Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว 4.8

(4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว 4.8

Published by agenda.ebook, 2020-10-29 10:15:48

Description: (4) เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว 4.8 การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 1-2 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่สอง) วันที่ 4-5 พฤศจิกายน 2563

Search

Read the Text Version

เรือ่ งทคี่ ณะกรรมาธกิ าร พจิ ารณาเสรจ็ แลว้ คร้งั ที่ 1-2 (สมัยสามญั ประจาปคี รงั้ ท่ีสอง) วันท่ี 4-5 พฤศจิกายน 2563 ระเบยี บวาระท่ี 4.8







รายงาน ของ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาศกึ ษา ผลกระทบจากการเขา้ ร่วมความตกลงทค่ี รอบคลุม และก้าวหนา้ สาหรับหุน้ สว่ นทางเศรษฐกิจภาคพ้นื แปซิฟกิ (CPTPP) สภาผูแ้ ทนราษฎร กลมุ่ งานคณะกรรมาธิการการตา่ งประเทศ สานักกรรมาธิการ ๒ สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร







ก-๑ สารบัญ หน้า สารบัญ ก รายนามคณะกรรมาธิการ ข รายนามคณะอนุกรรมาธกิ าร ค บทสรุปผูบ้ ริหาร ง รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๑ ๑. การดาเนนิ งาน ๒ ๒. ผซู้ ่งึ คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญได้เชิญมาชี้แจงแสดงความคิดเหน็ ๔ ๓. การพิจารณาของคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญ ๒๑ ๔. ผลการพจิ ารณาศึกษาของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ๒๔ ๔.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา ๒๔ ๔.๒ ประเด็นการพจิ ารณาศกึ ษา ๒๗ ๔.๓ ผลการพิจารณาศกึ ษาผลกระทบดา้ นการเกษตรและพนั ธุ์พชื ๒๗ ๔.๓.๑ ผลกระทบดา้ นการเกษตร ๒๗ ๔.๓.๒ ผลกระทบจากกรณีการเข้ารว่ มเป็นภาคอี นุสญั ญาระหวา่ งประเทศ เพื่อการคุ้มครองพนั ธพุ์ ืชใหม่ (UPOV) ๓๐ ๔.๓.๓ ความเห็นและข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ๓๕ ๔.๔ ผลการพิจารณาศึกษาผลกระทบด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ๓๘ ๔.๔.๑ ภาพรวมผลการพจิ ารณาศกึ ษา ๓๘ ๔.๔.๒ ผลการพิจารณาศกึ ษาประเด็นสาคัญ ๑๑ เรอ่ื ง ๓๙ ๑) ยา (รวมวคั ซีน และชีววัตถุ) ๓๙ (๑) การรบั ฝากจลุ ชพี ) ๔๑ (๒) การเชอื่ มโยงสิทธิบัตรกบั การขน้ึ ทะเบียนตารบั ยา (Patent Linkage) ๔๒ (๓) การจัดซือ้ จัดจา้ งภาครัฐ (Government Procurement) ท่เี ก่ียวกับ สาธารณสุข ๔๔ (๔) การบังคบั ใชส้ ทิ ธเิ หนือสิทธิบัตรยา (Compulsory Licensing : CL) ๔๖ ๒) สมนุ ไพร ๔๗ ๓) เคร่อื งมือแพทย์ ๔๘ ๔) อาหาร ๕๐ ๕) เครอ่ื งสาอาง ๕๑ ๖) ยาสูบ ๕๒ ๗) เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ ๕๓ ๘) ข้อบทว่าด้วยการคุม้ ครองการลงทุน (Investment protection) และกลไกการระงับ ข้อพพิ าทระหว่างรฐั กับเอกชน (Investor-State Dispute Settlement : ISDS) ๕๔ ๙) การบริการสาธารณสขุ ๕๕ ๑๐) การกา้ วสูก่ ารเปน็ ศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (Medical Hub) ของประเทศไทย ๕๗ ๑๑) ขอ้ บทที่ถกู ระงับไว้ (Suspended provisions) ๕๗

ก-๒ สารบัญ (ตอ่ ) หน้า ๔.๕ ผลการพจิ ารณาศกึ ษาผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ การคา้ และการลงทุน ๕๘ ๔.๕.๑ ภาพรวมผลการพิจารณาศกึ ษา ๕๘ ๔.๕.๒ ผลการพิจารณาศกึ ษาประเด็นสาคัญ ๑๑ ประเดน็ ๕๙ ๑) ภาพรวมการประเมินผลกระทบ และ Post COVID ๕๙ ๒) การคา้ สนิ ค้า กฎถน่ิ กาเนิดสินคา้ และประเดน็ Free Zone ๕๙ ๓) การค้าบรกิ าร การลงทุน และการเขา้ เมอื งชั่วคราวสาหรบั นักธุรกิจ ๖๒ ๔) การคุ้มครองสิทธิแรงงาน ๖๓ ๕) พาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-commerce) ๖๓ ๖) กลไกระงับข้อพิพาทระหวา่ งนักลงทนุ กับรฐั (Investor-State Dispute Settlement : ISDS) ๖๔ ๗) การจดั ซื้อจัดจา้ งโดยรัฐ ๖๕ ๘) รัฐวสิ าหกจิ และหนว่ ยงานทไี่ ดร้ บั สทิ ธพิ ิเศษเพ่อื ความมั่นคงแหง่ รฐั ๖๘ ๙) อปุ สรรคทางเทคนิคตอ่ การค้า (Technical Barriers to Trade : TBT) ๗๐ ๑๐) มาตรการสุขอนามัยและสขุ อนามัยพชื (Sanitary and Phytosanitary : SPS) ๗๒ ๑๑) สนิ ค้าขยะอนั ตราย ๗๔ ๕. ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ๗๕ ๕.๑ ข้อสังเกตดา้ นการเกษตรและพนั ธพ์ุ ชื ๗๕ ๕.๒ ข้อสงั เกตด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ๗๕ ๕.๓ ขอ้ สงั เกตด้านเศรษฐกจิ การค้า และการลงทุน ๗๗ ภาคผนวก ภาคผนวก ก หนังสอื ตงั้ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญ ๘๖ ภาคผนวก ข ญตั ติดว่ น จานวน ๙ ฉบบั ๘๙ ภาคผนวก ค ผลกระทบและโอกาสดา้ นการเปิดตลาดของสนิ ค้าเกษตรไทย ภายใตค้ วามตกลง CPTPP ๙๐ ภาคผนวก ง ความเห็นตอ่ ขอ้ กังวลของเกษตรกร และแนวทางการแกไ้ ข/พฒั นา เพ่ือให้เกษตรกรไทยมีความพรอ้ มกอ่ นการเข้ารว่ มอนสุ ัญญา UPOV 1991 ๑๐๓ ภาคผนวก จ สถานการณ/์ การปฏิบตั ิ/คาดการณ์ผลกระทบของที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธกิ ารจาก กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และขอ้ กงั วลของเกษตรกรท่ีผลิตพืชชนดิ /กลมุ่ ต่าง ๆ ตอ่ การเขา้ รว่ มอนุสัญญาวา่ ด้วยการคุม้ ครองพนั ธ์พุ ืชใหม่ (UPOV 1991) ๑๐๙ ภาคผนวก ฉ กระบวนการผลติ และจาหน่ายเมลด็ พนั ธ์ตุ ามภารกจิ หน่วยงานภาครฐั ๑๓๓ ภาคผนวก ช การอนรุ กั ษพ์ ันธ์ุพืช และฐานข้อมลู พันธพุ์ ืช ๑๔๕ ภาคผนวก ซ รา่ งพระราชบัญญตั คิ ุ้มครองพนั ธพุ์ ืช (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... เสนอโดย รองศาสตราจารย์ สรุ วิช วรรณไกรโรจน์ อนุกรรมาธกิ ารศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพนั ธุ์พชื ๑๕๐ ภาคผนวก ฌ แผนกลยทุ ธเ์ พอ่ื สรา้ งความเข้มแข็งดา้ นพนั ธแุ์ ละเมล็ดพนั ธ์ุขา้ ว ๑๕๘ ภาคผนวก ญ บนั ทกึ ขอ้ สงวนความเหน็ ของกรรมาธิการวสิ ามญั ๑๗๕ ภาคผนวก ฎ รายงานของคณะอนกุ รรมาธกิ าร ๑๗๖

ก-๓ สารบญั ภาพ ภาพที่ หนา้ ๑ กรอบการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเขา้ รว่ ม ความตกลงทีค่ รอบคลุมและก้าวหน้าสาหรบั หุ้นสว่ นทางเศรษฐกจิ ภาคพน้ื แปซฟิ ิก (CPTPP) ๔๐ ประเด็นยา (รวมวคั ซนี และชวี วตั ถุ) ๒ กรอบการพจิ ารณาประเด็นภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ และการแพทยแ์ ผนไทยและสมนุ ไพร และประเดน็ ๔๗ ผลกระทบจาก CPTPP ๔๙ ๓ ระบบและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี ของเครอื่ งมือแพทย์โดยสานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ๕๑ ๔ การกากบั ดแู ลเคร่ืองสาอางของสานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา

ข-๑ รายนามคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาศกึ ษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลง ท่ีครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุน้ สว่ นทางเศรษฐกิจภาคพ้ืนแปซฟิ กิ (CPTPP) สภาผู้แทนราษฎร นายวรี ะกร คาประกอบ ประธานคณะกรรมาธิการ นายอนันต์ ศรีพันธ์ุ นายศุภชัย ใจสมทุ ร นายเกยี รติ สทิ ธีอมร นายระวี มาศฉมาดล รองประธานคณะกรรมาธกิ าร รองประธานคณะกรรมาธิการ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่หี นึ่ง คนท่ีสอง คนทีส่ าม คนที่สี่ นายมนญู สวิ าภริ มยร์ ัตน์ นายเขม้ แขง็ ยุตธิ รรมดารง นายจริ วัฒน์ ศิรพิ านชิ ย์ นางสาวจิราพร สินธไุ พร รองประธานคณะกรรมาธกิ าร ทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธิการ ทปี่ รกึ ษาคณะกรรมาธิการ ทปี่ รึกษาคณะกรรมาธิการ คนที่ห้า นายทศพล ทังสุบตุ ร นายไพศาล ดนั่ ค้มุ นางอรมน ทรัพยท์ วธี รรม นายวาโย อศั วรุง่ เรอื ง ทปี่ รึกษาคณะกรรมาธิการ ทป่ี รึกษาคณะกรรมาธกิ าร ทปี่ รึกษาคณะกรรมาธิการ เลขานุการคณะกรรมาธกิ าร นายเจเศรษฐ์ ไทยเศรษฐ์ นางสาวนพวรรณ หัวใจมัน่ นางสาวอรพินทร์ เพชรทตั นางสาวศรีนวล บุญลอื ผชู้ ว่ ยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานกุ าร ผู้ช่วยเลขานุการ ผชู้ ่วยเลขานกุ าร คณะกรรมาธกิ าร คณะกรรมาธกิ าร คณะกรรมาธิการ คณะกรรมาธกิ าร

ข-๒ นายจักรวี วิสทุ ธผิ ล นายฐติ นิ ันท์ แสงนาค นายเพชรภมู ิ อาภรณร์ ตั น์ นางสาวเพชรชมพู กิจบูรณะ โฆษกคณะกรรมาธิการ โฆษกคณะกรรมาธกิ าร โฆษกคณะกรรมาธิการ โฆษกคณะกรรมาธิการ นายวรภพ วิริยะโรจน์ นางสาวกรรณกิ าร์ กจิ ติเวชกุล นายจักรพล ตัง้ สทุ ธิธรรม รองศาสตราจารย์ กรรมาธิการ จริ าพร ลม้ิ ปานานนท์ โฆษกคณะกรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธกิ าร (ตัง้ แตว่ ันท่ี ๑๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๓) ถงึ วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓) นายเชดิ ชาย ใช้ไววิทย์ นางสาวทพิ านนั ศริ ิชนะ นายธกร เลาหพงศ์ชนะ นายธรี ะพงษ์ วัฒนวงษภ์ ญิ โญ กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ นางนาที รัชกิจประการ นายนิกร จานง นายเนวินธุ์ ชอ่ ชยั ทิพฐ์ นายประเสริฐ ชัยกจิ เด่นนภาลัย กรรมาธกิ าร กรรมาธิการ กรรมาธกิ าร กรรมาธกิ าร นายปรญิ ญ์ พานิชภักดิ์ นายปรญิ ญา ฤกษห์ ร่าย นายพทิ กั ษ์ สันตวิ งษส์ กุล รองศาสตราจารย์ กรรมาธกิ าร กรรมาธกิ าร กรรมาธกิ าร รงค์ บุญสวยขวัญ กรรมาธกิ าร

ข-๓ นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท นายเลศิ ศักดิ์ พัฒนชัยกลุ นายวิจกั ร อากปั กริยา นายศภุ กจิ ศิริลักษณ์ กรรมาธกิ าร กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธกิ าร นางสาวสกุณา สาระนนั ท์ นายสมเกียรติ ศรลัมพ์ นายสมบูรณ์ ซารมั ย์ นายสะถิระ เผอื กประพันธ์ุ กรรมาธิการ กรรมาธกิ าร กรรมาธิการ กรรมาธิการ นายสุนทร รกั ษ์รงค์ รองศาสตราจารย์ นางสาวเสริมสุข สลกั เพช็ ร์ นายอนั วาร์ สาและ กรรมาธกิ าร กรรมาธกิ าร สรุ วิช วรรณไกรโรจน์ กรรมาธกิ าร กรรมาธกิ าร นางสาวทศั นยี ์ วีระกนั ต์ กรรมาธกิ าร (ต้ังแต่วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓)

ข-๔ รายนามท่ีปรึกษาประจาคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาศึกษาผลกระทบจากการเขา้ ร่วม ความตกลงท่คี รอบคลุมและกา้ วหน้าสาหรบั หุน้ สว่ นทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) สภาผ้แู ทนราษฎร ๑. นายจอมพจน์ ภู่รกั ศักดิศ์ รี ๒. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ ๓. นายจารญู ศักด์ิ จันทรมัย ๔. นายเจริญ คัมภีรภาพ ๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชล บุนนาค ๖. พันเอก ชินรัชต์ รตั นจติ เกษม ๗. นายณพวรี ์ ตันติเสรี ๘. นายเทดิ พงษ์ หงษ์หิรัญเรอื ง ๙. นายบณั ฑรู วงศส์ ีลโชติ ๑๐. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยป์ ระมวล สธุ ีจารุวัฒน ๑๑. นางปิยะนชุ มาลากุล ณ อยธุ ยา ๑๒. นางสาวผอ่ งศรี ธาราภมู ิ ๑๓. นายพีรพัทธ์ วงศ์กมลพร ๑๔. นางสาวรัชดา เจียสกลุ ๑๕. ผู้ช่วยศาสตราจารยร์ งุ่ เพ็ชร สกลุ บารงุ ศลิ ป์ ๑๖. นางสาวรจุ เิ รข น้อยเสง่ียม ๑๗. นางสาววรศิ รยี า บุญสม ๑๘. นายวิฑูรย์ เล่ยี นจารูญ ๑๙. นายวิทยา ศรีชมภู ๒๐. นายวมิ ล ปน้ั คง ๒๑. นายสมเกียรติ ไตรสรณปญั ญา ๒๒. นายสฤษด์ิ ไพรทอง ๒๓. นายสิสวัฒม์ ธรรมประดิษฐ์ ๒๔. นางสาวสุนยี ์ วรวุฒางกูร ๒๕. นายสรุ ชยั กาพลานนทว์ ฒั น์ ๒๖. ศาสตราจารย์อภิชาติ วรรณวิจิตร ๒๗. นางอญั ชนา วทิ ยาธรรมธชั ๒๘. รองศาสตราจารย์อาชนนั เกาะไพบลู ย์

ค-๑ รายนามคณะอนกุ รรมาธกิ ารศึกษาผลกระทบดา้ นการเกษตรและพันธ์ุพืช นายอนันต์ ศรีพนั ธ์ุ ประธานคณะอนุกรรมาธกิ าร นายนกิ ร จานง นายสมบรู ณ์ ซารัมย์ นายวรภพ วริ ยิ ะโรจน์ รองประธานคณะอนุกรรมาธกิ าร รองประธานคณะอนกุ รรมาธิการ รองประธานคณะอนกุ รรมาธิการ คนทห่ี น่งึ คนที่สอง คนทส่ี าม (ตัง้ แต่วนั ที่ ๑๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๓) ถึงวันท่ี ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓) นางสาวสกุณา สาระนนั ท์ นายเลศิ ศักดิ์ พฒั นชัยกลุ นายสุนทร รกั ษ์รงค์ เลขานุการคณะอนุกรรมาธกิ าร โฆษกคณะอนุกรรมาธกิ าร โฆษกคณะอนกุ รรมาธกิ าร นายปริญญา ฤกษ์หร่าย นายเพชรภูมิ อาภรณร์ ตั น์ รองศาสตราจารย์ อนกุ รรมาธิการ อนุกรรมาธกิ าร สุรวชิ วรรณไกรโรจน์ อนุกรรมาธิการ

ค-๒ รายนามที่ปรกึ ษาประจาคณะอนกุ รรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธพ์ุ ืช ๑. นายการาบ พานทอง ๒. นายเข้มแข็ง ยตุ ธิ รรมดารง ๓. นายคณติ พระเพชร ๔. นางสาวจณัญญา บัณฑกุ ุล ๕. นายชนวฒั น์ สทิ ธิธูรณ์ ๖. พันเอก ชนิ รัชต์ รัตนจติ เกษม ๗. นายณพวีร์ ตนั ติเสวี ๘. นายธนิต ชังถาวร ๙. นางสาวธิดากญุ แสนอดุ ม ๑๐. นางเบญจวรรณ ศิริโพธิ์ ๑๑. นายปราโมทย์ เจริญศิลป์ ๑๒. นายมานพ แกว้ โกย ๑๓. นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท ๑๔. นายวจิ กั ร อากัปกริยา ๑๕. นายวิฑรู ย์ เลยี่ นจารญู ๑๖. นายวิทยา ศรีชมพู ๑๗. นายเศรษฐพงศ์ เลขะวัฒนะ ๑๘. นางสิตานนั ท์ พูนผลทรพั ย์ ๑๙. นายสุชาติ จองประเสริฐ ๒๐. นางสาวสุนีย์ วรวฒุ างกูร ๒๑. นางสาวเสรมิ สุข สลักเพ็ชร์ ๒๒. ศาสตราจารยอ์ ภิชาติ วรรณวิจติ ร ๒๓. นายอารกั ษ์ ธรี อาพน

ค-๓ รายนามคณะอนกุ รรมาธิการศึกษาผลกระทบดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ นายศุภชยั ใจสมทุ ร ประธานคณะอนุกรรมาธกิ าร นางนาที รัชกิจประการ รองศาสตราจารย์จิราพร ล้มิ ปานานนท์ นายศุภกจิ ศริ ิลกั ษณ์ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ รองประธานคณะอนุกรรมาธกิ าร คนท่หี นง่ึ คนทสี่ อง คนทส่ี าม นายวาโย อศั วรงุ่ เรือง นางสาวศรนี วล บุญลือ นายปริญญ์ พานิชภักด์ิ โฆษกคณะอนุกรรมาธิการ เลขานุการคณะอนกุ รรมาธกิ าร ผู้ช่วยเลขานกุ ารคณะอนุกรรมาธกิ าร คนท่ีหน่ึง นายทศพล ทงั สบุ ตุ ร นายธรี ะพงษ์ วฒั นวงษภ์ ญิ โญ นายไพศาล ดน่ั คมุ้ อนุกรรมาธกิ าร อนุกรรมาธิการ อนกุ รรมาธิการ

ค-๔ รายนามท่ปี รึกษาประจาคณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ๑. นางสาวชตุ มิ า อรรคลพี นั ธ์ุ ผู้ช่วยเลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ คนทสี่ อง ๒. นายจกั รา ยอดมณี ผู้ช่วยเลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ คนที่สาม ๓. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์รุ่งเพ็ชร สกลุ บารุงศิลป์ ๔. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์สมชาย รัตนชื่อสกุล ๕. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อคั รวทิ ย์ กาญจนโอภาษ ๖. พนั เอก ชินรตั น์ รัตนจิตเกษม ๗. นางสาวกัลยา บญุ ญานวุ ตั ร ๘. นายเฉลิมศกั ดิ์ กิตติตระกลู ๙. นายณพวีร์ ตันติเสวี ๑๐. นายต่วนอสิ กนั ดาร์ ดาโตะ๊ มูลยี อ ๑๑. นายธราดล เปี่ยมพงศ์สานต์ ๑๒. นายรชั วิชญ์ ปยิ ะปราโมทย์ ๑๓. นายวฑิ ูรย์ ด่านวิบลู ย์ ๑๔. นายศิรพทั ธ์ วัชราภยั ๑๕. นางสนุ ยี ์ วรวุฒรางกรู ๑๖. นายสชุ าติ จองประเสรฐิ ๑๗. นางสติ านนั ท์ พูนผลทรพั ย์

ค-๕ รายนามคณะอนกุ รรมาธิการศกึ ษาผลกระทบด้านเศรษฐกจิ การคา้ และการลงทุน นายเกยี รติ สิทธอี มร ประธานคณะอนุกรรมาธกิ าร นายฐติ นิ ันท์ แสงนาค นางสาวจิราพร สนิ ธไุ พร นางอรมน ทรพั ย์ทวธี รรม รองประธานคณะอนุกรรมาธกิ าร รองประธานคณะอนกุ รรมาธิการ เลขานกุ ารคณะอนกุ รรมาธกิ าร คนท่หี นึง่ คนทส่ี อง นางสาวเพชรชมพู กิจบูรณะ นายสะถิระ เผือกประพนั ธุ์ นายจิรวฒั น์ ศิริพานิชย์ โฆษกคณะอนุกรรมาธิการ อนกุ รรมาธกิ าร อนกุ รรมาธกิ าร นายเชิดชาย ใช้ไววิทย์ นางสาวกรรณกิ าร์ กจิ ตเิ วชกลุ นางสาวอรพนิ ทร์ เพชรทตั อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ อนกุ รรมาธกิ าร

ค-๖ รายนามทีป่ รกึ ษาประจาคณะอนุกรรมาธิการศกึ ษาผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ การคา้ และการลงทุน ๑. นายกมลนิ ทร์ พินจิ ภูวดล ๒. นายไกรสนิ ธุ์ วงศ์สุรไกร ๓. นายจอมพจน์ ภูร่ ักศักดศิ์ รี ๔. นายจักรพล ตั้งสทุ ธิธรรม ๕. นายจกั รา ยอดมณี ๖. นายเจริญ คมั ภีรภาพ ๗. นายณพวรี ์ ตนั ตเิ สรี ๘. นายธกร เลาหพงศ์ชนะ ๙. นายนิลสุวรรณ ลลี ารัศมี ๑๐. นายบณั ฑูร วงศ์สลี โชติ ๑๑. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ประมวล สธุ จี ารวุ ฒั น ๑๒. รองศาสตราจารย์ปติ ิ ศรีแสงนาม ๑๓. นางปยิ ะนุช มาลากลุ ณ อยุธยา ๑๔. นางสาวพรวิ้ แพร ชุมรุม ๑๕. นางสาวยศพร สุวรรณวิเชียร ๑๖. นางสาวรชั ดา เจียสกลุ ๑๗. นายวิมล ป้นั คง ๑๘. นางวลิ าวรรณ มงั คละธนะกลุ ๑๙. นายศิรพทั ธ์ วชั ราภัย ๒๐. นายสุทศั น์ เศรษฐ์บญุ สร้าง ๒๑. นางสาวสนุ ยี ์ วรวุฒางกรู ๒๒. รองศาสตราจารย์อาชนัน เกาะไพบูลย์ ๒๓. นายอุดม ศรีมหาโชตะ ๒๔. นางภทั รพร วรทรัพย์ รองอธิบดีกรมบัญชีกลาง ผ้แู ทนกรมบัญชกี ลาง กระทรวงการคลงั ๒๕. ผ้แู ทนสานกั งานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ

ง-๑ บทสรปุ ผู้บริหาร เมื่อรัฐบาลไทยมีความสนใจท่ีจะเข้าร่วมความตกลงท่ีครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วน ทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซฟิ ิก (CPTPP) ซ่ึงเป็นความตกลงการคา้ เสรีทค่ี รอบคลมุ ประเดน็ ทางการค้าหลายด้าน ที่สง่ ผลกระทบต่อภาคสว่ นตา่ ง ๆ ในสังคม ทงั้ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคเกษตร ภาควชิ าการ และภาคประชาชน สืบเนื่องจากความเห็นของแต่ละฝ่ายท่ีไม่ตรงกัน ความไม่เข้าใจ ความคลุมเครือของข้อมูลทาให้เกิดข้อกังวล ในผลกระทบต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนหากประเทศไทยเข้าร่วมความตกลง CPTPP ยังผลให้เกิดความขัดแย้ง และต่อต้านอย่างรนุ แรงข้ึนในสังคม เกิดข้อกังวลในผลกระทบท่ีอาจจะเกิดขึ้นกับการแข่งขันที่สูงข้ึนจากสินค้า และบริการจากประเทศสมาชิก และต้องยอมรับพันธกรณีที่อาจมีผลกระทบในวงกว้าง ในประเด็นต่าง ๆ เช่น การเปิดตลาดเสรีสินคา้ เกษตร การรอนสิทธิในการใช้พืชพนั ธ์ุการค้าหลังจากการเข้าเป็นภาคสี มาชิกอนุสัญญา UPOV การข้ึนทะเบียนและคุ้มครองเมล็ดพันธุ์ใหม่ การรับฝากจุลชีพ การใช้สิทธิตามสิทธิบัตร (Compulsory Licensing : CL) การเปิดตลาดบริการและการลงทุน การคุ้มครองด้านสิทธิทรัพย์สินทางปัญญาเพ่ิมข้ึน การใช้ กลไกระงับขอ้ พิพาทระหวา่ งนักลงทุนกับรัฐ การเปดิ ตลาดการจดั ซ้ือจัดจา้ งโดยรัฐ การใหร้ ฐั วิสาหกจิ ดาเนินการ ซ้ือขายสินค้าและบริการเชิงพาณิชย์ และการให้สิทธิแรงงานต่างด้าวรวมตัวจัดตั้งสหภาพ เป็นต้น ดังนั้น ท่ีประชุมสภาผู้แทนราษฎร จึงได้มีมติเห็นชอบให้มีการต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบ จากการเข้าร่วมความตกลง CPTPP เพื่อศึกษาประโยชน์และผลกระทบที่ไทยจะเข้าร่วมความตกลง CPTPP และรบั ฟงั ความเห็นอยา่ งรอบดา้ นผ่านกลไกรัฐสภา เพ่ือรวบรวมเปน็ ข้อสงั เกตและข้อเสนอแนะตอ่ รฐั บาลต่อไป คณะกรรมาธิการดาเนินการพิจารณาศึกษาจากโอกาสและผลกระทบ ด้านการเกษตร ด้านการ สาธารณสุข ด้านเศรษฐกจิ การค้า และการลงทนุ จากข้อมูล ข้อเทจ็ จริง เอกสาร หลักฐาน รายงานการศึกษาวิจัย ตลอดจนคาชี้แจงและความเห็นจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องที่เข้าร่วมประชุมในประเด็นสาคัญ ๓ ประเด็นหลัก ที่ได้รับผลกระทบและมีความขัดแย้งและเป็นข้อกังวลอย่างรุนแรงในสังคม ประกอบด้วย ๑) ผลกระทบด้าน การเกษตรและพันธุ์พืช ๒) ผลกระทบด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข ๓) ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และ การลงทุน โดยในภาพรวมคณะกรรมาธกิ ารเหน็ ว่า (๑) ประเทศไทยจะต้องมีการเตรียมความพร้อมในหลายเร่ือง ซ่ึงจาเป็นท่ีรัฐบาลจะต้องให้ การสนบั สนุน (๒) รัฐบาลต้องมีข้อมูลที่เพียงพอ เพ่ือประกอบการตัดสนิ ใจเชิงนโยบายท้ังด้านบวก ภาระงบประมาณ ทจ่ี ะเกิดขึ้นจากการเยยี วยาจากผลกระทบดา้ นลบ (๓) การเจรจาของรัฐบาลควรมีกรอบการเจรจาที่เกิดจากกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชน โดยเฉพาะประเดน็ อ่อนไหว ซง่ึ หากเจรจาไม่ไดต้ ามท่ีระบไุ ว้ กไ็ มค่ วรเข้าร่วมเป็นภาคคี วามตกลง (๔) รัฐบาลต้องผลักดันให้มีการจัดตั้งกองทุนท่ีมีการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยเหลือ ผู้ไดร้ ับผลกระทบจากการเปิดเสรกี ารคา้ ทง้ั น้ี คณะกรรมาธกิ ารมีขอ้ สงั เกตในประเด็นดังกล่าว ดงั นี้ ๑. ประเดน็ ผลกระทบดา้ นการเกษตรและพนั ธุพ์ ืช คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเห็นว่า เกษตรกรรายย่อยและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ด้านการเกษตรของไทย จะได้รับผลกระทบอย่างมากและกว้างขวาง ถ้าประเทศไทยเป็นสมาชิกความตกลง CPTPP ทั้งจากการเปิดตลาดเสรีสนิ คา้ เกษตรและจากการรอนสิทธิในการใชพ้ ชื พันธ์กุ ารค้าหลังจากการเขา้ เป็น ภาคีสมาชิกอนุสัญญา UPOV ดังนั้น ประเทศไทยจึงยังไม่พร้อมจะเข้าเจรจาความตกลง CPTPP จนกว่าจะมี การทาความเข้าใจใหเ้ กษตรกรยอมรบั การเข้าเปน็ ภาคอี นุสญั ญา UPOV การเตรียมความพร้อมให้แก่เกษตรกร

ง-๒ ซึ่งยังไม่สามารถพ่ึงพาตนเองและไม่สามารถสไู้ ด้ในเวทโี ลก โดยการสนับสนุนเชิงนโยบาย และเพิ่มงบประมาณ วจิ ัยและพัฒนาพันธุ์พืชและขยายพันธ์ุพืช เพ่ือเผยแพร่แก่เกษตรกร และเพื่อใช้ประโยชน์จากข้อได้เปรียบด้าน ความหลากหลายทางชวี ภาพ รวมทั้งการแก้ไขเพ่มิ เตมิ พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธพุ์ ืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และจัดทา กฎหมายให้สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งน้ี แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ได้กาหนดว่า จะมีการจัดสรรงบประมาณและอัตรากาลังบุคลากร เพื่อการวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชและเพ่ือ การขยายพันธ์พุ ชื เพือ่ สร้างเสรมิ ความเข้มแขง็ ให้แก่ระบบเกษตรกรรมไทย เช่น ปงี บประมาณ ๒๕๖๔ แผนงาน บูรณาการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ควรได้รับงบประมาณมากกว่า ๑,๔๔๗ ล้านบาท ตามที่ได้กาหนดไว้ แต่ในทางปฏิบตั ิการจัดสรรงบประมาณในแผนงานดังกล่าวต่ากว่าที่กาหนดไว้ทุกปี การจะเข้าร่วมความตกลง CPTPP หรือความตกลงเปิดเขตการค้าเสรีมาตรฐานสูงอ่ืนใด ประเทศไทยควรมี ความพร้อมท่ีจะเป็นประเทศผู้ขายพันธุ์พืชให้แก่ประเทศภาคีสมาชิก ตลอดจนได้รับประโยชน์จาก การเขา้ รว่ ม CPTPP คณะกรรมาธกิ ารมขี อ้ สังเกต ดังนี้ ๑.๑ รัฐต้องมีนโยบายและแผนงานในการส่งเสริมด้านการวิจัยและพัฒนาพันธ์ุพืช โดยกลุ่ม เกษตรกรมีส่วนร่วมตลอดกระบวนการปรับปรุงพันธ์ุพืช โดยผู้วิจัยและพัฒนาพันธ์ุต้องผลิตเมล็ดพันธุ์ขยาย ในจานวนที่พอเพียงต่อความต้องการของกรมการข้าว กรมส่งเสริมการเกษตร และศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์พืช ชุมชนในการนาไปผลติ เมลด็ พันธ์ุจาหน่าย เผยแพร่แก่เกษตรกร เพ่อื ให้เกิดความสมดุลกับพันธุ์ลกู ผสมของภาค ธุรกิจเอกชนตามหลักของความได้สัดส่วน ท่ีต้องให้การคุ้มครองสิทธินักปรับปรุงพันธุ์พืชกระทบสิทธิของ เกษตรกรในระดบั พอประมาณ โดยการสนบั สนุนงบประมาณและบุคลากรใหเ้ พียงพอและต่อเนอื่ ง ๑.๒ รัฐต้องสนับสนุนงบประมาณ และอัตราบุคลากรด้านการปรับปรุงพันธุ์และด้านการผลิต เมล็ดพันธ์ุแก่กรมการข้าว เพื่อสามารถนาเชื้อพันธุกรรมข้าวที่เก็บรวบรวมไว้มาใช้ประโยชน์เต็มตามศักยภาพ ของพันธุ์ และเพื่อให้กรมการข้าวสามารถกากับดูแลการผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่ายของข้าว เพ่ิมจากประมาณ ร้อยละ ๓๐ ของเมล็ดพันธุ์จาหน่ายท่ีชาวนาต้องซ้ือมาใช้ เป็นประมาณร้อยละ ๖๐ เพ่ือสร้างดุลยภาพด้าน ความมัน่ คงทางเมล็ดพันธุ์ขา้ วของประเทศไทย (รายละเอยี ดปรากฏในภาคผนวก ฌ) ๑.๓ รัฐต้องเร่งรัดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ (ตัวอย่างร่าง กฎหมายในภาคผนวก ซ) และอนุบญั ญัติ เพือ่ แก้ปัญหาการใชก้ ฎหมาย เตรียมการให้กลุ่มเกษตรกรมีการปรับตัว และสร้างเสริมความเข้มแข็งด้านการปรับปรุงพันธ์ุและพัฒนาพันธุ์พืช เอ้ือประโยชน์ต่อการทาเกษตรยั่งยืน และขับเคล่ือนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางเมล็ดพันธ์ุพืชเขตร้อนช้ืน ก่อนการแก้ไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติ คุ้มครองพันธุ์พืชให้มีผลใกล้เคียงกับหลักการของอนุสัญญา UPOV 1991 อนุสัญญาอ่ืนที่ประเทศไทยเป็นภาคี สมาชิก และให้เหมาะสมกับบริบทวิถีชีวิตและสังคมเกษตรกรรมไทย ทั้งยังต้องเร่งรัดออกกฎหมายให้สอดคล้อง กบั อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนกฎหมายอ่นื ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องเพ่อื การน้ี ๑.๔ รัฐต้องมีนโยบายและแผนงานแบบบูรณาการด้านพันธุ์พืชกับการพัฒนาการเกษตรแบบ พึ่งตนเองได้ โดยส่งเสริมให้มีเครือข่ายการดาเนินงานแบบบูรณาการของหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเกษตรกร ในด้านพันธ์ุพืชและศูนย์ผลิตพันธ์ุพืชชุมชน เพื่อให้สามารถให้บริการด้านเมล็ดพันธ์ุและส่วนขยายพันธุ์พืช ที่เหมาะสมแก่เกษตรกรได้อย่างมีมาตรฐานและเพียงพอกับความต้องการ โดยการสนับสนุนงบประมาณและ บุคลากรใหเ้ พียงพอและตอ่ เน่ือง ๑.๕ รัฐต้องเร่งรัดให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการพิจารณาปรับโครงสร้างการผลิต ภาคเกษตรเป็นการด่วน ให้ครอบคลุมต้ังแต่ระดับฟาร์มถึงการแปรรูปขั้นต้น เพื่อเพ่ิมรายได้สุทธิแก่เกษตรกร ใหส้ มั พันธก์ ับค่าแรงขน้ั ต่า และเพิม่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันดา้ นสินค้าเกษตรของประเทศ

ง-๓ ๑.๖ รัฐต้องทาความเข้าใจกับเกษตรกรที่ปลูกพืชทุกกลุ่ม เช่น ข้าว พืชไร่ ผัก ไม้ผล ไม้ดอก พชื เคร่ืองด่ืม และสมุนไพร-เคร่ืองเทศ และผู้ท่เี กี่ยวข้องในทุกจังหวัดทว่ั ประเทศ ในเรื่องเกี่ยวกับ CPTPP และ ขอ้ บททีเ่ กย่ี วกบั UPOV ใหช้ ัดเจนถึงผลได้-ผลเสียทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้ ๒. ประเด็นผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุข คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเห็นว่า การเข้าร่วมเจรจาความตกลง CPTPP ในประเด็น ผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุขนั้น ขน้ึ กบั ความพรอ้ มและการเตรยี มการภายในประเทศ คณะกรรมาธกิ ารมีขอ้ สงั เกต ดังน้ี ๒.๑ ยังมีประเด็นที่ควรศึกษาและ/หรือวิจัยต่อยอดเพิ่มเติมในลักษณะท่ีบูรณาการระหว่าง ประเด็น ได้แก่ (๑) ขนาดของผลกระทบท้ังทางด้านการข้นึ ทะเบียนตารบั ยา การเข้าถงึ ยาของประชาชน และอุตสาหกรรมยาชื่อสามัญของไทย ตลอดจนกระบวนการในการเยียวยาต่อผู้ได้รับผลกระทบในกรณีของ การเชอ่ื มโยงสิทธิบตั รกบั การขึ้นทะเบยี นตารับยา (๒) ผลกระทบระยะยาวท้ังในด้านขีดความสามารถในการแข่งขัน ทั้งด้านการวิจัย และพัฒนาของนกั วจิ ัย และการแข่งขันทางการตลาดของอตุ สาหกรรมยาไทย ความมั่นคงทางยาและการพึ่งพิง การนาเข้าจากต่างประเทศ ตลอดจนราคายาและความสามารถในการเข้าถึงยาของประชาชนไทย ในกรณี การเปดิ จัดซ้ือจัดจ้างภาครฐั (๓) ความคุ้มค่ากับความเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีและความล้าสมัยของเคร่ืองมือ แพทย์ และความสามารถในการกาจัดขยะของประเทศไทย (๔) วิธีการใหม่ท่ีจะใช้แทนการแสดงเลขที่รับแจ้งน้ี ซ่ึงจะต้องใช้เพื่อการคุ้มครอง ผู้บริโภคโดยไม่เป็นภาระต่อผู้บริโภคในการตรวจสอบย้อนกลับผลิตภัณฑ์ รวมถึงต้นทุนและค่าใช้จ่ายท่ีจะใช้ วธิ กี ารใหมน่ ้นั แทนเลขทรี่ ับแจ้งทีใ่ ชอ้ ยู่ในปัจจบุ ัน ๒.๒ มีความจาเป็นที่หน่วยงานภาครัฐท้ังหลายที่เกี่ยวข้องจะต้องมาร่วมประชุมและปรึกษา หารอื ถึงผลกระทบเชิงโครงสร้าง ซึ่งประเทศไทยควรจะตอ้ งเตรียมความพร้อมกอ่ นที่จะเข้าร่วมในความตกลงนี้ โดยจะต้องเสนอแนวทางปฏิบัติภายในแต่ละหน่วยงาน การแบ่งความรับผิดชอบระหว่างหน่วยงานท่ีมีหน้าที่ และอานาจซ้อนทับกัน การเพิ่มภาระงานใหบ้ างหน่วยงานอาจมีความจาเป็นท่ีจะต้องจัดสรรบุคลากรใหม่หรือ มีการบูรณาการในการทางานระหว่างหน่วยงานเพิ่มขึ้น รวมถึงรัฐบาลควรจัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอ ใหก้ ับหนว่ ยงาน ในประเด็นต่อไปนี้ (๑) สร้างกระบวนการเชื่อมโยงสิทธิบัตรกับการข้ึนทะเบียนตารับยา (Patent Linkage) และจะต้องเกิดการทางานร่วมกันโดย อย. และกรมทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ นอกจากนี้ กระบวนการ Patent Linkage ซง่ึ สง่ ผลกระทบตอ่ อุตสาหกรรมยาและภาคสาธารณสุข (๒) หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเร่งดาเนินการรวบรวมและจัดทาฐานข้อมูลพันธ์ุพืชสมุนไพร ของประเทศไทยให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบันโดยเร็วที่สุด และจัดต้ังหน่วยเฝ้าระวังการลักลอบนาพันธุ์พืชไทย ไปจดทะเบียนสิทธิ ท้ังนี้ เพื่อความปลอดภัยและความมั่นคงทางสมุนไพรของไทย ไม่ว่าจะเข้าร่วมอนุสัญญา UPOV 1991 หรือไมก่ ต็ าม (๓) ทาความชัดเจนในการกาหนดนิยามและพิกัดศุลกากรเครื่องมือแพทย์ที่เป็น Remanufactured Goods และการตีความกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะเร่ืองการจัดซื้อโดยสถานพยาบาล ภาครัฐ

ง-๔ (๔) รัฐบาลควรจัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอ เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของ บคุ ลากรและห้องปฏิบัติการในการตรวจสอบเพ่ือการจาแนกเครื่องมือแพทย์ Remanufactured Goods และ เครื่องมือแพทย์ที่ใช้แล้วหรือเคร่ืองมือแพทย์มือสอง เพ่ือรับประกันด้านมาตรฐานของเคร่ืองมือแพทย์และ ความปลอดภัยของประชาชน ๒.๓ รัฐบาลควรเสนอร่างข้อบังคับหรือกฎหมายท่ีจะต้องตราขึ้นใหม่ เพื่อทาให้เกิดสภาพ บังคับภายในราชอาณาจักรก่อนที่จะเข้าร่วมความตกลงดังกล่าว เพ่ือให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องท้ังหลาย ทั้งหน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน และประชาชนโดยทั่วไปได้รับรู้ถึงความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดข้ึน เพ่ือท่ีจะไดแ้ สดงความคิดเห็น และเตรียมพรอ้ มทีจ่ ะปฏบิ ตั ิตามได้อย่างถกู ต้อง ดงั น้ี (๑) กฎหมายภายในประเทศ เพื่อกาหนดให้ผู้ที่ต้องการขอขึ้นทะเบียนยาทีม่ ีส่วนประกอบ ของจุลชีพ หรือจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับจุลชีพ ต้องสาแดงแหล่งที่มาร่วมด้วยให้เร็วที่สุด เพอ่ื คุ้มครองจลุ ชพี จากแหลง่ ต้นกาเนดิ ภายในประเทศ (๒) การกาหนดมาตรฐานในเรื่องอาหารของความตกลง CPTPP โดยอา้ งองิ หลักการของ CODEX guideline โดยภาครัฐควรแถลงให้ชัดเจนในประเด็นน้ี เพอ่ื ให้เกิดความมัน่ ใจแก่ภาคประชาชน ๒.๔ รัฐบาลควรท่ีจะจัดเตรียมมาตรการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบทางลบจากการเข้าร่วม ความตกลงนีไ้ วล้ ่วงหนา้ ดว้ ย ๒.๕ ในกรณีที่รัฐบาลได้เตรียมพร้อมตามข้อ ๒.๑ ถึงข้อ ๒.๔ เรียบร้อยแล้ว และต้องการ เจรจาเพ่ือเข้าร่วมความตกลง CPTPP ในการเจรจาต้องกาหนดประเด็นต่าง ๆ ที่เก่ียวเนื่องกับการแพทย์และ การสาธารณสุข ดังน้ี (๑) ทาข้อสงวนของประเทศไทยประเด็นจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ โดยยึดต้นแบบจาก สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวียดนาม ซึง่ สามารถขอยกเว้นตลาดได้ รอ้ ยละ ๕๐ ในระยะเวลา ๒๐ ปี (๒) ขอต้งั ข้อสงวนสาหรับมาตรการควบคุมยาสูบของประเทศไทย (๓) ขอต้งั ข้อสงวนมาตรการควบคุมเครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ของประเทศไทย (๔) ขอจัดทา side letter เพื่อยกเว้นสิทธิกากับดูแลของรัฐ (rights to regulate) สาหรับมาตรการด้านการสาธารณสขุ ออกจากการฟ้องร้องรัฐดว้ ยกลไก ISDS (๕) ขอต้ังข้อสงวนตามข้อกังวลในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับการให้บริการทางวิชาชีพจาก ทุกสภาวิชาชีพตามท่ีกาหนดไว้ในข้อบทของบทที่ ๙ และบทท่ี ๑๐ ทั้งน้ี หากข้อกังวลใดมีกฎหมายบัญญัติไว้ เป็นการเฉพาะอยู่แล้ว ณ ปัจจุบัน สามารถระบุไวเ้ ป็นข้อสงวนใน Annex I หากแต่ข้อกังวลใดยังไม่มีกฎหมาย บัญญัติไว้ชัดเจน อาจระบุไว้เป็นข้อสงวนใน Annex II หรืออาจออกกฎหมายภายในประเทศเพ่ือรองรับ และคลายขอ้ กังวลเหล่าน้นั เสยี กอ่ น แลว้ นาไประบุเปน็ ขอ้ สงวนไวใ้ น Annex I แทน (๖) กระทรวงพาณิชย์นาข้อเสนอการเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ของสมาคมโรงพยาบาลเอกชน เพ่ือพจิ ารณาแนวทางเพิ่มเติม ๓. ประเด็นผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ การค้า และการลงทุน คณะกรรมาธกิ ารมีความเหน็ วา่ การจะตดั สินใจเขา้ รว่ มความตกลง CPTPP หรือไมน่ ้ัน ขึ้นอยู่กับ ความพร้อมของประเทศ โดยเห็นว่า ปัจจุบันประเทศไทยยังจาเป็นต้องเตรียมความพร้อมในหลายด้าน ซึ่งจาเป็นที่รัฐบาลจะต้องมีนโยบาย มีโครงการท่ีชัดเจนและจัดสรรงบประมาณท่ีเพียงพอ เพื่อเตรยี มความพร้อม และปรบั โครงสรา้ งภายในประเทศ

ง-๕ คณะกรรมาธกิ ารมีข้อสงั เกต ดงั น้ี ๓.๑ รัฐบาลจะต้องผลักดันให้เกิดการปรับโครงสร้างภายในประเทศ ด้านกฎระเบียบ กลไกการดาเนินงาน รวมถงึ งบประมาณที่เพยี งพอ เพอ่ื สรา้ งความพรอ้ มในการแขง่ ขันและการเปิดเสรที างการค้า อาทิ การปรบั โครงสรา้ งอากรขาเขา้ วตั ถุดิบและกึ่งสาเร็จรปู ให้เป็นร้อยละศูนย์ เพื่อให้ผ้ผู ลติ และผ้ปู ระกอบการ ในประเทศสามารถแขง่ ขันกับสินคา้ สาเร็จรูปท่ีนาเข้าได้ และการปรบั โครงสร้างภาษสี าหรบั พาณชิ ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ ทีค่ วรมีความเท่าเทียมและเป็นธรรมระหว่างผู้ประกอบการ ทั้งท่ตี ้ังกจิ การอยใู่ นต่างประเทศและในประเทศไทย โดยให้มีการเก็บภาษีดิจิทัล (Digital Tax) ข้ันต่าที่ร้อยละ ๒ กับผู้ประกอบการที่อยู่นอกประเทศ และเก็บภาษี หกั ณ ทจ่ี ่าย ร้อยละ ๒ กบั ผูป้ ระกอบการในไทย ๓.๒ หน่วยงานภาครัฐท่ีเก่ียวข้องจะตอ้ งเพ่มิ การกากับดูแลมาตรฐานและคณุ ภาพสินค้านาเข้า ท้ังสินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นส่ิงที่สามารถทาได้ภายใต้กติกาขององค์การการค้าโลก (World Trade Organization : WTO) โดยเร่งกาหนดมาตรฐานภาคบังคับในระดับที่ผู้ประกอบการไทยสามารถทาได้ ใหค้ รอบคลมุ สินค้าอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ ๕๐ ของสินค้าท่ีทาการค้าระหว่างกันภายใน ๓ ปี และรฐั บาลจะตอ้ งจดั สรร งบประมาณและบคุ ลากรให้อยา่ งเพียงพอด้วย ๓.๓ หน่วยงานภาครัฐท่ีเก่ียวข้องจะต้องปรับปรุงกลไกการกากับดูแล และการคุ้มครอง ผบู้ ริโภค ทัง้ ในระบบเศรษฐกิจการค้าแบบด้ังเดิมและดิจิทลั รวมถงึ ส่งเสรมิ ให้ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม มสี ่วนร่วมและบทบาทในการติดตาม ดูแล และตรวจสอบการกระทาที่อาจละเมิดตอ่ สทิ ธิของผูบ้ รโิ ภคด้วย ๓.๔ เน่ืองจากการจัดทาความตกลงการค้าเสรีจะมีท้ังผู้ได้ประโยชน์และผู้ได้รับผลกระทบ ดงั นั้น รฐั บาลจะต้องผลักดันให้มีการจัดตั้งกองทุนชว่ ยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากการเปดิ เสรีทางการค้าท่ีเป็น กลไกตอ่ เนื่องและเข้าถงึ ได้ง่าย เพือ่ ใหส้ ามารถปรับตวั และรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีได้อย่างเหมาะสมดว้ ย ๓.๕ ภาพรวมการประเมินผลกระทบ และ Post COVID พบว่า ผลการศึกษาโดยแบบจาลอง ในช่วงท่ีผ่านมา เป็นการศึกษาซึ่งยังไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบันท่ีเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ดังน้ัน รัฐบาลควรสนับสนุนให้หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องทุกกระทรวง มีส่วนร่วมในการศึกษา และประเมินผล กระทบทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ จากการเจรจาจดั ทาความตกลงเปิดเสรีทางการคา้ ทงั้ ในปจั จบุ ันและในอนาคตดว้ ย ๓.๖ ประเด็นการคา้ สินคา้ กฎถ่นิ กาเนดิ สนิ คา้ และประเดน็ Free Zone (๑) รัฐบาลต้องปรับโครงสร้างอัตราอากรขาเข้าของวัตถุดิบและสินค้าก่ึงสาเร็จรูป เพื่อลด ตน้ ทุนของผปู้ ระกอบการให้แข่งขันกบั สนิ คา้ สาเรจ็ รปู นาเข้าท่มี ีอัตราอากรขาเข้าเป็นศูนย์ (๒) รัฐต้องมีการจัดสรรงบประมาณช่วยเหลือเพ่ือให้ผู้ประกอบการสามารถปรับตัวได้ อย่างเร็ว รวมถึงจัดทากองทุนช่วยเหลือผู้ท่ีได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า โดยกองทุนนั้นจะต้อง เป็นกองทุนที่มัน่ คง ต่อเนือ่ ง และเข้าถึงได้งา่ ย (๓) รัฐต้องเร่งการแก้ไขประกาศกระทรวงการคลังในเร่ืองการยกเว้นอากรขาเข้าสินค้าท่ีผลิต ใน Free Zone เขา้ มาจาหน่ายในประเทศไทยตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชกาหนดพิกดั อัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ (๔) หน่วยงานภาครัฐท่ีเก่ียวข้องกับการกาหนดมาตรฐานสินค้า จะต้องเร่งจัดทา มาตรฐานผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ในสว่ นของสนิ คา้ เกษตร หนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ ง จะต้องดาเนินการจดั ทา มาตรฐานนาเข้าสินค้าเกษตร เพื่อป้องกันสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐานแต่ราคาต่าเข้ามาจาหน่ายแข่งกับสินค้าใน ประเทศ ทั้งนี้รัฐบาลจะต้องจัดสรรกาลังคนและงบประมาณให้หน่วยงานดงั กล่าว เพ่อื ให้สามารถดาเนินการได้ สาเร็จตามเปา้ หมายดว้ ย

ง-๖ (๕) รัฐจะต้องร่วมมือกับภาคเอกชนในการเร่งให้ความรู้กับผู้ประกอบการที่ผลิตและ สง่ ออกไปยังประเทศสมาชิก CPTPP เพื่อใหส้ ามารถใช้ประโยชน์จากเกณฑก์ ฎถิ่นกาเนิดสินค้าภายใตค้ วามตกลง CPTPP ไดส้ ูงสดุ ๓.๗ ประเด็นการค้าบรกิ าร การลงทุน และการเขา้ เมอื งชั่วคราวสาหรบั นักธุรกิจ ภาครฐั ต้องหารอื กับกลุม่ ผู้ประกอบการและหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง เพ่ือประเมินความพรอ้ ม และกลุ่มใด/สาขาบริการใดจะได้รับผลกระทบ เพื่อพิจารณาออกมาตรการของรัฐในการสนับสนุนให้เกิด การปรับตัวและแข่งขันได้ รวมถึงพิจารณาท่าทีในการเจรจาจัดทาข้อสงวนที่จะไม่เปิดตลาดหรือกาหนดเวลา ปรบั ตวั (transition period) สาหรับกลุ่มทอ่ี อ่ นไหวสงู ตอ่ ไป ๓.๘ ประเด็นการคุ้มครองสทิ ธิแรงงาน กระทรวงแรงงานควรพิจารณาแกไ้ ข พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ โดยต้อง ไม่กดี กันต่างด้าวในการก่อการจัดตงั้ สหภาพแรงงาน (ไม่ต้องกาหนดสัญชาติของผู้ก่อการจัดตั้งสหภาพแรงงาน) แต่ให้สามารถกาหนดเงื่อนไขและคุณสมบัติท่ีเหมาะสมของผู้ก่อการจัดต้ังสหภาพแรงงานได้ ซ่ึงไม่ถือเป็น ข้อหา้ มตามหลักการขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ ๓.๙ ประเด็นพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce) (๑) ภาครัฐควรให้ความสาคัญ และแสดงข้อเรียกร้องของประเทศไทยในทุกเวที โดยเฉพาะองค์การการค้าโลก ในเร่ืองการกากับดูแลข้อมูลส่วนบุคคลอย่างเหมาะสมของผู้ประกอบการธุรกิจ ด้านดิจิทัล หรือ e - commerce ทั้งที่ตั้งอยู่ในต่างประเทศและในประเทศ โดยเฉพาะปัญหาการละเมิด ลกั ลอบ หรือนาขอ้ มูลสว่ นบคุ คลไปใชใ้ นทางทีผ่ ดิ กฎหมาย (๒) หน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้อง ต้องยกระดับการกากับดูแลและคุ้มครองผู้บริโภค ในการซ้อื ขายสินค้า และใชบ้ รกิ ารด้านดิจิทัลและพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนิกสใ์ ห้มปี ระสิทธภิ าพ (๓) รัฐบาลจะต้องมีมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการ e - commerce และแพลตฟอร์มของประเทศไทย ให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันและเติบโตได้ โดยเฉพาะในเวทีอาเซียน เพอื่ เปน็ มาตรฐานในภูมภิ าค และสามารถพัฒนาศักยภาพตอ่ ไปในตลาดที่ใหญ่ขึ้น (๔) รัฐบาลและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการแขง่ ขัน เช่น สานกั งานคณะกรรมการแข่งขัน ทางการค้า ควรหารือกับภาคส่วนทเี่ ก่ียวข้อง เพื่อกาหนดทิศทางในการกากับดูแลผู้ให้บริการ e - commerce ให้บริการได้อย่างเสรีและเป็นธรรม มิให้ผู้ให้บริการรายใหญ่ทั้งที่ตั้งอยู่ในประเทศไทยและต่างประเทศ ทมี่ อี านาจเหนือตลาดมพี ฤติกรรมท่ีกระทบต่อการแข่งขนั เสรีและเปน็ ธรรม ๓.๑๐ ประเดน็ กลไกระงบั ข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับรฐั (Investor-State Dispute Settlement : ISDS) (๑) หากประเทศไทยเข้าร่วมเจรจาเป็นสมาชิก CPTPP ประเทศไทยจะต้องเน้นย้า สิทธิในการกากับดูแลของรัฐ (Right to regulate) ว่า ครอบคลุมทุกมิติรวมท้ังด้านความม่ันคง โดยอาจเจรจา เพื่อจัดทาภาคผนวก (Annex) ของข้อบทลงทุนที่ประเทศไทยมีสิทธิในการเจรจาข้อสงวน ซ่ึงประเทศไทย อาจทาเปน็ side letter หรือความตกลงเฉพาะกบั ประเทศสมาชิกบางประเทศได้ แลว้ แตก่ รณี (๒) ไม่ว่าประเทศไทยจะเข้าร่วมเจรจาหรือเป็นภาคีในความตกลงใด ๆ ในอนาคต รัฐบาลต้องสร้างกลไกเพื่อให้หน่วยงานราชการที่เก่ียวข้องรับทราบ และปรับตัวเพื่อให้สามารถปฏิบัติตาม พนั ธกรณไี ดอ้ ยา่ งครบถ้วน เพอื่ หลีกเลีย่ งและป้องกันการเกดิ ข้อพิพาทระหว่างรัฐกบั นักลงทุน

ง-๗ ๓.๑๑ ประเด็นการจดั ซือ้ จดั จ้างโดยรัฐ (๑) เน่ืองจากที่ผ่านมาประเทศไทยยังไม่มีนโยบาย offset เป็นการเฉพาะ คณะกรรมาธิการ เห็นว่า รัฐควรทาการศึกษาและกาหนดวัตถุประสงค์ในการใช้ offset ให้ชัดเจน รวมถึงกาหนดระยะเวลา ทจ่ี าเปน็ ในการนา offset มาใช้เพอื่ การพฒั นาอุตสาหกรรมภายในประเทศ (๒) ให้กรมบัญชีกลางศึกษากฎหมาย ที่กฎระเบียบการจัดซ้ือจัดจ้างโดยรัฐของประเทศไทย ไม่สอดคล้องกับความตกลง CPTPP รวมถึงกฎหมายหรือข้อบังคับอื่น ๆ ที่กรมบัญชีกลางเห็นว่าสามารถ ดาเนินการได้ เช่น บัญชีนวัตกรรม การกาหนดเง่ือนไขให้นักลงทุนปฏิบัติ (performance requirements) หรือ กฎระเบียบกระทรวงการคลงั ฯ อื่น ๆ ที่ประเทศไทยควรจะปรับแก้ไขให้สอดคล้องกับการเปล่ยี นแปลงในระบบ เศรษฐกจิ โลก (๓) หน่วยงานภาครัฐ ควรมีกระบวนการตรวจสอบการจัดซ้ือจัดจ้างที่ได้มาโดย เงนิ บริจาค เพื่อความโปร่งใสและป้องกนั การเออ้ื ประโยชน์แก่กลุ่มทนุ ๓.๑๒ ประเดน็ รัฐวิสาหกจิ และหนว่ ยงานท่ไี ด้รับสทิ ธิพเิ ศษเพอื่ ความมนั่ คงแห่งรฐั (๑) ประเทศไทยยังสามารถเจรจา เพื่อขอสงวนรัฐวิสาหกิจท่ีไม่สามารถปฏิบัติตาม ขอ้ บทของ CPTPP ในเรอ่ื งการห้ามเลือกปฏบิ ตั ิ และการห้ามอุดหนนุ หรือชว่ ยเหลือได้ (๒) กรณีองค์การเภสัชกรรม ภาครัฐควรมีการกาหนดบทบาทภารกิจให้ชัดเจน โดยเน้น เร่ืองเป้าหมายในการรักษาความมั่นคงทางยาและด้านสุขภาพประชาชนเป็นหลัก ควรพิจารณายกเลิกการส่ง เงินเข้าคลังจากรายได้เชิงพาณิชย์ เพ่ือไม่ให้เป็นภาระที่กระทบต่อพันธกิจหลักของ อภ. เพ่ือประโยชน์ของ ประชาชน และสนับสนุนให้เกิดการวิจัยและพัฒนา (R&D) เกี่ยวกับยาและเวชภณั ฑ์ ทัง้ นี้ ภาครัฐอาจพิจารณา ทบทวนนโยบายในการจัดซื้อยาโดยวิธีเฉพาะเจาะจงจากองค์การเภสัชกรรม เน่ืองจากอาจเป็นสาเหตุหนึ่ง ที่ทาให้ประชาชนซื้อยาในราคาแพงในบางกรณี นอกจากน้ี หากตัดสินใจจะเข้าร่วมเจรจาเป็นสมาชิก CPTPP รฐั บาลต้องต้ังขอ้ สงวน โดยกาหนดระยะเวลาเปล่ยี นผา่ นสาหรับยา และเวชภณั ฑ์ดงั เช่นท่ปี ระเทศสมาชิกอ่นื ๆ กาหนดไว้ เชน่ เวียดนาม เป็นต้น ๓.๑๓ ประเดน็ ดา้ นอุปสรรคทางเทคนคิ ตอ่ การค้า (Technical Barriers to Trade : TBT) หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ควรเพ่ิมการกากับดูแลมาตรฐานและคุณภาพสนิ ค้านาเข้า โดยเร่ง กาหนดมาตรฐานบังคับในระดับที่ผู้ประกอบการไทยสามารถทาได้ โดยรัฐบาลจะต้องจัดสรรงบประมาณ สนับสนุนการปรับปรุงกฎระเบียบและการจัดทามาตรฐานสินค้า เพ่ือรองรับการเจรจาความตกลงการค้าเสรี สมัยใหม่ในอนาคต ในขณะเดียวกัน หน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้องจะต้องพิจารณาและทบทวนมาตรการต่าง ๆ ในประเทศท่อี าจเป็นอปุ สรรคทางการคา้ ทีไ่ ม่จาเป็น เช่น มาตรการด้านฉลากเครื่องด่มื แอลกอฮอล์ ๓.๑๔ ประเดน็ มาตรการสุขอนามยั และสขุ อนามยั พชื (Sanitary and Phytosanitary : SPS) การประเมินความเส่ียง และการใช้หลักฐานทางวิทยาศาสตร์มาเป็นหลักฐานสนับสนุน มาตรการที่บังคับใช้ เป็นหลักการที่ประเทศไทยต้องดาเนินการให้สอดคล้องกับพันธกรณีภายใต้ WTO และความตกลงอื่น ๆ อยู่แล้ว ความตกลง CPTPP จึงเป็นการเพ่ิมช่องทางการนาเรื่องเข้าสู่กระบวนการระงับ ขอ้ พพิ าทอกี ชอ่ งทางหนง่ึ ๓.๑๕ ประเดน็ สินค้าขยะอันตราย (๑) รัฐบาลจะต้องเร่งศึกษาประโยชน์และผลกระทบในการให้สัตยาบันต่อข้อแก้ไข อนุสัญญาบาเซลเพื่อห้ามการส่งออก (Basel Ban Amendment) โดยเฉพาะในประเด็นผลกระทบที่จะเกิดขึ้น กบั ประเทศไทยจากการห้ามสง่ ออกของเสียอนั ตรายไปรีไซเคลิ ยังประเทศปลายทาง

ง-๘ (๒) รัฐบาลจะต้องมีนโยบายชัดเจนเกี่ยวกับการอนุญาตโรงงานรีไซเคิลในประเทศไทย และการนาของเสียจากต่างประเทศเข้ามารีไซเคิลภายในประเทศ โดยคานึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของชุมชน รวมทัง้ ทบทวนพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายโรงงานรีไซเคิล ท้ายที่สุดแล้ว การศึกษาของคณะกรรมาธิการยังพบว่า ความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาหรือข้อบท ตามกรอบความตกลง CPTPP และอื่น ๆ เป็นส่ิงที่สาคัญต่อหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ภาคเอกชน และประชาชน ที่อาจได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ ดังนั้น การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยในการเข้าร่วม เจรจาหรือเป็นภาคีในความตกลงใด ๆ ในอนาคตก็ตาม รัฐบาลต้องสร้างกลไกเพ่ือให้หน่วยงานราชการท่ีเก่ียวข้อง รับทราบ และปรับตัวเพื่อให้สามารถปฏิบัติตามพันธกรณีได้อย่างครบถ้วน และสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ ประชาชนเพ่อื ส่งเสรมิ ความรว่ มมอื ในทกุ ภาคสว่ นต่อไป

รายงานของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลงท่ีครอบคลมุ และกา้ วหนา้ สาหรับหนุ้ ส่วนทางเศรษฐกจิ ภาคพ้นื แปซิฟิก (CPTPP) สภาผู้แทนราษฎร ------------------------------------------ ตามที่ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๕ ปีที่ ๒ คร้ังที่ ๓ (สมัยสามัญประจาปีคร้ังท่ีหน่ึง) เป็นพิเศษ วันพุธท่ี ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๓ ที่ประชุมได้พิจารณาญัตติด่วน เร่ือง ขอให้สภาผู้แทนราษฎร ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบหากรัฐบาลจะอนุมัติลงนามในข้อตกลง CPTPP หรือ ความตกลงท่ีครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Comprehensive and Progressive Agreement of Trans-Pacific Partnership) (นายศุภชยั ใจสมุทร เป็นผ้เู สนอ) ญตั ติดว่ น เรอ่ื ง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมข้อตกลง ที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพ้ืนแปซิฟิก (cptpp) (นายระวี มาศฉมาดล เป็นผู้เสนอ) ญัตติด่วน เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาในเรื่อง ความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าเพ่ือหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) (นายวีระกร คาประกอบ กับคณะ เป็นผูเ้ สนอ) ญัตติด่วน เร่ือง ขอใหส้ ภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณา ศึกษาประโยชน์และผลกระทบจากการท่ีประเทศไทยจะเข้าร่วมข้อตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับ หุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพ้ืนแปซิฟิก (CPTPP) (นายวรภพ วิริยะโรจน์ เป็นผู้เสนอ) ญัตติด่วน เรื่อง ขอให้ สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษากรณีการเข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุมและ ก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Comprehensive and Progressive Agreement of Trans - Pacific Partnership - CPTPP) (นายมนูญ สิวาภิรมย์รัตน์ เป็นผู้เสนอ) ญัตติด่วน เรื่อง ขอให้ สภาผู้แทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบต่อการเข้าร่วมความตกลงท่ีครอบค ลุม และก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) ของไทย (นางสาวจิราพร สินธุไพร เป็นผู้เสนอ) ญัตติด่วน เรื่อง ขอให้สภาผ้แู ทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาศึกษาในเร่ืองความตกลง ที่ครอบคลุมและก้าวหน้าเพ่ือหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพ้ืนแปซิฟิก (CPTPP) (นายนริศ ขานุรักษ์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ) ญัตติด่วน เรอ่ื ง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาประโยชน์และ ผลกระทบจากการท่ีประเทศไทยจะเข้าร่วม CPTPP (นายวาโย อัศวรุ่งเรือง เป็นผู้เสนอ) และญัตติด่วน เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบในเรื่องความตกลงท่ีครอบคลุม และก้าวหนา้ สาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Comprehensive and Progressive Agreement of Trans - Pacific Partnership : CPTPP) (นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ เป็นผู้เสนอ) และลงมติต้ังกรรมาธิการ วสิ ามัญข้นึ คณะหนึ่งเพ่ือพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้ารว่ มความตกลงท่ีครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับ หุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๔๙ และข้อ ๕๐ โดยกาหนดระยะเวลาพิจารณาศึกษาไว้ ๓๐ วัน ตั้งแต่วันท่ี ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ - วันท่ี ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ต่อมาคณะกรรมาธิการได้ขอขยายระยะเวลาการพิจารณาศึกษา จานวน ๒ คร้ัง คร้ังที่ ๑ จานวน ๖๐ วัน ต้ังแต่วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ - วันท่ี ๘ กันยายน ๒๕๖๓ และครั้งท่ี ๒ จานวน ๓๐ วนั ตง้ั แต่วันท่ี ๙ กันยายน ๒๕๖๓ - วันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๖๓ รวมระยะเวลาการพจิ าณาศึกษา ๑๒๐ วนั นั้น บัดน้ี คณะกรรมาธิการวิสามัญ ได้ดาเนินการพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลง ที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพ้ืนแปซิฟิก (CPTPP) เสร็จเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปรากฏผล ดังน้ี

๒ ๑. การดาเนนิ งาน เปน็ ประธานคณะกรรมาธิการ ๑.๑ คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญไดม้ ีมตเิ ลอื กตั้ง เปน็ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่ีหนง่ึ (๑) นายวีระกร คาประกอบ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง (๒) นายอนันต์ ศรพี นั ธุ์ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนทส่ี าม (๓) นายศภุ ชัย ใจสมทุ ร เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่ส่ี (๔) นายเกียรติ สิทธีอมร เป็นรองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทีห่ ้า (๕) นายระวี มาศฉมาดล เป็นทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร (๖) นายมนญู สิวาภริ มย์รัตน์ เปน็ ท่ปี รึกษาคณะกรรมาธิการ (๗) นายเข้มแข็ง ยุตธิ รรมดารง เปน็ ท่ีปรึกษาคณะกรรมาธกิ าร (๘) นายจิรวัฒน์ ศริ พิ านิชย์ เป็นท่ีปรกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร (๙) นางสาวจริ าพร สินธุไพร เปน็ ที่ปรกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร (๑๐) นายทศพล ทงั สบุ ตุ ร เป็นที่ปรกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร (๑๑) นายไพศาล ดน่ั ค้มุ เป็นเลขานุการคณะกรรมาธกิ าร (๑๒) นางอรมน ทรพั ยท์ วีธรรม เป็นผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมาธิการ (๑๓) นายวาโย อัศวรุง่ เรือง เป็นผู้ชว่ ยเลขานุการคณะกรรมาธิการ (๑๔) นายเจเศรษฐ์ ไทยเศรษฐ์ เปน็ ผูช้ ่วยเลขานุการคณะกรรมาธกิ าร (๑๕) นางสาวนพวรรณ หวั ใจมน่ั เป็นผู้ชว่ ยเลขานุการคณะกรรมาธกิ าร (๑๖) นางสาวอรพินทร์ เพชรทัต เปน็ โฆษกคณะกรรมาธิการ (๑๗) นางสาวศรีนวล บุญลือ เป็นโฆษกคณะกรรมาธกิ าร (๑๘) นายจกั รวี วิสุทธผิ ล เปน็ โฆษกคณะกรรมาธกิ าร (๑๙) นายฐิตนิ ันท์ แสงนาค เปน็ โฆษกคณะกรรมาธิการ (๒๐) นายเพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์ เป็นโฆษกคณะกรรมาธกิ าร (๒๑) นางสาวเพชรชมพู กจิ บูรณะ เปน็ กรรมาธกิ าร (๒๒) นายวรภพ วิรยิ ะโรจน์ เปน็ กรรมาธกิ าร (๒๓) นางสาวกรรณกิ าร์ กจิ ติเวชกลุ เปน็ กรรมาธกิ าร (๒๔) นายจกั รพล ตง้ั สทุ ธธิ รรม เปน็ กรรมาธกิ าร (๒๕) รองศาสตราจารย์จริ าพร ล้มิ ปานานนท์ เปน็ กรรมาธิการ (๒๖) นายเชดิ ชาย ใช้ไววิทย์ เป็นกรรมาธิการ (๒๗) นางสาวทพิ านัน ศริ ชิ นะ เป็นกรรมาธกิ าร (๒๘) นายธกร เลาหพงศ์ชนะ เปน็ กรรมาธิการ (๒๙) นายธรี ะพงษ์ วฒั นวงษ์ภญิ โญ เปน็ กรรมาธิการ (๓๐) นางนาที รัชกจิ ประการ เป็นกรรมาธกิ าร (๓๑) นายนกิ ร จานง เป็นกรรมาธิการ (๓๒) นายเนวนิ ธุ์ ช่อชัยทิพฐ์ เป็นกรรมาธิการ (๓๓) นายประเสรฐิ ชยั กิจเดน่ นภาลยั เป็นกรรมาธกิ าร (๓๔) นายปรญิ ญ์ พานิชภกั ดิ์ เป็นกรรมาธิการ (๓๕) นายปรญิ ญา ฤกษ์หรา่ ย (๓๖) นายพทิ ักษ์ สนั ตวิ งษ์สกุล

๓ (๓๗) รองศาสตราจารย์รงค์ บุญสวยขวัญ เป็นกรรมาธกิ าร (๓๘) นางรชั ฎาภรณ์ แกว้ สนิท เปน็ กรรมาธกิ าร (๓๙) นายเลิศศกั ดิ์ พฒั นชยั กลุ เป็นกรรมาธกิ าร (๔๐) นายวิจักร อากัปกรยิ า เปน็ กรรมาธิการ (๔๑) นายศภุ กจิ ศริ ลิ กั ษณ์ เปน็ กรรมาธกิ าร (๔๒) นางสาวสกุณา สาระนันท์ เป็นกรรมาธิการ (๔๓) นายสมเกยี รติ ศรลัมพ์ เปน็ กรรมาธกิ าร (๔๔) นายสมบูรณ์ ซารัมย์ เป็นกรรมาธกิ าร (๔๕) นายสะถริ ะ เผือกประพนั ธ์ุ เปน็ กรรมาธิการ (๔๖) นายสุนทร รักษร์ งค์ เป็นกรรมาธิการ (๔๗) รองศาสตราจารย์สุรวชิ วรรณไกรโรจน์ เปน็ กรรมาธกิ าร (๔๘) นางสาวเสรมิ สุข สลักเพช็ ร์ เปน็ กรรมาธิการ (๔๙) นายอันวาร์ สาและ เปน็ กรรมาธกิ าร อน่ึง เมื่อวันท่ี ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๓ นายวรภพ วิริยะโรจน์ ได้พ้นจากตาแหน่งกรรมาธิการ วิสามัญ เพราะเหตุลาออก และในคราวประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๕ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญ ประจาปีคร้ังที่หนึ่ง) เป็นพิเศษ วันพุธที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ที่ประชุมเห็นชอบให้ตั้ง นางสาวทัศนีย์ วีระกันต์ เป็นกรรมาธิการวิสามัญในคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลง ที่ครอบคลุมและกา้ วหนา้ สาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกจิ ภาคพนื้ แปซิฟกิ (CPTPP) แทนตาแหนง่ ท่ีว่าง ๑.๒ คณะกรรมาธิการวิสามญั ไดม้ ีมตติ งั้ ที่ปรึกษาประจาคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญ คือ (๑) นายจอมพจน์ ภรู่ ักศกั ดศิ์ รี (๒) นายจาตรุ งค์ เพง็ นรพัฒน์ (๓) นายจารญู ศกั ด์ิ จนั ทรมยั (๔) นายเจรญิ คมั ภรี ภาพ (๕) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชล บุนนาค (๖) พันเอก ชนิ รชั ต์ รตั นจิตเกษม (๗) นายณพวรี ์ ตันตเิ สรี (๘) นายเทดิ พงษ์ หงษ์หิรญั เรือง (๙) นายบัณฑูร วงศ์สีลโชติ (๑๐) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยป์ ระมวล สธุ ีจารวุ ฒั น (๑๑) นางปยิ ะนุช มาลากุล ณ อยุธยา (๑๒) นางสาวผอ่ งศรี ธาราภมู ิ (๑๓) นายพีรพทั ธ์ วงศก์ มลพร (๑๔) นางสาวรชั ดา เจียสกลุ (๑๕) ผู้ช่วยศาสตราจารยร์ งุ่ เพ็ชร สกุลบารุงศิลป์ (๑๖) นางสาวรจุ เิ รข นอ้ ยเสงย่ี ม (๑๗) นางสาววริศรียา บุญสม (๑๘) นายวิฑรู ย์ เลีย่ นจารญู

๔ (๑๙) นายวทิ ยา ศรชี มภู (๒๐) นายวิมล ปัน้ คง (๒๑) นายสมเกียรติ ไตรสรณปัญญา (๒๒) นายสฤษดิ์ ไพรทอง (๒๓) นายสสิ วัฒม์ ธรรมประดิษฐ์ (๒๔) นางสาวสนุ ีย์ วรวุฒางกรู (๒๕) นายสรุ ชยั กาพลานนทว์ ัฒน์ (๒๖) ศาสตราจารยอ์ ภิชาติ วรรณวจิ ติ ร (๒๗) นางอญั ชนา วิทยาธรรมธัช (๒๘) รองศาสตราจารย์อาชนัน เกาะไพบูลย์ ๑.๓ คณะกรรมาธิการวิสามัญได้มีมติแต่งต้ัง นางสาวนิธิยา ผาสุข นิติกรชานาญการพิเศษ กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ สานักกรรมาธิการ ๒ ปฏิบัติหน้าท่ีเป็นผู้ช่วยเลขานุการ ในคณะกรรมาธิการ ตามขอ้ บังคบั การประชมุ สภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ้ ๙๓ วรรคส่ี ๒. ผ้ซู ่งึ คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ไดเ้ ชญิ มาช้ีแจงแสดงความคิดเหน็ คือ ๒.๑ กระทรวงพาณชิ ย์ ๒.๑.๑ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (๑) นางสาวกนิษฐา กังสวนชิ ผอู้ านวยการสานักยุโรป (๒) นางสาวจณัญญา บัณฑุกุล ผอู้ านวยการสานกั อเมริกา แปซิฟกิ และองคก์ ารระหวา่ งประเทศ (๓) นางสาวพริ้วแพร ชมุ รุม ผู้อานวยการสานกั เจรจาการคา้ บรกิ าร และการลงทุน (๔) นายสุรนิ ทร สุนทรสนาน นักวิชาการพาณชิ ย์เช่ียวชาญ (๕) นางสาวแก้วตา พิสษิ ฐเกษม นักวิชาการพาณิชยช์ านาญการพเิ ศษ (๖) นายจิรัตถ์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา นักวิชาการพาณิชยช์ านาญการพิเศษ (๗) นายพรชัย ประภาวงษ์ นกั วิชาการพาณชิ ย์ชานาญการพเิ ศษ (๘) นางสาวนุชจารี สมพงษ์ นกั วิชาการพาณิชยช์ านาญการพิเศษ (๙) นายพทั ธก์ มล ทัตติพงศ์ นกั วิชาการพาณชิ ยช์ านาญการพเิ ศษ (๑๐) นางสาวกัลยา ลวี งศเ์ จรญิ นกั วชิ าการพาณชิ ย์ชานาญการพิเศษ (๑๑) นางสาวสพุ รรษา สุทธศิ ิรกิ ลุ นกั วชิ าการพาณชิ ยช์ านาญการพเิ ศษ (๑๒) นายปองวลัย พวั พันธ์ นักวชิ าการพาณิชยช์ านาญการพเิ ศษ (๑๓) นางสาวกฤตนิ ี จกั กาบาตร์ นักวิชาการพาณชิ ยช์ านาญการ (๑๔) นางสาวกุลนนั ทน์ บญุ ญเศรษฐ์ นักวชิ าการพาณชิ ย์ชานาญการ (๑๕) นางรมยร์ วี จนั ทรเสน นักวชิ าการพาณชิ ยช์ านาญการ (๑๖) นายคณพล วงศใ์ หญ่ นกั วชิ าการพาณชิ ย์ชานาญการ (๑๗) นายขจรศกั ดิ์ คปุ ต์กาญจนากุล นกั วิชาการพาณชิ ยช์ านาญการ (๑๘) นางสาวนาถวดี เครือรัตน์ นกั วชิ าการพาณิชยช์ านาญการ (๑๙) นายพชร แสงไชย นักวชิ าการพาณิชยช์ านาญการ

๕ (๒๐) นางสาวดษุ ณีญา อินทนพุ ัฒน์ นกั วชิ าการพาณิชยป์ ฏบิ ัติการ (๒๑) นายธนภัทร วัชรางกูร นักวิชาการพาณชิ ยป์ ฏบิ ัตกิ าร (๒๒) นางสาวชวุ ัลกร ศาสนบญั ชากุล นกั วิชาการพาณิชย์ปฏิบตั ิการ (๒๓) นายพชิ ญญ์ โชติพันธุ์ นกั วชิ าการพาณชิ ยป์ ฏบิ ัติการ (๒๔) นายวรตุ ตม์ สุลสี ถิร นกั วิชาการพาณชิ ย์ปฏิบัติการ (๒๕) นายอภวิ ิชย์ อนนั ตเสรี นักวิชาการพาณชิ ย์ปฏบิ ตั ิการ (๒๖) นายอนิ ทรรัตน์ เข่ือนรัตน์ นกั วชิ าการพาณิชยป์ ฏิบตั ิการ (๒๗) นายจิรพัชร จันทรก์ ลา่ นักวิชาการพาณิชยป์ ฏบิ ัติการ (๒๘) นายวรเศรษฐ์ คูณทวีลาภผล นักวชิ าการพาณิชย์ ๒.๑.๒ กรมทรพั ยส์ ินทางปัญญา (๑) นายจักรา ยอดมณี ผู้อานวยการกองป้องปรามการละเมดิ ทรัพยส์ นิ ทางปัญญา (๒) นายศริ พทั ธ์ วชั ราภยั รักษาการผูอ้ านวยการกองพฒั นา ความร่วมมือทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา (๓) นางนฐมณฑ์ แสงวราชยั ลกั ษณ์ นักวิชาการตรวจสอบสทิ ธิบัตร ชานาญการพเิ ศษ (๔) นายสุดเขต บรบิ รู ณ์ศรี นกั วิชาการพาณชิ ยช์ านาญการพิเศษ (๕) นางสาวบงกชมาศ หงษ์ทอง นกั วิชาการพาณิชย์ชานาญการพเิ ศษ (๖) นางรัชวรรณ จนิ ดาวฒั น์ นักวิชาการพาณชิ ยช์ านาญการ (๗) นายพฒั นา สังขก์ ฤษ นกั วิชาการพาณชิ ย์ปฏิบัติการ ๒.๑.๓ กรมการคา้ ตา่ งประเทศ (๑) นายชุตินนั ท์ สิรยิ านนท์ รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ (๒) นางชนินทร หรมิ่ เจริญ ผอู้ านวยการกองสิทธปิ ระโยชนท์ างการค้า (๓) นางสาวปิยชาติ สอทพิ ย์ ผอู้ านวยการกองสทิ ธิประโยชน์ทางการคา้ (๔) นางสาวสุภาวดี เชิดมณี นกั วิชาการพาณิชยช์ านาญการพเิ ศษ (๕) นางทิพยว์ ัลย์ ยามาโมโตะ นกั วชิ าการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ (๖) นางสาวจันทร์นภิ า บญุ ญเศรษฐ์ นักวิชาการพาณชิ ยช์ านาญการ (๗) นางสาวพันธุ์สดุ า จันทรโมลี นกั วิชาการพาณชิ ยช์ านาญการ (๘) นางสาวกุณฑรกิ า เสพย์ธรรม นกั วชิ าการพาณิชย์ชานาญการ (๙) นางสาวธญั ญาทพิ ย์ แสงสวุ รรณ์ นกั วชิ าการพาณชิ ย์ปฏิบัติการ (๑๐) นางสาววลิ ยั วรรณ โชยา นักวิชาการพาณิชย์ปฏบิ ตั กิ าร ๒.๑.๔ กรมพัฒนาธรุ กิจการคา้ (๑) นายสราวุฒิ คมุ้ พนั ธ์ นักวิชาการพาณชิ ยช์ านาญการพิเศษ (๒) นางสาวพรรณทิพย์ ชน่ื ศริ ิพงษ์ นักวชิ าการพาณชิ ยช์ านาญการพิเศษ (๓) นางสาวสชุ าดา เหลา่ พลู สขุ นติ กิ รชานาญการพิเศษ ๒.๑.๕ สานกั งานคณะกรรมการการแข่งขันทางการคา้ (๑) นายอคั รพล ฮวบเจริญ ผอู้ านวยการฝา่ ยกิจการตา่ งประเทศ (๒) นางสาววนั วิสาข์ นาคปมุต นกั องคก์ รสมั พนั ธ์

๖ (๓) นายพริ ยิ พงศ์ ศรบี ุญลือ นักการต่างประเทศ (๔) นางสาวเนติมา ท้าวหมนื่ เจ้าหนา้ ทีฝ่ า่ ยกจิ การตา่ งประเทศ ๒.๑.๖ สานักงานนโยบายและยุทธศาสตรก์ ารค้า (๑) นางสาวพิมพช์ นก วอนขอพร ผูอ้ านวยการสานักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ การค้า (๒) นางนชุ พนั ธ์ กฤษณามระ ผอู้ านวยการกองนโยบาย การสร้างความเขม้ แขง็ ทางการค้า (๓) นางสาวปิญชาน์ เล่ห์มงคล นกั วิชาการพาณิชยช์ านาญการ (๔) นายสุขปติ ิ มณีขาว นกั วชิ าการพาณชิ ย์ชานาญการ (๕) นางสาวณิชชาภัทร กาญจนอมุ การ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ ๒.๒ กระทรวงการตา่ งประเทศ อธบิ ดกี รมสนธิสญั ญาและกฎหมาย ๒.๒.๑ กรมสนธสิ ัญญาและกฎหมาย ผอู้ านวยการกองพฒั นางานกฎหมาย (๑) นางวลิ าวรรณ มังคละธนะกุล ระหว่างประเทศ (๒) นายพืชภพ มงคลนาวิน นกั การทูตชานาญการ นกั การทูตปฏบิ ตั กิ าร (๓) นายวรพล เจนสวัสดชิ ัย (๔) นางสาวกณวณั ไวทยกจิ กาจร รองอธบิ ดีกรมเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ ๒.๒.๒ กรมเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ ผอู้ านวยการกองนโยบายเศรษฐกจิ (๑) นายปิยภักด์ิ ศรเี จรญิ ระหว่างประเทศ (๒) นางสาวปฤณตั อภิรตั น์ นักการทตู ชานาญการ นักการทูตปฏบิ ัติการ (๓) นางสุวรรณี อรณุ สวัสด์วิ งศ์ (๔) นางสาววริ ญั ญา ตนิ โนเวช ๒.๓ กระทรวงสาธารณสุข ผู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการควบคมุ ๒.๓.๑ กรมควบคมุ โรค เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ (๑) นายนพิ นธ์ ชินานนท์เวช ผู้อานวยการกองงานคณะกรรมการควบคุม ผลิตภัณฑย์ าสบู (๒) นายชยนันท์ สทิ ธิบุศย์ ผู้ช่วยผูอ้ านวยการกองคณะกรรมการ ควบคมุ ผลิตภณั ฑย์ าสูบ (๓) นายจริ ะวัฒน์ อยูส่ ะบาย รองผ้อู านวยการสานกั งานคณะกรรมการ ควบคุมเครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ (๔) นายพงศธ์ ร ชาตพิ ิทักษ์ นิตกิ ร สานักงานคณะกรรมการควบคมุ เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ (๕) นางสาวกรรณิการ์ อนิ ทรทัต นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน สานักงาน คณะกรรมการควบคุมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ (๖) นางสาวศศภิ า เกตกุ ราย

๗ ๒.๓.๒ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (๑) นางสาวเสาวภา จงกิตติพงศ์ ผ้อู านวยการกองสขุ ภาพระหว่างประเทศ (๒) นางสาวกติ ตมิ า ศรสี ขุ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏิบตั กิ าร (๓) นายภกั ดี กล่ันภักดี หัวหน้ากลมุ่ ความรว่ มมอื สขุ ภาพ ระหวา่ งประเทศ (๔) นางสาวสุภานัน คงคา เจ้าหน้าทีป่ ระสานงานต่างประเทศ ๒.๓.๓ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก (๑) นางสาวอัญชลี จฑู ะพทุ ธิ ที่ปรกึ ษากรมการแพทยแ์ ผนไทยและ การแพทยท์ างเลือก (๒) นายนนั ทศักดิ์ โชติชนะเดชาวงศ์ ผู้อานวยการกองคุ้มครองและสง่ เสรมิ ภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและ แพทยพ์ น้ื บ้านไทย (๓) นายวรพจน์ ภู่จินดา ผอู้ านวยการกลุ่มกฎหมายและจรยิ ธรรม (๔) นางสาวสวุ มิ ล สุมนตรี แพทย์แผนไทย (๕) นางสาวมณียา ปานนพฟา นกั วิเคราะห์นโยบาย (๖) นายเมฑาวธุ ธนพฒั นศ์ ิริ นักตรวจสอบสทิ ธบิ ัตร ๒.๓.๔ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (๑) นายไพศาล ดน่ั คุม้ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (๒) นางสริ นิ มาส คชั มาตย์ เภสัชกรชานาญการพิเศษ กองควบคมุ เคร่อื งมือแพทย์ (๓) นายวนั ชยั ศรีทองคา ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นความปลอดภยั ของอาหาร และการบรโิ ภคอาหาร (๔) นางสุภาวดี ธรี ะวัฒน์สกุล ผ้อู านวยการกองควบคุมเคร่ืองสาอาง และวัตถุอนั ตราย (๕) นายวราวธุ เสริมสินสิริ ผอู้ านวยการกองผลิตภัณฑส์ มนุ ไพร (๖) หมอ่ มหลวงวรดนู ศรีรัตนสถาวร เภสัชกรชานาญการพเิ ศษ (๗) นายฉตั รชัย พานชิ ศภุ ภรณ์ เภสชั กรชานาญการพิเศษ (๘) นางสาวจิรารัตน์ เทศะศิลป์ นักวชิ าการอาหารและยาชานาญการพิเศษ (๙) นางสาวจารุณี อนิ ทรสขุ นักวิชาการอาหารและยาชานาญการ (๑๐) นางสิตานันทร์ พนู ผลทรพั ย์ เภสัชกรชานาญการ (๑๑) นางสาวพัทธร์ ิศา ปกรณก์ ลั ยช์ ัย เภสชั กรปฏิบตั ิการ (๑๒) นายศรุต บญุ เลศิ เภสัชกรปฏิบัตกิ าร ๒.๓.๕ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ นางสาววรนดั ดา ศรสี พุ รรณ เภสชั กรชานาญการพเิ ศษ กองบรหิ ารการสาธารณสขุ ๒.๓.๖ สานักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) (๑) นายการุณย์ คุณติรานนท์ รองเลขาธิการสานักงานหลักประกัน สขุ ภาพแห่งชาติ

๘ (๒) นางสาวสมฤทัย สุพรรณกูล ผู้อานวยการสานักสนับสนุนระบบบรกิ ารยา และเวชภัณฑ์ (๓) นางวิไลลกั ษณ์ วิสาสะ รกั ษาการผูอ้ านวยการสานกั หลกั ประกนั สุขภาพระหว่างประเทศ (๔) นางนรศิ า มณั ฑางกูร หัวหน้ากลุ่มงานสานักงานหลกั ประกัน สขุ ภาพแห่งชาติ ๒.๓.๗ องคก์ ารเภสชั กรรม (๑) นายพิพัฒน์ นยิ มการ รองผูอ้ านวยการองคก์ ารเภสัชกรรม (๒) นางศิรกิ ลุ เมธีวีรังสรรค์ รองผู้อานวยการองคก์ ารเภสชั กรรม (๓) นางประภสั สร สรุ วัฒนาวรรณ รกั ษาการผ้อู านวยการสถาบันวิจยั และพัฒนา (๔) นายสทุ ัศน์ มีสารภี ผู้อานวยการกองกฎหมาย (๕) นางเยาวลกั ษณ์ พุฒซอ้ น รักษาการผ้อู านวยการฝ่ายการตลาด (๖) นางสาวลักษมีเพ็ญ สารชวนะกจิ ผ้ดู แู ลกลมุ่ งานดา้ นศนู ยข์ ้อมูลสทิ ธิบัตรยา สถาบนั วิจยั และพัฒนา (๗) นางสาวศริ ินทร์ทพิ ย์ ขวัญเมอื ง นักการตลาด ๕ กล่มุ งานขายต่างประเทศ (๘) นางสาวปยิ นนั ท์ รัตนเพชร นกั วิจัย สถาบนั วจิ ัยและพฒั นา (๙) นางปยิ พร พยัฆพรม นักวจิ ยั สถาบนั วิจยั และพัฒนา ๒.๓.๘ โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภเู บศร (๑) นางสาวผกากรอง ขวญั ขา้ ว หวั หน้าศนู ยห์ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ ดา้ นการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร (๒) นายชยั รัตน์ บญุ นาค ผอู้ านวยการกลมุ่ กิจการอนุรักษ์ และการใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยงั่ ยืน ๒.๔ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๒.๔.๑ กรมวิชาการเกษตร (๑) นางสาวปรียานชุ ทิพยะวฒั น์ ผอู้ านวยการกองพฒั นาระบบและรับรอง มาตรฐานสินคา้ พชื (๒) นางสาวธดิ ากุญ แสนอุดม ผู้อานวยการกลมุ่ วิจัยการคมุ้ ครองพนั ธ์พุ ชื สานักค้มุ ครองพันธพ์ุ ชื (๓) นายปา่ น ปานขาว นักวิชาการเกษตรชานาญการพเิ ศษ สานักคุม้ ครองพนั ธ์พุ ืช (๔) นางสาวสริ ปิ ณุ ยากร สมแก้ว นติ กิ ร สานักค้มุ ครองพนั ธพุ์ ืช ๒.๔.๒ กรมส่งเสริมการเกษตร (๑) นายเศรษฐพงศ์ เลขะวัฒนะ นกั วิชาการเกษตรเชี่ยวชาญ ปฏิบัติหน้าที่ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิด้านพัฒนาระบบการผลิต สนิ คา้ เกษตร (๒) นางสกุ ญั ญา ต้แู ก้ว ผู้อานวยการกลมุ่ ผลิตและขยายพนั ธพุ์ ืช

๙ ๒.๔.๓ กรมการขา้ ว (๑) นางสาวนนทิชา วรรณสวา่ ง รองอธิบดีกรมการขา้ ว (๒) นายชิษณชุ า บุดดาบญุ ผู้อานวยการสานักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ข้าว (๓) นายประสงค์ ทองพันธ์ ผอู้ านวยการกองตรวจสอบรบั รองมาตรฐานข้าว และผลติ ภัณฑ์ (๔) นางทัศนยี ว์ รรณ สุรยิ งหาญพงศ์ ผอู้ านวยการสานกั บริหารกลาง (๕) นางสาวประสพสรรพ์ กมลยะบุตร ผอู้ านวยการกล่มุ พัฒนาระบบบรหิ าร (๖) นางสาวเมตตา คชสาโรง ผู้อานวยการกลุ่มพฒั นาการขยายเมลด็ พนั ธพ์ุ ืช กองเมล็ดพันธ์ขุ ้าว (๗) นายอภิชาติ เนนิ พลับ ผู้เชี่ยวชาญดา้ นปรบั ปรุงพันธขุ์ ้าว (๘) นางอัญชลี ประเสรฐิ ศกั ด์ิ ผู้เชย่ี วชาญดา้ นวทิ ยาการเมลด็ พนั ธ์ุ และมาตรฐานพันธ์ุ (๙) นางสาวปริญญา เช้อื ชชู าติ นักวชิ าการเกษตรชานาญการพเิ ศษ (๑๐) นายรณชัย ชา่ งศรี นักวิชาการเกษตรชานาญการพิเศษ (๑๑) นางสกุ ญั ญา อรัญมติ ร นกั วิชาการเกษตรชานาญการพเิ ศษ (๑๒) นางอุมา ประสิทธิว์ ฒั นเสรี นักวิชาการเกษตรชานาญการ (๑๓) นางกอบกาญจน์ เตชะฤทธ์ิ นักวชิ าการเผยแพรช่ านาญการ ๒.๔.๔ กรมปศสุ ตั ว์ (๑) นายวัชรพล โชติยะปตุ ตะ ผอู้ านวยการกองความร่วมมอื ดา้ นการปศสุ ตั ว์ระหว่างประเทศ (๒) นางวรางคณา โตรส เศรษฐกรชานาญการพิเศษ (๓) นางสาวเพลินพรรณ เขตตก์ นั เศรษฐกรชานาญการ (๔) นางสาวณัฐณชิ า เพชรศรี นายสัตวแพทยป์ ฏิบตั กิ าร (๕) นายณภทั ร ภทั รวัฒน์ นายสตั วแพทย์ปฏิบัติการ ๒.๔.๕ กรมประมง (๑) นางสาวชมยั พร ชูงาน ผู้เชยี่ วชาญด้านเศรษฐกจิ การประมง (๒) นายประพนั ธ์ โนระดี หัวหน้ากล่มุ วเิ คราะห์การคา้ สินคา้ ประมง ระหว่างประเทศ (๓) นางกิง่ เดือน สมจิตต์ หวั หน้ากลุม่ ตรวจประเมินระบบคุณภาพ แหล่งแปรรูป (๔) นายปิตชิ าติ ไชยเสนา เศรษฐกรปฏิบตั ิการ ๒.๔.๖ สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ (มกอช.) (๑) นายครรชิต สขุ เสถียร รองเลขาธิการสานักงานมาตรฐาน สนิ ค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (๒) นายชนวฒั น์ สทิ ธธิ รู ณ์ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการพิเศษ (๓) นางสาวรจุ เิ รข น้อยเสง่ยี ม นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ (๔) นายวรพงศ์ วไิ ลรัตน์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ

๑๐ ๒.๔.๗ สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร (๑) นางเบญจวรรณ ศิริโพธิ์ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ รักษาการในตาแหนง่ ผู้เชย่ี วชาญนโยบาย เศรษฐกิจการเกษตรระหวา่ งประเทศ (๒) นายเอกราช ตรีลพ รักษาการผู้เช่ยี วชาญดา้ นเศรษฐกจิ การผลิต และการตลาด (๓) นางหัทยา ทบั สวสั ด์ิ ผูอ้ านวยการส่วนบรหิ ารกองทุนภาคการเกษตร ๒.๔.๘ การยางแห่งประเทศไทย (๑) นายณกรณ์ ตรรกวริ พทั รองผ้วู ่าการการยางแห่งประเทศไทยด้านธุรกิจ และปฏบิ ตั ิการ ปฏิบตั กิ ารแทนผูว้ า่ การการยาง แห่งประเทศไทย (๒) นายกฤษดา สงั ข์สิงห์ ผู้อานวยการสถาบนั วจิ ัยยาง (๓) นางสาวสุนันทกิ า ปางจุติ หวั หน้ากองกจิ การต่างประเทศ (๔) นายณัฐชนน นพคณุ ขจร นกั วเิ ทศสมั พนั ธ์ ๒.๕ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ๒.๕.๑ กรมส่งเสรมิ คุณภาพส่งิ แวดล้อม (๑) นางภาวนิ ี ณ สายบุรี รองอธิบดกี รมส่งเสรมิ คุณภาพสิง่ แวดล้อม (๒) นายจกั รชัย ช่มุ จติ ต์ ผูอ้ านวยการกองสง่ เสรมิ และเผยแพร่ (๓) นายปญั ญา วรเพชรยุทธ ผู้อานวยการศนู ย์วจิ ยั และฝึกอบรม ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ๒.๕.๒ กรมควบคมุ มลพิษ (๑) นางสาวพรพิมล เจรญิ ส่ง ผู้อานวยการกองจัดการกากของเสีย และสารอนั ตราย (๒) นางอาภาภรณ์ ศริ ิพรประสาร นกั วิชาการสิ่งแวดลอ้ มชานาญการพเิ ศษ ๒.๕.๓ สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (สผ.) (๑) นางสาวจิตตินนั ท์ เรืองวรี ยทุ ธ ผอู้ านวยการกองจัดการความหลากหลาย ทางชวี ภาพ (๒) นายภาณวุ ตั ร กมุทชาติ นักวชิ าการสง่ิ แวดล้อมชานาญการพเิ ศษ (๓) นางสาวชนากานต์ ต่างจติ ร์ นักวชิ าการส่ิงแวดลอ้ มชานาญการ (๔) นางสาวญาณี แก้วประสทิ ธิ์ นกั วิชาการส่งิ แวดลอ้ มชานาญการ (๕) นางสาวศศธิ ร ศรสี ุรกั ษ์ นักวชิ าการสิ่งแวดลอ้ มปฏบิ ัติการ ๒.๕.๔ สานักงานพฒั นาเศรษฐกจิ จากฐานชวี ภาพ (องคก์ ารมหาชน) (๑) นางจุฬารัตน์ นิรตั ศิ ยกลุ ผู้อานวยการสานกั งานพัฒนาเศรษฐกจิ จากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) (๒) นายธนิต ชังถาวร รองผอู้ านวยการสานกั งานพัฒนาเศรษฐกจิ จากฐานชวี ภาพ (๓) นายชัยรตั น์ บุนนาค ผอู้ านวยการกลุ่มกจิ การอนรุ ักษ์ และการประโยชนอ์ ย่างยัง่ ยนื

๑๑ (๔) นางสาวรติกร น่วมภักดี เจา้ หนา้ ท่พี ฒั นาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ (๕) นางสาวณชิ า หระดี บริหารงานท่วั ไป ๒.๖ กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม ๒.๖.๑ สานกั งานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) (๑) ศ.อภชิ าติ วรรณวจิ ิตร ผอู้ านวยการหนว่ ยปฏบิ ัตกิ ารค้นหาและ ใช้ประโยชน์ยีนข้าว ศูนย์พนั ธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ (๒) นายวรรณพ วเิ ศษสงวน ผอู้ านวยการศูนย์พันธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (๓) นางสาวบุบผา เตชะภทั รพร นักวิจัยนโยบายอาวโุ สฝ่ายศกึ ษานโยบายและ ความปลอดภัยทางชวี ภาพ ศูนยพ์ นั ธุวศิ วกรรม และเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ ๒.๗ กระทรวงการคลงั ๒.๗.๑ กรมบญั ชีกลาง (๑) นางภัทรพร วรทรัพย์ รองอธบิ ดีกรมบญั ชกี ลาง (๒) นางสาวณติ ญิ าภรณ์ อิ่มใจ ผ้เู ชย่ี วชาญด้านนโยบายการจดั ซื้อโดยรัฐ ระหวา่ งประเทศ (๓) นายธนะโชค รุ่งธปิ านนท์ ผอู้ านวยการกองระบบการจดั ซื้อจดั จา้ งภาครฐั และราคากลาง (๔) นางสาวทักษพร รักอยู่ นติ กิ รชานาญการพเิ ศษ (๕) นายจักรพนั ธ์ คงคาประสทิ ธ์ิ นกั วิชาการคลงั ชานาญการ (๖) นางสาวศันสนีย์ ธารเรวดี นกั วิชาการคลังชานาญการ (๗) นางสาวสธุ าสินี ศรีมานะศักด์ิ นติ กิ รชานาญการ (๘) นางสาวดารารัตน์ รชั ดานรุ ักษ์ นักวจิ ยั นโยบาย สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยแี ห่งชาติ (๙) นางสาวสมฤทยั นา้ ทิพย์ ผชู้ ว่ ยวิจยั นโยบาย สานกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ ๒.๗.๒ กรมสรรพากร (๑) นางสาวฎาฎะนี วุฒิภดาดร ผู้อานวยการกองวิชาการแผนภาษี (๒) นายมงคล ขนาดนดิ ผอู้ านวยการกองกฎหมาย (๓) นางสาววีณา ลิ่มสวสั ด์ิ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาฐานภาษี (๔) นางสาวเสาวคนธ์ มีแสง นักวิชาการภาษีเชีย่ วชาญ (๕) นางสาวเพชรรตั น์ ศภุ นิมิตรกลุ กจิ นกั ตรวจสอบภาษีเช่ียวชาญ (๖) นางสาวอรนฏั ยรรยงเมธ นติ ิกรชานาญการพเิ ศษ (๗) นางสาวภัทรี ฉตั รเฉลมิ เกียรติ นติ ิกรชานาญการ (๘) นางสาวณิชาภัทร นาวาประดิษฐ์ นักวิชาการภาษชี านาญการ (๙) นางสาวฐิตาพร ฐติ ะสมบูรณ์ นกั ตรวจสอบภาษีชานาญการ (๑๐) นางสาวสิรธี ร ศภุ างคจ์ รสั นกั วชิ าการภาษีปฏิบตั กิ าร

๑๒ ๒.๗.๓ กรมศลุ กากร (๑) นางรัดใจ ลลี ะวงศ์ ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นพัฒนาระบบตรวจสอบ การใชส้ ิทธิประโยชนท์ างภาษีอากร (๒) นางสาวบว่ งพรา จองสารทิศ ผูเ้ ช่ียวชาญกองสิทธปิ ระโยชนท์ างภาษีอากร (๓) นางนิภาวรรณ ใยบวั เทศ ผู้เชย่ี วชาญดา้ นเทคนคิ การตรวจสอบสินค้า (สานักงานศลุ กากรท่าเรือกรุงเทพ) (๔) นายเอก สาตรวาหา ผอู้ านวยการกองพกิ ัดอตั ราศุลกากร (๕) นายภาณุ ลม้ิ วงศ์ยุติ ผ้อู านวยการสว่ นควบคุมทางศุลกากร (สานกั งานศลุ กากรทา่ เรือกรงุ เทพ) (๖) นายพรสิ ร สุขประเสรฐิ ผู้อานวยการสว่ นมาตรฐานพิกัดอตั รา (กองพิกดั อัตราศลุ กากร) (๗) นางวชั ราพร เธียนชยั วฒั นา ผอู้ านวยการสว่ นโครงสร้างอัตราอากร (๘) นางสาวสุภีร์ คงจนิ ดา หัวหน้าฝา่ ยอัตราอากรสทิ ธพิ เิ ศษ ๑ (๙) นายองั กรู อังคะเจริญ หัวหน้าฝา่ ยอตั ราอากรสทิ ธิพเิ ศษ ๒ (๑๐) นางสาววรรณชุลี เอื้อกศุ ลสมบรู ณ์ นักวิชาการศุลกากรชานาญการพเิ ศษ (๑๑) นางกรุณา ปวนะฤทธ์ิ นกั วิชาการศุลกากรชานาญการ (๑๒) นางสาวพุฒชาต วงศส์ วุ านชิ นักวชิ าการศลุ กากรชานาญการ (๑๓) นางสาวจุฬาลกั ษณ์ ยุตธิ รรมสกุล นกั วิชาการศลุ กากรชานาญการ (๑๔) นางสาวกนกอร ชวลิตชัยกลุ นกั วิชาการศุลกากรชานาญการ (๑๕) นายพลสรร สายฟา้ นักวชิ าการศลุ กากรชานาญการ (๑๖) นายชานนท์ แดงสีพล นักวชิ าการศุลกากรปฏิบตั กิ าร (๑๗) นางสาวปรยี าภา ร้อยกรแกว้ นกั วชิ าการศลุ กากรปฏิบัตกิ าร (๑๘) นายทวิวฒุ ิ สุวรรณจรสั นักวชิ าการศลุ กากรปฏบิ ตั ิการ (๑๙) นางสาวศุภาวรรณ วิไลวฒุ ิบัณฑิต นักวชิ าการศุลกากร ๒.๗.๔ กรมสรรพสามติ (๑) นางสาวประภาพริษฐ์ ชา่ ชอง นักวชิ าการภาษีชานาญการพิเศษ รกั ษาการผู้เช่ยี วชาญเฉพาะด้านวชิ าการภาษี (๒) นายสุรเชษฐ์ แก่นชา นกั วิชาการภาษีชานาญการ (๓) นางสาวสรลั พชั ร คล่องดี นักวชิ าการภาษปี ฏิบัติการ ๒.๗.๕ สานกั งานเศรษฐกจิ การคลงั (๑) นางนวพร วริ ิยานุพงศ์ ผู้เช่ียวชาญดา้ นนโยบายการเงินการคลัง ระหว่างประเทศ (๒) นางสาวเกตสุดา สปุ ระดษิ ฐ์ ท่ีปรกึ ษาด้านเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ (๓) นางสาวประภาภรณ์ ชุณหชัชราชยั ผอู้ านวยการสว่ นนโยบายเศรษฐกิจการเงนิ ระหวา่ งประเทศ (๔) นางสาวศิริตลา แสงดว้ ง ผอู้ านวยการสว่ นนโยบายเศรษฐกิจการคลงั ระหวา่ งประเทศ

๑๓ (๕) นายเดชชัย กลุ วงศ์ เศรษฐกรชานาญการ (๖) นายศภุ ชาติ คลอ่ งเชิงสาร เศรษฐกรปฏบิ ตั ิการ (๗) นางสาวชตุ ิกาญจน์ สลลิ ปราโมทย์ เศรษฐกรปฏบิ ัตกิ าร ๒.๗.๖ สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (๑) นางสาวปิยวรรณ ล่ามกิจจา ท่ีปรกึ ษาด้านพัฒนารฐั วิสาหกิจ (๒) นายพลจักร นม่ิ วัฒนา ผูอ้ านวยการสานักนโยบาย และแผนรฐั วสิ าหกิจ (๓) นางสาวณัฐนิภา เหลืองสมบรู ณ์ นกั วเิ คราะห์รฐั วสิ าหกิจชานาญการพิเศษ (๔) นางสาวสนุ ดิ า สุสันทัด นกั วเิ คราะหร์ ัฐวิสาหกิจชานาญการพิเศษ (๕) นายชยสทิ ธ์ิ จิตรามวงศ์ นักวเิ คราะหร์ ัฐวสิ าหกจิ ชานาญการ (๖) นางสวุ รรณา อภัยบณั ฑิตกุล นกั วิเคราะหร์ ฐั วสิ าหกจิ ปฏิบัตกิ าร ๒.๘ กระทรวงอตุ สาหกรรม ๒.๘.๑ กรมโรงงานอุตสาหกรรม (๑) นายกัมปนาท รุ่งเรืองชยั ศรี ผอู้ านวยการกองบรหิ ารจดั การกากอุตสาหกรรม (๒) นายพิศิษฐ รัตนธนาฤกษ์ นกั วทิ ยาศาสตร์ชานาญการพิเศษ (๓) นางสาวนัชพรนภสั สินธสุ ิทธิ์ วศิ วกรปฏิบตั กิ าร (๔) นางสาวสคุ นธ์ เอยี่ มอนันต์ นกั วิทยาศาสตรป์ ฏิบตั กิ าร ๒.๘.๒ สานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม (สมอ.) (๑) นายไชยวัฒน์ ตั้งเกรกิ โอฬาร ผอู้ านวยการกองบริหารมาตรฐาน ระหว่างประเทศ (๒) นางสาวอาภัสสร สุกใส ผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านการมาตรฐาน ระหวา่ งประเทศ (๓) นายณฤทธ์ิ ฤกษ์มว่ ง นักวชิ าการมาตรฐานชานาญการพิเศษ (๔) นางสาวณชิ าภทั ร พุ่มเข็ม นกั วชิ าการมาตรฐานปฏบิ ัตกิ าร (๕) นางสาวสกาวรัตน์ เตม็ รตั น์ นักวิชาการมาตรฐานปฏบิ ตั กิ าร ๒.๘.๓ การนคิ มอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย (กนอ.) (๑) นางปนัดดา เยน็ ตระกลู ผอู้ านวยการฝา่ ยบริการผูป้ ระกอบการ (๒) นางสาวนันทนา สถาพรนานนท์ นกั บริการการลงทุน ๒.๙ กระทรวงแรงงาน ๒.๙.๑ กรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน (๑) นางโสภา เกียรตินริ ชา รองอธบิ ดีกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน (๒) นายอนุสษิ ฐ์ อนุ่ ทิม ผอู้ านวยการกลุ่มงานพฒั นากฎหมาย (๓) นายทศิ ชยั หงษศ์ ิรนิ ทนาถ สานักแรงงานสัมพนั ธ์ (๔) นางสาวจันทรพร วิสุทธกิ ันต์ สานักพฒั นามาตรฐานแรงงาน (๕) นางสาววิสมล วุธรา สานักพฒั นามาตรฐานแรงงาน

๑๔ ๒.๑๐ กระทรวงดจิ ิทัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม ๒.๑๐.๑ สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกิจและสงั คม (๑) นางสาวอัจฉรินทร์ พฒั นพันธ์ชัย ปลดั กระทรวงดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคม (๒) นายภเู วยี ง ประคามนิ ทร์ รองปลดั กระทรวงดิจิทลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม (๓) นางปิยนุช วุฒิสอน ผตู้ รวจราชการกระทรวงดจิ ิทลั เพ่ือเศรษฐกิจ และสังคม (๔) นางสาวทศวรรณ เสมอวงษ์ นักวเิ ทศสัมพนั ธช์ านาญการพิเศษ กองการต่างประเทศ (๕) นางสาวภารนิ หงส์บตุ ร นักวิเทศสมั พนั ธ์ชานาญการพิเศษ (๖) นางสาวสายชล แซล่ ้ี นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร์ชานาญการพิเศษ (๗) นายจรัญ เหลาทอง นกั วิชาการคอมพวิ เตอรช์ านาญการ กองป้องกันและปราบปรามการกระทาผิด ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (๘) นางสาวแสงกลา้ อุทัยรตั นกิจ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน ๒.๑๐.๒ สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (สพธอ.) (๑) นายชัยชนะ มิตรพันธ์ รองผู้อานวยการสานกั งานพัฒนาธรุ กรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ (๒) นายมธี รรม ณ ระนอง รักษาการผ้ชู ่วยผอู้ านวยการสานกั งาน พฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (๓) นายธงชัย แสงศิริ ผู้ชานาญการ สานกั ยุทธศาสตร์ (๔) นายพงษ์พันธ์ ศรีปาน เจ้าหนา้ ทีก่ ฎหมาย ๒.๑๑ สานักนายกรัฐมนตรี ๒.๑๑.๑ สานกั งบประมาณ (๑) หมอ่ มราชวงศ์รณจักร์ จกั รพันธ์ุ รองผ้อู านวยการสานักงบประมาณ (๒) นายอดศิ ร กิจขยนั นกั วิเคราะหง์ บประมาณเชยี่ วชาญ (๓) นายประโมทย์ สมาธิ นักวเิ คราะหง์ บประมาณชานาญการพิเศษ ๒.๑๑.๒ สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ (๑) นายวโิ รจน์ นรารักษ์ รองเลขาธกิ ารสภาพฒั นาการเศรษฐกิจ และสงั คมแหง่ ชาติ (๒) นางสาวจติ ราภรณ์ เมฆกระจ่าง นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชานาญการพเิ ศษ (๓) นางสาวรฐั สภา ทรัพยเ์ มือง นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชานาญการ ๒.๑๑.๓ สานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทุน (บีโอไอ) (๑) นายโชคดี แก้วแสง รองเลขาธิการคณะกรรมการ สง่ เสริมการลงทุน (๒) นางสาวฐนติ า ศริ ิทรัพย์ ผูอ้ านวยการกองความร่วมมือ การลงทนุ ตา่ งประเทศ (๓) นายชาตรี ลม้ิ ผ่องใส ผ้อู านวยการกองบรหิ ารการลงทุน ๒ (๔) นางสาวสริ ิพร นาคเจอื นักวชิ าการส่งเสริมการลงทุนชานาญการพิเศษ

๑๕ (๕) นายอิทธโิ ชติ ดารงรักษ์ธรรม นกั วิชาการส่งเสริมการลงทนุ ชานาญการพิเศษ (๖) นางสาวฐิตกิ า บุญเจริญ นกั วิชาการส่งเสริมการลงทุนปฏบิ ัตกิ าร (๗) นายวัชรสาร ฐิติโสดี นักวิชาการสง่ เสรมิ การลงทนุ ปฏบิ ตั ิการ ๒.๑๑.๔ สานักงานคณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค (๑) นายณชั ภัทร ขาวแก้ว นกั สืบสวนสอบสวนชานาญการพิเศษ (๒) นายมาณพ พิเศษกลุ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการพิเศษ ๒.๑๒ กระทรวงยุตธิ รรม ๒.๑๒.๑ สานกั งานอยั การสงู สุด (๑) นายไพรัช พรสมบูรณ์ศิริ รองอธบิ ดีอยั การ (๒) นายสกลุ ยชุ หอพิบลู สุข อยั การผเู้ ช่ียวชาญพเิ ศษ (๓) นางสาวทชดา อจละนนั ท์ อยั การประจาสานกั งานอยั การสงู สุด (๔) นายวีรเดชน์ ไตรทศาวิทย์ อัยการประจาสานกั งานอยั การสงู สดุ (๕) นางสาวปวีณา เอี่ยมศิริกลุ มติ ร อยั การประจาสานกั งานอยั การสูงสดุ (๖) นายตลุ ยวัต โฆษติ วัฒนฤกษ์ อยั การจงั หวัดผู้ชว่ ย ๒.๑๓ สานักงานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสียง กจิ การโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม แหง่ ชาติ (กสทช.) (๑) นายประวทิ ย์ ลีส่ ถาพรวงศา กรรมการ กสทช. (๒) นายนทชาติ จนิ ตกานนท์ ผู้อานวยการสานกั การต่างประเทศ (๓) นางสาวสมจิตต์ สาสนรักกิจ ผู้อานวยการส่วนความรว่ มมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ (๔) นางสปุ ิยา ประสานเสียง ผู้อานวยการส่วนสายงานยทุ ธศาสตร์และ กิจการองค์กร (๕) นางสาวราไพภัค ป่ินสวย นักวิชาการนโยบายและแผนปฏบิ ัติการ (๖) นางสาวศุภสั รา ชยั พิพัฒน์ นกั วิชาการนโยบายและแผนระดบั ต้น (๗) นายฉัตรบดี ฉตั รภตู ิ นกั จัดการงานทวั่ ไปปฏบิ ตั กิ ารระดบั ต้น ๒.๑๔ สานักงานคณะกรรมการกากบั หลักทรพั ยแ์ ละตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) (๑) นางวรชั ญา ศรีมาจันทร์ รองเลขาธกิ าร (๒) นางสาวพราวพร เสนาณรงค์ ผ้ชู ่วยเลขาธิการ (๓) นางสาวจุฬาวดี วรศกั ด์ิโยธิน ผอู้ านวยการฝ่ายยทุ ธศาสตร์ และการต่างประเทศ (๔) นางสาวเพญ็ พิชชา พัทธรตั น์ ผชู้ ว่ ยผ้อู านวยการฝา่ ยยทุ ธศาสตร์ และการต่างประเทศ (๕) นายธวัชพงศ์ เกตานริ ุจน์ ผู้ช่วยผูอ้ านวยการฝ่ายกฎหมาย ๓ (๖) นายวสิ ุทธิ์ ตรงั คสมบตั ิ เจ้าหน้าท่ีบรหิ ารอาวโุ สฝา่ ยกฎหมาย ๓ (๗) นายวศนิ สีดอกบวบ เจ้าหน้าทีบ่ รหิ ารฝา่ ยยุทธศาสตร์ และการตา่ งประเทศ

๑๖ ๒.๑๕ สานักงานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) (๑) นายรงั สรรค์ มัน่ คง ผู้เชี่ยวชาญด้านวิเทศสมั พนั ธ์ (๒) นางสุพตั รา พันธอ์ุ านวย นักบรหิ ารแผนงานชานาญการ (๓) นายไพศาล ลิม้ สถติ ย์ กรรมการสถาบันส่งเสริมสขุ ภาพไทย ในฐานะภาคี สสส. (๔) นายวศนิ พพิ ัฒนฉตั ร ผ้ชู ว่ ยผูอ้ านวยการศนู ยว์ ิจัยและจัดการ ความรู้เพื่อการควบคมุ ยาสูบ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี (๕) นางสาวณิญาดา อมิ่ เพชร นกั บริหารแผนงานชานาญการ สานักสนับสนุนการควบคุมปัจจยั เสย่ี งหลกั (๖) นางสาวจนิ ตนา ปีสิงห์ นักวิเคราะห์บริหารโครงการ (๗) นายคารณ ชูเดชา ผปู้ ระสานงานเครือข่ายเฝา้ ระวงั ธุรกจิ สุรา (๘) นายนทิ ัศน์ ศริ โิ ชติรัตน์ อาจารย์ประจาภาควชิ าบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล ๒.๑๖ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแหง่ ชาติ (๑) นายไพโรจน์ บุญศริ ิคาชัย รองเลขาธกิ ารสถาบนั การแพทย์ฉกุ เฉินแห่งชาติ (๒) นางสาวอรุ า สวุ รรณรกั ษ์ รองผอู้ านวยการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉนิ แห่งชาติ ๒.๑๗ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย (๑) นางจนั ทวรรณ สุจริตกุล ผู้ช่วยผู้ว่าการสายส่ือสารและความสัมพันธ์องค์กร (๒) นางสาวดารณี แซจ่ ู ผอู้ านวยการอาวโุ สฝ่ายความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ (๓) นางจิตตาภา ประจวบเหมาะ รองผู้อานวยการฝา่ ยความร่วมมือระหวา่ งประเทศ (๔) นางสาววริษฐา ประจงการ ผชู้ ว่ ยผ้อู านวยการฝา่ ยเศรษฐกจิ มหภาค (๕) นางสาวไพลนิ พลหาญ ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการฝ่ายความรว่ มมอื ระหว่างประเทศ (๖) นางสาววรรณโศภิน อมาตยกลุ เศรษฐกรอาวโุ สฝา่ ยความร่วมมอื ระหว่างประเทศ (๗) นางสาวนภนาง เอกอคั ร เศรษฐกรอาวุโสฝา่ ยความรว่ มมือระหว่างประเทศ (๘) นางสาวเกศยา กมลสุขยืนยง นติ ิกรอาวโุ ส ฝา่ ยกฎหมาย ๒.๑๘ คณะกรรมการนโยบายปาลม์ นา้ มันแหง่ ชาติ (กนป.) - นายอธิราษฎร์ ดาดี กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ใิ นคณะกรรมการ นโยบายปาล์มน้ามนั แห่งชาติ ๒.๑๙ องคก์ รวิชาชพี ๒.๑๙.๑ ทนั ตแพทยสภา พ.ต.ท.พจนารถ พุ่มประกอบศรี นายกทนั ตแพทยสภา ๒.๑๙.๒ แพทยสภา (๑) นายไพบลู ย์ เอกแสงศรี ผูแ้ ทนแพทยสภา (๒) นายพชร ศรีปน นิติกร ๒.๑๙.๓ สภากายภาพบาบดั - นายวรชาติ เฉดิ ชมจันทร์ อุปนายกสภากายภาพบาบดั

๑๗ ๒.๑๙.๔ สภาการพยาบาล (๑) รศ.สจุ ติ รา เหลอื งอมรเลิศ ท่ีปรกึ ษาประจาสภาการพยาบาล ฝ่ายวิชาการและโครงการเฉพาะกจิ (๒) นางสาวนฤมล ภทั รพานชิ ชยั นักวชิ าการวชิ าชีพการพยาบาลประจา สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการพยาบาล ๒.๑๙.๕ สภาเทคนคิ การแพทย์ - นายสมชยั เจดิ เสริมอนันต์ นายกสภาเทคนคิ การแพทย์ ๒.๑๙.๖ สตั วแพทยสภาแห่งประเทศไทย (๑) ผศ.ธวัชชัย ศกั ดภิ์ ู่อรา่ ม นายกสัตวแพทยสภาแหง่ ประเทศไทย (๒) นายจรี ะ สรนุวตั ร หัวหนา้ สานกั งานสัตวแพทยสภา แห่งประเทศไทย ๒.๒๐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม ๒.๒๐.๑ คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน ๓ สถาบัน (กกร.) (๑) นายชศู ักดิ์ ชื่นประโยชน์ รองประธานกรรมการหอการคา้ ไทย (๒) นางพิมพ์ใจ ล้ีอิสสระนุกูล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (๓) นายวรี ศักดิ์ โฆสติ ไพศาล รองประธานสภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย (๔) นายมนตรี มหาพฤกษ์พงศ์ รองประธานสภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย (๕) นายศกั ด์ิชยั อนุ่ จิตติกลุ รองประธานสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย (๖) นายกอบศักด์ิ ดวงดี เลขาธกิ ารสมาคมธนาคารไทย (๗) นายสธุ รี ์ สธนสถาพร ผู้อานวยการ กกร. (๘) นายดรุษกร วสิ ทุ ธิสิน ผู้ชว่ ยเลขาธกิ ารสมาคมธนาคารไทย (๙) นางสาวเพ็ญจันทร์ มานะวนชิ กุล ผู้อานวยการฝ่ายตา่ งประเทศ สภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย (๑๐) นางสาวลัดดาวัลย์ ราชุรชั ต ผอู้ านวยการสถาบันอุตสาหกรรมเพ่อื การเกษตร (๑๑) นางสาวชลยา กุมาลย์วิสัย รองผอู้ านวยการสมาคมธนาคารไทย (๑๒) นายภูริสิทธ์ิ แจ้งศริ พิ ันธ์ ผชู้ ่วยผอู้ านวยการบริหารสภาหอการค้า แห่งประเทศไทย (๑๓) นายบันลอื ศักด์ิ ปสุ สะรงั สี กรรมการคณะเจรจาความตกลงการค้า ระหวา่ งประเทศ (๑๔) นายทวีลาภ ฤทธาภริ มย์ กรรมการผ้ชู ว่ ยผจู้ ดั การใหญ่ ธนาคารกรุงเทพฯ (๑๕) นางเพ็ญนภา โหสกุล ประธานสมาคมผู้ผลติ สไี ทย (๑๖) นายณรงค์ศกั ด์ิ อนิ ต๊ะไชยวงศ์ ผชู้ านาญการฝ่ายผลิตภณั ฑ์ และช่องทางบริการ ธนาคารกรงุ เทพฯ (๑๗) นางสาวศรณั ยา ประไพพงษ์ เจ้าหนา้ ที่อาวโุ สฝ่ายต่างประเทศ สภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย (๑๘) นายณัฐนัย กู้ประเสรฐิ เจา้ หนา้ ท่ีธนาคารกรุงเทพฯ (๑๙) นางสาวธญั ญาพร ผดุงการ เจ้าหน้าทบ่ี รหิ าร

๑๘ (๒๐) นางสาวศุภนชุ ทองใบ เจา้ หน้าท่ีสมาคมธนาคารไทย (๒๑) นางสาวขวัญหทยั ธนทรัพย์วงศ์ เจ้าหน้าที่ฝา่ ยส่งเสริมการค้าและการลงทุน (๒๒) นายณัฐสณั ห์ ลีละบุตร เจา้ หน้าท่ตี ่างประเทศ กกร. ๒.๒๐.๒ สานักงานคณะกรรมการองค์การอสิ ระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชน (คอบช.) - นางสาวบญุ ยนื ศิริธรรม ประธานสหพนั ธอ์ งค์กรผบู้ ริโภค ๒.๒๐.๓ สภาอตุ สาหกรรมการท่องเท่ียวแหง่ ประเทศไทย (สทท.) - นายชยั รัตน์ ไตรรัตนจรัสพร ประธาน สทท. ๒.๒๐.๔ สภาผสู้ ่งสนิ คา้ ทางเรือแห่งประเทศไทย (สรท.) (๑) นายวศิ ษิ ฐ์ ลมิ้ ลือชา รองประธาน สรท. (๒) นายคงฤทธ์ิ จนั ทริก ผู้อานวยการบรหิ าร สรท. (๓) นายภคั ธร เนียมแสง ผชู้ ว่ ยผจู้ ดั การ สรท. (๔) นางสาวจริ ภา บุญนาสขุ นักวเิ คราะห์อาวโุ ส ๒.๒๐.๕ สหพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจแห่งประเทศไทย (สพร.ท.) (๑) นางสาวอัปสร กฤษณะสมิต ประธาน สพร.ท. (๒) นายไพฑูรย์ ตุลาพงศ์ เลขาธกิ าร สพร.ท. ๒.๒๐.๖ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ บริษัท ทโี อที จากัด (มหาชน) (สรท.) - นายพงศ์ฐิติ พงศ์ศลิ ามณี ประธานสหภาพ สรท. ๒.๒๐.๗ สมาพนั ธผ์ ้ใู ห้บริการโลจสิ ตกิ สไ์ ทย (๑) นายสวุ ทิ ย์ รตั นจนิ ดา ประธานสมาพันธผ์ ู้ให้บริการโลจสิ ตกิ ส์ไทย (๒) นายวิฑูรย์ สันตบิ ุญญรัตน์ เลขาธกิ ารสมาพันธผ์ ู้ให้บรกิ ารโลจิสตกิ สไ์ ทย (๓) นายสมชาย บรรลือเสนาะ ประชาสมั พันธ์สมาพันธ์ผู้ให้บรกิ ารโลจสิ ตกิ ส์ไทย ๒.๒๐.๘ สมาคมชาวนาและเกษตรกรไทย (๑) นายสาธุ อนโุ มทามิ (๒) นายเดชา นุตาลัย ๒.๒๐.๙ สมาคมพืชสวนแหง่ ประเทศไทย (๑) นายวชิ า ฐติ ิประเสรฐิ ที่ปรึกษาสมาคมพชื สวนแหง่ ประเทศไทย (๒) นายสุนทร พพิ ิธแสงจันทร์ ทีป่ รึกษาสมาคมพืชสวนแหง่ ประเทศไทย ๒.๒๐.๑๐ สมาคมเมลด็ พันธุ์แห่งประเทศไทย - นางสาวบุญญานาถ นาถวงษ์ กรรมการและประชาสัมพันธ์ ๒.๒๐.๑๑ สมาคมการค้าเมล็ดพันธ์ุไทย (๑) นายชัยฤกษ์ สงวนทรัพยากร นายกสมาคมการค้าเมลด็ พนั ธุ์ไทย (๒) นางสาวบุญญานาถ นาถวงษ์ อปุ นายกสมาคมการคา้ เมล็ดพนั ธ์ไุ ทย (๓) นายไตรทิพย์ อยู่สิทธิ ๒.๒๐.๑๒ สมาคมเมลด็ พนั ธพ์ุ ชื ภาคพื้นเอเซยี และแปซิฟิก (๑) นางสาวกนกวรรณ ชดเชย ผูอ้ านวยการสมาคมเมล็ดพันธพ์ุ ืช ภาคพืน้ เอเชียและแปซิฟิก (๒) นายวิชัย เหลา่ เจริญพรกลุ

๑๙ ๒.๒๐.๑๓ สมาคมผู้เลยี้ งสุกรแห่งชาติ - นายนพิ ฒั น์ เน้อื นม่ิ อุปนายกสมาคมผเู้ ลย้ี งสกุ รแหง่ ชาติ ๒.๒๐.๑๔ สมาคมการประมงแห่งประเทศไทย - นายพชิ ัย แซ่ซิ้ม เลขาธกิ ารสมาคมการประมงแหง่ ประเทศไทย ๒.๒๐.๑๕ สมาคมปรับปรงุ พันธแ์ุ ละขยายพนั ธ์ุพืชแห่งประเทศไทย (๑) นายพเิ ชษฐ์ กรุดลอยมา นายกสมาคมปรับปรงุ พนั ธ์ุ และขยายพนั ธ์ุพชื แห่งประเทศไทย (๒) ผศ.ปยิ ะ กติ ติภาดากลุ อุปนายกสมาคม ๒.๒๐.๑๖ สมาคมผู้วิจัยและผลติ เภสชั ภณั ฑ์ (๑) นายทวิราป ตันตวิ งษ์ ประธานเจา้ หน้าที่บริหาร (๒) นายนริ ุตติ คณุ วฒั น์ ผู้อานวยการอาวุโสด้านนโยบายสาธารณะ และกจิ การรัฐ ๒.๒๐.๑๗ สมาคมไทยอตุ สาหกรรมผลิตยาแผนปจั จบุ นั (๑) นางลลนา เสตสุบรรณ นายกสมาคม (๒) นายทัฬห ปงึ เจรญิ กลุ ทปี่ รกึ ษา (๓) นายพีรชา ธนวฒั นาวนชิ ทป่ี รึกษาด้านวจิ ัยและพฒั นา ๒.๒๐.๑๘ สมาคมผ้ผู ลิตยาสมนุ ไพร - นายเมธา สมิ ะวรา นายกสมาคมผูผ้ ลิตยาสมุนไพร ๒.๒๐.๑๙ สมาคมชา่ งเหมาไฟฟ้าและเครอื่ งกลไทย (๑) นายบญุ ศักดิ์ เกียรติจรูญเลศิ นายกสมาคม (๒) นายเชิดศักดิ์ วิทราภรณ์ ทป่ี รึกษากิตติมศักดิ์ (๓) นายณัษฐา ประโมจนีย์ อปุ นายกสมาคม ๒.๒๐.๒๐ สมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ (๑) นายอังสรุ สั มิ์ อารกี ลุ นายกสมาคม (๒) นายธนทั เวสารชั ชานนท์ เลขาธกิ ารสมาคม (๓) นายปิยะดิษฐ์ อัศวศริ ิสุข กรรมการบริหารสมาคม ๒.๒๐.๒๑ สมาคมวศิ วกรท่ีปรึกษาแหง่ ประเทศไทย - นายสุพจน์ เจียมจรสั รังสี เลขาธิการสมาคม ๒.๒๐.๒๒ มลู นธิ ิเพอื่ ผู้บรโิ ภค - นางสาวสารี อ๋องสมหวัง เลขาธกิ ารมลู นิธิเพ่ือผ้บู ริโภค ๒.๒๐.๒๓ มลู นธิ สิ ุขภาพไทย - นายวีรพงษ์ เกรยี งสนิ ยศ กรรมการและเลขาธกิ ารมลู นิธิสุขภาพไทย ๒.๒๐.๒๔ มูลนิธิบูรณะนิเวศ (๑) นางสาวเพญ็ โฉม แซ่ตั้ง ผู้อานวยการมูลนิธิบรู ณะนิเวศ (๒) นางดาวลั ย์ จันทรหสั ดี เจ้าหน้าทม่ี ลู นธิ ิบรู ณะนิเวศ ๒.๒๐.๒๕ กลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟ้า อิเลก็ ทรอนกิ ส์ และโทรคมนาคม (๑) นางกนิษฐ เมืองกระจ่าง ประธานกลุ่มอตุ สาหกรรมไฟฟา้ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์และโทรคมนาคม

๒๐ (๒) นางสาววรพรรณ ล้มิ ตระกลู อุปนายกสมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม (๓) นางสาวภาวนา สุริยพฤกษ์ ผู้จัดการสมาคมอตุ สาหกรรมไฟฟา้ อิเล็กทรอนกิ ส์และโทรคมนาคม ๒.๒๐.๒๖ เครอื ข่ายเกษตรกรรมทางเลือกภาคใต้ - นายการาบ พานทอง ผ้ปู ระสานงานเครือข่ายเกษตรกรรม ทางเลือกภาคใต้ ๒.๒๐.๒๗ เครือขา่ ยองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ - นายอดิศร เกดิ มงคล ผจู้ ัดการเครอื ข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ ๒.๒๐.๒๘ เกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Smart Farmer) - นายมานพ แกว้ โกย ๒.๒๐.๒๙ เกษตรกรผ้ปู ลกู ไม้ดอกไม้ประดับ (๑) นายวิชา โกมลกิจเกษตร เลขาธิการสมาพันธ์ไมด้ อกไม้ประดับแหง่ ประเทศไทย (๒) นายชุมพล พรหมประทานพร เกษตรกรผปู้ ลูกกล้วยไม้ (๓) นายนพิ นธ์ ชยั วงศ์รงุ่ เรอื ง เกษตรกรผปู้ ลูกกลว้ ยไม้ (๔) นายกิตตคิ ุณ พรหมพทิ ักษ์ เกษตรกรผปู้ ลูกเบญจมาศ (๕) นายกวี ชิตกร เกษตรกรผู้พฒั นาพนั ธุแ์ ละจาหนา่ ยเมล็ด พันธ์ุดาวเรือง (๖) นายณฐั วฒุ ิ มรุ าษี เกษตรกรผู้พฒั นาพันธ์แุ ละจาหนา่ ยเมลด็ พนั ธุ์ดาวเรือง ๒.๒๐.๓๐ เกษตรกรผปู้ ลูกพชื ผัก - นายพงษ์พฒั น์ แกว้ พะเนาว์ เกษตรกรผู้ปลูกพชื ผัก ๒.๒๐.๓๑ เกษตรกรผูป้ ลูกสมนุ ไพร - นางเครือวัลย์ ก้านลาไย เกษตรกรผ้ปู ลูกพืชสมนุ ไพร ๒.๒๑ บคุ คลและนกั วิชาการ อาจารย์ประจาคณะนติ ศิ าสตร์ (๑) ผศ.ปวรศิ ร เลิศธรรมเทวี มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง อาจารยป์ ระจาคณะเศรษฐศาสตร์ (๒) ผศ.ชล บนุ นาค มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ผ้ชู ่วยทูตผา่ ยพาณิชย์ (๓) นายอะคริ ะ ทีระคะวา สถานเอกอัครราชทูตญ่ีปุ่นประจาประเทศไทย อาจารยป์ ระจาคณะเภสชั ศาสตร์ (๔) รศ.นศุ ราพร เกษสมบรู ณ์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

๒๑ ๓. การพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามญั คณะกรรมาธิการได้มีการพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุม และก้าวหน้าสาหรบั หุ้นส่วนทางเศรษฐกจิ ภาคพ้ืนแปซฟิ ิก (CPTPP) ซ่ึงสรุปสาระสาคัญได้ ดงั นี้ ๓.๑ คณะกรรมาธิการได้ประชุมพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลงท่ีครอบคลุม และกา้ วหน้าสาหรบั หุ้นสว่ นทางเศรษฐกิจภาคพ้ืนแปซฟิ ิก (CPTPP) จานวน ๒๐ ครั้ง ดังนี้ ครั้งท่ี ๑ วันพฤหสั บดีท่ี ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ ครง้ั ท่ี ๒ วนั จันทร์ท่ี ๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๖๓ ครั้งที่ ๓ วนั พุธที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๓ ครง้ั ท่ี ๔ วนั อังคารท่ี ๒๓ มถิ นุ ายน ๒๕๖๓ ครั้งที่ ๕ วนั พธุ ท่ี ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๓ ครัง้ ท่ี ๖ วันอังคารท่ี ๓๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๓ ครัง้ ที่ ๗ วนั พุธที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ครั้งท่ี ๘ วันพฤหัสบดีท่ี ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ครง้ั ท่ี ๙ วันองั คารท่ี ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ครงั้ ที่ ๑๐ วันพธุ ที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ครั้งที่ ๑๑ วันพุธที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ครงั้ ท่ี ๑๒ วันพธุ ท่ี ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ครง้ั ท่ี ๑๓ วนั พุธที่ ๕ สงิ หาคม ๒๕๖๓ ครั้งที่ ๑๔ วนั พฤหสั บดีที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๓ ครง้ั ที่ ๑๕ วนั พธุ ท่ี ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๓ คร้ังที่ ๑๖ วนั พธุ ท่ี ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๖๓ ครั้งท่ี ๑๗ วันพุธท่ี ๒ กนั ยายน ๒๕๖๓ ครั้งที่ ๑๘ วนั พธุ ท่ี ๒๓ กันยายน ๒๕๖๓ ครง้ั ท่ี ๑๙ วันอังคารท่ี ๒๙ กันยายน ๒๕๖๓ ครง้ั ที่ ๒๐ วันพุธที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๖๓ ๓.๒ คณะกรรมาธิการได้มีมติต้ังคณะอนุกรรมาธิการ จานวน ๓ คณะ เพ่ือทาหน้าท่ีศึกษาข้อมูล ข้อเท็จจริงเก่ียวกับข้อดี ข้อเสีย ประโยชน์ และผลกระทบในด้านต่าง ๆ หากประเทศไทยเข้าร่วมความตกลง ท่ีครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพ้ืนแปซิฟิก (CPTPP) พร้อมท้ังจัดทาข้อสังเกต และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว แล้วรายงานคณะกรรมาธิการเพื่อพิจารณา ทั้งนี้ ตามข้อบังคับ การประชมุ สภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๖ ดงั น้ี (๑) คณะอนุกรรมาธิการศกึ ษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธ์พุ ืช ซึ่งอนุกรรมาธิการคณะน้ี ประกอบดว้ ย ๑) นายอนันต์ ศรพี ันธ์ุ ประธานคณะอนกุ รรมาธกิ าร ๒) นายนกิ ร จานง รองประธานคณะอนกุ รรมาธิการ คนท่ีหนง่ึ ๓) นายสมบรู ณ์ ซารัมย์ รองประธานคณะอนุกรรมาธกิ าร คนท่ีสอง ๔) นายวรภพ วริ ิยะโรจน์ รองประธานคณะอนุกรรมาธกิ าร คนทส่ี าม ๕) นางสาวสกุณา สาระนันท์ เลขานุการคณะอนกุ รรมาธกิ าร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook