Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดวิชาการเงิน 1 ระดับประถมศึกษา

ชุดวิชาการเงิน 1 ระดับประถมศึกษา

Published by Idear Sutthida, 2022-07-16 02:10:15

Description: ชุดวิชาการเงิน 1 ระดับประถมศึกษา

Search

Read the Text Version

41 แลว้ รวมมูลค่าของสนิ ทรัพย์ทง้ั 3 ประเภท 2) คำนวณมูลค่าหนี้สินทั้งหมดที่มีอยู่ โดยแยกหนี้สินออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ ▪ หนี้สินระยะสั้น ได้แก่ หนี้ที่ต้องจ่ายคืนภายในเวลาไม่เกิน 1 ปี ซึ่ง ส่วนใหญเ่ ป็นหน้ที ่ีเกิดจากการอุปโภคบริโภค เช่น หน้บี ัตรเครดติ หนีบ้ ัตรกดเงินสด หนน้ี อกระบบ ▪ หนี้สินระยะยาว ได้แก่ หนี้ที่มีเวลาผ่อนชำระนานกว่า 1 ปี เช่น หนท้ี ีเ่ กดิ จากการซ้อื บ้านและรถยนต์ แลว้ รวมมูลคา่ ของหนสี้ นิ ท้ัง 2 ประเภท โดยใชต้ วั เลขของยอดหนีท้ เี่ หลอื อยู่ 3) คำนวณความมั่งคั่งสุทธิ นำมูลค่าสินทรัพย์ทั้งหมดหักออกด้วยมูลค่า หนี้สินทงั้ หมด สว่ นทเ่ี หลืออยูก่ ็จะเป็น “ความมง่ั คง่ั สุทธิ” ตวั อยา่ งการคำนวณความมง่ั คั่งสุทธิ ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การวางแผนการเงิน

42 2. รู้พฤติกรรมการใช้จ่าย จากการบันทึกรายรับ-รายจ่าย จะทำให้ทราบถึง ลักษณะของรายรบั และนสิ ยั การใชจ้ า่ ยของผ้บู ันทึก 1) ข้นั ตอนการจัดทำบันทกึ รายรบั -รายจ่าย การทำบันทึกรายรับ-รายจ่ายไม่มีกฎหรือข้อบังคับตายตัว แต่เป็น ประโยชน์ในการวางแผนการเงนิ การบนั ทึกรายรบั -รายจา่ ยควรมขี น้ั ตอนดังนี้ (1) กำหนดระยะเวลาทจ่ี ะบันทึก เชน่ 1 เดอื น 1 ปี หรือตลอดไปโดย จะต้องเลือกระยะเวลาที่สามารถทำได้จริงและสามารถบันทึกได้ทุกวัน และเพื่อประโยชน์ ในการวางแผนการเงนิ ควรบนั ทกึ ทกุ วันติดต่อกันอยา่ งนอ้ ย 1 เดือน ซงึ่ จะทำใหท้ ราบพฤตกิ รรม ใชจ้ ่ายทีแ่ ท้จรงิ (2) เลือกสมุดเพื่อใช้บันทึกรายรับ-รายจ่าย เช่น สมุดเล่มเล็กที่ สามารถพกพาไดส้ ะดวก โดยจดลงในสมดุ เล่มเลก็ ในชว่ งท่ีไปเรียนหรอื ทำงาน แลว้ กลบั มาเขียน ลงในสมดุ บนั ทกึ หรือคอมพวิ เตอร์ท่มี ีโปรแกรมบันทกึ รายรบั -รายจ่ายทบี่ ้าน หรือใชแ้ อปพลิเคชัน ในสมาร์ตโฟน เพื่อบนั ทึกขอ้ มูลทนั ทีทีเ่ ราไดร้ บั หรอื จา่ ยเงนิ (3) จดการรับและจ่ายเงินทุกครั้งลงในบันทึกรายรับ-รายจ่าย ซึ่งไม่ว่า จะเป็นเงินจำนวนมากหรือน้อยก็ไม่ควรละเลย โดยจะต้องแยกรายจ่ายออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ▪ รายจ่ายจำเป็น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่สามารถตัดออกได้ เพราะเปน็ รายจา่ ยสำหรับสิ่งทใ่ี ช้ในการดำรงชวี ิต เชน่ ค่าอาหาร ค่าผ่อนหรือเช่าบ้าน ค่าใชจ้ ่าย ในการเดินทางไปทำงาน ค่ารกั ษาพยาบาล คา่ เทอม ▪ รายจ่ายไม่จำเป็น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่มีบทบาทสำคัญต่อ การดำรงชีวิต เป็นรายจ่ายที่เกิดขึ้นจากความต้องการหรืออยากได้ ซึ่งถ้าไม่ได้ก็ยังมีชีวิตอยู่ได้ เช่น ค่าเหล้า ค่าบุหร่ี ค่าหวย ค่าอุปกรณ์แต่งรถ ค่าเสื้อผ้าที่ซื้อมาเพียงเพราะเห็นว่าสวยดี แต่ไม่ได้ใส่ ชดุ วิชาการเงนิ เพอื่ ชีวิต 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ

43 (4) รวมยอดเงินแต่ละประเภท ได้แก่ รายรับ เงินออม รายจ่าย ที่จำเปน็ และรายจ่ายทไ่ี มจ่ ำเป็น เพอ่ื ใชว้ เิ คราะหพ์ ฤติกรรมการใชจ้ า่ ยของตนเอง รหู้ รอื ไมว่ า่ การพิจารณาว่ารายจ่ายใดเป็นรายจ่ายจำเป็นหรือไม่จำเป็น ส่วนหน่ึง ขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้ชีวิตของแต่ละบุคคลด้วย เพราะรายจ่ายจำเป็นของคนหนึ่งอาจ เป็นรายจ่ายไม่จำเป็นของอีกคนหนึ่ง หรือรายจ่ายไม่จำเป็นของคนหนึ่งอาจมีความจำเป็น สำหรับอีกคนหนึ่งก็ได้ เช่น ผู้ที่มีอาชีพรับจ้างขนของ รถก็เป็นรายจ่ายที่จำเป็นมาก แต่ สำหรบั อาชพี ครทู ส่ี อนอยโู่ รงเรยี นใกลบ้ า้ น รายจ่ายเกี่ยวกับรถอาจเป็นสิ่งไม่จำเป็นเลยกไ็ ด้ ชุดวิชาการเงินเพ่ือชีวติ 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ

44 2) ส่วนประกอบท่ีสำคัญของบนั ทึกรายรับ-รายจา่ ย การบันทึกรายรับ-รายจ่ายสามารถทำได้หลากหลายรูปแบบ ผู้บันทึก สามารถออกแบบตารางบันทึกได้ตามความถนัดหรือตามที่ตนเองชื่นชอบ แต่การบันทึก รายรบั -รายจ่ายในแต่ละเดือนนัน้ ควรมสี ่วนประกอบดงั น้ี (1) ส่วนที่ใช้บันทึกรายรับ-รายจ่าย ควรเป็นตารางที่มีความยาว เพียงพอต่อการบันทึกตลอดระยะเวลาอย่างน้อย 1 เดือน (อาจใชก้ ระดาษมากกวา่ 1 หนา้ ) โดย จะตอ้ งประกอบด้วยหัวข้อดงั น้ี ▪ วันท่ี – กรอกวนั ทที่ ม่ี ีรายรับหรือรายจา่ ยเกิดข้นึ ▪ รายการ – กรอกรายการรายรับหรือรายจ่ายที่เกิดขึ้น และ หากมีคำอธบิ ายเพิ่มเติมก็สามารถกรอกลงในชอ่ งนไี้ ด้ ▪ รายรับ – กรอกจำนวนเงินสำหรบั รายการทีเ่ ปน็ รายรับ ▪ เงินออม – กรอกจำนวนเงนิ สำหรบั รายการทีเ่ ป็นการออมเงิน ▪ รายจ่าย – กรอกจำนวนเงินสำหรับรายการที่เป็นรายจ่าย ซ่งึ ผ้บู นั ทึกตอ้ งแยกระหวา่ งรายจ่ายจำเปน็ และรายจ่ายไมจ่ ำเป็น ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การวางแผนการเงนิ

45 ตัวอยา่ งส่วนที่ใชบ้ ันทึกรายรบั -รายจ่าย (2) ส่วนสรุปรายรับ-รายจ่าย เพื่อให้ทราบว่าในเดือนนั้น ๆ เราใช้ จ่ายเกินรายรับที่ไดม้ าหรือไม่ ซึ่งสามารถคำนวณได้จากนำยอดรวมของรายรับตลอดทัง้ เดือน ลบออกด้วยยอดรวมของเงินออมและยอดรวมของรายจ่ายที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลา 1 เดือน หากผลลัพธ์ที่ได้เป็นบวก แสดงว่ามีการออมและการใช้จ่ายน้อย กว่ารายรับทมี่ ีอยู่ จงึ ยงั มีเงินเหลือ ดงั นัน้ เราควรวางแผนว่าจะนำเงินนั้นไปทำอะไร เช่น นำไป เป็นเงินออมเพิ่มเติมจากที่ออมไปแล้วเมื่อมีรายได้เข้ามา นำไปบริจาค หรือตั้งเป็นเงินออมอีก กอ้ นหนึง่ เพื่อนำเงินไปลงทุน แต่หากผลลพั ธ์ติดลบ แสดงวา่ มกี ารออมและใช้จา่ ยเกนิ รายรบั ทมี่ อี ยู่ จึงต้องหาสาเหตุของการใช้เงินเกนิ เชน่ ออมเงนิ มากเกินไป มคี า่ ใช้จ่ายบางประเภทมากเกินไป หรอื มากกว่าปกติ ดังน้นั จะต้องวางแผนลดรายจ่าย โดยเรมิ่ พจิ ารณาจาก “รายจา่ ยไม่จำเป็น” ชดุ วชิ าการเงินเพือ่ ชีวติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงิน

46 ว่ามีรายการใดที่สามารถลดได้ ในกรณีของ “รายจ่ายจำเป็น” ให้ไตร่ตรองอย่างถี่ถ้วนว่า มีรายจ่ายที่ไม่จำเป็นแอบแฝงอยู่หรือไม่ สามารถลดจำนวนเงินที่ต้องจ่ายลงมาได้อีกหรือไม่ หรอื หากลดไม่ได้ ก็ควรหารายได้เพม่ิ ตวั อยา่ งส่วนสรุปรายรบั -รายจา่ ย (3) ส่วนวิเคราะห์รายรับ-รายจ่าย ผู้บันทึกสามารถวิเคราะห์บันทึก รายรบั -รายจา่ ยของตนเองได้ 4 ด้านดงั นี้ ▪ รายรับ ให้พิจารณาจำนวนและความถี่ของรายรับ เช่น รายวัน ทุก 2 สัปดาห์ รายเดือน ทุกครึ่งปี เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนใช้เงินว่า จะทำ อย่างไรให้พอใช้จ่ายไปจนกว่าจะได้รับเงินรอบใหม่ และหากจำเป็นต้องหารายได้เพิ่ม จะหา รายได้เพม่ิ จากแหล่งใด ▪ เงินออม ให้พิจารณาถึงจำนวนและความถี่ของการออมท่ี สามารถออมได้ เชน่ ออมทกุ วัน วนั ละ 20 บาท หรอื ออมสปั ดาหล์ ะครงั้ ครั้งละ 500 บาท หรอื เดือนละครั้ง ครั้งละ 2,500 บาท ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนเพือ่ ให้บรรลุ ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ติ 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 การวางแผนการเงนิ

47 เป้าหมาย เช่น ถ้าพบว่าออมเงินอย่างเดียวแล้วยังได้เงินไม่พอสำหรับเป้าหมายที่เราต้องการ จะไดห้ าทางอ่ืนเพม่ิ เชน่ หาของมาขายออนไลน์ นอกจากนี้ ยอดรวมของเงินออมสามารถนำไปใช้คำนวณ สดั ส่วนเงนิ ออมต่อรายได้เพื่อบอกว่า ตอนนี้เรามีเงินออมเพยี งพอแลว้ หรือยัง ในแต่ละเดือนเรา ออมเงินได้มากน้อยเพียงใดเมื่อเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน ถ้าหากพบว่าน้อยเกินไป ก็ควร วางแผนหาเงินมาออมเพมิ่ ดว้ ยการลดรายจา่ ยหรือหารายได้เพม่ิ รูห้ รอื ไม่ว่า การออมเงินทันทีที่ได้รับเงิน จะทำให้สามารถบรรลุเป้าหมายได้ง่ายกว่า เพราะหากนำเงนิ ไปใชจ้ า่ ยก่อน เรามักจะใช้เงนิ หมดจนไมเ่ หลือเงนิ มาออม ▪ รายจ่ายไม่จำเป็น โดยเปรียบเทียบกับรายจ่ายจำเป็นว่า รายจ่ายไหนสูงกว่ากัน หากมี “รายจ่ายไม่จำเป็น” สูงกว่า “รายจ่ายจำเป็น” นั่นแสดงว่า ควร ลดรายจ่ายไม่จำเป็นลง โดยเริ่มดูว่ามีรายจ่ายไหนในกลุ่มรายจ่ายนี้สามารถลดได้บ้าง เช่น ค่าหวย ค่าเหล้า ค่าบุหรี่ ค่ากาแฟ ค่าชอปปิงออนไลน์ และลองคำนวณดูว่าหากลดรายจ่าย เหล่านี้แล้ว ใน 1 เดือนจะมเี งินเหลอื เท่าไร ▪ รายจา่ ยจำเป็น ให้ทบทวนรายจ่ายจำเป็นอกี ครั้งวา่ ทุกรายการ เป็นรายจ่ายจำเป็นทั้งหมดจริงหรือไม่ สำหรับรายการที่เป็นรายจ่ายจำเป็นแต่จำนวนเงินสูง หากสามารถลดหรอื ซ้ือของที่ถกู กวา่ ได้ กค็ วรลองลดหรอื ซือ้ ของทถ่ี ูกกวา่ มาใชแ้ ทน ชดุ วิชาการเงนิ เพ่ือชวี ิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ

48 ตัวอยา่ งส่วนวิเคราะหร์ ายรับ-รายจา่ ย รายรับและเงินออม รายรบั 9,000 บาท เงินออม 1,000 บาท รายรับมาจากค่าแรงท่ีไดร้ ับเดือนละ 1 ครัง้ มีการออมเงนิ มากกว่า 10% อยู่ในเกณฑ์พอใช้ ดงั นั้น จะตอ้ งวางแผนใชเ้ งนิ ให้พอกบั รายจา่ ยที่ อย่างไรกด็ ี หากสามารถออมเงนิ ให้ได้อย่างน้อย จะเกิดข้นึ จนกว่าจะถงึ วันรับเงินครั้งถัดไป 1 ใน 4 ของรายรับตอ่ เดือน หรือ 2,250 บาท จะทำให้มีเงนิ ออมเพ่ิมขึ้นไว้ใชใ้ นอนาคต โดยอาจ ลดรายจา่ ยบางรายการลงอีก 1,250 บาท รายจ่าย รายจ่ายจำเปน็ 3,500 บาท รายจา่ ยไม่จำเปน็ 5,000 บาท อาจลดคา่ อาหารนอกบ้านลง หรอื เปลีย่ นไปใช้ อาจงดนำ้ สมุนไพรวันละ 20 บาท 1 เดอื น วตั ถดุ บิ ปรงุ อาหารท่ีถูกกวา่ แทน โดยลดลงอกี จะได้เงิน 600 บาท เพ่ือนำไปเปน็ เงนิ ออม 650 บาท เพ่อื นำไปเปน็ เงนิ ออม 3) ประโยชนข์ องการบนั ทึกรายรบั -รายจา่ ย บนั ทกึ รายรับ-รายจ่ายท่ีมขี ้อมูลครบถ้วน และบนั ทึกตดิ ต่อกันอย่างน้อย 1 เดอื น จะมปี ระโยชน์ดังนี้ (1) ทำให้รู้พฤติกรรมการใช้จ่ายที่อาจทำให้เกิดปัญหาเงินไม่พอใช้ การบันทึกรายจ่ายที่เกิดขึ้นทุกครั้ง จะทำให้ทราบว่าใช้จ่ายเงินไปกับสิ่งใดบ้าง เช่น จ่ายค่า สงั สรรค์หรือค่าเหล้าเดือนละ 2,000 บาท (1 ปีก็เป็นเงิน 24,000 บาท) ซ้ือหวยงวดละ 1,000 บาท (แต่ในระยะเวลา 2 ปี ไม่เคยถูกรางวัลเลย) เมื่อทราบว่าเงินหายไปไหน ก็สามารถวางแผนให้มี เงนิ พอใชไ้ ด้ เชน่ ลดค่าเหล้าเหลือเดอื นละ 1,000 บาท (ก็จะไดเ้ งินเก็บปลี ะ 12,000 บาท) หรอื เลิกดื่มเหล้าตลอดไปเลย ได้ทั้งเงินออม ได้ทั้งสุขภาพแข็งแรง เลิกซื้อหวย แล้วนำเงินมาออมแทน (สิ้นปีก็เหมือนถกู รางวลั 24,000 บาท 4 ปีกม็ ีเงนิ เก็บเกอื บแสน) (2) ทำให้สามารถวางแผนการเงินที่เหมาะสมกับชีวิตของตนเองได้ เพราะจะทำให้เรารู้จักลักษณะของรายรับและรายจ่ายว่ามีความถี่แค่ไหน จะเกิดขึ้นเมื่อใด จำนวนเท่าไร ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ให้เราสามารถเตรียมตัวล่วงหน้า เช่น วางแผน ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 การวางแผนการเงิน

49 แบ่งรายรับเป็นส่วน ๆ ให้มีพอจ่ายเมื่อถึงเวลาที่ต้องจ่าย และหากพบว่ารายรับไม่เพียงพอกับ รายจ่าย ก็มาคดิ หาทางลดรายจ่ายหรอื หารายได้เพ่ิมเพ่ือจะไดไ้ มต่ ้องไปกยู้ มื เงนิ หรอื กู้ให้นอ้ ยท่ีสดุ (3) ทำให้เห็นสัญญาณของปัญหาทางการเงินและสามารถวางแผน ป้องกันหรือแก้ไขได้ การบันทึกรายรับ-รายจ่ายเป็นประจำ จะทำให้ทราบทันทหี ากมีสัญญาณ ของปัญหาการเงิน เช่น มีรายจ่ายเกินรายรับติดต่อกันหลายเดือนจนต้องก่อหนี้ ต้องจ่ายหนี้ มากกว่า 1 ใน 3 ของรายรับ (อาจทำให้ไม่มีเงินเหลือไว้ใช้จ่ายอื่น ๆ จนต้องก่อหนี้เพิ่ม หนี้ก็มี มากอยูแ่ ล้ว ก็ยง่ิ เพม่ิ มากขึ้นจนเงินไม่พอจ่าย) ไม่มเี งินออมเลย (เม่อื มคี วามจำเป็นต้องใช้เงินก้อน ก็ต้องก่อหนี้) และเมื่อทราบสัญญาณของปัญหา ก็จะสามารถวางแผนป้องกันหรือแก้ไขก่อนท่ี จะกลายเปน็ ปญั หาใหญ่โต 4) หลักการจัดลำดับความสำคัญของรายจ่าย สิ่งสำคัญในการวางแผนการเงินคือ “ใช้ให้น้อยกว่าที่หาได้” แต่เมื่อ บันทกึ รายรับ-รายจ่ายแล้ว คนสว่ นใหญ่มักพบว่าตนเองมีรายจ่ายมากกว่ารายรับ เพื่อแก้ปัญหาน้ี เราจึงตอ้ งจดั ลำดับความสำคัญของรายจา่ ย ซ่ึงสามารถทำไดด้ งั น้ี (1) ใหจ้ า่ ย “รายจา่ ยจำเป็นและไม่สามารถรอได้” กอ่ น โดยพจิ ารณาวา่ รายจ่ายนั้นเป็นรายจา่ ยจำเป็นต่อการดำรงชวี ติ หรือไม่ และต้องจ่ายวนั นีห้ รือในเร็ววันน้หี รือไม่ หากเป็นรายจ่ายจำเป็นและไม่สามารถรอได้ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าอาหาร ค่าที่อยู่อาศัย ให้จ่ายรายจ่ายนี้ก่อน และหากมีเงินไม่พอจ่าย ก็อาจต้องกู้ยืมแต่จะต้องวางแผนจ่ายเงินคืน อยา่ งรัดกุม เพื่อป้องกันไม่ใหก้ ่อใหเ้ กดิ ปัญหาหนต้ี ามมาภายหลงั (2) ให้ออมเงินเพื่อจ่าย “รายจ่ายจำเป็นแต่สามารถรอได้” เช่น ค่าเรียนภาษาที่สาม หรือซื้อของใหม่มาแทนของเดิมที่กำลังจะเสีย โดยออมเงินให้ครบก่อน แล้วจึงจะซื้อ หรืออาจนำเงินออมที่มีอยู่แล้วมาจ่ายก่อนได้และจะต้องออมเงินคืนให้เงินออมมี จำนวนเทา่ เดมิ โดยเร็ว ซงึ่ หากทำได้ กจ็ ะไม่ต้องก่อหนเ้ี พ่ือนำเงนิ มาจ่ายค่าใช้จา่ ยเหลา่ นี้ (3) ให้พยายามตัดใจจาก “รายจ่ายไม่จำเป็น” ซึ่งเป็นรายจ่ายสำหรับ ส่งิ ทีไ่ มม่ ผี ลตอ่ การดำรงชีวติ คือ ถึงไม่มสี ิง่ น้นั ก็ยงั สามารถมชี ีวติ อยู่ได้ แต่หากรู้สึกไม่มีความสุข และคิดว่าอยากได้จริง ๆ ให้ออมเงินให้ครบก่อนแล้วจึงจะซื้อ และที่สำคัญ จะต้องไม่ก่อหน้ี ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชีวิต 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การวางแผนการเงนิ

50 เพื่อรายจ่ายประเภทนี้ เพราะเมื่อถึงคราวจำเป็นอาจกู้เงินได้ยากขึ้น หรือกู้ได้แต่เมื่อรวมกับ ภาระหนีเ้ ดมิ แลว้ ทำให้มีภาระหนม้ี ากเกินไปจนจา่ ยไม่ไหว ลักษณะของการมีสุขภาพการเงนิ ที่ดี การมีสุขภาพทางการเงินที่ดี ก็คล้ายกับการที่เรามีสุขภาพแข็งแรง คือมีความ มั่นคงทางการเงินเพราะมีเงินออมเพื่อเป้าหมายต่าง ๆ ในชีวิต มีภาระผ่อนหนี้ที่ไม่หนักเกินไป และหากมีเหตุฉุกเฉินที่มากระทบการใช้ชีวิตปกติทำให้ต้องใช้เงินกะทันหันก็จ่ายเองได้ ไม่ต้อง กยู้ มื ใคร ลดโอกาสท่จี ะเกิดปญั หาการเงิน หรือปญั หาเงินไม่พอใช้ ลักษณะของการมีสุขภาพการเงนิ ท่ีดมี ีดังนี้ 1. มีสัดส่วนภาระผ่อนหนี้ต่อรายได้ไม่เกิน 33% หรือไม่เกิน 1 ใน 3 ของ รายได้ต่อเดือน รู้หรอื ไมว่ า่ เราสามารถคิดง่าย ๆ ได้ว่า “ภาระผ่อนหนี้ต่อเดือนไม่ควรเกิน 1 ใน 3 ของ รายได้” ของเราเปน็ เงินก่บี าท เชน่ นาง ก มีรายไดเ้ ดือนละ 9,000 บาท นาง ก กไ็ ม่ควรมภี าระหนีใ้ นแตล่ ะเดือนเกนิ = รายได้ ÷ 3 = 9,000 ÷ 3 = 3,000 บาท 2. มีสัดส่วนเงินออมต่อรายได้อย่างน้อย 25% หรืออย่างน้อย 1 ใน 4 ของ รายได้ รูห้ รือไมว่ า่ เราสามารถคดิ ง่าย ๆ ได้ว่า “เราควรออมเงินเดือนละ 1 ใน 4 ของรายได้” เป็นจำนวนเงินกบ่ี าท เชน่ นาง ก มรี ายไดจ้ ากการขายของในตลาดเดือนละ 9,000 บาท นาง ก ก็ควรออมเงินเดอื นละ = รายได้ ÷ 4 = 9,000 ÷ 4 = 2,250 บาท ชดุ วิชาการเงินเพอื่ ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ

51 3. มีเงินออมเผื่อฉุกเฉินอย่างน้อย 3-6 เท่าของรายจ่ายจำเป็นและภาระ ผอ่ นหน้ีตอ่ เดือน เงินออมเผ่ือฉุกเฉินเป็นเงนิ ท่ีเกบ็ ไว้ใช้ยามจำเป็น เมอ่ื เกดิ เหตุการณ์ไม่คาดฝัน และตอ้ งใชเ้ งนิ จำนวนมาก เช่น เจบ็ ป่วยหรืออุบตั เิ หตุ รายไดล้ ดกะทันหนั หรอื ตกงาน ตัวอย่าง นาง ก มีรายได้จากการขายของในตลาดเดือนละ 9,000 บาท มีค่าใช้จ่ายจำเป็น และภาระผ่อนหนี้รวมกันต่อเดือนละ 4,000 บาท นาง ก ควรมีเงินออมเผื่อฉุกเฉินอย่างน้อย เท่าไร นาง ก ควรมเี งนิ ออมเผือ่ ฉกุ เฉนิ อย่างน้อย = คา่ ใช้จา่ ยจำเปน็ และภาระผ่อนหน้ี ต่อเดือน x 3 = 4,000 x 3 = 12,000 บาท เมอื่ มคี วามจำเป็นต้องนำเงนิ ออมเผอื่ ฉกุ เฉนิ ออกมาใช้ กค็ วรรีบออมเงนิ คืนให้ได้ 3-6 เทา่ เหมอื นเดมิ โดยเรว็ เพราะจะไดม้ ีเงนิ สำรองไวส้ ำหรับเหตฉุ กุ เฉินครั้งหนา้ เงินออมเผื่อฉุกเฉินควรเก็บไว้ในที่ที่สามารถถอนออกมาใช้ได้ง่าย ทันเวลา เช่น บัญชีออมทรัพย์ ทั้งนี้ ควรมีบัญชีเงินออมเผื่อฉุกเฉินโดยเฉพาะ ไม่ควรใช้บัญชีเงินเดือนหรือ บัญชีที่ให้ลูกค้าโอนเข้ามา (ในกรณีที่ค้าขายหรือประกอบอาชีพอิสระ) เพื่อเก็บเงินออมเผ่ือ ฉุกเฉิน เพอ่ื แบ่งเงนิ เป็นสว่ น ๆ และป้องกนั การถอนเงินออกมาใชจ้ า่ ยฟุ่มเฟอื ย รูห้ รอื ไมว่ ่า เราสามารถรู้จำนวนเงินรายจ่ายจำเป็นของเราจากการจดบันทึกรายรับ- รายจ่ายอยา่ งน้อย 1 เดือน และแยกรายจา่ ยเปน็ “รายจา่ ยจำเป็น” และ “รายจา่ ยไม่จำเป็น” กิจกรรมท้ายเร่ืองที่ 2 การประเมินฐานะการเงิน (ใหผ้ เู้ รียนไปทำกจิ กรรมเร่ืองที่ 2 ที่สมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นร้)ู ชดุ วิชาการเงนิ เพื่อชวี ติ 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 การวางแผนการเงนิ

52 เร่อื งที่ 3 การต้งั เปา้ หมายและจัดทำแผนการเงิน การประเมินฐานะการเงินของตนเองจะทำให้เรารู้จำนวนรายรับ รายจ่าย ภาระ ผ่อนหนี้ และจำนวนเงินที่เราแบ่งไปออม ข้อมูลเหล่านี้เป็นประโยชน์ต่อการตั้งเป้าหมายและ จัดทำแผนการเงินซงึ่ เป็นส่วนสำคัญในการวางแผนการเงนิ การตั้งเป้าหมายการเงิน เป็นการกำหนดจุดหมายด้านการเงินทีเ่ ราตอ้ งการไปให้ถึง โดยต้องอาศัยข้อมูล จากการประเมินฐานะการเงินเพื่อให้ได้เป้าหมายที่สอดคล้องกับความสามารถทางการเงินของ เราเอง เปา้ หมายการเงนิ มีประโยชน์ดังนี้ 1. ทำให้จดั ทำแผนการเงินไดง้ ่ายขึน้ เช่น มเี ป้าหมายท่ีจะออมเงินเผ่ือฉุกเฉิน จำนวน 12,000 บาทภายใน 1 ปี ก็จะสามารถจดั ทำแผนไดว้ า่ ต้องฝากเงินในบญั ชีออมทรัพย์ท่ี เปิดไว้สำหรับออมเงินเผื่อฉุกเฉินโดยเฉพาะ (แยกจากบัญชีที่ใช้รับเงินเดือน) เดือนละ 1,000 บาท นาน 12 เดอื น 2. ทำให้เกิดความมุ่งมั่นและบรรลุสิ่งที่ต้องการง่ายขึ้น เป้าหมายและ แผนการเงินท่ชี ัดเจนเปรยี บเสมอื นแผนท่ีนำทางชีวติ เพ่ือให้บรรลเุ ปา้ หมายโดยไมเ่ สียเวลาไปกับ สิ่งล่อใจอื่น ๆ เช่น มีเป้าหมายเงินออมเผื่อฉุกเฉินจำนวน 12,000 บาทภายใน 1 ปี ซึ่งในช่วง ก่อนครบ 1 ปี เราอาจเจอกับสิ่งล่อใจให้ซื้อหรือก่อหนี้เพิ่ม เช่น โทรศัพท์มือถือรุ่นใหม่ แต่เม่ือ ตั้งเป้าหมายไวแ้ ลว้ กจ็ ะเกดิ การยบั ยง้ั ชง่ั ใจขน้ึ แทนที่จะซอ้ื ของเหลา่ น้ันทันที ก็อาจเลื่อนไปซื้อ หลังจากเก็บเงินครบตามเป้าหมายแล้วหรอื ตัดใจไม่ซือ้ เลยได้ 3. ทำให้คำนึงถึงอุปสรรคที่อาจทำให้ไม่บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ เช่น มีเป้าหมายเก็บเงินเพ่ือไปเทีย่ วจำนวน 24,000 บาทภายใน 1 ปี จึงวางแผนว่าจะออมเงินเดือนละ 2,000 บาท แต่ในระหวา่ งทคี่ ดิ วางแผนก็นกึ ขน้ึ ได้อีกว่าในอีก 4 เดือนขา้ งหนา้ จะต้องจ่ายค่าชุด นกั เรียนใหมใ่ หล้ ูก จงึ อาจต้องปรับเป้าหมายและแผนการเทยี่ วหรือตั้งเป้าหมายออมเงินเพื่อซื้อ ชดุ นกั เรียนเพิม่ เตมิ ด้วย ชดุ วชิ าการเงินเพือ่ ชวี ติ 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ

53 เปา้ หมายการเงนิ ที่ควรมีในชวี ิต คนเราสามารถมีเป้าหมายการเงินได้มากกว่าหนึ่งเป้าหมาย เช่น มีเงินออมเผ่ือ ฉุกเฉิน เรียนต่อ ซื้อโทรศัพท์มือถือใหม่ ปลดหนี้ หรือเพื่ออะไรหลาย ๆ อย่าง ซงึ่ รายได้หรือเงิน ออมของเราอาจยังไม่พอที่จะทำให้เราได้ทุก ๆ สิ่งในตอนนี้ เราจึงจำเป็นที่จะต้องเลือกและ จัดลำดับความสำคัญของเป้าหมายการเงินต่าง ๆ ในชวี ิต เพอื่ ใหส้ ามารถบรรลุเป้าหมายตามที่ เราตง้ั ใจไว้ การเลอื กและจัดลำดบั เป้าหมายการเงินจะพิจารณาจากปัจจัยดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ความสำคัญของเป้าหมาย พิจารณาว่า เป้าหมายนั้นมีผลกระทบต่อ การดำรงชีวิตหรือไม่ หากมีผล อาจจะจัดลำดับให้เป็นเป้าหมายที่จะต้องบรรลุเป็นอันดับแรก เช่น เป้าหมายในการเก็บเงินเพื่อจ่ายหนี้ก็ย่อมมีความสำคัญมากกว่าการออมเงินเพื่อซื้อ โทรศัพท์มือถือใหม่ เพราะหากไม่จ่ายหนี้ ก็อาจทำให้ยอดหนี้เพิ่มขึ้นเพราะดอกเบี้ย และหาก เป็นเงินก้นู อกระบบ กม็ ีความเส่ียงท่ีจะถกู ทวงหนอี้ ยา่ งโหดร้าย 2. ความสามารถด้านการเงิน พิจารณาว่ามีความสามารถที่จะออมเงินหรือใช้ จ่ายเงินตามเป้าหมายนั้นหรือไม่ เช่น มีเป้าหมายที่จะซื้อโทรศัพทม์ อื ถือ ตู้เย็น และรถยนต์ แต่ มีรายรับเดือนละ 9,000 บาท ต้องจ่ายค่าเช่าห้อง ค่าอาหาร และส่งเงินให้พ่อแม่ รวมเดือนละ 7,000 บาท ดังนั้น อาจจะต้องเลือกเป้าหมายที่จำเป็นหรือมีความสำคัญที่สุดและอาจจะพอ เปน็ ไปได้กอ่ น เช่น เลือกซื้อตเู้ ยน็ ใหมแ่ ทนเคร่ืองเดิมทเี่ สียแล้ว ตัวอย่างการเลอื กและจัดลำดบั เปา้ หมายการเงิน • กรณที ม่ี หี นี้... • กรณที ไ่ี มม่ หี น.้ี .. 1. ปลดหนีไ้ ปพรอ้ ม ๆ กับออมเผอ่ื 1. ออมเผอ่ื ฉกุ เฉิน ฉุกเฉนิ เพื่อป้องกันการกอ่ หนเ้ี พิ่ม 2. ออมเพ่อื ใช้จา่ ยในวยั ชรา ในกรณีเกดิ เหตฉุ ุกเฉนิ 3. ออมเพ่อื ซ้อื ของทอ่ี ยากได้ 4. ออมเพอ่ื ลงทนุ 2. ลดคา่ ใช้จ่ายเพือ่ กนั เงนิ ไว้จา่ ยหน้ี 3. ออมเงนิ เพ่อื ใช้จา่ ยในวยั ชรา 4. ออมเพอ่ื ซ้ือของทอ่ี ยากได้ 5. ออมเพือ่ ลงทุน ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงิน

54 ทั้งนี้ หากมีความสามารถทางการเงินมาก ก็อาจมีหลายเป้าหมายพร้อม ๆ กัน ได้ แต่ควรจัดสรรเงินให้ดี เพื่อไม่ให้การออมที่มากเกินไปสร้างความกดดันในการใช้ชีวิตด้าน อน่ื ๆ เช่น ออมเงนิ จนไม่มเี งนิ ซอื้ อาหารทีม่ ีประโยชน์ต่อร่างกาย หรือตอ้ งไปเบยี ดเบยี นคนอื่น นอกจากการตั้งเป้าหมายการเงินตามความจำเป็นและความต้องการต่าง ๆ ใน ชวี ติ แล้ว เรายังตอ้ งคำนงึ ถงึ ระยะเวลาท่ีจะใชใ้ นการลงมอื ทำตามแผนใหส้ ำเรจ็ ดว้ ย ไดแ้ ก่ 1. เป้าหมายระยะสั้น เป็นเป้าหมายที่สามารถบรรลุได้ในเวลา 1 ปี เช่น ออมเงินเผือ่ ฉกุ เฉินให้ไดจ้ ำนวน 30,000 บาท ออมเงินเพื่อซือ้ โทรศพั ท์มือถอื 2. เป้าหมายระยะกลาง เป็นเป้าหมายที่สามารถบรรลุได้ในระยะเวลา 1 – 3 ปี เชน่ ซอื้ มอเตอรไ์ ซค์ หรือออมเงนิ เพื่อดาวน์รถยนต์ 3. เป้าหมายระยะยาว เป็นเป้าหมายที่ต้องใช้ระยะเวลามากกว่า 3 ปี เพอื่ บรรลเุ ปา้ หมาย เช่น ออมเงินเพื่อดาวนบ์ ้าน ออมเงนิ ไวใ้ ชใ้ นยามสงู วัย การต้งั เปา้ หมายการเงนิ ท่ีดี เปา้ หมายการเงนิ ที่ชดั เจนและสอดคล้องกับความสามารถทางการเงินจะช่วยให้ เราสามารถกำหนดแผนการเงนิ ท่ีจะทำให้เราสามารถไปถึงจุดหมายทีต่ ง้ั ไว้ โดยมีลกั ษณะดังนี้ 1. เปา้ หมายคืออะไร 2. จำนวนเงนิ เท่าไร 3. ใชร้ ะยะเวลานานแค่ไหนจึงจะบรรลเุ ป้าหมาย 4. ทำได้จรงิ หรือไม่ ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชีวติ 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงิน

55 ตวั อยา่ งการตัง้ เปา้ หมายการเงนิ เป้าหมาย ด/ี ไม่ดี เหตุผล ฉนั จะเกบ็ เงนิ ให้ไดภ้ ายในปนี ้ี X ▪ ไม่ไดร้ ะบุชัดเจนว่าตอ้ งการเกบ็ เงนิ เพอ่ื อะไร ▪ ไมส่ ามารถวัดผลได้ เพราะไมไ่ ดร้ ะบจุ ำนวนเงิน ฉนั จะเก็บเงิน 2,500 บาท ✓ ทุกเดือนเป็นระยะเวลา 1 ปี ▪ เปา้ หมายชัดเจน เพื่อเป็นเงินออมเผื่อฉกุ เฉิน ▪ วดั ผลได้ (รายไดเ้ ดอื นละ 20,000 บาท) ▪ มีระยะเวลาแน่ชัด ▪ ทำไดจ้ ริง ขนั้ ตอนการจัดทำแผนการเงิน แผนการเงนิ อาจจัดทำไดห้ ลากหลายรปู แบบ ข้นึ อย่กู บั ความถนัดและความชอบ ของผวู้ างแผน แตค่ วรมีขัน้ ตอนหลกั ๆ ดังนี้ 1. ระบุเป้าหมายการเงิน เพื่อบอกจุดมุ่งหมายของแผนทั้งหมด โดยจะต้อง เป็นไปตามหลักเปา้ หมายการเงินทีด่ ี 2. ระบุจำนวนเงินที่ต้องการ โดยจะต้องระบุเป็นจำนวนเงินหรือตัวเลขให้ ชัดเจนวา่ ต้องใช้เงนิ เท่าไรเพือ่ ให้บรรลเุ ปา้ หมาย 3. ระบุระยะเวลาที่ต้องใช้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเงิน โดยระบุเป็นจำนวน วนั เดอื น หรือปี 4. คำนวณจำนวนเงินที่ต้องออม เช่น คำนวณว่าต้องออมเงินเดือนละเท่าไร เพื่อให้ได้จำนวนตามที่ต้องการ สามารถคำนวณได้โดยนำจำนวนเงินที่ต้องการหารด้วย ระยะเวลา (เดือน) ก็จะทำให้ทราบว่าควรเก็บเงินเดือนละเท่าไรเพื่อให้ได้เงินตามจำนวนที่ ตอ้ งการ ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชวี ติ 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การวางแผนการเงิน

56 ตัวอยา่ ง นาง ก ตอ้ งการซือ้ โทรศัพทม์ อื ถือราคา 8,400 บาทในอีก 12 เดอื น นาง ก จะตอ้ งออมเงินเดอื นละ = จำนวนเงนิ ทีต่ อ้ งการ ÷ ระยะเวลา (เดอื น) = 8,400 ÷ 12 = 700 บาท ดังนั้น แผนการออมของนาง ก ก็คือ จะต้องออมเงินเดือนละ 700 บาทเพื่อให้ ไดซ้ อ้ื โทรศัพทม์ อื ถอื ราคา 8,400 บาทในอีก 12 เดอื นขา้ งหน้า 5. จัดทำแผน โดยกำหนดแหล่งเงินที่จะใช้เป็นเงินออมในแต่ละเดือน ซึ่งสามารถทำได้ทั้งการเพิ่มรายรับ (เช่น นำเงินจากค่าจ้างทำงานเสริมทั้งหมดมาเป็นเงินออม เผ่อื ฉุกเฉนิ ) และลดรายจ่าย (เชน่ ลดการดืม่ เหล้าเพื่อเก็บเงินที่ประหยัดได้ไว้เป็นค่าใช้จ่ายของ ลูกตอนเรียนมหาวิทยาลัย) โดยพิจารณารายจ่ายจากการบันทึกรายรับ-รายจ่ายว่า มีรายจ่าย ไม่จำเปน็ ใดที่สามารถลดหรือเลิกแลว้ นำมาเป็นเงินออมได้หรือไม่ เชน่ ลดคา่ กาแฟจากที่ดื่มทุกวัน เปน็ ด่มื วนั เวน้ วนั หากกาแฟราคา 30 บาทตอ่ แก้ว ลดค่ากาแฟจำนวน 15 วัน จะไดเ้ งิน 450 บาท ตวั อย่างแผนการเงิน นาง ก แผนการเงนิ ของ................................ จดั ทำ ณ วนั ท่ี....1...ม...ก..ร..า..ค..ม....2..5..X...X.... เป้าหมายการเงนิ : ซื้อโทรศัพทม์ ือถอื บาท จำนวนเงินทตี่ ้องการ: 8,400 เดอื นข้างหนา้ ระยะเวลา: 12 คำนวณจำนวนเงินท่ีตอ้ งออมต่อเดือน: ……น…า…ง …ก…จ…ะต…้อ…ง…อ…อม…เ…งิน…เด…ือ…น…ล…ะ……………=…จ…ำ…น…วน…เ…งนิ …ท…ต่ี …้อ…งก…า…ร…÷…ร…ะย…ะ…เว…ล…า…(เ…ด…ือน…)…….… ……………………………………………………………=……8,…40…0…÷……12……………………………………………….… ……………………………………………………………=……70…0…บ…า…ท………………………………………………….… ……ด…ัง…นน้ั……น…าง…ก……จะ…ต…อ้ …งอ…อ…ม…เง…ิน…เด…ือ…น…ละ……70…0…บ…า…ท…เ…ป…น็ ร…ะ…ย…ะเ…วล…า…1…2…เ…ด…ือน…………………….… ชุดวชิ าการเงินเพ่ือชวี ติ 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงิน

57 แผนการออม: 450 บาท 1. ลดคา่ กาแฟจากทกุ วันเหลือวันเว้นวัน (กาแฟแก้วละ 30 บาท 200 บาท ลด 15 วนั ) ไดเ้ งิน 2. ลดค่าหวยจากงวดละ 300 บาท เหลืองวดละ 200 บาท 60 บาท 710 บาท (ลดงวดละ 100 บาท จำนวน 2 งวดต่อเดือน) ไดเ้ งิน 3. หารายไดเ้ พม่ิ โดยรับจ้างปักผา้ ผนื ละ 15 บาท จำนวน 4 ผนื ไดเ้ งนิ ไดเ้ งินออมรวมต่อเดอื นเท่ากบั กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 3 การต้ังเป้าหมายและจัดทำแผนการเงิน (ใหผ้ เู้ รยี นไปทำกิจกรรมเร่ืองท่ี 3 ท่สี มุดบันทึกกิจกรรมการเรียนร้)ู ชดุ วชิ าการเงินเพอ่ื ชวี ติ 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 การวางแผนการเงิน

58 เรื่องที่ 4 การออม การออมเป็นสิ่งที่ทุกคนคุ้นเคยกันดี แต่มักจะละเลยที่จะทำ เพราะต้องใช้ เวลานานกว่าจะเห็นผล บางคนก็มองว่าการออมเป็นเรื่องของเด็ก แต่แท้จริงแล้วการออมเป็น จุดเริม่ ตน้ ของความมน่ั คงทางการเงนิ และเป็นเหมอื นวีรบุรุษทชี่ ่วยเหลอื เราเมือ่ มปี ญั หาการเงิน ความหมายของการออม การออมเป็นการแบ่งรายได้ส่วนหนึ่งในปัจจุบันไปเก็บสะสมไว้ใช้ในอนาคต ซึ่งสามารถทำได้หลายรูปแบบ ตั้งแต่การเก็บสะสมด้วยตนเอง เช่น หยอดกระปุกออมสิน เก็บสะสมไว้ที่บ้าน ไปจนถึงการนำไปฝากไว้กับสถาบันการเงิน ซึ่งมักอยู่ในรูปแบบที่มีความ เสี่ยงต่อการสูญเสียเงินต้นต่ำ และได้รับผลตอบแทนไม่สูงนักเมื่อเทียบกับการลงทุน เช่น การ ฝากในบัญชเี งินฝากออมทรัพย์ บัญชีเงินฝากประจำ การซื้อสลากออมทรัพย์ ประโยชนข์ องการออม การออมอย่างสม่ำเสมอจะทำให้ผู้ออมมีเงินก้อนสะสมเก็บไว้ ซึ่งมีประโยชน์ หลายประการ เช่น 1. ช่วยแบ่งเบาภาระเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน โดยไม่ต้องก่อหนี้หรือขอ ความช่วยเหลอื จากบคุ คลอื่น เพราะเราสามารถนำเงนิ ออมออกมาใชก้ ่อนได้ จงึ เป็นการช่วยลด ความเสี่ยงท่ีจะมปี ญั หาการเงินดว้ ย 2. ช่วยทำให้ความฝันเป็นความจริง เงินออมที่มีอาจนำไปเป็นเงินทุนเพ่ือ ทำกิจการของตนเอง เรียนเพิ่มทักษะหรือวุฒิการศึกษา เป็นเงินดาวน์บ้าน ดาวน์รถ หรือเพ่ือ ครอบครวั เช่น จัดงานแตง่ งาน สง่ ลูกเรียนสูง ๆ พาครอบครวั ไปเทยี่ ว 3. ช่วยสร้างโอกาสให้มีรายได้มากขึ้น เช่น นำเงินออมไปซื้อหุ้น พันธบัตร กองทุนรวม หรอื นำไปลงทุนซอื้ ห้องแถวใหเ้ ช่า ซ่งึ ทำใหม้ โี อกาสท่เี งนิ ที่มอี ยู่จะงอกเงยมากข้นึ ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การวางแผนการเงิน

59 เปา้ หมายการออม การออมไมต่ ่างจากการทำเร่ืองอื่นที่จะตอ้ งมีเป้าหมายท่ชี ัดเจน นอกจากจะเป็น ประโยชน์ในการจัดทำแผนการเงินแล้ว ยังเป็นแรงผลักดันให้ออมได้สำเร็จ ไม่นำเงินไปใช้จ่าย ในเรือ่ งอื่น เป้าหมายการออมสามารถตั้งได้หลายอย่าง และอาจมีหลาย ๆ เป้าหมายใน เวลาเดยี วกนั ซ่งึ เป้าหมายการออมที่สำคัญมดี ังนี้ 1. เงินออมเพื่อใช้ในยามฉุกเฉิน เป็นเงินที่ออมไว้ใช้จ่ายหากเกิดเรื่อง ไม่คาดคิด เช่น อุบัติเหตุ เจ็บป่วย หรือรายได้ลดกะทันหัน ซึ่งควรมีเงินออมก้อนนี้อย่างน้อย 3-6 เทา่ ของรายจา่ ยจำเป็นและภาระผอ่ นหนี้ต่อเดือน เงนิ ออมเผอื่ ฉุกเฉิน = รายจา่ ยจำเปน็ และภาระผ่อนหนตี้ ่อเดอื น x 3 สำหรับผู้ที่ยังไม่เคยมีเงินออมเผื่อฉุกเฉินและมีภาระไม่มาก เช่น ยังไม่มี ครอบครัว อาจเริ่มตั้งเป้าหมายที่ 3 เท่าก่อน เพื่อเป็นกำลังใจในการออม แล้วค่อย ๆ ออมเพิ่ม ไปให้ถึง 6 เท่า และหากมีเหตุให้ต้องนำเงินก้อนนี้ออกไปใช้ ก็อย่าลืมเก็บเงินใหม่เพื่อชดเชย ส่วนทีข่ าดไปให้มเี งนิ ออมเทา่ เดมิ โดยเรว็ 2. เงินออมเพื่อใช้จ่ายในยามชรา เป็นเงินที่ออมไว้ใช้จ่ายในยามที่ไม่มีรายได้ แล้ว ซึ่งหลายคนคิดว่าเปน็ เรื่องไกลตัว แต่จำนวนเงินที่ต้องใช้จา่ ยในยามชรานั้นคอ่ นข้างสูง จึง ต้องออมเงนิ ไวเ้ พื่อใช้จา่ ยในยามชราตัง้ แตต่ อนทยี่ ังมรี ายรับอยู่ ข้นั ตอนการวางแผนการเงนิ เพอ่ื ใช้จา่ ยในยามชรา 1) ประมาณการอายุที่คาดว่าจะไม่มีรายได้แล้ว เช่น จะเกษียณตอนอายุ 55 ปี หรอื 60 ปี 2) ประมาณการจำนวนปีที่คาดว่าจะมีชีวิตหลังจากที่ไม่มีรายได้แล้ว ซึ่งคนไทยส่วนมากจะมีอายุยืนถึง 80 - 90 ปี เช่น คาดว่าจะมีอายุถึง 80 ปี จำนวนปีที่คาดว่า จะมีชีวิตหลงั จากไมม่ รี ายไดแ้ ล้วกจ็ ะเท่ากบั 20 ปี ชดุ วชิ าการเงนิ เพื่อชวี ติ 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ

60 3) ประมาณการค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ต่อเดือนหลังจากที่ไม่มีรายได้แล้ว เช่น คาดว่าจะใช้เดือนละ 10,000 บาท แต่ต้องไม่ลืมว่าอาจมีคา่ รักษาพยาบาลเพิ่มในยามชรา ดว้ ย 4) คำนวณจำนวนเงินทตี่ ้องใชห้ ลังจากที่ไมม่ ีรายไดแ้ ลว้ โดยนำค่าใชจ้ ่าย ที่ต้องใช้ต่อเดือนหลังจากที่ไม่มีรายได้แล้วคูณด้วย 12 เพื่อคำนวณหาจำนวนเงินที่ต้องใช้ต่อปี หลังจากนั้นนำตัวเลขท่ีได้ไปคูณกบั จำนวนปีท่ีคาดว่าจะมีชีวิตหลังจากที่ไม่มีรายได้แล้ว ก็จะได้ จำนวนเงนิ ทต่ี อ้ งใช้ในยามชรา เงนิ ท่คี วรมี = ค่าใชจ้ ่ายตอ่ เดอื นในยามชรา x 12 เดือน x จำนวนปที ่ีคาดว่าจะมีชวี ิตหลังจากทีไ่ ม่มรี ายได้ ตัวอย่างแผนการออมเพื่อใช้จ่ายในยามชรา นาง ก อายุ 35 ปี คาดว่าจะเลิกขายของใน ตลาดตอนอายุ 55 ปี และคาดว่าจะมีอายุถึง 85 ปี ซึ่งปัจจุบันเธอมีค่าใช้จ่ายเดือนละ 5,000 บาท และคาดว่าเมื่อไม่มีรายได้แล้ว เธอจะลดราคาใช้จ่ายเหลือเดือนละ 4,000 บาท นาง ก ควรมี เงินออมเท่าไรเพื่อให้เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นหลังจากที่หาเงินไม่ได้แล้ว และจะต้อง ออมเดอื นละเทา่ ไร แผนการออมเพ่อื ใช้จา่ ยในยามชราของ...........น..า..ง...ก.............. จดั ทำ ณ วันท.ี่ ..1...ม...ก..ร..า..ค..ม....2..5..X...X..... เปา้ หมายการเงนิ : ออมเงินเพอ่ื ใชจ้ า่ ยในยามชรา ปี อายใุ นปัจจบุ นั 35 ปี อายทุ ่ีคาดวา่ จะไมม่ รี ายได้แลว้ : 55 ปี อายุท่คี าดวา่ จะมชี วี ติ ถึง: 85 จำนวนเงินทค่ี าดว่าจะใช้ หลงั จากทไ่ี มม่ ีรายได้แล้ว: 4,000 บาทตอ่ เดอื น ชุดวชิ าการเงินเพ่ือชีวติ 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การวางแผนการเงิน

61 คำนวณจำนวนเงินทตี่ ้องใชห้ ลงั จากท่ไี มม่ ีรายได้: …เง…ิน…ท…ต่ี อ้…ง…ใช…ห้ …ล…งั …จา…ก…ท…ไ่ี ม…่ม…ีรา…ย…ได…้ ……………………………………………………………………………….… ………………………………………=…จ…ำ…น…วน…เ…งนิ…ท…ี่ค…า…ดว…่า…จ…ะใ…ช…้ x…1…2…x…จ…ำ…น…วน…ป…ที …่ีค…าด…ว…า่ …จะ…ม…ชี …วี ิต….… ………………………………………=…4…,…00…0…x…1…2…x…3…0…………………………………………………………….… ………………………………………=…1…,4…4…0…,0…0…0 …บ…าท……………………………………………………………….… …ด…งั น…้นั …น…า…ง…ก…จ…ะ…ต…อ้ ง…ม…เี ง…ิน…1…,4…4…0…,0…00……บ…าท…เ…พ่อื…ใ…ช…จ้ ่า…ย…ใน…ย…า…มช…ร…า………………………………….… คำนวณจำนวนเงนิ ท่ีต้องออมตอ่ เดือน: …ร…ะย…ะ…เว…ล…าใ…น…ก…าร…อ…อม…เ…งิน……=…(อ…า…ย…ุท…ีค่ า…ด…ว…า่ จ…ะ…ไม…ม่ …ีร…าย…ได…แ้…ล…ว้ …–…อ…า…ยุป…ัจ…จ…ุบ…ัน…) …x …12……เด…ือ…น….… ………………………………………=…(5…5…–……35…)…x…1…2…=…2…4…0…เด…ือ…น…………………………………………….… …จ…ำน…ว…น…เง…นิ …ที่ต…้อ…ง…ออ…ม…ต…่อ…เด…ือ…น…=…จ…ำ…น…วน…เ…งิน…ท…ตี่ …้อ…งก…า…ร…÷…ร…ะ…ยะ…เ…วล…า…(…เด…ือ…น…) ………………….… ……………………………………………=……1,…44…0…,0…0…0…÷…2…4…0…=…6…,0…0…0……………………………………….… …ด…งั น…นั้……น…าง…ก…จ…ะ…ต…้อ…งอ…อ…ม…เง…ิน…เด…ือ…นล…ะ…6…,…00…0…บ…า…ท…เพ…ือ่ …ใช…้จ…่า…ยใ…น…ย…าม…ช…รา………………………….… แต่หาก นาง ก เริ่มออมเพื่อใช้จ่ายในยามชราตั้งแต่อายุ 25 ปี หมายความว่า นาง ก มีเวลาออมเงนิ 30 ปี หรือ 360 เดือน นาง ก จะต้องออมเงินเดือนละเท่าไรเพือ่ ให้มีเงนิ ใชใ้ นยามชราตามท่คี าดการณไ์ ว้ นาง ก จะตอ้ งออมเดอื นละ = 1,440,000 ÷ 360 = 4,000 บาท หาก นาง ก เรม่ิ ออมตอนอายุ 35 ปี เธอจะต้องออมเงินถึงเดือนละ 6,000 บาท แต่หาก นาง ก เริ่มออมตั้งแต่อายุ 25 ปี จำนวนเงินที่ควรออมก็จะลดลงเหลือเพียงเดือนละ 4,000 บาท จะเห็นได้ว่า หากเริ่มออมเร็วขึ้น จำนวนเงินที่ควรออมต่อครั้งก็จะลดลง ซึ่งทำให้ สามารถออมเงนิ ไดง้ า่ ยขน้ึ และไม่สร้างความกดดนั ใหผ้ ู้ออมจนเกินไป ขอ้ ควรคำนึงในการวางแผนเพอ่ื ใช้จา่ ยในยามชรา 1) ค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพ ไม่ใช่มีเพียงแต่ค่าอาหาร หรือข้าวของ เคร่อื งใช้เทา่ นน้ั จะตอ้ งวางแผนถึงคา่ รักษาพยาบาลทีอ่ าจเพ่มิ สูงข้ึนในชว่ งวัยชรา ชดุ วิชาการเงินเพอื่ ชวี ิต 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 การวางแผนการเงนิ

62 2) ภาระหนี้ หากยังมีหนี้เหลืออยู่เมื่อไม่มีรายได้แล้ว จะต้องวางแผน สำหรับการจ่ายหนี้ส่วนนั้น และหากเป็นภาระหนี้ที่สำคัญ เช่น บ้าน ก็ยิ่งต้องวางแผนให้ รอบคอบ เพราะหากไม่จา่ ย ก็อาจไม่มบี า้ นอยใู่ นยามชราได้ 3) ที่อยู่อาศัย บางคนอาจอาศัยอยู่กับลูกหลานหรืออยู่คนเดียว แต่หาก ต้องอยู่บ้านพักคนชราหรือที่พักเอกชนสำหรับผู้สูงวัย ก็ต้องวางแผนเรื่องค่าใช้จ่าย เพราะอาจมี ค่าทพ่ี กั และคา่ อำนวยความสะดวกอน่ื ๆ 4) ความช่วยเหลือจากลูกหลาน หลายคนอาจมีลูกหลานดูแล แต่ก็มี หลายคนที่ยังต้องคอยช่วยเหลือลูกหลานด้านการเงินอีกด้วย หรือบางคนก็อยากมีมรดกให้ ลูกหลาน จึงตอ้ งวางแผนการเงินไวใ้ ช้จา่ ยในช่วงนั้นให้ดี 5) แหล่งเงินช่วยเหลือต่าง ๆ สำรวจดูว่ามีสวัสดิการใด ๆ ที่ช่วยแบ่งเบา ภาระค่าใช้จา่ ยได้บ้าง เช่น บำเหน็จ บำนาญ หรอื เบี้ยยังชพี 6) ปจั จัยทส่ี ่งผลกระทบตอ่ เงินออม เช่น เงนิ เฟ้อท่อี าจทำให้มลู ค่าของเงิน ออมลดลง สนิ คา้ และบรกิ ารต่าง ๆ ที่แพงข้ึน หรือกลโกงของมจิ ฉาชีพทีอ่ าจมาหลอกเพ่อื เอาเงนิ ไป 3. เงนิ ออมเพื่อค่าใช้จา่ ยจำเป็นท่เี ป็นกอ้ นใหญ่ การวางแผนล่วงหนา้ จะทำให้ ทราบจำนวนเงินที่ต้องใช้จ่ายและวางแผนออมเงินได้ทันเวลา เช่น ค่าเทอมลูก ค่าดาวน์บ้าน ค่าซ่อมบ้าน ซึ่งการวางแผนออมแต่เนิ่น ๆ จะทำให้เรามีเวลาพอสมควรที่จะทยอยออมและ ทำใหย้ อดออมตอ่ ครง้ั (เชน่ ต่อเดอื น) ไม่สงู เกนิ กำลงั ทำใหอ้ อมเงินได้ง่ายขน้ึ ไม่รูส้ กึ กดดันหรือ เครียดจนเกินไป และเมื่อถึงเวลาที่ต้องจ่ายค่าใช้จ่ายนั้นก็จะไม่เป็นภาระและไม่ต้อง ก้เู งินมาจา่ ย ตวั อย่าง นาง ก ต้องจ่ายค่าเทอมของลกู จำนวน 6,000 บาทในอีก 6 เดอื นข้างหนา้ นาง ก ก็ควรออมเงนิ เดือนละ = จำนวนเงินท่ีตอ้ งการใช้ ÷ ระยะเวลา = 6,000 ÷ 6 = 1,000 บาท ดังนั้น นาง ก ควรออมเงินเดือนละ 1,000 บาทเพื่อให้มีเงินจ่ายค่าเทอมลูก จำนวน 6,000 บาทในอกี 6 เดือนขา้ งหนา้ ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชวี ิต 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ

63 เปรียบเทียบกับกรณีที่นาง ก มีเวลาเหลือเพียงแค่ 2 เดือน นาง ก จะต้องออม มากถงึ 3,000 บาทตอ่ เดือน 4. เงินออมเพื่อการลงทุน เป็นการออมเงินเพื่อนำไปลงทุนให้เงินงอกเงย ทัง้ การทำกจิ การสว่ นตัว เช่น เปิดรา้ นขายของ รา้ นซกั รดี อูซ่ ่อมรถ และการลงทุนในผลิตภัณฑ์ ทางการเงินท่ีหลากหลายตั้งแต่ความเสี่ยงต่ำไปจนถึงความเสี่ยงสูง แต่ก่อนจะเลือกผลิตภัณฑ์ ทางการเงินใด ควรศึกษาหาข้อมูล พิจารณาใหร้ อบคอบ เพ่ือทำความเข้าใจกอ่ นตัดสินใจลงทุน โดยเลือกให้เหมาะสมกับความเสีย่ งท่รี ับได้ และเป้าหมายทางการเงนิ ที่ตงั้ ไว้ 5. เงนิ ออมเพ่อื ของที่อยากได้ เปน็ การออมเพ่ือนำเงนิ ไปใช้จา่ ยในสงิ่ ที่ต้องการ เช่น ทอ่ งเท่ยี ว ซือ้ เคร่อื งเสยี ง เครอ่ื งประดับสวย ๆ ซงึ่ สว่ นมากมกั เป็นรายจ่ายไม่จำเป็น ดังนั้น ถ้าอยากไดจ้ ริง ๆ ก็ตอ้ งตงั้ เปา้ หมายการออมเพ่ือซ้อื ของเหล่าน้แี ละลงมือเก็บเงนิ จนกว่าจะครบ แลว้ คอ่ ยซ้ือ ซึ่งดีกวา่ การก้ยู ืมมาซ้ือเพราะมกั เป็นสิ่งทีไ่ มส่ ร้างรายได้แตส่ ร้างภาระหนี้สนิ ใหแ้ ก่เรา 6. เงินออมเพื่อปลดหน้ี เป็นการออมเพื่อนำเงินที่ได้ไปจ่ายหนี้เพิ่ม เพื่อลด จำนวนเงนิ ตน้ และดอกเบี้ย และทำใหจ้ ่ายหน้หี มดได้เรว็ ข้นึ หลกั การออมใหส้ ำเร็จ การออมสามารถทำได้หลายวิธี ผู้ออมอาจเลือกใช้วิธีการออมที่ตนเองถนัดและ เหมาะสมกบั รายรบั -รายจ่ายของตนเอง สำหรับหลกั การออมใหส้ ำเรจ็ มดี ังนี้ 1. ออมกอ่ นใช้ เมือ่ ไดร้ บั เงินมา ควรแบง่ เงนิ ไปออมไวท้ ันที เพราะหากใช้ก่อน ออม สุดท้ายอาจไม่เหลือเงินทจ่ี ะนำมาออมตามทต่ี ้งั ใจไว้ 2. มีวินัยในการออม คือ ออมอย่างสม่ำเสมอ โดยใช้เทคนิคการออมท่ี สนกุ สนาน ทำไดง้ ่าย เพ่อื สรา้ งแรงจูงใจในการออมให้ได้ตามท่ตี ง้ั ใจไว้ เชน่ ▪ หยอดกระปกุ ก่อนออกจากบา้ นวันละ 10 บาท ▪ ผกู การออมกบั พฤติกรรมท่ชี อบทำ เชน่ เล่นเกมช่ัวโมงละ 10 บาท ▪ ไดแ้ บงก์ 50 มาเมอื่ ไร กเ็ ก็บไว้ไปหยอดกระปุก ไมน่ ำมาใช้ ▪ ไมช่ อบพกเหรยี ญเพราะมนั หนกั พอไดเ้ หรยี ญทอนมาก็หยอดกระปกุ ใหห้ มด ชุดวิชาการเงินเพ่ือชีวิต 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงิน

64 ▪ ซื้อของไม่จำเป็นไปเท่าไร ก็ให้นำเงินมาออมเท่านั้น เช่น ถ้าซื้อของ ไมจ่ ำเป็น 1,000 บาท กต็ ้องออมเงินให้ได้ 1,000 บาท ▪ ต้ังคำสัง่ หักเงนิ อตั โนมตั ิจากบัญชีเงินเดือนไปฝากเขา้ บัญชีเงนิ ออม 3. แบ่งเงินเป็นส่วน ๆ ตามเป้าหมายที่ต้องการใช้ เช่น เงินออมเผื่อฉุกเฉิน เงินออมเพื่อใช้จ่ายในยามชรา เงินออมเพื่อซ้ือของที่อยากได้ และใช้เงนิ ตามวัตถปุ ระสงค์นั้น ๆ ไม่ปะปนกนั ทงั้ น้ี ควรเปิดบัญชสี ำหรับออมเงนิ โดยเฉพาะ เพือ่ แยกเงนิ ท่ีตอ้ งการออมและ เงินสำหรบั ใชจ้ ่ายออกจากกนั และอาจเพิ่มความยากในการถอนเงนิ เช่น ไม่ทำบัตรเดบิต หรือ ฝากเงินไว้ในบัญชีที่จำกัดจำนวนครั้งในการถอน (ถ้าถอนเกินจำนวนครั้งที่กำหนดจะถูกปรับ) ยกเวน้ บัญชเี งินออมเผอื่ ฉุกเฉินทจ่ี ะต้องถอนง่าย กิจกรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 4 การออม (ให้ผ้เู รยี นไปทำกิจกรรมเร่ืองที่ 4 ทสี่ มุดบันทกึ กิจกรรมการเรียนรู)้ ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชวี ิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงิน

65 เร่อื งท่ี 5 การฝากเงนิ และการประกนั ภัย การฝากเงนิ เมื่อมีรายได้ เช่น ได้เงินเดือน ได้เงินจากลูกค้า สิ่งแรกที่ควรทำ คือ แบ่งเงิน บางสว่ นไปเก็บออมเพ่ือวตั ถปุ ระสงค์ต่าง ๆ เชน่ ไว้ใช้ยามฉุกเฉนิ เปน็ ค่าใชจ้ ่ายหลงั เกษียณหรือ เลิกทำงาน การมองหาแหลง่ เกบ็ รักษาเงินหรือทำให้เงินงอกเงยจงึ เป็นเรอ่ื งจำเป็น ท่ีนิยมกันคือ การฝากเงนิ ไว้กับธนาคาร ซึ่งนอกจากมีความปลอดภัยกว่าการเก็บเงินสดไวก้ ับตัวหรอื ไวท้ ี่บ้านแล้ว การฝากเงินไว้กบั ธนาคารยงั ทำใหไ้ ดร้ บั ผลตอบแทนในรปู ของดอกเบ้ียเงนิ ฝากดว้ ย อย่างไรก็ดี การจะได้รับดอกเบี้ยมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับว่าเป็นบัญชีเงินฝาก ประเภทใด มีเงือ่ นไขอยา่ งไร เราจึงจำเปน็ ต้องรู้จกั บญั ชีเงนิ ฝากแตล่ ะประเภท เพ่อื เลอื กบัญชีท่ี เหมาะสมและตรงกับความต้องการของเรามากทส่ี ุด 1. บญั ชีเงินฝากออมทรัพย์ ลักษณะ • สามารถฝากหรือถอนเงินเมื่อไรกไ็ ด้ • กำหนดจำนวนเงินฝากขั้นตำ่ ไว้ไมส่ ูงนัก เชน่ 100 - 1,000 บาท • จ่ายดอกเบย้ี ใหป้ ีละ 2 คร้ัง ในเดือนมิถุนายนและธนั วาคมของทุกปี ประโยชน์ • ถ้าดอกเบี้ยรับไม่เกิน 20,000 บาท ไม่ต้องเสียภาษี 15% ของดอกเบ้ีย ที่ไดร้ ับ (รวมรบั จากทุกสถาบันการเงินใน 1 ป)ี ถ้าเกิน 20,000 บาท ธนาคารจะหักภาษี ณ ท่ีจ่าย ไว้เลยจากบญั ชเี งินฝาก ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชีวิต 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การวางแผนการเงนิ

66 • มีบริการบัตรเอทีเอ็มหรือบัตรเดบิต สำหรับใชถ้ อนหรือโอนเงินท่ีเครือ่ ง เอทีเอ็มได้สะดวก (บัตรเดบิตยังสามารถใช้ชำระค่าสินค้าและบริการได้ด้วย) แต่หากต้องการ เปดิ บัญชเี พียงอยา่ งเดียวก็สามารถทำไดโ้ ดยไมจ่ ำเป็นต้องทำบัตรใด ๆ ข้อจำกดั • อตั ราดอกเบ้ยี ค่อนขา้ งตำ่ • มีค่าธรรมเนียมกรณีบัญชีเงินฝากไม่เคลื่อนไหวและมียอดเงินฝาก คงเหลือนอ้ ยกวา่ ทกี่ ำหนด • กรณีทำบัตรเอทีเอ็มและบัตรเดบิตมักจะต้องเสียค่าทำบัตรและ คา่ ธรรมเนยี มรายปี บัญชนี ้ีเหมาะกับใคร: • ผู้ที่ใชบ้ ริการรบั โอนเงินเดอื นหรือคา่ จ้าง หรอื คา่ สนิ ค้า • ผทู้ เี่ บิกถอนบ่อยคร้งั หรอื ใชบ้ ริการหกั บัญชีเพื่อชำระค่าใชจ้ ่ายรายเดือน เช่น คา่ นำ้ ค่าไฟ คา่ บตั รเครดิต และคา่ ใช้จา่ ยอน่ื ๆ • ผู้ที่ต้องการออมเงินไว้ใช้ยามฉุกเฉิน เนื่องจากถอนได้สะดวก (ถอนได้ หลายชอ่ งทางและถอนเมอ่ื ไรก็ได)้ นอกจากน้ี บางธนาคารมบี ัญชีเงนิ ฝากออมทรัพย์พิเศษ ซ่งึ ให้อัตราดอกเบี้ย ที่สูงกว่าบัญชเี งนิ ฝากออมทรัพย์ แตจ่ ะมเี งื่อนไขท่เี พ่ิมขึน้ ดว้ ย เช่น เงินฝากขนั้ ต่ำ 10,000 บาท ถอนได้ไม่เกิน 2 ครั้งต่อเดือน หากถอนตั้งแต่ครั้งที่ 3 เป็นต้นไปในเดือนน้ันจะถูกคิด ค่าธรรมเนียมครั้งละ 500 บาท ซึ่งบัญชีในลักษณะน้ีเหมาะกับการออมเงินมากกว่าท่ีจะใช้เป็น บัญชีเพ่ือชำระคา่ ใช้จ่าย คำแนะนำ 1. ควรทำรายการฝาก ถอน หรอื โอน อยา่ งน้อยปีละ 1 ครั้ง เพ่ือหลีกเล่ียง การถูกคิดค่าธรรมเนียมรักษาบัญชีกรณีบัญชีเงินฝากไม่เคลื่อนไหว และมียอดเงินฝากคงเหลือ นอ้ ยกว่าที่กำหนด ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชีวิต 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ

67 2. ปรับสมุดบัญชีอย่างสม่ำเสมอเพื่อดูว่ามีเงินคงเหลือในบัญชีเพียงพอ สำหรับการหักบัญชีหรือเงื่อนไขต่าง ๆ ที่กำหนดหรือไม่ เช่น ค่าใช้จ่ายที่จะถูกตัดออกจากบัญชี ยอดเงินขั้นต่ำท่ีธนาคารกำหนด เพื่อไม่ให้พลาดการชำระเงินหรือมีเงินไม่พอทจี่ ะชำระซึ่งอาจทำให้ ตอ้ งเสยี คา่ ใชจ้ ่ายเพิม่ เตมิ 3. หากไม่มีความจำเป็นต้องใช้บัตรเอทีเอ็มหรือบัตรเดบิตควรแจ้งยกเลิก บัตร หรอื แจง้ เจา้ หนา้ ท่ีวา่ ไมต่ อ้ งการทำบตั ร จะช่วยประหยัดค่าธรรมเนียมที่ไม่จำเปน็ ได้ ตัวอยา่ งการคำนวณดอกเบี้ยเงินฝากออมทรพั ย์ สำรวยเปิดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ที่ธนาคารมุ่งมั่นเมื่อวันที่ 1 ม.ค. 58 จำนวน 10,000 บาท ได้รับดอกเบี้ยเงินฝากในอัตรา 3% ต่อปี โดยธนาคารจะจ่ายดอกเบี้ยให้ในวันท่ี 30 มิ.ย. และ 31 ธ.ค. ของทกุ ปี หากสำรวยฝากเงนิ ไวท้ ง้ั ปี โดยไม่ถอนเงินออกหรอื ฝากเงินเพิ่ม และไม่ได้ถอนดอกเบี้ยออกมาใช้ในระหว่างปี หากครบ 1 ปี สำรวยจะมีเงินฝากในบัญชีรวม ดอกเบยี้ เปน็ เงินเทา่ ไร ชดุ วชิ าการเงินเพอ่ื ชวี ิต 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ

68 วธิ กี ารคำนวณ 1. ระยะเวลาในการคำนวณจำนวนวันในการฝากเงิน จะคำนวณถึงวันก่อนวันที่ จ่ายดอกเบีย้ ดังนี้ จ่ายดอกเบี้ย 30 มิ.ย. 58 จะเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 58 ถึง 29 มิ.ย. 58 = 180 วนั จ่ายดอกเบี้ย 31 ธ.ค. 58 จะเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 30 มิ.ย. 58 ถึง 30 ธ.ค. 58 = 184 วัน (สำหรับดอกเบี้ยของวันที่ 31 ธ.ค. 2558 จะถูกนำไปคำนวณจำนวนวันรวมกับการคดิ ดอกเบีย้ คร้ังตอ่ ไป) 2. อตั ราดอกเบี้ย 3% ในที่นี้ ดอกเบ้ียเงนิ ฝากออมทรัพย์ไมต่ อ้ งเสียภาษี ณ ท่จี ่าย 15% จึงสามารถนำมาคำนวณในสูตรได้ 3. เงินฝากออมทรัพย์น้ีใหด้ อกเบ้ียทบต้น ดังนนั้ ต้องนำเงนิ ตน้ บวกดอกเบ้ียก่อน จากน้นั จงึ นำผลที่ได้ไปเป็นฐานคำนวณดอกเบีย้ สำหรับงวดถดั ไป คำตอบ ณ 31 ธ.ค. 58 สำรวยจะมีเงนิ ตน้ บวกดอกเบีย้ ท้ังส้นิ เทา่ กบั 10,301 บาท โดยประมาณ 2. บัญชเี งนิ ฝากประจำ มหี ลายรปู แบบ เช่น 2.1 บัญชีเงินฝากประจำทัว่ ไป ลักษณะ • มีระยะเวลาการฝากหลายแบบ เชน่ 3 เดือน 6 เดอื น 12 เดือน ชดุ วิชาการเงินเพ่ือชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ

69 • สว่ นใหญ่จะกำหนดจำนวนเงินฝากขั้นตำ่ ไวป้ ระมาณ 1,000 บาท • การจ่ายดอกเบี้ย แล้วแต่เงื่อนไขธนาคาร เช่น บัญชี 3 เดือน 6 เดือน และ 12 เดือน จ่ายดอกเบี้ยเมื่อครบกำหนด บัญชี 24 เดือน และ 36 เดือน จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน โดยอาจจะนำดอกเบี้ยท่ีไดม้ าฝากเขา้ บัญชีเงินฝากประจำ (ทบต้น) หรืออาจจะโอน ดอกเบี้ยเงินฝากเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์หรือกระแสรายวัน ซึ่งธนาคารจะแจ้งให้ทราบ ตั้งแตต่ อนเปดิ บัญชี • กรณีถอนก่อนครบกำหนด อาจไม่ได้รับดอกเบี้ย หรือได้รับใน อัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ เช่น ธนาคารอาจกำหนดว่าหากเลือกฝากประจำ 6 เดือน แต่ฝากยังไม่ถึง 3 เดือนแล้วต้องการถอนออกมาจะไม่ได้รับดอกเบี้ย หรือถอนหลัง 3 เดือนไปแล้ว แต่ยังไม่ครบกำหนด 6 เดือน จะได้รับดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ พร้อมท้ัง ถกู หักภาษี ณ ทจ่ี ่าย นอกจากนี้ บางธนาคารมีรูปแบบการฝากประจำแบบพิเศษ เช่น ให้เลือกระยะเวลาการฝากได้ตามที่สะดวก กำหนดระยะการฝากเป็นจำนวนวัน (เช่น 99 วัน) หรือจ่ายดอกเบี้ยเงินฝากตั้งแต่วันแรกท่ีผู้ฝากเปิดบัญชี โดยอาจมีเงื่อนไขที่กำหนดจำนวนเงิน ฝากทค่ี อ่ นข้างสูง เช่น 100,000 บาทข้นึ ไป บญั ชีนเ้ี หมาะกับใคร • ผทู้ ต่ี ้องการเก็บออมเพือ่ เพ่มิ รายไดจ้ ากดอกเบย้ี • ผู้ที่มีเงินก้อนและไม่มีความจำเป็นที่จะใช้เงินที่ออมไว้ในช่วง ระยะเวลาหนึ่ง ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชีวิต 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ

70 ตวั อย่างการคำนวณดอกเบ้ียเงนิ ฝากประจำ รงุ่ โรจนเ์ ลอื กเปดิ บัญชีเงินฝากประจำ 3 เดือน จำนวน 10,000 บาท ได้รบั อตั รา ดอกเบี้ย 3% ต่อปีแบบทบต้น โดยเริ่มต้นฝากวันที่ 1 ม.ค. 58 และเมื่อครบกำหนด 3 เดือน นายรงุ่ โรจน์กย็ งั คงฝากอยา่ งต่อเนอื่ งไปเร่ือย ๆ โดยไม่มกี ารถอนเงนิ ตน้ และดอกเบย้ี ให้คำนวณ ว่าเมื่อครบกำหนดทุก 3 เดือนในช่วงเวลา 1 ปี รุ่งโรจน์จะได้รับเงินต้นและดอกเบี้ยเป็นเงิน เทา่ ไร วธิ ีการคำนวณ 1. ระยะเวลาในการคำนวณจำนวนวนั ในการฝากเงิน จะคำนวณถึงวันก่อนวันท่ี จ่ายดอกเบ้ียดังน้ี จา่ ยดอกเบ้ีย 1 เม.ย. 58 จะเริ่มนบั ตัง้ แต่วันท่ี 1 ม.ค. 58 ถึง 31 ม.ี ค. 58 รวม 90 วัน จ่ายดอกเบี้ย 1 ก.ค. 58 จะเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย. 58 ถึง 30 มิ.ย. 58 รวม 91 วัน จา่ ยดอกเบ้ยี 1 ต.ค. 58 จะเริม่ นับตงั้ แต่วนั ที่ 1 ก.ค. 58 ถึง 30 ก.ย. 58 รวม 92 วัน ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชวี ติ 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงิน

71 จ่ายดอกเบ้ยี 1 ม.ค. 59 จะเรม่ิ นบั ต้ังแต่วันท่ี 1 ต.ค. 58 ถงึ 31 ธ.ค. 58 รวม 92 วัน 2. ดอกเบย้ี ทไ่ี ดร้ บั จะถกู หกั ภาษี ณ ทจี่ า่ ย 15% ดังน้นั อัตราดอกเบีย้ ทีร่ ุ่งโรจน์ จะได้รับหลงั หักภาษี ณ ทีจ่ า่ ย เทา่ กับ 2.55% (3 x (1 – 15%)) 3. เงินฝากประจำนี้ธนาคารให้ดอกเบี้ยทบต้น ดังนั้น ต้องนำเงินต้นบวก ดอกเบีย้ ก่อน จากนัน้ จงึ นำผลทไี่ ด้ไปเปน็ ฐานคำนวณดอกเบ้ียสำหรับงวดถดั ไป คำตอบ รุ่งโรจนจ์ ะได้รบั เงินต้นและดอกเบย้ี เป็นเงนิ 10,257 บาทโดยประมาณ 2.2 บญั ชีเงินฝากประจำแบบปลอดภาษี ลักษณะ • เป็นบัญชีเงนิ ฝากประจำทไี่ ด้รับยกเว้นภาษี แต่เปดิ ไดเ้ พียงบัญชเี ดียว • ตามเกณฑก์ รมสรรพากรไม่ไดม้ ีการกำหนดจำนวนเงินฝากขั้นตำ่ ไว้ แต่มเี พดานฝากสงู สุดอยูท่ ่ี 25,000 บาทตอ่ เดือน และเม่อื รวมจำนวนเงนิ ทฝ่ี ากทุกเดือนแล้วตอ้ ง ไมเ่ กิน 600,000 บาท ซึ่งต้องฝากต่อเน่ืองในจำนวนทีเ่ ทา่ กนั ทกุ ๆ เดือน เดือนละ 1 ครงั้ เปน็ เวลาไมน่ ้อยกว่า 24 เดอื น • หากเงินฝากครบกำหนด บางธนาคารจะโอนเงินต้นและดอกเบ้ีย เขา้ บญั ชอี อมทรพั ยห์ รอื บญั ชีกระแสรายวนั ตามท่ีลูกคา้ แจ้งความประสงค์ไวต้ อนเปิดบัญชี หรือ ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การวางแผนการเงิน

72 บางกรณีหากลูกค้าไมไ่ ด้ถอนเงินออก ธนาคารก็อาจเปลี่ยนประเภทเป็นบัญชีเงินฝากประจำให้ อัตโนมตั โิ ดยมเี งอื่ นไขการฝากเงนิ และอัตราดอกเบยี้ ตามประกาศของธนาคารทีใ่ ชอ้ ยู่ในขณะนั้น • ในระหว่างระยะเวลาการฝาก ขาดฝากได้ไม่เกิน 2 ครั้ง และยังคง ตอ้ งฝากให้ครบตามวงเงินทก่ี ำหนด • กรณีถอนก่อนครบกำหนด ส่วนใหญ่มักกำหนดว่าหากฝากไม่ถึง 3 เดอื น จะไม่ได้รับดอกเบีย้ หากถอนหลงั จาก 3 เดอื นไปแล้วจะได้รับในอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ออมทรัพย์ พรอ้ มทง้ั ถกู หกั ภาษี ณ ที่จา่ ย • จ่ายดอกเบี้ยเมื่อครบกำหนดระยะเวลาการฝาก โดยทั่วไปจะโอน ดอกเบีย้ ไปยังบญั ชเี งนิ ฝากออมทรพั ย์หรือกระแสรายวัน ประโยชน์ • ไดร้ ับอตั ราดอกเบีย้ เงินฝากสูงกว่าบญั ชีเงนิ ฝากออมทรพั ย์ • ไดฝ้ กึ วินัยการออม (ตอ้ งนำเงินไปฝากทุกเดือน เดือนละเท่า ๆ กนั ) • ดอกเบย้ี ที่ไดร้ บั ไม่ตอ้ งเสยี ภาษี ข้อจำกัด มีข้อจำกัดและเงื่อนไขในการถอน เช่น หากมีการถอนก่อน ระยะเวลาทก่ี ำหนดไว้อาจไม่ได้รับดอกเบี้ย และไมไ่ ดร้ ับสทิ ธิยกเวน้ การหกั ภาษี ณ ท่ีจา่ ย 15% บญั ชนี เ้ี หมาะกบั ใคร • ผู้ที่ตอ้ งการสรา้ งวินัยการออม และเพม่ิ รายไดจ้ ากดอกเบี้ย • ผู้ที่ไม่มีความจำเป็นที่จะใช้เงินที่ออมไว้ในช่วงระยะเวลาหน่ึง (อยา่ งนอ้ ย 2 ปี) ชดุ วิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 การวางแผนการเงิน

73 คำแนะนำ ผู้สนใจจะฝากเงินในบัญชีเงินฝากประจำทั้ง 2 ประเภทนี้ ควรศึกษา เงอ่ื นไขการฝากและถอนเงินให้เขา้ ใจ และต้องม่นั ใจว่ายังไมม่ คี วามจำเปน็ ต้องใช้เงินในระหว่าง ที่ฝากเงินไว้กับธนาคาร เพื่อป้องกันปัญหาการไม่ปฏิบัติตามเงือ่ นไขและทำให้ไม่ได้รับดอกเบยี้ ตามที่กำหนด 3. บัญชเี งนิ ฝากแบบข้นั บันได ลกั ษณะ • จำนวนเงินฝากขั้นต่ำ ส่วนใหญ่มักจะสูงกว่าบัญชีเงินฝากประจำทั่วไป เช่น ไม่น้อยกวา่ 5,000 บาท • กำหนดการจา่ ยดอกเบ้ียข้นึ อยู่กับเงือ่ นไขของธนาคาร เช่น จ่ายดอกเบี้ย ทุกเดือน โดยจะโอนดอกเบี้ยเงินฝากเขา้ บัญชีเงินฝากออมทรัพย์หรือกระแสรายวัน ซึ่งธนาคาร จะแจง้ ใหท้ ราบตงั้ แตต่ อนเปดิ บัญชี ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ติ 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การวางแผนการเงนิ

74 • มกั จูงใจผ้ฝู ากดว้ ยการโฆษณาวา่ ใหอ้ ตั ราดอกเบีย้ สงู มาก แตใ่ นความจรงิ แล้วมักเป็นเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ (ส่วนใหญ่จะสูงมากเฉพาะเดือนสุดท้าย) และในแต่ละช่วงเวลา การฝากดอกเบ้ียจะค่อย ๆ เพมิ่ สูงขนึ้ อาทิ เดือนที่ 1 - 5 อัตราดอกเบีย้ 1% เดอื นที่ 6 - 7 อัตราดอกเบี้ย 1.7% เดือนท่ี 8 - 9 อตั ราดอกเบ้ยี 1.9% เดอื นท่ี 10 อตั ราดอกเบย้ี 8% ดังนั้น ผู้สนใจฝากควรมองหาอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยต่อปีของทั้งโครงการ ที่ธนาคารต้องระบุไว้ในใบโฆษณา หรือสอบถามจากเจ้าหน้าที่ธนาคารเพิ่มเติมเพื่อขอ รายละเอียดทีช่ ัดเจน • หากเงินฝากครบกำหนด แล้วไม่ได้ถอนเงินออก ธนาคารมักจะเปลี่ยน ประเภทเป็นบัญชีเงินฝากประจำให้อัตโนมัติโดยมีเงื่อนไขการฝากเงินและอัตราดอกเบี้ยตาม ประกาศของธนาคารทีใ่ ชอ้ ยู่ในขณะน้ัน • ข้อกำหนดในเรื่องถอนก่อนครบกำหนดมีหลายรูปแบบ อาทิ อาจต้อง ปิดบัญชีเลย หรือต้องถอนทั้งจำนวนของแต่ละยอดการฝาก เช่น ฝากครั้งแรก 10,000 บาท ครั้งที่ 2 ฝาก 20,000 บาท หากต้องการถอนเงินที่ฝากไว้จะต้องถอนเงินที่ยอด 10,000 บาท หรอื 20,000 บาท เท่านน้ั ไม่สามารถถอนบางสว่ นได้ • สำหรับเรื่องดอกเบี้ย ผู้ฝากที่ถอนก่อนครบกำหนดอาจได้ดอกเบี้ยตาม อัตราที่กำหนดไว้ในแต่ละช่วงระยะเวลาการฝาก หรืออาจไม่ได้ดอกเบี้ย หรือได้รับอัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ ขนึ้ อยกู่ บั เงื่อนไขทธี่ นาคารกำหนด ข้อจำกัด • ให้อัตราดอกเบี้ยเงินฝากสูงกว่าเงินฝากออมทรัพย์ แต่ส่วนใหญ่มักอยู่ ในรปู แบบของบญั ชีเงินฝากประจำจงึ จะถูกหกั ภาษี ณ ท่ีจ่าย 15% ของดอกเบี้ยทีไ่ ด้รบั • มีข้อจำกัดและเงื่อนไขในการถอน เช่น กรณีการถอนก่อนครบกำหนด (อย่างทีก่ ลา่ วไปแลว้ ) ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชีวติ 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ

75 บญั ชนี ี้เหมาะกบั ใคร • ผทู้ ี่ตอ้ งการเก็บออมเพื่อเพิ่มรายได้จากดอกเบี้ย • ผู้ที่มีเงนิ ก้อนและไม่มคี วามจำเปน็ ท่จี ะใชเ้ งินในชว่ งระยะเวลาหนึง่ ตัวอย่างการคำนวณดอกเบีย้ เงินฝากแบบข้นั บนั ได เย็นใจฝากเงินในบัญชีเงินฝากแบบขั้นบันไดประเภทฝากประจำ 10,000 บาท เมื่อวันท่ี 1 ม.ค. 58 โดยธนาคารจะจ่ายดอกเบี้ยทุกเดือนเข้าบัญชีเงนิ ฝากออมทรพั ย์ (ดอกเบ้ีย ไม่นำไปทบกับเงนิ ต้น) ซ่ึงธนาคารให้อตั ราดอกเบี้ยแบบข้นั บนั ไดระยะเวลา 5 เดือนดงั น้ี เดอื นที่ 1 – 2 อัตราดอกเบ้ยี 1% ต่อปี เดอื นท่ี 3 – 4 อตั ราดอกเบีย้ 2% ต่อปี เดือนท่ี 5 อัตราดอกเบี้ย 4% ต่อปี ท้งั นี้ ดอกเบี้ยรับจะถูกหกั ภาษี ณ ทจี่ ่าย 15% ใหค้ ำนวณดอกเบ้ยี เงนิ ฝากที่เย็นใจจะได้รับ ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การวางแผนการเงนิ

76 วธิ ีการคำนวณ 1. ระยะเวลาในการคำนวณจำนวนวันในการฝากเงิน จะคำนวณถึงวันก่อนวันที่ จา่ ยดอกเบ้ยี ดงั นี้ จ่ายดอกเบี้ย 1 ก.พ. 58 จะเร่ิมนบั ตง้ั แตว่ ันที่ 1 ม.ค. 58 ถึง 31 ม.ค. 58 รวม 31 วัน จ่ายดอกเบ้ยี 1 มี.ค. 58 จะเร่มิ นับต้งั แตว่ นั ที่ 1 ก.พ. 58 ถงึ 28 ก.พ. 58 รวม 28 วัน จา่ ยดอกเบี้ย 1 เม.ย. 58 จะเริ่มนบั ตั้งแตว่ ันที่ 1 ม.ี ค. 58 ถงึ 31 มี.ค. 58 รวม 31 วนั จ่ายดอกเบย้ี 1 พ.ค. 58 จะเริม่ นบั ตง้ั แตว่ ันท่ี 1 เม.ย. 58 ถึง 30 เม.ย. 58 รวม 30 วัน จา่ ยดอกเบี้ย 1 ม.ิ ย. 58 จะเรม่ิ นับตง้ั แตว่ นั ที่ 1 พ.ค. 58 ถงึ 31 พ.ค. 58 รวม 31 วนั 2. ดอกเบี้ยที่ได้รับจะถกู หักภาษี ณ ที่จา่ ย 15% ดังนัน้ อัตราดอกเบ้ียที่จะได้รับ ตอ้ งนำมาหักภาษี ณ ท่ีจ่ายก่อน อตั ราดอกเบีย้ กอ่ นหักภาษี ณ ทจี่ า่ ย อัตราดอกเบีย้ หลงั หกั ภาษี ณ ที่จ่าย เดือนที่ 1 – 2 อัตราดอกเบย้ี 1% ต่อปี (1 x (1 – 15%)) = 0.85% เดือนท่ี 3 – 4 อัตราดอกเบีย้ 2% ต่อปี (2 x (1 – 15%)) = 1.70% เดือนที่ 5 อัตราดอกเบ้ีย 4% ตอ่ ปี (4 x (1 – 15%)) = 3.40% ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชวี ติ 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ

77 คำตอบ เย็นใจจะได้รับดอกเบี้ยเป็นเงินทั้งสิ้น 71 บาท ซึ่งเมื่อคำนวณอัตรา ดอกเบี้ยทแี่ ท้จรงิ ที่เยน็ ใจไดร้ บั จะเท่ากับ ขอ้ แนะนำการเลอื กประเภทบัญชีเงินฝาก เมื่อได้ประเภทบัญชีที่ต้องการแล้ว ให้หาข้อมูลบัญชีประเภทเดียวกันจาก ธนาคารหลาย ๆ แห่งเพื่อนำมาเปรียบเทียบ ซึ่งสามารถหาข้อมูลได้จากเว็บไซต์ของธนาคาร แต่ละแห่ง หรือแผ่นพับหรือโฆษณาที่ธนาคารเผยแพร่ อย่างไรก็ตาม ควรดูประกาศอัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากของธนาคารประกอบด้วย เนื่องจากจะมีการระบุรายละเอียดและเงื่อนไขใน การจ่ายดอกเบ้ยี ต่าง ๆ ในข้อกำหนด โดยข้อมูลที่ควรนำมาเปรยี บเทยี บมดี งั น้ี 1. อัตราดอกเบี้ย ไม่ควรดูเฉพาะในใบโฆษณา แต่ควรดูจากประกาศอัตรา ดอกเบ้ยี ในเว็บไซต์ของธนาคารทเ่ี ราสนใจจะนำเงนิ ไปฝากดว้ ย เพือ่ ให้ไดข้ อ้ มูลทค่ี รบถ้วน 2. ระยะเวลาการฝาก ตอ้ งมั่นใจว่าสามารถฝากได้ตามระยะเวลาตามท่ีกำหนด 3. เงื่อนไขการใช้บริการ หากเป็นเงินฝากที่ให้อัตราดอกเบี้ยสูง ก็มักจะ กำหนดจำนวนเงินฝากขั้นต่ำไว้สูงเช่นกัน และต้องอ่านเงื่อนไขว่าเราสามารถทำได้หรือรับได้ หรือไม่ เช่น ต้องซื้อประกนั สะสมทรัพยด์ ้วย ถอนได้เพียง 2 ครั้งต่อเดือน หากถอนตั้งแต่คร้งั ที่ 3 เปน็ ตน้ ไป จะเสยี ค่าธรรมเนียมการถอนครง้ั ละ 500 บาทหรอื การเรียกเก็บคา่ ธรรมเนียม เชน่ กรณบี ัญชเี งินฝากไม่เคลื่อนไหวหรอื มียอดเงินในบัญชตี ่ำกว่าที่กำหนดจะถูกเรียกเก็บค่าธรรมเนียม รักษาบญั ชี 4. วิธีการจ่ายดอกเบี้ย กรณีบัญชีออมทรัพย์ทั่วไป ธนาคารจะนำดอกเบี้ยเข้า บัญชีเงินฝากไปสมทบกับเงินต้นให้ แต่หากเป็นบัญชีเงินฝากประจำบางประเภท ธนาคาร อาจจะโอนดอกเบี้ยเข้าบญั ชีออมทรพั ย์หรือบัญชีกระแสรายวันตามทีไ่ ดแ้ จ้งให้ลูกค้าทราบตอน เปิดบัญชี ซึ่งการจ่ายดอกเบี้ยจะมีทั้งจ่ายเมื่อครบกำหนดระยะเวลาการฝาก หรือจ่ายดอกเบี้ย ทุก 3 เดอื น ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชวี ิต 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงิน

78 5. เงื่อนไขเกี่ยวกับภาษี หาข้อมูลว่าดอกเบี้ยจะถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 15% หรือไม่ เพราะหากถกู หักภาษี อัตราดอกเบยี้ ที่จะได้รับก็จะน้อยกว่าทีธ่ นาคารประกาศไว้ นอกจากนี้ ยังมีข้อมูลอื่น ๆ ที่ควรพิจารณาในการเปรียบเทียบเงินฝาก คือ ความสะดวกในการใช้บริการ เช่น สาขา บริการ mobile banking ช่องทางการรับโอนเงิน บรกิ ารตดั บัญชีอตั โนมตั ิ โปรแกรมเปรียบเทียบผลติ ภณั ฑเ์ งนิ ฝาก นอกจากการหาข้อมูลผลิตภัณฑ์เงินฝากจากเว็บไซต์ หรือแผ่นพับ หรือโฆษณาท่ี ธนาคารแต่ละแห่งเผยแพร่แล้ว เรายังสามารถเปรียบเทียบผลติ ภัณฑ์เงินฝากของธนาคารแต่ละ แห่งได้ในที่เดียว ที่เว็บไซต์ ศคง.1213 ซึ่งได้รวบรวมข้อมูลผลิตภัณฑ์ท่ีให้บริการสำหรับลูกค้า รายย่อย โดยจะพบหัวข้อ “เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์” ซึ่งประกอบด้วย เงินฝาก บัตรเดบิต บัตร เครดิต และสนิ เช่ือ ให้กดท่รี ูปเงินฝาก เพอ่ื เข้าไปเลือกดูผลิตภัณฑ์เงินฝากของแต่ละแห่งได้ตามท่ี ต้องการ อย่างไรก็ตาม ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นเพียงผูร้ วบรวมข้อมูลและประมวลผลเพื่อ แสดงข้อมูล หากมีข้อสงสัยหรือต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ขอให้ติดต่อผู้ให้บริการของ ผลิตภัณฑน์ ัน้ ๆ แหลง่ ศึกษาขอ้ มลู เพิ่มเตมิ เวบ็ ไซต์ ศคง. https://www.1213.or.th/th/aboutfcc/Pages การเปรียบเทียบ /productdisclosure.aspx ผลิตภัณฑ์ การคุม้ ครองเงินฝาก เป็นการคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนที่ฝากเงินไวก้ ับสถาบันการเงิน ซึ่งเปน็ ระบบสากลที่ประเทศต่าง ๆ นำมาใช้มากกว่า 100 ประเทศ โดยการกำหนดวงเงินที่รับรองว่า ผูฝ้ ากจะได้รับคนื เปน็ จำนวนทแ่ี น่นอนภายในระยะเวลาท่กี ำหนดโดยเรว็ หากสถาบนั การเงิน ถูกปิดกิจการ สำหรบั เงนิ ฝากสว่ นทเ่ี กินวงเงินดังกล่าว ผ้ฝู ากมโี อกาสได้รบั เพิ่มเติมหลังจากการ ขายสินทรพั ยแ์ ละชำระบัญชสี ถาบนั การเงนิ นั้นแลว้ ชุดวิชาการเงนิ เพือ่ ชวี ิต 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงิน

79 การคุ้มครองเงนิ ฝากในประเทศไทย ในอดีตหากสถาบันการเงินถูกปิดกิจการ ผู้ฝากเงินจะต้องไปดำเนินการฟ้องร้อง เพื่อให้ได้รับเงินฝากคืนเอง ซ่ึงไม่มีความแน่นอนว่าจะได้รับเงินคืนหรือไม่ จะได้รับเงินคืนเมื่อใด และจำนวนเท่าใด ดังนั้น ภาครัฐจึงได้จัดให้มีระบบคุ้มครองเงินฝากขึ้น เพื่อช่วยเหลือประชาชน ผ้ฝู ากเงินใหไ้ ด้รบั เงินฝากคนื ภายในเวลาท่ีรวดเร็วหากสถาบนั การเงนิ ถกู ปดิ กิจการ ซง่ึ การมรี ะบบ คุ้มครองเงินฝากจะไม่ก่อให้เกิดภาระกับภาครัฐ เนื่องจากมีการเรียกเก็บเงินนำส่งจากสถาบัน การเงินต่าง ๆ สะสมไว้ใช้ในการจ่ายคืนเงินให้แก่ประชาชนผู้ฝากเงิน ซึ่งดำเนินการโดยสถาบัน ค้มุ ครองเงินฝาก (Deposit Protection Agency: DPA) สถาบันคุ้มครองเงินฝาก เปน็ หนว่ ยงานของรฐั จัดตั้งขน้ึ เมอื่ วันที่ 11 สงิ หาคม 2551 เพื่อคมุ้ ครองประชาชนผู้ฝากเงิน โดยมหี นา้ ท่หี ลกั คอื 1. คุ้มครองเงินฝากให้แก่ผู้ฝากเงิน โดยจ่ายคืนเงินให้แก่ผู้ฝากโดยเร็ว เมือ่ สถาบันการเงินปดิ กิจการ 2. เก็บเงินนำส่งจากสถาบันการเงินที่ได้รับความคุ้มครอง เพื่อสะสมไว้เป็น กองทุนคุ้มครองเงินฝาก สำหรับใช้ในการจ่ายคืนเงินให้แก่ผู้ฝากเงินตามวงเงินและระยะเวลาท่ี กฎหมายกำหนด หากสถาบนั การเงนิ ใดถูกปิด 3. ชำระบัญชีสถาบันการเงินที่ถูกปิด และนำเงินที่ได้รับจากการชำระบัญชี จ่ายคนื ใหแ้ กผ่ ้ฝู ากในกรณีทีม่ ีเงินฝากเกินวงเงินที่กำหนด คมุ้ ครองอะไรบ้าง เงินบาทที่ฝากไว้กับสถาบันการเงินที่อยู่ภายใต้การคุ้มครอง (ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน และบริษัทเครดิตฟองซิเอร์) แต่ไม่ครอบคลุมถึงเงินที่ฝากไว้กับสถาบันการเงิน เฉพาะกจิ ของรัฐซึ่งได้รับการดูแลโดยเงือ่ นไขของรัฐบาล ทั้งนี้ สถาบนั การเงินท้ังหมดอยู่ภายใต้ การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง และธนาคารแหง่ ประเทศไทย ซึง่ จะกำกับดแู ลความม่ันคง อยา่ งใกล้ชดิ และจะปอ้ งกันหรือแกไ้ ขปัญหาท่ีอาจเกดิ ข้นึ มใิ หต้ ้องปิดกิจการโดยงา่ ย ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงิน

80 เงินฝากทไี่ ดร้ บั ความค้มุ ครอง ตัวอยา่ งเงินฝากที่ไม่ไดร้ บั การคุม้ ครอง (เปน็ เงนิ สกุลบาทและเปน็ บญั ชเี งนิ ฝาก ภายในประเทศ) เงนิ ฝากกระแสรายวัน  เงินฝากสกลุ เงนิ ต่างประเทศ เงนิ ฝากออมทรพั ย์  เงนิ ฝากทีม่ ีอนุพนั ธแ์ ฝง เงนิ ฝากประจำ  เงินฝากระหว่างสถาบนั การเงิน บัตรเงินฝาก  เงนิ ฝากในบัญชเี งนิ บาทของผู้มีถิ่นท่อี ยู่นอกประเทศ ใบรับฝากเงิน  เงนิ ฝากในสหกรณ์  แคชเชียร์เชค็  เงินอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Money)  เงินลงทนุ ในตราสารต่าง ๆ เชน่ สลากออมทรพั ย์ ต๋ัวแลกเงิน พันธบตั รรัฐบาล ห้นุ กู้ กองทุนรวม (เป็น ผลติ ภัณฑ์อ่นื ท่มี ิใช่เงนิ ฝากจงึ ไม่ได้รับการคุ้มครอง) จำนวนเงนิ ทไี่ ดร้ ับการคุ้มครอง จำนวนเงินฝากรวมดอกเบี้ยทีจ่ ะได้รับการคุ้มครองตามเกณฑท์ ก่ี ฎหมายกำหนด โดยจะคุ้มครอง 1 รายผู้ฝาก ต่อ 1 สถาบันการเงิน (ไม่ใช่ต่อ 1 บัญชี) ปัจจุบันวงเงินคุ้มครอง เงินฝากอยู่ที่ 1 ล้านบาท สำหรับเงินฝากส่วนที่เกินความคุ้มครอง มีโอกาสจะได้รับคืนเพิม่ เติม หลงั จากการชำระบญั ชสี ถาบันการเงินทีป่ ิดกจิ การเสรจ็ สนิ้ ทั้งนี้ วงเงินคุ้มครองข้างต้นอาจมีการปรับเปลี่ยนในอนาคต โดยสามารถ สอบถามรายละเอยี ดเพิ่มเติมไดท้ ี่สถาบันค้มุ ครองเงนิ ฝาก โทร. 1158 แหลง่ ศึกษาขอ้ มูลเพิม่ เตมิ เว็บไซตส์ ถาบันคุ้มครองเงินฝาก www.dpa.or.th ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ติ 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การวางแผนการเงิน

81 สลากออมทรพั ย์ เป็นทางเลือกการออมอย่างหนึ่งของผู้ที่ชอบลุ้นรางวัล แม้จะให้ผลตอบแทน ไม่สูงนัก (หากไม่ถูกรางวัล) แต่จะไดเ้ งินต้นคนื เต็มจำนวนเมื่อครบกำหนด ซึ่งแตกต่างจากการ ซื้อหวย หรือสลากกินแบ่งรัฐบาล สถาบันการเงินที่ออกสลากในปัจจุบันเป็นสถาบันการเงิน เฉพาะกิจของรัฐ ได้แก่ สลากออมทรัพย์ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ สลากออมทรัพย์ของ ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และสลากออมสินของธนาคารออมสนิ ลักษณะของสลากออมทรัพย์ คือ ขายเป็นจำนวนหน่วยและมีการกำหนดอายุที่ แน่นอน (เช่น อายุ 1 ปี 2 ปี หรือ 3 ปี) และมักมีการจ่ายดอกเบี้ยเป็นผลตอบแทนหากถือจน ครบตามเกณฑ์ที่ผู้ออกสลากกำหนด ผู้ซื้อสลากสามารถลุ้นรางวัลได้ทุกงวดจนกว่าสลากจะ หมดอายุ แตก่ อ็ าจมีสลากบางรนุ่ ซงึ่ หากถอนก่อนครบกำหนดอาจไดค้ นื เงนิ ตน้ น้อยกว่าท่ีจ่ายไป หรอื มีบรกิ ารพิเศษท่สี ามารถใชส้ ลากคำ้ ประกันการกู้เงินได้ด้วย ทั้งนี้ เมื่อซื้อสลาก สถาบันการเงินที่ออกสลากมักแนะนำให้เปิดบัญชีเงินฝาก ออมทรพั ย์คกู่ ันเพอื่ เปน็ บญั ชีเงนิ ฝากสำหรับการรับเงินหากถูกรางวลั ข้อจำกดั 1. เงินที่นำมาซื้อสลากออมทรัพย์ควรจะเป็นเงินที่ไม่ต้องการใช้ตลอดอายุของ สลาก เพราะหากถอนสลากกอ่ นกำหนด อาจไดร้ ับเงนิ คืนนอ้ ยกว่าจำนวนท่ีซ้อื 2. ควรศึกษาเง่อื นไขใหล้ ะเอียดกอ่ นซอ้ื 3. เม่อื ไดส้ ลากมาควรตรวจสอบความถกู ตอ้ งทกุ คร้งั เช่น ช่อื นามสกุล จำนวน หน่วย จำนวนเงินท่ีซื้อ 4. ควรเกบ็ รกั ษาสลากใหด้ ี หากทำหายตอ้ งไปแจง้ ความ และติดต่อขอทำสลาก ใหม่ซง่ึ จะมคี ่าธรรมเนียมในการออกสลากใหมด่ ว้ ย 5. ควรพิจารณาและเปรียบเทียบผลตอบแทนของสลากแต่ละประเภท หรือ แต่ละรนุ่ กอ่ นตัดสินใจซอ้ื ชดุ วิชาการเงนิ เพ่อื ชีวิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ

82 การประกันภัย ความหมายของความเสยี่ งภัย ความเสี่ยงภัย คือ ความไม่แน่นอนของเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งผล ที่จะเกดิ ขึ้นมคี วามเป็นไปไดท้ ี่จะเบีย่ งเบนไปจากผลที่คาดหวังไว้ และไม่สามารถทราบล่วงหนา้ ถึงขนาดของความสูญเสียหรือความเสียหาย ซึ่งส่งผลกระทบต่อเนื่องไปสู่สถานะการเงิน สภาวะทางอารมณ์ หรือทง้ั 2 อย่างแกผ่ ปู้ ระสบภยั วธิ กี ารจัดการความเส่ียงภัย 1. หลีกเล่ียงความเสยี่ ง คอื การหลกี เล่ยี งเหตุการณ์หรือสาเหตุทอ่ี าจก่อให้เกิด ความเสยี หาย 2. ลดหรือควบคุมความเสี่ยง คือ การควบคุมหรือป้องกัน เพื่อลดโอกาสที่จะ เกิดความเสย่ี ง 3. รับความเสี่ยงไว้เอง คือ การยอมรับผลกระทบท่ีอาจจะเกดิ ข้ึนจากภัยไวเ้ อง ทง้ั หมดหรอื บางสว่ น 4. โอนความเสี่ยง คือ การลดโอกาสที่จะเกิด ลดผลกระทบ โดยการหาผู้ร่วม รบั ผดิ ชอบความเสีย่ ง ความหมายและประโยชนข์ องการประกนั ภัย การทำประกันภัยเป็นการจัดการความเสี่ยงภัยวิธีหนึง่ ซึ่งจะโอนความเสี่ยงภัย ของผู้เอาประกันภัยไปสู่บริษัทประกันภัย เมื่อเกิดความสูญเสียหรือความเสียหายจาก เหตุการณ์ไม่คาดฝัน บริษัทประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามที่ได้รับความคุ้มครองใน กรมธรรมป์ ระกันภยั ใหแ้ กผ่ ู้เอาประกนั ภัย โดยท่ีผูเ้ อาประกนั ภัยจะตอ้ งเสียเบ้ียประกันภัยให้แก่ บรษิ ัทประกนั ภัยตามทไี่ ด้ตกลงกนั ไว้ การประกันภัยจะช่วยสร้างความมั่นคงทางการเงินให้แก่ผู้เอาประกันภัยและ ครอบครัว กล่าวคือ หากเกิดความสูญเสียหรือความเสียหายต่อส่ิงที่เอาประกันจะไม่ส่งผล กระทบตอ่ ฐานะการเงนิ ของผูเ้ อาประกนั นอกจากนี้ การทำประกันภัยยงั ช่วยใหผ้ ูเ้ อาประกันภัย คลายความกังวลกับสิ่งที่เหนือการควบคุมหรือคาดเดาได้ยากว่าในอนาคตจะเกิดอะไรขึ้นบ้าง ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชีวิต 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงิน

83 เช่น การทำประกันชีวิต โดยหากผู้เอาประกันเกิดเสียชีวิตขึ้นมาในขณะที่ยังมีภาระดูแล ครอบครัว ผู้ทอ่ี ยขู่ ้างหลงั จะได้รับค่าสินไหมทดแทนในฐานะผู้รับประโยชนต์ ามทีผ่ ู้เอาประกันภัยได้ ตกลงไว้กับบรษิ ทั ประกนั ภยั หลกั การพิจารณาความจำเป็นในการทำประกนั ภยั ไม่จำเป็นว่าทุกคนต้องทำประกันภัยเสมอไป หากตัวเราเองสามารถรับความ เสี่ยงหรือมีแผนการรองรับที่ดีก็ไม่จำเป็นต้องทำประกันภัย โดยมีหลักในการพิจารณาว่า จำเปน็ ต้องทำประกันภยั หรือไมด่ ังนี้ 1. ภาระรับผิดชอบที่มี หากเราเป็นเสาหลักทางการเงินของครอบครัว เช่น เป็นคนดูแลค่าใช้จ่ายของทุกคนในบ้าน หรือมีภาระหนี้ที่ต้องรับผิดชอบ ถ้าเกิดปัญหากับเรา จนไม่สามารถดูแลครอบครัวได้ เช่น เจ็บป่วยหนัก เกิดอุบัติเหตุรุนแรงหรือเสียชีวิต จะสร้าง ภาระให้แก่คนที่อยู่เบื้องหลังมากน้อยแค่ไหน เรามีแผนการรองรับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นแล้ว หรือไม่ ถ้าเรามีเงินเก็บมากพอ มีทรัพย์สินที่ปลอดภาระแล้ว เช่น เราซื้อด้วยเงินสดหรือผ่อน หมดแล้วการเสียชีวิตของเราไม่ทำให้ผู้ที่อยู่เบื้องหลังเดือดร้อน ประกันภัยก็อาจไม่จำเป็น สำหรบั เรา 2. โอกาสความเป็นไปได้ทีจ่ ะเกดิ ความเสี่ยงหรือประกอบอาชีพท่ีมคี วามเสี่ยง เช่น ต้องอยู่ในเขตก่อสร้าง ผลิตสารเคมี หรือเดินทางบ่อย ย่อมมีความเสี่ยงมากกวา่ ผูท้ ่ีทำงาน ในออฟฟิศ ในกรณนี ้ีกค็ วรทำประกันภัย บคุ คลท่ีเกีย่ วข้องในการประกนั ภัย มี 3 ฝ่าย คือ • ผู้รับประกนั ภยั คือ บรษิ ัททปี่ ระกอบธุรกจิ ประกันภยั • ผู้เอาประกันภัย คือ บุคคลที่ต้องการจะทำประกันภัยและมีหน้าที่จ่าย เบย้ี ประกนั ภัยใหแ้ ก่ผู้รับประกนั ภัย • ผู้รับประโยชน์ คือ คนที่จะได้รับสินไหมทดแทนตามที่ผู้เอาประกนั ภัยระบุไว้ โดยผูเ้ อาประกนั ภยั กบั ผูร้ บั ประโยชนอ์ าจเปน็ คนคนเดยี วกันได้ ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่ือชีวติ 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ

84 ประเภทของการประกนั ภัย ก่อนซื้อประกันภัย ผู้เอาประกันภัยควรศึกษาทำความเข้าใจ เปรียบเทียบ รูปแบบ ความคุ้มครอง และเบ้ยี ประกันภัยของการประกันภัยกอ่ น เพอ่ื ใหไ้ ด้รับแบบประกันภัย ที่มีความเหมาะสม ตรงตามความต้องการมากที่สุด ซึ่งสามารถแบ่งประกันภัยออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ 1) ประกันชีวิต 2) ประกันวินาศภยั โดยแต่ละประเภทกย็ งั มีรูปแบบการ ประกันภยั ที่จำแนกยอ่ ยอกี อนึ่ง หากผู้รับประกันภัยพบว่าความเสียหายเกิดจากการทุจริตหรือความ ประมาทอย่างร้ายแรง หรือการกระทำโดยเจตนาของผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ หรือ แสดงข้อความ เอกสารอันเป็นเท็จเพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ของการประกันภัย ผู้รับ ประกันภัยมีสิทธิปฏิเสธการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนในความเสียหาย โดยไม่ต้องคืนเบ้ีย ประกันภยั ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชีวติ 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ

85 1. ประกันชีวิต คือ การประกันภัยที่การจ่ายเงินอาศัยการทรงชีพ (มีชีวิตอยู่) หรือมรณะ (ตาย) ของบุคคลเป็นเหตุในการจ่าย ซึ่งผู้รับประกันจะจ่ายเงินเอาประกันให้กับ ผู้เอาประกันภัย หากผู้เอาประกันภัยมีชีวิตอยู่ครบระยะเวลาที่ระบุในสัญญา หรือจ่ายเงิน เอาประกันให้ผู้รับผลประโยชน์ถ้าผู้เอาประกันเสียชีวติ ภายในระยะเวลาท่ีระบุในสัญญา แบบการประกันชวี ิต 1) แบบการประกนั ชวี ิตพ้ืนฐาน มีอยู่ 4 แบบ คือ 1.1) ประกันชีวิตแบบชั่วระยะเวลา (term insurance) เป็นการ ประกันชีวิตที่บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้รับประโยชน์ เมื่อผู้ เอาประกันภัยเสียชีวิตในระยะเวลาเอาประกันภยั วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองการเสียชีวิตก่อน วัยอันสมควร การประกันชวี ิตแบบน้ีไมม่ สี ่วนของการออมทรัพย์ เบ้ยี ประกันภยั จึงต่ำกว่าแบบ อ่นื ๆ และไม่มเี งินเหลอื คนื ให้หากผูเ้ อาประกนั ภยั มชี วี ิตอยู่จนครบกำหนดสัญญา ตวั อย่าง ประกนั ชีวิตแบบชว่ั ระยะเวลา เชน่ ประกันคมุ้ ครองสินเชื่อ (mortgage reducing term assurance - MRTA) ให้ความคุม้ ครองกรณีผู้เอาประกันภัยมี ภาระหนี้ โดยหากเกิดเหตุกับผู้เอาประกันภัยที่ทำให้เสียชีวิตหรือทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร ผู้รับ ประกันภัยจะชำระหนี้แก่เจ้าหนี้แทนผู้เอาประกันภัยตามเงินเอาประกันภัย ประกัน MRTA จะชว่ ยลดภาระหนบ้ี างส่วนทค่ี รอบครัวและลูกหลานต้องชำระต่อ หรือไมต่ ้องประสบปญั หาถูกยึด ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชีวิต 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ

86 ที่อยู่อาศัยเพื่อนำเงินไปชำระหนี้คืนเจ้าหนี้ ธนาคารจึงมักเสนอประกันภัยประเภทนี้แก่ลูกค้า เมื่อขอสินเชื่อที่อยู่อาศัยกับธนาคาร โดยมักจะกำหนดให้ลูกค้าทำประกันคุ้มครองวงเงิน สนิ เชื่อไม่ต่ำกวา่ 70% ของวงเงินสินเช่อื ประกัน MRTA จะตา่ งกบั ประกนั อนื่ ตรงที่ - จำนวนเงินเอาประกันภัยจะลดลงทุกปีตามยอดหนี้ที่ทยอย ลดลง และความคุม้ ครองส้นิ สดุ เม่อื ภาระหน้ีหมดลง - จ่ายค่าเบี้ยประกันภัยครั้งเดียว แต่หากชำระหนี้หมดก่อนครบ กำหนดคุม้ ครองสามารถขอเวนคนื กรมธรรมไ์ ด้ 1.2) ประกันชีวิตแบบตลอดชีพ (whole life) เป็นการประกันชีวิตท่ี บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้รับประโยชน์เมื่อผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต ภายในระยะเวลาเอาประกันภัย หรือหากผู้เอาประกันภัยมีอายุยืนยาวจนครบกำหนดสัญญา ผู้เอาประกันภัยจะได้รับจำนวนเงินเอาประกันภัย (ระยะเวลาเอาประกันชีวิตแบบตลอดชีพ กำหนดให้ครบกำหนดสัญญาเมื่อผูเ้ อาประกนั ภัยมีอายคุ รบ 90 ปี ถึง 99 ปี) วัตถุประสงค์เพอ่ื คุ้มครองการเสียชีวิต เพื่อให้บุคคลที่อยู่ในความอุปการะของผู้เอาประกันภัยได้รับเงินทุน จำนวนหนึ่งไว้สำหรับจุนเจือ หรือเป็นเงินทุนสำหรับการเจ็บป่วยครั้งสุดท้ายและค่าทำศพ เพ่อื ไมใ่ หต้ กเป็นภาระของคนอื่น 1.3) ประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ (endowment) เป็นการประกัน ชีวิตที่บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายจำนวนเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย เมื่อมีชีวิตอยู่ ครบกำหนดสัญญา หรือจ่ายเงินเอาประกันภัยให้แก่ผูร้ ับประโยชน์เมือ่ ผู้เอาประกันภยั เสียชีวิต ลงภายในระยะเวลาเอาประกันภัย วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองการเสยี ชีวิตและการออมทรพั ย์ โดยในส่วนของการออมทรัพย์ ผู้เอาประกันภัยได้รับเงินคืนในระหว่างสัญญาหรือเมื่อสัญญา ครบกำหนด 1.4) ประกันชีวิตแบบบำนาญ (annuity) เป็นการประกันชีวิตที่ บรษิ ัทประกนั ชีวิตจะจา่ ยเงินผลประโยชน์ตามทร่ี ะบุในสัญญาให้ผูเ้ อาประกันเป็นรายปีหรือราย เดือน นับแต่ผู้เอาประกันภัยเกษียณอายุ หรือมีอายุครบ 55 ปี หรือ 60 ปี เป็นต้นไป สำหรับ ชุดวชิ าการเงินเพอื่ ชีวติ 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ

87 ระยะเวลาการจ่ายเงินผลประโยชน์ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้เอาประกันภัย โดยบริษัท ประกันชีวิตจะเก็บเบี้ยประกันภัยจนถึงอายุหนึ่งซึ่งช่วงระยะเวลาที่เก็บเบี้ยประกันภัยจะอยู่ ในช่วงที่ทำงาน หรือช่วงก่อนเกษียณอายุ วัตถุประสงค์เพื่อให้ความคุ้มครองกรณีที่ผู้ เอาประกันภยั ที่คาดวา่ มอี ายยุ นื ยาว และตอ้ งการใหม้ เี งนิ ได้ประจำหลงั จากที่เกษียณอายุ เบีย้ ประกนั ชวี ติ เบี้ยประกันชีวิตมีความแตกต่างกันตามแบบประกัน เช่น ประกันชีวิตแบบ สะสมทรัพย์ เบี้ยประกันภัยจะแพงกว่าประกันชีวิตแบบชั่วระยะเวลาและแบบตลอดชีพ นอกจากนย้ี ังขึน้ อยูก่ บั ขอ้ มลู ของผู้เอาประกนั ภัยอกี ดว้ ย เช่น เพศ อายุ สญั ญาเพิม่ เติมกรมธรรม์ประกนั ชวี ติ เปน็ สัญญาเพ่มิ เติมทผี่ ู้เอาประกันภัย สามารถเลือกซอื้ เพิม่ เตมิ จากการซอ้ื ความค้มุ ครองจากกรมธรรมป์ ระกันชีวิต เช่น 1) สัญญาเพิ่มเติมความคุ้มครองความทุพพลภาพถาวรส้ินเชิง (สูญเสีย สมรรถภาพในการทำงานอันเกิดจากอุบัติเหตุ การเจ็บป่วยหรือเชื้อโรคทำให้ไม่สามารถ ประกอบหน้าที่การงานไดแ้ บบถาวร) เช่น สูญเสียสายตา มือหรือเท้าหรือทั้ง 2 ข้างหรืออย่างใด อย่างหนึ่งรวมกันตั้งแต่สองอย่างขึ้นไป สัญญาเพิ่มเติมนี้มักจะเพิ่มไว้ในกรมธรรม์ประกันชีวิต ให้โดยอตั โนมัติ และกำหนดผลประโยชนเ์ ท่ากบั จำนวนเงินเอาประกนั ภยั 2) สัญญาเพิ่มเติมความคุ้มครองโรคร้ายแรงและการเจ็บป่วยขั้นวิกฤต หากป่วยด้วยโรคร้ายแรงหรือขั้นวิกฤต มักจะมีค่ารักษาพยาบาลเป็นจำนวนสูง การทำ ประกันภัยเพื่อความคุ้มครองกรณีดังกล่าวจะช่วยแบ่งเบาภาระค่ารักษาลงได้ เช่น โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด ไตวาย ซึ่งผู้รับประกันภัยอาจทำเพิ่มเป็นอีกหน่ึง กรมธรรมไ์ ด้ 3) สัญญาเพิ่มเติมการประกันอุบัติเหตุ ให้ความคุ้มครองกรณีที่ ผู้เอาประกันภัยประสบอุบัติเหตุ เสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ รวมถึงให้ผลประโยชน์ด้านค่า รกั ษาพยาบาลจากการไดร้ ับอุบัติเหตุดว้ ย 4) สัญญาเพิ่มเติมการประกันสุขภาพ ให้ความคุ้มครองเมื่อต้องเข้าพัก รักษาตัวในโรงพยาบาล ซึ่งในสัญญาจะระบุรายการผลประโยชน์ที่จะได้รับ และจำนวนเงินที่ ชดุ วิชาการเงนิ เพือ่ ชวี ติ 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การวางแผนการเงิน

88 ผู้รับประกันภัยจะจ่ายให้ เช่น ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริการพยาบาล 1,000 บาทต่อวัน ค่าห้อง ผ่าตัด 4,000 บาทต่อการเข้ารับการรกั ษา 1 คร้งั แบบประกนั ภัยอ่ืน ๆ การประกันภัยรายย่อยหรือไมโครอินชัวรันส์ (micro insurance) คือ การประกันภัยสำหรบั ผู้มรี ายไดน้ อ้ ย - ปานกลาง ซง่ึ มลี ักษณะท่ีสำคญั ดงั นี้ - เบ้ียประกนั ภัยราคาไมแ่ พง - ความคุม้ ครองไมซ่ ับซ้อน เข้าใจง่าย - การขอรับเงนิ คา่ สนิ ไหมทดแทนไม่ยุ่งยาก - ชอ่ งทางการจำหนา่ ยหลากหลาย เข้าถึงประชาชนทกุ กลมุ่ - สามารถเปน็ เครือ่ งมือในการบรหิ ารความเสีย่ ง กรมธรรมป์ ระกนั ภัย 200 สำหรับรายยอ่ ย เปน็ ประกนั ภัยท่ีถูกออกแบบมา ให้เหมาะกับผู้มีรายได้น้อย มีขั้นตอนการซื้อง่ายเพียงใช้บัตรประชาชนพร้อมชำระ เบี้ยประกันภัยเพียง 200 บาท ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะได้รับใบรับรองการประกนั ภัย และได้รบั ความคุ้มครองทันทีเมื่อซื้อ โดยแบบประกันภัยนี้มีระยะเวลาคุ้มครอง 1 ปี สามารถต่ออายุ ปีถัดไปได้ ให้ความคุ้มครองกรณีเสียชีวิต การสูญเสียมือ เท้า สายตา หรือทุพพลภาพถาวร สิ้นเชิง เนื่องจากอุบัติเหตุหรือถกู ฆาตกรรม รวมถึงค่าใช้จา่ ยในการจัดงานศพกรณีเสยี ชีวิตจาก การเจบ็ ป่วย สามารถซ้อื ไดไ้ มเ่ กินคนละ 2 กรมธรรม์ สามารถซื้อได้ตามช่องทางการจำหน่ายต่าง ๆ เช่น บริษัทประกันภัยและ สาขาบริษัทประกันภัย ตัวแทนประกันชีวิต/ประกันวินาศภัย นายหน้าประกันชีวิต/ประกัน วินาศภยั 2. ประกันวินาศภัย คือ การประกันความสูญเสียหรือความเสียหายที่เกิดข้ึน ต่อชีวิตและทรัพย์สินของตนเองและบุคคลภายนอก รวมถึงความรับผิดต่อการบาดเจ็บและ เสยี ชวี ติ ของบคุ คลภายนอกอนั เนือ่ งมาจากอุบตั ิเหตุ แบง่ เปน็ 4 ประเภท 1) การประกันอัคคีภัย (fire insurance) คือ การประกันภัยที่คุ้มครอง ความสูญเสียหรือความเสียหายอันเกิดจากอัคคีภัยที่เกิดขึ้นแก่ทรัพย์สินที่เอาประกัน รวมถึง ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวติ 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การวางแผนการเงิน

89 ความเสียหายสืบเนื่อง ซึ่งภัยที่คุ้มครอง ได้แก่ ไฟไหม้ ฟ้าผ่า การระเบิดของแก๊สที่ใช้ใน ครัวเรอื น และความสูญเสยี หรือเสียหายจากสาเหตุใกลช้ ิดของอัคคภี ัย เช่น ทรัพย์สินท่ีเสียหาย จากนำ้ หรอื สารเคมที ีใ่ ช้ในการดบั เพลงิ ประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย ให้ความคุ้มครองการสูญเสียหรือ เสียหายของทรัพย์สินที่เอาประกันภัย ได้แก่ สิ่งปลูกสร้าง (บ้าน ทาวน์เฮ้าส์ ตึกแถวสำหรับ อยู่อาศัย โรงรถ กำแพง รั้ว ประตู ห้องชุดสำหรับอยู่อาศัยในแฟลต คอนโดมิเนียม ยกเว้นฐาน ราก) และทรัพยส์ นิ ภายในส่ิงปลูกสรา้ ง ที่เกดิ จาก 1) ไฟไหม้ ฟ้าผ่า (รวมถึงความเสียหายต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เกิดจากการ ลัดวงจรจากฟา้ ผ่า) ระเบิด ภัยจากการเฉีย่ ว และ/หรอื การชนของยานพาหนะหรือสัตว์พาหนะ ภัยจากอากาศยาน และ/หรือวัตถุที่ตกจากอากาศยาน ภัยเนื่องจากน้ำที่เกิดขึ้นโดยอุบัติเหตุ จากการปล่อยการรั่วหรือล้นออกมาของน้ำหรือไอน้ำ จากท่อน้ำ ถังน้ำ ฯลฯ ทั้งนี้ บริษัทจะ ชดใชต้ ามความเสยี หายที่เกิดขนึ้ จรงิ แตไ่ ม่เกนิ จำนวนเงินเอาประกนั ภยั 2) กลุ่มภัยธรรมชาติ ได้แก่ ภัยลมพายุ ภัยน้ำท่วม ภัยแผ่นดินไหว หรือ ภูเขาไฟระเบิด หรือคลื่นใต้น้ำ หรือสึนามิ และภัยจากลูกเห็บ ทั้งนี้ บริษัทจะชดใช้ตามความ เสยี หายทเ่ี กดิ ขนึ้ จรงิ ทกุ ภัยรวมกันแลว้ ไมเ่ กิน 20,000 บาท 3) การขยายความคุ้มครองค่าเช่าที่อยู่อาศัยชั่วคราว กรณีทรัพย์สินที่ เอาประกนั ภยั เป็นสงิ่ ปลกู สร้างและไดร้ ับความเสยี หายอันเนื่องจากภยั ตามขอ้ 1) 2) การประกนั ภัยรถยนต์ (automobile insurance) คือ การประกนั ภยั ทค่ี ุม้ ครองความสูญเสียหรือความเสียหายอันเกดิ จากการใช้รถยนต์ ไดแ้ ก่ • ความสูญเสียหรือเสียหายที่เกิดขึ้นกับรถยนต์ ได้แก่ ความเสียหาย บบุ สลาย หรอื สญู หายของตวั รถยนต์ • ความสูญเสียหรือเสียหายที่รถยนต์ก่อให้เกิดขึ้นแก่ชีวิต ร่างกายและ ทรัพยส์ ินของบคุ คลภายนอก รวมทั้งบคุ คลที่โดยสารอยูใ่ นรถยนต์ ประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (ประกันภัย พ.ร.บ.) เป็น ประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ ที่เจ้าของรถหรือผู้เช่าซื้อรถต้องจัดทำประกันภัยรถยนต์ ตาม ชดุ วชิ าการเงินเพือ่ ชวี ติ 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การวางแผนการเงิน

90 พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 มีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองให้ความช่วยเหลือ แก่ประชาชนผู้ประสบภัยจากรถที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตเพราะเหตุประสบภัยจากรถ โดย จ่ายชดใช้เป็นคา่ รักษาพยาบาลกรณีบาดเจบ็ หรือเป็นคา่ ทำศพในกรณเี สียชีวติ อย่างไรก็ดี การทำประกนั ภยั รถยนตภ์ าคบงั คับหรือประกนั ภัย พ.ร.บ. นี้ จะไม่คุ้มครองความเสียหายที่เกิดขึ้นกับรถยนต์ ดังนั้น ผู้ใช้รถจึงอาจเลือกทำประกันภัย รถยนต์เพมิ่ เติมได้ ซ่ึงเรยี กว่าประกนั ภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ แบ่งเปน็ 4 ประเภท • ประกันภัยรถยนต์ประเภท 1 (ประกันชั้น 1) ให้ความคุ้มครองชีวิต ร่างกายและทรัพย์สินของบุคคลภายนอก ความเสียหายของตัวรถ การสูญหายและไฟไหม้ ตวั รถยนต์ของผู้เอาประกนั ภยั • ประกันภัยรถยนต์ประเภท 2 (ประกันชั้น 2) ให้ความคุ้มครองชีวิต รา่ งกายและทรพั ยส์ ินของบุคคลภายนอก การสญู หายและไฟไหมต้ ัวรถยนต์ของผู้เอาประกันภัย • ประกันภัยรถยนต์ประเภท 3 (ประกันชั้น 3) ให้ความคุ้มครองชีวิต ร่างกายและทรพั ยส์ ินของบคุ คลภายนอก • ประกันภัยรถยนต์แบบคุ้มครองเฉพาะภัย (2+, 3+) ให้ความ คุ้มครองชีวิต ร่างกายและทรัพย์สินของบุคคลภายนอก ความเสียหายของตัวรถจากการชนกับ ยานพาหนะทางบก การสูญหายและไฟไหม้ตัวรถยนต์ของผู้เอาประกันภัย นอกจากนี้ ผู้เอาประกันภัยสามารถซื้อความคุ้มครองเพิ่มเติมสำหรับผู้ขับขี่และผู้โดยสารที่อยู่ในรถยนต์ คันเอาประกันภัยได้ โดยมีความคุ้มครองอุบัติเหตุส่วนบุคคล ความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาล และการประกันตัวผู้ขับขีใ่ นคดีอาญา 3) การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง (marine insurance) คือ การ ประกันภัยที่คุ้มครองความเสียหายของตัวเรือ สินค้าและทรัพย์สินที่อยู่ระหว่างการขนส่ง ทางทะเล รวมทง้ั พาหนะและสิ่งอนื่ ๆ ทีใ่ ช้ในการขนส่งดว้ ย และยังขยายขอบเขตความคุ้มครอง รวมไปถึงการขนสง่ ทางบก ทางอากาศ ซ่ึงต่อเนือ่ งกับการขนสง่ ทางทะเล ชุดวิชาการเงนิ เพอื่ ชีวิต 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงิน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook