Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดวิชาการเงิน 1 ระดับประถมศึกษา

ชุดวิชาการเงิน 1 ระดับประถมศึกษา

Published by Idear Sutthida, 2022-07-16 02:10:15

Description: ชุดวิชาการเงิน 1 ระดับประถมศึกษา

Search

Read the Text Version

191 กจิ กรรมที่ 3.3 ใหท้ ำเครอ่ื งหมาย ✓หนา้ ข้อท่ีเห็นว่าถกู ต้อง และทำเคร่ืองหมาย X หน้าข้อ ที่เหน็ ว่าไมถ่ ูกตอ้ ง X 1. ผู้ที่ต้องการโอนเงินผ่านระบบพร้อมเพย์ต้องไปลงทะเบียนกับธนาคารก่อนใช้ บริการ ✓ 2. หมายเลขโทรศัพท์ 1 หมายเลขสามารถผูกกับบัญชีเพื่อรับโอนเงินผ่านระบบ พรอ้ มเพยไ์ ด้เพียง 1 บัญชีเท่านน้ั ✓ 3. ร้านค้าต้องหมั่นตรวจเช็ค QR code ว่าเป็น QR code ของร้านค้าจริง (บัญชี ของร้านค้าที่ใช้รับเงิน) เพราะมิจฉาชีพอาจนำ QR code ปลอมมาปิดทับ เพอ่ื เอาเงนิ รา้ นค้าไป ✓ 4. ลูกค้าต้องไม่ลืมตรวจสอบจำนวนเงินที่โอนให้ถูกต้อง และตรวจชื่อผู้รับเงินให้ ตรงกับชอ่ื ท่รี ะบไุ ว้ที่ QR code ของรา้ นค้าก่อนยืนยันการจา่ ยเงนิ ทุกคร้ัง เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวติ 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศกึ ษา

192 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 การวางแผนการเงนิ กิจกรรมท้ายเร่ืองที่ 1 การวางแผนการเงิน 1. ใชต้ ัวเลอื กดงั ต่อไปนี้ เติมคำตอบทีถ่ กู ต้องลงในชอ่ งว่าง ก. วัยเดก็ ข. วยั ทำงาน ค. วัยสรา้ งครอบครัว ง. วัยชรา 1) .......ก. วยั เด็ก.....................เป็นวัยที่ยังไม่มีรายได้ และเหมาะแก่การบ่มเพาะนิสัยการ ใชจ้ ่ายอย่างสมเหตุสมผล เข้าใจความแตกต่างของ “จำเป็น” และ “อยากได”้ ให้รู้จัก ค่าของเงิน เก็บออม วางแผนใช้จา่ ยเงิน 2) .......ข. วัยทำงาน................เป็นวัยที่เริ่มมีรายได้เป็นของตนเอง มีอิสระในการใช้จ่าย ควรวางแผนการใช้จ่ายให้ดีโดยไม่ให้เกินรายได้ที่มีอยู่ ระมัดระวังการก่อหนี้ และควร เรมิ่ วางแผนการออมโดยกำหนดเปา้ หมายการออมใหช้ ัดเจน 3) .......ค. วัยสร้างครอบครัว...เป็นวัยที่รายได้เพิ่มขึ้นขณะเดียวกันรายจ่ายก็เพิ่มขึ้น เช่นกัน ต้องรับผิดชอบสมาชิกในครอบครัว และอาจมีภาระหนี้ที่ต้องจ่าย ต้องวางแผนการเงินอย่างรัดกุม ใช้จ่ายไม่ให้เกินงบ และควรวางแผนการเงินเพื่อ การศกึ ษาบตุ ร รวมทัง้ ลงมอื ทำตามแผนการเงินเพื่อใช้จ่ายในวัยชราอย่างจรงิ จงั 4) …....ง. วัยชรา......................เป็นวัยที่รายได้ลดลงหรือไม่มีรายได้เลย แต่รายจ่ายใน ชีวิตประจำวันยังมีอยู่ และอาจมีค่ารักษาพยาบาลเพิ่ม ควรวางแผนใช้จ่ายให้ไม่เกิน เงนิ ทีม่ อี ยู่ แตท่ างทดี่ ีควรออมเงนิ เพือ่ ใชใ้ นยามชราต้ังแต่ยังหนุ่มสาว เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรอื่ ง ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศึกษา

193 2. กรณีศกึ ษา นางมาลีต้องการซื้อโทรศัพท์มือถือเครื่องใหม่ แต่มีเงินไม่พอ จึงไปปรึกษานาง มาลาว่าควรทำอย่างไร นางมาลาเขียนขั้นตอนการวางแผนการเงินเพื่อซื้อมือถือให้แก่นางมาลี ท้ังหมด 5 ขั้นตอนในเศษกระดาษจำนวน 5 แผ่น แต่ระหว่างทางกลับบ้าน นางมาลีทำเศษกระดาษหล่นทำให้ขั้นตอนวางแผน การเงนิ เพือ่ ซ้ือมอื ถือสลับขอ้ กัน โดยเศษกระดาษท้ังหมดมีขอ้ ความดงั น้ี ก. ปฏบิ ัติตามแผนการออมอย่างเครง่ ครดั ไม่เผลอนำเงินไปซอื้ อยา่ งอ่นื ข. วางแผนการเงนิ ว่าจะออมเงินวันละหรือเดอื นละเทา่ ไร เพือ่ ใหไ้ ด้เงนิ ตามจำนวนที่ตั้งเป้าหมายไว้ ค. ต้ังเป้าหมายว่าจะซอ้ื มอื ถอื ราคากบ่ี าทและจะซ้อื เมอื่ ไร ง. หากทำตามแผนไมไ่ ด้ กใ็ หป้ รบั แผนใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์ จ. ดเู งินเก็บและหน้ีทีม่ ีตอนน้ี เพื่อประเมนิ ฐานะการเงิน จากกรณศี ึกษา ให้เรียงลำดบั ข้นั ตอนวางแผนการเงินเพือ่ ซอื้ มือถอื ของนางมาลลี งใน ชอ่ งวา่ ง ตอบ ขัน้ ตอนที่ 1: จ. ดูเงนิ เก็บและหน้ีท่ีมตี อนนี้ เพอ่ื ประเมินฐานะทางการเงิน ขน้ั ตอนท่ี 2: ค. ตั้งเป้าหมายวา่ จะซ้ือมือถือราคาก่ีบาทและจะซอื้ เม่อื ไร ขั้นตอนท่ี 3: ข. วางแผนการเงนิ วา่ จะออมเงนิ วนั ละหรือเดือนละเท่าไรเพอ่ื ใหไ้ ด้ เงินตามจำนวนทต่ี ้งั เป้าหมายไว้ ขั้นตอนท่ี 4: ก. ปฏบิ ตั ติ ามแผนการออมอย่างเคร่งครัด ไมเ่ ผลอนำเงนิ ไปซ้อื อยา่ งอื่น ขนั้ ตอนที่ 5: ง. หากทำตามแผนไมไ่ ด้ ก็ให้ปรับแผนใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่อง ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชีวิต 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศกึ ษา

194 กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 2 การประเมินฐานะการเงิน 1. การประเมนิ ฐานะการเงินที่สำคัญมอี ะไรบา้ ง ใหอ้ ธิบาย ตอบ 1) รู้ฐานะการเงนิ คำนวณหาความมงั่ คั่งสุทธิ ซึ่งก็คือ มลู คา่ ทเี่ หลืออยูห่ ลังจาก ที่นำทรัพย์สินทั้งหมดลบด้วยหนี้สินทั้งหมด โดยความมั่งคั่งสุทธิจะบอกฐานะที่แท้จริงของ เราวา่ มสี นิ ทรพั ยท์ ่เี ป็นของเราจริง ๆ เท่าไร 2) รู้พฤติกรรมการใช้จ่าย จากการบันทึกรายรับ-รายจ่าย จะทำให้ทราบถึง ลักษณะของรายรับและนสิ ัยการใชจ้ า่ ยของผู้บนั ทกึ 2. ใหค้ ำนวณความม่งั ค่งั สทุ ธิของนางมาลี คำนวณมูลคา่ สินทรพั ย์ทั้งหมดของนางมาลี โดยแยกประเภทของสินทรัพยต์ ามตาราง ตอบ สินทรัพย์ 1. สนิ ทรัพย์สภาพคล่อง เงนิ สด 2,000 บาท บญั ชเี งนิ ฝากออมทรัพย์ 10,000 บาท รวม 12,000 บาท 2. สินทรพั ย์เพอื่ การลงทุน กองทนุ รวม 12,000 บาท บญั ชเี งนิ ฝากประจำ 22,000 บาท สลากออมทรัพย์ 5,000 บาท รวม 39,000 บาท เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชีวิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศึกษา

195 3. สนิ ทรพั ย์สว่ นตัว บ้านทใ่ี ช้เปน็ ที่อยอู่ าศยั 900,000 บาท รถยนต์ส่วนตวั 150,000 บาท รวม 1,050,000 บาท รวมมูลคา่ ทรพั ยส์ ินท้ังหมด 1,101,000 บาท คำนวณมูลค่าหน้ีสินทัง้ หมดของนางมาลี โดยแยกประเภทของหนตี้ ามตาราง ตอบ หนี้สิน 1. หนี้สินระยะสน้ั หนบ้ี ตั รกดเงินสด 5,000 บาท รวม 5,000 บาท 2. หนี้สนิ ระยะยาว หน้ีบ้าน 700,000 บาท หน้ีรถยนต์ 100,000 บาท รวม 800,000 บาท รวมมลู ค่าหนี้สินทงั้ หมด 805,000 บาท คำนวณความมง่ั คงั่ สทุ ธิของนางมาลี ตอบ 1,101,000 - 805,000 = 296,000 บาท เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชวี ิต 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศกึ ษา

196 3. ให้ทำเครื่องหมาย ✓ หน้าความหมายของรายจ่ายที่เป็น “รายจ่ายจำเป็น” และให้ทำ เครื่องหมาย X หนา้ ความหมายของรายจ่ายที่เป็น “รายจา่ ยไม่จำเป็น” ตอบ 1) ✓ รายจา่ ยทีจ่ ะตอ้ งจา่ ย เพราะมผี ลต่อการดำรงชีวติ 2) X รายจา่ ยท่จี ะจ่ายหรือไมจ่ ่ายกย็ งั สามารถมีชวี ติ อยู่ได้ 3) ✓ คา่ รกั ษาพยาบาล 4) X คา่ เหล้า 5) ✓ ค่าอาหาร คา่ ทีอ่ ยอู่ าศยั 6) ✓ คา่ เทอม 7) X คา่ หวย 4. ใหค้ ำนวณรายรับ-รายจา่ ยของนางมาลี โดยนางมาลมี ีรายรบั และค่าใชจ้ ่ายดังน้ี 1) ให้นำรายรับและค่าใช้จ่ายของนางมาลีจากด้านบนมาบันทึกลงในตารางด้านล่าง โดยแยกประเภทใหถ้ ูกต้อง พร้อมกบั คำนวณยอดรวมของแต่ละประเภท รายการ รายรับ เงนิ ออม รายจ่าย จำเปน็ ไมจ่ ำเปน็ เงินเดือน 20,000 รายได้พเิ ศษ 2,000 เงินออม 1,000 ค่าหวย 3,000 คา่ เดินทาง 4,000 ค่าผ่อนหน้ีบตั รกดเงินสด 450 ค่าสาธารณปู โภค 2,000 ค่าผ่อนบ้าน 5,500 ค่าอาหาร 4,000 คา่ ผ่อนรถยนต์ 3,900 รวม 22,000 1,000 19,850 3,000 เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชีวิต 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศกึ ษา

197 2) ให้จัดทำสรุปรายรับ-รายจ่าย โดยนำยอดรวมที่ได้จากข้อ 1) มาใส่ตามรายการ ดา้ นลา่ งและคำนวณผลลัพธใ์ ห้ถูกตอ้ ง ตอบ ยอดรวมรายรับ 22,000 บาท หกั ยอดรวมเงนิ ออม 1,000 บาท หกั ยอดรวมรายจา่ ยจำเป็น 19,850 บาท หกั ยอดรวมรายจ่ายไมจ่ ำเป็น (หวย) 3,000 บาท + คงเหลอื / -ใชเ้ กนิ - 1,850 บาท 3) วิเคราะห์รายรบั -รายจ่ายของนางมาลี รายรบั และเงินออม รายรบั 22,000 บาท เงินออม 1,000 บาท รายรบั ส่วนใหญ่มาจากเงินเดือนจำนวน 20,000 บาท มีความสามารถในการออมได้ 1,000 บาท ซึ่งเป็น และมีรายได้พิเศษ 2,000 บาท ซึ่งต้องวางแผน ประโยชน์ต่อการวางแผนการออม อย่างไรก็ดี ใช้เงนิ วา่ เงินที่ไดร้ บั นั้นจะต้องใช้อีกกี่วัน จงึ จะได้รับ ถอื ว่าออมน้อยเกินไปเพราะออมตำ่ กวา่ 25% หรือ เงินรอบใหม่ หากมีค่าใชจ้ ่ายเกดิ ขึ้นในวันที่ยังไม่ได้ เรม่ิ ท่ี 10% กอ่ นกไ็ ด้ (2,200 บาท) รับเงิน จะนำเงินส่วนไหนออกมาใช้จ่าย และหาก จำเป็นต้องหารายได้เพ่ิมเติมจากแหลง่ ใด รายจ่าย รายจา่ ยจำเป็น 19,850 บาท รายจา่ ยไม่จำเป็น 3,000 บาท ให้ทบทวนรายจ่ายจำเป็นว่า ทุกรายการเป็น ได้แก่ ค่าหวย ถ้าสามารถลดได้เหลือ 1,150 บาท รายจ่ายจำเป็นท้งั หมดจรงิ หรอื ไม่ หากบางรายการ จะช่วยให้เงินไม่ติดลบ (รายรับ 22,000 บาท = สามารถลดหรือซื้อของที่ถูกกว่ามาทดแทนได้ ก็ควร เงินออม 1,000 บาท + รายจ่ายจำเป็น 19,850 ลองลดหรือซ้ือของทถ่ี กู กวา่ มาใช้แทน บาท + รายจ่ายไม่จำเป็น 1,150 บาท) หรือหาก เลิกซื้อหวยไปเลยกจ็ ะมีเงนิ เหลือ 1,150 บาท เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรอื่ ง ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศกึ ษา

198 5. ลักษณะของการมีสุขภาพการเงนิ ที่ดีมีอะไรบ้าง ตอบ 1) มสี ดั ส่วนภาระผอ่ นหนี้ตอ่ รายได้ไม่เกิน 33% 2) มีสัดส่วนเงินออมตอ่ รายได้อยา่ งน้อย 25% 3) มีเงินออมเผ่ือฉุกเฉินอย่างนอ้ ย 3-6 เทา่ ของรายจ่ายจำเป็นและภาระผ่อนหนี้ตอ่ เดือน กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 3 การตั้งเป้าหมายและจัดทำแผนการเงิน 1. ขอ้ ใดคอื ประโยชนข์ องการมเี ป้าหมายการเงนิ ง. ถูกทุกข้อ (ทำให้จัดทำแผนการเงนิ ได้งา่ ยขึ้น ทำให้เกิดความมุ่งมั่นและบรรลุสิ่งท่ีต้องการ งา่ ยขนึ้ และทำให้คำนงึ ถงึ อุปสรรคท่ีอาจทำให้ไม่บรรลุเปา้ หมายท่ีต้ังไว้) 2. ขอ้ ใดต่อไปน้คี ือเปา้ หมายระยะสน้ั ข. ฉันจะเกบ็ เงนิ 1,000 บาททกุ เดือนเปน็ ระยะเวลา 1 ปี เพ่อื ซือ้ แว่นตาใหพ้ อ่ 3. ข้อใดตอ่ ไปนค้ี ือเปา้ หมายระยะยาว ค. ฉันจะเกบ็ เงิน 1,000 บาททกุ เดอื นเปน็ ระยะเวลา 10 ปี เพือ่ เปน็ เงนิ ดาวน์รถ 4. ขอ้ ใดต่อไปนกี้ ล่าวถกู ต้องเกีย่ วกับการจดั ทำแผนการออมเงิน ง. ถกู ทุกขอ้ (ควรมเี ปา้ หมายวา่ จะนำไปทำอะไร ควรระบรุ ะยะเวลาในการเก็บออมที่ ชดั เจน ควรระบุว่าจะเกบ็ เงินจำนวนเทา่ ไร) 5. นารวี างแผนออมเงนิ เพ่อื ซอื้ โทรศัพท์เครอ่ื งใหม่ ราคา 12,000 บาท โดยวางแผนเกบ็ เงิน ออมเปน็ ระยะเวลา 12 เดือน นารตี อ้ งออมเงินเดือนละเทา่ ไร ง. เดอื นละ 1,000 บาท เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเร่ือง ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศึกษา

199 กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 4 การออม 1. ข้อใดตอ่ ไปนถี้ ือว่าเปน็ การออม ง. ถกู ท้งั ขอ้ ข. และ ค. (ซือ้ สลากออมทรพั ย์ หยอดเงินใสก่ ระปุกออมสิน) 2. ข้อใดอธิบายถึงหลักการออมไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ก. เมอื่ มีรายได้ ให้แบง่ ไปออมก่อน ทเี่ หลือจงึ ไวใ้ ช้จา่ ย 3. ข้อใดต่อไปนเ้ี ปน็ ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการออม ง. ถกู ทุกขอ้ (นำไปใช้เมอื่ เกิดเหตุฉกุ เฉนิ นำไปเป็นเงนิ ทนุ เพื่อทำกิจการของตนเอง นำไปลงทนุ ซอื้ หอ้ งแถวให้เชา่ ) กจิ กรรมทา้ ยเรื่องที่ 5 การฝากเงิน การประกนั ภยั 1. ใหพ้ ิจารณาลกั ษณะของบัญชีเงินฝากด้านล่างว่าเป็นลักษณะของบัญชเี งนิ ฝากประเภทใด จากนั้นให้นำหมายเลขมาใส่ในตารางให้ถูกต้อง (แต่ละบัญชีสามารถมีหมายเลขซ้ำกัน ได)้ บัญชเี งินฝาก บญั ชีเงินฝากประจำ บัญชีเงินฝากประจำ บัญชเี งนิ ฝากประจำ ออมทรัพย์ ทัว่ ไป ปลอดภาษี แบบขน้ั บนั ได 5, 7, 8 2, 4, 9 1, 3, 9, 10 2, 4, 6, 9 ลักษณะของบญั ชีเงินฝาก 1. ต้องฝากต่อเนอื่ งในจำนวนทีเ่ ทา่ กนั ทุก ๆ 2. มรี ะยะเวลาการฝากหลายแบบ เชน่ เดือน เดอื นละ 1 คร้ัง เป็นเวลาไม่นอ้ ย 3 เดือน 6 เดือน 12 เดอื น กวา่ 24 เดอื น 3. เป็นบัญชเี งนิ ฝากประจำท่ีได้รับยกเว้น 4. เสยี ภาษีหกั ณ ท่ีจา่ ย 15% ภาษี แต่เปิดได้เพยี งบัญชเี ดยี ว 5. สามารถฝากหรือถอนเงนิ เม่อื ไรกไ็ ด้ 6. ในแต่ละช่วงเวลาการฝาก ดอกเบ้ยี จะ ค่อย ๆ เพมิ่ สูงขน้ึ ส่วนใหญ่เดอื นสดุ ทา้ ย อัตราดอกเบยี้ จะสงู ที่สดุ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรอ่ื ง ชุดวชิ าการเงินเพือ่ ชีวิต 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l ระดับประถมศึกษา

200 7. เหมาะกบั การใช้เปน็ บัญชีเพ่ือรบั 8. ถา้ ดอกเบีย้ รบั ไมเ่ กิน 20,000 บาท เงินเดอื น/ค่าจา้ ง ไมต่ อ้ งเสยี ภาษี ณ ท่ีจา่ ย 15% ของ ดอกเบ้ยี ท่ไี ดร้ บั (รวมรับจากทกุ สถาบัน การเงินใน 1 ป)ี 9. เปน็ บัญชเี ก็บออมเพ่ือเพม่ิ รายไดจ้ าก 10. ขาดฝากได้ไม่เกนิ 2 ครั้ง ดอกเบี้ย และไมม่ คี วามจำเปน็ ที่จะใชเ้ งิน ในช่วงระยะเวลาหน่งึ 2. ผลติ ภณั ฑ์ใดดังต่อไปนี้เปน็ ผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้รับการคมุ้ ครองจากสถาบนั คมุ้ ครองเงินฝาก โดยทำเครอื่ งหมาย ✓หน้าขอ้ ความท่ถี ูกต้อง และทำเครือ่ งหมาย X หนา้ ข้อความที่ ไม่ถกู ตอ้ ง ✓ 1. เงนิ ฝากออมทรพั ย์ ✓ 2. บัตรเงินฝาก X 3. เงนิ ฝากที่เป็นเงนิ ตราตา่ งประเทศ X 4. เงนิ ฝากระหว่างสถาบนั การเงิน ✓ 5. เงนิ ฝากประจำ ✓ 6. เงินฝากกระแสรายวัน X 7. เงนิ ฝากในสหกรณ์ X 8. กองทนุ รวม ✓ 9. เงินฝากใน “บัญชีรว่ ม” หรอื “บญั ชีเพ่ือ” ✓ 10. ใบรบั ฝากเงนิ X 11. สลากออมทรพั ย์ X 12. พนั ธบตั รรัฐบาล X 13. ห้นุ กู้ X 14. ตว๋ั แลกเงนิ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรื่อง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวติ 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศกึ ษา

201 3. ให้เลือกคำตอบท่ีถกู ตอ้ งทีส่ ุดเพียงคำตอบเดียว 1) ขอ้ ใดต่อไปนีก้ ล่าวถูกต้อง ก) การทำประกันภยั เปน็ การโอนความเส่ียงในอนาคตไปให้ผูร้ บั ประกันภัย 2) ข้อใดต่อไปน้เี ป็นการประกันวนิ าศภัย ก) ประกนั ภยั รถยนต์ 3) ลักษมีต้องการทำประกันภัยเพื่อที่ว่าหากรถยนต์เกิดอุบัติเหตุจะได้ไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมรถ หรือรถสูญหาย หรือไฟไหม้ตัวรถยนต์ และคุ้มครอง ชีวติ รา่ งกายและทรัพย์สินของบุคคลภายนอกด้วย ลกั ษมคี วรทำประกนั ภยั แบบใด ค) ประกันภยั รถยนตภ์ าคสมัครใจประเภท 1 4) ประกันภยั ประเภทใดทีเ่ หมาะกบั ผ้มู ีรายได้น้อย ก) ประกนั ภยั 200 สำหรับรายยอ่ ย เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชวี ิต 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศกึ ษา

202 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 สินเชื่อ กจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 1 ประเมนิ ความเหมาะสมกอ่ นการตัดสินใจก่อหนี้ กิจกรรมท่ี 1.1 เลอื กคำตอบทเ่ี ห็นวา่ ถกู ตอ้ ง 1. หนี้ใดต่อไปนเ้ี ป็นหนด้ี ี ก) ขอกเู้ งินเพอื่ มาเปดิ อู่รบั ซอ่ มรถยนต์ 2. หนี้ใดตอ่ ไปนี้เปน็ หน้ีพึงระวงั ก) สมชายขอกู้เงินเพอ่ื ไปเทย่ี วเมอื งนอก 3. ภาระผอ่ นหน้ีตอ่ เดือนไมค่ วรเกนิ เทา่ ใด ก) 1 ใน 3 (33%) ของรายได้ต่อเดือน เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรอื่ ง ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวิต 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศกึ ษา

203 กิจกรรมที่ 1.2 อ่านโจทย์ด้านล่างนี้ แล้วทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่องที่เหน็ ว่าเป็นคำตอบ ที่มีเหตผุ ลสมควรท่ีจะก่อหนี้ หรือควรรอเกบ็ เงนิ เพ่อื ทำในสิ่งท่ีต้องการ โจทย์ มีเหตุผลสมควร ควรรอเก็บเงนิ ทีจ่ ะกอ่ หนี้ 1. สมปองและภรรยาทำงานบริษัทอยู่ในตัวเมือง แต่ ✓ บ้านอยู่ย่านชานเมอื ง ในแต่ละวันต้องนั่งรถประจำ ทางหลายต่อ ปจั จบุ ันภรรยากำลังตั้งทอ้ ง จึงเริ่มไม่ สะดวกในการเดนิ ทางระยะไกล สมปองจงึ อยากจะ ซื้อรถยนตม์ ือสองไว้ขบั รบั ส่งภรรยาไปทำงาน และ เผอื่ ไวฉ้ กุ เฉินตอ้ งพาภรรยาไปโรงพยาบาล 2. น้ำเพ็ชรอยากทำศัลยกรรมปรับรูปหน้าของตนเอง ✓ ซึ่งต้องใช้เงินประมาณ 40,000 บาท จึงกำลังดูว่า จะกูเ้ งนิ มาทำศลั ยกรรมหรอื ไม่ 3. สายใจเปิดร้านเสริมสวย ลูกค้าเริ่มแน่นร้าน ✓ จึงอยากจะขยับขยายร้านเพื่อรับลูกค้าได้มากขึ้น ซึ่งต้องซื้ออุปกรณ์เสริมสวยเพิ่ม และจ้างคนงาน อกี 1 คน เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวชิ าการเงินเพอื่ ชีวิต 1 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l ระดับประถมศกึ ษา

204 กจิ กรรมท้ายเร่อื งท่ี 2 ลกั ษณะของสินเชอื่ รายยอ่ ยและการคำนวณดอกเบ้ีย ให้นำหมายเลขข้อด้านล่างมาใส่ในช่อง “ลักษณะ” โดยให้มีความสัมพันธ์กับผลิตภัณฑ์ ทางดา้ นซา้ ยมอื 1. ผ่อนชำระไดน้ านถึง 25 - 30 ปี 2. ควรมีเงนิ ดาวน์อยา่ งนอ้ ย 20% 3. คดิ ดอกเบี้ยแบบเงนิ ต้นคงที่ (flat rate) 4. วงเงินเกิน 50,000 บาท ต้องจัดทำสัญญากู้เงินอย่างน้อย 2 สัญญา ไม่เกินสัญญาละ 50,000 บาท 5. คดิ อัตราดอกเบี้ย ค่าปรับ คา่ บริการ และค่าธรรมเนยี ม รวมกนั ไม่เกนิ 25% ต่อปี 6. ผู้ใชบ้ ริการตอ้ งมีเงินเดือนข้ันต่ำ 15,000 บาท 7. คดิ อตั ราดอกเบ้ยี ค่าปรับ ค่าบริการ และคา่ ธรรมเนียม รวมกนั ไม่เกนิ 33% ต่อปี 8. ไดร้ บั ระยะเวลาปลอดดอกเบี้ย 45 - 56 วัน เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรอื่ ง ชุดวชิ าการเงินเพือ่ ชีวิต 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศึกษา

205 9. คิดอัตราดอกเบี้ย ค่าปรับ ค่าบริการ และค่าธรรมเนียม รวมกันไม่เกิน 28% ต่อปี หรือ 36% ต่อปี ขนึ้ อยู่กบั วงเงินที่ได้รับ 10. คิดอตั ราดอกเบ้ีย คา่ ปรบั คา่ บรกิ าร และคา่ ธรรมเนยี ม รวมกนั ไม่เกิน 16% ต่อปี 11. วงเงนิ ข้นึ อยกู่ บั รายได้แต่สูงสุดไม่เกิน 5 เท่าของรายได้ตอ่ เดือน 12. วงเงนิ ไมเ่ กนิ 100,000 บาทตอ่ ราย 13. ใช้บัตรซื้อสินค้าและบริการแทนการใช้เงินสด และไม่เสียดอกเบี้ยถ้าจ่ายตรงเวลาและ เต็มจำนวน 14. กรรมสทิ ธจิ์ ะตกเป็นของผู้เช่าซอ้ื เม่ือชำระเงินครบตามจำนวน 15. มักใชอ้ ัตราดอกเบ้ียลอยตวั (float rate) เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรือ่ ง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศึกษา

206 กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 3 วธิ กี ารปอ้ งกนั ปญั หาหน้ี อ่านพฤติกรรมตามโจทย์ที่ให้ต่อไปนี้ และวิเคราะห์ว่าเป็นพฤติกรรมที่ดีหรือควรปรับปรุง พร้อมทง้ั ระบเุ หตผุ ล พฤตกิ รรม ดี ควร เหตุผล ปรบั ปรุง 1. มุกมีรายได้ 15,000 บาท ✓ ภาระผ่อนหนี้ไม่ควรเกิน 1 ใน 3 ของ ปจั จบุ ันผ่อนรถเดือนละ 8,000 บาท รายได้ต่อเดือน ในกรณีนี้คือ 5,000 บาท (15,000 ÷ 3) ดังนั้น มุกควรพยายาม ลดรายจ่าย หรือหารายได้เพิ่ม เพื่อนำ เงินมาลดภาระหนี้ (เช่น โปะหน้ี) เพื่อให้ภาระหนต้ี อ่ เดือนลดลง 2. ปว๋ิ แบ่งเงนิ สว่ นหน่งึ ท่ีกู้มา ✓ ควรนำเงนิ ไปใช้ใหต้ รงตามวตั ถุประสงค์ เพอ่ื เปิดร้านขายชานมไข่มุก (ถ้ารถยนต์ไม่มีประโยชน์ต่อการ นำไปซ้ือรถยนตม์ าไวข้ ับ ประกอบอาชีพก็ไม่ควรซื้อมาตั้งแต่แรก หรือควรนำไปขาย เพื่อนำเงินมาใช้ใน ก า ร ท ำ ร ้ า น อ า ห า ร อ ย ่ า ง เ ต ็ ม เ ม็ ด เตม็ หน่วย และสร้างรายได้ในอนาคต) 3. ทบั ทิมเหน็ ยอดรวมในใบแจง้ หน้ี ✓ ควรตรวจสอบความถูกต้องของใบแจ้งหน้ี เทา่ ไรก็จ่ายตามนั้น เพราะขี้เกียจ และใบเสร็จรับเงิน หากพบว่ารายการ ตรวจรายการใช้จ่ายยาวเหยียด เรียกเก็บหนี้ไม่ถูกต้องควรรีบติดต่อ เจา้ หน้ีเพือ่ ดำเนนิ การตรวจสอบโดยเร็ว 4. เตไ้ ดร้ ับโบนัสและนำเงินไป ✓ เพื่อจะได้ไม่ต้องแบกภาระดอกเบ้ีย ชำระหนี้ท้งั หมดทนั ที แต่ต้องตรวจสอบก่อนว่ามีค่าปรับใน การชำระหนี้ก่อนกำหนดด้วยหรือไม่ ถ้ามีให้ลองคำนวณก่อนว่าคุ้มหรือไม่ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรือ่ ง ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ติ 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l ระดับประถมศึกษา

207 พฤตกิ รรม ดี ควร เหตผุ ล ปรบั ปรุง ที่จะจ่ายค่าปรับเมื่อเปรียบเทียบกับ ดอกเบ้ยี ท่ีจะประหยัดได้ 5. มะลยิ ้ายบ้านหลายเดือนแล้ว ✓ ควรแจ้งเจ้าหนี้ทราบหากเปลี่ยนแปลง แตย่ ุ่ง ๆ เลยยงั ไมไ่ ด้ไปแจ้งเปลี่ยนท่ี ท่อี ยู่ เพ่ือไม่ใหข้ าดการติดตอ่ โดยเฉพาะ อย่กู ับธนาคารสักที เรื่องทีส่ ำคัญ กิจกรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 4 วธิ ีการแก้ปญั หาหนีด้ ้วยตนเอง ไพรวัลย์มีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 10,000 บาท ปัจจุบันมีหนี้บัตรผ่อนสินค้าอยู่ 40,000 บาท ซ่ึง ไพรวลั ยอ์ ยากจะปลดหนี้ให้หมดโดยเรว็ จงึ เลอื กวิธีลดรายจ่าย แตย่ งั ไม่รวู้ ่าจะลดค่าใชจ้ ่ายอะไร ได้บ้าง ทำเคร่อื งหมาย ✓ ในชอ่ งท่ีเห็นวา่ เป็นค่าใช้จา่ ยท่คี วรลด หรอื ควรงด คา่ ใชจ้ ่าย ควรลด ควรงด ค่าเหลา้ สงั สรรค์ทกุ วันศกุ ร์ ✓ ค่านำ้ ค่าไฟ ✓ คา่ โทรศพั ท์มือถือ ✓ ค่าอาหาร ✓ ค่าหวย ✓ ค่าบุหร่ี ✓ ค่าใช้จ่ายที่ควรงด เป็นสิ่งเสพติดและการพนัน จึงควรงดหรือเลิกให้ได้ จะทำให้มีเงินจำนวน มากขึ้นเพียงพอที่จะนำไปชำระหน้ีได้ ส่วนค่าใช้จ่ายที่ควรลดให้พิจารณาว่าได้ใช้หรือจ่ายเงิน มากเกินความจำเป็นหรือไม่ ถ้าใช่ ใหพ้ ยายามลดการใชล้ งจนเหลอื เพียงเทา่ ทจี่ ำเป็นต้องใช้ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวิชาการเงินเพ่ือชีวิต 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศกึ ษา

208 กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 5 หนว่ ยงานท่ีให้คำปรึกษาวธิ ีการแก้ไขปญั หาหน้ี อา่ นสถานการณใ์ นแตล่ ะข้อตอ่ ไปนี้ และตอบคำถามใหถ้ กู ต้อง 1. สมหวังไปกู้ยมื เงินจากธนาคาร A ต่อมาสมหวังมีปญั หาไมส่ ามารถชำระหนีไ้ ด้ แต่สมหวังไม่ รูจ้ ะแก้ไขปัญหาหนข้ี องตนเองอยา่ งไร กรณีดงั กลา่ วน้ี ท่านคิดว่าสมหวังควรขอคำปรึกษาไปยังหนว่ ยงานใด ตอบ ศูนยค์ มุ้ ครองผูใ้ ช้บริการทางการเงนิ (ศคง.) ธนาคารแหง่ ประเทศไทย 2. สายใจหลวมตวั ไปกยู้ ืมเงนิ จากนายบซี ่ึงเป็นเจา้ หนีน้ อกระบบ คิดดอกเบี้ยสงู ถงึ 365% ตอ่ ปี ทำใหเ้ งนิ ที่จา่ ยไปหมดไปกับการจา่ ยดอกเบย้ี ท่านคิดว่าสายใจควรขอคำปรึกษาหรือร้องเรียนหน่วยงานใด (สามารถตอบได้มากกว่า 1 หนว่ ยงาน) ตอบ ตวั อยา่ งหนว่ ยงาน 1) ศูนย์รับแจ้งการเงินนอกระบบ กระทรวงการคลงั โทร. 1359 2) ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้และประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม สังกัดกระทรวงยุติธรรม โทร. 0 2575 3344 3. วัลลภเช่าซื้อรถยนต์จากบริษัทมั่งมี ต่อมามีปัญหาค้างชำระ 3 งวดติดต่อกัน บริษัทมั่งมีจึง ได้มีหนังสือติดต่อให้ไปชำระหนี้ภายใน 30 วัน มิฉะนั้นจะยกเลิกสัญญา วัลลภก็ยังไม่ยอมจ่าย อยู่ดี ในที่สุด บริษัทได้ส่งเจ้าหน้าที่มายึดรถ โดยเข้ามากระชากกุญแจรถและทำร้ายร่างกาย วัลลภ จากสถานการณ์น้ีวลั ลภควรรอ้ งเรยี นไปที่ใด (สามารถตอบไดม้ ากกวา่ 1 หนว่ ยงาน) ตอบ หากมีการกระทำดังกล่าวให้แจ้งความดำเนินคดี และร้องเรียนตาม พ.ร.บ. การทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 โดยสามารถร้องเรยี นไดท้ ่ีกรมการปกครอง สถานีตำรวจทอ้ งที่ สำนักงานเศรษฐกิจ การคลัง กองบญั ชาการตำรวจนครบาล ที่ทำการปกครองจังหวดั และที่ว่าการอำเภอ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรือ่ ง ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชวี ติ 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศึกษา

209 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 สทิ ธแิ ละหน้าทขี่ องผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงิน กจิ กรรมท้ายเรอื่ งที่ 1 สิทธิของผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงนิ 1. ข้อใดไม่ใช่สิทธิของผใู้ ช้บริการทางการเงนิ ง) สทิ ธทิ ี่จะได้รบั ค่าชดเชยหากผู้ใชบ้ ริการเป็นผทู้ ำผิดพลาด 2. สมใจกดเงนิ ทตี่ ู้เอทเี อม็ 1,500 บาท แตไ่ ดร้ ับเงนิ เพยี ง 1,400 บาท สมใจรีบติดตอ่ ธนาคารเพอ่ื แจง้ ปญั หาและขอใหธ้ นาคารคืนเงินจำนวน 100 บาท การกระทำของสมใจตรงกบั สทิ ธขิ องผูใ้ ชบ้ รกิ ารทางการเงินข้อใด ง) สิทธิท่ีจะไดร้ บั คา่ ชดเชยหากเกิดความเสยี หาย เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่อื ง ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชีวติ 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศกึ ษา

210 กจิ กรรมท้ายเรือ่ งที่ 2 หนา้ ทีข่ องผู้ใช้บรกิ ารทางการเงนิ จงเขยี นเครื่องหมายถกู (√) หน้าขอ้ ทเ่ี ปน็ หนา้ ที่ของผ้ใู ชบ้ ริการทางการเงิน และ เขียน เครื่องหมายผดิ (X) หน้าขอ้ ท่ีไมใ่ ช่หนา้ ทีข่ องผู้ใช้บริการทางการเงิน ✓ 1. จดบันทกึ รายรับ-รายจ่ายของตนเองอย่เู สมอ  2. อยากใช้เงนิ ก็ใช้ ไม่ต้องวางแผนก่อนใช้ให้เสียเวลา ✓ 3. ตง้ั เปา้ หมายทางการเงนิ ของตนเองให้ชดั เจนและอย่บู นพื้นฐานความเปน็ จริง ✓ 4. ติดตามข่าวสารทางการเงินอยู่เสมอ โดยเฉพาะในเรื่องการถูกหลอกลวงทางการเงิน เพอื่ ปกปอ้ งทรพั ย์สินของตนเอง ✓ 5. เมื่อตอ้ งใชบ้ รกิ ารทางการเงนิ ต้องหาขอ้ มูลเปรียบเทียบ ทำความเข้าใจ ก่อนตัดสินใจใช้ บรกิ ารอยู่เสมอ ✓ 6. อา่ นรายละเอยี ดสัญญาธรุ กรรมทางการเงินทุกครง้ั ให้เขา้ ใจกอ่ นเซ็นสญั ญา  7. หากเป็นสัญญาเงินกคู้ ำ้ ประกนั ของเพื่อน ไมจ่ ำเปน็ ต้องอา่ นสัญญาเน่ืองจากรู้จกั กันอยูแ่ ล้ว  8. หากจะใช้บรกิ ารทางการเงนิ ของธนาคารที่มีชอ่ื เสียง ไม่จำเปน็ ตอ้ งหาข้อมูลเปรียบเทียบ เน่อื งจากธนาคารเลือกสงิ่ ท่ดี ที ่ีสดุ มาใหแ้ ลว้  9. ภยั ทางการเงินไม่มีทางเกดิ ขึน้ กบั เรา ดงั น้นั ไม่จำเปน็ ตอ้ งติดตามข่าวสารทางการเงิน ✓ 10. หลงั จากฝากเงินเขา้ บญั ชี เราตอ้ งตรวจสอบความถกู ตอ้ งของยอดเงินทกุ ครัง้ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ิต 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศกึ ษา

211 กิจกรรมท้ายเรื่องที่ 3 ผ้ใู ห้บริการทางการเงินในประเทศไทย จงเขียนเครอื่ งหมายถูก √ หนา้ ขอ้ ทถ่ี กู ตอ้ ง และเขยี นเคร่ืองหมายผิด X หนา้ ขอ้ ที่ไม่ถกู ต้อง ✓ 1. ก.ล.ต. กำกับดแู ลบริษัทหลักทรัพยจ์ ัดการกองทุน ✓ 2. สถาบันการเงินเฉพาะกิจ หมายถึง สถาบันการเงินของรัฐที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น เพื่อดำเนินการตามนโยบายของรัฐในการพัฒนาส่งเสริมเศรษฐกิจ และสนับสนุนการ ลงทุนตา่ ง ๆ  3. บรษิ ทั ประกันภัยอยูภ่ ายใตก้ ารกำกบั ดแู ลของกระทรวงมหาดไทย ✓ 4. บริษัทบริหารสนิ ทรัพย์อย่ภู ายใต้การกำกบั ดูแลของธนาคารแหง่ ประเทศไทย  5. ผปู้ ระกอบธุรกิจบัตรเครดติ อย่ภู ายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานเศรษฐกจิ การคลัง กจิ กรรมท้ายเรื่องท่ี 4 บทบาทหน้าทดี่ ้านการคมุ้ ครองผู้ใชบ้ ริการทางการเงินของธนาคารแห่ง ประเทศไทย และหน่วยงานทร่ี ับเร่อื งรอ้ งเรยี นอืน่ ๆ จงเติมพยญั ชนะจบั คู่หนว่ ยงานทท่ี า่ นต้องการตดิ ตอ่ หากต้องการขอคำปรึกษาหรอื รอ้ งเรยี น ให้ถูกตอ้ ง ก. สำนักงานคณะกรรมการกำกบั หลกั ทรพั ย์และตลาดหลกั ทรัพย์ (ก.ล.ต.) ข. สำนักงานคณะกรรมการกำกับและสง่ เสริมการประกอบธุรกจิ ประกันภยั (คปภ.) ค. สำนักงานเศรษฐกจิ การคลัง (สศค.) ง. สำนกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค (สคบ.) ....ค.... 1. ร้องเรียนการให้บริการของบรษิ ทั ที่ใหส้ นิ เช่อื พโิ กไฟแนนซ์ ....ข... 2. ตอ้ งการทราบข้ันตอนการขอยกเลิกกรมธรรม์ประกันชวี ิต ....ก..... 3. รอ้ งเรยี นบรษิ ทั ที่เสนอขายหลักทรัพยใ์ ห้ขอ้ มลู ไม่ถูกตอ้ ง ....ง.... 4. ร้องเรียนเกี่ยวกบั สัญญาเชา่ ซ้ือรถไมเ่ ป็นธรรม ซึ่งเปน็ เร่ืองการคมุ้ ครองผบู้ ริโภค เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศึกษา

212 กจิ กรรมท้ายเรื่องที่ 5 ขน้ั ตอนการร้องเรียนและหลักการเขียนหนงั สอื รอ้ งเรียน จงเขยี นเครือ่ งหมายถกู √ หนา้ ข้อท่ีถูกต้อง และเขยี นเคร่ืองหมายผิด X หนา้ ข้อที่ไม่ถกู ตอ้ ง  1. ธนาคารแจ้งยอดชำระหนี้ไม่ถูกต้อง ให้ร้องเรียนมาที่ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทาง การเงนิ ไดท้ ันที ✓ 2. เงินฝากในบัญชีธนาคารสูญหาย โดยร้องเรียนไปที่ธนาคารแล้วแต่ไม่มีความคืบหน้า สามารถร้องเรียนมาทศ่ี ูนยค์ ุ้มครองผใู้ ช้บริการทางการเงนิ ไดเ้ ลย ✓ 3. เขยี นหนังสือร้องเรยี น ใหเ้ ลา่ เฉพาะเหตกุ ารณท์ ่สี ำคัญ เรยี งลำดับเหตุการณก์ อ่ นหลงั  4. เขียนหนงั สอื ร้องเรียน ไม่จำเป็นต้องระบุชื่อนามสกุลจรงิ ก็ได้ ✓ 5. เขียนหนังสอื รอ้ งเรียนแลว้ ต้องแนบเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับเรอ่ื งท่รี อ้ งเรียนดว้ ย เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวชิ าการเงินเพ่ือชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l ระดับประถมศึกษา

213 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ภัยทางการเงนิ กิจกรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 1 หนน้ี อกระบบ 1. ข้อใดต่อไปนเี้ ปน็ กลโกงหนนี้ อกระบบ ง. ถกู ทกุ ข้อ 2. พฤติกรรมใดตอ่ ไปนจ้ี ะช่วยใหเ้ ราไม่ตกเปน็ เหย่ือหนน้ี อกระบบ ก. หากจำเป็นตอ้ งกู้ จะไปกกู้ บั ธนาคาร 3. สมใจได้ไปกู้หนี้นอกระบบ 3,000 บาท กำหนดใช้คืนภายใน 7 วัน แต่สมใจไม่สามารถ หาเงินมาคนื ได้ทัน จึงถกู ทวงหนพี้ ร้อมคา่ ปรบั ท่สี ูงมาก สมใจควรทำอย่างไร ข. ไปกหู้ น้ีในระบบท่ดี อกเบย้ี ต่ำกวา่ เพือ่ มาใชห้ นี้คา้ งชำระ กจิ กรรมท้ายเรือ่ งท่ี 2 แชร์ลกู โซ่ 1. เต้ถูกเพื่อนสนิทชวนให้เป็นตัวแทนขายสินค้าแบรนด์ใหม่ โดยจ่ายค่าสมาชิกแรกเข้าจะ ได้สินคา้ ชุดพิเศษ พร้อมรอรบั เงินปันผลทุกอาทิตย์ และหากหาเพื่อนมาเปน็ สมาชกิ เพิม่ ก็จะได้เงินปันผลเพิ่ม หรือหากจ่ายค่าสมาชิกสูงขึ้นเพื่อเลื่อนระดับเป็นแม่ทีม ก็จะได้ ปนั ผลเปน็ สองเทา่ โดยไมต่ ้องขายสินค้าเลย จากเหตุการณ์ขา้ งต้นเป็นลักษณะของกลโกงใด ข. แชรล์ ูกโซใ่ นคราบธุรกิจขายตรง 2. มาลีถูกชักชวน่ให้ร่วมลงทุนเพื่อซื้อลอตเตอรี่ไปจำหน่าย เนื่องจากได้ราคาที่ถูกมาก จะได้ผลตอบแทนทุก 15 วัน แค่เพียงลงเงินก็จะได้ค่าตอบแทน โดยไม่ต้องไปขายเอง จากเหตกุ ารณ์ขา้ งตน้ เปน็ ลกั ษณะกลโกงใด ก. แชรล์ กู โซ่หลอกให้ลงทนุ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชีวติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศกึ ษา

214 3. ทำอยา่ งไรเพอ่ื ป้องกนั ภัยจากแชรล์ กู โซ่ ง. ถูกทุกข้อ (ไม่โลภไปกับผลตอบแทนหรือสินค้าราคาถูกเกินจริง ศึกษาที่มาที่ไปก่อน ตดั สินใจลงทุน ตดิ ตามขา่ วสารการเตอื นภัยการเงนิ เปน็ ประจำ เพ่อื ให้รเู้ ท่าทัน) 4. หากไมแ่ นใ่ จว่าเปน็ แชรล์ ูกโซ่หรอื ไม่ ควรปรึกษาหนว่ ยงานใด ค. ศนู ย์รบั แจ้งการเงนิ นอกระบบ กระทรวงการคลงั กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 3 ภยั ใกล้ตวั กิจกรรมที่ 3 ศกึ ษากรณีตัวอย่างทีก่ ำหนดให้ และตอบคำถามต่อไปน้ี จากกรณตี ัวอย่าง เราจะมีวิธีการปอ้ งกนั ตนเองอย่างไร ตอบ 1) ไม่โลภ ไม่อยากได้เงินรางวัลที่ไม่มีที่มา หากมีคนเสนอให้ ควรสงสัยไว้ก่อนว่าอาจ เป็นภัยทางการเงิน 2) ศึกษาหาข้อมูล ก่อนเซ็นสัญญา ตกลงจ่ายเงิน หรือโอนเงินใหใ้ คร ควรศึกษาขอ้ มลู เงอ่ื นไข ขอ้ ตกลง ความนา่ เชื่อถือและความนา่ จะเป็นไปได้ก่อน 3) อ้างใคร ถามคนนั้น อ้างถึงใครให้สอบถามคนนั้น เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย โทร. 1213 กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) โทร. 1202 ธนาคาร บริษัทประกันที่ถูกอ้างถึง สามารถดเู บอร์โทรศัพทไ์ ด้จากเวบ็ ไซต์ของผู้ประกอบธุรกิจนนั้ ๆ 4) สงสัยให้ปรึกษา ควรหาที่ปรึกษาที่ไว้ใจได้ หรือปรึกษาเกี่ยวกับภัยทางการเงินได้ที่ ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) โทร. 1213 และศูนย์รับแจ้งการเงินนอกระบบ โทร. 1359 5) ติดตามข่าวสารกลโกงเปน็ ประจำ เพอื่ รู้เทา่ ทนั เล่หเ์ หลย่ี มกลโกง เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอื่ ง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศึกษา

215 กิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 4 แกง๊ คอลเซนเตอร์ กจิ กรรมท่ี 4.1 ศกึ ษากรณีตัวอยา่ งเพ่ือตอบคำถามขอ้ ที่ 1 – 3 กรณตี วั อย่าง กรง๊ิ เดียว...เงินก็หายได้ 1. จากกรณตี วั อยา่ ง เปน็ ลกั ษณะของกลโกงประเภทใด ตอบ แกง๊ คอลเซนเตอร/์ หลอกวา่ เปน็ หนีบ้ ัตรเครดติ 2. หากไม่ตอ้ งการตกเปน็ เหยอ่ื เหมือนสมชาย จะมีวิธีปอ้ งกันอยา่ งไร ตอบ 1) คิดทบทวน ว่าเรื่องราวที่ได้ยินมามีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหน เคยทำธุรกรรม กับหน่วยงานทถ่ี กู อา้ งถงึ หรือไม่ หรือเคยเข้าร่วมชงิ รางวลั กับองคก์ รไหนจรงิ หรอื เปล่า 2) ไม่รู้จัก ไม่คุ้นเคย ไม่ให้ข้อมูล ทั้งข้อมูลส่วนตัว เช่น เลขที่บัตรประชาชน วัน/ เดือน/ปเี กิด และขอ้ มลู ทางการเงิน เชน่ เลขทบี่ ัญชี รหสั กดเงิน 3) ไม่ทำรายการที่เครื่องเอทีเอ็มตามคำบอก แม้คนที่โทรมาจะบอกว่าเป็นเจ้าหน้าที่ ของรัฐหรือสถาบันการเงิน เพราะหน่วยงานของรัฐและสถาบันการเงินไม่มีนโยบายสอบถาม ขอ้ มลู ส่วนตัวของประชาชนหรือลูกค้าผา่ นทางโทรศัพท์ สำหรับการคนื ภาษี มีเพียง 2 วิธเี ทา่ น้ัน คือ โอนผา่ นระบบพร้อมเพยท์ ี่ลงทะเบียนดว้ ยเลขประจำตวั ประชาชน และสง่ เปน็ เช็คธนาคาร 4) ตรวจสอบข้อมูลก่อนโอนเงิน สอบถามสถาบันการเงินหรือหน่วยงานที่ถูกอ้างถึง โดยตรง โดยติดตอ่ ฝา่ ยบริการลูกค้า (call center) หรือสาขาของสถาบนั การเงินนน้ั ๆ ดว้ ยตนเอง 3. หากสมชายตกเปน็ เหย่ือแก๊งคอลเซนเตอร์แลว้ ควรทำอยา่ งไร ตอบ 1) ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของธนาคารต้นทาง (บัญชีของเราที่ใช้โอน เงินไปให้มิจฉาชีพ) และธนาคารปลายทาง (บัญชีของมิจฉาชีพ) เพื่อระงับการโอนและถอนเงนิ โดยรวบรวมเอกสารเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการขอระงับการโอนและถอนเงิน ทั้งนี้ แต่ละ สถาบันการเงินมีวิธปี ฏิบัติทแ่ี ตกต่างกนั ควรติดต่อสอบถามขั้นตอนจากสถาบันการเงนิ โดยตรง เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอ่ื ง ชุดวิชาการเงินเพื่อชวี ิต 1 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศึกษา

216 2) แจ้งสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (สำนักงาน ปปง.) สายด่วน โทร. 1710 หรือเวบ็ ไซต์ https://www.amlo.go.th/ กจิ กรรมท่ี 4.2 หากมีคนโทรมาบอกวา่ โอนเงินผิดมาทบ่ี ัญชีเรา เราควรทำอย่างไร ตอบ • ไม่ต้องรีบโอนคืนทันทีหากมีคนติดต่อมาให้โอนกลับหรือโอนต่อไปอีกบัญชีหนึ่ง เพราะอาจเปน็ มจิ ฉาชพี มาใช้บญั ชีของเราเปน็ ทางผา่ นในการกระทำผดิ กฎหมาย • ควรสอบถาม call center หรือสาขาของธนาคารที่เรามีบัญชีอยู่ ให้ดำเนินการ ตรวจสอบรายละเอียด • หากตรวจสอบกับเจ้าหน้าที่ธนาคารแล้วเป็นเงินที่โอนผิดบัญชีมาจริง ให้เราไปที่ ธนาคารเพื่อเซ็นยินยอมให้ธนาคารดำเนินการโอนกลับไปยังบัญชีต้นทางต่อไป (อย่าโอนกลับ ด้วยตนเอง) กจิ กรรมทา้ ยเรื่องที่ 5 ภยั ออนไลน์ กจิ กรรมที่ 5 ศึกษากรณีตวั อย่างต่อไปน้ี แล้วตอบคำถามในขอ้ 1 – 3 1. จากกรณตี วั อย่าง เปน็ ลกั ษณะของกลโกงประเภทใด ตอบ ภยั ออนไลน/์ เงนิ กู้ออนไลน์ 2. หากไมต่ ้องการตกเปน็ เหยอ่ื เหมือนนายชัย จะมีวธิ ปี อ้ งกนั อยา่ งไร ตอบ 1) คิดทบทวนว่าเร่ืองท่ีเจอหรอื ไดย้ นิ มามีความน่าเชอื่ ถือมากน้อยแคไ่ หน หากโอนเงิน ไปแลว้ มีโอกาสได้เงินก้อนตามท่ตี ้องการกู้หรอื ไม่ 2) ตรวจสอบข้อมูลก่อนโอนเงิน หากอ้างถึงบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรใด ๆ ควร ติดต่อสอบถามบคุ คลนัน้ หรอื องค์กรนัน้ ๆ โดยตรง 3) ติดตามข่าวสารกลโกงเป็นประจำ เพ่อื ร้เู ทา่ ทันเลห่ ์เหล่ยี มกลโกง เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่อื ง ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศึกษา

217 3. ในกรณนี ี้ นายชยั ควรแกไ้ ขปัญหานี้อย่างไร ตอบ 1) ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของธนาคารเพื่อระงับการโอนและถอนเงิน โดยรวบรวมเอกสารเพื่อเป็นข้อมูลประกอบด้วย ทั้งนี้ แต่ละธนาคารมีวิธีปฏิบัติที่แตกต่างกัน ควรติดตอ่ สอบถามขั้นตอนจากธนาคารโดยตรง 2) แจ้งความดำเนินคดีที่สถานีตำรวจท้องที่ที่เกิดเหตุเพื่อติดตามคนร้าย หรือปรึกษา ได้ท่ี ศนู ย์ปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ โทร. 1599 กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 6 ภยั ธนาคารออนไลน์ 1. ขอ้ ใดตอ่ ไปนกี้ ล่าวถูกตอ้ ง ง. ถูกทุกข้อ (ไม่ติดตั้งหรือดาวน์โหลดโปรแกรมแปลก ๆ ลงในโทรศัพท์มอื ถือ ไม่คลิกลิงก์ท่ี ได้จากแหล่งที่ไม่รู้จักหรือไม่รู้ที่มาที่ไป ตรวจสอบชื่อบัญชีอีเมล/ชื่อผู้ส่งก่อนเปิดทุกคร้ัง ไม่ควรเปิดหากสง่ มาจากคนทเ่ี ราไม่ร้จู ัก) 2. การกระทำใดตอ่ ไปนี้ ทีท่ ำใหต้ กเปน็ เหย่ือภยั ธนาคารออนไลน์ ข. เต้บอกรหัส OTP ให้กับเจ้าหน้าทีธ่ นาคารทโ่ี ทรมาขอ 3. ข้อใดต่อไปนี้เป็นวธิ ีป้องกันภยั ธนาคารออนไลน์ ก. หลีกเลี่ยงการทำธุรกรรมทางการเงินผ่านอนิ เทอร์เนต็ สาธารณะ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชุดวชิ าการเงินเพื่อชีวิต 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศกึ ษา

218 กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 7 ภัยบตั รอเิ ลก็ ทรอนิกส์ กิจกรรมที่ 7 ศึกษากรณีตวั อย่างเพ่อื ตอบคำถามขอ้ ที่ 1 - 3 1. จากกรณตี วั อย่าง เป็นลักษณะของกลโกงประเภทใด ตอบ ขโมยข้อมูลในบัตรแถบแม่เหล็กผ่านเคร่ือง skimmer 2. หากไมต่ ้องการตกเป็นเหยอ่ื ในลักษณะน้ี จะมวี ธิ ีป้องกนั อยา่ งไร ตอบ 1) ไม่บอกข้อมูลส่วนตัวแก่บุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็นรหัสบัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต หรือ ขอ้ มลู ทางการเงิน หรอื ใหค้ นอื่นทำธุรกรรมแทน 2) สงั เกตเครือ่ งเอทีเอ็ม วา่ มสี ิง่ แปลกปลอมตดิ อย่ทู ช่ี ่องสอดบัตร แป้นกดตัวเลข และ บริเวณโดยรอบวา่ มกี ลอ้ งขนาดจิว๋ แอบดูการกดรหสั หรือไม่ 3) เปลี่ยนรหัสผ่านอย่างน้อยทุก 3 เดือน หรือบ่อยกว่า โดยรหัสผ่านจะต้องเดายาก เป็นความลับ แตเ่ จ้าของบัตรตอ้ งจำได้ 4) อยู่ในระยะที่มองเห็นการทำรายการเมื่อใช้บัตรที่ร้านค้า เพื่อป้องกันพนักงานนำ บัตรไปรดู กบั เครอื่ งขโมยขอ้ มูล 5) ตรวจสอบใบบันทึกรายการของบัตรเอทีเอ็มทุกครั้ง และควรเก็บไว้เพื่อเป็น หลักฐานในการตรวจสอบ 6) ตรวจสอบรายการใช้จา่ ยของบตั รเครดติ อย่างสม่ำเสมอ 7) แจ้งธนาคารผู้ออกบัตรทันที หากมรี ายการผิดปกติ 3. หากเราตกเป็นเหยอื่ เราควรแก้ไขปัญหาอย่างไร ตอบ 1) ทบทวนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วรีบติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของ ธนาคารเพื่ออายัดบตั รและขอทราบวิธกี ารและขั้นตอนการแกไ้ ขปญั หา ทั้งนี้ แตล่ ะธนาคารมีวิธี ปฏบิ ตั ทิ ีแ่ ตกตา่ งกนั ไป 2) รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น ตำแหน่งที่ตั้งเครื่องเอทีเอ็ม และไปแจ้งความ ณ สถานตี ำรวจในทอ้ งทท่ี ่ีเกิดเหตุ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรอื่ ง ชุดวิชาการเงินเพ่อื ชวี ิต 1 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศกึ ษา

219 บรรณานกุ รม ตลาดหลักทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย. (2553). การบริหารการเงินส่วนบคุ คล. กรุงเทพฯ: ตลาด หลกั ทรพั ยแ์ ห่งประเทศไทย. ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2559). รู้รอบเรอื่ งการเงิน. กรุงเทพฯ: ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. พ.ต.ท. มนุพัศ ศรีบญุ ลือ. (2562). หลกั สูตรการบูรณาการเพอ่ื ป้องกนั อาชญากรรมทาง เศรษฐกิจ ประจำปี 2562: Fraud in E-Banking. ศูนยส์ ง่ เสรมิ การพัฒนาความรตู้ ลาดทนุ ตลาดหลกั ทรพั ย์แห่งประเทศไทย. (2553). หลักสูตร วางแผนการเงิน: ชุดที่ 1 พน้ื ฐานการวางแผนการเงนิ . กรุงเทพฯ: ตลาด หลักทรัพยแ์ ห่งประเทศไทย. Australian Securities and Investment Commission. (2012). Managing Your Money. Australia: Australian Securities and Investment Commission. Commission for Financial Capability. (2014). Set Your Goals. New Zealand: Commission for Financial Capability. Securities and Exchange Board of India. (2011). Financial Education for Middle Income. Mumbai: Securities and Exchange Board of India. The Investor Education Center. (2014). Financial Planning. Hong Kong: The Investor Education Center. บรรณานุกรม ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชีวติ 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศกึ ษา

220 แหลง่ อ้างองิ ออนไลน์ ตลาดหลกั ทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2558) การวางแผนการเงินคืออะไร. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้ จาก: https://www.set.or.th/education/th/start/start_start.pdf. (วนั ท่ี คน้ ข้อมูล: 22 เมษายน 2559). ศนู ยป์ ระสานการรกั ษาความม่ันคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ประเทศไทย (ไทยเซิร์ต). เตอื น ภยั มลั แวร์ CTB Locker ระบาดหนกั ท่ัวโลก เรียกคา่ ไถ่ผูใ้ ชง้ านในการกไู้ ฟล์ ทถี่ ูกเข้ารหัสลับ. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก: https://www.thaicert.or.th/alerts/user/2015/al2015us001.html (วนั ท่ี คน้ ข้อมลู : 7 กรกฎาคม 2558). ศูนย์ประสานการรกั ษาความม่นั คงปลอดภยั ระบบคอมพิวเตอรป์ ระเทศไทย (ไทยเซริ ต์ ). CryptoLocker: เรอ่ื งเก่าทถ่ี ูกเอามาเลา่ ใหม่. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://www.thaicert.or.th/papers/technical/2013/pa2013te011.html (วันทคี่ ้นข้อมูล: 7 กรกฎาคม 2558). บรรณานุกรม ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชวี ติ 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศกึ ษา

221 ขอขอบคุณ กรมธนารักษ์ สถาบนั คุ้มครองเงนิ ฝาก สำนักงานคณะกรรมการกำกับและสง่ เสริมการประกอบธุรกจิ ประกันภัย สำนกั งานคณะกรรมการกำกบั หลกั ทรัพย์และตลาดหลักทรพั ย์ ชุดวชิ าการเงินเพื่อชวี ิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564) l ขอบคุณ

222 คณะผจู้ ัดทำ คณะท่ปี รึกษา เลขาธิการ กศน. สำนักงาน กศน. นายสุรพงษ์ จำจด รองเลขาธกิ าร กศน. สำนกั งาน กศน. นายประเสริฐ หอมดี ผเู้ ช่ยี วชาญเฉพาะด้านพฒั นาหลกั สตู ร นางศุทธินี งามเขตต์ ผู้อำนวยการศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน นางชนาธปิ จริยาวโิ รจน์ ธนาคารแห่งประเทศไทย ผอู้ ำนวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบ นางตรีนชุ สขุ สุเดช และการศึกษาตามอธั ยาศยั ผ้บู ริหารสว่ น สว่ นส่งเสริมการใหค้ วามร้ทู างการเงิน นางสาวชญานิน พนมยงค์ ธนาคารแห่งประเทศไทย คณะทำงาน ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นายพชิ ญา สฤษเนตร ธนาคารแห่งประเทศไทย นางสาวจฬุ าลกั ษณ์ พบิ ูลชล ธนาคารแห่งประเทศไทย นางสาวนริ ัชรา ปัญญาจักร ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นางสาวจันทร์ธดิ า พวั รตั นอรุณกร สถาบนั กศน.ภาคเหนอื นางอบุ ลรตั น์ มโี ชค สำนักงาน กศน.จังหวดั สุรินทร์ นางวมิ ลพรรณ กุลตั ถ์นาม สำนักงาน กศน. จังหวดั พษิ ณุโลก นางอนงค์ ฉันทโชติ สำนักงาน กศน. จังหวัดพิจติ ร นางอมรา เหลา่ วชิ ยา กศน.เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร นายบญุ ชนะ ล้อมสิรอิ ดุ ม กศน.เขตหนองแขม กรงุ เทพมหานคร นายธณลั ธวิ รรธน์ ภคพฑั วัฒนฐากรู กศน.อำเภอเมอื ง จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน นางมณั ฑนา กาศสนกุ กศน.อำเภอเมือง จังหวดั อทุ ยั ธานี นางสาวอนงค์ ชูชัยมงคล คณะผู้จัดทำ ชุดวชิ าการเงินเพือ่ ชวี ิต 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศึกษา

223 คณะทำงาน (ตอ่ ) กศน.อำเภอพล จงั หวัดขอนแกน่ นางยพุ ิน อาษานอก กศน.อำเภอพล จงั หวัดขอนแก่น นางพสิ มยั คำแก้ว กศน.อำเภอหางดง จังหวดั เชียงใหม่ นางกมลวรรณ มโนวงศ์ กศน.อำเภอสะเดา จงั หวัดขอนแกน่ นางสุพัตรา ณ วาโย กศน.อำเภอเมือง จงั หวัดกำแพงเพชร นางสาวพจนยี ์ สวสั ดิรตั น์ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา นางกลั ยา หอมดี ตามอธั ยาศัยกลมุ่ เป้าหมายพเิ ศษ ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษารงั สติ นางสาวมนทา เกรียงทวีทรัพย์ หน่วยศึกษานิเทศก์ นางสาวจรรยา สงิ ห์ทอง กลุ่มพฒั นาระบบการทดสอบ นางพรรณทิพา ชนิ ชชั วาล กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา นายสุรพงษ์ มนั่ มะโน ตามอธั ยาศัย กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา นางญานศิ า สขุ อดุ ม ตามอธั ยาศัย กลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป์ ตามอธั ยาศัย กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา นางสาววรรณพร ปทั มานนท์ ตามอัธยาศยั กลุม่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา นางสาวสลุ าง เพ็ชรสวา่ ง ตามอธั ยาศยั กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา นางกมลทพิ ย์ ช่วยแกว้ ตามอธั ยาศัย กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา นางสาวทพิ วรรณ วงคเ์ รอื น ตามอัธยาศยั คณะผู้จัดทำ ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ิต 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564) l ระดับประถมศึกษา

คณะทำงาน (ตอ่ ) 224 นางวรรณี ศรีศริ ิวรรณกลุ กลุม่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา นางสาวชาลินี ธรรมธษิ า ตามอัธยาศัย กลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา นางสาวชมพูนท สังข์พิชัย ตามอัธยาศยั กล่มุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา คณะบรรณาธิการ ตามอัธยาศัย นางชนาธปิ จรยิ าวโิ รจน์ ผอู้ ำนวยการศูนย์คมุ้ ครองผู้ใช้บริการทางการเงิน นางสาวชญานิน พนมยงค์ ธนาคารแห่งประเทศไทย ผ้บู ริหารส่วน สว่ นสง่ เสริมการให้ความรูท้ างการเงิน นายพชิ ญา สฤษเนตร ธนาคารแห่งประเทศไทย นางสาวจฬุ าลักษณ์ พิบูลชล ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นางสาวนริ ชั รา ปญั ญาจกั ร ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นางสาวจนั ทร์ธิดา พวั รตั นอรณุ กร ธนาคารแห่งประเทศไทย ผู้ออกแบบปก ธนาคารแห่งประเทศไทย นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป์ กลุม่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศัย คณะผูจ้ ดั ทำ ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 1 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2564) l ระดบั ประถมศกึ ษา

225 รายช่อื คณะทำงานปรบั ปรงุ หลักสูตรและสือ่ การเรยี นรูร้ ายวชิ าการเงินเพ่ือชวี ิต (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2564) คณะทป่ี รกึ ษา เลิศลาภวศนิ ผู้อำนวยการอาวุโส ฝา่ ยส่งเสริมความรทู้ างการเงนิ นายสมชาย ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ผู้อำนวยการ ฝ่ายส่งเสริมความรูท้ างการเงิน นายนรศิ พุกกะมาน ธนาคารแห่งประเทศไทย รองผอู้ ำนวยการ นางสาวชญานนิ พนมยงค์ สว่ นกลยทุ ธก์ ารส่งเสริมความรทู้ างการเงนิ 1-3 ธนาคารแหง่ ประเทศไทย คณะทำงาน พิบูลชล นางสาวจฬุ าลักษณ์ สายสุด ธนาคารแห่งประเทศไทย นางสาวนารีรัตน์ ธรรมไพศาล ธนาคารแห่งประเทศไทย นางศริ นิ ทร์ พรเกษมศาสตร์ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นางสาวผุสดี ธนาคารแห่งประเทศไทย คณะบรรณาธกิ าร เลิศลาภวศนิ ผอู้ ำนวยการอาวโุ ส ฝา่ ยส่งเสรมิ ความรทู้ างการเงิน นายสมชาย ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นายนรศิ พุกกะมาน ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นางสาวชญานนิ พนมยงค์ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นางสาวจฬุ าลักษณ์ พบิ ูลชล ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นางสาวนารรี ตั น์ สายสุด ธนาคารแห่งประเทศไทย นางศิรินทร์ ธรรมไพศาล ธนาคารแห่งประเทศไทย นางสาวผุสดี พรเกษมศาสตร์ คณะทำงานปรับปรุงหลักสูตรและสอื่ การเรียนรู้ ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชวี ิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศึกษา

226 คณะทำงานปรับปรุงหลกั สตู รและสอื่ การเรยี นรู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 1 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) l ระดับประถมศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook