Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว 4.8

(4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว 4.8

Published by agenda.ebook, 2020-10-29 10:15:48

Description: (4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว 4.8 การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 1-2 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่สอง) วันที่ 4-5 พฤศจิกายน 2563

Search

Read the Text Version

๑๔๗ ข้อมูลพันธ์ุข้าวของธนาคารเช้ือพันธุข์ า้ ว ๑) รายละเอียดเชอื้ พันธุข์ ้าวทจ่ี ัดเกบ็ ในธนาคารเชอื้ พันธขุ์ ้าว มีจานวนเชื้อพันธ์ุข้าวทั้งสิ้น ๒๔,๘๕๒ เชื้อพันธ์ุ รายละเอียดการให้บริการเมล็ดพันธ์ุข้าว แกห่ นว่ ยงาน นกั วิชาการและผู้สนใจ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓) ๑ มกราคม ๒๕๖๑ ถึง ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๑ จานวน/ครัง้ จานวน/เชอ้ื พนั ธ์ุ ลาดบั ชอื่ หนว่ ยงานทีข่ อรับบริการ ๒ ๑๘๒ ๑ ๓๖ ๑ ศูนย์วจิ ยั ข้าวสกลนคร ๑ ๘๘ ๒ ศูนย์วิจัยข้าวพระนครศรอี ยุธยา ๑ ๒๒ ๓ กองวจิ ัยและพัฒนาข้าว ๔ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (วิทยาเขต ๑ ๖๔ ๑ ๑ บางเขน) ๗ ๓๙๓ ๕ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ๖ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี ๑ ๔๘ ๔ ๑๐ รวม ๑ ๑ ๑ มกราคม ๒๕๖๒ ถงึ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖๒ ๓ ๕ ๑ ๑๓ ๑ กองวิจยั และพฒั นาข้าว ๑ ๓๑ ๒ ศูนย์วิจัยขา้ วฉะเชิงเทรา ๑ ๖ ๓ ศูนยว์ จิ ยั ข้าวเชยี งราย ๑ ๑๒ ๔ ศนู ยว์ จิ ัยขา้ วปทุมธานี ๑ ๔ ๕ ศูนยว์ ิจัยขา้ วพระนครศรอี ยธุ ยา ๑ ๒ ๖ ศูนยว์ จิ ยั ข้าวพัทลงุ ๑ ๗ ๗ ศนู ย์วจิ ัยข้าวราชบุรี ๑ ๑ ๘ ศูนยว์ จิ ัยข้าวลพบรุ ี ๑ ๑ ๙ ศนู ย์วิจยั ขา้ วสกลนคร ๑ ๒๓ ๑๐ ศูนยว์ จิ ัยข้าวสะเมงิ ๑๙ ๑๖๔ ๑๑ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ๑๒ คุณกลั ยฐ์ ิตา สวงโท ๑๓ สหกรณ์คลองโยง ๑๔ องคก์ ารพิพธิ ภัณฑว์ ทิ ยาศาสตร์ รวม ๒) รายละเอยี ดการตรวจสอบเปอรเ์ ซน็ ต์ความงอกและการปลกู ฟนื้ ฟู (๑) ดาเนินการทดสอบความงอก ต้ังแต่เดือนมีนาคม ๒๕๖๑ ถึงเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ท้งั สิ้น ๒,๘๘๙ เชอ้ื พันธุ์ (๒) ดาเนนิ การปลกู ฟ้ืนฟทู ่ศี ูนยว์ ิจยั ข้าวตา่ ง ๆ ปี ๒๕๖๑ ท้ังสิ้น ๑๗ ศูนยว์ จิ ัย จานวน ๕,๑๖๐ เชอื้ พันธ์ุ ปี ๒๕๖๒ ปลูกฟ้ืนฟทู ง้ั สน้ิ ๑๗ ศนู ยว์ ิจยั จานวน ๔,๐๘๐ เชือ้ พนั ธ์ุ

๑๔๘ ๓) ผลการดาเนนิ งานศึกษาวจิ ัยพันธ์ุขา้ ว (การประเมินลกั ษณะและคุณค่าของเช้ือพนั ธกุ รรมข้าว) รายละเอยี ดเชื้อพันธุข์ า้ วที่ดาเนนิ การประเมนิ ลกั ษณะและคุณคา่ ของเชอื้ พันธุกรรมข้าวแล้วเสรจ็ (๑) การประเมินลักษณะและคุณค่าของเชื้อพันธุกรรมข้าว ฤดูนาปี ๒๕๖๑ ดาเนินการ ประเมินคุณค่าของเช้ือพันธุกรรมขา้ ว ไดแ้ ก่ ความตา้ นทานโรคและแมลงศัตรูข้าวท่ีสาคัญ เชน่ โรคขอบใบแห้ง โรคใบหงิก ใบหงิกและใบเขียวเตี้ย โรคไหม้ โรคไหม้คอรวง เพล้ียกระโดดสีน้าตาล เพล้ียกระโดดหลังขาว เพล้ียจักจั่นสีเขียว เพล้ียจักจั่นปีกลายหยัก แมลงบ่ัว หนอนกอ ประเมินลักษณะการทนแล้ง ทนเค็ม ความสามารถขึ้นน้าและทนน้าท่วม ตลอดจนการวิเคราะห์คุณภาพเมล็ดทางกายภาพและเคมี โดยมีผู้ร่วม ดาเนินการ ได้แกศ่ นู ยว์ จิ ยั ข้าวท้งั สิ้น ๑๘ ศนู ยว์ จิ ยั รวมเช้ือพันธุท์ ไ่ี ด้รบั การประเมนิ ท้ังสิ้น ๘,๙๕๔ เชื้อพันธุ์ (๒) การประเมินลักษณะและคุณค่าของเชื้อพันธุกรรมข้าว ฤดูนาปี ๒๕๖๒ ดาเนินการ ประเมินคุณค่าของเช้ือพันธุกรรมข้าวเช่นเดียวกับปี ๒๕๖๑ ดาเนินการท่ีศูนย์วิจัยข้าวทั้งส้ิน ๑๘ ศูนย์วิจัย รวมเช้ือพนั ธ์ุที่ไดร้ บั การประเมนิ ทง้ั สน้ิ ๘,๒๖๐ เช้อื พันธุ์ ๔) โครงการความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ (๑) การนาเมลด็ เชอ้ื พันธ์ขุ า้ วไปเกบ็ รักษาท่ีธนาคารเช้ือพันธุ์พืชโลก (Svalbard Global Seed Vault) ราชอาณาจกั รนอร์เวย์ ระหว่างวนั ที่ ๒๔ - ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ จานวนทงั้ สน้ิ ๖๘ เช้อื พันธุ์ (๒) ร่วมประชุมร่างโครงการการทดลองความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์พืช ๑๐๐ ปี ณ ราชอาณาจักร นอรเ์ วย์ ในวันที่ ๒๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๓ ๕) ขอ้ จากัดของศนู ย์ปฏิบตั ิการและเกบ็ เมลด็ เชื้อพันธ์ุข้าวแห่งชาติ (๑) ขอ้ จากดั เรือ่ งพื้นท่ีในการปลกู ขยายและฟ้นื ฟเู มลด็ พนั ธ์ขุ า้ ว (๒) ข้อจากัดเรอ่ื งครภุ ัณฑ์ห้องเยน็ ในการเกบ็ รักษา เนือ่ งจากเปน็ ครภุ ัณฑเ์ กา่ อายุเกอื บ ๔๐ ปี มคี า่ ใช้จ่ายในการดแู ลรกั ษาสูงมาก (๓) ข้อจากัดในการให้บริการเมล็ดพันธ์ุ เน่ืองจากมีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความสนใจ ขอใช้บรกิ ารเมลด็ พนั ธุ์จากศูนย์ฯ แตท่ างศนู ยไ์ มส่ ามารถผลติ และขยายเมลด็ พันธุ์ได้อยา่ งเพียงพอ (๔) ศูนย์ปฏิบัติการและเก็บเมล็ดเชื้อพันธุ์ข้าว เป็นผู้ดูแล ปลูกขยายและฟ้ืนฟู และให้บริการ แก่ผู้สนใจท้ังภาครัฐ ภาคเอกชนและเกษตรกร แต่ไม่ได้มีอานาจในการกากับดูแลการใช้ประโยชน์ของ พันธกุ รรมขา้ ว ซ่งึ หน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบโดยตรง คือ กรมวิชาการเกษตร เป็นผ้กู ากบั ดูแล

๑๔๙ กรมวชิ าการเกษตร กรมวิชาการเกษตรได้รวบรวมข้อมูลและตัวอย่างความหลากหลายด้านพืชและเห็ดในหน่วยงาน ตา่ ง ๆ ดังน้ี หน่วยงานของกรมวชิ าการเกษตรทีด่ ูแล จานวน ๑. ธนาคารเช้ือพนั ธ์ุพชื สานักวจิ ยั พัฒนาเทคโนโลยีชวี ภาพ ๓๒,๙๑๗ เชอื้ พันธ์ุ ดาเนินการอนรุ ักษ์ความหลากหลายทางพันธุกรรมพืช เพื่อเปน็ หลกั ประกนั ความมน่ั คงทางอาหารของประเทศ ๒. กองแผนงานและวิชาการ ดูแลฐานขอ้ มลู พนั ธพุ์ ชื รบั รองและพนั ธุ์ ๓๑๘ พันธ์ุ แนะนาของกรมวชิ าการเกษตร ๓. พพิ ิธภณั ฑพ์ ืชกรุงเทพ สานกั คุ้มครองพนั ธ์ุพืช มากกว่า ตัวอย่าง ฐานข้อมลู ความหลากหลายของพืชและตัวอย่างพนั ธ์ุไม้ ในรปู ๑๐๐,๐๐๐ ตัวอยา่ งพันธ์ุไมแ้ หง้ พันธ์ุไมด้ อง และตวั อย่างผลและเมลด็ ๔. กลุม่ วิจยั อนสุ ญั ญาไซเตสดา้ นพชื สานักคุ้มครองพันธุพ์ ชื ๖,๐๐๐ ชนิดพชื ฐานข้อมลู พืชอนรุ กั ษ์ภายใต้อนุสัญญาไซเตส ๕. กล่มุ วจิ ยั การคุ้มครองพันธ์ุพชื สานักคุ้มครองพนั ธ์พุ ชื ฐานข้อมูล ๑๐,๙๕๒ พันธ์ุ พันธ์ุพชื พนื้ เมืองท่วั ไป พันธุ์พืชขึ้นทะเบียน และพนั ธ์ุพืชใหม่ ๖. ศนู ยว์ ิจยั ของกรมวิชาการเกษตรในพน้ื ทีจ่ งั หวดั ต่าง ๆ ๑๙,๒๑๙ ตวั อย่าง ขอ้ มลู และตวั อย่างพันธ์ุพชื สวน-พชื ไร่ เช่น - ศนู ย์วิจัยพชื ไร่ระยอง อนุรักษพ์ ันธ์ุมันสาปะหลังในแปลงปลกู ๘๕๙ สายพันธุ์ และอนรุ กั ษ์ในหอ้ งปฏิบัตกิ ารโดยการเพาะเลีย้ ง เนอื้ เยอื่ ๘๐๐ สายพันธุ์ - ศนู ยว์ ิจยั พืชสวนจนั ทบรุ ี อนุรกั ษพ์ ันธ์ุไม้ผล เช่น ทุเรยี น เงาะ - ศูนย์วจิ ยั พชื สวนศรีสะเกษ อนุรกั ษ์พันธพ์ุ ืชผักและไม้ดอก ๗. กลุ่มวจิ ยั และพัฒนาเหด็ สานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยชี วี ภาพ ประมาณ เชอ้ื พันธุ์ อนรุ กั ษเ์ กบ็ รกั ษาเชอ้ื พันธ์เุ หด็ ๑,๐๐๐ กรมวิชาการเกษตรมีโครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของกรมฯ เพ่ือเช่ือมโยงข้อมูลดังกล่าว เพื่อการใช้ ประโยชน์อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

ภาคผนวก ซ รา่ งพระราชบญั ญัติคมุ้ ครองพันธุ์พชื (ฉบบั ที่ ..) พ.ศ. .... เสนอโดย รองศาสตราจารยส์ รุ วิช วรรณไกรโรจน์ อนกุ รรมาธิการศึกษาผลกระทบดา้ นการเกษตรและพันธพ์ุ ชื

