลน์ปลอม เหยื่อรายหนึ่งต้องการใช้เงินอย่างเร่งด่วนแต่ไม่มีเงินสำรองไว้ จึงคิดหาทาง ออกโดยการกู้เงินนอกระบบ พอดีได้อ่านโฆษณาบริการเงินกู้นอกระบบดอกเบี้ยต่ำ ในอินเทอรเ์ นต็ จงึ รบี คลิกลิงก์เพอื่ ดาวนโ์ หลดแอปพลิเคชนั จากนน้ั กไ็ ดแ้ อดไลนค์ ุยกบั มิจฉาชีพ ท่ีอ้างตัวว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของบริษัทให้กู้เงิน มิจฉาชีพจะสอบถามข้อมูลส่วนตัว อาชีพ ให้ทำ สัญญาเงินกู้ และขอเอกสารหลักฐานจากเหยื่อ เช่น สำเนาบัตรประชาชน ทะเบียนบ้าน สมุดบัญชเี งินฝาก คลา้ ยกบั การขอก้ทู ่ีธนาคารจึงทำให้เหยือ่ เร่ิมเชื่อใจ สง่ สัญญามาให้เหยื่อเซ็น จากนั้นก็จะถามวา่ เหยื่อมีอะไรค้ำประกนั หรอื ไม่ โดยจะพยายามหลอกล่อให้เหยื่อต้องชำระคา่ คำ้ ประกนั เช่น 10% ของวงเงินกู้ หรอื ค่าธรรมเนียมอน่ื ๆ เช่น ค่าทำสัญญา ค่าเอกสาร ค่ามัดจำ หรือดอกเบี้ยล่วงหน้าภายในเวลาที่กำหนด เช่น ภายในวันนี้เวลา 18.00 น. (เพื่อเร่งให้เหยื่อ ตัดสนิ ใจโดยไมไ่ ตร่ตรอง) โดยบอกวา่ จะคนื ใหพ้ ร้อมกบั เงนิ กู้ เมอ่ื เหยื่อหลงกลโอนเงินไปให้ มิจฉาชพี ก็จะหากลเม็ดหลอกให้โอนเงินต่อไปอีก เชน่ แจง้ ว่าระบบการถอนเงินลม้ เหลวเนอื่ งจากเหยอื่ กรอกขอ้ มูลเลขทีบ่ ญั ชีผิด หรือต้องจ่ายค่า ลัดคิวจึงจะได้เงินเร็วขึ้น หรือมีค่าใช้จ่ายในการแก้ไขเอกสารเพื่อปลดล็อก ซึ่งจำนวนเงินท่ี มิจฉาชีพหลอกให้โอนจะเริ่มสูงขึ้น บางครั้งก็ข่มขู่เหยื่อให้กลัวว่า หากไม่ดำเนินการโอนเงินให้ บริษัทจะดำเนินคดี หรือจะหักเงินจากบัญชีของเหยื่อมาชำระหนี้ หากเหยื่อเริ่มรู้ทันก็จะถูก บล็อกไลน์ทำให้ไม่สามารถตดิ ต่อได้อกี ชดุ วิชาการเงินเพือ่ ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 5 ภยั ทางการเงนิ
172 ดังนั้น ผู้สนใจจะกู้เงินออนไลน์ต้องคิดให้ดีก่อนตัดสินใจ เพราะอาจไปเจอ กบั เงนิ กูน้ อกระบบหรือมจิ ฉาชีพได้ โดยมขี ้อพึงระวงั ดงั น้ี 1) อย่าดาวน์โหลดแอปพลิเคชันที่ได้มาทาง SMS หรือโซเชียลมีเดีย เพราะอาจพาเราไปสแู่ อปเงนิ กู้นอกระบบ หรอื แอปเงินกู้ปลอม ส่มุ เสีย่ งต่อการถกู หลอก แฮกขอ้ มูล เพื่อเอาข้อมูลส่วนตัวของเราไปสวมรอยทำธุรกรรมทางการเงิน หรือหลอกให้โอนเงินไปเป็น ค่าค้ำประกัน ค่าดำเนินการทางเอกสาร และการถูกเข้าถึงข้อมูลชื่อผู้ติดต่อในโทรศัพท์และ รูปภาพในโทรศัพท์มือถือ ที่ทำให้สามารถโทรหรือส่งข้อความไปทวงหนี้หรือประจานกับเพื่อน ของเราหรอื บคุ คลท่ีมีช่ืออยู่ในเบอรโ์ ทรศัพท์ นอกจากนี้ หากจะดาวน์โหลดแอปพลิเคชันจากระบบปฏิบัติการที่เรามี ในโทรศพั ท์มือถือ เช่น App store หรือ Play store ต้องไม่ลมื อ่านรายละเอียดข้อมูลแอปและ ตรวจสอบใหแ้ น่ใจกอ่ นดาวน์โหลด 2) ต้องตรวจสอบให้ดีว่าแอปพลิเคชันที่เราจะดาวน์โหลดนี้ เป็นผู้ ให้บริการสินเชือ่ ที่ได้รับอนุญาตจริงหรือไม่ โดยควรโทรติดตอ่ ไปยังหน่วยงานหรือบริษัทที่ถกู อ้างชื่อ เพื่อสอบถามว่าเป็นผู้ให้บริการแอปพลิเคชันนี้จริง ๆ หรือไม่ ซึ่งสามารถหารายชื่อ/ เบอรต์ ิดต่อสถาบันการเงนิ ท่อี ยูภ่ ายใตก้ ารดแู ลของทางการไดจ้ าก เวบ็ ไซตธ์ นาคารแห่งประเทศไทย https://www.bot.or.th/ เว็บไซตก์ ระทรวงการคลัง https://1359.go.th/picodoc/ 3) อย่าโอน อย่าให้ หากมีการหว่านล้อมให้เราโอนเงินไปเป็นเงินค้ำ ประกัน หรือเพื่อเดินบัญชี เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย เพื่อลัดคิวให้ได้รับสินเชื่อเร็วขึ้น หรืออ้างว่าเป็น ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานรัฐ เช่น แบงก์ชาติ ที่จะช่วยแก้ไข หรือให้ได้รับกู้เงินและต้อง เสียคา่ ใช้จา่ ยไปใหก้ อ่ น ขอใหฉ้ ุกคดิ ไว้กอ่ นวา่ เป็นมิจฉาชีพแนน่ อน อย่าไดห้ ลงเช่ือ ชุดวชิ าการเงินเพือ่ ชีวิต 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 ภยั ทางการเงนิ
173 6. เรียกคา่ ไถข่ อ้ มูลด้วยมัลแวร์ มิจฉาชีพจะแอบอ้างเป็นหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ เช่น บริษัทขนส่ง สินค้าและส่งอีเมลที่แนบไฟล์หรือแนบลิงก์ให้เหยื่อติดตั้งแรนซัมแวร์ในคอมพิวเตอร์ของเหย่ือ ซึ่งแรนซัมแวร์เป็นมัลแวร์ (malware) หรือไวรัสชนิดหนึ่ง เมื่อถูกติดตั้งในคอมพิวเตอร์จะทำการ เข้ารหัสลับ (encryption) ในไฟล์เอกสารต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ทำให้ผู้ใช้งาน ไม่สามารถเปิดใช้งานหรอื แก้ไขไฟล์ได้ หากไม่มีรหสั จากผู้สร้างแรนซัมแวร์เพ่ือถอดรหัสลบั ขอ้ มูล (decryption) เสมือนถูกเรียกคา่ ไถ่ หลังจากนั้นหน้าจอจะแสดงหน้าต่างเรียกค่าไถ่ โดยผู้ใช้งานจะต้องจ่ายเงิน จำนวนหนึ่งเพื่อแลกกับการถอดรหัสใช้งานไฟล์ดังกล่าว แต่ก็ไม่มีใครรับประกันวา่ จ่ายเงินแลว้ เราจะไดร้ บั รหสั หรือใช้ไฟลง์ านเอกสารเหล่าน้ันหรือไม่ เหยื่ออาจต้องลบขอ้ มูลทัง้ หมดในเคร่ือง คอมพิวเตอรเ์ พ่ือกำจดั แรนซมั แวร์ ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชวี ิต 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 5 ภัยทางการเงนิ
174 วธิ ีปอ้ งกนั ภยั ร้ายบนโลกออนไลน์ 1. คิดทบทวน ว่าเรื่องที่เจอหรือได้ยินมามีความน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน หากโอนเงนิ ไปแล้วมปี ญั หา จะมีโอกาสได้คืนหรือไม่ 2. เปิดเผยเท่าที่จำเป็น โดยเฉพาะข้อมูลส่วนตัวในโซเชียลมีเดียที่มิจฉาชีพ อาจนำไปแอบอา้ งใช้ทำธุรกรรมตา่ ง ๆ ได้ 3. ตรวจสอบข้อมูลก่อนโอนเงิน หากอ้างถึงบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรใด ๆ ควรติดตอ่ สอบถามบุคคลน้ัน หรือองค์กรนั้น ๆ โดยตรง 4. ตดิ ตามขา่ วสารกลโกงเป็นประจำ เพือ่ รเู้ ท่าทันเล่ห์เหลี่ยมกลโกง ทำอย่างไรเมื่อตกเป็นเหย่ือภัยร้ายบนโลกออนไลน์ 1. หากถูกแอบอ้างใช้อีเมล ให้ติดต่อผู้ให้บริการอีเมลทันที เพื่อเปลี่ยน รหัสผา่ นหรอื ปดิ บญั ชี 2. หากโอนเงนิ ให้มิจฉาชีพแลว้ ให้ 1) ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของธนาคารเพื่อระงับการโอน และถอนเงิน โดยรวบรวมเอกสารเพือ่ เป็นข้อมูลประกอบดว้ ย ทั้งนี้ แต่ละธนาคารมีวิธปี ฏบิ ัติที่ แตกตา่ งกนั ควรตดิ ต่อสอบถามข้ันตอนจากธนาคารโดยตรง 2) แจ้งความดำเนินคดีที่สถานีตำรวจท้องที่ที่เกิดเหตุเพื่อติดตามคนร้าย หรือปรกึ ษาได้ท่ี ศูนยป์ ราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ โทร. 1599 กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 5 ภัยออนไลน์ (ให้ผเู้ รยี นไปทำกิจกรรมเรือ่ งท่ี 5 ท่ีสมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นร)ู้ ชุดวชิ าการเงินเพื่อชีวติ 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 ภยั ทางการเงนิ
175 เรือ่ งที่ 6 ภยั ธนาคารออนไลน์ เทคโนโลยีที่พัฒนาก้าวหน้าทำให้ธนาคารอยู่เพียงปลายนิ้วมือ ผู้ใช้บริการ สามารถจัดการบัญชีเงินฝากของตนเองผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้โดยไม่ต้อง เดินทางไปธนาคาร ซึ่งขั้นตอนหลกั ๆ ในการโอนเงินผา่ นทางอนิ เทอร์เนต็ มีดังน้ี 1. ผู้ใช้บริการเขา้ ระบบธนาคารออนไลน์โดยใช้รหัสผู้ใช้งาน (username) และ รหัสผา่ น (password) และสง่ คำส่ังโอนเงนิ 2. ธนาคารส่งรหัสผ่านชั่วคราว (OTP หรือ one time password) ผ่านทาง SMS ไปยังโทรศัพท์มอื ถือทีผ่ ู้ใช้บริการลงทะเบียนไว้ เพื่อให้ผู้ใช้บริการยืนยันการทำธุรกรรมที่ ต้องการทำ ซึ่ง OTP นี้เป็นรหัสผ่านที่ธนาคารออกให้ผู้ใช้บริการเพื่อใช้ยืนยันการทำธุรกรรม ธนาคารออนไลน์ท่ีสำคัญ โดยจะใช้ได้เพียงหนึ่งครั้งภายในเวลาที่กำหนด ทั้งนี้ ธนาคารจะส่ง OTP มาพรอ้ มกับรายละเอยี ดของธรุ กรรมท่จี ะใช้ OTP น้นั 3. เมอื่ ผใู้ ชบ้ ริการได้รบั OTP แลว้ ก็กรอก OTP เพือ่ ยืนยันการโอนเงิน ความสะดวกสบายในการทำธุรกรรมผ่านทางอินเทอร์เน็ตนี้ ทำให้ผู้ใช้บริการ สามารถจัดการเงินในบัญชีได้อย่างง่ายดาย แต่ใครจะรู้...ธนาคารออนไลน์ที่มาพร้อมกับความ สะดวกสบายเหลา่ นี้ หากใช้ไมร่ ะวัง เงินที่อย่ใู นบัญชีอาจหายไปได้ ชดุ วชิ าการเงินเพ่อื ชีวติ 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 ภยั ทางการเงิน
176 ลักษณะกลโกงทีแ่ ฝงอยู่ในธนาคารออนไลน์ 1. แฝงโปรแกรมรา้ ยหรือมัลแวร์ (malware) มาให้ดาวนโ์ หลด 1) โปรแกรมร้ายในคอมพิวเตอร์ โปรแกรมร้าย หรือมลั แวร์ (malware) เชน่ ไวรัส โทรจัน เปน็ โปรแกรม ที่สร้างขึ้นมาเพื่อทำลายหรือสร้างความเสียหายให้แก่ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย รวมถึงขโมยข้อมูลของผู้ใช้งาน ซึ่งมิจฉาชีพสามารถนำขอ้ มูลดังกล่าวไปทำธุรกรรมทางการเงนิ แทนเหยอื่ ได้ มิจฉาชีพจะแฝงโปรแกรมร้ายในลงิ ก์ดาวน์โหลด ไฟล์ หรือโปรแกรม ต่าง ๆ และมักจะใช้ข้อความหลอกล่อให้คลิกลิงก์หรือติดตั้งโปรแกรม เช่น “คุณเป็นผู้โชคดี คลิกทนี่ เ่ี พอ่ื รับรางวลั ” “คลปิ ฉาวลบั สุดยอดของคจู่ นิ้ เบอร์ 1 ของวงการ คลิกทน่ี ี่” เมื่อโปรแกรมร้ายถูกติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทำหน้าที่ขโมย ข้อมูลหรือบันทึกข้อมูลการใช้งานของเจ้าของเครื่อง เช่น รหัสผู้ใช้งาน (username) รหัสผ่าน (password) หรืออาจเข้าควบคุมการใช้งาน รวมไปถึงปลอมแปลงคำขอทำธุรกรรมการเงินให้ เหมือนเป็นคำสง่ั จากเจา้ ของบญั ชี หากปลอมแปลงคำส่ังโอนเงินแล้ว โปรแกรมร้ายจะสร้างหน้าต่างปลอม หรือหน้าจอ pop-up เพื่อหลอกถาม “รหัสผ่านชั่วคราว (OTP)” หรืออาจใช้โปรแกรมบันทึก การกด OTP แลว้ นำมาใชย้ นื ยนั การโอนเงนิ ออกจากบัญชเี งนิ ฝากของเหย่อื ชดุ วิชาการเงินเพื่อชวี ิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 5 ภยั ทางการเงิน
177 2) แอปพลเิ คชนั ร้ายในสมารต์ โฟน ไม่เฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้นที่มโี ปรแกรมร้ายแฝงอยู่ ในสมาร์ตโฟน ก็มีแอปพลิเคชันร้ายแฝงอยู่ได้เช่นกัน โดยมิจฉาชีพจะส่งลิงก์ผ่าน SMS หรืออีเมลให้เหย่ือ ติดตั้งแอปพลิเคชันรา้ ยในสมารต์ โฟนหรือแท็บเลต็ เมื่อแอปพลิเคชันร้ายถูกติดตั้งในสมาร์ตโฟนแล้ว จะทำหน้าที่เหมือน โปรแกรมรา้ ยในคอมพิวเตอร์คอื ขโมยข้อมูล หรอื บนั ทกึ ข้อมลู การใชง้ าน หรอื เข้าควบคุมการใช้ งานธนาคารออนไลน์ของเหยอ่ื รวมถึงเขา้ ใช้งานธนาคารออนไลนแ์ ทนเหย่ือ ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชีวติ 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภยั ทางการเงิน
178 2. ปลอมแปลงอเี มลหลอกเหยื่อให้ขอ้ มลู ในเว็บไซตป์ ลอม นอกจากการแฝงโปรแกรมร้ายในเครื่องคอมพิวเตอร์หรือสมาร์ตโฟนแล้ว มิจฉาชีพก็อาจสร้างอเี มลและเว็บไซต์ปลอมขึ้นมาเพื่อหลอกขอข้อมูลจากเหยือ่ โดยเริ่มจาก ส่งอีเมลที่สร้างเรือ่ งโกหกขึน้ มาเพ่ือทำใหเ้ หยือ่ ตกใจ เช่น อ้างว่าจะอายัดบัญชี หรืออยูร่ ะหว่าง การปรบั ปรุงระบบความปลอดภยั จึงขอใหเ้ หย่ือกรอกข้อมูลในเวบ็ ไซตต์ ามลงิ กท์ แี่ นบมา เมื่อเหยื่อหลงเชื่อคลิกลิงก์ เหยื่อจะถูกเชื่อมต่อไปยังหน้าเว็บไซต์ปลอมที่มี ลักษณะคล้ายหรือเกือบจะเหมือนเว็บไซต์จริง หากเหยื่อไม่ระวัง ลงชื่อเข้าใช้ธนาคารออนไลน์ ในหน้าเว็บไซต์ปลอม ทำให้ข้อมลู รหัสผใู้ ชง้ าน (username) และรหสั ผ่าน (password) ในการ ใช้งานธนาคารออนไลน์ของเหยื่อถูกมิจฉาชีพบันทึกเก็บไว้และนำไปเข้าใช้ทำธุรกรรมธนาคาร ออนไลน์เพอื่ ถอนเงนิ เหย่อื ออกมา ชดุ วชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 5 ภัยทางการเงนิ
179 3. ปลอมแปลงแอปพลเิ คชนั ของธนาคารต่าง ๆ มิจฉาชีพอาจใช้การสร้างแอปพลิเคชันปลอมที่มีหน้าตาเหมือนกับแอปพลิเค ชันของธนาคารต่าง ๆ หากไม่พิจารณาให้ดีก่อนดาวน์โหลดมาใช้ เราก็จะเป็นผู้ที่เพิ่มความเสี่ยง ให้ตัวเองในการเปิดเผยข้อมูลรหัสผ่านต่าง ๆ ของเราให้มิจฉาชีพสามารถนำไปทำธุรกรรมกับ บัญชีธนาคารนัน้ ๆ ไดท้ นั ที วธิ ีปอ้ งกันภัยธนาคารออนไลน์ 1. ไม่ติดตั้งหรือดาวน์โหลดโปรแกรมแปลก ๆ หรือละเมิดลิขสิทธิ์ หรือผิด กฎหมาย เพราะอาจเป็นช่องทางให้มัลแวร์เข้ามาในอุปกรณ์ที่ใช้ (คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน หรือแท็บเลต็ ) ได้ 2. หลีกเลี่ยงการใช้งานธนาคารออนไลน์ผ่านอุปกรณ์ที่มีการดัดแปลง หรือ แกไ้ ขระบบปฏิบัตกิ าร เพราะมีความเส่ียงสงู ที่จะถูกขโมยข้อมลู ชดุ วิชาการเงินเพ่อื ชีวติ 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 ภัยทางการเงนิ
180 3. หลีกเลี่ยงการทำธุรกรรมทางการเงินผ่านอินเทอร์เน็ตสาธารณะ หรือ ฟรี Wi-Fi เพื่อป้องกันการดักขโมยข้อมูล แต่หากจำเป็นต้องใช้ ให้รีบเปลี่ยนรหัสผ่านหลังจาก การใชง้ าน 4. ตรวจสอบอุปกรณ์ที่ใช้ทำธุรกรรมออนไลน์เป็นประจำว่ามีมัลแวร์แฝงอยู่ หรือไม่ โดยใชโ้ ปรแกรมตรวจสอบและปอ้ งกนั ไวรสั ทถี่ ูกกฎหมายและเป็นปจั จุบัน 5. สังเกตอีเมลและเว็บไซต์ ก่อนคลิกลิงก์หรือลงชื่อเข้าใช้งานธนาคาร ออนไลน์ โดยสามารถสังเกตจุดต่าง ๆ ดังนี้ 1) อีเมล 2) เวบ็ ไซต์ ชดุ วิชาการเงนิ เพื่อชีวติ 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 ภัยทางการเงนิ
181 6. สงั เกตก่อนดาวน์โหลดแอปพลเิ คชัน พจิ ารณาว่าแอปพลเิ คชันของธนาคาร ต่าง ๆ ที่กำลังจะดาวน์โหลดมาใช้ เป็นแอปพลิเคชันจริงที่พัฒนาขึ้นโดยธนาคารต่าง ๆ ไม่ใช่ การทำสัญลกั ษณ์ หรอื ไอคอน (icon) ของแอปพลิเคชันใหค้ ลา้ ยคลึงกับของจริง 7. จำกัดวงเงนิ ในการทำธรุ กรรมผา่ นธนาคารออนไลน์ เพื่อลดความเสียหาย หากถูกแอบเข้าใช้บัญชี 8. ตรวจสอบรายการเคลื่อนไหวในบัญชี และการเข้าใช้ระบบธนาคาร ออนไลน์อยเู่ สมอว่าเปน็ รายการทไี่ ด้ทำไวห้ รือไม่ 9. ควรกดปุ่ม “ออกจากระบบ” (log out) ทุกคร้ังเมือ่ ไมใ่ ชง้ าน ทำอยา่ งไรเมอื่ ตกเปน็ เหยอ่ื ภยั ธนาคารออนไลน์ 1. หากได้รับอีเมลหรือ SMS ท่ีต้องสงสัย หรือเผลอคลิกลิงก์เพื่อดาวน์โหลด โปรแกรมทแี่ นบมา หรือหลงเช่อื ใหข้ อ้ มูลในเว็บไซต์ปลอมไป รวมทง้ั ไดร้ ับรหัสผ่านช่ัวคราวโดย ที่ไม่ได้ส่งคำสั่งโอนเงิน ให้แจ้งเหตุการณ์แก่เจ้าหน้าที่ธนาคารหรือฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของธนาคารทนั ที พรอ้ มทั้งขอคำปรึกษาเกยี่ วกับวิธแี กไ้ ขและการใช้งานทป่ี ลอดภัย ชดุ วิชาการเงินเพื่อชีวิต 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 ภัยทางการเงนิ
182 2. หากพบเว็บไซต์ปลอม หรือแอปพลิเคชันของสถาบันการเงิน ให้รีบแจ้ง สถาบนั การเงินน้นั ๆ ทนั ที เพอื่ ดำเนินการต่อไป เชน่ แจ้งปิดเว็บไซต์ดังกลา่ ว ดำเนินคดี กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 6 ภยั ธนาคารออนไลน์ (ใหผ้ เู้ รยี นไปทำกิจกรรมเรื่องที่ 6 ทีส่ มุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้) ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภยั ทางการเงิน
183 เร่ืองท่ี 7 ภยั บัตรอิเล็กทรอนกิ ส์ บัตรอิเล็กทรอนิกส์ถูกใช้กันอย่างแพร่หลาย ไม่ว่าจะเป็นบัตรเครดิต บัตรเดบติ บัตรเอทีเอ็ม หรือบัตรกดเงินสด ซึ่งข้อมลู ของผู้ใช้ที่ถูกบันทึกไว้ภายในบัตรเปน็ กุญแจสำคญั ใน การเข้าถึงบญั ชขี องเจา้ ของบัตร จงึ เป็นสิ่งทเี่ หลา่ มจิ ฉาชพี ตอ้ งการ ลกั ษณะกลโกงภัยบตั รอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 1. ใช้อุปกรณ์บางอย่างปิดกั้นช่องที่เงินจะออก เมื่อเหยื่อกดถอนเงินแล้วจะ ไมไ่ ดร้ บั เงิน หลงั จากเหยื่อเดนิ ออกไป มจิ ฉาชพี จะนำเงนิ นัน้ ออกไปแทน 2. ใช้เทปกาวติดไว้ในช่องเสียบบัตรเอทีเอ็ม เมื่อบัตรติดอยู่ในเครื่อง มิจฉาชีพจะทำทีเข้ามาช่วยเหลือ และหลอกถามรหัสเอทีเอ็ม อ้างว่าพอกดแล้วเครื่องจะคาย บัตรออก พอหลงั จากเหยื่อออกไปแลว้ มิจฉาชีพก็จะกดเงินด้วยรหัสนนั้ และนำเงินออกไปแทน 3. ขโมยข้อมลู ในบตั รแถบแม่เหลก็ (ผ่านเคร่ืองขโมยขอ้ มูล) 1) สกิมเมอร์ (skimmer): เครือ่ งขโมยขอ้ มลู ในบัตรท่ีเคร่อื งเอทเี อ็ม มิจฉาชีพจะติดตั้งอุปกรณ์ คือ เครื่อง skimmer ไว้ที่ช่องสอดบัตรท่ี เครื่องเอทีเอ็ม และแป้นครอบตัวเลขหรือกล้องขนาดจิ๋วไว้บริเวณที่มองเห็นการกดรหัส เมื่อเหยื่อใช้บัตรที่เครื่องเอทีเอ็ม เครื่อง skimmer จะทำหน้าที่อา่ นข้อมูลที่อยู่ในแถบแม่เหล็ก ของบัตรแล้วบันทึกเก็บไว้ ในขณะเดียวกันแป้นครอบตัวเลขหรือกล้องขนาดจิ๋วจะทำหน้าท่ี บนั ทึกการกดรหัสผา่ นของผใู้ ช้บรกิ าร เมื่อได้ข้อมูลครบ มิจฉาชีพจะนำข้อมูลดังกล่าวไปผลิตบัตรปลอมแล้ว นำไปใช้โอนเงินของเหยื่อออกจากบัญชี ซึ่งส่วนมากจะนำบัตรไปใช้ในต่างประเทศเพื่อป้องกัน การถูกเจา้ หน้าทต่ี ำรวจจับกุม 2) แฮนด์เฮลด์ สกิมเมอร์ (handheld skimmer): เครื่องขโมยข้อมูล ขนาดพกพา เคร่ือง handheld skimmer เปน็ เครือ่ งขโมยข้อมลู ขนาดเล็กที่สามารถ พกพาได้ มจิ ฉาชพี จะใช้เลห่ ์เหลี่ยมขอบัตรจากเหยื่อ เช่น แฝงตวั เปน็ พนกั งานเก็บเงินในร้านค้า ชุดวชิ าการเงินเพอื่ ชีวิต 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 ภยั ทางการเงนิ
184 หรืออ้างเป็นเจ้าหน้าที่ธนาคารท่ีคอยให้ความช่วยเหลือที่หน้าเครื่องเอทีเอ็ม เม่ือเหยื่อเผลอ ก็จะนำบัตรมารดู กับเครื่องขโมยขอ้ มลู ทซี่ อ่ นไว้ 4. ปลอมเอกสารสมัครบัตร/บัญชีสินเชื่อ มิจฉาชีพจะขโมยเอกสารส่วนตัว ของเหยื่อ เช่น สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน แล้วนำไปสมัครบัตรเครดิตหรือบัตรกดเงินสด หรอื อาจนำเอกสารดังกล่าวไปแจง้ เปลี่ยนบตั รพร้อมท้ังเปลี่ยนท่ีอยใู่ นการส่งบิลเรยี กเก็บแล้วนำ บตั รไปใชใ้ นนามของเหยือ่ กวา่ เหย่ือจะรตู้ ัวกโ็ ดนทวงหน้แี ล้ว วธิ ปี ้องกันภยั บัตรอิเล็กทรอนิกส์ 1. ไม่บอกข้อมูลส่วนตัวแก่บุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็นรหัสบัตรเอทีเอ็ม บัตร เครดติ หรือขอ้ มลู ทางการเงิน หรอื ใหค้ นอน่ื ทำธุรกรรมแทน 2. สังเกตเครื่องเอทีเอ็ม ว่ามีสิ่งแปลกปลอมติดอยู่ที่ช่องสอดบัตร แป้นกด ตวั เลข และบรเิ วณโดยรอบว่ามีกล้องขนาดจ๋ิวแอบดูการกดรหสั หรอื ไม่ 3. เปลี่ยนรหัสผ่านอย่างน้อยทุก 3 เดือน หรือบ่อยกว่า โดยรหัสผ่านจะต้อง เดายาก เปน็ ความลบั แต่เจ้าของบตั รตอ้ งจำได้ 4. อยู่ในระยะที่มองเห็นการทำรายการเมื่อใช้บัตรที่ร้านค้า เพื่อป้องกัน พนกั งานนำบตั รไปรูดกบั เครื่องขโมยข้อมลู ชดุ วิชาการเงนิ เพือ่ ชีวติ 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 ภยั ทางการเงนิ
185 5. ตรวจสอบใบบันทึกรายการของบัตรเอทีเอ็มทุกครั้ง และควรเก็บไว้เพ่ือ เป็นหลกั ฐานในการตรวจสอบ 6. ตรวจสอบรายการใช้จ่ายของบัตรเครดติ อยา่ งสม่ำเสมอ 7. แจ้งธนาคารผ้อู อกบตั รทันที หากมรี ายการผิดปกติ ทำอยา่ งไรเม่อื ตกเปน็ เหย่อื ภัยบัตรอเิ ล็กทรอนิกส์ 1. หากพบรายการถอนเงินหรือโอนเงินผิดปกติ ควรแจ้งอายัดบัตรทันที พรอ้ มทง้ั ตรวจสอบรายการและยอดเงนิ คงเหลอื 2. หากถูกขโมยข้อมูลจากเครื่อง skimmer ที่ติดอยู่กับเครื่องเอทีเอ็มของ ธนาคาร ให้ปฏบิ ตั ดิ ังนี้ 1) ทบทวนเหตกุ ารณท์ ่ีเกดิ ขน้ึ แล้วรีบติดต่อฝ่ายบรกิ ารลูกคา้ (call center) ของธนาคารเพอื่ อายดั บัตร และขอทราบวธิ กี ารและขั้นตอนการแก้ไขปญั หา ทัง้ นี้ แตล่ ะธนาคาร มวี ธิ ปี ฏิบัติท่แี ตกตา่ งกันไป 2) รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น ตำแหน่งที่ตั้งเครื่องเอทีเอ็ม และ ไปแจง้ ความ ณ สถานีตำรวจในท้องที่ทีเ่ กิดเหตุ กิจกรรมท้ายเรือ่ งที่ 7 ภยั บัตรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (ใหผ้ เู้ รียนไปทำกิจกรรมเร่อื งที่ 7 ท่สี มุดบนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นร้)ู ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 5 ภยั ทางการเงนิ
186 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น – หลังเรียน เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 1. ก 2. ค 3. ค 4. ง 5. ก 6. ก 7. ข 8. ข 9. ก 10. ง 11. ง 12. ง 13. ก 14. ก 15. ค 16. ก 17. ง 18. ง 19. ก 20. ง 21. ข 22. ค 23. ข 24. ง 25. ก 26. ค 27. ง 28. ข 29. ก 30. ข เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น 1. ก 2. ค 3. ง 4. ง 5. ก 6. ก 7. ง 8. ข 9. ก 10. ข 11. ง 12. ค 13. ก 14. ก 15. ค 16. ข 17. ง 18. ข 19. ก 20. ง 21. ข 22. ค 23. ข 24. ง 25. ก 26. ค 27. ง 28. ง 29. ก 30. ก เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลังเรยี น ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศกึ ษา
187 เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื ง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าดว้ ยเรอื่ งของเงิน กิจกรรมทา้ ยเรื่องที่ 1 ความรู้เบ้อื งตน้ เกยี่ วกับเงิน 1. ระบบการแลกเปล่ยี นของตอ่ ของคืออะไร ก) วารีนำไขไ่ ก่ 10 ฟอง ไปแลกกับมะพร้าวของกานดา 1 ลกู 2. ข้อใดคอื หน้าทข่ี องเงินตอ่ ระบบเศรษฐกจิ ค) ถูกทั้งข้อ ก และ ข้อ ข (ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และเป็นมาตรฐานใน การวดั มลู ค่า) 3. ภาวะเงินฝดื หมายถงึ ข้อใดตอ่ ไปนี้ ก) ภาวะทีร่ ะดบั ราคาสินค้าโดยท่วั ไปลดต่ำลงเร่อื ย ๆ 4. สมใจเคยซื้อข้าวราดแกงกับไก่ทอด 1 ชิ้น จานละ 20 บาท แต่ 10 ปีต่อมา เงิน 20 บาท ไดเ้ พยี งข้าวราดแกงอย่างเดยี ว เหตกุ ารณน์ ีแ้ สดงให้เห็นวา่ เกิดจากสาเหตใุ ด ข) ภาวะเงินเฟอ้ 5. ข้อใดคอื บทบาทหน้าทข่ี องธนาคารแหง่ ประเทศไทย ค) ถูกท้ังข้อ ก และข้อ ข (ดำเนนิ นโยบายการเงิน และผลติ ธนบัตร) เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชุดวิชาการเงินเพ่อื ชวี ิต 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศกึ ษา
188 กจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 2 ประเภทของเงนิ กิจกรรมที่ 2.1 ให้ใส่เครื่องหมาย ✓ หน้าข้อความที่กล่าวถูกต้อง และใส่เครื่องหมาย X หน้าขอ้ หากเห็นวา่ ไมถ่ ูกตอ้ ง ✓ 1. ธนาคารแห่งประเทศไทยทำหนา้ ท่ผี ลติ และนำธนบัตรออกใช้หมุนเวยี นในระบบ เศรษฐกิจ ✓ 2. แถบฟอยล์สามมติ มิ ีอยใู่ นธนบัตรแบบ 16 ชนิดราคา 100 บาท 500 บาท และ 1000 บาท ✓ 3. กระดาษธนบตั รผลติ จากใยฝ้ายจงึ มคี วามเหนียวแกร่งต่างจากกระดาษทว่ั ไป ✓ 4. ธนบัตรชนิดราคา 1000 บาท แบบ 17 มีลายดอกประดษิ ฐท์ ีพ่ มิ พ์ดว้ ยหมกึ พมิ พ์ แม่เหล็กสามมิติทสี่ ามารถเปลี่ยนสลับสไี ดแ้ ละเคลือ่ นไหวไปมาไดร้ อบทศิ ทาง ✓ 5. ตวั เลขแฝง จะมองเห็นเม่อื พลกิ เอียงธนบัตรโดยจะเห็นเป็นเลขอารบิก ✓ 6. ลายนำ้ มีอยู่ในธนบัตรทกุ แบบทุกชนิดราคา ✓ 7. แถบสที ี่ฝงั ในเนือ้ กระดาษธนบตั รแบบปจั จบุ ันสามารถเปล่ยี นสลับสไี ปมาได้ เมื่อพลิกธนบัตรไปมา ✓ 8. สนิ ทรพั ย์ทีใ่ ช้หนุนหลงั ธนบตั ร เพื่อใหม้ มี ูลค่าตามราคาท่ีตราไว้หนา้ ธนบตั ร คือ ทนุ สำรองเงนิ ตรา X 9. ลายน้ำโปรง่ แสงในธนบตั รแบบ 17 เม่ือยกสอ่ งจะเห็นเปน็ ตัวเลขไทย X 10. ธนบัตรแบบปัจจบุ ันมคี วามกวา้ ง 79 มิลลิเมตร เทา่ กันทุกชนดิ ราคา กิจกรรมท่ี 2.2 ใหน้ ำชอ่ื สกลุ เงินดา้ นขวามอื มาใส่หลงั ชือ่ ประเทศให้สมั พนั ธ์กัน มาเลเซยี ............รงิ กิต........... สหรฐั อเมรกิ า .....ดอลลารส์ หรฐั ..... จนี .............หยวน…….... ญี่ป่นุ ..........เยน............... สหราชอาณาจกั ร .........ปอนด์............. ยโู รโซน ...........ยูโร............... เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอื่ ง ชุดวชิ าการเงนิ เพอื่ ชีวติ 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l ระดับประถมศึกษา
189 กิจกรรมท้ายเรื่องที่ 3 การชำระเงนิ ทางอิเล็กทรอนิกส์ กจิ กรรมที่ 3.1 1. ให้ทำเครื่องหมาย ✓หน้าข้อที่เป็นการชำระเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์ และทำเครื่องหมาย X หนา้ ข้อทีเ่ ห็นวา่ ไมใ่ ช่ระบบการชำระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ X 1. สมชายเดินไปกดเงนิ สดที่ตู้เอทีเอม็ ✓ 2. ครูสมปองชำระคา่ ไฟผา่ นเครอ่ื งเอทีเอ็มของธนาคารม่งุ มน่ั X 3. กรกนกจ่ายเงินสดซอ้ื ของทีร่ ้านสะดวกซ้ือ ✓ 4. เสาวนยี ์ชำระคา่ สนิ คา้ ใหแ้ กร่ า้ นคา้ ออนไลน์ผ่านโทรศัพท์มอื ถอื ✓ 5. วารีใช้บัตรรถไฟฟา้ จา่ ยคา่ โดยสารแทนการจ่ายเงนิ สด 2. ให้ระบปุ ระโยชน์ของการชำระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ทมี่ ีตอ่ ประชาชน 1) โอนเงนิ หรือชำระเงินได้ทุกท่ีทกุ เวลา 2) ไม่ตอ้ งเสยี เวลาและค่าใชจ้ ่ายในการเดินทาง 3) ปลอดภยั ไมต่ ้องกลวั เงนิ หายหรือถูกขโมย 4) ตรวจสอบได้ มหี ลกั ฐานชัดเจน 5) มรี ปู แบบการชำระเงินให้เลอื กไดห้ ลากหลายตามความสะดวก เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรื่อง ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชีวติ 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศกึ ษา
190 กิจกรรมที่ 3.2 ให้นำตัวเลือกด้านล่างมาเติมในช่องประเภทสื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้มี ความสมั พนั ธ์กับลักษณะของระบบการชำระเงิน ประเภทส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส/์ ลักษณะของระบบการชำระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ชอ่ งทางการชำระเงนิ พรอ้ มเพย์ 1. โอนเงนิ โดยใชห้ มายเลขโทรศัพท์แทนการใส่เลขทบ่ี ญั ชี 2. ทำธุรกรรมทางการเงิน เช่น ฝาก/ถอน/โอน/ชำระเงิน บัตรเดบิต ที่เครือ่ งเอทีเอ็ม ใช้ซื้อสินคา้ และบริการ ณ สถานทีข่ ายสนิ ค้า/ บริการ และซอ้ื ออนไลนโ์ ดยตดั เงนิ จากบัญชเี งินฝากทนั ที 3. มีวงเงินในบัตร สามารถเบิกถอนเงินสดจากเครื่องเอทีเอ็ม บตั รเครดิต ใช้ชำระค่าสินค้าและบริการแทนเงินสด และผู้ออกบัตรจะ เรยี กเกบ็ เงินจากเจา้ ของบัตรตามระยะเวลาที่กำหนด 4. โอนเงิน/ชำระเงินในการซื้อสินค้าและบริการ ตรวจสอบ internet banking ยอดเงินในบัญชี ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของธนาคารที่เปิด บญั ชไี ว้ 5. ชำระค่าสินค้าและบริการผ่านเครือข่ายของระบบ mobile banking โทรศัพท์มือถือ โดยผู้ใช้มีบัญชีเงินฝากอยู่กับธนาคารและ ดาวน์โหลดแอปพลเิ คชนั ของธนาคารลงในโทรศัพทม์ อื ถือ บัตรเครดติ internet banking บัตรเดบิต พร้อมเพย์ mobile banking เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชีวติ 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l ระดับประถมศกึ ษา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236