๑๕๑ บันทกึ หลักการและเหตผุ ล ประกอบรา่ งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุพชื (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (เสนอโดย รองศาสตราจารยส์ รุ วิช วรรณไกรโรจน์ อนกุ รรมาธกิ ารศกึ ษาผลกระทบดา้ นการเกษตรและพนั ธพ์ุ ชื ) ……………………………………………………………………………. หลกั การ แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบญั ญตั ิคุ้มครองพันธุ์พชื พ.ศ. ๒๕๔๒ ดังต่อไปน้ี (๑) แก้ไขเพ่ิมเติมบทนิยามคาว่า “พันธ์ุพืชพื้นเมืองท่วั ไป” และ \"นกั ปรับปรงุ พันธุพืช\" และเพิ่มบท นิยามคาวา่ “พนั ธ์พุ ืชใหม่” (แกไ้ ขเพ่ิมเติมมาตรา ๓) (๒) แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัตวิ ่าด้วยองคป์ ระกอบของคณะกรรมการคุ้มครองพันธพุ์ ชื (แก้ไขเพ่ิมเติม มาตรา ๕) (๓) แกไ้ ขเพม่ิ เติมบทบัญญัติว่าด้วยรายการในคาขอจดทะเบยี นพันธพุ์ ชื ใหม่ (แกไ้ ขเพม่ิ เติมมาตรา ๑๙ (๕)) (๔) แก้ไขเพม่ิ เติมบทบญั ญัติว่าด้วยสิทธแิ ต่เพยี งผ้เู ดยี วของผูท้ รงสทิ ธใิ นพันธุพ์ ชื ใหม่ (แก้ไขเพิ่มเตมิ มาตรา ๓๓) (๕) แก้ไขเพ่ิมเติมบทบญั ญัติวา่ ด้วยการคุ้มครองพนั ธ์พุ ืชพนื้ เมืองเฉพาะถิ่น (แก้ไขเพิม่ เติมมาตรา ๔๔ มาตรา ๔๕ และมาตรา ๔๗) (๖) แก้ไขเพ่ิมเติมบทบญั ญัติว่าดว้ ยการคุม้ ครองพนั ธุพ์ ชื พน้ื เมืองท่วั ไปและพันธ์ุพชื ป่า (แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๕๒ และมาตรา ๕๓) (๗) แก้ไขเพิ่มเติมบทบทบัญญัติว่าด้วยการใช้จา่ ยเงินกองทนุ คุ้มครองพันธ์ุพชื (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๕๕) (๘) แก้ไขเพ่ิมเติมบทบัญญตั ิวา่ ด้วยการคุ้มครองสทิ ธิของผูท้ รงสทิ ธใิ นพันธุ์พืช (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๖๑) (๙) แกไ้ ขเพ่ิมเติมบทกาหนดโทษ (แกไ้ ขเพิ่มเตมิ มาตรา ๖๓/๑ และมาตรา ๖๔) เหตผุ ล โดยท่ีพระราชบัญญัติคมุ้ ครองพันธ์ุพืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดใ้ ชบ้ งั คับมาเป็นระยะเวลานาน สมควรแก้ไข เพ่ิมเติมบทบญั ญตั ิบางประการให้มคี วามเหมาะสมกับสภาวการณ์ในปจั จุบนั เพ่ือให้การบังคบั ใช้พระราชบญั ญัติ คุม้ ครองพนั ธ์ุพืชมปี ระสิทธิภาพมากขนึ้ เพื่อเพม่ิ โอกาสใหช้ ุมชนตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ กลมุ่ เกษตรกร และ สหกรณ์การเกษตร สามารถพัฒนาความเขม้ แข็งด้านอนุรักษแ์ ละพฒั นาพันธุ์พืชใหพ้ ร้อมในการทป่ี ระเทศไทย จะเข้ารว่ มความตกลงการคา้ เสรีระหว่างประเทศ เพ่ือแก้ปัญหาการใช้พระราชบัญญัติคุม้ ครองพันธพุ์ ืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และเพื่อรองรับการพฒั นาอุตสาหกรรมเมลด็ พันธ์ใุ หเ้ ปน็ ศูนยก์ ลางการผลติ เมลด็ พันธุพ์ ืชเขตร้อนชนื้ ของโลก จึงจาเปน็ ต้องตราพระราชบญั ญัติน้ี

๑๕๒ ร่าง พระราชบญั ญัติค้มุ ครองพันธุ์พืช (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... ............................................................................................................................. ...................................... ................................ โดยทเ่ี ป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเตมิ กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองพันธพ์ุ ืช ............................................................................................................................. .................................... ................................ มาตรา ๑ พระราชบัญญตั ิน้ีเรียกวา่ “พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองพันธุ์พืช (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....” มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั นิ ้ใี ห้ใชบ้ งั คับเม่ือพ้นกาหนดหนง่ึ รอ้ ยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป มาตรา ๓ ใหย้ กเลิกความในบทนิยามคาวา่ \"พันธ์ุพชื พ้นื เมืองทวั่ ไป\" และ \"นักปรับปรงุ พนั ธุ์พชื \" ในมาตรา ๓ แหง่ พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองพนั ธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใชค้ วามต่อไปน้ีแทน \"พนั ธ์ุพืชพน้ื เมืองท่ัวไป\" หมายความว่า พนั ธุ์พืชที่กาเนิดภายในประเทศหรอื มอี ยู่ในประเทศซงึ่ ได้มี การใช้ประโยชนอย่างแพรหลาย และให้หมายความรวมถงึ พันธุ์พืชที่ไม่ใช่พนั ธ์ุพชื ใหม่ พนั ธ์ุพชื พ้ืนเมืองเฉพาะถ่ิน หรอื พันธุ์พชื ป่า แต่ไม่รวมถึงพันธพ์ุ ืชทน่ี าเข้าและพันธพุ์ ืชในกระบวนการปรับปรุงพนั ธุ์ ซึ่งยังอยู่ในความครอบครอง ของนักปรบั ปรงุ พนั ธุ์พชื เทา่ นั้น \"นกั ปรับปรงุ พันธุ์พชื \" หมายความว่า ผู้ซึ่งทาการปรบั ปรงุ พันธ์ุหรอื พัฒนาพนั ธ์ุจนไดพนั ธ์ุพชื ขน้ึ ใหม่ รวมทง้ั ทายาทผู้รบั สิทธใิ นพนั ธุ์พืชโดยทางมรดกของผู้ซ่ึงทาการปรับปรุงพนั ธุ์หรือพฒั นาพนั ธ์ุจนไดพันธ์ุพชื ข้นึ ใหม่ มาตรา ๔ ใหเ้ พิม่ บทนยิ ามคาวา่ “พันธ์ุพืชใหม่” ระหว่างบทนยิ ามคาวา่ “พนั ธุพ์ ชื ” และ “พันธุ์พืช พ้ืนเมืองเฉพาะถ่นิ ” ในมาตรา ๓ แหง่ พระราชบญั ญัติคมุ้ ครองพันธ์ุพืช พ.ศ. ๒๕๔๒ “พันธุพ์ ืชใหม่” หมายความว่า พนั ธุ์พชื ท่นี ักปรบั ปรุงพันธุ์ได้ทาการปรับปรงุ พันธุ์หรือพัฒนาพันธขุ์ ้ึน โดยไดร้ บั และยังไม่ถกู เพิกถอนหนังสือสาคัญแสดงการจดทะเบียนพันธุ์พืชใหม่ตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ มาตรา ๕ ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา ๕ แหง่ พระราชบญั ญัติคุ้มครองพนั ธ์ุพชื พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ ความต่อไปน้ีแทน “มาตรา ๕ ให้มคี ณะกรรมการคุ้มครองพนั ธ์ุพืช ประกอบด้วย ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปน็ ประธานกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค เลขาธกิ ารสานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม อธบิ ดีกรมการค้าภายใน อธบิ ดีกรมทรัพย์สนิ ทางปญั ญา อธบิ ดีกรมการข้าว อธบิ ดีกรมประมง อธิบดีกรมป่าไม้ อธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ การเกษตร ผอู้ านวยการศูนย์พนั ธ์ุวศิ วกรรมและ เทคโนโลยีชีวภาพแหง่ ชาติ อธบิ ดกี รมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ประธานสภาเกษตรกร และกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิซ่งึ คณะรฐั มนตรแี ตง่ ตั้งสิบสองคน ในจานวนนจ้ี ะตอ้ งแต่งตง้ั จากเกษตรกร หกคน นักวชิ าการด้านปรับปรงุ พันธุพ์ ืชจากสถาบนั การศึกษา หนง่ึ คน นกั วิชาการดา้ นอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ จากสถาบนั การศึกษา หนง่ึ คน ผ้แู ทนองค์การพฒั นาเอกชนท่ีไมแ่ สวงหากาไรที่มกี จิ กรรมเก่ยี วกบั การเกษตร หนึ่งคน ผู้แทนองคก์ ารพัฒนาเอกชนท่ีไมแสวงหากาไรท่ีมกี ิจกรรมเกยี่ วกับการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

๑๕๓ หนึง่ คน ผูแ้ ทนสมาคมทีม่ ีวตั ถุประสงคเ์ ก่ยี วกบั การปรบั ปรุงพนั ธุพ์ ชื หนึ่งคน ผู้แทนสมาคมทม่ี วี ตั ถุประสงค์ เกี่ยวกับการขยายพนั ธแ์ุ ละเมลด็ พนั ธ์ุพชื หน่ึงคน เป็นกรรมการ และอธิบดกี รมวชิ าการเกษตรเปน็ กรรมการ และเลขานุการ กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒซิ ่ึงเปน็ เกษตรกร ต้องเป็นผทู้ ี่มีประสบการณด์ า้ นการอนรุ ักษ์พัฒนาหรอื ใช้ ประโยชน์จากพันธุพ์ ืชโดยให้คัดเลอื กจากการเสนอช่อื ของกลมุ่ ชมรม สมาคม กล่มุ เกษตรกร หรอื สหกรณ์ การเกษตรของทุกภูมภิ าค โดยตอ้ งมีกรรมการจากภมู ภิ าคละอยา่ งน้อย หน่งึ คน กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิจาก องค์การพฒั นาเอกชนทไี่ ม่แสวงหากาไรท่ีมีกจิ กรรมเกย่ี วกับการเกษตรและการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ตามวรรคหนึ่งใหค้ ัดเลอื กจากรายชอื่ ท่ีเสนอโดยองค์การพัฒนาเอกชนดงั กล่าว การคดั เลือกกรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการ ทีก่ าหนดในกฎกระทรวง” มาตรา ๖ ให้ยกเลกิ ความในมาตรา ๑๙ (๕) แหง่ พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองพันธ์พุ ืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ให้ใชค้ วามตอ่ ไปน้ีแทน “มาตรา ๑๙ (๕) ข้อตกลงแบ่งปนั ผลประโยชนใ์ นกรณีท่ีมกี ารใชพ้ ันธ์ุพชื พ้นื เมืองทวั่ ไปหรือพันธุ์พชื ป่า หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของพนั ธ์ุพชื ดงั กล่าวในการปรับปรุงพนั ธ์ุเพ่ือแสวงหาสทิ ธใิ นทรัพย์สนิ ทางปญั ญาเหนือผลงาน ทจี่ ะเกิดจากการใช้พนั ธพ์ุ ืชน้ัน” มาตรา ๗ ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบญั ญัติคมุ้ ครองพนั ธพ์ุ ืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ ความตอ่ ไปน้ีแทน “มาตรา ๓๓ ผู้ทรงสทิ ธิในพนั ธุ์พืชใหมม่ สี ทิ ธิแตเ่ พยี งผู้เดียวในการผลติ ให้เช่า ขาย จาหน่าย หรอื กระทาการอนื่ ใดท่ีมีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อการคา้ นาเขา้ มาในราชอาณาจักร ส่งออกนอกราชอาณาจักร หรอื มีไว้ เพ่ือกระทาการอย่างหน่งึ อย่างใดดังกล่าวซ่ึงส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พชื ใหม่ และของพันธุ์พืชทเ่ี กิดจากพนั ธุ์พืชใหม่ แต่ไม่มีความแตกต่างจากพนั ธ์ุพืชใหม่ในลกั ษณะซึง่ เก่ยี วข้องกับประโยชน์ตอ่ การเพาะปลกู การบรโิ ภค เภสชั กรรม การผลิต หรือการแปรรูป รวมถึงส่วนขยายพันธขุ์ องพันธุ์ลกู ผสมทตี่ ้องใช้พันธุ์พืชดงั กล่าวในทุกครั้ง หรือทุกวงจรการผลิต ความในวรรคหนงึ่ ไม่ใช้บงั คบั แก่กรณีดังต่อไปน้ี (๑) การกระทาเกย่ี วกบั พันธ์ุพืชใหม่ โดยไม่มีวตั ถุประสงค์เพ่ือใช้เป็นส่วนขยายพันธ์ุ (๒) การศึกษา ค้นคว้า ทดลองหรอื วิจยั เกย่ี วกบั พนั ธ์พุ ืชใหม่ เพื่อปรบั ปรงุ พันธุ์หรือพฒั นา พันธุ์พชื (๓) การกระทาเกยี่ วกบั พันธ์ุพืชใหม่ ซงึ่ กระทาโดยสุจรติ (๔) การเพาะปลูกหรือแลกเปล่ยี นสว่ นขยายพันธุ์ของพนั ธ์ุพืชใหม่ โดยเกษตรกรซึ่งเปน็ บุคคล ธรรมดา ดว้ ยการใช้ส่วนขยายพนั ธุ์ท่ีตนเองเป็นผู้ผลติ แตไ่ ม่รวมถึงการเพาะปลกู เพอื่ จาหน่ายส่วนขยายพันธ์ุ เชิงการค้า ในกรณีทีร่ ัฐมนตรโี ดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประกาศให้พนั ธุ์พชื ใหมน่ ั้นเป็นพันธุ์พชื ท่คี วร ส่งเสรมิ การปรับปรงุ พันธ์ุ ให้เกษตรกรซง่ึ เปน็ บุคคลธรรมดาสามารถเพาะปลูกหรือแลกเปลีย่ นส่วนขยายพันธุ์ ไดร้ วมกนั ในแต่ละฤดูปลกู ไม่เกินสามเทา่ ของปริมาณท่ีได้มา (๕) การกระทาเกี่ยวกบั พันธ์พุ ืชใหม่โดยไม่มีวัตถปุ ระสงค์เพื่อการค้า (๖) การขาย หรอื การจาหน่ายด้วยประการใด นาเขา้ มาในราชอาณาจกั รส่ง ออกนอก ราชอาณาจกั ร หรือมีไว้เพื่อกระทาการอย่างหน่ึงอย่างใด ซึง่ ส่วนขยายพันธ์ุของพันธ์ุพืชใหม่ซ่งึ ถูกนาออกจาหน่าย โดยผู้ทรงสทิ ธหิ รอื ด้วยความยินยอมของผู้ทรงสิทธิ”

๑๕๔ มาตรา ๘ ให้ยกเลกิ ความในมาตรา ๔๔ แหง่ พระราชบัญญัตคิ ้มุ ครองพนั ธ์พุ ชื พ.ศ. ๒๕๔๒ และใหใ้ ช้ ความต่อไปนีแ้ ทน “มาตรา ๔๔ บุคคลซงึ่ บรรลุนติ ภิ าวะแล้ว ท่ตี ้ังถน่ิ ฐานและสืบทอดระบบวฒั นธรรมรวมกันมา โดยต่อเนอ่ื ง ซึ่งได้รว่ มกนั อนุรักษ์หรือพัฒนาพันธุ์พชื อาจขอข้ึนทะเบียนเป็นชมุ ชนตามพระราชบัญญัตนิ ี้ โดยตั้งตวั แทนยื่นคาขอเป็นหนงั สือต่อผู้วา่ ราชการจงั หวดั แห่งทอ้ งที่ คาขออย่างน้อยต้องมรี ายการดังต่อไปน้ี (๑) พนั ธ์ุพชื ท่รี ่วมกนั อนุรักษ์หรือพฒั นา และวิธดี าเนนิ การในการอนุรักษ์หรือพัฒนาพนั ธุ์พืช (๒) รายช่อื ของผู้เป็นสมาชิกชุมชน (๓) สภาพพืน้ ท่ีพร้อมท้ังแผนที่สังเขปแสดงเขตพ้นื ทช่ี ุมชนและเขตติดต่อ การยนื่ คาขอและการพจิ ารณาอนมุ ัติข้ึนทะเบียนชมุ ชนให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารท่ีกาหนด ในกฎกระทรวง” มาตรา ๙ ให้ยกเลกิ ความในมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบญั ญัติคมุ้ ครองพนั ธุพ์ ืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ ความตอ่ ไปนี้แทน “มาตรา ๔๕ พันธุ์พชื ที่มอี ยู่เฉพาะในท้องที่ใดและชุมชนเป็นผู้อนรุ ักษ์ หรอื พัฒนาพันธุ์พืชดงั กล่าว แต่ผู้เดียว ให้ชุมชนน้ันมสี ิทธยิ ่ืนคาร้องต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ชุมชนนั้นตั้งอยู่ในเขตปกครองใหด้ าเนินการ ยื่นคาขอจดทะเบียนพันธ์ุพชื พนื้ เมืองเฉพาะถนิ่ แทนชมุ ชนดังกล่าวได เม่อื ไดรบั คาร้องจากชุมชนตามวรรคหนึ่ง ให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนนิ การขอจดทะเบียน พันธ์ุพืชพ้ืนเมอื งเฉพาะถน่ิ ต่อคณะกรรมการนบั แต่วันท่ีไดรับเอกสารและข้อมลู ทจ่ี าเป็นในการขอจดทะเบียน ครบถว้ น ในกรณีที่ชุมชนตามวรรคหนึ่งรวมตัวกันจดั ตงั้ เป็นกลุ่มเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตัง้ กลมุ่ เกษตรกร หรอื เป็นสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ให้กลุ่มเกษตรกรหรือสหกรณ์การเกษตรนั้น มีสทิ ธิขอจดทะเบยี นคมุ้ ครองพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นแทนชุมชนได้” มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔๗ แห่งพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองพนั ธุ์พชื พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ ใชค้ วามต่อไปน้ีแทน “มาตรา ๔๗ เมือ่ ไดจดทะเบียนคุ้มครองพันธ์ุพชื พ้ืนเมืองเฉพาะถิ่นของชุมชนใดแล้วใหช้ ุมชนนั้น มสี ิทธิแต่ผู้เดียวในการปรบั ปรุงพนั ธ์ุ ศกึ ษา คนคว้า ทดลอง วิจัย ผลิต ให้เชา่ ขาย จาหน่าย หรือกระทาการอื่นใด ทม่ี ีวัตถุประสงคเ์ พ่ือการค้า สงออกนอกราชอาณาจักร ซึ่งส่วนขยายพันธ์ุของพันธ์ุพชื พื้นเมอื งเฉพาะถิ่น และ ของพนั ธุพ์ ชื ทเ่ี กิดจากพันธพ์ุ ชื พื้นเมืองเฉพาะถิ่นแต่ไม่มีความแตกตา่ งจากพันธพ์ุ ชื พื้นเมืองเฉพาะถ่ินในลักษณะซ่ึง เก่ียวข้องกับประโยชนต์ ่อการเพาะปลูก การบรโิ ภค เภสัชกรรม การผลิต หรือการแปรรปู ทั้งน้ี ให้องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถิ่น กลมุ่ เกษตรกรหรือสหกรณ์ท่ีได้รบั หนงั สือสาคัญแสดงการจดทะเบียนพันธ์ุพ้ืนเมืองเฉพาะถน่ิ เป็นผู้ทรงสิทธใิ นพันธุ์พชื พื้นเมืองเฉพาะถ่นิ น้ันแทนชุมชนดังกล่าว ความในวรรคหนง่ึ ไมใช้บังคบั แกกรณีดงั ต่อไปน้ี (๑) การกระทาเก่ยี วกับพันธุ์พืชพื้นเมอื งเฉพาะถน่ิ ทไ่ี ดรบั ความค้มุ ครอง โดยไมมวี ตั ถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นส่วนขยายพนั ธุ์ (๒) การกระทาเกยี่ วกบั พันธุ์พืชพนื้ เมอื งเฉพาะถ่นิ ทไ่ี ดรบั ความคุม้ ครอง ซ่ึงกระทาโดยสจุ ริต (๓) การเพาะปลูกหรือแลกเปลยี่ นส่วนขยายพนั ธ์ุของพันธ์ุพืชพืน้ เมอื งเฉพาะถน่ิ ทไี่ ดรบั ความคมุ้ ครอง โดยเกษตรกรซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา ด้วยการใช้ส่วนขยายพันธุ์ทีต่ นเองเปน็ ผู้ผลติ แต่ไมร่ วมถึงการเพาะปลูก

๑๕๕ เพอื่ จาหนา่ ยส่วนขยายพนั ธ์เุ ชงิ การค้า ในกรณที ีร่ ฐั มนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประกาศให้ พนั ธ์ุพืชพ้นื เมืองเฉพาะถิน่ น้นั เป็นพนั ธุ์พชื ท่ีควรส่งเสรมิ การปรบั ปรุงพันธุ์ ให้เกษตรกรซึ่งเปน็ บคุ คลธรรมดา สามารถเพาะปลูกหรอื แลกเปล่ียนสว่ นขยายพนั ธไ์ุ ด้รวมกันในแตล่ ะฤดปู ลูก ไมเ่ กนิ สามเท่าของปรมิ าณท่ีไดม้ า (๔) การกระทาเก่ียวกับพันธุ์พืชพืน้ เมืองเฉพาะถิ่นท่ีไดรับความคุ้มครองโดยไมมีวัตถุประสงค์เพื่อการค้า” มาตรา ๑๑ ให้ยกเลกิ ความในมาตรา ๕๒ แหง่ พระราชบญั ญตั คิ ้มุ ครองพันธ์พุ ชื พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ ใชค้ วามตอ่ ไปนแ้ี ทน “มาตรา ๕๒ ผูใ้ ดประสงคจ์ ะได้มาซ่ึงกรรมสิทธิห์ รือสทิ ธิการใช้ประโยชน์ โดยการ ซอ้ื เกบ็ หา จัดหา เชา่ หรอื วิธอี ่ืนใด ซ่ึงพันธพ์ุ ชื พื้นเมืองท่วั ไป พันธุพ์ ืชป่า หรอื พันธุพ์ ชื ทเ่ี กดิ จากพันธุพ์ ืชพืน้ เมอื งท่วั ไป พันธุ์พืชปา่ ซงึ่ มีลักษณะประจาพันธ์ุทีส่ าคัญไม่แตกต่างจากพันธพ์ุ ชื พื้นเมืองทั่วไป พันธุ์พชื ป่า หรอื สว่ นหน่งึ ส่วนใด ของพนั ธพ์ุ ชื ดงั กลา่ ว เพ่ือการปรับปรุงพนั ธ์ุ ศกึ ษา ทดลอง หรอื วิจัยเพอื่ แสวงหาสทิ ธิในทรพั ย์สนิ ทางปัญญา เหนอื ผลงานทจ่ี ะเกดิ ขึน้ โดยได้รบั ความยินยอมใหก้ ระทาการดังกล่าวจากเจ้าของกรรมสิทธห์ิ รือสิทธิ การใช้ประโยชน์ จะต้องได้รบั อนญุ าตจากพนักงานเจ้าหน้าที่และทาข้อตกลงแบ่งปันผลประโยชน์ โดยให้นาเงิน รายไดต้ ามข้อตกลงแบ่งปนั ผลประโยชน์ส่งเขา้ กองทุนคุ้มครองพนั ธ์ุพืช ทัง้ น้ี ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์วิธกี าร และเง่ือนไขทก่ี าหนดในกฎกระทรวง ข้อตกลงแบ่งปนั ผลประโยชน์อย่างน้อยต้องมีรายการดงั ต่อไปน้ี (๑) วตั ถุประสงค์ของการปรบั ปรุงพันธ์ุ ศึกษา ทดลอง หรือวจิ ัยดว้ ยพันธ์ุพชื (๒) จานวนหรือปรมิ าณของตัวอย่างพันธ์ุพืชที่ต้องการ (๓) ข้อผูกพันของผู้ไดร้ บั อนญุ าต (๔) การกาหนดความเป็นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญาในผลงานการปรับปรงุ พันธุ์ ศึกษา ทดลอง หรอื วิจัยท่ีไดม้ าจากการใช้พนั ธ์ุพชื ในข้อตกลง (๕) การกาหนดจานวน อตั รา และระยะเวลาการแบ่งปันผลประโยชน์ตามข้อตกลงแบ่งปันผลประโยชน์ ในผลงานทไ่ี ด้มาจากการใช้พันธ์ุพืชในขอ้ ตกลง (๖) อายขุ องข้อตกลง (๗) การยกเลิกข้อตกลง (๘) การกาหนดวธิ ีการระงับข้อพิพาท (๙) รายการอน่ื ตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง” มาตรา ๑๒ ใหย้ กเลิกความในมาตรา ๕๓ แหง่ พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองพนั ธ์พุ ชื พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ ใชค้ วามต่อไปนี้แทน “มาตรา ๕๓ ผใู้ ดได้มาซ่ึงกรรมสิทธ์หิ รอื สิทธิการใชป้ ระโยชน์ โดยการ ซอ้ื เก็บหา จัดหา เช่า หรือวธิ ี อน่ื ใด ซงึ่ พันธพุ์ ชื พืน้ เมืองท่ัวไป พันธุพ์ ืชป่า หรือพันธุพ์ ืชทเี่ กิดจากพันธ์พุ ืชพ้นื เมืองท่ัวไป พันธุพ์ ืชป่า ซ่ึงมลี ักษณะ ประจาพนั ธุ์ทีส่ าคญั ไมแ่ ตกต่างจากพนั ธุ์พืชพน้ื เมืองทว่ั ไป พันธ์พุ ชื ป่า หรือสว่ นหนงึ่ ส่วนใดของพนั ธพ์ุ ชื ดงั กล่าว เพ่อื การปรบั ปรุงพันธุ์ ศกึ ษา ทดลอง หรอื วิจัยทมี่ ไิ ด้มวี ัตถุประสงค์เพอ่ื แสวงหาสทิ ธใิ นทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาเหนือผลงานท่จี ะเกิดขน้ึ โดยไดร้ บั ความยินยอมใหก้ ระทาการดังกล่าวจากเจา้ ของกรรมสทิ ธิ์ หรอื เจา้ ของสิทธกิ ารใชป้ ระโยชน์ ใหป้ ฏิบัติตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด ผูใ้ ดกระทาการตามวรรคหนึง่ ทีจ่ ะเปล่ยี นวัตถปุ ระสงค์เพอ่ื แสวงหาสทิ ธิในทรพั ยส์ ินทางปญั ญา เหนอื ผลงานทจี่ ะเกดิ จากการใชพ้ นั ธพุ์ ืชนน้ั ให้ขอรบั อนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าท่แี ละทาข้อตกลงแบ่งปัน

๑๕๖ ผลประโยชน์ โดยให้นาเงนิ รายได้ตามข้อตกลงแบ่งปันผลประโยชน์ส่งเข้ากองทุนคุ้มครองพนั ธุ์พืช ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเง่ือนไขท่กี าหนดในกฎกระทรวงตามมาตรา ๕๒ ภายในระยะเวลาที่กาหนด” มาตรา ๑๓ ใหย้ กเลิกความในมาตรา ๕๕ แห่งพระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองพันธพ์ุ ชื พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ ใชค้ วามตอ่ ไปน้ีแทน “มาตรา ๕๕ เงนิ กองทุนใหใ้ ช้จา่ ยเพ่ือกิจการดังต่อไปน้ี (๑) ช่วยเหลอื และอุดหนนุ กจิ การใด ๆ ท่เี กย่ี วกับการอนรุ ักษ์ การวิจยั และการพัฒนาพันธ์ุพืชของชุมชน กลมุ่ เกษตรกร และสหกรณ์การเกษตร (๒) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินใช้เพือ่ อุดหนนุ การอนรุ กั ษ์ การวิจยั และการพฒั นาพันธุ์พชื ของชุมชน กลมุ่ เกษตรกร และสหกรณ์การเกษตร (๓) เป็นคา่ ใช้จา่ ยในกระบวนการคัดคา้ นกรณีท่ีมผี ู้ยืน่ ขอจดทะเบียนคุ้มครองสทิ ธิในทรัพยส์ ินทางปัญญา เหนอื พนั ธุ์พชื พืน้ เมืองเฉพาะถน่ิ พันธ์พุ ชื พืน้ เมอื งทว่ั ไป พันธพุ์ ืชปา่ ในต่างประเทศ (๔) เป็นคา่ ใช้จา่ ยในการบรหิ ารกองทนุ การบรหิ ารกองทุนและการควบคุมการใช้จา่ ยเงนิ กองทนุ ให้เป็นไปตามระเบยี บท่ีคณะกรรมการ กาหนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั ” มาตรา ๑๔ ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา ๖๑ แห่งพระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ ใชค้ วามตอ่ ไปนแี้ ทน “มาตรา ๖๑ ในกรณีท่ีมีการฝ่าฝืนสิทธขิ องผู้ทรงสิทธใิ นพันธ์ุพืชใหมห่ รือผู้ทรงสิทธิในพันธุ์พืชพื้นเมือง เฉพาะถน่ิ ตามมาตรา ๓๓ หรือมาตรา ๔๗ แล้วแต่กรณี ศาลมีอานาจสง่ั ให้ผู้ฝ่าฝืนชดใช้ค่าเสียหายแกผู้ทรงสิทธิ ตามจานวนทศ่ี าลเห็นสมควรโดยคานงึ ถงึ ความร้ายแรงของความเสียหาย รวมทง้ั การสูญเสียผลประโยชน และคา่ ใช้จา่ ยอันจาเป็นในการบังคับตามสิทธิของผู้ทรงสทิ ธดิ ้วย ให้ภาระการพิสูจนใ์ นข้อกล่าวหาดังกล่าว ตกอยแู่ กผ่ ู้ทรงสิทธิในพันธ์ุพชื นั้น” มาตรา ๑๕ ใหเ้ พมิ่ ความต่อไปนีเ้ ป็นมาตรา ๖๓/๑ แหง่ พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธ์ุพชื พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๖๓/๑ พนกั งานเจาหนา้ ท่ผี ใู้ ดซ่งึ มีหนา้ ทเ่ี กี่ยวกบั การอนญุ าตและทาข้อตกลงแบ่งปนั ผลประโยชน์ เปิดเผยขอ้ มลู เกีย่ วกบั วัตถปุ ระสงค์และกระบวนการปรับปรงุ พนั ธ์ุพืช ศกึ ษา ทดลอง หรอื วิจัย ตามมาตรา ๕๒ หรือมาตรา ๕๓ โดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือมิไดรับความยินยอมจากผู้ขอจดทะเบยี น ตองระวางโทษจาคุก ไมเกินสองปี หรือปรบั ไมเกินสี่แสนบาท หรอื ท้ังจาทั้งปรับ” มาตรา ๑๖ ให้ยกเลกิ ความในมาตรา ๖๔ แห่งพระราชบัญญตั ิคุ้มครองพันธพ์ุ ชื พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ ใชค้ วามตอ่ ไปนี้แทน “มาตรา ๖๔ ผู้ใดกระทาการอย่างใดอย่างหน่งึ ตามมาตรา ๔๗ โดยไมไดรบั อนุญาตจากผู้ทรงสิทธิ ในพนั ธุ์พชื พ้ืนเมอื งเฉพาะถน่ิ ตองระวางโทษจาคุกไมเกินสองปี หรอื ปรับไมเกนิ ส่ีแสนบาท หรือทั้งจาท้ังปรับ” มาตรา ๑๗ คาขอจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืชท่ีไดย่นื ไวตามพระราชบัญญตั ิคุ้มครองพันธ์ุพชื พ.ศ. ๒๕๔๒ และยงั อยู่ในระหว่างการพจิ ารณา ใหถ้ อื วา่ เป็นคาขอจดทะเบยี นคมุ้ ครองพนั ธ์ุพืชตามพระราชบญั ญตั ิคุ้มครอง พันธุพ์ ืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ซง่ึ แกไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๘ ใบข้นึ ทะเบยี นชุมชนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพนั ธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึง่ ออกให้ก่อน วันท่ีพระราชบัญญัตนิ ใ้ี ช้บังคับ ให้ถือว่าเป็นใบขนึ้ ทะเบียนชมุ ชนตามพระราชบญั ญตั ิคุ้มครองพันธพุ์ ืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ซง่ึ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตั ิน้ี

๑๕๗ มาตรา ๑๙ กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๕๒ และระเบียบที่คณะกรรมการกาหนดที่ออกตามมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบญั ญตั ิคุ้มครองพันธ์ุพืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ทใี่ ชบ้ ังคบั อยู่ในวนั ที่พระราชบัญญัตินม้ี ีผลใช้บังคับ ใหค้ ง ใช้บงั คับไดตอ่ ไปเทา่ ท่ไี มขดั หรือแย้งกับบทบญั ญัตแิ ห่งพระราชบัญญตั นิ ี้ ท้ังน้ี จนกว่าจะมีกฎกระทรวง และ ระเบียบทคี่ ณะกรรมการกาหนด ออกตามพระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองพนั ธ์ุพชื พ.ศ. ๒๕๔๒ ซง่ึ แกไขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั นิ ี้ในเรอื่ งนนั้ ๆ ใช้บงั คับ มาตรา ๒๐ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รกั ษาการตามพระราชบัญญัติน้ี ผ้สู นองพระบรมราชโองการ .............................................. นายกรฐั มนตรี

ภาคผนวก ฌ แผนกลยทุ ธเ์ พื่อสรา้ งความเขม้ แข็งดา้ นพนั ธุ์และเมลด็ พันธ์ขุ า้ ว

๑๕๙ แผนกลยทุ ธ์เพือ่ สรา้ งความเข้มแข็งด้านพนั ธุแ์ ละเมลด็ พันธข์ุ า้ ว ข้าวเป็นพืชเกษตรที่เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของคนไทยมาเป็นเวลานาน เป็นพืชเกษตรที่สาคัญซ่ึงสร้าง ช่ือเสยี งให้กบั ประเทศในระดับโลก ท้ังในฐานะประเทศที่มีข้าวพันธ์ุดีระดับแชมป์โลก เชน่ พนั ธปุ์ ่ินแก้ว และพนั ธ์ขุ า้ ว ดอกมะลิ๑๐๕ เปน็ ตน้ และในฐานะประเทศผู้ส่งออกอนั ดับต้นของโลก การที่ประเทศไทยมีพ้ืนที่เพาะปลูกข้าวมากกว่าร้อยละ ๖๕ ของพื้นที่เกษตรกรรมท้ังประเทศ สร้างรายได้ เป็นเงินตราต่างประเทศเป็นจานวนมาก แต่ฐานะทางเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวส่วนใหญ่ไม่สู้ดี เน่ืองจาก พ้นื ที่นาส่วนใหญ่อยนู่ อกเขตชลประทานและเสี่ยงต่อภยั ธรรมชาติ รฐั บาลจึงต้องดูแลกระบวนการผลติ และราคาขา้ ว มาโดยต่อเนื่อง ดังน้ัน การสร้างความเข้มแข็งด้านพันธ์ุและเมล็ดพันธุ์ข้าวซึ่งเป็นปัจจัยการผลิตเบ้ืองต้น จึงมี ความจาเป็นต่อความมั่นคงแก่เกษตรกรในการผลิตข้าว การยกระดับรายได้ของเกษตรกร ตลอดจนการรักษา ความเป็นผ้นู าด้านการผลติ ขา้ วระดบั โลก เป็นอยา่ งมาก เพ่ือให้การสร้างความเข้มแข็งด้านพันธุ์และเมล็ดพันธุ์ข้าว กรมการข้าวจึงจัดทาแผนกลยุทธ์ภายใต้ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี โดยอาศัยข้อได้เปรียบที่ประเทศไทยเป็นถ่ินกาเนิดของข้าว จึงมีความสมบูรณ์ และความหลากหลายของพันธ์ุข้าว กรมการข้าวมีจุดแข็งที่ได้รวบรวมพันธ์ุข้าวพื้นเมืองกว่า ๒๔,๘๕๒ ตัวอย่าง ไว้ในธนาคารเชื้อพันธุกรรม และมีนักวิจัยท่ีมีประสบการณ์และขีดความสามารถ สูงด้านการปรับปรุงพันธุ์ และด้านเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์อยจู่ านวนหนึ่ง ตลอดจนมเี ครือข่ายศูนยข์ ้าวชมุ ชนในการผลิตเมลด็ พันธุ์ข้าวกระจายอยู่ ทั่วประเทศอีกจานวนหน่ึง แม้มีจุดด้อยท่ีได้รับงบประมาณในด้านท่ีเกี่ยวข้องลดลงและถูกลดกรอบอัตรากาลังลงก็ตาม หากแผนกลยุทธ์น้ีได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลเพื่อเสริมจุดแข็งและลดจุดด้อยของกรมการข้าว ประเทศไทย จะสามารถเป็นแหล่งผลิตข้าวที่มูลค่าสูง เกษตรกรผู้เพาะปลูกข้าวจะมีรายได้สูงข้ึนท้ังจากการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ชว่ งนาปีในพื้นทซ่ี ่ึงทานาได้ปีละ ๑ คร้งั และจากการผลิตข้าวเปลือกพันธุท์ ี่มีมลู คา่ การตลาดสงู ทาใหอ้ าชพี การผลิตข้าว มีความม่นั คงมากขึน้ เป็นที่สนใจแกเ่ กษตรกรยุคใหม่ ทงั้ นี้ ได้แบง่ แผนกลยุทธ์เป็น ๒ แผนงาน ไดแ้ ก่ ๑) แผนงานการใช้ประโยชน์จากเช้ือพันธุกรรมข้าวพื้นเมือง เป็นแผนปฏิบัติการท่ีจะใช้ประโยชน์ จากพันธุ์ข้าวพ้ืนเมืองในธนาคารเชื้อพันธุกรรมมาพัฒนาเป็นพันธุ์ข้าวที่มีมูลค่าการตลาดสูง และมีคุณค่าทางการเกษตร เป็นแผนงานตอ่ เนอ่ื งระยะ ๑๐ ปี ประกอบดว้ ย ๒ แผนปฏิบัติการ คือ ก) แผนปฏิบตั กิ ารพฒั นาพนั ธกุ รรมขา้ วพนื้ เมืองเป็นอตั ลักษณ์ของท้องถ่นิ ข) แผนปฏบิ ตั ิการปรับปรุงพันธ์ุข้าวพนั ธผุ์ สมเพ่ือเพ่ิมคุณค่าทางพันธกุ รรมขา้ วพ้นื เมือง ๒) แผนงานการเพิ่มปริมาณเมล็ดพันธ์ุจาหน่ายให้เกษตรกรอย่างพอเพียง เป็นแผนปฏิบัติการท่ีจะเพ่ิม สัดส่วนการผลิตเมล็ดพันธ์ุจาหน่ายเพื่อเป็นทางเลือกให้เกษตรกรสามารถซื้อเมล็ดพันธ์ุข้าวเพื่อนาไปเพาะปลูกได้ ในราคาทีเ่ หมาะสม เปน็ แผนงานตอ่ เนอ่ื งระยะ ๕ ปี ประกอบด้วย ๓ แผนปฏิบัติการ คือ ก) แผนปฏบิ ตั กิ ารเพิ่มกาลังการผลิตเมล็ดพันธ์ุคัดและเมล็ดพันธหุ์ ลกั ข) แผนปฏิบตั กิ ารเพิ่มกาลังการผลิตเมลด็ พนั ธุ์ขยายและเมลด็ พนั ธุ์จาหน่าย ค) แผนปฏิบตั ิการเพิ่มขดี ความสามารถในการผลติ เมล็ดพันธ์ุจาหนา่ ยของศนู ยข์ า้ วชมุ ชน

๑๖๐ แผนงานการใช้ประโยชน์จากเชอ้ื พันธุกรรมข้าวพ้ืนเมอื ง ************************* ดว้ ยศูนย์ปฏิบตั ิการและเก็บเมล็ดพันธ์ุเช้ือพันธุ์ขา้ วแหง่ ชาติ กรมการข้าว มีการเก็บรักษาเช้ือพันธกุ รรมข้าว ไว้เป็นจานวนมากกว่า ๒๐,๐๐๐ ตัวอย่าง ซ่ึงเชื้อพันธุกรรมเหล่าน้ันมีศักยภาพในการนามาใช้พัฒนาพันธ์ุข้าว ให้มีลักษณะดีเด่นเป็นที่ต้องการของเกษตรกร และกระตุ้นความต้องการของผู้บริโภคเพื่อเพิ่มมูลค่าการตลาดได้อีก เป็นจานวนมาก จึงควรนาเช้ือพันธุกรรมเหล่านั้นมาพัฒนาให้เร็วท่ีสุด ซ่ึงจะช่วยให้เกษตรกรไทยมีรายได้เพิ่มสูงข้ึน อย่างยัง่ ยนื ตอ่ ไป ๐๑ แผนปฏิบตั ิการพฒั นาพนั ธุกรรมขา้ วพ้นื เมืองเปน็ อัตลกั ษณ์ของท้องถิ่น แผนปฏิบัติการน้ีมีเป้าหมายในการจัดทาพิมพ์เขียวข้าวพื้นเมืองในทั่วทุกพ้ืนท่ีของประเทศไทย จานวน ๑๐๐ สายพันธุ์ เพ่ือเร่งรัดพันธ์ุที่มีศักยภาพในการข้ึนทะเบียนพันธ์ุตามพระราชบัญญัติพันธุ์พืช และส่งเสริมให้ กลุ่มชาวนาผลิตข้าวสารคุณภาพสูงเป็นสินค้าพ้ืนเมืองเชิงอัตลักษณ์ของท้องถ่ิน และการเมล็ดพันธุ์บริสุทธ์ิไว้ใช้เอง อย่างยั่งยนื พันธ์ุขา้ วพน้ื เมอื งในเชิงอัตลกั ษณข์ องท้องถน่ิ จานวน ๑๐๐ พนั ธุ์ มี ๓ กลุม่ พันธุ์ ดงั นี้ กลมุ่ ท่ี ๑ กลมุ่ ข้าวพันธ์พุ ื้นเมืองที่ใชใ้ นโครงการส่งเสรมิ และพัฒนาตราสนิ คา้ ข้าวสาหรับตลาดเฉพาะ ภาค ศูนย์ พนั ธ์ุข้าว ภาคกลาง ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วลพบรุ ี เจก๊ เชยกาบมว่ ง ภาคเหนอื ศนู ย์วจิ ยั ข้าวสะเมงิ บอื พะโดะ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ศูนย์วิจัยข้าวสรุ นิ ทร์ มะลิแดง ปะกาอาปึล เม็ดเล็ก สามเกลอ ศูนยว์ ิจัยขา้ วชมุ แพ เมด็ ลา้ น หางปลาไหล ศนู ยว์ ิจยั ขา้ วขอนแก่น พญาลมื แกง ซวิ เกล้ยี ง ภาคใต้ ศนู ยว์ ิจัยข้าวพทั ลงุ หอมไชยา

๑๖๑ กลมุ่ ท่ี ๒ กลมุ่ ขา้ วพนั ธุ์พ้ืนเมอื งที่ได้รบั ความนิยมในพ้ืนที่ ภาค ศนู ย์ พนั ธุ์ข้าว ภาคเหนอื ภาคกลาง ศนู ยว์ ิจัยขา้ วแพร่ ขาวภฟู ้า ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ศูนยว์ จิ ัยข้าวเชยี งใหม่ บอื ตะคี บือแม้ว บอื คูได้ ภาคใต้ ศนู ยว์ ิจยั ขา้ วสะเมิง บือโปะโละ บือซอมี ขา้ วขาว ศูนย์วจิ ัยข้าวแม่ฮ่องสอน ละอูบ บือโปะโละ (แมน่ าจางเหนือ) เฟอื งคา เจ้าดา (แม่อคู อ) ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วเชยี งราย หอมแม่จัน อีโต ศูนย์วจิ ัยข้าวพษิ ณุโลก หอมลกู รงั ศูนย์วิจัยข้าวชยั นาท เหลืองดง หอมกระจุย ศนู ยว์ ิจยั ขา้ วลพบุรี หอมกุหลาบ ศนู ยว์ ิจยั ข้าว ขาวสมุทร พระนครศรีอยุธยา ศนู ยว์ จิ ัยข้าวปราจีนบรุ ี เหลืองทอง (ขน้ึ น้า) ขาวหลวง (ขน้ึ น้า) ขาวหลวง (น้าลกึ ) เหลืองรวย (ข้นึ นา้ ) พญาทองดา (นาสวน) ศูนย์วิจยั ขา้ วราชบรุ ี เหลอื ง ๑๑ (ราชบุร)ี เหลอื งออ่ น ศนู ย์วิจัยข้าวฉะเชงิ เทรา หอมจันทร์ เลบ็ มือนาง ศนู ยว์ ิจัยขา้ วอุบลราชธานี หอมท่งุ เลา้ แตก ศนู ยว์ จิ ยั ข้าวสกลนคร เหลอื ง ๑๑ (สกลนคร) ขต้ี มหอม หอมนางนวล เหนียวดากา่ น้อย กา่ ใบ เขียว ข้าวเหนียวแดง ศูนย์วิจยั ข้าวชุมแพ ข้าวเจา้ ลอยอีสาน (ขึ้นน้า) หอมดง ศูนยว์ ิจยั ขา้ วขอนแกน่ ขา้ วเหนยี วดา (อาเภอโกสุมพิสยั ) ขา้ วดอ (อาเภอบรบือ กดุ รัง นาเชอื ก) ศนู ยว์ จิ ัยขา้ วอดุ รธานี หอมอุดม เจ้าแดง (บา้ นทุ่ม) สันประหลาด ก่าบ้านผือ ศนู ย์วิจยั ขา้ วนครราชสมี า เศรษฐี (น้าลกึ ) ศนู ย์วจิ ัยข้าวพัทลงุ หอมจันทร์ ชอ่ ขิง หนว่ ยเขอื ศนู ยว์ จิ ัยขา้ วนครศรีธรรมราช กาบดา ลกู หวาย ศนู ยว์ ิจยั ข้าวกระบี่ หอมหวั บอน หอมเจด็ บ้าน

๑๖๒ กลมุ่ ที่ ๓ กลุ่มข้าวพันธพ์ุ ื้นเมอื งตามบญั ชฐี านข้อมลู เดิมของทะเบียนเกษตรกร (ทบก. ปี ๒๕๖๐) กรมสง่ เสรมิ การเกษตร และอนื่ ๆ ภาค ศูนย์ พนั ธุ์ขา้ ว ภาคเหนอื ศูนยว์ จิ ัยขา้ วพิษณโุ ลก บอื การา บือบอ บือวา (บือวาจก) ภาคกลาง ศูนย์วิจยั ข้าวลพบุรี บอื นอ่ โพ (บอื ก่อโพ) บือแขะ (แมร่ ะมาด) ศนู ย์วจิ ัยขา้ วปทมุ ธานี ขาวชะลอ (หลม่ สัก) ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ศูนย์วิจยั ข้าว ข้าวขาว (คลองหก) ขาวลอย (หนองเสือ) ภาคใต้ พระนครศรีอยุธยา หอมมะลแิ ดง (คลองหา้ ) หลวงประทาน (เกาะเรียน) สามพราน ๑ ศูนยว์ จิ ัยขา้ วปราจนี บรุ ี (บา้ นกลงึ ) พรสวรรค์ (บ้านกุ่ม) พวงทอง (ขา้ วนา้ ลึก) ขาวชัยนาท (ขึ้นน้า) ชมทงุ่ ศูนย์วจิ ยั ข้าวลพบรุ ี (ข้ึนนา้ ) หอมทุ่ง (ข้ึนน้า) พวงเบา (ขน้ึ น้า) พวงหนัก (ข้ึนนา้ ) กอ้ นแกว้ (ข้ึนนา้ ) ศูนย์วิจยั ข้าวราชบรุ ี เขียวใหญ่ (ขน้ึ น้า) ขาวบารงุ (ข้นึ น้า) เหลืองอมร (ขนึ้ น้า) ทองมาเอง (ขน้ึ นา้ ) ศนู ย์วิจยั ขา้ วปราจนี บรุ ี มะลใิ หญ่ (ขึ้นน้า) ขาวหา้ ร้อย (ขน้ึ นา้ ) ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วนครราชสมี า ล้นยงุ้ ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วสรุ นิ ทร์ เหลอื งเกษตร (ชัยบาดาล/เมือง) ศูนยว์ ิจัยขา้ วร้อยเอด็ ขา้ วเหลอื ง (ชยั บาดาล) อ่อนเหลอื ง ศนู ยว์ จิ ัยขา้ วขอนแก่น (ชัยบาดาล) ขาวญวน (ชัยบาดาล) ศนู ยว์ จิ ัยข้าวสกลนคร ขา้ วน้าย้อย (ชยั บาดาล) ศูนยว์ ิจัยขา้ วปตั ตานี มะลิป่า (ข้าวไร)่ หยาดฟา้ (ข้าวไร)่ อยี ามี ศนู ย์วิจยั ขา้ วนครศรธี รรมราช (ข้าวไร)่ บางกอก (ขา้ วไร)่ ลกู ผึง้ (ข้าวไร)่ มาลยั มะลใิ หญ่ ศูนยว์ จิ ยั ข้าวพทั ลุง ปลดหน้ี (รอดหน)้ี ขาวพระเทพ ขา้ วบาเล่ย์ ขา้ วจ๊ิบ เหลืองบุญมา เนียงกวง (นางคง) บองกษัตริย์ ข้าวเหนียวแดง อลี าว หอมใบเตย (หอมใบเตย ๖๒) อีเขียวนอนทงุ่ นาสวน (นางสวน) ปลาเขง็ มอื ลอ ลกู ปลา เสย้ี นโอน (ขา้ วไร่) ยาโค ยุมหนุน ลูกลาย เบายอดมว่ ง ดาหอม (ขา้ วไร่)

๑๖๓ งบประมาณทเี่ สนอขอตลอดแผนงาน (หน่งึ รอ้ ยลา้ นบาท) ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ตลอดแผนปฏบิ ัติการ ปลี ะ ๑ แผนปฏบิ ตั กิ ารคดั สายพันธบ์ุ รสิ ุทธ์พิ ันธกุ รรมขา้ วพืน้ เมือง ในเชิงอัตลกั ษณข์ องท้องถิ่น ๓,๐๐๐,๐๐๐ - คา่ ใช้สอย : คา่ เบีย้ เล้ยี ง ที่พัก ยานพาหนะ - คา่ ใชส้ อย : ค่าจ้างเหมาแรงงาน/จา้ งเหมาบรกิ าร/จ้างรายเดือน ๔,๐๐๐,๐๐๐ ๔๓๗,๒๐๐ ป.ตร/ี โท ๖๐๐ - คา่ ใช้สอย : คา่ ฝกึ อบรมสมั มนา/จัดประชมุ ๔๓๗,๒๐๐ - คา่ วัสดุ : สานกั งาน ๖๐๐,๐๐๐ - คา่ วัสดุ : เชื้อเพลิงและหลอ่ ล่ืน ๑๒๕,๐๐๐ - ค่าวสั ดุ : วิทยาศาสตร์ - ค่าวสั ดุ : คอมพิวเตอร์ ๑,๔๐๐,๐๐๐ - คา่ วสั ดุ : เกษตร - ค่าครภุ ัณฑ์ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ รวม ๐๒ แผนปฏิบตั ิการปรับปรงุ พนั ธุ์ข้าวพันธผ์ุ สมเพื่อเพิ่มคุณคา่ ทางพนั ธกุ รรมขา้ วพน้ื เมือง แผนปฏิบัติการนี้มีเป้าหมายในการนาเช้ือพันธุกรรมข้าวพื้นเมืองจากศูนย์ปฏิบัติการและเก็บเมล็ดพันธุ์ เชื้อพันธุ์ข้าวแห่งชาติ มาใช้ในการปรับปรุงพันธ์ุข้าวพันธ์ุผสมให้มีลักษณะโดดเด่น เป็นท่ีต้องการของผู้บริโภคที่มี กาลังซ้ือสูง หรอื เป็นประโยชน์ต่อกระบวนการผลติ ของเกษตรกร โดยแบ่งเปน็ โครงการ ๑๐ โครงการ ซ่ึงมีเป้าหมาย ดังต่อไปน้ี ๑. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวต้านทานโรคไหม้และโรคไหม้คอรวง เป็นการใช้แหล่งพันธุกรรมต้านทาน จากเช้ือพันธุกรรมข้าวพ้ืนเมืองถ่ายทอดลักษณะไปยังพันธุ์ปลูกปัจจุบัน เช่น ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ กข๑๕ ลืมผัว มะลนิ ลิ สรุ นิ ทร์ มะลิโกเมนสรุ นิ ทร์ ซึง่ อ่อนแอต่อโรคไหม้และโรคไหม้คอรวง จานวนอยา่ งน้อย ๑๐ สายพนั ธ์ุ ๒. โครงการปรับปรุงพันธ์ุข้าวต้านทานโรคขอบใบแห้ง เป็นการใช้แหล่งพันธุกรรมต้านทานจากเชื้อ พันธุกรรมข้าวพื้นเมืองถ่ายทอดลักษณะไปยังพันธ์ุปลูกปัจจุบัน เช่น ขาวดอกมะลิ๑๐๕ กข๑๕ กข๖ กข๖๙ (ทบั ทมิ ชมุ แพ) สังขห์ ยดพัทลงุ ซงึ่ อ่อนแอตอ่ โรคขอบใบแห้ง จานวนอย่างนอ้ ย ๕ สายพนั ธุ์ ๓. โครงการปรับปรุงพันธ์ุข้าวต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล เป็นการใช้แหล่งพันธุกรรมต้านทานจากเช้ือ พันธุกรรมข้าวพ้ืนเมืองถ่ายทอดลักษณะไปยังพันธุป์ ลูกส่วนใหญ่ในปัจจุบัน ซ่ึงไม่ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล และเพลย้ี กระโดดหลงั ขาว ๔. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวต้านทานแมลงบ่ัว เป็นการใช้แหล่งพันธุกรรมต้านทานจากเชื้อพันธุกรรม ข้าวพ้ืนเมืองถ่ายทอดลักษณะไปยังพันธ์ุปลูกส่วนมากในปัจจุบัน เช่น กข๖ กข๑๕ และขาวดอกมะลิ๑๐๕ ซ่ึงไม่ ต้านทานตอ่ แมลงบ่วั ๕. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวแข่งขันกับวัชพืช เป็นการใช้แหล่งพันธุกรรมต้านทานจากเชื้อพันธุกรรม ข้าวพื้นเมือง เช่น พันธ์ุรากไผ่ ถ่ายทอดลักษณะไปยังพันธุ์ปลูกทั้งหมดในปัจจุบัน ซ่ึงไม่มีความสามารถสูง ในการแข่งขันกับวชั พชื ๖. โครงการปรับปรุงพนั ธ์ุขา้ วสะเทินนา้ สะเทนิ บก หรอื ทนแล้ง เป็นการใช้แหล่งพันธุกรรมทนสภาพน้าน้อย จากเช้ือพันธุกรรมข้าวพื้นเมืองข้าวไร่มาผสมกับข้าวนาสวน แล้วคัดเลือกสายพันธ์ุท่ีปลูกได้ทั้งสภาพน้าขังและสภาพไร่ เช่น พันธุ์สกลนคร เพื่อเตรียมการรองรับการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก หรือคัดเลือกสายพันธ์ุท่ีปลูก ท่ีมีความทนแลง้ เพอ่ื ลดความเส่ยี งในสภาพนาอาศยั นา้ ฝน

๑๖๔ ๗. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวทนดินเค็ม เป็นการใช้แหล่งพันธุกรรมทนต่อดินเค็มจากเช้ือพันธุกรรมข้าว พ้ืนเมืองถา่ ยทอดลกั ษณะไปยงั ข้าวปลกู เชน่ กข๗๓ เพือ่ ให้สามารถปลกู ได้ในสภาพดนิ เคม็ ในพ้นื ท่ีตา่ ง ๆ ๘. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวทนน้าท่วม เป็นการใช้แหล่งพันธุกรรมทนน้าท่วมมาปรับปรุงพันธ์ุให้ได้ ขา้ วปลกู ทส่ี ามารถปลกู ไดใ้ นสภาพนาน้าทว่ ม เช่น กข๕๑ ๙. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้บริโภค เป็นการใช้แหล่งพันธุกรรมกลุ่มข้าวพ้ืนเมือง ที่เย่ือหุ้มเมล็ดสีแดงและสีดา เช่น เบายอดม่วง เหนียวดาหมอ มะลินิลสุรินทร์ มะลิโกเมนสุรินทร์ ก่าเขยหล้า ข้าวเหนยี วแดง ซ่ึงเหมาะในการบรโิ ภคเพ่ือเสริมสรา้ งสขุ ภาพผู้บรโิ ภคทม่ี ีกาลังซือ้ สูงวัยทางาน และกลุ่มข้าวพื้นเมอื ง ท่ีมนี ้าตาลต่าหรือมี Resistant Starch ในสัดส่วนท่สี ูงซึ่งเหมาะสาหรับผู้บริโภคที่มีปัญหาสุขภาพซง่ึ มักเป็นผู้มีกาลังซ้ือสูง มาปรับปรุงพนั ธ์ุเพื่อเพมิ่ ผลผลติ ๑๐. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวซึ่งมีคุณภาพการบริโภคท่ีโดดเด่นและหลากหลาย เป็นการใช้พันธุกรรมข้าว พื้นเมอื งของไทยมีจานวนมากท่ีมีคุณภาพการหุงต้มรับประทานดีและมเี อกลักษณเ์ ฉพาะ เช่น หอมหัวบอน ช่อไม้ไผ่ เม็ดฝ้าย ลืมผัว หอมภูเขียว มาใช้พัฒนาพันธ์ุท่ีสามารถให้ผลิตผลเมล็ดมีความหลากหลายของคุณภาพการบริโภค ทเี่ ปน็ เอกลกั ษณด์ า้ นรปู รา่ ง กลนิ่ สี ความเหนียวจากเมอื กห้มุ เมลด็ และรสชาติ งบประมาณทเี่ สนอขอตลอดแผนงาน (สามร้อยยสี่ บิ ล้านบาท) ๒๕๖๕ - ๒๕๗๔ ตลอดแผนปฏิบตั กิ าร ปลี ะ ๐๒ แผนปฏบิ ตั ิการปรับปรงุ พันธุ์ขา้ วพันธผ์ุ สมเพ่ือเพม่ิ คุณคา่ ทางพันธกุ รรมข้าวพืน้ เมอื ง ๗,๐๐๐,๐๐๐ - ค่าใช้สอย : ค่าเบีย้ เล้ยี ง ท่พี ัก ยานพาหนะ - ค่าใชส้ อย : ค่าจา้ งเหมาแรงงาน/จา้ งเหมาบริการ/จ้างรายเดอื น ๕,๐๔๐,๐๐๐ ๓๒๐,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๔๐๐,๐๐๐ ป.ตรี/โท ๑,๔๐๐,๐๐๐ - คา่ ใชส้ อย : ค่าฝึกอบรมสมั มนา/จัดประชุม ๒,๘๐๐,๐๐๐ - ค่าวสั ดุ : สานกั งาน ๑,๒๐๐,๐๐๐ - คา่ วัสดุ : เช้อื เพลงิ และหลอ่ ล่นื ๑,๒๖๐,๐๐๐ - คา่ วสั ดุ : วิทยาศาสตร์ ๕,๖๐๐,๐๐๐ - ค่าวัสดุ : คอมพวิ เตอร์ ๖,๓๐๐,๐๐๐ - ค่าวสั ดุ : เกษตร ๓๒,๐๐๐,๐๐๐ - คา่ ครภุ ณั ฑ์ รวม รวมงบประมาณสาหรบั แผนงาน “การใชป้ ระโยชน์จากเช้ือพันธกุ รรมข้าวพ้ืนเมอื ง” สามร้อยเจด็ สิบลา้ นบาท กรอบตาแหน่งท่ีขอเพิ่มเตมิ เพ่ือรองรับแผนงาน “การใชป้ ระโยชน์จากเชือ้ พันธกุ รรมข้าวพืน้ เมอื ง” ๐๑ แผนปฏิบัตกิ ารคดั สายพันธบ์ุ ริสทุ ธ์ิพันธุกรรมข้าวพน้ื เมอื งในเชงิ อตั ลักษณ์ของท้องถิน่ นกั วิชาการเกษตร ระดับปริญญาตรี ปฏิบตั งิ านใน ๒๘ ศนู ย์วิจัยข้าว ศนู ยฯ์ ละ ๑ อตั รา รวม ๒๘ อตั รา นักวิชาการเกษตร ระดบั ปรญิ ญาโท จานวน ๓ อตั รา ๐๒ แผนปฏบิ ัตกิ ารปรบั ปรุงพนั ธ์ุข้าวพันธผุ์ สมเพื่อเพมิ่ คุณค่าทางพันธกุ รรมขา้ วพื้นเมือง นกั วิชาการเกษตร ระดบั ปรญิ ญาตรี ปฏบิ ัติงานใน ๒๘ ศนู ย์วิจยั ขา้ ว ศนู ย์ฯ ละ ๑ อตั รา รวม ๒๘ อัตรา นักวชิ าการเกษตร ระดับระดับปริญญาโท จานวน ๕ อตั รา

๑๖๕ แผนงานการเพิ่มปริมาณเมลด็ พันธุ์จาหนา่ ยให้เกษตรกรอยา่ งพอเพียง ************************* ด้วยปัจจุบัน เกษตรกรไทยมีความต้องการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวสาหรับการผลิตในนาปีและนาปรัง ปีละ ประมาณ ๑.๔ ล้านตัน (ข้าวหอมมะลิ ๕๐๐,๐๐๐ ตัน ข้าวหอมไทย ๑๐๐,๐๐๐ ตัน ข้าวเจ้า ๕๑๘,๐๐๐ ตัน ข้าวเหนียว ๒๗๕,๐๐๐๐ ตัน ข้าวตลาดเฉพาะ ๗,๐๐๐ ตัน) ในจานวนน้ี เกษตรกรเก็บเมล็ดพันธุ์จากแปลง ของตนเองไว้ใช้ ประมาณ ๗,๐๐๐,๐๐๐ ตัน ส่วนอีกประมาณ ๗,๐๐๐,๐๐๐ ตันน้ัน เป็นเมล็ดพันธุ์จาหน่ายจาก กรมการข้าว ๘๕,๐๐๐ ตัน จากศูนย์ข้าวชุมชนที่อยู่ในความดูแลของกรมการข้าว ซ่ึงมี ๒,๓๗๔ ศูนย์ ประมาณ ๑๑๒,๐๐๐ ตัน จากสหกรณ์การเกษตรซึ่งกรมส่งเสริมสหกรณ์กากับดูแล ประมาณ ๓๐,๐๐๐ ตัน จากภาคเอกชน หรือผู้รวบรวมและจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ ตัน จึงยังขาดเมล็ดพันธุ์จาหน่าย ประมาณ ๑๗๓,๐๐๐ ตัน ทาให้เกษตรกรไทยยังขาดความมั่นคงด้านเมล็ดพันธุ์ข้าว ดังนั้น รัฐบาลไทยจึงต้องเพ่ิมปริมาณเมล็ดพันธ์ุคุณภาพดี เพื่อให้ได้ผลผลิต คุณภาพดี เมล็ดพันธ์ุดี คือ เมล็ดที่มีความงอกและความบริสุทธิ์สูงมีลักษณะตรงตามพันธุ์ ขนาดของเมล็ดสม่าเสมอไม่มพี ืชอืน่ หรือเมลด็ วัชพชื ปะปน ไม่ถูกโรคและแมลงทาลาย มีความชื้นในเมล็ดท่ีเหมาะสม ในการเก็บรักษาสาหรับปลูกในฤดูต่อไป ในการจาหน่ายให้เกษตรกรอย่างพอเพียง โดยปริมาณการผลิตเมล็ดพันธุ์ จาหน่ายจากกรมการข้าวและศูนย์ข้าวชุมชนควรเพิ่มจากประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ ตันหรือร้อยละ ๓๐ ของเมล็ดพันธุ์ จาหน่ายที่ชาวนาต้องซ้ือมาใช้ เป็นประมาณ ๔๒๐,๐๐๐ ตัน หรือร้อยละ ๖๐ อย่างเร่งด่วน ก่อนท่ีจะบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองพนั ธุ์พชื ท่มี ีผลใกลเ้ คยี งกับหลกั การของอนุสัญญา UPOV 1991 ในอนาคต ๐๓ แผนปฏิบัตกิ ารเพม่ิ กาลงั การผลติ เมล็ดพนั ธค์ุ ัดและเมล็ดพนั ธห์ุ ลัก แผนปฏิบัติการนี้ กองวิจัยและพัฒนาข้าวมีเป้าหมายในการเพิ่มการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี อีกจานวน ๓,๘๕๐ ตัน โดยแบ่งเปน็ เมล็ดพันธุ์คัดซึ่งมีความบริสทุ ธ์ิมากท่ีสุด ต้องได้รับการดูแลรักษา การตรวจสอบท่ีเข้มงวด ท่สี ุด เพ่ือใช้ในการผลิตเมลด็ เปน็ เมล็ดพันธุค์ ัดและเป็นเมลด็ พันธ์ุหลักในรุ่นต่อไป จานวน ๓๕๐ ตนั และเมล็ดพันธ์หุ ลัก จานวน ๓,๕๐๐ ตนั เพ่ือสง่ ต่อให้ศนู ย์เมลด็ พันธุ์ข้าวใช้เปน็ เมล็ดเริ่มตน้ ในการผลติ เป็นเมล็ดพันธ์ขุ ยายและเมลด็ พันธ์ุ จาหน่าย ตามแผนปฏิบัติการเพ่ิมกาลังการผลิตเมล็ดพันธ์ุขยายและเมล็ดพันธ์ุจาหน่าย ซ่ึงเมล็ดพันธุ์ขยายส่วนหน่ึง จะถูกส่งต่อให้ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชนใช้ผลิตเป็นเมล็ดพันธ์ุจาหน่าย ตามแผนปฏิบัติการเพ่ิมขีดความสามารถ ในการผลติ เมลด็ พนั ธจุ์ าหนา่ ยของศูนย์ข้าวชุมชนต่อไป แผนปฏบิ ตั กิ ารนี้แบ่งเปน็ ๔ โครงการ คอื ๑. โครงการผลิตเมล็ดพันธ์คุ ดั ปลูกแบบรวง/แถว ตรวจตัดข้าวปนตามมาตรฐานของกรมการข้าว เก็บผลผลิตเป็นรวง ๆ เพ่ือเป็นพันธ์ุ ปลูกสาหรับผลิตพันธุ์คัดต่อไป และอีกส่วนหน่ึงนวดรวมกันเพ่ือนาไปผลิตเป็นเมล็ดพันธ์ุชั้นพันธ์ุหลัก เพ่ือนาไป ทางานวจิ ยั และเพอื่ การสารองพันธ์ชุ น้ั ความบริสุทธิ์สงู ๒. โครงการผลิตเมลด็ พันธุ์หลัก ปลูกแบบปักดาหรือหว่าน ตรวจตัดข้าวปนตามมาตรฐาน ของกรมการข้าว ผลผลิตท่ีได้หลังจากผ่าน มาตรฐานชั้นพันธ์ุหลักแล้วจัดส่งไปให้ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว เพ่ือผลิตเป็นชั้นพันธ์ุขยายและพันธ์ุจาหน่ายต่อไป นอกจากนั้นยังดาเนินการผลิตเมล็ดพันธุ์หลักเพื่อสนับสนุนการผลิตเมล็ดพันธ์ุของเกษตรกรในพื้นที่เฉพาะ เช่น พันธข์ุ ้าวไร่ ข้าวนาทีส่ งู พนั ธุ์ขา้ วนา้ ลึก และขา้ วเฉพาะถนิ่ ต่าง ๆ ๓. โครงการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ในห้องปฏิบัติการ ทาการตรวจสอบมาตรฐานเมล็ดพันธุ์ ตามมาตรฐาน ISTA ๔. โครงการจดั หาเครือ่ งจักรกลและอุปกรณเ์ พื่อสนับสนุนการผลิตเมล็ดพนั ธ์ุหลกั

๑๖๖ ๐๔ แผนปฏบิ ตั กิ ารเพ่มิ กาลงั การผลติ เมลด็ พนั ธ์ุขยายและเมล็ดพนั ธุ์จาหน่าย แผนปฏิบัติการน้ี กองเมล็ดพันธุ์ข้าวมีเป้าหมายในการเพ่ิมการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธ์ุดีช้ันพันธุ์ขยายและ เมล็ดพันธ์ุจาหน่ายของศูนยเ์ มล็ดพันธุ์ข้าว ๒๙ ศูนย์ จากเดิมท่ีสามารถผลติ ได้ ๘๕,๐๐๐ ตัน เป็นจานวน ๒๐๐,๐๐๐ ตัน โดยจะต้องมรี ะบบการผลิตท่มี กี ารวางแผน ติดตาม ดูแล กากบั การปฏบิ ัติ ควบคุมและตรวจสอบคณุ ภาพเมล็ดพนั ธ์ุ ทุกข้ันตอนของกระบวนการผลิต ให้ถูกต้อง ตามหลักวิชาการ เหมาะสม และรวดเร็วทันสถานการณ์ ซ่ึงการ ดาเนินการดังกล่าวจาเป็นต้องได้รับการสนับสนุนงบประมาณที่มากพอ รวมท้ังต้องสามารถบริหารจัดการ งบประมาณใหม้ คี วามคล่องตัว สอดคล้องกับภารกิจและกิจกรรม จึงจะทาให้ขบวนการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดี ของกรมการข้าวเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ การดาเนินการผลิตเมลด็ พันธุ์ขยายและเมลด็ พนั ธุ์จาหนา่ ย มรี ายละเอยี ดการดาเนนิ งานแต่ละกิจกรรม ดังน้ี ๑. โครงการผลิตเมล็ดพันธุข์ า้ ว ๑.๑ จัดประชมุ ผเู้ ก่ยี วขอ้ ง เพ่ือกาหนดเป้าหมายการผลิต ๑.๒ ประชมุ ช้แี จง คดั เลือกพ้ืนท่ีและเกษตรกร ๑.๓ จัดอบรมเกษตรกรผูผ้ ลติ เมลด็ พนั ธุ์ ๑.๔ จาหน่ายเมลด็ พนั ธ์ุเพ่อื ใชจ้ ัดทาแปลงขยายพนั ธ์ใุ หแ้ กเ่ กษตรกรผลิตเมลด็ พันธุ์ ๑.๕ ตดิ ตาม ควบคุม ให้คาแนะนาการจดั ทาแปลงขยายพันธุ์ของเกษตรกร ๑.๖ จัดซ้ือเมล็ดพนั ธุ์คนื จากเกษตรกรผผู้ ลติ เมล็ดพันธ์ุ ๑.๗ ปรับปรงุ สภาพเมลด็ พนั ธ์ุ ๑.๘ เกบ็ รักษาเมล็ดพันธเ์ุ พ่ือการจาหน่าย

๑๖๗ งบประมาณที่เสนอขอตลอดแผนปฏิบตั ิการ (หนึง่ พนั ย่ีสบิ สองล้านสแี่ สนห้าหมน่ื หา้ พนั สองรอ้ ยบาท) ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ - ๒๕๖๘ ตลอดแผนปฏิบตั กิ าร ปลี ะ หมวดเงนิ หน่วย ปริมาณ ราคาตอ่ งบประมาณ นับ หน่วย (บาท) (บาท) งบดาเนินงาน ๑.๑ การผลิต ตนั ๓๕๐ ๗๐,๐๐๐ ๒๔,๕๐๐,๐๐๐ ๒๔,๕๐๐,๐๐๐ ๑๒๒,๕๐๐,๐๐๐ เมล็ดพนั ธ์คุ ัด ๑.๒ การผลติ ตนั ๓,๕๐๐ ๓๕,๐๐๐ ๑๒๒,๕๐๐,๐๐๐ ๑๒๒,๕๐๐,๐๐๐ ๖๑๒,๕๐๐,๐๐๐ เมลด็ พันธุห์ ลกั รวม ๑๔๗,๐๐๐,๐๐๐ ๑๔๗,๐๐๐,๐๐๐ ๗๓๕,๐๐๐,๐๐๐ งบลงทนุ – ๒.๑ สิ่งกอ่ สรา้ ง ๑๐๘,๑๙๗,๐๐๐ – ๑๐๘,๑๙๗,๐๐๐ ๒.๒ ครภุ ัณฑ์ที่ใช้ ๙๖,๓๓๘,๒๐๐ – ๙๖,๓๓๘,๒๐๐ ในแปลงนา ๒.๓ ครภุ ณั ฑ์ท่ีใช้ ๒๘,๖๔๕,๐๐๐ – ๒๘,๖๔๕,๐๐๐ ในการจัดการ หลังการเก็บเกยี่ ว ๒.๔ ครภุ ัณฑท์ ี่ใช้ ๕๔,๒๗๕,๐๐๐ – ๕๔,๒๗๕,๐๐๐ ในห้องปฏิบตั กิ าร รวม ๒๘๗,๔๕๕,๒๐๐ – ๒๘๗,๔๕๕,๒๐๐ งบประมาณรวม ๔๓๔,๔๕๕,๒๐๐ ๑๔๗,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๒๒,๔๕๕,๒๐๐

๑๖๘ ๒. โครงการควบคุมคุณภาพเมลด็ พันธข์ุ า้ ว ๒.๑ ตรวจตัดสนิ คณุ ภาพแปลงขยายพนั ธุข์ ้าว ๒.๒ สุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์และตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ในกระบวนการผลิตทั้งหมด ภายในห้องปฏิบัติการ การตรวจสอบคณุ ภาพเมลด็ พันธ์ุ ดังนี้ - เมลด็ พนั ธเุ์ พือ่ ใช้จัดทาแปลงขยายพันธุ์ข้าว - เมลด็ พันธก์ุ อ่ นจัดซ้ือคืนจากเกษตรกร - เมลด็ พันธร์ุ ะหวา่ งจดั ซื้อคนื จากเกษตรกร - เมล็ดพนั ธก์ุ อ่ นปรับปรุงสภาพ - เมลด็ พนั ธ์ุระหวา่ งปรับปรงุ สภาพ - เมลด็ พันธุ์หลงั ปรับปรงุ สภาพ - เมล็ดพันธ์ุระหวา่ งเก็บรักษา ๓. โครงการจาหน่ายเมล็ดพนั ธ์ขุ ้าว ๓.๑ จาหน่ายเมลด็ พันธขุ์ า้ วให้แก่หน่วยงานราชการ กลุ่มเกษตรกร ผปู้ ระกอบการผลิตเมลด็ พนั ธ์ุ ตวั แทนจาหนา่ ยเมลด็ พันธุ์และเกษตรกรทวั่ ไป ๓.๒ จาหน่ายเมล็ดพนั ธ์ขุ า้ วใหแ้ ก่ศูนย์ขา้ วชมุ ชน เพือ่ นาไปผลิตเมลด็ พันธ์ุจาหนา่ ย ๔. โครงการส่งเสรมิ ชาวนาใชเ้ มลด็ พนั ธุ์ดี ๔.๑ จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ ส่งเสริมให้ชาวนาใช้เมล็ดพันธ์ุข้าวพันธ์ุดี ผ่านสื่อช่องทางต่าง ๆ ได้แก่ ปา้ ยพลาสติกไวนิล เอกสารคาแนะนา แผน่ พบั จดหมายข่าว และชดุ นิทรรศการสาเร็จรปู ๔.๒ จดั งานวันรณรงคก์ ารใชเ้ มลด็ พันธุ์ดี ๕. โครงการจดั หาเครอ่ื งจักรกลและอปุ กรณ์เพื่อสนบั สนนุ การผลิตเมลด็ พันธ์ุชั้นพนั ธุ์ขยายและจาหนา่ ย งบประมาณทีเ่ สนอขอตลอดแผนปฏิบัติการ (สี่พันเจ็ดร้อยสามสิบสองลา้ นบาทถ้วน) หมวดเงิน งบประมาณ (ลา้ นบาท) ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ รวม งบดาเนินงาน ๒๗๑ ๒๗๑ ๒๗๑ ๒๗๑ ๒๗๑ ๑,๓๕๕ งบลงทนุ ๑๕๐ ๑๕๐ งบอุดหนนุ ๕๘๒ ๕๘๒ งบรายจา่ ยอ่นื ๑,๖๐๐ - - - - ๑,๖๐๐ (สาหรับ ๓,๖๘๗ ค่าใชจ้ ่ายของ เงินทุน หมุนเวยี นฯ ) งบประมาณ ๒,๖๐๓ ๒๗๑ ๒๗๑ ๒๗๑ ๒๗๑ รวม (ล้าน บาท)

๑๖๙ ๐๕ แผนปฏบิ ตั ิการเพิ่มขดี ความสามารถในการผลติ เมล็ดพันธ์ุจาหนา่ ยของศนู ย์ขา้ วชุมชน แผนปฏิบัติการน้ี กองเมล็ดพันธ์ุข้าวมีเป้าหมายในการเพิ่มประสิทธิผลการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี ช้ันพันธุ์ขยายและเมล็ดพันธุ์จาหน่ายของศูนย์ข้าวชุมชนท่ีมีอยู่จานวน ๒,๓๗๔ ศูนย์ ใน ๗๔ จังหวัด ซ่ึงปัจจุบัน มขี ้อจากัดของการดาเนนิ งานหลายประการ เช่น การสนับสนนุ งบประมาณเพ่ือสร้างความเขม้ แข็งในการดาเนินงาน ไมเ่ พยี งพอและขาดความต่อเนอื่ ง การขาดแคลนเมล็ดพันธ์ุขา้ วคุณภาพดีที่จะนามาเปน็ หัวเช้ือในการขยายเป็นเมล็ด พันธุ์ข้าวจาหน่ายในชุมชน ขาดแคลนเคร่ืองจักรกลทางการเกษตรท่ีใช้ในการผลิตและปรับปรุงคุณภาพเมล็ดพันธุ์ ข้าว เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานที่ทาหน้าท่ีเป็นพี่เล้ียงในระดับพ้ืนท่ีมีจานวนไม่เพียงพอ รวมท้ังเงินหมุนเวียนในการซื้อ เมล็ดพันธ์ุข้าวจากสมาชิก โดยจะพัฒนาระดับการผลิตเมล็ดพันธุ์ของศูนย์ข้าวชุมชนให้ได้เมล็ดพันธุ์ท่ีมีมาตรฐาน คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง ด้วยการสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ขยาย เงินทุนหมุนเวียน ครุภัณฑ์ที่จาเป็น และคาแนะนาในการผลิตเมล็ดพันธ์ุจาหน่าย โดยมีเป้าหมายในการเพิ่มปริมาณการผลิตเมล็ดพันธ์ุจาหนา่ ยจากเดิม ประมาณ ๑๑๒,๐๐๐ ตัน เป็นปริมาณการผลิตเมล็ดพันธ์ุจาหน่ายท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว พ.ศ. ๒๕๕๗ ประมาณ ๒๒๐,๐๐๐ ตัน โดยมีแผนการเพิ่มปริมาณเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานฯ ของศูนย์ข้าว ชุมชน ระยะ ๕ ปี ดงั น้ี ปีที่ ๑ เพ่มิ ผลผลิตเมล็ดพนั ธุข์ ้าวของศูนย์ขา้ วชมุ ชน ระดบั A จานวน ๑๐๐ แหง่ เป็นแห่งละ ๓๐๐ ตนั และ ระดับ B จานวน ๑๐๐ แหง่ เปน็ แห่งละ ๒๐๐ ตัน ผลผลิตเมล็ดพนั ธุ์ท่มี ีคณุ ภาพตามมาตรฐานฯ รวม ๕๐,๐๐๐ ตนั ด้วยงบประมาณ ๔,๓๕๖,๒๐๐,๐๐๐ บาท ปีที่ ๒ เพมิ่ ผลผลิตเมล็ดพันธ์ขุ า้ วของศนู ย์ข้าวชมุ ชน ระดับ A จานวน ๑๕๐ แห่ง ๆ ละ ๓๐๐ ตนั และระดบั B จานวน ๑๐๐ แห่ง ๆ ละ ๒๐๐ ตนั ผลผลติ เมล็ดพนั ธุ์ทมี่ ีคุณภาพตามมาตรฐานฯ รวม ๖๕,๐๐๐ ตนั ด้วยงบประมาณ ๕,๔๙๕,๒๕๐,๐๐๐ บาท ปีท่ี ๓ เพ่ิมผลผลิตเมลด็ พันธข์ุ ้าวของศูนย์ข้าวชุมชน ระดับ A จานวน ๑๕๐ แห่ง ๆ ละ ๓๐๐ ตัน และระดบั B จานวน ๑๐๐ แห่ง ๆ ละ ๒๐๐ ตนั ผลผลิตเมล็ดพันธ์ุทม่ี ีคุณภาพตามมาตรฐานฯ รวม ๖๕,๐๐๐ ตนั ด้วยงบประมาณ ๕,๔๙๕,๒๕๐,๐๐๐ บาท ปีที่ ๔ เพิ่มผลผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของศูนย์ข้าวชุมชน ระดับ B จานวน ๑๐๐ แห่ง ๆ ละ ๒๐๐ ตัน ผลผลิต เมลด็ พันธ์ุทม่ี ีคณุ ภาพตามมาตรฐานฯ รวม ๒๐,๐๐๐ ตัน ด้วยงบประมาณ ๒,๐๗๘,๑๐๐,๐๐๐ บาท ปีที่ ๕ เพิ่มผลผลิตเมลด็ พันธ์ุขา้ วของศนู ย์ขา้ วชมุ ชน ระดับ B จานวน ๑๐๐ แห่ง ๆ ละ ๒๐๐ ตนั ผลผลติ เมล็ดพนั ธ์ุท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานฯ รวม ๒๐,๐๐๐ ตัน ดว้ ยงบประมาณ ๒,๐๗๘,๑๐๐,๐๐๐ บาท เมอ่ื ส้นิ สุดแผนปฏบิ ัติการ ศูนย์ข้าวชุมชนระดบั A และ B รวม ๙๐๐ แหง่ จากทง้ั หมด ๒,๓๗๔ แห่ง จะมี ผลผลติ เมล็ดพันธุ์ท่มี ีคุณภาพตามมาตรฐานฯ ปลี ะ ๒๒๐,๐๐๐ ตนั โดยศูนย์ขา้ วชุมชนระดบั C และ D จะยงั มผี ลผลิต เมลด็ พันธ์ุจาหนา่ ยตามปกตติ ่อไป รวมงบประมาณตลอดแผนปฏิบัติการ ๑๙,๕๐๒,๙๐๐,๐๐๐ บาท (หนง่ึ หม่ืนเกา้ พันห้าร้อยสองลา้ นเก้าแสนบาท)

๑๗๐ งบประมาณเพ่ือการยกระดบั การผลติ เมล็ดพันธข์ุ า้ วคุณภาพดขี องศูนย์ข้าวชุมชน (ศขช.) แต่ละระดับ ระดับ ผล จานวน เมลด็ เงนิ ทุน รถเก่ียว ชุดเครือ่ งอบ ชุดเครอ่ื งคดั รวม รวมงบประมาณ ศขช. ผลิต (แห่ง) พันธ์ุขา้ ว หมุนเวยี น นวดข้าว ลดความชนื้ ทาความ งบประมาณ ทงั้ ส้นิ (ตนั ) คุณภาพ แห่งละ แหง่ ละ เมลด็ พันธ์ุ สะอาด สนับสนนุ (บาท) ดี (ตัน) (บาท) (บาท) ข้าว แห่งละ เมลด็ พันธข์ุ ้าว แหง่ ละ (บาท) แหง่ ละ (บาท) (บาท) A ๓๐๐ ๔๐๐ ๘๑,๐๐๐ ๔,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๕๐๐,๐๐๐ ๑๔,๐๐๐,๐๐๐ ๓,๒๐๐,๐๐๐ ๒๒,๗๘๑,๐๐๐ ๙,๑๑๒,๔๐๐,๐๐๐ B ๒๐๐ ๕๐๐ ๘๑,๐๐๐ ๒,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๕๐๐,๐๐๐ ๑๔,๐๐๐,๐๐๐ ๓,๒๐๐,๐๐๐ ๒๐,๗๘๑,๐๐๐ ๑๐,๓๙๐,๕๐๐,๐๐๐ แผนการเพ่ิมปรมิ าณเมลด็ พันธ์ุของศูนยข์ ้าวชมุ ชน ระยะ ๕ ปี ปีท่ี ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ รวม ๒,๓๗๔ ระดับ A+B A+B A+B B B ๑๐๐ ๑๐๐ จานวน ๑๐๐+๑๐๐ ๑๕๐+๑๐๐ ๑๕๐+๑๐๐ ๒,๐๗๘.๑๐ (แหง่ ) ๒๐,๐๐๐ งบประมาณ ๔,๓๕๖.๒๐ ๕,๔๙๕.๒๕ ๕,๔๙๕.๒๕ ๒,๐๗๘.๑๐ ๑๙,๕๐๒.๙๐ (ล้านบาท) ผลผลติ เมลด็ ๕๐,๐๐๐ ๖๕,๐๐๐ ๖๕,๐๐๐ ๒๐,๐๐๐ ๒๒๒,๐๐๐ พนั ธ์ุเพมิ่ ข้ึน (ตนั /ป)ี กรอบตาแหน่งที่ขอเพ่ิมเติมเพ่ือรองรบั แผนงาน “การเพ่ิมปรมิ าณเมลด็ พันธ์จุ าหน่ายให้เกษตรกรอยา่ งพอเพียง” หนว่ ยงาน ตาแหนง่ จานวน (อัตรา) สานกั ส่งเสริมการผลติ ขา้ ว นักวชิ าการเกษตร ระดบั ปฏบิ ัติการขึ้นไป ๒ กองเมลด็ พนั ธ์ุขา้ ว นักวชิ าการเกษตร ระดบั ปฏบิ ัติการข้นึ ไป ๑ สถาบันวทิ ยาศาสตร์ข้าว นกั วชิ าการเกษตร ระดบั ปฏบิ ัติการขน้ึ ไป ๒ แห่งชาติ พนักงานราชการ ๒ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ ว (๒๗ แหง่ ) นักวิชาการเกษตร ระดบั ปฏบิ ัติการข้นึ ไป ๒๗ พนักงานราชการ ๒๗ ศนู ย์เมล็ดพันธุ์ข้าว (๒๘ แห่ง) นักวิชาการเกษตร ระดับปฏิบัตกิ ารขึ้นไป ๒๘ พนักงานราชการ ๒๘ รวม นักวชิ าการเกษตร ระดบั ปฏบิ ัติการขึ้นไป ๖๐ พนักงานราชการ ๕๗

๑๗๑ สรุปความต้องการสาหรับกรมการข้าวเพื่อดาเนินการตามแผนกลยุทธ์เพ่ือสร้างความเข้มแข็งด้านพันธ์ุและ เมล็ดพนั ธข์ุ า้ ว ๑) งบประมาณรวม ๒๔,๕๘๒,๓๕๕,๒๐๐ บาท (สองหม่นื สีพ่ ันห้าร้อยแปดสบิ สองล้านสามแสนห้าหมนื่ หา้ พัน สองร้อยบาทถว้ น) ๒) กรอบอตั รากาลัง o พนักงานราชการ ระดบั ปรญิ ญาตรี ๑๑๖ ตาแหนง่ o นกั วิชาการ ระดับปรญิ ญาตรี ๕๗ ตาแหน่ง o นักวชิ าการ ระดับปรญิ ญาโท ๘ ตาแหนง่

๑๗๒

๑๗๓

๑๗๔

ภาคผนวก ญ บนั ทึกขอ้ สงวนความเห็นของกรรมาธกิ ารวสิ ามญั

ภาคผนวก ฎ รายงานของคณะอนกุ รรมาธกิ าร คณะอนุกรรมาธกิ ารศึกษาผลกระทบดา้ นการเกษตรและพันธพ์ุ ืช คณะอนกุ รรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสขุ คณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การคา้ และการลงทนุ






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook