Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 12th_NPRU Conference (Nursing)

12th_NPRU Conference (Nursing)

Published by Nongnutch Chowsilpa, 2021-01-08 06:13:08

Description: 12th_NPRU Conference (Nursing)

Keywords: Nursing Conference

Search

Read the Text Version

งานประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนสม้ โอ มาลินี จำเนียร1,*, วารธ์ ินีย์ แสนยศ1 และ ภาศนิ ี สุขสถาพรเลิศ1 1คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม *[email protected] บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอ และเปรียบเทียบปัญหา สุขภาพของเกษตรกรที่ใช้และไม่ได้ใช้ วิธีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี กลุ่มตัวอย่างคือเกษตรกรชาวสวนส้มโอ 400 คน เลอื กกลุ่มตวั อย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจยั เป็นแบบสอบถามและแนวคำถามเชิงคุณภาพ เกบ็ รวบรวมข้อมูล โดยการสมั ภาษณ์และสนทนากล่มุ วเิ คราะห์ขอ้ มูลดว้ ยสถิติพรรณนา t-test และการวิเคราะห์เชิงเนอื้ หา ผลการวิจัยพบว่าปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอที่ใช้และไม่ได้ใช้วิธีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ไม่ แตกต่างกัน การปลูกส้มโอแบบวิธีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี คือเกษตรกรปลอดภัย ไม่ใช่ปลอดสารพิษ สามารถใช้ สารเคมีได้แต่หยุดใช้ก่อนเก็บตามกำหนด มีสารตกค้างไมเ่ กนิ คา่ มาตรฐาน ปัญหาสุขภาพท่ีพบคือปวดเมื่อยตามรา่ งกาย เครยี ด ปวดศีรษะ ออ่ นเพลีย นอ้ คยา เจ็บปว่ ยเรอ้ื รัง ปญั หาเศรษฐกจิ ปัญหาสงั คม ปญั หาครอบครวั และปญั หาจากการ ทำงาน ซึง่ สง่ ผลกระทบต่อสขุ ภาพทง้ั ทางร่างกายและจติ ใจ พฤตกิ รรมในการป้องกนั ก่อนใช้ยาฆ่าแมลงใช้อุปกรณ์ป้องกัน ครบชุด การปฏบิ ตั ิตัวหลังใช้ยามีการล้างมืออาบนำ้ สระผมทุกครั้ง ความต้องการในการดูแลสขุ ภาพนัน้ เกษตรกรไมเ่ ห็น ความสำคัญในการตรวจร่างกายประจำปี นอกจากที่มีปัญหาสุขภาพอยู่แล้วจำเป็นต้องไปหาหมอเป็นประจำ หรือเมื่อมี โรคประจำตัวกจ็ ะมกี ารตรวจสุขภาพประจำปี ข้อเสนอแนะ. นำผลการวจิ ยั ไปวางแผนการทำงานพัฒนานโยบายดา้ นการส่งเสรมิ อาชพี ของเกษตรกรตามบริบทของ สงั คม และการส่งเสรมิ สุขภาพและป้องกันโรคเกย่ี วกับการประกอบอาชพี ทำสวนส้มโอในพื้นที่ คำสำคญั : ปญั หาสขุ ภาพ เกษตรกรชาวสวนส้มโอ วธิ กี ารปฏบิ ัติทางการเกษตรที่ดี พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วถิ ีชวี ิตใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 83

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 Health problems in Pamelo’s agriculturist Abstract The purpose of the research was to study health problems included health care in pamelo’s agriculturists and compare health problems of them who used and did not used GAP . The sample comprised of 400 pamelo’s agriculturists by purposive sampling. The tool was used by questionnaire and interview guideline. Data were collected by interviewing and focus group discussion. Data analyzed by descriptive, t-test and qualitative data used content analysis. The results founded that the health problems of them who used and did not used GAP were not different. The pamelo’s agriculturist who used GPA means safe, not only use chemicals but also stop using before storing for a specified period of time. There will be residue but not more than standard. The most health problems of them are muscle pain, stress, headache, fatigue, drug poisoning, chronic illness, economic problems, social problems, family problems both physically and mentally. For health care behavior pamelo’s agriculturists wore protective equipment before used insecticide. They washed hands, shower and wash their hair every time after used insecticide. The potential health needs have to take care of themselves and their families. They ignore annual physical examination unless they have health problems then they go to see the doctor regularly. The physical health check-up will be added when they have diseases. Recommendation suggested that sub-district administrative organization and district health promotion hospital used to do action plan for develop health policy and occupation health in agriculturist. Keywords : health problems, Pamelo’s agriculturist, Good agriculture practice : GAP 84 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้ังที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 1. บทนำ ประชากรของประเทศไทยส่วนใหญ่ทำการเกษตร ซึ่งเป็นอาชีพหลักของคนไทยจำนวนมาก จากข้อมูลการขอข้ึน ทะเบียนเกษตรกรปี 2559 เทา่ กับ 7,942,582 ครัวเรือน และพบวา่ เกษตรกรเป็นอาชีพท่เี กิดการเจ็บป่วยจากการทำงานมาก ทส่ี ดุ ในประเทศไทย จากขอ้ มูลสำนกั โรคประกอบอาชพี 2560 พบว่า อาชพี เกษตรกรพบปัญหาผู้เจ็บป่วยจากการทำงานมาก เปน็ อันดับหน่งึ จำนวน 68,886ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 39.51 ซงึ่ มแี นวโนม้ เพมิ่ มากขึ้น (สำนกั โรคจากการประกอบอาชีพ, 2561 : 3) เกษตรกรในเขตพื้นท่ีอำเภอนครชัยศรีและอำเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม ได้ประสบปัญหานำ้ ทว่ มใหญ่เมื่อช่วงเดือน ตุลาคม 2554 ทำให้พื้นที่ปลูกส้มโอเสียหายประมาณ 80% ของพื้นที่ปลูก ทำให้มีการคาดการณ์ว่า ราคาส้มโอจะมีราคา สูงขึ้นและแพงอย่างต่อเนื่องอีกหลายปี “ส้มโอ” จึงเป็นผลไม้อีกชนิดหนึ่งที่น่าสนใจสำหรับการลงทุนปลูกในปัจจุบันนี้ (ทวีศักดิ์ ชัยเรืองยศ : 2561) ผลของการยึดอาชีพการปลูกส้มโอนี้ เมื่อพิจารณาถึงประเด็นปัญหาคุณภาพชีวิต จึงเกิด แนวความคิดตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 - 10 ที่เน้นคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาทั้งด้าน ร่างกาย จติ ใจ สตปิ ัญญาและความสามารถเพื่อให้เปน็ คนที่มีสุขภาพดีมคี ุณภาพ มีความสขุ และมคี ุณธรรม ตลอดจนมีความรู้ ความสามารถที่จะอยู่อาศัยในสังคมได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีในช่วงชีวิตนี้ ให้ความสำคัญต่อการรวมพลังสังคม จากทุกภาคส่วน ให้มีส่วนร่วมดำเนินการ และแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 11 ที่สร้างสมดุลการพฒั นาใน ทุกมิติ ให้สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรมและมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง (สำนักงาน คณะกรรมการแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 11 พ.ศ. 2555 - 2559) แม้ว่าเกษตรกรจะผ่านวิกฤตการณ์น้ำท่วมใหญ่ แต่การคาดการณ์ราคาส้มโอที่จะมีราคาสูงขึน้ เป็นแรงจูงใจของ เกษตรกรในการยึดอาชีพการปลูกส้มโอต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกส้มโอด้วยวิธีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP : Good agriculture practice) คือการปฏบิ ัตเิ พ่อื ป้องกนั หรือลดความเสย่ี งระหวา่ งการเพาะปลกู เพื่อใหไ้ ดผ้ ลผลิตท่ีมคี ณุ ภาพ ปลอดภยั เหมาะสมต่อการบริโภค (พมิ พเ์ พ็ญ พรเฉลมิ พงศ์ : 2553). ทำใหร้ าคาของส้มโอสงู ขึ้นด้วย ผลของการยดึ อาชีพการ ปลูกส้มโอนีเ้ มือ่ พิจารณาถงึ ประเด็นปัญหาสุขภาพ ความเสีย่ งอนั ตรายจากหลายปัจจยั ได้แก่ 1) การใช้สารเคมที างการเกษตร อย่างแพร่หลายเพือ่ ให้ได้ผลผลิตที่มคี ุณภาพ 2) ความเส่ียงอันตรายจากปัจจัยทางชีวภาพ 3) ความเสี่ยงอันตรายจากปัจจยั ทางกายภาพ เออรโ์ กโนมิคส์ และภยั ทางธรรมชาติ จากรายงานผลการศกึ ษาในโครงการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังส่ิงคุกคาม ทางดา้ นอาชีวอนามัยและส่ิงแวดล้อมพบว่า ความเส่ยี งจากสิ่งคุกคามสุขภาพทางกายภาพและเออรโ์ นมคิ ส์ที่มีมากท่ีสุดได้แก่ ความเสยี่ งจากทำงานกลางแดด/อากาศร้อนอบอา้ ว รองลงมาไดแ้ ก่ การยืน/เดนิ นานตดิ ตอ่ กนั มากกว่า 1 ชว่ั โมง (สมเกยี รติ ศิริรัตนพฤกษ์และคณะ : 2546) และจากรายงานผลการศึกษาในโครงการการพัฒนารูปแบบการเฝ้าระวังควบคุมป้องกัน ความผิดปกติจากกล้ามเน้ือและข้อพบว่า ประชากรท่ศี กึ ษามปี ญั หาการบาดเจ็บกลา้ มเนื้อและข้อ ซง่ึ มีอายุระหวา่ ง 29-74 ปี นอกจากนี้พบว่าอาการบาดเจ็บเกิดจากการทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่ไม่เหมาะสม เช่น การทำงานที่ในท่าที่ผิดปกติ การ เคลื่อนไหวในท่าซ้ำๆ และการยกของหนัก เป็นต้น (สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์และคณะ : 2547) 4) ความเสี่ยงอันตรายจาก ปัจจยั ทางจติ วิทยาสังคม จากสภาพสงั คมเศรษฐกจิ ปัจจบุ ันสรา้ งความกดดนั และทำให้สุขภาพจติ เสือ่ มลงมาก จากปัญหาด้านสุขภาพที่เกิดขึ้นกับเกษตรกรดังกล่าว ทำใหผู้วิจัยสนใจศึกษาปัญหาสุขภาพของเกษตรกร ชาวสวนส้มโอในเขตพื้นทีอ่ ำเภอนครชยั ศรีและอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ที่ได้ประสบปญั หาวิกฤติการณ์น้ำทว่ ม ใหญเ่ ม่อื ชว่ งเดือนตลุ าคม 2554 ที่ผา่ นมา การศึกษาปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอ ยอ่ มมีความสำคญั มากท้ัง ในแง่วิชาการและเชิงปฏิบัติเพราะจะได้ข้อมูลที่สำคัญต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อีกทั้งเป็นโอกาสแก่ผู้บริหารที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับการพัฒนา ได้นำไปวางแผนกำหนดเป็นนโยบายพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรชาวสวนส้มโอ ซ่ึง เป็นเปา้ หมายทสี่ ำคัญมากประการหนง่ึ ของการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยในอนาคต 2. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั 2.1. เพื่อศกึ ษาปัญหาสขุ ภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอ ภายหลังจากไดร้ บั ผลกระทบจากภัยพิบตั ินำ้ ท่วมเมือ่ ปี พ.ศ. 2554 2.2. เพ่ือเปรยี บเทียบปญั หาสขุ ภาพของกลมุ่ เกษตรกรชาวสวนสม้ โอท่ีปลูกด้วยวธิ ีการ GAP และกลุ่มทไี่ มไ่ ด้ ปลกู สม้ โอดว้ ยวธิ ีการ GAP พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพือ่ วิถชี วี ติ ใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 85

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 รปู แบบการวิจัย รปู แบบการวิจยั เป็นแบบผสานวิธี (Mix method) คือเป็นการผสมผสานวจิ ัยเชิงปริมาณและเชิงคณุ ภาพ โดยผลการวิจัย จากวิธีการวิจัยแบบผสานวิธีนี้ สามารถเสริมต่อกนั โดยใช้ผลการวจิ ยั จากวิธีหนึ่งอธิบายขยายความผลการวิจัยอีกวิธหี นึ่ง ช่วย ใหก้ ารตอบคำถามการวจิ ัยได้ละเอยี ดชัดเจนมากกว่าการใชร้ ูปแบบการวิจยั เชงิ ปริมาณ หรอื เชิงคุณภาพเพียงรูปแบบเดียว 3. วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย 3.1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็น เกษตรกรชาวสวนส้มโอในเขตพื้นที่อำเภอนครชัยศรี จำนวน 103 ครวั เรอื น และอำเภอสามพราน จำนวน 816 ครัวเรือน (กองสง่ เสริมการเกษตร : 2557) รวมทัง้ สนิ้ 919 ครวั เรือน การเลือกกล่มุ ตัวอยา่ ง ข้อมูลเชิงปริมาณในกลุ่มตัวอย่างทีป่ ลูกสม้ โอด้วยวิธีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี : (Good agriculture practice) และกลุ่มที่ปลูกตามปกติ ขนาดตัวอย่างที่คำนวณได้ทั้งสิ้น 399.56 คน การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ใช้ G*Power  เท่ากับ 0.05 ซึ่งจะได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวนอย่างน้อย 399 คน ซึ่งผู้วิจัยกำหนดเป็น 400 คน โดยพิจารณาสุ่ม ตวั อย่าง แตล่ ะอำเภอโดยมีสัดสว่ นดังน้ี อำเภอ จำนวนประชากร จำนวนตวั อยา่ ง นครชัยศรี 103 45 สามพราน 816 355 รวม 919 400 งานวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ม (simple random Sampling) สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้ โดยการสมั ภาษณ์และการสนทนากลมุ่ เกษตรกรผปู้ ลกู ส้มโอ เลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ งแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 3.2. เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการศกึ ษา เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการศึกษาวิจัยครัง้ น้ี เปน็ แบบสอบถามจำนวน 2 ชดุ เพ่อื รวบรวมขอ้ มลู ดังนี้ 1) แบบสอบถามเชิงปริมาณเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพและปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอท่ี ปลูกส้มโอด้วยวิธีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP : Good agriculture practice) และกลุ่มที่ปลูกตามปกติ มี 2 ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไป และ ส่วนที่ 2 พฤตกิ รรมการดูแลสขุ ภาพและปญั หาสขุ ภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอ 2) แนวคำถามในการสนทนากลุม่ (Interview guideline) เปน็ แนวคำถามแบบมโี ครงสรา้ งเกี่ยวกบั พฤติกรรม การดแู ลสุขภาพและปัญหาสขุ ภาพของเกษตรกรชาวสวนสม้ โอ การตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมือ เคร่อื งมอื รวบรวมขอ้ มลู ปริมาณ 1) การหาความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ผู้วิจัยนำเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้ทรงคุณวุฒิที่ เชี่ยวชาญสาขาการพยาบาลชุมชน 2 ท่าน และสาขาการวิจัยและสถิติ 1 ท่าน ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของ แบบสอบถามโดยพิจารณาความสอดคล้องระหว่างเนื้อหาในคำถามกับนิยามเชิงปฏิบัติการ/แนวคิด หรือแนวคิดทฤษฎี ของตัวแปร (Content Validity Index; CVI=0.85) 2) การหาความเชอื่ มน่ั ของเคร่อื งมอื (Reliability) ผวู้ ิจยั นำแบบสอบถามไปทดลองใชก้ ับเกษตรกรท่ไี มใ่ ช่กลมุ่ ตัวอยา่ ง 30 ราย และคำนวณคา่ ความเชอ่ื ม่ันด้วยวิธีของครอนบาช (Cronbach’s Alpha) เพื่อแสดงวา่ แบบสอบถามนี้มี ความเชื่อมั่นเพียงพอ หลังจากนั้นทำการแก้ไขอีกครั้ง เพื่อปรับปรุงคำถามให้ชัดเจนเหมาะสมยิ่งขึ้น แบบสอบถามมีค่า ความเช่อื มน่ั 0.80 แล้วนำไปเกบ็ ขอ้ มูลจากกลุ่มตวั อย่างให้ได้ครบตามจำนวน เครื่องมอื รวบรวมข้อมูลเชงิ คณุ ภาพ การหาความตรงตามเน้ือหา (Content Validity) ผู้วิจัยนำเครอื่ งมือที่ใช้ในการวิจัย ไดแ้ ก่ คำถามองค์ความรู้ในการ ดูแลสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิที่เชี่ยวชาญตรวจสอบ เมื่อตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว นำ ขอ้ คิดเห็นมาปรับปรงุ ใหเ้ หมาะสมยิ่งขึ้นหลังจากนัน้ ผู้วิจยั นำแบบสอบถามสอบถามมาหาค่าความตรงตามเน้ือหา (CVI = 0.87) 86 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครั้งที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 3.3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3.3.1. ผู้วิจัยนำหนังสือขออนุญาตดำเนินการวิจัย ถึงผู้นำชุมชนเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และขออนุญาต ดำเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูลโดยผู้วิจัยได้มกี ารประชมุ ชี้แจงวิธกี ารเก็บข้อมูลตามแบบสอบถามใหแ้ ก่ผู้ชว่ ยวิจยั ทัง้ เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ 3.3.2. คณะผู้วจิ ยั เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลระหว่างเดอื นเมษายน ถึง สงิ หาคม พ.ศ.2561 3.4. การวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิติท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 3.4.1 ข้อมูลเชิงปริมาณ วิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน เปรียบเทียบพฤตกิ รรมการดูแลสุขภาพและปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอที่ใช้ GAPและ ไม่ได้ใช้ GAP วเิ คราะหโ์ ดยใช้สถติ ิ independent t-test 3.4.2 ขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ วิเคราะหเ์ ชงิ เนอื้ หา (Content Analysis) 4. ผลการวจิ ัย เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างทั้งอำเภอนครชัยศรีและอำเภอสามพรานเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง โดยมีอายุอยู่ ในชว่ งใกล้เคยี งกัน มวี ิธีการปลูกส้มโอแบบไม่ใช้ GAP มากกว่าใช้ GAP สถานภาพสมรสคมู่ ากกว่าหมา้ ยน้อยท่ีสุดคือหย่า รายไดข้ องครอบครวั ตอ่ เดอื นเหลอื เกบ็ มากทส่ี ุด และระดบั การศกึ ษาอยู่ในระดับอนปุ ริญญาหรอื เทยี บเทา่ มากท่สี ดุ ปัญหาสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างทั้งอำเภอนครชัยศรีและอำเภอสามพรานที่พบมากที่สุดคือ ปวดเมื่อยตาม ร่างกาย น้อยที่สุดคือสารเคมีสะสมในร่างกายเกินขนาดจนมีอาการช็อค (น้อคยา) สำหรับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ใน การป้องกันก่อนฉีดยา กลุ่มตัวอย่างทั้งสองอำเภอใช้อุปกรณ์ป้องกันครบชุดมากที่สุด ส่วนการปฏิบัติตัวหลังฉีดยา เกษตรกรกลุม่ ตัวอยา่ งทั้งสองอำเภอมีการลา้ งมอื หลงั ฉีดยาทกุ ครั้งทุกคน อาบน้ำสระผมหลังฉดี ยา มกี ารดืม่ นำ้ อัดลมเปป๊ ซีห่ ลงั พน่ ยาสารเคมกี ำจดั ศตั รพู ชื ดังตารางที่ 4.1 ตารางท่ี 4.1 ปัญหาสขุ ภาพ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลมุ่ เกษตรกร ในอำเภอนครชัยศรี และอำเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม ปญั หาสุขภาพ และ อ.นครชยั ศรี อ.สามพราน รอ้ ยละ จำนวน (คน) รอ้ ยละ จำนวน(คน) พฤตกิ รรมการดูแลสุขภาพ 52.9 34 46.6 247 1.7 ปัญหาสุขภาพ 3 4.1 8 15.2 ปวดเม่อื ยตามร่างกาย 16 21.9 71 29.1 เครยี ด 18 24.7 136 1.1 ปวดศรี ษะ 2 2.7 5 100.0 ออ่ นเพลีย 75 100.0 467 นอ้ คยา รวม พฤตกิ รรมการดูแลสขุ ภาพ 9 20.0 25 7.0 - การปอ้ งกนั กอ่ นฉดี ยา 22 48.9 132 37.2 5 11.1 26 7.3 ใส่หน้ากากอยา่ งเดียว 9 20.0 172 48.5 ใชอ้ ปุ กรณป์ ้องกันครบชุด 45 100.0 355 100.0 ไม่สวมอปุ กรณ์ ไมไ่ ดฉ้ ีดยาเอง รวม พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วถิ ชี วี ิตใหม่ในยุค Disruptive Technology | 87

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ตารางท่ี 4.1 ปัญหาสุขภาพ และพฤติกรรมการดแู ลสขุ ภาพของกลมุ่ เกษตรกร ในอำเภอนครชยั ศรี และอำเภอสามพราน จังหวดั นครปฐม (ต่อ) ปัญหาสุขภาพ และ อ.นครชยั ศรี อ.สามพราน รอ้ ยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน(คน) พฤตกิ รรมการดแู ลสขุ ภาพ 37.3 37 38.1 245 8.7 - การปฏิบตั ติ วั หลังฉดี ยา 15 15.5 57 54.0 45 46.4 355 100.0 อาบน้ำสระผมหลงั ฉีดยา 97 100.0 657 ดม่ื น้ำอัดลมเปป้ ซีห่ ลงั ฉีดยา ล้างมอื หลังฉีดยา รวม ปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอที่ใช้และไม่ใช้วิธีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี มีความแตกต่างกัน อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับพฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพ ในด้านการป้องกันก่อนฉดี ยา และการดูแลสขุ ภาพในด้าน การปฏบิ ัตติ วั หลังฉีดยา เกษตรกรชาวสวนสม้ โอทีใ่ ชแ้ ละไมใ่ ชว้ ิธกี ารปฏบิ ัตทิ างการเกษตรท่ดี มี คี วามแตกต่างกันอย่างไม่ มนี ยั สำคัญทางสถิติ ดงั ตารางท่ี 4.2 ตารางที่ 4.2 เปรยี บเทียบพฤติกรรมการดแู ลสขุ ภาพและปญั หาสขุ ภาพของเกษตรกรชาวสวนสม้ โอทใี่ ช้และไมช่ ้วธิ กี าร ปฏิบตั ทิ างการเกษตรทีด่ ี ปัญหาสขุ ภาพ และ ใช้ GAP n=156 ไมใ่ ช้ GAP n=244 พฤตกิ รรมการดแู ลสขุ ภาพ X S.D. ระดบั X S.D. ระดับ t P Value ปัญหาสขุ ภาพ 1.58 0.49 น้อย 1.67 0.47 ปานกลาง 0.850 0.400 พฤตกิ รรมการดูแลสขุ ภาพ - การปอ้ งกันก่อนฉีดยา 2.22 0.70 ปานกลาง 2.29 0.66 ปานกลาง 0.464 0.645 - การปฏบิ ตั ิตวั หลงั ฉีดยา 2.33 0.64 มาก 2.24 0.68 ปานกลาง 1.000 0.323 **มนี ยั สำคัญทางสถิติที่ระดบั .05 จากการสนทนากลุ่มกับเกษตรกร พบว่าปญั หาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอทีใ่ ช้และไม่ใช้วิธกี ารปฏิบัตทิ างการ เกษตรที่ดีไมแ่ ตกต่างกนั เกษตรกรรายหนงึ่ เล่าให้ฟงั วา่ “วิธกี ารปฏบิ ัตทิ างการเกษตรทีด่ กี ็คือการปลกู สม้ โอท่เี กษตรกรปลอดภัย ไม่ใชป่ ลอดสารพษิ คือใช้สารเคมีไดแ้ ต่หยุดใช้ก่อนเกบ็ ตามระยะเวลาท่กี ำหนด มนั จะมีสารตกคา้ งอยแู่ ต่ไมเ่ กินคา่ มาตรฐานท่ีเขา กำหนดไว้” ปัญหาสุขภาพส่วนใหญ่ของเกษตรกรคือปวดเมื่อยตามร่างกาย ผลจากการใช้สารเคมีทำให้เกิดอาการปัญหาจาก ระบบทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจ อาการท่ีเกิดขึ้นคือปวดหัวโดยไม่มสี าเหตุ คลื่นไส้อาเจียนและอาจถึงแก่ชีวิตได้เช่นกนั เกษตรกรตอ้ งทำสวนเองฉีดยาเองเพราะวา่ แรงงานรบั จา้ งหายาก หมดจากรุ่นนี้รนุ่ ลกู รนุ่ หลานกจ็ ะไมท่ ำแลว้ ตอนน้ีจบออกมาเปน็ มนษุ ย์เงินเดือนหมดแลว้ สำหรบั รายได้ของเกษตรกรจากการปลูกสม้ โอทีใ่ ช้และไมไ่ ด้ใช้วิธกี ารปฏบิ ตั ิทางการเกษตรทดี่ ี เกษตรกร รายหนง่ึ ตอบว่า “ไม่ตา่ งกนั ขอแค่ขายได้ ตอนนี้ขอหรือไม่ขอกไ็ ดร้ าคาเท่ากัน เพราะต่อไปไม่ต้องมาน่ังบนั ทึกแปลงให้ยุง่ ก็ขาย ได้เท่าคนอื่น ปีที่แล้วหรือหลายปีที่แล้วเขาส่งข่าวบอกต่อไป ใครไมม่ ี GAP ล้งจะไม่รับซือ้ นะ มันก็เลยเป็นเหตุที่เราต้องทำพวก บนั ทึก ลงมาทำ GAP ประจำแปลงตนเองให้เป็นมาตรฐานสากลเพราะตัว GAP นีถ้ อื มาตรฐานสากล” ความต้องการในการดูแลสุขภาพนั้น เกษตรกรบอกว่า “แต่ละคนดูแลตนเองและครอบครัวได้ เกษตรกรไปเจาะ เลือดตรวจหาสารพิษและสารมะเรง็ ส่วนใหญ่กจ็ ะมีคา่ สารพษิ ในกระแสเลือดเกนิ ค่ามาตรฐาน ก็ไมใ่ ชว่ า่ เกดิ จากการใช้ยาเคมี 88 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วชิ าการระดับชาติ ครง้ั ที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 โดยตรง เพราะการบรโิ ภคประจำวนั อาจจะเปน็ ตัวทำให้คา่ สารพษิ ในกระแสเลือดเกนิ คา่ มาตรฐานมากกว่าทีเ่ ราได้รบั คนท่ีฉีด ยาเคมีเขาป้องกนั ตัวเองอยา่ งดีทั้งนั้น เพราะฉะนั้นท่ีเกษตรกรมสี ารก่อมะเร็งและสารพษิ ในกระแสเลือดเกินค่ามาตรฐานน้นั น่าจะไม่ใช่มาจากการที่เกษตรกรไปฉีดยาแล้วซึมเข้าร่างกาย การไปซื้อผักมาตามตลาด พวกกะหล่ำปลี ผักบุ้งมาจากหลาย แหลง่ บางแหง่ ฉดี ยา เท่าที่เคยฟงั มาฉีดเช้าฉดี เยน็ ฉีดวันนพ้ี ร่งุ นี้เก็บเพราะเขาไม่ได้กนิ เอง ถา้ ใหเ้ ขากินกไ็ มก่ นิ หรอก” สำหรบั การตรวจรา่ งกายประจำปีอาจจะมบี างรายเท่านั้น นอกจากจะมีปญั หาสุขภาพอยู่แลว้ จำเป็นต้องไปหาหมอ เป็นเป็นประจำ หรือมีโรคประจำตัวก็อาจจะมีไปตรวจสุขภาพประจำปีด้วย แต่ว่าถ้าให้ไปตรวจเองนั้นส่วนใหญ่ก็จะไม่ไป เกษตรกรรายหนึ่งบอกว่า “เท่าที่สัมผัสมาไม่ค่อยไปตรวจสุขภาพประจำปคี งเห็นว่าไม่สำคัญ แต่ของผมตรวจต่อเนื่องกันอยู่ ประมาณ 2 ปีหรอื 3 ปีผมไปทุกคร้ัง พอรูผ้ มกไ็ ปเพราะว่าผมอยากรูส้ ภาพร่างกายของตนเองมันมีสารเคมีตกค้างมากน้อยแค่ ไหน คนท่ไี มไ่ ปอาจจะเน่อื งจากไม่เห็นความสำคัญของการตรวจ” ปจั จุบันนีก้ ารควบคมุ สารเคมนี น้ั ยาแรงถูกยกเลิกหมดแล้ว เกษตรกรมีความรู้มากยิ่งขึ้น มีการป้องกันตนเองมากยิ่งขึ้น คือเวลาฉีดยาทุกคนจะมีอุปกรณ์ป้องกันมากขึ้น ต่างจาก สมัยก่อนที่ไม่มีหน้ากากป้องกัน ฉีดไปเลย ยาสมัยก่อนแรงมากขวดหนึ่งฆ่าแมลงได้ 3 - 4 อย่าง ซึ่งตัวนี้ยาพวกนี้ถูกยกเลิก หมดแล้ว เพราะจะเหลือเฉพาะตัวยาที่ฆ่าแมลงเฉพาะตัว ที่ฆ่ามดก็ฆ่ามด ฆ่าหนอนก็ฆ่าหนอน อุปกรณ์ป้องกันสำหรับ เกษตรกรก็หันมาใช้หน้ากาก เสื้อกันน้ำเข้า เกษตรกรใส่ใจมากขึ้นต่างจากสมัยก่อน ปัจจุบันนี้เกษตรกรป้องกันเต็มท่ีเพราะ สารเคมีจำเปน็ ตอ่ การฉีด แต่ต้องหาทางป้องกันตัวเองให้ดที ี่สดุ การใช้ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินสำหรับเกษตรกรบางคนเม่ือมีอาการ ปวดศีรษะ มนึ งง กร็ ับประทานรางจืด หาไดท้ ่ัวไปในชุมชน นำมาตม้ กับน้ำโดยใช้ใบรางจืดทแ่ี ก่พอดี อายุเกนิ 2 ปี สัดส่วนใบ รางจดื 4 ใบ ตอ่ นำ้ 1 ลติ ร ต้มกินแทนน้ำ ประมาณ 7-10 วัน หรอื ซอื้ ท่ีเปน็ สำเรจ็ รูป เปน็ แคปซูล 2 เม็ด เชา้ -เยน็ นาน 7 วนั การจดั การดแู ลไมใ่ หเ้ กิดปญั หาสขุ ภาพของเกษตรกรชาวสวนสม้ โออีกวิธีหนง่ึ คือ การทำสวนสม้ โอระบบอนิ ทรยี ์ จังหวัดนครปฐมถือได้ว่าเป็นดนิ แดนขึ้นชื่อเรื่องการปลกู ส้มโอมากทีส่ ุดแห่งหน่ึง แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังนิยมปลูกสม้ โอ โดยใชส้ ารเคมีเต็มรปู แบบ ทำให้ผลผลติ ทีไ่ ดไ้ ม่ปลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพของผ้บู ริโภครวมถึงตัวเกษตรกรเองด้วย ขณะเดียวกนั กย็ ังมีเกษตรกรบางคนท่ีเล็งเหน็ และตระหนักถึงความสำคัญและผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม จงึ หันมาใหค้ วามสนใจทำสวน ส้มโอระบบอินทรีย์กันเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้การทำสวนถือว่าเป็นการออกกำลังกายที่ดีมากต่อสุขภาพ เกษตรกรราย หนงึ่ เลา่ ว่า “ผมว่าตอนเชา้ ก็ออกไปสวนแล้วกลับเข้าบ้านมากนิ ข้าว เทยี่ งถึงเยน็ เนี่ยออกไปมันก็เดนิ ได้เคลือ่ นไหว ได้ออก กำลังกายไปในตัว” “อยา่ งไปสวนไปใสป่ ยุ๋ เน่ยี กย็ กไปลงเรอื แลว้ จงึ จะไปตามร่องสวนเพ่อื ไปใสป่ ยุ๋ เมอื่ ยกไหวมนั ก็ต้องทำ ไป ออกกำลงั กันไปเป็นส่ิงจำเป็นต่อเกษตรกร แต่ว่ากท็ ำเทา่ ที่กำลังพอจะทำได้ไมฝ่ นื มากไปทำเป็นชีวติ ประจำวัน” 5. สรุปผลการวจิ ัยและการอภิปรายผล การวิจยั ปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอ ในคร้ังนี้ เป็นการวิจยั แบบผสมผสาน ท้ังเชิงปรมิ าณและเชิง คุณภาพ เชิงปริมาณใชก้ ารสำรวจโดยใช้แบบสอบถาม เชิงคุณภาพใช้การสมั ภาษณ์และการสนทนากลุม่ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอ และเปรียบเทียบปัญหาสุขภาพของกลุ่มเกษตรกรชาวสวนส้มโอที่ ปลูกด้วยวิธีการ GAP และกลุ่มที่ไม่ได้ปลูกส้มโอด้วยวิธีการ GAP ในเขตพื้นที่อำเภอนครชัยศรีและอำเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม ผู้วจิ ัยนำเสนอการสรปุ ผลการวจิ ยั และการอภปิ รายผล ดังน้ี การศกึ ษาปัญหาสขุ ภาพของเกษตรกรชาวสวนสม้ โอ ในเขตพนื้ ที่อำเภอนครชัยศรแี ละอำเภอสามพราน จงั หวัด นครปฐม ผลการศึกษาจากการสนทนากลุ่มกับเกษตรกร พบว่าปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนสม้ โอที่ใช้และไมใ่ ช้ วิธีการปฏบิ ตั ทิ างการเกษตรที่ดี ไมแ่ ตกต่างกนั 5.1 ปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอ ท้งั อำเภอนครชยั ศรแี ละอำเภอสามพราน มดี งั น้ี 5.1.1. ปวดเมื่อยตามรา่ งกาย พบมากท่ีสดุ จากการศึกษาพบว่า อาการปวดกล้ามเน้ืออาจเกดิ ข้ึนไดท้ ันที หรือหลังจากใช้กล้ามเน้ืออย่างหนัก สาเหตุของการปวดกลา้ มเนื้อ ผู้ที่เผชิญอาการปวดกล้ามเนื้อสามารถระบุสาเหตุได้ ด้วยตัวเอง ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป หรือเคล่ือนไหวในท่าเดิม ซ้ำ ๆ จนทำให้เกิดความตึงเครียดสะสมที่กล้ามเนื้อ การทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันจนทำให้กล้ามเนื้อได้รับ บาดเจ็บ เช่น การออกกำลังกาย การทำงาน เป็นต้น (https://www.pobpad.com/ ปวดกล้ามเนื้อ กรกฎาคม 2561) อาการปวดเม่ือยตามร่างกายเกิดจากการทำงานในสวนส้มโอ เป็นอาการที่เกิดขึ้นหลังจากการเข้าสวนส้มโอเพื่อรดน้ำ ต้นไม้ ดายหญ้า เก็บสม้ โอ ใส่ป๋ยุ ฯลฯ เปน็ อาการทเ่ี กดิ ขึ้นประมาณครงึ่ หนงึ่ ของกล่มุ เกษตรกร พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพ่อื วิถชี วี ิตใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 89

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 5.1.2.ภาวะเครียด เป็นปัญหาสุขภาพรองลงมา ซึ่งมีสาเหตุจากทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก สาเหตุ ภายในได้แก่ ปัญหาสุขภาพ เจ็บป่วยเรื้อรัง ส่วนสาเหตุภายนอกได้แก่ ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาสังคม ปัญหาครอบครัว และปัญหาจากการทำงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ วัยที่มีโอกาสเกิดความเครียดได้มากกวา่ วัยอน่ื ไดแ้ ก่ วยั ทำงาน เพราะเปน็ วัยทม่ี ีโอกาสท่ีจะเผชญิ สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวนั มากมาย มีภารกิจการงานท่ี ยุ่งยากและซับซ้อน มีการเผชิญกับเหตุการณ์ที่ต้องอาศัยความสามารถความรับผิดชอบในงานที่คาดการณ์ล่วงหนา้ ไมไ่ ด้ (ปรเมษ คีรีเมฆ, 2549: 44) 5.1.3. อาการปวดศรี ษะ ออ่ นเพลีย น้อคยา(จากมีสารเคมีสะสมในรา่ งกายเกินขนาด) แม้วา่ ในการป้องกนั ก่อนฉดี ยา ใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกันครบชดุ ส่วนการปฏิบัตติ ัวหลงั ฉดี ยา เกษตรกรมกี ารลา้ งมอื หลงั ฉดี ยาทกุ ครั้งทกุ คน จากนั้น อาบนำ้ สระผม บางรายมกี ารดื่มนำ้ อัดลมเปป๊ ซ่ีหลงั ฉีดยา นอกจากนี้ปัญหาเรื่องผลจากการใช้สารเคมพี บวา่ ระดับสารเคมีในกระแสเลือดเกินขนาด ทำให้เกิดอาการระบบ ทางเดินอาหารหรือทางเดินหายใจทำงานไม่ปกติ ความเครยี ด หรอื พักผ่อนไมเ่ พยี งพอ อาการเกิดข้นึ ตงั้ แตป่ วดศีรษะโดยไม่มี สาเหตุ คลื่นไส้อาเจยี นและจะเป็นอาการทีห่ นักจนถึงแกช่ ีวิตได้เช่นกัน เกษตรกรต้องทำสวนเอง แรงงานรับจ้างหายาก เม่ือ หาไมไ่ ด้เกษตรกรก็จำเปน็ ตอ้ งฉดี ยาเองเพราะว่าถ้าไม่ฉีดยารายได้แตล่ ะปที ่ไี ดม้ ากกเ็ หลือไม่ถงึ ครึง่ คนที่เสียหายคือเกษตรกร ส่วนใหญป่ ญั หาสุขภาพจะคลา้ ยกนั หมดที่เกิดขึ้นตามมาต่อจากน้ีกค็ ือรุ่นลกู ไมค่ อ่ ยสืบตอ่ ในอนาคตขา้ งหน้าก็เร่ิมจะมีปัญหา มากขึ้นอีกสักหน่อยก็จะขายที่ สำหรับรายได้ของเกษตรกรจากการปลกู ส้มโอที่ใช้และไม่ใช้วิธกี ารปฏิบัตทิ างการเกษตรที่ดี นน้ั ไม่ตา่ งกัน แตก่ ารขอ GAP ตอ้ งมาบันทกึ กิจกรรมการทำงานในสวนด้วยทำใหย้ ุ่งแต่ขายไดเ้ ทา่ คนอนื่ แตต่ อ่ ไปถา้ ไมม่ ี GAP ลง้ จะไม่รบั ซื้อเปน็ เหตใุ ห้เกษตรกรตอ้ งทำบนั ทึก ลงมาทำ GAP ประจำแปลงตนเองให้เปน็ มาตรฐานสากล 5.2 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ของเกษตรกรชาวสวนส้มโอ เกษตรกรชาวสวนส้มโอมวี ิธีการจดั การปญั หาสขุ ภาพทีเ่ กิดขึ้นจากการทำงาน ไดแ้ ก่ อาการปวดเม่ือยตามร่างกาย เครยี ด ปวดศรี ษะ ออ่ นเพลยี ท่ีสำคัญคืออาการนอ้ คยา แตกต่างกนั ไปดงั นี้ 5.2.1 อาการปวดเมือ่ ยตามร่างกาย เปน็ อาการท่เี กิดขึน้ หลังจากการเขา้ สวน เพือ่ รดนำ้ ตน้ ไมด้ ายหญ้า เก็บส้มโอ ใส่ปยุ๋ ฯลฯ เปน็ อาการทีเ่ กิดข้ึนประมาณครึ่งหน่ึงของกลมุ่ เกษตรกร บางรายก็มอี าการปวดหลังร่วมด้วย เกษตรกร บอกว่าอาการปวดเมื่อยแบบนี้พอหยุดงานก็จะหายไป ถ้าไม่หายก็ไปนวด สอดคล้องกับการศึกษาของจุลจิรา ธีรชิตกุลและ คณะทีพ่ บวา่ อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตต่อมิติดา้ นพฤติกรรมมากท่ีสุด การใช้ยาสมุนไพรมี ระดับการปฏิบตั ิอยูใ่ นระดับมาก เมือ่ มีระดบั ความปวดนอ้ ยถึงปานกลาง ซึ่งวิธที เ่ี ลอื กใชด้ ังนี้ การนอนพกั นั่งพกั การบีบนวด การออกกำลังกาย การนอนพกั น่งั พักเปน็ วิธีการจัดการความปวดโดยไม่ใช้ยาท่ีเลือกใช้มากทส่ี ดุ การบีบนวดเป็นวิธีจัดการ ความปวดโดยไม่ใช้ยาที่เลือกใช้มากเป็นอันดับสองเพราะไม่มีผลข้างเคียง บางคนบีบนวดตัวเองหากมีอาการปวดบริเวณที่ สามารถบีบนวดเองได้บางคนให้ลูกหลานช่วยบีบนวด ทำให้เกิดเป็นความรักความผูกพันในครอบครัว ในการบีบนวดอาจมี การใช้ยาร่วมด้วย เช่น น้ำมันนวด ยานวดที่มีคนมาเร่ขายในหมู่บ้าน เป็นต้น หากอาการปวดอยู่ในระดับปานกลางหรือมาก จะใหห้ มอนวดแผนไทยทอี่ ยู่ในหมูบ่ ้านนวด ใหโ้ ดยมคี า่ ใช้จ่ายตามท่ีตกลงกนั ก่อนนวด (จลุ จิรา ธีรชิตกุลและคณะ, 2555) 5.2.2 อาการท่ีเกดิ จากการใชย้ าฆ่าแมลงฉีดพ่นในสวนส้มโอเกษตรกรมีการใช้อุปกรณ์ป้องกันและมีวิธีการ ฉีดยาตอนลมเงียบสงบ ถ้าลมแรงยาที่ฉีดจะตีกลับมาทีตัวเกษตรกรผู้ฉีด นอกจากนี้ต้องฉีดตั้งแต่เช้ามืด อากาศเย็นๆ อากาศร้อนแล้วฉีดไม่ได้จะมีอาการเพลีย เมื่อฉีดยาเสร็จมีการล้างมือทุกครั้ง บางคนจุ่มน้ำทั้งตัวในท้องร่อง รีบอาบน้ำ สระผม ฟอกสบู่ หลังจากฉีดยา แต่เกษตรกรก็ยังมีอาการอ่อนเพลยี บางคนบอกว่า “ผมฉีดยา มึนงง จากแลนเนต เหงื่อ ออกเยอะมาก หลังฉีดยาต้องกินเปป้ ซี่ใส่เกลือ แล้วเรอสัก 2-3 ครั้ง ให้อ้วกสารพิษออกมา” “ยาทำลายสุขภาพเรา เรา ฉดี ยาก็ไมไ่ ดส้ บายตวั นะ แต่กต็ ้องฉีดไม่งนั้ ของที่ปลูกไว้กเ็ สยี ของไม่ดไี มส่ วยกข็ ายไมไ่ ด้ราคา คนซ้ือกข็ อเปลยี่ นก็ไมเ่ อา” 5.2.3 อาการปวดศรี ษะ มึนงง สำหรบั เกษตรกรบางคนเม่ือมอี าการเหล่าน้ี กร็ ับประทานรางจดื หาได้ทั่วไป นำมาต้มกับน้ำ โดยใชใ้ บรางจดื ท่แี ก่พอดี อายเุ กิน 2 ปี สดั สว่ นใบรางจดื 4 ใบ ต่อนำ้ 1 ลติ ร ต้มกินแทนนำ้ ประมาณ 7- 10 วัน หรือซือ้ ที่เปน็ สำเร็จรูป เป็นแคปซูล 2 เมด็ เช้า-เย็น นาน 7 วนั 5.2.4 อาการน้อคยา เป็นอาการที่เกิดขึ้นจากการสะสมของสารเคมีจากยาฆ่าแมลงเกินขนาดในร่างกาย หลังจากฉีดยา ได้แก่อาการอ่อนเพลีย ใจหวิว ปากแห้ง คอแห้ง บางคนมีอาการชักและหมดสติต้องรีบนำส่ง 90 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครั้งท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 โรงพยาบาลที่ไกล้ที่สุดให้เร็ว ซึ่งได้แก่ โรงพยาบาลห้วยพลู โรงพยาบาลนครชัยศรี โรงพยาบาลหลวงพ่อเปิ่นและ โรงพยาบาลสามพราน 5.2.5 ภาวะเครียด สบื เน่ืองจากปัญหาเศรษฐกิจ ปญั หาครอบครัว ซงึ่ ปัญหาความเครียดมสี าเหตุจากทั้งปัจจัย ภายในและปัจจัยภายนอกบุคคล ปัจจัยภายในได้แก่ ปัญหาสุขภาพ ปัญหาเจ็บป่วยเรื้อรัง ปัจจัยภายนอกได้แก่ ปัญหา เศรษฐกิจ ปัญหาสังคม ปัญหาครอบครัว และปัญหาจากการทำงาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ ซึ่ง วัยทำงานมีโอกาสเกิดความเครียดได้มากเพราะเป็นวัยที่มีโอกาสที่จะเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันมากมาย มี ภารกิจการงานที่ยุ่งยากและซับซ้อนมีการเผชิญกับเหตุการณ์ที่ต้องอาศัยความสามารถความรับผิดชอบในงานที่คาดการณ์ ลว่ งหน้าไมไ่ ด้ (ปรเมษ คีรีเมฆ, 2549: 44) เกษตรกรชาวสวนส้มโอกม็ ีความเครยี ดซึ่งเกดิ จากปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้เชน่ กัน การ ปรับเปลี่ยนบรรยากาศในการทำงานที่ช่วยเหลือกัน พูดจากันด้วยความเป็นมิตรอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ก็จะช่วย ป้องกันความเครียดและคลายเครียดได้ สอดคล้องกับที่องค์การอนามยั โลกได้ให้ความหมายของสุขภาพจิตท่ีดี ว่าเป็นสภาพ จิตใจที่เป็นสุข สามารถมีสัมพันธภาพและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่นไว้ได้อย่างราบรื่น สามารถทำตนให้เป็นประโยชน์ได้ ภายใต้ภาวะสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลีย่ นแปลงทั้งทางสังคม และลักษณะความเป็นอยูใ่ นการดำรงชีพ วางตัวได้อย่างเหมาะสม และปราศจากอาการป่วยของโรคทางจิตใจและร่างกาย การเลือกสิ่งแวดล้อมที่ดี เหมาะกับตัวเอง หรือปรับเปลี่ยน ส่งิ แวดลอ้ มให้มีบรรยากาศผ่อนคลาย เป็นมิตรกัน ช่วยเหลือกัน สอื่ สารกนั ด้านบวก ช่วยป้องกันหรอื สง่ เสรมิ สขุ ภาพจิตได้ การปรับตัวเองให้พอเหมาะกับสิ่งแวดล้อม และปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะกับตนเอง ถ้าใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ช่วย ปอ้ งกนั และคลายเครียดได้ (พนม เกตุมาน http://www.psyclin.co.th/new_page _82 .htm) การจัดการดูแลไม่ให้เกิดปัญหาสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโออีกวิธีหนึ่ง เนื่องจากบางคนตระหนักถึง ความสำคญั และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จงึ หนั มาให้ความสนใจทำสวนสม้ โอระบบอินทรีย์กันเพิ่มมากข้ึน นอกจากนี้การทำ สวนถอื ว่าเป็นการออกกำลงั กายท่ีดีมากต่อสขุ ภาพ เกษตรกรรายหนึ่งเลา่ วา่ “ผมวา่ ตอนเชา้ กอ็ อกไปสวนแลว้ กลับเข้าบ้านมา กินข้าว เที่ยงถึงเย็นเนี่ยออกไปมันก็เดินได้เคลื่อนไหว ได้ออกกำลังกายไปในตัว” ซึ่งผลดีของการออกกำลังกายเพื่อปอ้ งกัน โรคหัวใจ หัวใจแข็งแรงขึ้นลดโอกาสเกิดโรคเส้นเลือดหัวใจตีบและกล้ามเนื้อหัวใจตาย ความดัน โลหิตลดลง ลดโอกาสเกิด ความดันโลหติ สูงและเส้นเลือดในสมองแตกหรอื ตีบตัน ปอ้ งกนั โรคอว้ น ป้องกนั โรคกระดูกพรุน เสรมิ สร้างกระดูกให้แข็งแรง ขนึ้ ปอ้ งกนั และรักษาโรคเบาหวาน ป้องกนั โรคภมู แิ พ้ เพม่ิ ภูมติ า้ นทานโรค ลดไขมันในเลือด ทำใหโ้ คเลสเตอรอล ไตรกลีเซอ ไรด์ LDL ลดลง เพิ่ม HDL ที่ช่วยป้องกนั โรคหัวใจ ทำให้ร่างกายสดชื่น ลดความเครยี ดจากการที่สมองผลติ ฮอร์โมน เอนดอร์ ฟินออกมาในขณะออกกำลังกาย ฮอร์โมนนี้ทำให้รู้สึกเป็นสุขช่วยให้นอนหลับสบายและหลับสนิท ระบบย่อยอาหารดีขึ้น ระบบขับถ่ายดีขึ้น ช่วยให้ท้องไม่ผูก เพราะลำไส้มีการขยับตัวดีข้ึน หลักการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพไม่เคร่งเครียด สนุกสนานเพลิดเพลินต้องใช้วิธีค่อยทำค่อยไปต้องให้ทุกส่วนของร่างกายได้ออกกำลังกายการออกกำลังกายควรทำโดย สมำ่ เสมอ อยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 20 - 30 นาที (http://www. dekthaidoodee.com/articles) 5.3 ความตอ้ งการในการดูแลสุขภาพ ความต้องการในการดูแลสุขภาพของเกษตรกรชาวสวนส้มโอนั้น เกษตรกรแต่ละคนมีศักยภาพในการดูแล ตนเองและครอบครัวได้ เกษตรกรไปเจาะเลือดตรวจหาสารพิษและสารมะเร็ง ส่วนใหญ่ก็จะมีค่าสารพิษในกระแสเลือด เกินค่ามาตรฐาน อาจไม่ใช่เกิดจากการใช้ยาเคมีโดยตรง แต่อาจเกิดจากการบริโภคประจำวัน ผักตามท้องตลาดอาจจะ เป็นตัวทำให้คา่ สารพิษในกระแสเลอื ดเกินค่ามาตรฐาน เพราะเกษตรกรส่วนใหญ่ท่ีฉีดยาเคมี มกี ารปอ้ งกันตวั เองอยา่ งดี สำหรับการตรวจร่างกายประจำปีมีน้อยมากไม่ถึง 10 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากเกษตรกรไม่เห็นความสำคัญ นอกจาก เกษตรกรที่มีปัญหาสุขภาพอยู่แล้วจำเป็นต้องไปหาหมอเป็นประจำหรือมีโรคประจำตัว อาจจะมีการตรวจสุขภาพประจำปีเพิ่ม ส่วนใหญ่เกษตรกรจะตรวจหรือไปพบแพทย์เมื่อมีอาการ ซึ่งได้มีการศึกษาไว้ว่าเมื่อมีอาการปวดหลังจะไปรักษาที่คลินิก และ ระยะแรกจะมีพฤติกรรมการแสวงหาการรักษา 2 ลักษณะได้แก่ พฤติกรรมการวินิจฉัยด้วยตนเอง และการมีส่วนร่วมในระบบ บรกิ ารสาธารณสขุ ตามปจั จัยท่ีสนบั สนุนในการเขา้ รบั การรักษา (จุลจริ า ธรี ชติ กลุ , 2555) แตก่ ารทจี่ ะไปตรวจหาสารก่อมะเรง็ นน้ั ยังไม่เห็นว่าสำคัญ ไม่จำเป็น ไม่เห็นว่าเป็นปัญหาที่ใกล้ตวั แต่ปัจจุบันนีก้ ารควบคุมสารเคมีน้ัน ยาแรงถูกยกเลิกหมดแลว้ เพราะ ยาเป็นแต่ละประเภท ความรุนแรงของยาน้อยลง เกษตรกรมีความรูม้ ากย่ิงขึ้น มีการป้องกันตนเองมากยิ่งขึ้น คือเวลาฉีดทุกคน จะมอี ปุ กรณ์ปอ้ งกนั มากขึ้น ต่างจากสมัยกอ่ นท่ีไม่มหี นา้ กากป้องกัน ฉีดยาฆา่ แมลงไปเลย ยาสมยั กอ่ นแรงมากขวดหนึ่งฆ่าแมลง ได้ 3 - 4 อย่าง ซงึ่ ตัวน้ียาพวกนถี้ ูกยกเลิกหมดแลว้ เพราะจะเหลอื เฉพาะตวั ยาที่ฆา่ แมลงเฉพาะตัว อุปกรณ์ปอ้ งกนั เกษตรกรกห็ นั พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่อื วถิ ีชวี ิตใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 91

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 มาใช้หน้ากาก เสื้อกันน้ำเข้า มีความใส่ใจมากขึ้น ต่างจากสมัยก่อนจะไม่ค่อยใช้หน้ากากขณะฉีดยา ปัจจุบันนี้เกษตรกรมีการ ป้องกนั เตม็ ทเี่ พราะสารเคมีจำเปน็ ตอ่ การฉีด แตต่ อ้ งหาทางปอ้ งกันตัวเองให้ดที ีส่ ดุ เกษตรกรบางคนทำเกษตรแบบอนิ ทรีย์ 100% 6. ขอ้ เสนอแนะ 6.1. นำผลการวิจัยนำไปวางแผนการทำงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ในการทำงานพัฒนานโยบายด้านการ สง่ เสริมอาชีพของเกษตรกรในพื้นท่ี ตามบริบทของสงั คม 6.2. ควรนำผลการวิจยั นำไปวางแผนการทำงานดา้ นอาชวี อนามัยของเกษตรกรในพ้ืนทข่ี องโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพ ตำบล ในด้านการส่งเสรมิ สุขภาพและป้องกนั โรคเกยี่ วกบั การประกอบอาชีพทำสวนส้มโอในพืน้ ที่ 7. เอกสารอ้างองิ กรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสขุ . วิธีการเฉพาะในการลดความเครยี ด. สบื ค้นเมอื่ 12 พฤศจิกายน 2561 สืบคน้ จาก http://www.dmh.go.th /news/view.asp?id=1012 กลุ่มเครือขา่ ยวิสาหกจิ ชมุ ชนสม้ โอนครชัยศรี (2560). เอกสารอดั สำเนา. กองส่งเสริมการเกษตร. (2557). รายงานขอ้ มูลภาวการณผ์ ลติ พชื (รต.02).จังหวัดนครปฐม ประจำปี 2557. จุลจริ า ธรี ชติ กลุ . (2555). การจัดการอาการปวดเมอื่ ยกล้ามเนอื้ ของผู้สงู อายุที่มอี าชพี กรดี ยางพารา. วารสารสภาการ พยาบาล ปที ่ี 27 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555. ทวศี กั ดิ์ ชยั เรอื งยศ. (2561) เกษตรกรคือความภูมิใจคือรางวัลยิง่ ใหญใ่ นชวี ิต สบื คน้ เม่อื 5พฤศจกิ ายน 2561. สบื ค้น จาก https://www.rakbankerd.com/agriculture/guru-view.php?id=95 นาวิน จติ เทศ. (2560). ภาวะสารพิษในรา่ งกาย. ศนู ย์สง่ เสรมิ สุขภาพไวทลั ไลฟ์ในเครือโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์. เอกสารอดั สำเนา. บญุ ธรรม กจิ ปรดี าบรสิ ทุ ธ.์ (2551). การเขียนรายงานการวจิ ยั และวทิ ยานพิ นธ์. (พมิ พ์ครง้ั ที่ 9). กรุงเทพ ฯ : จามจรุ ี โปรดักท์. ปรเมษ ครี เี มฆ. (2549). ปัจจยั จากการปฏิบตั งิ านที่ก่อให้เกดิ ความเครยี ดและวิธีการคลายเครียดของบรรณารักษ์ สำนักหอสมดุ มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยานพิ นธร์ ัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต. มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม. ปวดกลา้ มเนอื้ สืบค้นเม่ือ 10 กรกฎาคม 2561. สืบค้นจาก https://www.pobpad.com/. พนม เกตมุ าน ภาวะเครียด. สบื คน้ เมอ่ื 12 พฤศจกิ ายน 2561 สืบค้นจาก http://www.psyclin. co.th/new_ page_82.htm. พิมพเ์ พ็ญ พรเฉลิมพงศ์. (2553). ระเบยี บกรมประมงวา่ ดว้ ยการออกใบรับรองการปฏบิ ตั ทิ างการผลิตสตั ว์น้ำท่ีดสี ำหรับ การผลิตสตั ว์น้ำจี.เอ.พ.ี (GAP). ราชวัลย์ กันภัย. (2554). การวิเคราะห์หาพื้นที่ประสบอุทกภัยมีน้ำท่วมขังเขตเกษตรกรรมและชุมชนในปี พ.ศ.2554 พื้นทภี่ าคกลาง. สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์และคณะ.(2546). รายงานผลการศึกษาในโครงการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังสิ่งคุกคาม ทางด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม. นนทบุรี. สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์และคณะ.(2547). รายงานผลการศึกษาในโครงการพัฒนารูปแบบการเฝ้าระวังควบคุม ป้องกันความผดิ ปกติจากกลา้ มเน้ือและข้อในกสกิ รไทย. นนทบุรี. สำนกั งานเกษตรจงั หวัดนครปฐม. (2554). การตรวจสอบความเสยี หายสม้ โอที่ประสบอทุ กภัย ปี 2554. สํานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ, สาํ นักนายกรฐั มนตร.ี แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คม แหง่ ชาตฉิ บบั ทสี่ ิบเอ็ด พ.ศ.2555 - 2559. กรุงเทพมหานคร. อุไรวรรณ ทองบวั ศริ ไิ ล: (2555). ปัญหานำ้ ทว่ มใหญ่เมื่อช่วงเดือนตลุ าคม 2554. สบื ค้นเม่ือ 10 ตลุ าคม 2559. สบื ค้น จาก http://www.nakhonpathom.doae.go.th/allact. 92 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้งั ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ผลของโปรแกรมการให้สขุ ศึกษาตอ่ ความรู้และทศั นคติการบรโิ ภคอาหารเช้าของนกั เรียน ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนแห่งหนึง่ จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ศศวิ มิ ล จันทรม์ าลี1,*, นลพรรณ ขนั ตกิ ุลานนท์2, แกว้ กาญดา ฟูบญุ มา3, ภาสนิ ี เทียบเทียม4 และ อรดา ลวดทอง5 คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ จงั หวดั ปทมุ ธานี * [email protected] บทคัดยอ่ การวิจัยกึ่งทดลองแบบหนึ่งกลุ่มวัดผลก่อนและหลังครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรู้และทัศนคติ ก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการให้สุขศึกษาการบริโภคอาหารเช้า กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลายโรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 40 คน โดยสุ่มเลือกอย่างง่าย เครื่องมือเก็บข้อมูลเป็น แบบสอบถาม วิเคราะห์ขอ้ มูลดว้ ย ความถ่ี ร้อยละ คา่ เฉล่ีย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และสถิติ Paired t-test ผลการศึกษาพบว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมความรู้อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 75.0 หลังเข้าร่วมโปรแกรม ความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 90.0 ทัศนคติก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับดี ร้อยละ 70.0 หลังเข้าร่วมโปรแกรม ทัศนคติเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 100.0 เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับความรู้และทัศนคติก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรม พบว่ามคี วามแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดบั .05 สรุปผลได้ว่าการจัดโปรแกรมการให้สุขศึกษาต่อความรู้และทัศนคติการบริโภคอาหารเช้า มีผลทำให้ระดับ ความรู้และทศั นคติของกลุ่มตัวอยา่ งเพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถนำความรู้และทศั นคติทีเ่ พิ่มข้ึนนีไ้ ปใช้ปรับเปล่ียนพฤติกรรมการ บรโิ ภคอาหารเช้าต่อไปได้ คำสำคัญ : โปรแกรมสขุ ศึกษา, ความรูก้ ารบริโภคอาหารเช้า, ทัศนคตกิ ารบรโิ ภคอาหารเชา้ พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วิถชี วี ิตใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 93

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 THE EFFECTS OF HEALTH EDUCATION PROGRAM ON KNOWLEDGE AND ATTITUDES FOR BREAKFAST CONSUMPTION AMONG HIGH SCHOOL STUDENTS IN A SCHOOL, PHRA NAKHON SI AYUTTHAYA PROVINCE Sasiwimol Chanmalee1,*, Nonlapan Khantikulanon2, Kaewkanda Fhoobunma3, Pasinee Tiebtiem 4 and Orada Luadthong 5 * [email protected] Abstract This research was a one-group quasi-experimental research before and after joining the program. The objectives were compared to the knowledge and attitude before and after joining a health education program. The samples were high school students who were amount of 4 0 people by random sampling at a school in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Those data were collected by the questionnaires. The data were analyzed by frequency, percentage, means, standard deviation and paired t-test statistics. The results showed that the most of knowledge levels before joining the program were moderate levels at 75.0 % and after joining the program the knowledge levels were increased to high levels at 90.0 %. The attitude levels before joining the program were good levels at 70.0 % and after joining the program the attitude levels were increased to 100.0 %. When comparing the average of knowledge and attitude levels as before and after joining the program their results were significantly different that at p-value < .05. It can be concluded that the health education program on knowledge and attitudes for breakfast consumption has an effect on the levels of knowledge and attitude of the samples. Also, this study showed the health education program on knowledge and attitudes for breakfast consumption can improve breakfast behavior. Keywords : Health education program, Knowledge for breakfast consumption, Attitude for breakfast consumption 94 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้ังที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 บทนำ อาหารเช้าเปน็ อาหารมื้อแรกของวันท่รี ่างกายตอ้ งใชเ้ ป็นแหล่งพลังงานเพื่อทำกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละวัน เป็น มือ้ ท่สี ำคญั ที่สดุ เม่ือเทียบกับอาหารม้อื อ่นื การรับประทานอาหารเชา้ จึงเป็นสง่ิ สำคัญสำหรบั การเรมิ่ ต้นวนั ใหม่ ช่วงเวลาที่ เหมาะสมต่อการรับประทานอาหารเช้า คือ ช่วงเวลา 07.00 - 09.00 น. (จิตแข เทพชาตรี, 2559) เพราะช่วงเวลา กลางคืนระหว่างที่ร่างกายนอนหลับพกั ผ่อน ร่างกายไม่ไดร้ บั อาหารเป็นเวลานาน 8 - 12 ชั่วโมง แต่ร่างกายยังคงต้องใช้ พลังงานและ สารอาหารต่าง ๆ เช่น ในระบบหายใจ สมอง และอื่น ๆ ส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ (ประไพศรี ศิริ จักรวาล, 2558) จึงจำเป็นต้องบริโภคอาหารเช้าเพื่อเพิ่มระดับสารอาหารในร่างกาย เพื่อให้น้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับ ปกติ (อรุณศรี ฉั่วภักดีและคณะ, 2559) และเพื่อให้ร่างกายได้รับพลังงานไปใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ จากการศึกษา พบว่าผู้ที่รับประทานอาหารเช้าเป็นประจำทุกวันจะมีทัศนคติที่ดี มีรูปร่างดี และมีสมาธิในการทำงานมากยิ่งขึ้น (Watanabe Y, et al. 2014) จากการสำรวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรทั่วประเทศ โดยสำนักงานสถิติ แห่งชาติ (2560) พบว่า กลุ่มเยาวชนอายุ 15-24 ปี ทานอาหารครบ 3 ม้อื น้อยที่สดุ ร้อยละ 87.0 ในขณะท่ปี ระชากรกลมุ่ อื่นมีอัตราการบริโภคอาหารมากขึ้น ช่วงกลุ่มวัยนี้เป็นช่วงของวัยเรียน และมีการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย อีกท้ัง การปรับตวั ให้เข้ากับสังคมที่เปลี่ยนไป อาหารจึงมีความสำคัญเพราะนอกจากช่วยให้เติบโตแข็งแรงแล้ว ยังเป็นรากฐาน ต่อสุขภาพของการเป็นผู้ใหญ่ที่แข็งแรงในอนาคตด้วย (ศวิตา ศรีสวัสดิ์, และสุวลี โล่วิรกรณ์, 2562) การบริโภคอาหาร ของกลุ่มวัยนี้ที่น่ากังวลเพราะจะส่งผลต่อสุขภาพกายและเป็นช่วงของวัยเรียน เนื่องจากกลุ่มวัยน้ีมีความสนใจใน รปู ลกั ษณ์และส่งิ รอบตัวเปน็ พเิ ศษ ทำใหเ้ ข้าใจว่าอาหารเช้าทำใหอ้ ว้ น และการงดอาหารเช้าจะชว่ ยลดน้ำหนักได้ และอีก เหตุผลหนึ่ง คือ ไม่มีเวลา ไม่หิว ไม่อยากบริโภคต้องการนอนตื่นสายมากกว่าจะต้องรีบตื่นเพราะต้องบริโภคอาหารเช้า (ศวิตา ศรีสวัสดิ์, และสุวลี โล่วิรกรณ,์ 2562) การงดอาหารเช้าในเด็กกลุ่มวัยนี้ส่งผลให้ระดับนำ้ ตาลในเลอื ดต่ำ (ประไพ ศรี ศริ ิจกั รวาล, 2558) ทำให้ไมม่ ีพลงั งานไปเล้ยี งสมอง ส่งผลโดยตรงในดา้ นการพฒั นาการของเดก็ ในวยั เรยี น พัฒนาการ ด้านอารมณ์ สมอง และความจำ ทำให้ร่างกายมีอาการอ่อนเพลีย หงุดหงิด อารมณ์เสีย ไม่มีสมาธิในการเรียน และขาด ความฉับไวในการคิดคำนวณหรือแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เกิดความผิดพลาดได้ง่ายขึ้น และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจะ ดอ้ ยกว่าเดก็ ท่รี บั ประทานอาหารเช้า (ปิยะกุล สิทธิรตั น์ ณ นครพนม, และอนชุ าติ มาธนะสารวุฒิ, 2559) จากข้อมูลดังกล่าวผู้วิจัยเล็งเห็นถึงปัญหาการขาดความรู้ในการบริโภคอาหารเช้า จึงจัดทำโปรแกรมการให้สุข ศึกษาต่อความรู้และทัศนคติการบริโภคอาหารเช้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยา เพ่อื ส่งเสริมความรูแ้ ละทศั นคตใิ นการบริโภคอาหารเช้า และการให้ความสำคัญกับการบริโภคอาหารเชา้ วตั ถปุ ระสงค์การวิจยั 1. เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความรู้เฉลี่ยก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมการให้สุขศึกษาต่อความรู้และทัศนคติ การบรโิ ภคอาหารเชา้ ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลายโรงเรียนแห่งหนง่ึ จังหวดั พระนครศรีอยุธยา 2. เพ่ือเปรยี บเทยี บคะแนนทัศนคติเฉลี่ยกอ่ นและหลังเข้าร่วมโปรแกรมการให้สุขศึกษาต่อความรู้ และทัศนคติ การบริโภคอาหารเช้า ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลายโรงเรยี นแห่งหน่ึง จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา วิธีดำเนินการวิจัย 1. รูปแบบการวิจยั รูปแบบการศึกษาเป็นวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research design) ชนิดหนึ่งกลุ่ม วัดก่อนและหลัง (One group, pretest – posttest design) เขา้ ร่วมโปรแกรม เพ่ือศกึ ษาโปรแกรมการใหส้ ุขศึกษาตอ่ ความรู้และทัศนคติการ บริโภคอาหารเช้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยนำทฤษฎีความรู้ ทัศนคติ และพฤตกิ รรม (KAP) มาจัดทำเปน็ โปรแกรมการให้สุขศกึ ษาต่อความรู้และทัศนคติการบริโภคอาหารเช้า 2. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2.1 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการศกึ ษาเป็นนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรยี นแห่งหน่ึง จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา จำนวน 585 คน โดยผวู้ จิ ยั ไดก้ ลมุ่ ตวั อย่างเพศชายจำนวน 17 คน และเพศหญงิ จำนวน 23 คน รวมทั้งหมดจำนวน 40 คน โดยการสมุ่ เลอื กอย่างง่าย (Sample Random Sampling) โดยใช้วิธีจับฉลาก พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วถิ ชี วี ติ ใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 95

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 เกณฑใ์ นการคัดเข้า มคี วามสมัครใจและยนิ ยอมให้ความร่วมมอื ในการเขา้ ร่วมโปรแกรมการใหส้ ขุ ศึกษาตอ่ ความรู้และ ทศั นคติการบริโภคอาหารเช้า เกณฑใ์ นการคดั ออก ไม่สามารถเข้ารว่ มกิจกรรมได้ตลอดการจัดโปรแกรมการใหส้ ุขศึกษาต่อความรู้และทัศนคติการบรโิ ภค อาหารเช้า 3. เครือ่ งมือและการตรวจสอบ เครื่องมือทีใ่ ช้ในการศึกษาประกอบไปด้วยเคร่ืองมือ 2 ชุด คือ เครื่องมือท่ีใช้ในการทดลอง และเคร่ืองมือท่ีใช้ ในการรวบรวมขอ้ มูล ดงั นี้ 3.1 เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมการใหส้ ุขศกึ ษาต่อความรู้และทศั นคติการบรโิ ภคอาหารเช้าของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีเกี่ยวกับความรู้ ทัศนคติ และพฤตกิ รรม (Knowledge Attitude Practice - KAP) โดยนำแนวคดิ ทฤษฎดี งั กลา่ วมาใช้ในแนวทางในการจัดกจิ กรรม 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามการศึกษาเรื่องผลของโปรแกรมการให้สขุ ศึกษาตอ่ ความรแู้ ละทศั นคติการบรโิ ภคอาหารเช้าของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายโรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา โดยจำแนกเปน็ 3 สว่ น ได้แก่ ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทัว่ ไป ประกอบดว้ ย เพศ อายุ ระดบั ชน้ั การศกึ ษา นำ้ หนกั สว่ นสงู จำนวน 5 ข้อ ส่วนที่ 2 ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารเช้า โดยเป็น 2 ตัวเลือก คือ ใช่ และ ไม่ใช่ จำนวน 15 ข้อ โดย เกณฑ์การพิจารณาในการใหค้ ะแนนความรู้เร่ืองการบริโภคอาหารเช้า กำหนดเกณฑ์แปลผลความหมายของคะแนนเป็น 3 ระดบั (Bloom, 1975) ไดแ้ ก่ ความรใู้ นระดบั สูง ความรใู้ นระดับปานกลาง และความรใู้ นระดับนอ้ ย ส่วนท่ี 3 ทัศนคตใิ นการบริโภคอาหารเชา้ จำนวน 15 ข้อ มลี ักษณะแบบสอบถามเปน็ มาตราสว่ นประมาณ ค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง เกณฑ์การ พิจารณาในการให้คะแนนทัศนคติในการบริโภคอาหารเช้า กำหนดเกณฑ์แปลผลความหมายของคะแนนเป็น 3 ระดับ (Best, 1977) ไดแ้ ก่ ทศั นคติระดบั ดี ทศั นคติระดบั ปานกลาง และทัศนคติระดบั ไม่ดี การตรวจสอบเครื่องมือได้ใช้เทคนิค IOC (Index of Item – Objective Congruence) ในการตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยผ่านคณะกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิที่มีความรู้และประสบการณ์ จำนวน 3 ท่าน พบว่ามีค่าIOC อยู่ระหว่าง 0.6 – 1.0 โดยทุกข้อมีค่า IOC ที่แนะนำให้ใช้ที่ 0.5 (อารยา องค์เอยี่ ม, และพงศ์ธารา วิจิตเวช ไพศาล, 2561) จากนั้นนำแบบสอบถามไปทดลองกับนักเรียนที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน เพื่อหา ความเชื่อม่ันของแบบสอบถาม (Reliability) แล้วนำมาวเิ คราะหห์ าสมั ประสทิ ธิแ์ อลฟาของครอนบาค (Cronbach's Alpha Coefficient) พบว่ามีค่าเท่ากับ 0.72 ซึ่งเกินค่าประเมินความน่าเชื่อถือที่แนะนำให้ใช้ อยู่ที่ 0.70 (อารยา องค์เอีย่ ม, และ พงศ์ธารา วจิ ติ เวชไพศาล, 2561) 4. การพทิ กั ษ์สทิ ธขิ องกลุ่มตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างครง้ั น้ไี ด้พจิ ารณาเกย่ี วกบั การพิทกั ษ์สทิ ธ์ิของกลุ่มตัวอย่าง โดย ผู้วจิ ยั ชีแ้ จงวัตถุประสงค์ ข้นั ตอนและระยะเวลาของการวจิ ัย พรอ้ มทั้งชแี้ จงใหท้ ราบถงึ สิทธใิ์ นการตอบรับหรือปฏิเสธการ เข้าร่วมในการวิจัยครัง้ นี้ ข้อมูลการศึกษาวิจัยครัง้ นี้ถอื เป็นความลับ การนำเสนอข้อมูลตา่ งๆ จะนำเสนอในภาพรวมไม่มี การเปิดเผยรายชอื่ และกลมุ่ ตวั อย่างที่เข้าร่วมการศึกษาครง้ั น้ีต้องลงนามในใบยินยอมด้วยความสมคั รใจ 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล การดำเนนิ การศกึ ษาครัง้ น้ี แบง่ ข้ันตอนการดำเนนิ งาน ออกเปน็ 3 ขัน้ ตอน ได้แก่ ขัน้ ก่อนการดำเนินการ ขั้นดำเนนิ การ และขน้ั หลงั ดำเนินการ ซง่ึ มรี ายละเอียดดงั นี้ 5.1 ข้นั กอ่ นการดำเนินการ 5.1.1 ติดต่อประสานงานกบั ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นแหง่ หน่ึง จังหวดั พระนครศรอี ยุธยาเพ่ือชีแ้ จงรายละเอียด วิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย การเก็บข้อมูล แนวทางการดำเนินการ ระยะเวลาการดำเนินการ ตลอดจนประโยชนท์ ี่คาดว่า จะได้รับ และขอความร่วมมอื ในการดำเนินการวิจยั 96 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 5.1.2 สรา้ งแบบสอบถามขอ้ มูลท่วั ไป แบบทดสอบความรู้ แบบสอบถามทัศนคติการบริโภคอาหารเชา้ และ ปรับปรุงตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิ 5.2 ขน้ั ดำเนนิ การ 5.2.1 ประเมนิ ผลกอ่ นทดลอง (Pre-test) เกย่ี วกบั ความรู้และทศั นคติการบริโภคอาหารเช้าเปน็ เวลา 10 นาที 5.2.2 กิจกรรมให้ความรู้เรื่องความสำคัญและประโยชน์ของอาหารเช้าโดยการบรรยายประกอบส่ือ PowerPoint และกระต้นุ เตือนความรู้เรอ่ื งอาหารหลกั 5 หมดู่ ้วยโมเดลวงล้อ เปน็ เวลา 1 ช่ัวโมง 5.2.3 กิจกรรมเสรมิ สร้างทัศนคติการบริโภคอาหารเช้า โดยการใช้สื่อจิก๊ ซอว์ปริศนา เปน็ เวลา 1 ช่ัวโมง 5.2.4 กิจกรรมสรปุ สงิ่ ท่ีไดจ้ าการเขา้ ร่วมโปรแกรม 30 นาที 5.2.5 ประเมนิ ผลหลังทดลอง (Post-test) เก่ียวกับความรู้และทศั นคติการบริโภคอาหารเช้าเป็นเวลา 10 นาที 5.3 ข้ันหลงั ดำเนนิ การ ทำการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู หลังเข้ารว่ มกิจกรรมและวเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยโปรแกรมสำเร็จรปู ทางสถิติ 6. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล นำข้อมลู ทีไ่ ด้มาวเิ คราะห์โดยใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปทางสถติ ิ ประกอบการวิเคราะหด์ ังน้ี 6.1 วเิ คราะห์ข้อมลู ทั่วไป เพศ อายุ ระดับช้ัน น้ำหนกั สว่ นสงู ความรู้และทัศนคติในการบรโิ ภคอาหารเชา้ โดยสถิตเิ ชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) ได้แก่ ความถี่ รอ้ ยละ คา่ เฉลยี่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 6.2 การเปรียบเทียบความรู้และทัศนคติการบริโภคอาหารเช้าก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรม โดยสถิติเชิง อนุมาน (Inferential Statistic) ไดแ้ ก่ Paired t-test โดยการกำหนดคา่ ความเชือ่ ม่นั ท่รี ะดบั นัยสำคัญทางสถติ ิรอ้ ยละ 95.0 ผลการวิจยั 1. ข้อมูลทวั่ ไป จากการศกึ ษา พบวา่ กลุ่มตวั อย่างเป็นเพศชาย จำนวน 17 คน (รอ้ ยละ 42.5) เพศหญงิ จำนวน 23 คน (ร้อยละ 57.5) มอี ายุ 15 ปี จำนวน 5 คน (รอ้ ยละ 12.5) อายุ 16 ปี จำนวน 9 คน (ร้อยละ 22.5) อายุ 17 ปี จำนวน 10 คน (รอ้ ยละ 25.0) และอายุ 18 ปี จำนวน 16 คน (ร้อยละ 40.0) อยู่ในระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 14 คน (รอ้ ยละ 35.0) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 10 คน (ร้อยละ 25.0) และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 16 คน (ร้อยละ 40.0) โดยมีน้ำหนกั เฉล่ียมากที่สุดอยู่ในช่วง 40 – 51 กิโลกรัม จำนวน 16 คน (ร้อยละ 40.0) และน้ำหนักเฉลี่ยน้อยที่สุดอยู่ในช่วง 76 – 87 กิโลกรัม จำนวน 2 คน (ร้อยละ 5.0) และมีส่วนสูงเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ในช่วง 160 – 169 เซนติเมตร จำนวน 14 คน (ร้อยละ 35.0) ส่วนสูงเฉลีย่ น้อยท่ีสุดอยูใ่ นช่วง 140 – 149 เซนตเิ มตร และในชว่ ง 180 – 189 เซนตเิ มตร จำนวน 2 คน (รอ้ ยละ 5.0) 2. ความร้กู ารบริโภคอาหารเชา้ ก่อนและหลงั เขา้ รว่ มโปรแกรม ความรู้ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความรู้การบริโภคอาหารเช้าเฉลี่ย 10.70 คะแนน โดยมี คะแนนสูงสุด 13 คะแนน และต่ำสุด 6 คะแนน มีความรู้การบริโภคอาหารเช้าที่ระดับปานกลางมากที่สดุ จำนวน 30 คน (รอ้ ยละ 75.0) รองลงมา คือ ระดับความรู้นอ้ ย จำนวน 7 คน (ร้อยละ 17.5) ระดับความรสู้ งู จำนวน 3 คน (รอ้ ยละ 7.5) และหลงั เขา้ รว่ มโปรแกรมกล่มุ ตัวอย่างมีคะแนนความรเู้ ฉลย่ี 13.88 คะแนน โดยคะแนนสูงสดุ 15 คะแนน และต่ำสุด 11 คะแนน มีความรู้การบริโภคอาหารเช้าที่ระดับความรู้สูง จำนวน 36 คน (ร้อยละ 90.0) รองลงมา คือ ระดับความรู้ปาน กลาง จำนวน 4 คน (ร้อยละ 10.0) ตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 ระดบั ความรกู้ ารบรโิ ภคอาหารเชา้ ก่อนและหลังเขา้ รว่ มโปแกรมของกลุ่มตัวอยา่ ง (n = 40) ระดับความรกู้ ารบริโภคอาหารเช้า กอ่ นเขา้ ร่วมโปรแกรม หลงั เข้าร่วมโปรแกรม จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ ระดบั ความรู้น้อย (0-9 คะแนน) 7 17.5 0 0.0 ระดบั ความรูป้ านกลาง (10-12 คะแนน) 30 75.0 4 10.0 ระดบั ความรสู้ ูง (13-15 คะแนน) 3 7.5 36 90.0 กอ่ นเข้าร่วมโปแกรม คา่ เฉล่ีย = 10.70, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 1.652, คา่ สูงสุด = 13, คา่ ตำ่ สุด = 6 หลงั เขา้ รว่ มโปรแกรม คา่ เฉลี่ย = 13.88, สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน =1.017, ค่าสูงสุด = 15 , ค่าตำ่ สดุ = 11 พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพอ่ื วถิ ีชวี ติ ใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 97

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 3. ทัศนคติการบรโิ ภคอาหารเช้าก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรม ทัศนคติก่อนเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มตัวอยา่ งมีคะแนนทัศนคติการบริโภคอาหารเช้าเฉลี่ย 58.90 คะแนน โดยมี คะแนนสูงสุด 72 คะแนน และต่ำสุด 45 คะแนน ส่วนใหญ่มีคะแนนทัศนคติการบริโภคอาหารเช้าที่ระดับทัศนคติดี 28 คน (ร้อยละ 70.0) รองลงมา คือ ระดับทศั นคติปานกลาง 12 คน (ร้อยละ 30) และหลังเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มตัวอย่างมี คะแนนทัศนคติเฉลี่ย 66.45 คะแนน มีคะแนนสูงสุด 75 คะแนน และต่ำสุด 56 คะแนน มีคะแนนทัศนคติการบริโภค อาหารทรี่ ะดบั ทัศนคตดิ ี 40 คน (ร้อยละ 100.0) ตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 ระดับทัศนคติการบริโภคอาหารเช้าก่อนและหลังเข้าร่วมโปแกรมของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย โรงเรียนแหง่ หนึง่ จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา (n = 40) ระดบั ทศั นคติการบริโภคอาหารเช้า กอ่ นเข้าร่วมโปรแกรม หลังเข้าร่วมโปรแกรม จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ ระดับทัศนคติไม่ดี (1.00 – 2.33 คะแนน) 0 0.0 0 0.0 ระดบั ทัศนคตปิ านกลาง (2.34 – 3.67 คะแนน) 12 30.0 0 0.0 ระดับทัศนคติดี (3.68 – 5.00 คะแนน) 28 70.0 40 100.0 กอ่ นเขา้ รว่ มโปรแกรม ค่าเฉลี่ย = 58.90, ส่วนเบ่ยี เบนมาตรฐาน = 5.601, ค่าสูงสดุ = 72, คา่ ต่ำสุด = 45 หลังเขา้ รว่ มโปรแกรม ค่าเฉล่ยี = 66.45, ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน = 5.023, คา่ สงู สดุ = 75, คา่ ตำ่ สดุ = 56 4. เปรยี บเทียบความรแู้ ละทัศนคติการบริโภคอาหารเช้ากอ่ นและหลังเข้ารว่ มโปรแกรม พบว่าระดบั ความรู้และทัศนคติการบรโิ ภคอาหารเชา้ ทัง้ ก่อนและหลังการเขา้ ร่วมโปรแกรมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < .05) ตารางที่ 3 ตารางที่ 3 เปรยี บเทียบความรแู้ ละทัศนคติการบริโภคอาหารเช้าของกลุ่มตัวอย่า (n = 40) ความรแู้ ละทศั นคติ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบี่ยงเบน t df p-value ความรู้การบริโภคอาหารเช้า มาตรฐาน กอ่ นเข้าร่วมโปรแกรม หลงั เข้าร่วมโปรแกรม 13.964 39 < .001* ทัศนคติการบรโิ ภคอาหารเชา้ ก่อนเขา้ ร่วมโปรแกรม 10.70 1.652 หลังเขา้ รว่ มโปรแกรม *p-value < .05 13.88 1.017 4.088 39 < .001* 58.90 5.601 66.45 5.023 อภิปรายผลการวจิ ยั 1. ความรูก้ ารบรโิ ภคอาหารเชา้ พบว่า หลังการเข้าร่วมโปรแกรมการให้สุขศึกษาต่อความรู้และทัศนคติการบริโภคอาหารเช้าของนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาตอนปลายโรงเรียนแห่งหนึ่ง จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา กลมุ่ ตัวอยา่ งมีคะแนนความรสู้ ูงกวา่ ก่อนเข้ารว่ มโปรแกรม อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติ (p-value < .05) ซง่ึ สอดคล้องกบั งานวิจัยของศักด์ิอนันต์ รัตนสาครชัย (2558) ได้ศึกษาปัจจัยท่ีมี ผลตอ่ พฤตกิ รรมการบริโภคอาหารของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตอำเภอเมืองชุมพร จังหวดั ชมุ พร โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตอำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร จำนวน 321 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล คือ แบบสอบถาม พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารมาก ส่งผลทำให้ความรู้และเจตคติในการ บรโิ ภคอาหารมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารในระดบั เพมิ่ ขึ้น อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิติ (p-value < .05) 98 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติ คร้ังท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 2. ทัศนคตกิ ารบรโิ ภคอาหารเช้า พบว่า หลังการเข้าร่วมโปรแกรมการให้สุขศึกษาต่อความรู้และทัศนคติการบริโภคอาหารเช้าของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนทัศนคติสูงกว่าก่อนเข้าร่วม โปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) อธิบายได้ว่าการจัดโปรแกรมการให้สุขศึกษาต่อความรู้และทัศนคติ การบริโภคอาหารเช้า ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในกิจกรรม เสริมสร้างทัศนคติในเชิงบวก โดยใช้เกมส์จิ๊กซอว์ปริศนาเป็นสื่อในการสอน โดยการให้กลุ่มตัวอย่างเล่นเกมส์และบอกว่า อาหารชนิดใดเปน็ อาหารเช้าที่ถูกตอ้ งและครบถ้วนตามหลกั อาหาร 5 หมู่ พบว่า เมอื่ ผู้เข้ารว่ มโปรแกรมได้รับความรู้จากการ เล่นเกมสจ์ ๊ิกซอว์ปริศนาจะทำให้เกิดความรูเ้ พ่ิมขน้ึ และมีผลทำให้เกดิ ทัศนคติทดี่ ีข้ึน สอดคล้องกบั งานวิจัยของ ณัฐธยาน์ ชา บัวคำ (2562) ได้ทำการศึกษาเรื่อง ความรู้ทางโภชนาการ ทัศนคติต่ออาหาร พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และภาวะ โภชนาการของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ โดยกลุ่มตัวอย่างเป็น นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1-4 ทั้งหมด 350 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และการประเมินภาวะ โภชนาการ พบว่าคะแนนความรู้ทางโภชนาการกับทัศนคติต่ออาหาร และพฤติกรรมการับประทานอาหารมีความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) จึงอธิบายได้ว่า การที่บุคคลมีทัศนคติต่อสิ่งใดหนึ่งจะเป็นอย่างไรขึ้นอยู่กับ ความรู้ หมายความวา่ ถ้ามีความรู้ดจี ะทำใหท้ ัศนคติต่อสิ่งน้ันกจ็ ะดดี ว้ ย (Zimbardo, 1997) ขอ้ เสนอแนะ ควรมีการวจิ ยั ตดิ ตามผลของโปรแกรมการให้สขุ ศึกษาต่อความรแู้ ละทัศนคติการบรโิ ภคอาหารเช้าของนักเรียน ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลายตอ่ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารเช้า เอกสารอา้ งองิ จิตแข เทพชาตร.ี (2559). ไขข้อสงสยั ! ทำไมต้องกินอาหารเช้า กนิ แล้วได้อะไร ไม่กินไดห้ รอื ไม่?. ค้นเมอ่ื 12 พฤศจิกายน 2562 จาก https://health.mthai.com/howto/healthcare/.html?utm. ณัฐธยาน์ ชาบวั คำ. (2562). ความร้ทู างโภชนาการ ทศั นคตติ อ่ อาหาร พฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหาร และภาวะโภชนาการ ของนักศกึ ษาพยาบาลศาสตรบณั ฑิต วทิ ยาลยั บรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค.์ ราชาวดีสาร วทิ ยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี สุรินทร์, 9 (1), 18-29. ประไพศรี ศริ ิจักรวาล. (2558). ชีค้ ุณประโยชนท์ านอาหารมือ้ เชา้ สำคัญต่อพฒั นาการของเด็กวัยเรียน. วารสารสาธารณสุข ศาสตร,์ 4 (2), 247-261. ปิยะกลุ สทิ ธริ ตั น์ ณ นครพนม, และอนชุ าติ มาธนะสารวุฒ.ิ (2559). ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการบรโิ ภคอาหารเช้า และความ เหนื่อยลา้ ในนักศึกษาแพทย์ คณะแพทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารสาธารณสขุ ลา้ นนา, 12 (2), 1-9. สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). การสำรวจพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารของประชากร พ.ศ. 2560. คน้ เม่ือ 3 ตุลาคม 2562 จาก http://www.nso.go.th. ศวิตา ศรีสวัสด์ิ, และสวุ ลี โล่วิรกรณ์. (2562). การรับรแู้ ละการบรโิ ภคอาหารเช้าของนกั ศึกษาช้ันปีท่ี 1 ระดบั ปรญิ ญาตรี กล่มุ วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารวจิ ัยสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น, 12 (4), 88-96 ศกั ด์ิอนนั ต์ รัตนสาครชัย. (2558). ปจั จยั ทีม่ ผี ลตอ่ พฤตกิ รรมการบริโภคอาหารของนกั เรยี นช้นั มธั ยม ศึกษาปที ่ี 3 ในเขต อำเภอชมุ พร จังหวดั ชมุ พร. วารสารอาหารและยา, 22 (1), 61-72. อรณุ ศรี ฉ่วั ภกั ดแี ละคณะ. (2559). กนิ อยา่ งไรเม่ือเป็นเบาหวาน. คน้ เม่อื 10 กนั ยายน 2562 จาก https://www.bangkokhospital.com/th/health-tips/eat-when-diabetes. อารยา องคเ์ อีย่ ม และพงศ์ธารา วิจิตเวชไพศาล. (2561). การตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมือวจิ ยั . วารสารวิสัญญสี าร, 44 (1), 36-42. Best, J.W. (1997). Research in education. 3 rd ed. Prentice-Hall. Bloom, Benjamin S. (1975) Taxonomy of education objective, Handbook I:Cognitive Domain. Newyork : David Mc.Key. WatanabeY, SaitoI, Henmi I, YoshimuraK, MaruyamaK, YamauchiK, et al.(2014). Skipping Breakfast is Correlated with Obesity. Journal of rural medicine : JRM / Japanese Association of Rural Medicine. 9 (2), 51-58. Zimbardo, P.G. (1997). Influencing attitude and behavior, (2nd ed.). California: Addison Wesley Publishing. พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพอ่ื วิถีชวี ติ ใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 99

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ประสิทธิผลของโปรแกรมสรา้ งเสรมิ ทักษะการปฏิเสธและป้องกนั นกั สบู หน้าใหม่ ในนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา EFFECTSOF NEW SMOKERS PREVENTION PROGRAM ON SECONDARY SCHOOL STUDENTS AT A SCHOOL, PHRA NAKHON SRI AYUTTHAYA PROVINCE สุกฤษฏิ์ ใจจำนงค1์ * ดวงกมล จนั ทรฤ์ กษ1์ สุทธดิ าแก้วมุงคุณ1 รุง่ นภา โสภา2 ชนิภา ผัดกระโทก2 ปรียา กสั โก2 1อาจารย์คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 2นกั ศกึ ษาคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ *E-mail: [email protected] (corresponding author) บทคดั ยอ่ การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศกึ ษาระดับความรู้ และทักษะการปฏเิ สธต่อการถูกชักชวนให้สูบบุหร่ีใน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 39 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการป้องกันนักสูบบุหรี่หน้าใหม่ แบบสอบถาม และแบบประเมินทักษะการปฏิเสธต่อการถูกชักชวนให้สูบบุหร่ี นำมา คำนวณและวิเคราะหข์ อ้ มูลโดยใช้ คา่ ความถ่ี ค่าเฉลีย่ ร้อยละ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และสถติ ิ Paired sample t-test ผลการวิจยั พบว่า มีบุคคลในครอบครัวสูบบุหรี่ ร้อยละ 41.2 บุคคลใกล้ชดิ ไม่สูบบุหรี่ ร้อยละ 21.6 ระดับความรู้ เกย่ี วกบั บุหรี่กอ่ นเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 53.8 หลังจากเข้าร่วมโปรแกรมมรี ะดบั ความรู้เพ่ิมขึ้นอยู่ใน ระดับสูงคิดเป็น ร้อยละ 100 ส่วนด้านทักษะการปฏิเสธต่อการถูกชักชวนให้สูบบุหร่ี ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 84.6 หลังจากเข้าร่วมโปรแกรมมีระดับทักษะการปฏิเสธอยู่ในระดับสูงคดิ เป็น ร้อยละ 100.0 เมื่อเปรียบเทียบความ แตกต่างด้วยสถิติ Paired sample t-test พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้เกี่ยวกับบุหรี่ ก่อนและหลังการให้ โปรแกรมแตกตา่ งกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < .05) และทักษะการปฏเิ สธตอ่ การถูกชักชวนให้สูบบุหรี่ ทั้งก่อน และหลังการเขา้ ร่วมโปรแกรมมคี า่ เฉลย่ี คะแนนแตกต่างกนั อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิ (p-value < .05) คำสำคญั : โปรแกรมปอ้ งกันการสบู บหุ รี่ ทกั ษะการปฏิเสธ นกั สูบหนา้ ใหม่ Abstract This quasi-experimental research was to study the knowledge and skills for refusing to be persuaded to smoke in lower secondary school students 39 samples in Phra Nakhon Sri Ayutthaya. Instruments were using cigarette prevention program and questionnaires as a tool for data collection. Statistical analysis was performed by using. Descriptive statistics and inferential statistical frequency Distribution, Mean, Percentage, Standard Deviation and Paired sample t-test. The result found that the sample group were men (100.0%), most of the respondents are close to smokers in family members (41.2%). The level of knowledge about cigarettes before joining the program was at a medium level (53.8%). And after participation the program, there was a high level of knowledge about cigarettes (100.0%). Regarding the rejection skills for being persuaded to smoke before joining the program, a low lever (84.6%) and after participation in the program had a high level of rejection skills for persuading tobacco user (100.0%). Knowledge about cigarettes before and after the program is different statistically significant (p-value < .05). Keywords: Cigarette prevention program, Skills for refusing, New smokers 100 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครั้งที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 บทนำ การสูบบุหรี่ในเยาวชนเป็นปัญหาที่สำคัญของการสาธารณสุขไทย เนื่องจากบุหรี่มักเป็นยาเสพติดชนิดแรกที่ เยาวชนเสพตดิ และเปน็ สอ่ื นำไปสสู่ งิ่ เสพตดิ อืน่ ที่ร้ายแรงกวา่ การเรมิ่ สบู บหุ รเี่ มื่ออายยุ งั นอ้ ยทำให้เยาวชนกลายเป็นผใู้ หญ่ท่ี ติดบหุ รส่ี งู และเลิกบุหร่ียาก ตลอดจนมโี อกาสเกดิ การเจ็บปว่ ยไดม้ ากกว่าคนทีเ่ รมิ่ สูบในวัยผู้ใหญ่ (สุนดิ า ปรีชาวงษ์, 2557) จากผลลพั ธท์ างสขุ ภาพท่มี สี าเหตมุ าจากการสูบบุหรี่สง่ ผลใหน้ ักสบู มีภาระคา่ รักษาพยาบาลสูงกว่ามลู ค่าภาษีสรรพสามิตท่ี รัฐบาลไทยจัดเก็บ ทั้งยังก่อให้เกิดปัญหาต่อส่ิงแวดล้อมทั้งคณุ ภาพของน้ำ ดิน การทำลายป่าไม้ และอากาศ อีกทั้งยังเป็น อุปสรรคสำคัญต่อการกำจัดความยากจน คุณภาพชีวิต การศึกษา ความปลอดภัย และความเหลื่อมล้ำในสังคม (ศูนย์วิจัย และจัดการความรู้เพื่อการควบคมุ การยาสูบ, 2560) สถิติและปัญหาจากการสูบบุหรี่ประเทศไทยระบุว่า การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร จากรายงานของมูลนิธิรณรงคเ์ พื่อการไมส่ บู บุหร่ี (2562) พบคนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ 51,651 คน เฉลี่ยวันละ 141 คน โดยผู้ที่เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่มีอายุสั้นลง 12 ปี และป่วยหนักโดยเฉลี่ย 2.5 ปีก่อนตายขณะที่การสูบบุหรี่เปน็ สาเหตุของโรคร้ายแรงหลายโรค เช่น โรคหัวใจ 12.2 ล้านคน โรคเส้นเลือดสมอง 10.2 ล้านคน และการสำรวจในเด็ก นักเรียนอายุ 13-15 ปี พบว่า มีการใช้ยาสูบ ร้อยละ 14.0 บุหรี่ไฟฟ้า ร้อยละ 3.3 โดยเกือบ 1 ใน 4 ของนักเรียนอายุ 13- 15 ปี ไม่เคยได้รับการสอนเกี่ยวกับอันตรายของการสูบบุหรี่ต่อสุขภาพ รวมถึงข้อมูลพฤติกรรมการสูบบุหรี่ พบว่า กลุ่ม เยาวชนเร่มิ มกี ารสบู บหุ ร่ีในอายุน้อยลง โดยในปี 2550 เยาวชนเรม่ิ สบู บุหร่อี ายุ 17 ปี ในปี 2554 เรม่ิ สูบบหุ รท่ี ่ีอายุ 16.2 ปี และในปี 2558 พบว่าเยาวชนอายุ 15 ปีขึ้นไปเริ่มสูบบุหร่ี จะเห็นได้ว่าข้อมูลการสูบบุหรี่ในกลุ่มเยาวชนที่เปน็ นักสูบหน้า ใหม่มอี ายุลดลง (มลู นิธิรณรงค์เพอื่ การไมส่ บู บุหรี่, 2562) ประกอบกับขอ้ มลู ของศูนยว์ จิ ัยและจัดการความร้เู พอ่ื การควบคมุ การยาสูบ (2560) รายงานว่า มีเยาวชนถึง 200,000 คน เป็นนักสูบหน้าใหม่ หรือมอี ัตราเฉลี่ยเพ่ิมขึ้นวันละ 547 คน และ ยังพบว่าเยาวชนไทยทต่ี ิดบหุ ร่ีมีพฤติกรรมเสี่ยงอีกหลายประการท่ีเพิม่ ข้นึ กวา่ เยาวชนท่ีไม่สูบบุหรี่ เช่น ดม่ื สรุ า 3.5 เท่า ใช้ ยาเสพตดิ 17.0 เทา่ บหุ รี่จงึ เป็นภยั คุกคามตอ่ กลุ่มเยาวชน ทัง้ นี้ อัตราการสูบบุหรี่ในระดับระดับมัธยมต้น คือ รอ้ ยละ 21.5 จากข้อมูลที่กลา่ วมาขา้ งต้น ทำใหท้ ราบถงึ สถานการณก์ ารสบู บหุ ร่ีในประเทศไทยทีเ่ พมิ่ มากข้ึนตลอดจนแนวโน้ม ของสถานการณ์การสูบบุหรี่และการเกิดขึ้นของนักสบู หน้าใหม่ในกลุม่ เยาวชนอายุ 13-15 ปี ด้ังนัน้ ผวู้ ิจัยจงึ มีความสนใจที่ จะพัฒนาแนวทางในการเสริมสร้างทักษะการปฏิเสธและป้องกันนักสูบหน้าใหม่ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ใน โรงเรียนแห่งหนึง่ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา โดยการศกึ ษาผลของโปรแกรมสร้างเสรมิ ทกั ษะการปฏิเสธและป้องกันนักสูบ หน้าใหม่ในนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนแหง่ หนึง่ จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา เพ่อื ให้กลุ่มนักเรยี นอายุ 13 ขึ้นไป มคี วามรู้เก่ยี วกับบหุ ร่ี และทกั ษะในการปฏิเสธตอ่ การถกู ชักชวนใหส้ ูบบหุ ร่ี วัตถุประสงค์การวจิ ยั 1. เพ่ือเปรยี บเทยี บผลของความรทู้ ่ัวไปเก่ียวกบั บุหร่ี ก่อนและหลังการเขา้ รว่ มโปรแกรม 2. เพื่อเปรียบเทียบทกั ษะการปฏเิ สธต่อการถกู ชกั ชวนให้สบู บุหรี่ กอ่ นและหลงั การเข้าร่วมโปรแกรม ระเบยี บวิธีวจิ ยั การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) แบบกลุ่มเดียวชนิดก่อนและหลังการทดลอง (Pretest Posttest One Groups Design) ในนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนต้น โรงเรียนแห่งหนง่ึ ในจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ประชากรในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ คอื นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ อายุ 13-14 ปี โรงเรยี นแห่งหนึ่ง ในจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา ที่กำลังศึกษาอยูใ่ นภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 จำนวน 191 คน การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง เป็นการกำหนดแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนดไว ้ (Purposive Sampling) จำนวน 39 คน ซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นเพศชาย เป็นกลุ่มทดลอง (Experimental Group) โดยกำหนดเกณฑ์การคัดเลือกกล่มุ ตวั อย่าง คอื 1) เปน็ นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ เพศชาย 2) อายุ 13 ปี ขึ้นไป 3) ยินยอมและให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมโปรแกรมตลอดการวจิ ยั พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่อื วิถชี วี ติ ใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 101

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 เคร่ืองมอื และการตรวจสอบเคร่ืองมอื เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในงานวิจัยน้ี แบ่งเป็น 2 ส่วน ไดแ้ ก่ เครือ่ งมอื สำหรบั เกบ็ รวบรวมข้อมูล และเครื่องมอื ที่ใช้ในการ ทดลอง รายละเอียดดังนี้ 1) เครอ่ื งมือสำหรับเก็บรวบรวมข้อมลู ประกอบดว้ ย 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลคุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ อายุ ผลการเรียน รายได้ที่ได้รับต่อเดือน ผู้ดูแลช่วยเหลือ และพักอาศัยในปจั จบุ ัน และสถานภาพการสมรสของบดิ ามารดา จำนวน 5 ขอ้ ส่วนที่ 2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกบั บุหรี่ จำนวน 15 ข้อ เกณฑ์การวัดความรู้แบ่งเป็น 2 ระดับ และมีเกณฑ์การให้ คะแนน คอื คำถามทเ่ี ป็นข้อเชิงบวก (Positive) ใช่ ให้ 1 คะแนน ไม่ใช่ ให้ 0 คะแนน ในสว่ นของคำถามที่เป็นข้อเชิงลบ (Negative) ใช่ ให้ 0 คะแนน ไม่ใช่ ให้ 1 คะแนน รวมคะแนนทั้งสิ้น 15 คะแนน การแปลผลแบ่งระดับความรู้โดยใช้ เกณฑก์ ารประเมินแบบอิงเกณฑ์ของ Bloom (1971) คอื รอ้ ยละ คะแนน ความร้ทู ั่วไปเกี่ยวกับบุหรี่ นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 นอ้ ยกว่า 9 คะแนน ระดบั ตำ่ ร้อยละ 60 – 79 ระหว่าง 10 - 12 คะแนน ระดบั ปานกลาง ร้อยละ 80 – 100 13 คะแนนขึน้ ไป ระดับสูง ส่วนท่ี 3 ทกั ษะการปฏิเสธตอ่ การถูกชักชวนให้สบู บุหรี่ จำนวน 7 ข้อ เปน็ แบบประเมนิ ท่ีผวู้ ิจยั เป็นผู้ให้คะแนน การปฏิบตั ขิ องกล่มุ ตัวอย่าง หากกลมุ่ ตวั อยา่ งสามารถปฏิบตั ิได้ ให้ 1 คะแนน และปฏิบตั ิไม่ได้ ให้ 0 คะแนน รวมคำแนน ทงั้ หมด 7 คะแนน การแปลผลคะแนนโดยพจิ ารณาตามเกณฑ์ของ Bloom (1971) คือ ร้อยละ คะแนน ทักษะการปฏิเสธต่อการถกู ชักชวนให้สูบบหุ ร่ี น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 น้อยกวา่ 4 คะแนน ระดับต่ำ รอ้ ยละ 60 – 79 ระหว่าง 5 - 6 คะแนน ระดับปานกลาง ร้อยละ 80 – 100 7 คะแนนขน้ึ ไป ระดับสงู การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ 1) การตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาของเครื่องมือทีใ่ ช้ในการวิจัย ผู้วิจัยนำแบบสอบถามเกี่ยวกับลักษณะ ส่วนบุคคล ความร้ทู วั่ ไปเกี่ยวกับบหุ ร่ี และทกั ษะการปฏเิ สธต่อการถกู ชกั ชวนใหส้ บู บุหร่ี ใหผ้ ู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน พิจารณา ตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหา ความเหมาะสมของภาษาที่ใช้ ความชัดเจนของข้อความ ความครอบคลุมของเนื้อหา นำมาคำนวณผลการวเิ คราะห์คา่ ดัชนคี วามตรงตามเนื้อหา เทา่ กับ 0.67 – 1.00 โดยทุกข้อมคี า่ Index of Consistency (IOC) > .5 และนำขอ้ เสนอแนะมาปรับปรงุ แกไ้ ขให้ถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ 2) การตรวจสอบความเช่ือม่ันของเครอื่ งมือท่ใี ช้ในการวิจัย ผวู้ ิจยั นำเคร่อื งมือไปทดลองใชก้ ับกล่มุ ตวั อย่างที่มี ลักษณะใกล้เคียงกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน หลังจากนั้นนำมาคำนวณหาความเที่ยงของเครือ่ งมือ โดยค่าสัมประสิทธ์ิ แอลฟ่าครอนบาค ผลการทดสอบคุณภาพเครือ่ งมอื ซึ่งมคี า่ เท่ากบั 0.85 2) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ โปรแกรมสร้างเสริมทักษะการปฏิเสธและป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ผู้วิจัย ประยุกต์จากแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม (Knowledge, Attitude and Practice; KAP) โดย นำแนวคดิ ทฤษฎดี งั กล่าวมาประยกุ ตใ์ ช้เปน็ แนวทางในการจัดกิจกรรม ประกอบดว้ ย ส่วนที่ 1 กจิ กรรมความรทู้ ่ัวไปเกย่ี วกับบหุ รี่ ไดแ้ ก่ การใหค้ วามรู้เกย่ี วกับสารพษิ ในบหุ รี่ พระราชบญั ญัติควบคมุ ผลติ ภณั ฑ์ยาสบู และวธิ กี ารเลิกบุหร่ี โดยการบรรยายประกอบสื่อ PowerPoint ส่ือวิดโี อท่จี ัดทำโดยศนู ย์วจิ ัยและจัดการ ความรูเ้ พื่อการควบคมุ ยาสูบเก่ียวกับโทษของการสบู บุหร่ี และกิจกรรมเกมสต์ อบคำถามเกีย่ วกับการรับรู้สารพิษในบหุ ร่ี 1 ชวั่ โมง 30 นาที ระยะเวลา 4 สปั ดาห์ จำนวน 4 คร้ัง ส่วนที่ 2 กิจกรรมฝึกทักษะการปฏิเสธต่อการถูกชักชวนให้สบู บุหรี่ ได้แก่ การบรรรยายจากบุคคลต้นแบบท่ใี ห้ คำแนะนำการปฏเิ สธตอ่ การถูกชกั ชวน ระยะเวลา 1 ช่วั โมง และการฝกึ ปฏบิ ัติการปฏเิ สธต่อการถูกชกั ชวน 1 ชว่ั โมง 102 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ขัน้ ตอนการวิจัยและวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลการศึกษาครั้งนี้ดำเนินการตามลำดับ โดยทำหนังสือขออนุญาตเก็บข้อมูลจาก มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์เพอ่ื ทำการเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยชีแ้ จงวตั ถปุ ระสงคร์ ายละเอียด การศึกษาตลอดจนประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั ดำเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยการแจกแบบสอบถามใหก้ บั ผ้เู ข้ารว่ มโปรแกรมสรา้ งเสรมิ ทักษะการปฏเิ สธและ ป้องกันนักสูบหน้าใหม่ คือ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นชัน้ ปีที่ 2 โรงเรียนแห่งหนึ่งจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และทำ การเก็บรวบรวมข้อมลู จากแบบสอบถามและลงข้อมลู ทไ่ี ด้ในโปรแกรมสำเร็จรปู การพทิ กั ษ์สทิ ธกิ ล่มุ ตัวอย่าง ผ้วู ิจัยชีแ้ จงรายละเอยี ดกับกลมุ่ ตวั อยา่ งก่อนตัดสินใจเข้าร่วมการวจิ ัย หากกล่มุ ตวั อย่างสมัครใจเข้าร่วมการวิจัย จะต้องลงลายมอื ชือ่ เพ่อื แสดงความยนิ ยอมในการเข้าร่วมการวจิ ยั ท้ังน้ี กลุ่มตัวอยา่ งสามารถถอนตวั ได้ทุกเม่ือรู้สึกอึดอัด วิตกกังวล หรือไมส่ บายใจ ในส่วนของการรกั ษาความลับของกลุ่มตวั อย่าง ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์จากแบบสอบถาม และแบบประเมินผูว้ จิ ยั จะนำเสนอในภาพรวมโดยไมร่ ะบุตัวตนของกล่มุ ตัวอย่าง การวเิ คราะห์ข้อมูลและสถติ ิทีใ่ ช้ 1) ลักษณะส่วนบุคคล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบุหรี่ ทักษะการปฏิเสธต่อการถูกชักชวนให้สูบบุหร่ี ใช้สถิติเชิง พรรณนา ไดแ้ ก่ การแจกแจงความถ่ี รอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 2) เปรียบเทียบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบุหรี่ ทักษะการปฏิเสธต่อการถูกชักชวนให้สูบบุหร่ี ก่อนและหลังการให้ โปรแกรมโดยการทดสอบความแตกตา่ งของคา่ เฉลยี่ ด้วยสถิติ Paired sample t-test ทีร่ ะดบั นัยสำคญั ทางสถติ ิ .05 ผลการวิจยั ลักษณะส่วนบุคคล กลุ่มตัวอยา่ งอายุเฉลี่ย 13.6 ปี มีผลการเรียนเฉลี่ยอยู่ในช่วง 2.50 – 2.99 (พอใช้) จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 25.6 และผลการเรยี นในช่วง 2.00 – 2.49 (ปานกลาง) จำนวน 9 คน คิดเปน็ ร้อยละ 23.1 มีรายได้ที่ได้รับต่อเดือนอยู่ระหวา่ ง 1,001 – 2,000 บาท จำนวน 21 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 53.8 และพักอาศยั อยกู่ ับบิดามารดา จำนวน 26 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.7 (ตารางที่ 1) ตารางท่ี 1 จำนวนและร้อยละกลมุ่ ตัวอยา่ งจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล (n = 39) ลักษณะส่วนบุคคล กลุม่ ตวั อยา่ ง อายุ (ปี) ค่าอายเุ ฉลย่ี (x̅ ) จำนวน (คน) ร้อยละ ผลการเรยี นเฉลี่ย 13.6 ปี 4.00 (ดเี ย่ียม) 3.50 – 3.99 (ดมี าก) 0 0.0 3.00 – 3.49 (ดี) 9 23.1 2.50 – 2.99 (พอใช้) 7 17.9 2.00 – 2.49 (ปานกลาง) 10 25.6 1.50 – 1.99 (ออ่ น) 9 23.1 1.00 – 1.49 (อ่อนมาก) 2 5.1 ตำ่ กว่า 1.00 (ตก) 2 5.1 รายได้ท่ีไดร้ ับตอ่ เดือน (บาท) 0 0.0 น้อยกว่า 1,000 1,001 – 2,000 5 12.9 2,001 – 3,000 21 53.8 13 33.3 พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพอื่ วถิ ีชวี ติ ใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 103

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ตารางท่ี 1 จำนวนและร้อยละกลมุ่ ตัวอย่างจำแนกตามลกั ษณะสว่ นบคุ คล (n = 39) (ต่อ) ลกั ษณะส่วนบุคคล กลุ่มตวั อย่าง จำนวน (คน) ร้อยละ ผูด้ ูแลช่วยเหลือและพักอาศัยในปัจจบุ นั บดิ า 2 5.1 มารดา 6 15.4 บดิ า - มารดา 26 66.7 ปู่ยา่ หรือ ตายาย 4 10.3 พ่ชี าย 1 2.6 สถานภาพการสมรสของบดิ ามารดา อยู่ดว้ ยกนั 26 66.7 แยกกนั อยู่ 5 12.8 หยา่ รา้ ง 7 17.9 ไม่ทราบสถานภาพสมรสของบดิ ามารดา 1 2.6 ความรูท้ ัว่ ไปเก่ียวกบั บหุ รี่ ผลการวิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบุหรี่ ภายหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉล่ีย ความรูท้ ่ัวไปเกี่ยวกบั บหุ รแี่ ตกตา่ งกนั อยางมีนยั สำคัญทางสถติ ิ (p = < .001) โดยมีค่าเฉล่ยี กอ่ นและหลงั การทดลองเท่ากับ 11.69 และ 14.90 ตามลำดบั (ตารางที่ 2) ตารางท่ี 2 เปรยี บเทียบคะแนนเฉลี่ยความรทู้ ว่ั ไปเกย่ี วกบั บุหร่ี กอ่ นและหลงั การทดลอง ความรูท้ ัว่ ไปเก่ียวกบั บหุ ร่ี n x̅ SD t d p กอ่ นการทดลอง 39 11.69 1.58 11.75 38 0.001* หลงั การทดลอง 39 14.90 0.39 * มนี ัยสำคญั ทางสถติ ิ (p < .05) ทกั ษะการปฏิเสธต่อการถกู ชกั ชวนให้สูบบุหรี่ ผลการวิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยของทักษะการปฏิเสธต่อการถูกชักชวนให้สูบบุหร่ี ภายหลังการทดลอง พบว่า กลุ่ม ทดลองมีคะแนนเฉลี่ยของทักษะการปฏิเสธต่อการถูกชักชวนให้สูบบุหรี่ แตกต่างกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = <0.001) โดยมคี ่าเฉล่ยี กอ่ นและหลงั การทดลองเท่ากับ 3.59 และ 7.00 ตามลำดับ (ตารางที่ 3) ตารางท่ี 3 เปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ยี ของทกั ษะการปฏเิ สธตอ่ การถกู ชักชวนให้สบู บหุ รี่ ก่อนและหลังการทดลอง ทักษะการปฏเิ สธ n x̅ SD t d p ตอ่ การถูกชกั ชวนใหส้ บู บหุ รี่ กอ่ นการทดลอง 39 3.59 1.04 20.40 38 0.001* หลงั การทดลอง 39 7.00 0.00 * มีนัยสำคญั ทางสถติ ิ (p < .05) อภปิ รายผล ความรทู้ ว่ั ไปเกีย่ วกบั บหุ ร่ี กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบุหรี่ ก่อนและหลังการทดลอง เท่ากับ 11.69 คะแนน และ 14.90 คะแนน ตามลำดับ โดยมีระดับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบหุ รี่ระดับสงู จำนวน 13 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.3 รองลงมา คือ 104 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วชิ าการระดับชาติ ครั้งท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ระดับปานกลาง จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 53.8 และระดับต่ำ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 2.8 และหลังเข้าร่วมมี ระดับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบุหร่ีระดับสูง จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 100.0 ซึ่งสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม และ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = < .001) เนื่องจากเป็นผลมาจากการจัดโปรแกรมสร้างเสริมทักษะการปฏิเสธ และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ที่ประกอบด้วยกิจกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบุหรี่ ได้แก่ การให้ความรู้เกี่ยวกับสารพิษในบุหร่ี พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ และวิธีการเลิกบุหรี่ โดยการบรรยายประกอบสื่อ PowerPoint สื่อวิดีโอที่จัดทำ โดยศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสบู เก่ียวกับโทษของการสูบบุหร่ี และกิจกรรมเกมส์ตอบคำถามเก่ียวกบั การรับรู้สารพิษในบุหรี่ ตลอดจน ที่สร้างเสริมความรู้ของกลุ่มตัวอย่างมีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการปฏิเสธ ส่งผลให้ กลุม่ ตวั อยา่ งมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับบหุ ร่ี โดยการศึกษาคร้งั นสี้ อดคล้องกบั ผลการศึกษาของธีรพล หลอ่ ประดิษฐ์ และ ณรงค์ศักด์ิ หนูสอน (2559) ศึกษาผลของโปรแกรมการป้องกันการสูบบุหรี่ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนขยาย โอกาส อำเภอคีรีมาศ จงั หวัดสุโขทัย พบวา่ กล่มุ ตัวอย่างมกี ารเปล่ยี นแปลงด้านความรู้เรอื่ งบุหรี่ ความเช่อื ในผลของการสบู บุหรี่ต่อสุขภาพ การรับรู้โอกาสเสี่ยงจากการสูบบุหรี่ การรับรู้ความรุนแรงจากการสูบบุหรี่ การรับรู้ประโยชน์อุปสรรคของ การหลกี เล่ยี งไม่สูบบุหรี่ และแรงจงู ใจท่ีไดร้ ับจากการไม่สูบบุหรี่ สูงกว่ากอ่ นทดลองแตกต่างกนั อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ (p = < .001) สอดคลอ้ งกับผลการศกึ ษาของพลากร สืบสำราญ และคณะ (2560) ศึกษาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความรู้ ทัศนคติ ต่ออนั ตรายของการสูบบุหร่ีกับการสูบบุหร่ีของนักเรยี นชั้นมธั ยมปลาย: กรณีศึกษาอำเภอค้อวัง จงั หวดั ยโสธร พบว่า กลุ่ม ตัวอยา่ งมีความรู้เก่ียวกับบหุ รี่ อนั ตรายของบุหร่ี สูงกว่ากอ่ นทดลองอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ (p = < .001) ทกั ษะการปฏิเสธต่อการถูกชกั ชวนใหส้ ูบบหุ รี่ กล่มุ ตัวอย่างมีทกั ษะในการปฏิเสธต่อการถูกชักชวนให้สบู บุหรี่ กอ่ นและหลงั การทดลอง เท่ากบั 3.59 คะแนน และ 7.00 คะแนน ตามลำดบั โดยกอ่ นการทดลอง มีทกั ษะการปฏิเสธต่อการถกู ชกั ชวนให้สบู บุหรี่ระดับสงู จำนวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.1 รองลงมา คือ ระดับปานกลาง จำนวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.33 และระดับตำ่ จำนวน 33 คน คิด เป็นร้อยละ 84.6 หลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างมรี ะดับทักษะในการปฏิเสธต่อการถูกชักชวนให้สูบบุหร่ีระดับสูง จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 100.0 ซึ่งสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = < .001) เนื่องมาจากกิจกรรมฝึกทักษะการปฏิเสธต่อการถูกชักชวนให้สูบบุหรี่ ได้แก่ การบรรรยายจากบุคคลต้นแบบที่ให้ คำแนะนำการปฏิเสธต่อการถกู ชักชวน ระยะเวลา 1 ช่วั โมง และการฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารปฏเิ สธตอ่ การถกู ชกั ชวนน้ัน ช่วยสร้าง เสรมิ ใหก้ ลุ่มตัวอยา่ งไดฝ้ กึ ฝนปฏิบตั กิ ารปฏิเสธต่อการถูกชกั ชวนใหส้ ูบบหุ ร่ีในสถานการณ์จำลองท่ีมีความเส่ียงต่อการถูก ชักชวนให้สูบบุหรี่ ทำให้กลุ่มตัวอย่างเห็นภาพและเข้าใจ ตลอดจนการใช้ความรู้ที่ได้รับจากการบรรรยายจากบุคคล ต้นแบบในการปฏเิ สธปอ้ งกนั ตนเองจากสถานการณท์ ม่ี ีความเสย่ี งตอ่ การถกู ชกั ชวนให้สบู บหุ ร่ี การศึกษาครงั้ น้ีสอดคล้อง กับผลการศึกษาของสุภาภรณ์ ปวนสุรินทร์ และคณะ (2556) ศึกษาโปรแกรมการป้องกันการสูบบุหร่ี ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับบุหร่ี และทักษะการปฏิเสธการสูบบุหร่ีในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นเช่นเดียวกัน พบว่า โปรแกรมการป้องกันการสูบบุหรี่ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ถูกพัฒนาขึ้นตามแนวคิด PRECEDE-PROCEED model ที่ใช้ตัวแปรที่คล้ายคลึงกับงานวิจัยนี้ คือ การสร้างเสริมความรู้และทักษะการปฏิเสธ โดยการดำเนินการวิจัย แบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะท่ี 1 การประเมินและวเิ คราะห์ปัญหาเกี่ยวกับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษา ตอนต้น และระยะที่ 2 การปฏิบัติและการประเมินผลโดยโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 6 กิจกรรม คือ 1) การ อบรมเรื่องการป้องกันการสูบบุหรี่ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น 2) การจัดตั้งชมรมเพื่อรณรงค์ป้องกันการสูบบุหรี่ใน นกั เรียนมัธยมศึกษาตอนตน้ 3) การจดั นทิ รรศการให้ความรูใ้ นหอ้ งเรียน 4) การรณรงคป์ ระชาสมั พันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับ การป้องกันการสูบบุหรี่ภายในบริเวณโรงเรียน 5) การจัดตั้งมุมสนับสนุนวิชาการความรู้เก่ียวกับบุหรี่และทักษะปฏิเสธ การสูบบุหรี่ และ 6) การจัดกิจกรรมให้ความรูท้ างเสียงตามสายในโรงเรยี น ผลการวิจัยพบว่า คะแนนทักษะการปฏิเสธ เก่ียวกบั การสูบบหุ รขี่ องกลุ่มตัวอย่างระหว่างก่อนและหลังดำเนินโปรแกรมแตกตา่ งกัน อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.001 ซึ่งจากรายละเอียดดังกล่าวจะเห็นได้ว่ากิจกรรมในงานวิจัยของ สุภาภรณ์ ปวนสุรินทร์ และคณะ (2556) และ งานวิจัยนี้มีความคล้ายคลึงกัน ทั้งยังสามารถช่วยสร้างเสริมทักษะการปฏิเสธและป้องกันนักสูบหน้าใหม่ในนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาตอนต้นได้ พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่อื วถิ ีชวี ิตใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 105

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั ครัง้ ต่อไป 1) ควรจัดโปรแกรมสรา้ งเสริมทกั ษะการปฏเิ สธและปอ้ งกันนักสูบหน้าใหม่ในนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น ในกลุ่มนักเรียนชั้นอื่น ๆ หรือกลุ่มนักเรียนในพื้นที่อื่น ๆ เพื่อจะได้มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบุหรี่ ตลอดจนมีทักษะการ ปฏิเสธตอ่ การถูกชักชวนให้สูบบุหรี่ 2) ควรขยายขอบเขตของกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และผู้ปกครอง เพื่อใหผ้ ปู้ กครองสามารถนำความรู้ไปใหค้ ำแนะนำกับบตุ รหลานเพือ่ การขยายผลลัพธ์ในระยะยาว 3) ควรมีการจัดนิทรรศการให้ทั่วไปเกี่ยวกับบุหรี่ในพื้นที่ชุมชนร่วมด้วย เพื่อการเฝ้าระวังภัยทางสุขภาพใน กลมุ่ เยาวชนทเี่ ป็นกลมุ่ สบู บหุ ร่ีหน้าสูบหนา้ ใหม่ 4) เพ่ิมเติมระยะเวลาในการในการทำวจิ ยั ในผลลัพธ์ของโปรแกรมสรา้ งเสริมทักษะการปฏิเสธและป้องกันนัก สบู หน้าใหม่ เพ่อื การติดตามผลการวิจัยในระยะยาวมากขึ้น เอกสารอา้ งองิ ธีรพล หล่อประดิษฐ์ และณรงค์ศักดิ์ หนูสอน. (2559). ศึกษาผลของโปรแกรมการป้องกันการสูบบุหรี่ของนักเรียน มัธยมศึกษาตอนตน้ โรงเรยี นขยายโอกาสอำเภอคีรมี าศ จังหวัดสุโขทยั . วารสารวิชาการ สคร. 9, 24 (1), 86-95. มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่. (2562). เด็กไทย \" 9 ขวบ ริสูบบุหรี่แล้ว\". ค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2562 จาก http://www.ashthailand.or.th/smartnews/post/detail/218/เด็กไทย-9-ขวบ-ริสูบบหุ รีแ่ ล้ว สุนิดา ปรีชาวงษ์ และคณะ. (2557). การทบทวนงานวิจัยเก่ียวกับการสูบบุหรี่ในโรงเรียนมัธยมศึกษา. วารสารสุขศึกษา, 37 (128), 15–28. สุภาภรณ์ ปวนสุรินทร์, สุมาลี เลิศมัลลิกาพร และจิตตาภรณ์ จิตรีเช้ือ. (2556). การพัฒนาโปรแกรมการป้องกนั การสูบบหุ รี่ ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตน้ โดยใชพ้ รีซดี -โพรซีด โมเดล. พยาบาลสาร, 40 (2), 26-37. ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพ่ือการควบคุมการยาสูบ. (2560). ผลสำรวจเยาวชนไทย-ที่สูบบุหรี่. ค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2562 จาก http://www.trc.or.th/th/ Bloom, B. S. (1971). Handbook on Formative and Summative Evaluation of Student Learning. New York: Graw-Hill Book Company. 106 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 การดแู ลสุขภาวะแบบองคร์ วมของผูส้ งู อายุในชุมชนตามแนวคดิ พฤฒพลงั Holistic health Care for Elders in Community Based on the Concept of Active aging ศุภธดิ า จนั ทร์บรุ ี1* และกมลภู ถนอมสัตย์1 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม * E-mail: [email protected] บทคัดยอ่ ผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านอารมณ์ รวมไปถึงการมีส่วนร่วมในสังคม ส่งผลให้ ผู้สูงอายุเกิดความเจ็บป่วยได้ง่ายกว่าประชากรในกลุ่มอายุอื่น ๆ ดังนั้นผู้สูงอายุควรได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม กล่าวคือ การดูแลภาวะสุขภาพที่ครบทุกองค์ประกอบในทุกมิติของบุคคล ได้แก่ กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ แบบ บูรณาการ การนำแนวคิดพฤฒพลังซึ่งเป็นกระบวนการสร้างโอกาสช่วยให้กายภาพ สังคม จิตใจ การมีส่วนร่วมจาก ครอบครัว และสังคมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น บทความนี้มีจุดมุ่งหมายในการทบทวนวรรณกรรมแนว ทางการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนแบบองคร์ วมในทุกมิตทิ ่ีสอดคล้องตามองคป์ ระกอบเสาหลักด้านสุขภาพของแนวคิดสภาวะ พฤฒพลังซึ่งมอี งคป์ ระกอบ 3 ด้านได้แก่ 1)ด้านสุขภาพโดยการประเมินองคป์ ระกอบต่าง ๆ ดังนี้ สุขภาพของตนเอง สุข ภาวะทางจิต ความพิการ ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมประจำพื้นฐาน ข้อจำกัดของร่างกาย พฤติกรรมการออก กำลังกาย ในการปฏิบัติกิจกรรมประจำวันท่ีซับซ้อน การมองเห็นและการได้ยิน 2) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในชุมชน และ 3) การส่งเสริมให้มีความมั่นคงหรือการมีหลักประกันในชีวิตอีกด้วย เพื่อพัฒนาให้ผู้สูงอายุพึ่งตนเองได้มีศักยภาพ และเปน็ ผทู้ ี่ยงั สามารถทำประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครวั และสงั คม คำสำคัญ: ผู้สูงอายุ ชุมชน การดูแลแบบองค์รวม แนวคิดพฤฒพลัง Abstract The elders have changed physically, mentally, emotionally and participation in society. As a result, the elders have possibilities to ill than other age groups. Therefore, the elderly should receive holistic health care—physical, mental, social and spiritual health care should be integrated. The active aging concept developed by World Health Organization is a process of creating opportunities for physical, social, mental, participation from families and social support in order to enhance a better quality of life among elders in the community. The objective of this article is to review a holistic approach to caring for the elderly in all dimensions in accordance with the health pillars of the concept of energetic status, which consists of 3 components: 1) health care by evaluating different components a follows: self-rated health status, psychological well-being, disability, activities of daily living, functional limitation, exercise behavior, instrumental activity of daily living, vision and hearing, 2) promoting community participation and 3) promoting stability or security in life. This concept is a crucial concept that develops the elderly to be self-reliant with potential and who are still able to benefit themselves, their family, and society. Keywords: elderly, community, holistic health care, active aging พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือวถิ ีชวี ิตใหม่ในยุค Disruptive Technology | 107

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 1. บทนำ สังคมสูงอายุ (aged society) หมายถึง สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวนมากกว่าร้อยละ 10 ของ ประชากรทง้ั หมด หรือประชากรอายุ 65 ปขี นึ้ ไป ที่มีจำนวนมากกวา่ รอ้ ยละ 7 ของประชากรทงั้ หมด (มูลนิธิสถาบันวิจัย และพฒั นาผสู้ ูงอายุไทย และสถาบนั วจิ ัยประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหิดล, 2560) องค์การสหประชาชาติได้มีการ แบ่งระดับการเข้าสูส่ ังคมสูงอายุของแต่ละประเทศไว้ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับท่ี 1 ระดับของการก้าวสู่สงั คมสูงอายุ (aging society) คือ มีจำนวนประชากรที่อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ส่วนระดับที่ 2 ระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (aged society) คือ การที่มีจำนวนประชากรอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศ และสุดท้ายระดับที่ 3 ระดับสังคมผู้สูงอายอย่างเต็มที่ (super aged society) คือ มีจำนวน ประชากรอายตุ ้งั แต่ 65 ปีข้นึ ไปมากกว่ารอ้ ยละ 20 ของประชากรทง้ั ประเทศ (สำนักงานสถติ แิ ห่งชาติ, 2556) ปัจจุบันพบว่า จำนวนประชากรของโลกมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นมาก และมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างไปจากเดิม โดยเฉพาะกลุ่มผู้ที่มีอายุ 60 ปี ซึ่งใน ค.ศ.2016 ประชากรโลกมีทั้งหมดประมาณ 7,433 ล้านคน ในจำนวนนี้เป็น ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมจี ำนวนประมาณ 929 ล้านคน หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 12.5 ของประชากรทั้งหมด และมแี นวโน้ม วา่ ประชากรโลกนน้ั จะมีอายุสงู ขึน้ เรื่อย ๆ ซง่ึ การเพ่มิ ขน้ึ เช่นน้ี ส่วนหนึ่งมาจากความเจรญิ การแพทย์ ทำให้ผู้คนมีอายุยืน ยาว จำนวนอตั ราการตายลดนอ้ ยลง ในประเทศไทยไดเ้ ริ่มเข้าสสู่ ังคมผสู้ ูงอายุมาตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2548 คอื มจี ำนวนสัดส่วน ของผู้สูงอายุคิดเป็นประมาณร้อยละ 10.3 ของประชากรท้ังประเทศ และยังคงมีแนวโน้มของผู้สูงอายุในประเทศไทย เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้จากการคาดไว้ล่วงหน้าเกี่ยวกับปริมาณของประชากรของไทย พบว่า ภายในปี พ.ศ. 2565 ประเทศไทยจะกลายเป็นสงั คมสูงอายุโดยสมบูรณ์ และในปี พ.ศ. 2575 ประเทศไทยจะกา้ วเขา้ สู่สงั คมสงู อายุอยา่ ง เต็มที่ ซึ่งผู้สูงอายุในกลุ่มนี้จะกลายเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ของประเทศในอนาคต ซึ่งการเพิ่มขึ้นของสัดส่วนประชากร สงู อายนุ ้ัน เชื่อว่ามสี าเหตุสำคัญมาจากอัตราการเกิดของประชากรท่ลี ดลง ในขณะทีป่ ระชากรมอี ายุคาดเฉล่ยี ยืนยาวมาก ขึ้น หรือมีอัตราการตายลดลง (คาสปาร์ พีค,วาสนา อิ่มเอม, และรัตนาภรณ์ ตังธนเศรษฐ์, 2558) แต่อย่างไรก็ตามส่วน ใหญ่ผู้สูงอายุ จะมปี ัญหาดา้ นสขุ ภาพเน่อื งจากเป็นความชรา เซลล์ เนือ้ เย่อื อวัยวะตา่ ง ๆ เสื่อมลงตามธรรมชาติ สง่ ผลให้ เกิดการเสื่อมของอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งโรคที่มักพบในผู้สูงอายุ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหิตสูง โรคหัวใจโรคหลอด เลือดสมอง โรคมะเร็ง อัมพฤกษ์หรอื อัมพาต เป็นตน้ ท้งั นน้ี อกจากผู้สูงอายุ เมอื่ มีอายมุ ากขน้ึ จะมกี ารเปลี่ยนแปลงทางดา้ นรา่ งกายแล้ว ในเรอ่ื งของการเปลีย่ นแปลง ด้านจิตใจ รวมไปถึงการมีส่วนร่วมในสังคม โดยถึงแม้ในสังคมปัจจุบันถึงแม้จะพบผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังคงอาศัยอยู่กับ ลูกหลานก็ตาม แต่พบว่าสัดส่วนของผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวตามลำพงั ในครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ผู้สูงอายุอยู่ลำพัง กับคสู่ มรสมีแนวโนม้ เพ่ิมมากขน้ึ เชน่ กัน ผ้สู ูงอายเุ ปน็ วยั ท่ตี อ้ งมกี ารดูแลสขุ ภาพเฉพาะแตกตา่ งจากวัยอื่น ๆ การทำความ เข้าใจกับวิถกี ารดแู ลสุขภาพของผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สงู อายุมีการจัดการตนเองได้เหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรงท้ังดา้ น รา่ งกายและจิตใจ เพ่ือลดปัญหาของผสู้ งู อายกุ ับครอบครัว และสังคม ซึ่งการดูแลสุขภาวะผู้สงู อายุที่ดีนั้นควรให้การดูแล ตามแนวคิดการดูแลภาวะสขุ ภาพแบบองคร์ วม (holistic health) หมายถงึ การดแู ลภาวะสุขภาพที่ครบทกุ องค์ประกอบ ในทุกมติ ขิ องบคุ คล ได้แก่ กาย จิต สงั คม และจิตวิญญาณ และต้องพจิ ารณาทุกสง่ิ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งสัมพันธก์ ันท้ังหมด เน้นท่ตี ัว บคุ คลมากกว่าการเจบ็ ปว่ ย หรืออาการของโรค สอดคล้องกับความหมายภาวะสขุ ภาพขององคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ท่ี ต้องการให้ประชาชนมีสุขภาวะที่สมบูรณ์ครบทุกมิติเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังเป็นการเน้นถึงทางเลอื กของกิจกรรมการ ดแู ลตนเอง และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งผ้ใู ห้การดแู ลสุขภาพ และผใู้ ชบ้ ริการ ปัจจุบันภาครัฐให้ความสำคัญกับแผนงานการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีการ ดำเนนิ งานแผนงานโครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพผสู้ งู อายทุ ่บี รู ณาการงานร่วมกับภาคเี ครอื ข่ายโดยเฉพาะการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปโดยมีเป้าหมาย เพื่อให้ผู้สูงอายุ สามารถช่วยเหลือตนเองและลดการพึ่งพาให้ได้มากที่สุด (กลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ สำนักส่งเสริมสุขภาพกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2556; วิรดา อรรถเมธากลุ และวรรณี ศรีวิลัย, 2556) สอดคล้องกับแผนพัฒนาผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับ ที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552 ที่ได้กลา่ วถึงวิสัยทัศน์ด้านผู้สูงอายวุ ่า “ผู้สูงอายนุ ั้นเป็น บคุ คลที่มีประโยชนต์ อ่ สังคมและสมควรใหค้ งคณุ ค่าไว้ให้นานท่สี ุด” ซง่ึ สอดคล้องกับแนวคิดเชงิ นโยบาย “active aging” (พฤฒพลัง) ขององ์การอนามัยโลก (World Health Organization, 2002) ที่ได้ให้ความหมายว่า พฤฒพลังเป็น กระบวนการสร้างโอกาสช่วยให้กายภาพ สังคม จิตใจ และการมีส่วนร่วมดีขึ้น โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมด้านสุขภาพ เพ่ือ 108 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวิชาการระดบั ชาติ คร้ังท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 พัฒนาให้ผู้สงู อายพุ ึง่ ตนเองได้มีศกั ยภาพ และเปน็ ผู้ท่ียังสามารถทำประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคม ซี่งแนวคิด สภาวะพฤฒพลังขององค์การอนามัยโลกจะเน้นองค์ประกอบหลัก 3 ประการ ได้แก่ สุขภาพ (health) การมีส่วนร่วม (participation) และความมั่นคงปลอดภัย (security) หรือมักเรียกโดยทั่วไปว่า “สามเสาหลัก” (จินตนา อาจสันเที๊ยะ และ พรนภา คำพราว, 2557) จะเหน็ ไดว้ า่ การดูแลสขุ ภาวะผสู้ ูงอายุในชมุ ชนทพ่ี ึงประสงค์ ควรให้การดูแลภาวะสุขภาพ แบบองค์รวม (holistic health) ในทุกมิติที่สอดคล้องตามแนวคิดพฤฒพลังองค์ประกอบเสาหลักด้านสุขภาพ เพื่อเกิด กระบวนการสรา้ งโอกาสช่วยให้กายภาพ สงั คม จิตใจ และการมีส่วนร่วมของผสู้ งู อายนุ ้นั ดขี ึ้น สง่ ผลใหล้ ดภาวการณพ์ ่งึ พงิ ของผู้สูงอายุ โดยรูปแบบการให้บริการหรือให้การดูแลในชุมชน จึงควรมีการบริการพยาบาลเชิงรุกในการดูแลที่บ้าน ร่วมกับการดูแลโดยชุมชน เพื่อรณรงค์ให้สังคมตระหนักในคุณค่าของผู้สูงอายุ และการเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ นอกจากนย้ี ังเปดิ โอกาสให้ผ้สู ูงอายุแสดงบทบาทสงู วัยอยา่ งมพี ลัง (active aging) อีกด้วย บทความนม้ี ีจดุ ม่งุ หมายในการ ทบทวนวรรณกรรมแนวทางการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนแบบองค์รวมในทุกมิติที่สอดคล้องตามองค์ ประกอบเสาหลักด้าน สุขภาพของแนวคิดสภาวะพฤฒพลังซึ่งมีองค์ประกอบ 3 ด้านได้แก่ 1) ด้านสุขภาพโดยการประเมินองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้ สุขภาพของตนเอง สุขภาวะทางจิต ความพิการ ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมประจำพื้นฐาน ข้อจำกัดของ ร่างกาย พฤติกรรมการออกกำลังกาย ในการปฏิบัติกิจกรรมประจำวันที่ซับซ้อน การมองเห็นและการได้ยิน 2) การ ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมในชุมชน และ 3) การส่งเสริมให้มีความมั่นคงหรือการมีหลักประกันในชีวิตอีกด้วย เพื่อพัฒนาให้ ผูส้ ูงอายุพงึ่ ตนเองไดม้ ีศักยภาพ และเป็นผู้ที่ยังสามารถทำประโยชน์แกต่ นเอง ครอบครวั และสังคม 2. เนื้อหาและอภปิ ราย จากการทบทวนวรรณกรรมแนวทางการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนแบบองค์รวมในทุกมิติที่สอดคล้องตาม องค์ประกอบเสาหลักด้านสุขภาพของแนวคิดสภาวะพฤฒพลัง เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย รายละเอยี ด ดังน้ี 2.1 การดแู ลแบบองคร์ วม (holistic health) การดูแลสุขภาพองค์รวม (holistic health care) คำว่า \"องค์รวม\" เป็นคำที่แปลมาจากคำในภาษาอังกฤษคอื คำวา่ Holism หรือ Holistic ซ่ึงคำวา่ Holistic มาจากรากศัพท์ในภาษากรกี วา่ \"Hoo\" หมายถึง \"ความเป็นจรงิ หรอื ความ สมบูรณ์ทั้งหมดของสรรพสิ่งมีเอกลักษณ์และเอกภาพที่ไม่สามารถแบ่งแยกเป็นส่วนย่อยได้ \"(กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, 2551) การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (holistic health care) หมายถึง การดแู ลสขุ ภาพเพือ่ ใหเ้ กิดความสมดลุ ระหวา่ ง ร่างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อมทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม ครอบคลุมทั้งการ ส่งเสริมสขุ ภาพ และการป้องกันโรคในขณะที่ไม่เจ็บป่วย เพื่อให้เกิดสุขภาวะทีด่ ีรวมถึงการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟู สุขภาพเมื่อเกิดการเจ็บป่วย การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมเป็นการดูแลคนทั้งคนจึงไม่สามารถจะแยกออกเป็นส่วนๆ ได้ เพราะร่างกายของคนเราประกอบด้วยอวัยวะหลายส่วนทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ มีความสมดุลพร้อมทั้งยังต้อง สัมพันธ์กับสังคมและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวอีกด้วย (กรรณิกา ปัญญาวงค์ และพนัส พฤกษ์สุนันท์ , 2555) นอกจาก สุขภาพแบบองค์รวมจะเป็นแนวคิดที่สะท้อนถึงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบทุกด้าน ทุกมิติของสุขภาพแล้ว แนวคิด ของสุขภาพองค์รวม ยังหมายถึงการบอกหรือบ่งชี้สถานะสุขภาพในภาพรวมอีกด้วย ไม่ใช่วัดเฉพาะองค์ประกอบด้าน ร่างกายเพียงดา้ นเดยี วแล้วบอกหรือบง่ ชสี้ ถานะสุขภาพ ดังนั้นจงึ สรุปได้ว่า การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (holistic health care) หมายถงึ การดแู ลสุขภาพเพื่อใหเ้ กิด ความสมดุล กลมกลืน เชื่อมโยงกันระหว่างร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ที่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ทั้งใน ระดับบคุ คล ครอบครัว ชุมชนและสงั คม ครอบคลุมท้ังการสง่ เสรมิ สุขภาพ และการป้องกันโรคในขณะทไี่ ม่เจ็บป่วยเพอื่ ให้ เกิดสุขภาวะท่ีดรี วมถงึ การรกั ษาพยาบาลและการฟ้นื ฟูสุขภาพเมอ่ื เกดิ การเจบ็ ปว่ ย (ภาพที่ 1) พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพื่อวถิ ีชวี ิตใหม่ในยุค Disruptive Technology | 109

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ภาพท่ี 1 องคป์ ระกอบของการดูแลแบบองค์รวม (holistic health) ทมี่ า: สปุ รีดา อดลุ ยานนท์, 2560 2.2 พฤฒพลงั (active aging) องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ได้นําเสนอแนวคิดเกี่ยวกับ active aging ว่าเป็น แนวคิดที่แสดงถึงภาวะสขุ สมบูรณ์ของผู้สงู อายุและเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของผู้สงู อายุทั่วโลก โดยคาด ว่าสภาวะพฤฒพลังจะเปน็ หนทางที่จะยกระดับคุณภาพในการดำเนินชีวิตของผูส้ งู อายุซึ่งแนวคิดดังกล่าวถูกนำเสนอแก่ ประเทศต่างๆ เพื่อนำไปใชใ้ นการพัฒนาผสู้ ูงอายุให้มสี ขุ ภาพกาย สุขภาพจิตและคณุ ภาพชวี ิตที่ดี มคี วามสขุ ในการดำเนิน ชีวิต ตลอดจนมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองเท่าที่ผู้สูงอายุจะทำได้โดยสภาวะพฤฒพลังจะประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ 1) การมีสุขภาพที่ดี (health) 2) การมีส่วนร่วม (participation) และ 3) การมีหลักประกันและความมั่นคง (security) (สำนกั งานสถิติแห่งชาติ, 2556) (ภาพท่ี 2) ภาพท่ี 2 กรอบแนวคิดการมีพฤฒพลงั ของผู้สงู อายุ ท่ีมา: องค์การอนามัยโลก, 2545 อ้างถึงใน สำนกั งานสถิติแห่งชาติ, 2556 2.2.1 แนวทางการดูแลผสู้ ูงอายุในชมุ ชนแบบองค์รวมในทุกมิติท่ีสอดคล้องตามองค์ประกอบของเสา หลักด้านสุขภาพของแนวคดิ สภาวะพฤฒพลัง เมื่อวิเคราะห์ องค์ประกอบเสาหลักด้านสุขภาพตามแนวคิดสภาวะพฤฒพลังของผู้สูงอายุที่ได้กล่าวมา ข้างต้น พบว่าองคป์ ระกอบของเสาหลักด้านสุขภาพตามแนวคิดสภาวะพฤฒพลัง (มาสริน ศุกลปักษ์ และกรณั ฑรัตน์ บุญ ช่วยธนาสทิ ธ, 2560) มดี ังนี้ 1) การประเมินสุขภาพของตนเอง (self-rated health status) เป็นการประเมินสถานะสุขภาพของ ตนเองว่าดี หรอื ไมด่ ี หรืออยูใ่ นระดบั ใด รวมถึงการประเมินสขุ ภาพของตนเองจากประวัติการตรวจรา่ งกายเบื้องต้น เช่น ความดันโลหิตการประเมินภาวะโภชนาการ เป็นตน้ ซึ่งผู้สงู อายุหลายคนเข้าใจว่าตนไมจ่ ำเป็นตอ้ งตรวจสุขภาพประจำปี 110 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้ังที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 เพราะมีสขุ ภาพร่างกายแข็งแรงมาตลอด ไม่มีโรคประจำตัว แต่บางคนก็ไมย่ อมตรวจสุขภาพประจำปีเพราะกลัวว่าตรวจ แล้วจะเจอโรค ดังนั้นการให้ข้อมูลกับผู้สูงอายุเป็นสิ่งสำคัญ ทั้งนี้ต้องให้การดูแลควบคู่ไปกับจิตวิญญาณ ซึ่งจะทำให้ ผสู้ ูงอายุได้ตระหนกั ในคุณคา่ ของตนเอง รู้สึกวา่ ตนเองมีคุณค่า การเจ็บปว่ ยน้นั ไม่สามารถลดทอนคุณคา่ ศักดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์ของผู้ใด แต่ส่วนใหญ่จะเกิดจากการมีมุมมองที่ไมถ่ ูกต้องทีค่ วรได้รับการปรับเปลี่ยน และบุคคลในครอบครัวต้อง ช่วยกันดูแลและพาผู้สูงอายุมาตรวจร่างกายประจำปี เพื่อผู้สูงอายุจะได้รับรู้ถึงสุขภาพร่างกาย ณ ปัจจุบัน และเมื่อพบ ปญั หาดา้ นสุขภาวะ จะไดร้ บั การดูแลแบบองคร์ วมในด้านของร่างกายตอ่ ไป 2) สุขภาวะทางจติ (psychological wellbeing) เปน็ การประเมนิ คุณคา่ ในตนเอง ประเมนิ สุขภาพจิต ดี หรอื ไม่ดรี วมถึงการประเมินคณุ ลกั ษณะเชิงบวกทางจิตใจอันเป็นผลจากการที่ผ้สู ูงอายุเกดิ ความเป็นตัวของตัวเอง การ ยอมรับตนเอง การมีความงอกงามในตนเอง การมีสัมพันธภาพที่ดี เป็นต้น จากการศึกษาของเกสร มุ้ยจีน (2558) ที่ ศึกษาเกี่ยวกับปัจจยั ทม่ี ีผลต่อระดบั สขุ ภาพจติ ของผ้สู งู อายุ โดยจำแนกออกเปน็ 2 ปัจจยั พบวา่ 1) ปัจจัยด้านสถานภาพ สมรสส่งผลให้ระดับสขุ ภาพจิตแตกตา่ งกันอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ 0.05 และ 2) ปัจจัยด้านรายได้สง่ ผลให้ระดับ สุขภาพจิตแตกตา่ งกันอย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั 0.05 จากผลการวจิ ัยดงั กล่าว มขี อ้ เสนอแนะไวว้ า่ ควรจัดให้มีการ จดั โครงการส่งเสรมิ เก่ยี วกับการดแู ลสขุ ภาพจิตผู้สงู อายุในชมุ ชน ท้งั ในเร่อื งการวางแผนการใช้ชวี ิตต่อไป การจดั หาแหล่ง หารายได้เสริมของผสู้ งู อายุทีไ่ ม่มีรายไดเ้ ป็นของตนเองเท่าทค่ี วามสามารถของผู้สูงอายุนั้นมี เพ่อื ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุคงไว้ หรอื ส่งเสริมการปฏบิ ตั ิตวั เพอื่ การมีสุขภาพจติ ทด่ี ี 3) ความพิการ (disability) เป็นการประเมินความพิการด้านร่างกายเป็นส่วนใหญ่ว่ามีความพิการ หรือไม่ จำนวนความพิการ เช่น ตาบอด หูหนวก อัมพฤกษ์ เป็นต้น สถานการณ์ผู้พิการประเทศไทยมีคนพิการประมาณ 1.5 ลา้ นคน (ร้อยละ 2.2) โดยแนวโนม้ จำนวนคนพกิ ารจะเพิ่มข้นึ จากกลมุ่ ผ้สู งู อายุ มีโรคเรื้อรงั และอุบัติเหตุ คนพิการยัง ไม่เข้าถึงบริการหรือสวัสดิการของรัฐ ไม่ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการทั้งที่มีความจำเป็น ถึงแม้ประเทศไทยมี พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ .ศ.2550 ที่ได้กำหนดสิทธิและสวัสดิการ เพื่ออำนวยความ สะดวกตามสทิ ธิประโยชนพ์ ึงมพี งึ ได้ของคนพิการ ทัง้ นี้ การจัดสวสั ดิการตา่ ง ๆ อยบู่ นพนื้ ฐานการสำรวจและงานวิจัย เพอ่ื เลือกสรรสิ่งที่ดีที่สุดตามบริบทของประเทศในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีความพิการอย่ างทั่วถึง เท่า เทียมและเป็นธรรม อย่างไรก็ตาม คุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายุส่วนใหญจ่ ากการทบทวนวรรณกรรม พบว่าอยู่ในระดบั ปาน กลางเนื่องจากไม่สามารถเข้าถึงสวัสดิการด้านต่าง ๆ ของรัฐได้ จากข้อจำกัดเรื่องความพิการหรือการรับรู้สิทธิของตน การพัฒนาระบบการบริหารจัดการเกี่ยวกับการเข้าถึงบริการต่าง ๆ ของรัฐจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวติ และเพอ่ื เตรยี มประเทศไทยเข้าสสู่ ังคมผูส้ งู อายุโดยสมบรู ณอ์ ยา่ งสงา่ งาม (ปัทมา ล้อพงค์พานชิ ย์, 2560) 4) ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมประจำวันพื้นฐาน (activities of daily living) เป็นการ ประเมนิ การพึ่งพาตนเองดา้ นการทำกจิ วัตรประจำวัน เช่น การรบั ประทานอาหาร การใส่เสอ้ื ผา้ การอาบนำ้ การล้างหน้า แปรงฟนั การเข้าห้องสขุ า เปน็ ตน้ ในปี พ.ศ.2557 มีผสู้ งู อายุประมาณร้อยละ 16 ทมี่ สี ขุ ภาพไมด่ ี ถงึ ไม่ดีมาก และประสบ ปญั หาในการชว่ ยเหลือตนเองในการทำกจิ วตั รประจำวนั ขั้นพื้นฐาน จากการศกึ ษาของวิไลพรรณ สมบญุ ตนนท์ และสุภา วดี เทยี่ งธรรม (2561) พบวา่ การปฏิบัตกิ ิจวตั รประจำวันได้ขน้ึ อยู่กับสัมพันธภาพในครอบครัวที่มีความสัมพันธ์ทางบวก กับความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันพนื้ ฐาน ดังน้ันครอบครวั จึงมีความสำคัญอย่างย่ิงต่อความสามารถในการ ปฏิบัติกิจกรรมประจำวนั พืน้ ฐานของผสู้ งู อายุ 5) ข้อจำกัดในการช่วยเหลือตนเอง (functional limitation) เมื่ออายุมากขึ้น ผู้สูงอายุจะเริ่มมีการ ข้อเสื่อมขึ้นกับการใช้งานข้อ และสภาพร่างกาย โดยเฉพาะถ้าผู้สูงอายุในรายที่มีน้ำหนักมาก น้ำหนักจะกดกระแทกข้อ ทำใหข้ ้อนน้ั เสอื่ มเรว็ ถา้ ใช้งานขอ้ มาก ๆ เชน่ เดินมาก ยืนมาก หรอื เดินขึ้นลงบันไดมาก ๆ นง่ั ยอง ๆ มากขอ้ จะเส่ือมเร็ว ขึ้นไปอีก (สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2557) ซึ่งจะส่งผลทำให้เกิดข้อจำกัดในการทำ กิจกรรม (Activity limitation) ตา่ งๆ เกดิ ความยากลำบากของแตล่ ะบุคคลทีจ่ ะสามารถดำเนินกจิ กรรมทางกายหรือการ มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม เนื่องจากความสามารถในการดำรงชีวิตประจำวัน และการทำงานที่เปลี่ยนแปลงไปน้นั ส่งผลให้มีภาวะพึ่งพิงและมีภาระโรคที่เพิ่มขึ้นจึงเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของอัตราการตายและความพิการ ดังนั้นการให้ คำแนะนำในการดูแลผู้ป่วยที่ถูกต้อง จะช่วยส่งเสรมิ สุขภาวะทีด่ ีขึ้น ลดอัตราการพึงพิง เช่น ถ้าผู้ป่วยมีนำ้ หนักตัวมากให้ ลดน้ำหนกั โดยให้ควบคมุ อาหาร และมีการออกกำลงั กาย ลดการใชง้ านขอ้ เข่า เช่น หลกี เล่ยี งการนัง่ ยอง ๆ ควรมีการใช้ ส้วมนั่งราบ หลีกเลี่ยงการเดินข้ึนลงบนั ไดมาก ๆ เพื่อป้องกันข้อเข่าเสื่อม บริหารกล้ามเนื้อบริเวณรอบ ๆ ข้อให้แข็งแรง พยาบาลกบั การวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพอ่ื วถิ ีชวี ิตใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 111

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 เชน่ บริหารกลา้ มเนอ้ื หนา้ ขา 2 ขา้ ง โดยการยกขาขน้ึ และเกรง็ ไว้สกั ครู่ ควรทำบ่อย ๆ เพ่อื ป้องกัน หรือชะลอข้อเขา่ เสือ่ ม (สำนักอนามัยผสู้ ูงอายุ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ , 2557) 6) การมีกิจกรรมทางกาย/ การออกกำลังกาย (physical activity/ exercise behavior) จากการ ทบทวนวรรณกรรมพบว่า การออกกำลงั กายเป็นประจำในผู้สงู อายุ จะชว่ ยพฒั นาและดำรงไวซ้ ึ่งสุขภาพและความสขุ โดย รูปแบบการออกกำลังกายต้องมีรูปแบบการออกกำลังกายที่มีความเหมาะสมและปลอดภัย สามารถทำให้ผู้สูงอายุได้ใช้ ร่างกายในการเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนที่ได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพพอเพียงกับความต้องการของร่างกายและ สอดคลอ้ งกบั ภาวะสุขภาพและความต้องการในการออกกำลงั กายของผสู้ ูงอายุ นอกจากนั้นการประกอบกิจกรรมทางกาย ในระดับที่เพียงพอ จะลดความเสี่ยงของบริเวณสะโพกหรือกระดกู สันหลัง และช่วยควบคุมน้ำหนักในผูส้ ูงอายุไดอ้ ีกดว้ ย (World Health Organization, 2014) 7) ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมประจำวันที่ซับซ้อน (Instrumental activity of daily living) เป็นการวัดความสามารถในการช่วยเหลือตนเองทีซ่ บั ซอ้ น หรือต้องการใช้อุปกรณช์ ่วย (Instrumental Activity Daily Living- IADLs) จากผลสำรวจของวรเวศม์ สุวรรณระดา, วิราภรณ์ โพธิศิริ, ศิริวรรณ ศิริบุญ, ศริน บางแก้ว และช เนตตี มิลินทางกูร (2557) .ประเมินจะมีการระบุข้อคําถามถึงความสามารถในการทำกิจกรรมที่ซับซ้อนขึ้น 3 อย่าง คือ การเดนิ ทางโดยข้นึ รถหรือลงเรือ การนบั เงนิ ทอนได้ถูกต้อง และการหยิบยาประจําตวั กนิ เองไดถ้ กู ตอ้ ง ซ่งึ พบวา่ ผู้สูงอายุ เกือบร้อยละ 40 มขี อ้ จํากัดในการชว่ ยเหลือตนเองในกจิ กรรมดังกลา่ วอยา่ งน้อย 1 อย่าง โดยกจิ กรรมท่ีผู้สูงอายุรายงาน วา่ ทำไม่ไดด้ ว้ ยตนเอง หรอื ต้องใช้อุปกรณช์ ่วยเปน็ สดั ส่วนท่สี ูงท่สี ุด คือ การเดนิ ทางโดยขึ้นรถหรือลงเรอื คนเดียว (รอ้ ยละ 37.0) โดยทีผ่ สู้ ูงอายุทอ่ี ยู่ในเขตเมอื งและเขตชนบทประสบกบั ปญั หาดังกล่าวในสดั ส่วนใกลเ้ คยี งกัน (ร้อยละ 36.4ในเขต เมือง และรอ้ ยละ 37.7 ในเขตชนบท) โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ มผี สู้ งู อายภุ าคใต้ถงึ ร้อยละ 40.3 ทีป่ ระสบปัญหาการเดนิ ทางขนึ้ รถ หรือลงเรือคนเดียว สิ่งนี้สะท้อนแสดงให้เห็นว่าน่าจะมีการหาแนวทางในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการ เดนิ ทางของผสู้ งู อายใุ หเ้ พม่ิ มากขึน้ 8) การมองเหน็ (visual acuity) เป็นการประเมนิ เกย่ี วกับสายตาโดยผสู้ ูงอายปุ ระเมนิ ตนเองว่ามองเห็น ชัดเจนหรือไม่ชัดเจน เมื่อพิจารณาถึงปัญหาสุขภาพในผู้สูงอายุจะพบว่า ปัญหาด้านการมองเห็นเป็นหนึ่งปัญหาสำคัญท่ี เป็นอุปสรรคตอ่ การใช้ชวี ติ ประจำวนั ของผู้สูงอายุ และอาจนำไปส่กู ารเกิดอุบตั ิเหตุ ทง้ั นี้ หากบุคคลมคี วามรู้ความเข้าใจท่ี ถูกต้องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่สำคัญ เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงทางตา จะสามารถนำ ความรู้ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ เพ่อื เกิดการสร้างเสริมสุขภาพตาในผู้สงู อายไุ ด้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม และช่วยสง่ เสรมิ ใหบ้ ุคคลกา้ ว เขา้ สูว่ ัยสูงอายอุ ย่างมคี ณุ ภาพชวี ิตทด่ี ตี ามมาได้ ไมเ่ ป็นภาระพง่ึ พาของครอบครวั และสังคม ดังน้นั พยาบาลหรือบุคลากร ที่มีความเก่ียวข้อง ควรมีความรูค้ วามเข้าใจเก่ียวกับผู้สูงอายุ และการเปลี่ยนแปลงทางตา ปัญหาทางตา และผลกระทบ จากปัญหาทางตาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ เพื่อให้ข้อมูลและมีแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพตาในผู้สูงอายุ (มุกดา เดช ประพนธ์และปิยวดี ทองยศ, 2557) ที่สำคัญควรมีการให้คำแนะนำผู้สูงอายุ ควรไปตรวจตาเป็นประจำทุกปี และเมื่อมี การมองเหน็ ภาพทีเ่ ปล่ยี นแปลงไปดงั กล่าวควรรบี มาพบจกั ษุแพทย์ 9) การได้ยิน (hearing) เป็นการประเมินการฟังโดยผู้สูงอายุประเมินตนเองถึงระดับการได้ยินว่าเป็น ปกติหรือไมป่ กติ ซึ่งการสูญเสียการได้ยินนั้นเปน็ ความพิการที่พบได้บอ่ ยที่สุดในผู้สูงอายุไทย ซึ่งเป้าหมายสำคัญของการ ปฏิบัติการพยาบาลผู้สูงอายทุ ี่สูญเสียการไดย้ ิน คือ การส่งเสรมิ การได้ยินให้มีประสทิ ธิภาพดีขึ้น (นัยนา พิพัฒน์วณิชชา, 2555) โดยควรแนะนำให้ผู้สูงอายุมีการตรวจหูและคัดกรองปัญหาการได้ยินในการตรวจสุขภาพประจำปี อีกทั้งการ เลอื กใช้สถานทีใ่ นการสอื่ สาร ควรเลือกสถานทที่ ี่มีความเหมาะสมควรกำจัดเสียงตา่ ง ๆ ทีอ่ าจรบกวนการสนทนา เพ่ือให้ ผสู้ ูงอายสุ ามารถฟังไปพร้อมกบั การอ่านปากของผู้พดู ได้ ใชค้ ำพูดทช่ี ัดเจน ใช้ประโยคเรียบงา่ ย และมคี วามหมาย จังหวะ การพูดชา้ ปานกลาง และพูดเน้นคำทส่ี ำคญั ใช้เสยี งทค่ี ่อนขา้ งโทนต่ำ หลีกเลีย่ งการตะโกน เน่อื งจากผู้สูงอายุจะไม่ได้ยิน เสยี งทม่ี คี วามถี่สูง นอกจากน้ีผู้พูดควรมีการแสดงออกทางสีหนา้ ร่วมด้วยจะทำาใหผ้ ู้สงู อายเุ ขา้ ใจความหมายได้ดขี ึ้น (Ko, 2010; Spyridakou, 2012) 2.2.2 ด้านการส่งเสริมการมีส่วนรว่ ม (participation) แนวคดิ นจี้ ะเป็นส่ิงท่ีช่วยเสริมใหผ้ ้สู งู อายุ ไม่ถูก ทง้ิ ห่างออกจากสังคมและยงั มคี วามรสู้ ึกมคี ุณคา่ ในตนเอง การมกี จิ กรรมตา่ ง ๆ ภายในชุมชนและไดม้ ีสว่ น รว่ มในงาน จะ ชว่ ยสรา้ งใหผ้ ู้สูงอายไุ ม่รูส้ กึ ว้าเหว่ เหงา และเปน็ การสรา้ งคณุ ค่าในตนเองใหก้ บั ผู้สูงอายไุ ด้ จากการพฒั นาดชั นีชี้วัดการมี สว่ นรว่ มของผสู้ ูงอายุไทย (สำนกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ, 2560) การสร้างการมสี ่วนรว่ มของผู้สูงอายมุ คี วามหมายครอบคลมุ ถึง การมีงานทำการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม/ชมรมผู้สูงอายุ การเข้าร่วมกิจกรรมของหมู่บ้าน/ชุมชน และการดูแลบุคคลใน 112 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้งั ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ครัวเรอื นภาคเี ครอื ขา่ ย นอกจากนน้ั ยังควรมีการสง่ เสริมใหผ้ สู้ ูงอายุมสี ว่ นรว่ มกับคนในชุมชนในรูปแบบในชมุ ชน เช่น การ เปิดโอกาสในการถ่ายทอดภูมิปัญญา หรือองค์ความรู้เดิมกับคนรุ่นหลัง หรือเป็นอาสาสมัครในการดูแลคนในชุมชน เช่น การเป็นอาสาสมัครดแู ลเพ่ือนผู้สูงอายุกันเอง หรือเปน็ อาสาสมัครในศนู ยส์ ามวยั เพ่อื เป็นการลดชอ่ งวา่ งระหว่างวัย เป็น ต้น ทั้งนี้ตัวอย่างการศึกษาที่ผ่านมาที่มีการพัฒนารูปแบบการสร้างการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุ (ฐานญา สมภู่และคณิต เขียววิชัย, 2562) ได้มีการพัฒนาให้ผู้สงู อายุมีส่วนร่วมในการจัดการและออกแบบสภาพแวดลอ้ มในชุมชน มีบทบาทเป็น แกนนำและแหล่งการเรียนรู้ท้องถ่ิน อีกทั้งการสง่ เสริมให้ผู้สูงอายุได้เข้าร่วมกิจกรรมกบั คนในครอบครวั พ่ีน้องบตุ รหลาน จะทำใหผ้ ูส้ ูงอายุได้พฒั นาทางดา้ นจิตใจใหเ้ พลิดเพลิน มีความสุขในวันสำคัญตา่ งๆ เชน่ วันสงกรานต์ วนั ปีใหม่ สอดคลอ้ ง กับการศึกษาของ สุวรรณา เตชะธีระปรีดา (2557) การบริหารจัดการกิจกรรมนันทนาการเพื่อผู้สูงอายุของเทศบาล ตำบลหนองน้ำใสอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา พบว่าผู้สูงอายุมีความพึงพอใจและต้องการเข้าร่วมและมีส่วนร่วมใน การทำกิจต่างๆ ทางสังคม ไดแ้ ก่ 1) กิจกรรมทางสงั คม ได้แก่ เทศกาลงานบุญงานประเพณี 2) กิจกรรมออกกำลังกายคือ กายบริหาร 3) กิจกรรมการท่องเท่ียว ได้แก่ ท่องเที่ยวตามโบราณสถานตา่ งๆ และ 4) กิจกรรมงานอดิเรกที่ต้องการเขา้ ร่วมเป็นวิทยากรในการอบรมวิชาการและวิชาชีพทางสังคม และการละเล่นพื้นบ้าน ซึ่งการได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมอยู่ ตลอดน้นั จะทำให้ผู้สูงอายมุ ีความภาคภมู ใิ จและรู้สกึ ถึงคุณคา่ ท่ีตนสามารถทำงานเพ่อื ชมุ ชนไดด้ ี 2.2.3 การส่งเสริมให้มีความมั่นคงหรือการมีหลักประกันในชีวิต (security) ความมั่นคงหรือการมี หลักประกันในชีวิตมีความหมายครอบคลุมถึง ความเพียงพอของรายได้และมัน่ คงของแหล่งรายได้ การเป็นเจา้ ของที่อยู่ อาศัย การมที อี่ ยูอ่ าศยั ทีป่ ลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ปลอดภัย มีเงนิ ออม มคี วามสามารถจดั การหน้ีสินได้ ดังนั้น ความพร้อมทางด้านการเงินอาจต้องมีเพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ รวมถึงแหล่งสนับสนุนในการสร้างงาน เพื่อให้เกิดรายได้ เพียงพอและตอ่ เนอ่ื ง ไม่ใหเ้ กิดความลำบากในการใช้ชวี ิต โดยความมั่นคงในชีวติ และการออมนน้ั สว่ นใหญ่เกดิ จากปญั หา ในเรื่องของรายได้ท่ีไม่มากพอ การมีรายจา่ ยคอ่ นข้างสูง โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งความกังวลในเรื่องของคา่ ใชจ้ ่ายดา้ นสขุ ภาพ โรคเร้ือรงั ดงั นัน้ ควรมีการสง่ เสริมกจิ กรรมที่ช่วยเสริมรายได้ หรอื การจัดกิจกรรมให้ความรเู้ ร่ืองตา่ งๆ ได้แก่ การปลูกพืช สวนครวั การฝึกทำงานประดษิ ฐท์ ่ีผ้สู ูงอายไุ ดล้ งมอื ทำ และสามารถนำความรไู้ ปฝึกปฏบิ ตั ิตอ่ ได้ดว้ ยตนเองเพอ่ื สรา้ งรายได้ ตอ่ ไป เชน่ การทำหมอน งานกระเปา๋ จากกระดาษ งานเหรียญโปรยทาน เปน็ ต้น ทัง้ นผี้ ูส้ ูงอายุส่วนใหญจ่ ะชอบกิจกรรมที่ ออกแบบในรูปแบบที่สามารถส่งเสริมและพฒั นาให้ผู้สงู อายไุ ด้มคี วามรู้ ชว่ ยเพ่มิ ทกั ษะ การไดฝ้ ึกฝนด้วยตนเอง และการ เป็นการรว่ มทำกิจกรรมกับชุมชน (ฐาณญา สมภู่ และคณิต เขียววิชยั , 2562) ซึ่งจากการศึกษาที่ผา่ นมาของดูมทิ รัชและ คณะ (Dumitrache, Rubio, Bedoya, & Rubio-Herrera, 2017) พบว่าการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีภาวะพฤฒพลัง การ สรา้ งเสริมความมน่ั คงหรือการมหี ลกั ประกนั ในชวี ิตเปน็ ประเด็นทม่ี คี วามสำคญั เปน็ อย่างย่งิ 3. บทสรปุ จากการทบทวนวรรณกรรมตา่ งๆ ทส่ี อดคล้องในแตล่ ะองคป์ ระกอบของเสาหลกั ดา้ นสุขภาพของแนวคดิ สภาวะ พฤฒพลัง ควรมีการจดั บริการเชิงรกุ เขา้ ไปในพื้นทเ่ี พอื่ ดูแลกล่มุ ผูส้ งู อายใุ นชุมชนท่ีมปี ญั หาตา่ ง ๆ ใหค้ รบทุกมิติอย่างเป็น องค์รวม และต่อเนื่อง โดยควรมีการดำเนินการให้ครบตามองค์ประกอบต่าง ๆ ในการดูแลด้านสุขภาพ ได้แก่ 1) การ ประเมินสขุ ภาพของตนเอง 2) สุขภาวะทางจิต 3) ความพิการ 4) ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมประจำพื้นฐาน 5) ขอ้ จำกัดของร่างกาย 6) พฤติกรรมการออกกำลงั กาย 7) ความสามารถในการปฏิบัตกิ ิจกรรมประจำวันที่ซบั ซ้อน 8) การ มองเห็นและ 9) การได้ยิน เพื่อพัฒนาให้ผู้สูงอายุพึ่งตนเองได้มีศักยภาพ และเป็นผู้ที่ยังสามารถทำประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครวั และสงั คม นอกจากนั้นยงั ตอ้ งคำนงึ ถึงการสง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมในชมุ ชน และการส่งเสรมิ ใหม้ คี วามมน่ั คงหรือ การมหี ลกั ประกนั ในชีวติ อีกดว้ ย เอกสารอา้ งองิ กรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม. (2551). แนวคิดเก่ียวกันองค์รวมย่ังยนื . สบื ค้นเมือ่ 22 พฤษภาคม 2563, จาก http/ww.dip.so.th/images/highlight/holisticjpg. กรรณิกา ปญั ญาวงค์ และพนสั พฤกษ์สุนนั ท.์ (2555). เอกสารประกอบการเรียนวชิ าการดูแลสขุ ภาพแบบองค์รวม. สมทุ รสงคราม: คณะศิลปะศาสตร์ สถาบันการเรียนรเู้ พอ่ื ปวงชน. พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือวถิ ชี วี ติ ใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 113

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 กลุม่ อนามยั ผู้สงู อายุ สำนกั ส่งเสรมิ สุขภาพกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข. (2556). รายงานการสำรวจสุขภาวะผู้สูงอายุ ไทยปี 2556 ภายใตแ้ ผนงานส่งเสริมสุขภาพผสู้ ูงอายุและผูพ้ กิ าร. กรุงเทพฯ:วชั รินทร์ พ.ี พี เกสร มยุ้ จนี . (2558). ปจั จัยทมี่ ผี ลตอ่ ระดบั สขุ ภาพจิตของผสู้ ูงอาย.ุ วารสารวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 23 (2), 306-318. คาสปาร์ พคี ,วาสนา อ่ิมเอม, และรัตนาภรณ์ ตงั ธนเศรษฐ.์ (2558). รายงานสถานการณป์ ระชากรไทย พ.ศ. 2558 โฉมหน้า ครอบครัวไทยยุคเกิดน้อย อายุยืน. กรุงเทพฯ: กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติประจำประเทศไทยร่วมกับ สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. จินตนา อาจสันเที๊ยะ และ พรนภา คำพราว. (2557) รูปแบบการดูแลสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารพยาบาลทหารบก, 15 (3), 123-127. ฐาณญา สมภู่ และคณิต เขียววิชัย. (2562). การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมภาวะพฤฒิพลังของชมรมผู้สูงอายุไทย. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, 12 (1), 35-45. นัยนา พพิ ัฒน์วณิชชา. (2555). การพยาบาลผู้สงู อายุที่สูญเสียการได้ยนิ . วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 32 (3), 67-76. ปัทมา ล้อพงคพ์ านิชย.์ (2560) ผู้สงู อายทุ ม่ี คี วามพกิ าร: การเขา้ (ไม)่ ถงึ สวสั ดกิ ารสงั คม Elderly people with disabilities: Accessible (Inaccessible) to social welfare. วารสารการพยาบาลและการดูแลสขุ ภาพ, 35 (3), 22-30. วรเวศม์ สุวรรณระดา, วิราภรณ์ โพธิศิริ, ศริ ิวรรณ ศิริบุญ, ศรนิ บางแก้ว และชเนตตี มิลนิ ทางกรู (2557). รายงานการศึกษา โครงการการประเมนผลการดำเนินงานโครงการขยายผลอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (อผส.). กรุงเทพฯ: วิทยาลยั ประชากรศาสตรอ์ าคารวิศิษฐป์ ระจวบเหมาะจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . วิรดา อรรถเมธากุล และวรรณี ศรีวิลัย. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ ตำบลคูบัว จังหวัดราชบุรี. วารสารวิจยั ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 7 (2), 18-28. วิไลพรรณ สมบุญตนนท์ และสุภาวดี เที่ยงธรรม. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธต์ อ่ ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำ วันของผู้สงู อายุในชุมชนท่ีมคี วามแข็งแรงของกลา้ มเน้ือตำ่ . วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 38 (2), 110-123. มาสริน ศุกลปักษ์ และกรัณฑรัตน์ บุญช่วยธนาสิทธ. (2560) องค์ประกอบด้านสุขภาพตามแนวคิดสภาวะพฤฒพลังของ ผ้สู ูงอายุ: การทบทวนวรรณกรรมอยา่ งเปน็ ระบบ. วารสารวจิ ัยทางวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ, 11 ฉบบั พเิ ศษ, 53-63. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย และสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล (2560). รายงาน สถานการณ์ผู้สงู อายไุ ทย พ.ศ.2559. นครปฐม: พร้นิ เทอรร.่ี ยศ วชั ระคุปต์,วรรณภา คณุ ากรวงศ์, พสษิ ฐ์ พัจนา และสาวณิ ี สุรยิ นั รัตกร. (2561) ประสิทธผิ ลของบรกิ ารการดูแลระยะยาว สำหรบั ผ้สู ูงอายทุ ่มี ภี าวะพึ่งพงิ : กรณีศึกษาจงั หวดั อุดรธาน. วารสารวิจยั ระบบสาธารณสขุ , 12 (4), 608-624. สุปรีดา อดุลยานนท์. (2560). การขับเคลื่อนขบวนการสร้างเสริมสุขภาพสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2563, จาก https://images.app./PNAQTt6hdNHwyxkv5 สุภาวดี ไชยเดชาธร, ทัศนีย์ ทิพย์สูงเนิน และกชกร แก้วพรหม. (2558). สุขภาพจิตของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้าง แกนนำชมรมผูส้ ูงอายุ จงั หวัดนครราชสมี า. วารสารวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสมี า, 21 (1), 31-40. สุวรรณา เตชะธีระปรีดา. (2557) การบริหารจัดกิจกรรมนันทนาการเพ่ือผสู้ งู อายขุ องเทศบาลตำบลน้ำใส อำเคอสคี ิว้ จังหวัด นครราชสมี า. วารสารวชิ าการบรหิ ารธรุ กจิ สมาคมสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย, 3 (2), 89-100. สำนักส่งเสรมิ กรมอนามัย กระทรวงการส่งเสรมิ สุขภาพผ้สู งู อายสุ ำหรับบุคลากรสาธารณสุข. (2555). กรงุ เทพฯ: ศนู ยส์ อื่ ส่ิงพมิ พแ์ กว้ เจ้าจอม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา. สำนักงานสถติ ิแห่งชาติ. (2560). ดัชนีพฤฒพลงั ผู้สูงอายุไทย. กรงุ เทพมหานคร: เทก็ ซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลเิ คชั่น. สำนกั งานสถติ ิแห่งชาติ. (2556). สรุปผลทสี่ ำคัญ การทำงานของผสู้ ูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2556. กรุงเทพฯ: สำนกั งาน สถิติแหง่ ชาต.ิ (2556). สำนักอนามยั ผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2557). แนวทางการอบรมผู้ดูแลผสู้ ูงอายุหลักสูตร 420 ช่ัวโมง. นนทบุรี: สำนักงานกจิ การโรงพมิ พ์ องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก. Ko, J. (2010). Presbycusis and its management. British Journal of Nursing, 19 (3), 160-165. Özsungur, F. (2019). Gerontechnological factors affecting successful aging of elderly. The Aging Male, 1-13. Spyridakou, C. (2012). Hearing loss: a health problem for all ages. Primary Health Care, 22 (4), 16-20. World Health Organization. (2014). Global Status Report on Non communicable Diseases. Geneva, Switzerland. 114 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวชิ าการระดับชาติ ครง้ั ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ความสมั พนั ธ์การรับรู้ภาวะสุขภาพกับการยอมรับการตรวจคัดกรองเบาหวาน ในประชากรกลมุ่ เสยี่ ง The Relationship between Health Status Perception and Acceptability of Diabetes Screening Test of Risk Population ปยิ ะวรรณ จนั ตรี1* และ วลั ลีรัตน์ พบครี ี2 1,2ภาควิชาเอกการบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล *[email protected] บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการตรวจคัดกรองเบาหวาน ในกลุ่มประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 362 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็น แบบสอบถาม ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพด้านความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน และตรวจสอบความ เที่ยง มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.88 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิง อนมุ านวเิ คราะห์หาความสมั พนั ธ์ โดยสมั ประสิทธสิ์ หสัมพนั ธ์ของเพยี ร์สนั (Pearson’ s Product Moment Correlation Coefficient) อยา่ งมนี ัยสาํ คญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .05 ผลการวิจัยพบว่าการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค การรับรู้ความรุนแรงของการเกิดโรค การรับรู้ประโยชน์ ของพฤติกรรมป้องกันโรค และการรับรู้อุปสรรคของพฤติกรรมป้องกันโรคของประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความสัมพันธ์ ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < .05) กับการยอมรับการตรวจคัดกรองเบาหวาน จากผลการศึกษา มี ข้อเสนอแนะให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการส่งเสริมด้านการรับรู้เกี่ยวกับเบาหวานที่ถูกต้อง อธิบายขั้นตอนการคัดกรองเบาหวาน เพื่อลดความกลัวของประชาชน สร้างความเข้าใจ และความเชื่อมั่นให้แก่ ประชาชนเกี่ยวกับการให้บริการคัดกรองเบาหวาน ร่วมหาแนวทางในการลดปัญหาและอุปสรรคในการเข้ารับ บริการ ส่งเสริมให้ประชาชนมีการรับรู้ภาวะสุขภาพของตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สขุ ภาพ เพ่ือลดการเกิดเบาหวานรายใหม่ คำสำคัญ: การรบั รภู้ าวะสุขภาพ / การยอมรบั การตรวจคดั กรองเบาหวาน พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพ่ือวิถชี วี ติ ใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 115

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 Abstract The prevalence of diabetes in Thailand over 15 years old increased from 6.9% in 2009 to 8.9% in 2014. This research aimed to find the perception factors associated with the acceptability of diabetes screening test of risk population over 15 years old by using health belief patterns of Maville and Herta ( Maville and Huerta: 2002) . Self- administrated questionnaire was a tool to collect data. The questionnaire was tested for content validity and reliability. Data analyzed by using descriptive statistics; percentage, average and standard deviation. Inferential statistics, the Pearson’ s Product Moment Correlation Coefficient, was used to find relationships between health status perception and acceptability of diabetes screening test of risk population. The results showed that susceptibility perception, severity perception, benefit perception, and barrier perception significantly related to acceptability of diabetes screening test of risk population by Pearson’ s Product Moment Correlation Coefficient, with significance level at p < .05. Recommendations for the public health officials and related agencies are to provide appropriate diabetes perception and explain the process of diabetes screening test to reduce the fear of people at risk. The Public health officials should promote understanding and confidence to people at risk for diabetes screening test. The officials should find ways to reduce problems and barriers in using the screening service. The officials should help the risk population to perceive their health status appropriately and correctly in order to change health behavior and reduce the incidence of new diabetes cases. Keywords: Health status perception / Acceptability diabetes screening 116 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวชิ าการระดับชาติ ครงั้ ท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 บทนำ สถานการณ์ในปัจจุบันของประเทศไทยพบว่าโรคเรื้อรังยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และเบาหวานเป็น 1 ใน 5 โรคเรื้อรังสูงสุด ซึ่งเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนของเบาหวานที่เกิดขึ้น ทั้งหลอดเลือดและสมอง โรคหัวใจ ภาวะแทรกซ้อนทางไต ตา ปลายประสาท และเท้า เป็นต้น มีความรุนแรงถึงขั้นพิการ และเสียชีวิตได้ นอกจากนั้นยังมี ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจซึ่งเกิดจากภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มข้ึน (Novo Nordisk: 2560) จากการ สำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งท่ี 5 พบว่าเบาหวานในประเทศไทยมีความชุกในผูท้ ี่มีอายุตัง้ แต่ 15 ปี ข้ึนไป เพิ่มขึน้ จากร้อยละ 6.9 ในปี พ.ศ. 2552 เป็น รอ้ ยละ 8.9 ในปี พ.ศ. 2557 (วิชยั เอกพลากร: 2557) จะเห็นได้ว่าผู้ที่มี อายุ 15 ปีข้นึ ไป เปน็ เบาหวานเพมิ่ ขึ้น จงึ ทำใหเ้ ส่ยี งเบาหวานมากข้นึ ด้วย ในปี พ.ศ. 2559 มผี ้ใู หญ่ป่วยเป็นเบาหวานมากถึง 4.8 ล้านคน และหลายรายเกิดภาวะแทรกซ้อน แต่มีเพียง 2.7 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 57 ที่ได้รับการวินิจฉัย (Novo Nordisk: 2560) และพบว่ามีผู้เสียชีวิตอันเน่ืองมาจากเบาหวาน จำนวนประมาณ 76,000 ราย หรือมากกวา่ 200 รายต่อวัน (วชิ ัย เอกพลากร: 2557) สถานการณเ์ บาหวานในกรุงเทพมหานคร ซง่ึ แบง่ เขตการปกครองออกเป็น 50 เขต ในปี พ.ศ. 2558 พบว่าเขตหลัก สี่มีประชากรที่ได้รับการตรวจคัดกรองและพบว่าเสี่ยงเป็นเบาหวานสูงร้ อยละ 26.62 ซึ่งติดอันดับ 1 ใน 3 ของ กรุงเทพมหานคร รองจากเขตพระโขนง และเขตประเวศ ตามลำดับ และปี พ.ศ. 2558-2561 พบว่าประชากรใน กรุงเทพมหานครเสี่ยงเบาหวานร้อยละ 15.53, 22.20, 25.06 และ 25.80 ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (สำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 13 กรุงเทพมหานคร: 2563) จากข้อมูลจะเห็นได้ว่าการตรวจคัดกรองเป็นวิธีหนึ่งในการ ค้นหาเบาหวานในระยะเริม่ ต้นทีส่ ำคัญ ทำให้ประชากรเกดิ การรบั รูส้ ภาวะสุขภาพของตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดเบาหวานรายใหม่ได้ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานใน วัยรุ่นที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในจังหวัดสมุทรปราการของ สำเภา แก้วโบราณ (สำเภา แก้วโบราณ และคณะ: 2562) พบว่า การรับรู้ความเสี่ยงต่อการเกิดเบาหวาน สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมป้องกันเบาหวานชนิดที่ 2 ของวัยรุ่นที่มีภาวะ เสี่ยงตอ่ เบาหวานได้ เช่นเดียวกบั การศึกษาอิทธิพลในการตรวจคัดกรองเบาหวานในสถานบริการระดับปฐมภูมิ ของ เฮเลน อี โบแรลล์ และคณะ (Helen Eborall et al: 2012) พบวา่ ผ้ทู ย่ี อมรับเขา้ รบั การตรวจคดั กรองเบาหวานมีความสมั พันธ์กับการ รับรเู้ ก่ยี วกับเบาหวานประเภทท่ี 2 และความรุนแรงของโรค ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะสุขภาวะสุขภาพ กับการยอมรับการ ตรวจคัดกรองเบาหวานในประชากรกลุ่มเสี่ยง ในกรุงเทพมหานครให้ได้รับบริการคัดกรองเบาหวาน ซึ่งเป็นตามแนวทาง เดียวกับกระทรวงสาธารณสุข และเป็นแนวทางในการพัฒนาบริการคัดกรองเบาหวานให้คลอบคลุม ทั่วถึง บรรลุตาม เป้าหมายของประเทศ ซึ่งการคัดกรองเบาหวานเป็นการค้นหากลุ่มเสีย่ งเบาหวาน ให้มีการปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมที่เหมาะสม ลดอุบัติการณ์ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ และค้นพบผู้ป่วยเบาหวานระยะเริ่มแรกให้เข้าสู่กระบวนการรักษาพยาบาลท่ีได้ มาตรฐาน มีการติดตามดูแลสุขภาพและการใช้ยาที่ถูกต้อง เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรค ทุพลภาพ และการเสียชีวิตจาก เบาหวาน ท้ังนเี้ ปน็ การลดคา่ ใชจ้ ่ายดา้ นสขุ ภาพของประเทศในการดูแลรกั ษาเบาหวานได้เป็นอยา่ งมาก วัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย 1. ประเมินการยอมรับการตรวจคดั กรองเบาหวานในประชากรกลมุ่ เสยี่ ง 2. อธิบายคุณลักษณะส่วนบคุ คลของประชากรกลมุ่ เส่ียง 3. ประเมินการรบั รู้เกีย่ วกบั ภาวะสุขภาพในประชากรกลุม่ เสย่ี ง 4. หาความสมั พันธ์ของการรับรภู้ าวะสขุ ภาวะสุขภาพกับการยอมรบั การตรวจคดั กรองเบาหวานในประชากรกลุ่มเส่ียง วธิ ีดำเนนิ การวิจยั การวิจัยในครั้งน้ีเป็นการศึกษาแบบภาคตดั ขวาง (Cross - sectional Study) โดยมวี ตั ถุประสงค์เพื่อความสัมพันธ์ ของการรบั รู้ภาวะสุขภาพกับการยอมรบั การตรวจคดั กรองเบาหวานในประชากรกลุ่มเส่ียง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครัง้ นี้ คือ ประชากรในแขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร จำนวน 65,589 คน ในปี พ.ศ. 2561 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในแขวงทุ่งสองห้อง กรุงเทพมหานคร การคำนวณกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ใช้สูตรในการคำนวณของแดเนียล (Wayne W. Daniel: พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพือ่ วถิ ีชวี ติ ใหม่ในยุค Disruptive Technology | 117

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 1995) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ 358 คน เพ่ือป้องกันความผิดพลาดในการเก็บข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ผู้วิจัยจึงเพิ่มจำนวนตัวอย่างอีก 10% เท่ากับ 36 คน รวมขนาดตัวอย่างที่เก็บข้อมูลทั้งหมด 394 คน การสุ่มตัวอย่าง ด้วย วิธีการสุ่มแบบสะดวก (Convenience Sampling) เก็บข้อมูลจากประชากรกลุ่มเสี่ยงท่ีมีอายุ 15 ปีขึ้นไป แขวงทุ่งสองห้อง กรงุ เทพมหานคร ทไ่ี ม่ถูกวินจิ ฉยั เป็นเบาหวาน ไมม่ ปี ญั หาทางการสอ่ื สาร สามารถอ่านออกเขียนได้ เครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัยคร้ังน้ีเป็นแบบสอบถามด้วยตนเอง ซึ่งสร้างขึ้นจากการค้นควา้ ขอ้ มูล วิเคราะห์เอกสาร และทบทวนวรรณกรรมทเ่ี กยี่ วข้อง โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดงั นี้ ส่วนที่ 1 คุณลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส วุฒิการศึกษา รายได้ อาชีพ สถานะสุขภาพ โรคประจำตวั และประสบการณใ์ นการเขา้ รับบริการสุขภาพ เป็นข้อคำถามแบบเลอื กตอบและเติมลงในช่องว่าง จำนวน 10 ข้อ ส่วนที่ 2 การรับรู้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพ ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคเบาหวาน การรับรู้ความรุนแรงของการเกดิ โรคเบาหวาน การรับรู้ประโยชน์ของพฤตกิ รรมป้องกันโรคเบาหวาน และการ รับรู้อุปสรรคของพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวาน ลักษณะคำตอบของแบบสอบถามเป็นมาตราส่วนการประมาณค่า (Rating Scale) โดยผู้ตอบเลอื ก 5 ระดบั เกณฑก์ ารให้คะแนน คือ ระดบั การรบั รู้ มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยทีส่ ดุ ใหค้ ะแนน เป็น 5, 4, 3, 2 และ 1 คะแนน ตามลำดับ จำนวน 19 ข้อ ลักษณะคำตอบของแบบสอบถามเปน็ มาตราส่วนการประมาณคา่ (Rating Scale) โดยผู้ตอบเลือก 5 ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คือ ระดับการรับรู้ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ให้คะแนนเป็น 5, 4, 3, 2 และ 1 คะแนน ตามลำดับ เกณฑ์การแบ่งกลุ่มคะแนน ≥ 80% แสดงว่าการรับรู้อยู่ในระดับดี 60- 79% อยู่ในระดบั ปานกลาง และ < 60% อยใู่ นระดับตอ้ งปรับปรุง ส่วนที่ 3 การยอมรับการตรวจคัดกรองเบาหวาน ประกอบด้วยข้อคำถาม จำนวน 1 ข้อ เป็นข้อคำถาม แบบเลือกตอบ 2 ทางเลือก คอื ยนิ ยอม และไม่ยินยอม การตรวจสอบคณุ ภาพของเครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ครง้ั น้ี ผู้วจิ ยั ตรวจสอบความตรงตามเนอื้ หา (Content Validity) และความเที่ยง (Reliability) โดยใช้สูตรสมั ประสิทธ์ิอัลฟาของ Cronbach (Cronbach and Lee J.: 1951) ซึ่งค่าที่ต้องการ คือ ตั้งแต่ 0.7 ขึ้นไป ในการศึกษาครั้งนี้ค่าความเชื่อมั่นคำนวณ Alpha Coefficient โดยรวม เท่ากับ 0.88 ซึ่งถือว่ายอมรับ ความเชือ่ มัน่ ของแบบสอบถามได้ การเก็บรวบรวมข้อมูล ทำการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน - ตุลาคม พ.ศ. 2562 โดยส่งแบบสอบถามให้กับ อาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) พร้อมทั้งเอกสารชี้แจง หนังสือยินยอมในการเข้าร่วมการวิจัยส่ง และหนังสือยินยอมตนให้ทำ การวจิ ัยในกรณที ี่ผู้เขา้ ร่วมการวิจยั ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะอายุน้อยกว่า 18 ปี ใชร้ ะยะเวลาในการเก็บแบบสอบถามภายใน 1 เดอื น การวิเคราะห์ข้อมูลโดยข้อมลู ค่าสถิติเชิงพรรณนา โดยแจกแจงเชิงปริมาณ ทดสอบหาการแจกแจง ค่าความถี่ ค่า ตำ่ สดุ คา่ สูงสดุ ร้อยละ ค่าเฉลย่ี และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ในการวเิ คราะห์ข้อมูลประกอบดว้ ย คุณลกั ษณะส่วนบุคคล การ รับรู้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพ และการยอมรับการตรวจคัดกรองเบาหวานในประชากรกลุ่มเสี่ยง แขวงทุ่งสองห้อง กรุงเทพมหานคร ทั้งในภาพรวมและรายด้าน สถิติเชิงอนุมาน ใช้การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์คุณลักษณะส่วนบุคคล การ รับรูเ้ ก่ียวกบั ภาวะสุขภาพ และการยอมรบั การตรวจคัดกรองเบาหวานในประชากรกล่มุ เสี่ยง โดยใช้คา่ สมั ประสิทธส์ิ หสัมพันธ์ ของเพยี ร์สนั (Person’ s Product Moment Correlation Coefficient) อยา่ งมนี ัยสําคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .05 การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง ได้รับอนุมัติจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์จากคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล เพื่อขออนุญาตเก็บข้อมลู ในชุมชน ผู้วิจัยส่งแบบสอบถามให้กับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) พร้อมทั้ง เอกสารช้ีแจง หนังสอื ยนิ ยอมในการเข้าร่วมการวิจัยส่ง และหนงั สอื ยนิ ยอมตนใหท้ ำการวจิ ัยในกรณีท่ผี ู้เข้าร่วมการวิจัยยังไม่ บรรลนุ ติ ิภาวะอายนุ อ้ ยกวา่ 18 ปี ซ่งึ ใชร้ ะยะเวลาในการเก็บแบบสอบถามภายใน 1 เดือน ผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเกนิ คร่ึงเป็นเพศหญิง ร้อยละ 52.8 มัธยฐานอายุ 42 ปี กลุ่มตัวอย่างมีอายุระหว่าง 35-59 ปี ร้อยละ 43.6 กลุม่ ตวั อยา่ งเกนิ ครึ่งหนึ่งมีสถานภาพสมรสเปน็ คู่ ร้อยละ 51.4 กลุ่มตัวอย่างจบการศึกษาสงู สดุ ปรญิ ญาตร/ี ปริญญาโท หรือเทียบเท่า ร้อยละ 25.4 กลุ่มตัวอย่างเกินครึ่งหนึ่งมีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาท/เดือน ร้อยละ 66 กลุ่มตัวอย่างมีอาชีพ รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 24.6 เกือบครึ่งหนึ่งมีดัชนีมวลกาย (BMI) 25 กก./ม.2 ขึ้นไป หรืออ้วน ร้อยละ 43.4 กลุ่มตัวอย่างสว่ น ใหญ่มีความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือนอ้ ยกว่า 140/90 มม.ปรอท รอ้ ยละ 82.3 เกินครง่ึ หนึ่งมโี รคประจำตวั ร้อยละ 54.4 กลุม่ ตัวอย่างเกนิ คร่ึงหนึ่งไมเ่ คยรับบริการคดั กรองเบาหวาน ร้อยละ 55.2 ดงั ตารางที่ 1 กลมุ่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญ่มีการยอมรับ การตรวจคัดกรองเบาหวาน รอ้ ยละ 71.5 และไมย่ ินยอม คิดเป็นร้อยละ 28.5 118 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครั้งท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ตารางท่ี 1 จำนวน และร้อยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามคุณลกั ษณะส่วนบคุ คล ลกั ษณะสว่ นบุคคล จำนวน รอ้ ยละ เพศ 171 47.2 ชาย 191 52.8 หญิง 86 23.7 อาย(ุ ปี) 73 20.2 ต่ำกวา่ 30 71 19.6 30-39 56 15.5 40-49 76 21.0 50-59 60 ปขี น้ึ ไป 130 35.9 186 51.4 มัธยฐานอายุ 42 ปี อายุตำ่ สดุ 15 ปี อายสุ งู สดุ 86 ปี 46 12.7 สถานภาพสมรส โสด 72 19.9 คู่ 74 20.4 หม้าย/หยา่ /แยก 90 24.9 ระดบั การจบการศึกษาสงู สดุ 34 9.4 ไม่ได้เรยี น/ประถมศึกษา 92 25.4 มัธยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 239 66.0 อนุปรญิ ญา/ปวส. 51 14.1 ปรญิ ญาตร/ี ปรญิ ญาโทหรอื เทยี บเทา่ 34 9.4 รายได้ (บาท/เดอื น) 38 10.5 ตำ่ กวา่ 15,000 15,000-19,999 82 22.7 20,000-24,999 89 24.6 มากกวา่ 25,000 75 20.7 อาชพี 67 18.5 ไม่ไดท้ ำงาน 49 13.5 รับจา้ งทั่วไป พนกั งานบรษิ ัทเอกชน 135 37.3 ธุรกจิ ส่วนตวั /ค้าขาย 70 19.3 ขา้ ราชการ/รัฐวิสาหกจิ 157 43.4 สถานะสขุ ภาพ ดชั นีมวลกาย (BMI) 298 82.3 ปกติ (ต่ำกว่า 23 กก./ม.2) 64 17.7 นำ้ หนกั เกิน (23 – 24.99 กก/ม.2) อ้วน (25 กก./ม.2 ขึน้ ไป) 165 45.6 ความดนั โลหติ 197 54.4 น้อยกวา่ 140/90 มม.ปรอท 140/90 มม.ปรอท ขนึ้ ไป 200 55.2 โรคประจำตัว 162 44.8 ไมม่ ี มี การรบั บริการคดั กรองเบาหวาน ไมเ่ คยคัดกรองเบาหวาน เคยคดั กรองเบาหวาน พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือวิถชี วี ติ ใหม่ในยุค Disruptive Technology | 119

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 จากการวิเคราะห์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันพบว่า การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค การรับรู้ ความรุนแรงของการเกิดโรค การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรมป้องกันโรค และการรับรู้อุปสรรคของพฤติกรรมป้องกันโรค มี ความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < .05) กับการยอมรับการตรวจคัดกรองเบาหวานอยู่ในระดับต่ำ โดยมีคา่ สมั ประสิทธ์สิ หสมั พนั ธ์ของเพียร์สัน เทา่ กบั .20, .11, .12, 0.12 ตามลำดบั ดงั ตารางท่ี 2 ตารางท่ี 2 ความสัมพันธก์ ารรับรูเ้ กีย่ วกบั ภาวะสขุ ภาพ กบั การยอมรับการตรวจคดั กรองเบาหวานในประชากรกลุม่ เสี่ยง ตวั แปร r p-value การรบั รู้เกย่ี วกับภาวะสขุ ภาพ .20* <.01 การรบั รโู้ อกาสเสีย่ งตอ่ การเกดิ โรค .11* .04 การรบั รู้ความรนุ แรงของการเกดิ โรค .12* .03 การรับรปู้ ระโยชนข์ องพฤตกิ รรมป้องกนั โรค .12* .02 การรับรู้อปุ สรรคของพฤติกรรมปอ้ งกันโรค * p-value < .05 อภิปรายผล การวิเคราะห์ปัจจัยด้านการรับรู้เกีย่ วกับภาวะสุขภาพ พบว่า การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานของ ประชากรกลมุ่ เสี่ยง มีความสัมพันธท์ างบวกกับการยอมรบั การตรวจคัดกรองเบาหวานอยใู่ นระดบั ตำ่ โดยมีค่าสัมประสทิ ธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน เท่ากับ .20 ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < .001) การรับรู้ความรุนแรงของ การเกิดโรคของประชากรกลุ่มเสี่ยง การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรมป้องกันโรค และการรับรู้อุปสรรคของพฤติกรรม ป้องกันโรค มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < .05) กับการยอมรับการตรวจคัดกรอง เบาหวานอยู่ในระดับต่ำเช่นเดียวกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน เท่ากับ .11, .12, .12 ตามลำดับ จะ เห็นได้ว่าการรับรู้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพมีความสัมพันธ์กับการยอมรับการตรวจคัดกรองเบาหวานไม่สูง อาจเนื่องมาจาก ข้อคำถามไม่ได้ทดสอบความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Construct validity) ผู้ตอบแบบสอบถามไม่มีความรู้ในเรื่อง เบาหวาน ซึ่งการวิจัยครั้งต่อไปควรวัดความรู้ของประชากรกลุ่มเสี่ยง อาจทำให้ความสัมพันธ์กับการรับรู้เกี่ยวกับภาวะ สุขภาพเพมิ่ ขึน้ ได้ สอดคลอ้ งกับการศึกษาปัจจยั ท่ีมคี วามสัมพันธ์กับการเขา้ ถงึ บริการสุขภาพตามการรับรู้ของคนพิการใน ตำบลขามทะเลสอ อำเภอขามทะเลสอ จังหวดั นครราชสีมา (นภคั สรณ์ มสี งู เนิน: 2554) เชน่ เดียวกับการศึกษาอิทธพิ ลใน การตรวจคัดกรองเบาหวานในสถานบรกิ ารระดับปฐมภมู ิ (Helen Eborall et al.: 2012) ขณะท่ผี ้ใู ช้บริการไม่ยนิ ยอมเขา้ รับการตรวจคัดกรองเบาหวานจะขาดการรับรู้ถึงความรุนแรงของโรคเบาหวาน ส่วนการศึกษาของ Rasha Khatib (Rasha Khatib et al.: 2014) พบว่า ปัจจัยการรับรู้อุปสรรค การชี้นำการปฏิบัติงาน ถูกอ้างถึงเป็นอุปสรรคต่อการ เชื่อมโยงกับพฤติกรรมในการดูแลความดันโลหิตสูง สอดคล้องกับการศึกษาการตรวจหาระยะก่อนเป็นเบาหวานและ เบาหวานชนิดที่ 2 ในสำนักงานทันตกรรม (William H. Herman et al.: 2015) พบว่า ทัศนคติที่มีต่อการยอมรับและ การรับรู้ถึงอุปสรรคในการตรวจคัดกรอง เป็นเงื่อนไขสำคัญหรือค่อนข้างสำคัญสำหรับทันตแพทย์ที่จะทำการตรวจคัด กรองโรคเบาหวาน นอกจากนกี้ ารศึกษาการยอมรบั วัคซีนป้องกนั โรคไขห้ วัดใหญ่ของหญิงต้ังครรภท์ ่ีมารับบรกิ ารในคลินกิ ฝากครรภ์ โรงพยาบาลศิริราช (ธวัช บุญนวม และคณะ: 2561) พบว่า หญิงตั้งครรภ์ที่มีการรับรู้อุปสรรคของการไปฉีด วัคซนี ฯ ในระดบั น้อยมีโอกาสทจี่ ะยอมรบั วัคซนี มากกว่าหญิงตัง้ ครรภท์ ี่มกี ารรับร้อู ปุ สรรคของการไปฉดี วัคซนี ฯ ในระดับ มาก เช่นเดียวกับการศึกษาการยอมรับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลของบุคคลากรทางการแพทย์ใน โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่ง กรุงเทพมหานคร (มนัสนันท์ ธนวิกรานต์กูล และคณะ: 2558) พบว่า การรับรู้ อุปสรรคของการมารับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ มีความสัมพันธ์ต่อการยอมรับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล นอกจากนีก้ ารศึกษาปัจจัยทำนายการยอมรับวัคซนี ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลของผู้สงู อายุ อำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี (สมบูรณ์ ทวีลาภ: 2562) พบว่า การรับรู้อุปสรรคของการฉีดวัคซีน มีความสัมพันธ์ในการทำนายการ ยอมรบั วคั ซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ สอดคล้องกบั การศกึ ษาปจั จัยทำนายพฤตกิ รรมการดแู ลตนเองเพ่ือป้องกันโรคความ ดันโลหิตสูงของประชาชนกลุ่มเสี่ยง (อมรรัตน์ ลือนาม และคณะ: 2562) พบว่า การรับรู้ต่ออุปสรรคมีความสัมพันธ์เชิง บวกกบั พฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพตนเองเพื่อปอ้ งกันโรคความดนั โลหิตสงู อยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิ ทีร่ ะดบั นยั สำคญั .05 120 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1.1 จากผลการศึกษา พบว่า การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค มีความสัมพันธ์ทางบวกกับยอมรับการ ตรวจคดั กรองเบาหวานมากที่สุด จึงมีขอ้ เสนอแนะให้เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข สร้างความเข้าใจและการรับรู้โอกาสเสี่ยงตอ่ การเกิดโรคเบาหวานของประชากรกลุ่มเสี่ยง โดยสง่ เสรมิ การดูแลสุขภาพของตนเอง ดว้ ยการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ และ ออกกำลังกายอยา่ งสม่ำเสมอ ควบคุมนำ้ หนัก เส้นรอบเอวไมใ่ หเ้ กินมาตรฐาน และส่งเสริมให้กลุม่ เสย่ี งมีการตรวจสุขภาพ เป็นประจำทกุ ปี เน้นให้ประชากรกลุม่ เสยี่ งเกดิ การปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมสขุ ภาพ เพื่อลดการเกดิ เบาหวานรายใหม่ 1.2 จากผลการศกึ ษา พบว่า การมปี ระวตั เิ คยได้รับบรกิ ารคัดกรองเบาหวาน มีความสมั พันธก์ ับยอมรับการ ตรวจคัดกรองเบาหวาน จึงมีข้อเสนอแนะให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขรณรงค์ให้ประชาชนที่ยังไม่เคยเข้ารับบริการตรวจคัด กรองเบาหวานได้เข้าถึงบริการเพิ่มมากขึ้น โดยดำเนินงานเชิงรุก ส่วนในผู้ที่เคยรับบริการแล้วแนะนำให้ตรวจคัดกรอง เบาหวานเป็นประจำทุกปี 2. ขอ้ เสนอแนะในการทำวิจยั คร้ังต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษาถึงปัจจัยที่เป็นสาเหตุทำให้ประชาชนไม่ยอมรับบริการตรวจคัดกรองสุขภาพ เพื่อหา แนวทางในการปรับปรุงบริการให้ประชาชนยอมรับการตรวจคัดกรองสุขภาพเพิ่มขึ้น และหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย สาเหตุกับภาวะสุขภาพหรือโรคต่าง ๆ ที่พบในประชาชนแต่ละกลุ่มวัยตามบริบทของชุมชน รวมถึงรูปแบบการจัดบริการ สุขภาพต่าง ๆ ทส่ี ามารถตอบสนองการเขา้ ถงึ บรกิ ารสุขภาพ 2.2 ควรทำการวิจัยเชิงคณุ ภาพ เชน่ การสัมภาษณเ์ ชงิ ลึก จากกลมุ่ ตวั อยา่ ง และกล่มุ ผู้นำชมุ ชน รวมถึงกลุ่มผู้ ที่เกี่ยวข้องในชุมชน เช่น สมาคมผู้สูงอายุ เพื่อให้ได้ข้อมลู มากขึ้น ครบถ้วน และเจาะจงมากขึ้น โดยเฉพาะทางด้านทัศนคติ และการรับรู้ของประชาชน ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงลึกอาจสามารถอธิบายถึงปัจจัยที่เชื่อมโยงกับการยอมรับการตรวจคัดกรอง เบาหวานได้ดียิ่งขึ้น และศึกษาแบบย้อนกลับ (Case Control Study) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการยอมรับการตรวจคัดกรอง สุขภาพ โดยทำการศึกษากับประชาชนที่ยอมรบั การตรวจคัดกรองเบาหวาน กับกลุ่มที่ไม่ยอมรับการตรวจคัดกรองเบาหวาน เพื่อค้นหาปัจจัยที่นำไปสู่แนวทางการยอมรับบริการตรวจคัดกรองเบาหวานในประชาชนกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้น และติดตาม ประเมินผล เพื่อศึกษาการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มประชาชนที่ยอมรับการตรวจคัดกรองเบาหวาน กับกลุ่มประชาชนที่ไม่ ยอมรับการตรวจคัดกรองเบาหวาน เพื่อใหท้ ราบผลกระทบต่างๆ ที่เกดิ ขนึ้ ได้อย่างแท้จรงิ ตอ่ ไป เอกสารอา้ งองิ (References) ธวชั บญุ นวม และคณะ. (2561). การยอมรบั วคั ซีนป้องกนั โรคไขห้ วดั ใหญข่ องหญิงตัง้ ครรภท์ ีม่ ารบั บรกิ ารในคลินกิ ฝาก ครรภ์ โรงพยาบาลศริ ริ าช. วารสารสาธารณสุขศาสตร,์ 48 (2), 127-36. นภคั สรณ์ มสี ูงเนิน. (2554). ปจั จัยทมี่ ีความสัมพนั ธก์ บั การเขา้ ถงึ บรกิ ารสขุ ภาพตามการรับรขู้ องคนพิการในตำบลขาม ทะเลสอ อำเภอขามทะเลสอ จงั หวัดนครราชสมี า. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช. มนัสนนั ท์ ธนวกิ รานตก์ ลู และคณะ. (2558). การยอมรบั วคั ซีนปอ้ งกนั โรคไขห้ วัดใหญต่ ามฤดูกาลของบคุ คลากรทาง การแพทยใ์ นโรงพยาบาลระดบั ตตยิ ภมู แิ หง่ หน่งึ กรุงเทพมหานคร. วชริ สารการพยาบาล, 17, 15-30. วชิ ัย เอกพลากร. (2557). รายงานการสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย ครั้งท่ี 5 พ.ศ. 2557. นนทบรุ :ี สถาบันวจิ ยั ระบบสาธารณสุข. สมบรู ณ์ ทวลี าภ. (2562). ปัจจยั ทำนายการยอมรับวคั ซนี ปอ้ งกันโรคไข้หวดั ใหญต่ ามฤดกู าล ของผู้สงู อายุ อำเภอพระพทุ ธ บาท จงั หวัดสระบรุ ี. วารสารควบคุมโรค, 45, 418-430. สำนักงานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ เขต 13 กรงุ เทพมหานคร. (2563). สถติ แิ ละรายงาน. ค้นเมือ่ 25 กุมภาพนั ธ์ 2563 จาก https://www.nhso.go.th/frontend/page-contentdetail.aspx?CatID=MTA5NQ==. สำเภา แก้วโบราณ และคณะ. (2562). ปัจจยั ทำนายพฤตกิ รรมปอ้ งกนั โรคเบาหวานในวัยรนุ่ ท่ีมภี าวะเสีย่ งต่อ โรคเบาหวานในจงั หวดั สมทุ รปราการ. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 37 (2), 218-227. พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพื่อวถิ ชี วี ติ ใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 121

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 อมรรตั น์ ลอื นาม และคณะ. (2562). ปัจจยั ทำนายพฤติกรรมการดูแลตนเองเพ่ือป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูงของ ประชาชนกลุ่มเส่ียง. วารสารมหาวิทยาลัยหัวเฉยี วเฉลมิ พระเกยี รตวิ ชิ าการ, 23 (1), 93-106. Asnawi Abdullah et al. (2010). The magnitude of association between overweight and obesity and the risk of diabetes: a meta-analysis of prospective cohort studies. Diabetes Research and Clinical Practice. 2010;89(3):309-19. Cronbach, Lee J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika.; 16 (3). Helen Eborall et al. (2012(. Influences on the uptake of diabetes screening: a qualitative study in primary care. British Journal of General Practice, e204 - e211. Maville JA. and Huerta CG. (2002). Health Promotion in Nursing: Delmar. Novo Nordisk. (2560). สถานการณ์ปจั จบุ นั และความร่วมมือเพื่อปฏิรปู การดูแลรักษาโรคเบาหวานในประเทศไทย. Wayne W. Daniel. (1995). Biostatistics: a foundation for analysis in the health sciences. New York: Wiley & Sons. Rasha Khatib et al. (2014). Patient and healthcare provider barriers to hypertension awareness, treatment and follow up: a systematic review and meta-analysis of qualitative and quantitative studies. Plos one, 9 (1), e84238-e84238. William H. Herman et al. (2015). Screening for prediabetes and type 2 diabetes in dental offices. Journal of Public Health Dentistry, 175-82. 122 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ ทัศนคติและทกั ษะการตรวจโรคมะเร็งเต้านมด้วยตนเองของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในตำบลตากฟา้ อำเภอตากฟ้า จังหวดั นครสวรรค์ สุณัฐชา ขาวเอี่ยม1 ธญั ญพัทธ์ เผา่ มิตรเจรญิ 1 ณัฐตยิ า ไกรกิจการ1 สุทธดิ า แกว้ มุงคุณ2* และนัชชา ยันติ3 1,2,3คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ *[email protected] บทคัดย่อ การวิจยั ครัง้ น้ีมีวัตถุประสงค์เพอื่ เปรียบเทียบความรู้และทัศนคติโรคมะเร็งเตา้ นม รวมท้งั ทักษะการตรวจเตา้ นม ด้วยตนเองก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการให้ความรู้ ทัศนคติและการตรวจโรคมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ใน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลตากฟา้ อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 30 คน โดยการเลือกลุม่ ตัวอย่างแบบเจาะจง เก็บขอ้ มูลแบบกลุ่มเดยี ววดั ก่อนและหลังการเข้ารว่ มโปรแกรม สถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู ไดแ้ ก่ รอ้ ยละ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และ Paired sample t-test ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 10.0 หลังเข้าร่วมโปรแกรมระดับความรู้เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 40.0 ทัศนคติก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับดี ร้อยละ 43.3 หลังเข้ารว่ มโปรแกรมทัศนคติเพ่ิมขึ้นเป็นร้อยละ 83.3 และทกั ษะการตรวจเต้านมดว้ ยตนเองก่อนเขา้ รว่ มโปรแกรม อยู่ในระดับไม่ดี ร้อยละ 2.53 หลังเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับดี เป็นร้อยละ 100 ค่าเฉลี่ยความรู้ ทัศนคติ และทักษะ ก่อนและหลงั เข้ารว่ มโปรแกรมมคี วามแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิ (p-value < .05) ดังนัน้ สรปุ ได้ว่าโปรแกรมที่ ใช้ในการวิจัยน้ีสามารถนำไปใช้สง่ เสริมการคดั กรองมะเร็งเตา้ นมด้วยตนเองในระยะเริ่มแรกได้ คำสำคัญ: โปรแกรมการให้ความรู้ ทัศนคติและทักษะการตรวจโรคมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง, อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วิถชี วี ติ ใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 123

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 The Effect of Knowledge, Attitude and Practice Program on Breast Self-Examination to Village Health Volunteer in Takfa Sub-District, Takfa District, Nakhonsawan Province Sunutcha Khaoaiam1, Thanyapat Poamitcharoen1, Nattiya Kraikitchakan1, Sutthida Keawmoongkun2,*, and Nadchar Yanti 3 1, 2, 3 Faculty of public health *[email protected] Abstract This research was a quasi-experimental research design with the one group Pretest-Posttest design. The objective was to provide village health volunteers have knowledge, attitude and practice for breast cancer screening by oneself after attending the program and to compare knowledge, attitude and to practice detect breast cancer by oneself before and after attending the program. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and Paired sample t-test. The analysis results showed that the subjects were knowledgeable about breast cancer before including the program at a high level 10% After the program, high level 40%. The attitude about breast cancer before joining the program was at a moderate level 43.3% After the program good level 83.3%, The practice for breast self-examination before including the program at low level 2.53% After the program, good level 100% The difference between pretest and posttest was statistically difference significant (p-value < .05). The effect of an educative, attitude and practice program on breast self-examination to village health volunteer showed the man scores before and after attending the program were statistically different (p-value < .05). In conclusion, this program could be used for screening early breast cancer by BSE Keywords: Knowledge Attitude and Practice Program on Breast Self-Examination, Village Health Volunteer 124 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวชิ าการระดับชาติ ครัง้ ท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 1. บทนำ มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบเป็นอันดับ 1 ของสตรีทั่วโลก โดยพบมากในสตรีวัยกลางคนช่วงอายุ 35-60 ปี (สุขุม กาญจนพิมาย, 2561) พบอุบัติการณ์ผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านมทั่วโลก 2,088,849 ล้านคน เสียชีวิตถึง 626,679 ราย และมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (สถาบันวิจัยมะเร็งนานาชาติ องค์การอนามัยโลก, 2561) มีอัตราการเสียชีวิต 12.57 ต่อแสน ประชากรหญิง (สำนักนโยบายและยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข, 2560) มะเร็งเต้านมเกิดจากเนื้อเยื่อที่มีความผิดปกติภายในเต้านมเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์มะเร็งจนขยายใหญ่ข้ึน กลายเป็นก้อนเนื้อร้ายลุกลามไปสู่เนื้อเยื่อข้างเคียงและแพร่กระจายไปยังเซลล์อื่นของร่างกาย สาเหตุของการเกิดโรคมะเร็ง เต้านมนั้นยังไม่ทราบแน่ชัด แต่พบว่ามีปัจจัยเสี่ยงหลายอย่าง ได้แก่ ผู้หญิงที่อายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป มีประวัติคนใน ครอบครัวเป็นมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ เคยได้รับรังสีบริเวณเต้านม มีประจำเดือนครั้งแรกก่อนอายุ 12 ปี การไม่มีบุตร หรือมีบุตรน้อย การมีบุตรคนแรก และเคยได้รับรังสีบริเวณทรวงอก เป็นต้น (มณเฑียร มรุตกรกุล, 2562) ปัจจัยเหล่าน้ี ก่อใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงของเซลลภ์ ายในเต้านม เซลล์มีการเจริญเตบิ โตอยา่ งผดิ ปกติและแพร่กระจายไปยังเนอื้ เย้ือใกล้เคียง ตลอดจนอวัยวะต่าง ๆ ทั่วร่างกาย ระยะเริ่มแรกมักไม่แสดงอาการเจ็บปวดแต่จะเริ่มรับรู้ได้เมื่อคลำได้ก้อนที่บริเวณเต้านม หรือรักแร้ มีการเปลี่ยนแปลงขนาดของเต้านม มีน้ำไหลออกจากหัวนม รู้สึกเจ็บหรือหัวนมถูกดึงรั้ง ผิวหนังบริเวณเต้านม เปลยี่ นไปจากเดมิ เป็นรอยบุ๋มหรือผิวหนังบวมหนาตึง ผวิ หนังบรเิ วณลานหัวนมมีลักษณะเปล่ยี นไปจากเดิม หากอยู่ในระยะที่ ก้อนมะเร็งอยใู่ นอาการอักเสบและลกุ ลามไปทัว่ แล้ว จะแสดงอาการทีผ่ ิดปกตใิ หเ้ หน็ ชัดเจน (สถาบนั มะเร็งแหง่ ชาติ, 2560) ดงั นนั้ การตรวจคดั กรองมะเร็งเตา้ นม โดยการคลำเพ่อื ตรวจหาก้อนบรเิ วณเต้านมหรือรักแร้เพิม่ โอกาสในการค้นพบ มะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้น นำไปสู่การรักษาเพื่อยับยั้งการลุกลามของเซลล์มะเร็ง (สุขุม กาญจนพิมาย, 2561) สำหรับ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีหน้าที่ดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข หากได้รับความรู้ และเพิ่มทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองสามารถเป็นแบบอยา่ งที่ดีในการส่งเสริมสุขภาพและยังสามารถนำความรู้ ที่ได้ไป ถ่ายทอดหรือคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมให้แก่คนในชุมชนได้ (วิภาพร สิทธิสาตร์, 2559) จากการศึกษาของ สุธารัตน์ ชำนาญ ช่าง (2557) พบว่า สตรีวัยกลางคนส่วนใหญ่ไม่ให้ความสำคัญในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เนื่องจากขาดความรู้ ไม่ทราบ วิธีการตรวจ คิดว่าเป็นเรื่องน่าอาย กลัวว่าตรวจแล้วทำให้พบโรค เป็นต้น และจากการศึกษาของ (วรรณี ศักดิ์ศิริ, 2557) พบว่าสตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมอยู่ในระดับต่ำ มีเจตคติอยู่ในนระดับปานกลาง อธิบายได้ว่า การ ได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมตนเองอยู่ในระดับต่ำ มีผลต่อการมีเจตคติเกี่ยวกับการตรวจเต้านม ตนเองที่ไม่ดี พบว่าในรอบ 1 ปีที่ผ่านมาสตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป ไม่เคยตรวจเต้านมดว้ ยตนเองร้อยละ 66.7 โดยเหตุผลที่ไม่เคย ตรวจเต้านมด้วยตนเอง คือ ไมท่ ราบวิธกี ารตรวจและคดิ ว่าตนเองไมเ่ ปน็ โรค จังหวัดนครสวรรค์ มีประชากรทั้งหมด 1,064,957 คน พบวา่ มีผูป้ ว่ ยเป็นโรคมะเรง็ เต้านมท้ังหมด 686 คน มจี ำนวน ผู้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเต้านม 94 คน โดยอำเภอตากฟ้ามีจำนวนประชากรทัง้ หมด 42,362 คน พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคมะเรง็ เต้านม จำนวน 4 คน มีอัตราการเสียชีวิต 9.44 ต่อแสนประชากร ซึ่งถือเป็นอัตราที่สูงเมื่อเทียบกับ อัตราการเสียชีวิตด้วย มะเรง็ เตา้ นมของผู้หญงิ ไทย (สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดนครสวรรค,์ 2561) จากข้อมูลดังกล่าวผู้วิจัยจึงจัดทำโปรแกรมการให้ความรู้ ทัศนคติและทกั ษะการตรวจโรคมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมบู่ า้ น ในตำบลตากฟา้ อำเภอตากฟา้ จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อนำผลการศึกษาที่ได้ไปเป็น ข้อมูลเบือ้ งต้น เพ่ือสง่ เสรมิ ใหอ้ าสาสมคั รสาธารณสุขประจำหมบู่ ้านในพื้นท่ีใหม้ ีความรู้ ทัศนคติเกีย่ วกับโรคมะเร็งเต้านมเพ่ิม มากข้ึน และมีความสามารถในการคลำเต้านมด้วยตนเอง ส่งผลใหล้ ดอตั ราการป่วยและอตั ราการเสียชีวติ ของคนในชมุ ชนได้ 2. วัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย 2.1) เพ่ือเปรยี บเทียบความรูเ้ รอ่ื งโรคมะเรง็ เตา้ นมของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหม่บู า้ น ในตำบลตากฟา้ อำเภอ ตากฟา้ จังหวดั นครสวรรค์ ก่อนและหลงั เข้ารว่ มโปรแกรม 2.2) เพื่อเปรียบเทียบทัศนคติเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในตำบลตากฟ้า อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ ก่อนและหลังเขา้ โปรแกรม 2.3) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการตรวจเต้านมดว้ ยตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในตำบลตากฟา้ อำเภอตากฟ้า จงั หวัดนครสวรรค์ กอ่ นและหลังเข้าโปรแกรม พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพอ่ื วิถชี วี ิตใหม่ในยุค Disruptive Technology | 125

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 3. ประชากรและตัวอยา่ ง 3.1 ประชากรศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในตำบลตากฟ้า อำเภอตากฟา้ จงั หวดั นครสวรรค์ จำนวน 61 คน 3.2 กล่มุ ตัวอย่าง จำนวน 30 คน ผ้วู จิ ัยใชก้ ารสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เกณฑ์ในการเลือกตัวอย่าง โปรแกรมการให้ความรู้ ทัศนคติและทักษะการตรวจโรคมะเร็งเต้านมด้วย ตนเองของอาสาสมคั รสาธารณสุขประจำหมู่บา้ น ในตำบลตากฟา้ อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ เกณฑ์ในการคดั ตัวอย่างเข้า 1) อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำหมบู่ ้าน ในตำบลตากฟ้า อำเภอตากฟ้า จงั หวดั นครสวรรค์ 2) ยนิ ยอมในการเขา้ รว่ มโปรแกรม 3) มคี วามสามารถอา่ นออกเขียนไดด้ ว้ ยตนเอง สือ่ สารกบั ผู้อ่ืนได้และสามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ 4) ไมม่ ภี าวะโรคหรืออาการเจบ็ ปว่ ยรนุ แรง เชน่ โรคมะเร็งทุกชนิด โรควณั โรคขั้นรุนแรง เกณฑใ์ นการคัดตัวอย่างออก 1) ไม่สามารถเข้าร่วมโปรแกรมได้ต่อเน่อื งตามระยะเวลาทีก่ ำหนดได้ 4. สถานที่วจิ ัย ตำบลตากฟ้า อำเภอตากฟ้า จงั หวดั นครสวรรค์ 5. เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการวิจยั 5.1 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมการให้ความรู้ ทัศนคติและทักษะการตรวจโรคมะเร็งเต้านม ดว้ ยตนเองของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมู่บา้ น 5.2 เครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ดังนี้ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปและลักษณะสุขภาพ ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ของครัวเรือน การมีประจำเดอื นครั้งแรก การมีบุตร จำนวนบุตร การคุมกำเนิด ประวัติบุคคลในครอบครวั ปว่ ยดว้ ยโรคมะเรง็ เต้านม การได้รับฮอร์โมน โรคประจำตวั ประวัตกิ ารผา่ ตดั เป็นต้น สว่ นท่ี 2 แบบทดสอบความร้เู รอื่ งโรคมะเรง็ เต้านม เกณฑ์การให้คะแนนระดับความรู้เรื่องโรคมะเรง็ เตา้ นม โดย กำหนดเกณฑ์ในการแปลความหมายของคะแนนเป็น 3 ระดับ การแปลผลคะแนนโดยพิจารณาตามเกณฑ์ของ Bloom (Bloom, 1968) ได้แก่ คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 80 - 100 หมายถึง มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมอยู่ในระดับสูง, คะแนนตั้งแต่ รอ้ ยละ 60 - 79 หมายถึง มคี วามรู้เรอื่ งโรคมะเรง็ เตา้ นมอยใู่ นระดบั ปานกลาง, คะแนนต้งั แต่ร้อยละ 0 - 59 หมายถึง มีความรู้ เร่อื งโรคมะเร็งเต้านมอยูใ่ นระดบั ต่ำ สว่ นที่ 3 แบบสอบถามทศั นคตเิ ก่ียวกับโรคมะเร็งเต้านม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนระดับทัศนคตเิ กย่ี วกับโรคมะเร็ง เต้านม โดยกำหนดเกณฑใ์ นการแปลความหมายของคะแนนเป็น 3 ระดบั การแปลผลคะแนนโดยพิจารณาตามเกณฑ์ของ Best (Best, 1977) ไดแ้ ก่ คะแนนเฉล่ยี 3.67 – 5.00 หมายถึง มีทัศนคตเิ กีย่ วกับโรคมะเร็งเต้านมอยู่ในระดับดี, คะแนนเฉล่ีย 2.34 – 3.66 หมายถึง มีทัศนคติเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมอยู่ในระดับปานกลาง, คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 2.33 หมายถึง มีทัศนคติ เกยี่ วกับโรคมะเรง็ เต้านมอยู่ในระดบั น้อย สว่ นท่ี 4 แบบประเมนิ ทกั ษะการตรวจเตา้ นมด้วยตนเอง เกณฑ์ในการแปลความหมายของคะแนนเป็น 3 ระดบั การแปลผลคะแนนโดยพิจารณาตามเกณฑ์ของ Bloom (Bloom, 1968) ได้แก่ คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 80 - 100 หมายถึง มี ทกั ษะการตรวจเตา้ นมด้วยตนเองอย่ใู นระดบั ดี, คะแนนตง้ั แตร่ ้อยละ 60 - 79 หมายถงึ มที กั ษะการตรวจเต้านมดว้ ยตนเองอยู่ ในระดบั ปานกลาง, คะแนนตัง้ แตร่ ้อยละ 0 - 59 หมายถึง มที ักษะการตรวจเตา้ นมด้วยตนเองอยูใ่ นระดบั น้อย 6. การทดสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย 6.1 การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา ผลการวเิ คราะหค์ ่าดัชนคี วามตรงของเนือ้ หา เทา่ กับ 0.67-1.00 โดยทุก ข้อมคี า่ Index of Consistency (IOC) > 0.5 6.2 การตรวจความเชื่อมนั่ ของเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจยั ทดลองใช้ (Try out) กับกลมุ่ ตัวอยา่ งที่มีลักษณะใกล้เคียง กับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน พบว่า ความรเู้ ร่อื งมะเรง็ เต้านม มคี า่ ความเชอ่ื มน่ั เท่ากบั 0.730, ทศั นคตเิ กย่ี วกับโรคมะเร็ง เต้านม มีค่าความเช่ือม่ัน เทา่ กับ 0.853, ทกั ษะการตรวจเตา้ นมดว้ ยตนเอง มคี า่ ความเชือ่ ม่นั เท่ากับ 0.793 126 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 7. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ในการดำเนนิ การวจิ ยั คร้งั น้ี แบ่งขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน ออกเปน็ 3 ซึ่งมีรายละเอียดดงั น้ี 7.1 ขั้นก่อนการดำเนินการ ติดต่อประสานงานกับหัวหน้านักวิชาการสาธารณสุขของโรงพยาบาลตากฟ้า และ ประธานอาสาสมคั รสาธารณสุขประจำหม่บู า้ น ตำบลตากฟา้ อำเภอตากฟา้ จังหวัดนครสวรรค์ 7.2 ขั้นดำเนนิ การ (ในเดือนสิงหาคม-กันยายน พ.ศ. 2562) กล่มุ ตัวอยา่ งคอื อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบ่ า้ น ในตำบลตากฟ้า จำนวน 30 คน ณ โรงพยาบาลตากฟา้ 1) ประเมนิ ผลกอ่ นทดลอง (Pre-test) รายบคุ คลเก่ยี วกับความรู้ ทัศนคติเรอ่ื งโรคมะเรง็ เต้านม และทักษะ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง เป็นเวลา 30 นาที 2) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมโดยการบรรยายประกอบสื่อ PowerPoint และกระตุ้นเตือน ความรดู้ ้วยแผ่นพับความรู้เรอื่ งโรคมะเร็งเต้านม เป็นเวลา 1 ชั่วโมง 3) กิจกรรมเสรมิ สรา้ งทศั นคติ เปน็ เวลา 1 ช่ัวโมง 4) กิจกรรมการสาธติ การตรวจเต้านมกบั หนุ่ จำลอง เปน็ เวลา 2 ชั่วโมง 5) ทดสอบทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมู่บ้านแตล่ ะคน 6) ประเมินผลหลงั ทดลอง (Post-test) รายบุคคลเกย่ี วกับความรู้ ทัศนคติเร่ืองโรคมะเรง็ เตา้ นม และทักษะ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง 7.3 ขั้นหลงั การดำเนินการ วเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยโปรแกรมสำเร็จรปู ทางสถติ ิ 8. การพิทักษ์สทิ ธขิ องกลมุ่ ตัวอยา่ ง การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาในมนุษย์ ผู้ศึกษาจึงได้ยึดหลักจรรยาบรรณ และเคารพในสิทธิของผู้ให้ข้อมูลทุก กระบวนการ ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจะถูกเก็บเป็นความลับ ไม่เผยแพร่ข้อมูลไปในทางที่เสียหายแก่ผู้ตอบ แบบสอบถาม โดยจะนำไปใช้ในทางวิชาการเท่านั้น โดยการนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ จะนำเสนอในภาพรวม ไม่มีการเปดิ เผยช่ือ และนามสกุล หากมขี ้อมลู เพมิ่ เตมิ ท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ งานวจิ ยั ผตู้ อบแบบสอบถามจะได้รับการแจง้ ให้ทราบ โดยไม่ปดิ บังทนั ที 9. การวิเคราะห์ข้อมูล นำขอ้ มูลทีไ่ ดม้ าวเิ คราะห์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรปู ทางสถติ ิ ประกอบการวิเคราะห์ดังนี้ 9.1 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม ทัศนคติเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม รวมถึงทักษะการ ตรวจเต้านมด้วยตนเองของอาสาสมคั รสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลตากฟา้ อำเภอตากฟ้า จงั หวดั นครสวรรค์ โดยสถิติ เชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ได้แก่ ความถ่ี ค่าเฉลีย่ ร้อยละ และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 9.2 การเปรียบเทียบความรเู้ รื่องโรคมะเร็งเต้านม ทศั นคติเกย่ี วกบั โรคมะเรง็ เต้านม รวมถงึ ทกั ษะการตรวจเต้า นมด้วยตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลตากฟ้า อำเภอตากฟา้ จังหวัดนครสวรรค์ท้ังกอ่ นและหลงั เข้ารว่ มโปรแกรม โดยสถิติเชงิ อนุมาน (Inferential statistics) ได้แก่ Paired sample t-test 10. ผลการศึกษา 10.1 ผลการการศกึ ษาลักษณะทัว่ ไปของกลุ่มตวั อยา่ ง ตารางท่ี 1 จำนวนและร้อยละของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมูบ่ า้ นจำแนกตามลักษณะท่ัวไปของกลุ่มตวั อยา่ ง (n = 30) ลักษณะท่วั ไป จำนวน (คน) รอ้ ยละ อายุ 5 16.7 ≤ 50 ปี 24 80.0 51 – 69 ปี 1 3.3 ≥ 70 ปี Min = 39 Max = 77 Mean = 55.73 S.D. = 7.506 พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพอื่ วถิ ชี วี ติ ใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 127

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ลกั ษณะทว่ั ไป จำนวน (คน) รอ้ ยละ อาชีพ เกษตรกรรม 14 46.7 รบั จ้างทว่ั ไป 10 33.3 คา้ ขาย 3 10.0 แมบ่ า้ น 2 6.7 ประกอบธุรกจิ สว่ นตวั 1 3.3 รายไดข้ องครอบครัว (ตอ่ เดือน) น้อยกว่า 10,000 บาท 22 73.3 10,000 - 14,999 บาท 3 10.0 15,000 - 19,999 บาท 2 6.7 20,000 - 24,999 บาท 1 3.3 มากกว่า 25,000 บาท 2 6.7 Min = 1,600 Max = 30,000 Mean = 9,253.33 S.D. = 6,596.328 ระดบั การศึกษา ประถมศกึ ษา 13 43.3 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 6 20.0 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. 11 36.7 I. 10.2 ลักษณะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง ตารางท่ี 2 จำนวนและร้อยละของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำแนกตามลกั ษณะดา้ นสุขภาพ ลกั ษณะสขุ ภาพ จำนวน (คน) รอ้ ยละ มีประจำเดอื นคร้ังแรก (อายุ) ≤ 12 ปี 9 30.0 13 – 14 ปี 7 23.3 15 – 16 ปี 8 26.7 ≥ 17 ปี 6 20.0 Min = 11 Max= 18 Mean = 14.17 S.D. = 2.102 จำนวนบุตร ไม่มบี ุตร 2 6.7 มบี ตุ ร จำนวน 1 คน 6 20.0 จำนวน 2 คน 16 53.3 จำนวน 3 คน 4 13.3 จำนวน 4 คน 2 6.7 Min = 0 Max = 4 Mean = 1.93 S.D. = 0.944 มบี ุตรครงั้ แรก (อาย)ุ ≤ 20 ปี 8 26.7 21 – 27 ปี 14 46.7 28 – 34 ปี 5 16.7 ≥ 35 ปี 1 3.3 Min = 16 Max = 38 Mean = 23.71 S.D. = 5.2905 การรบั ประทานยาคมุ กำเนิด/ฉดี ยาคุมกำเนดิ หรือยาฝงั คมุ กำเนดิ เคยได้รับ 6 20.0 ไม่เคยได้รบั 24 80.0 128 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติ คร้งั ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ลักษณะสขุ ภาพ จำนวน (คน) ร้อยละ เคยได้รับฮอรโ์ มนอ่ืน ๆ เช่น ฮอร์โมนรักษาการขาดฮอร์โมนเพศหญงิ หรือไม่ 10.0 90.0 เคยได้รบั 3 10.0 ไม่เคยได้รับ 27 90.0 สมาชกิ ในครอบครัวมปี ระวัตเิ ป็นโรคมะเรง็ เต้านมหรือไม่ 6.7 93.3 มี 3 ไม่มี 27 การผ่าตดั บรเิ วณทรวงอก เคยผา่ ตดั 2 ไม่เคยผา่ ตดั 28 11.3 การเปรยี บเทียบความรู้เรือ่ งโรคมะเรง็ เต้านม ทัศนคตเิ กยี่ วกบั โรคมะเรง็ เต้านม และทกั ษะการตรวจเต้านม ตารางที่ 3 ค่าการเปรียบเทียบความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม ทัศนคติเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม และทักษะการตรวจเต้านม ด้วยตนเองของอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำหมู่บ้าน ก่อนและหลังเขา้ รว่ มโปรแกรม (n=30) ตวั แปร Mean S.D. t df p-value ความรู้เรอื่ งโรคมะเร็งเต้านม 4.460 29 < .001* กอ่ นเข้ารว่ มโปรแกรม 10.87 1.978 หลงั เขา้ ร่วมโปรแกรม 13.23 2.192 ทศั นคติเกี่ยวกับโรคมะเรง็ เต้านม 4.515 29 < .001* กอ่ นเขา้ ร่วมโปรแกรม 54.23 5.864 หลงั เข้าร่วมโปรแกรม 61.70 7.621 ทักษะการตรวจเต้านมดว้ ยตนเอง 15.277 29 < .001* ก่อนเขา้ ร่วมโปรแกรม 2.53 1.852 หลงั เขา้ ร่วมโปรแกรม 7.73 0.450 *p-value < .05 จากตารางที่ 3 พบว่า ความรู้และทัศนคติโรคมะเร็งเต้านม รวมทั้งทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองก่อนการ เข้ารว่ มโปรแกรมและหลังการเขา้ ร่วมโปรแกรมมีความแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิ (p-value < .05) 11. อภปิ รายผลการวิจัย ผลการวิจัย พบว่า เมื่อเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมหลังเข้าร่วมโปรแกรมมีความรู้ เพิ่มขึน้ อย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ิ (p-value < 0.001) เนื่องจากการวิจยั มีการสร้างสือ่ การนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับมะเร็งเต้า นมท่ีมคี วามนา่ สนใจ เข้าใจง่าย เหมาะสมกับช่วงวัย และใชแ้ ผ่นพับเพื่อกระตุ้นเตือนความรู้ สอดคล้องกับการวิจัยของ สรา รัตน์ ตระกลรู มั ย์ (2561) เรื่องผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจเต้านมดว้ ยตนเองของสตรีอายุ 45-54 ปี ในเขตชุมชนบ้าน ห้วยจระเข้ ตำบลหินดาด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ในกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวนกลุ่มละ 30 คน พบว่า หลังการทดลองสตรีกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยด้านความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมี นัยสำคัญทรี่ ะดับ .05 ทัศนคติเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้นหลังเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001) เกิดจาก การวิจัยนม้ี กี ิจกรรมเสริมสรา้ งทัศนคติโดยการให้ อสม. ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การตรวจเตา้ นมด้วยตนเอง สอดคล้องกับ การวิจัยของ วราพร วิริยะอลงกรณ์ (2558) เรื่องผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองต่อความรู้ เจตคติ และความถูกต้องในการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีอสม. อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ใช้กลุ่มทดลองจำนวน 30 คน และกลุ่มตัวอย่างจำนวน 32 คน พบว่าค่าเฉลี่ยคะแนนเจตคติเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเองที่ เปลยี่ นแปลงไป หลังการทดลอง ในกลมุ่ ทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคมุ อย่างมีนยั สำคัญทางสถติ ิ (p-value = 0.034) พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพือ่ วถิ ีชวี ิตใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 129

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 และทักษะการตรวจเต้านมด้วยเองหลังเข้ารว่ มโปรแกรมแกรมเพ่ิมขึ้นอย่างมีนยั สำคญั ทางสถิติ (p-value < 0.001) ทั้งนี้เนื่องจาก ผู้วิจัยได้มีการสาธิตการตรวจเต้านมด้วยตนเองกับหุ่นจำลอง และให้ อสม. ได้ฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วย ตนเองกับหุ่นจำลอง สอดคล้องกับการศึกษาของ พัชนภา ศรีเครือดำ (2556) ได้ทำการศึกษาผลของโปรแกรมการพัฒนา ศักยภาพการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน จังหวัดสุรินทร์ ในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 45 คน พบว่า คะแนนทักษะในระยะติดตามผลสงู กว่าก่อนการทดลองอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิติ (p-value < 0.001) 11.1 ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การทำวิจัยครั้งต่อไป ควรพัฒนารปู แบบการวิจัยใหเ้ ป็นเชิงเปรียบเทียบข้อมูล ระหว่างกลุ่มที่ตรวจมะเร็งเตา้ นมด้วยตนเองกับกลุม่ ที่ ไมเ่ คยตรวจมะเรง็ เต้านมด้วยตนเอง เพื่อใหเ้ หน็ ขอ้ แตกตา่ งท่ีแทจ้ ริง 12. บรรณานกุ รม พัชนภา ศรีเครอื ดำ ปญั ญรตั น์ ลาภวงศ์วัฒนา ณัฐกมล ชาญสาธิตพร. (2556). ผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพการตรวจ เต้านมด้วยตนเองของสตรอี าสาสมัครสาธารณสุขชุมชน จังหวัดสุรินทร์. วารสารพยาบาลสาธารณสขุ , 27 (3), 71-82. มณเฑียร มรตุ กรกุล. (2562). มะเร็งเตา้ นมมะเรง็ อันดับ 1 ของผ้หู ญงิ . [ออนไลน]์ , เข้าถึงได้จาก: http://www.sikarin.com/content/detail/136/. (2562, 27 มิถุนายน). วราพร วิรยิ ะอลงกรณ,์ กนษิ ฐา จำรญู สวัสดิ์, วรี ศักดิ์ เมืองไพศาล, สบื วงศ์ จุฑาภิสิทธ.์ิ (2558). ผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะ การตรวจเตา้ นมด้วยตนเองต่อความรู้ เจตคติ และความถกู ต้องในการตรวจเต้านมดว้ ยตนเองของสตรีอสม. อำเภอ วงั จันทร์ จังหวดั ระยอง. ธรรมศาสตร์เวชสาร, 15 (2), 282-290. วรรณี ศักด์ิศิริ. (2557). การศึกษาความรเู้ จตคติเกยี่ วกบั การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองสตรีอายุ 30 ปีขน้ึ ไปในเขต รับผดิ ชอบของโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพบ้านดอนคา นครศรีธรรมราช: รายงานการวจิ ยั โรงพยาบาลส่งเสริม สขุ ภาพตำบลบ้านดอนคา. วภิ าพร สทิ ธสิ าตร์. (2559). ประสทิ ธผิ ลของโปรแกรมการอบรมการตรวจเต้านมดว้ ยตนเองตอ่ ความร้เู จตคติและทักษะการ ตรวจเต้านมดว้ ยตนเอง ของอาสาสมัครสาธารณสขุ ในจังหวดั พษิ ณโุ ลก. [ออนไลน]์ , เข้าถงึ ได้จาก: https://administer.pi.ac.th/uploads/eresearcher/upload_doc/2018/integration/1517279 807263242002797.pdf. (2562, 4 สงิ หาคม). สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. (2560). การมะเร็งเต้านม. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.nci.go.th/th/index1.html. (2562, 1 สงิ หาคม). สถาบันวิจัยมะเร็งนานาชาติ องค์การอนามัยโลก. (2561). มะเร็งเต้านม โรคร้ายอันดับ 1 ที่ผู้หญิงต้องตรวจ. [ออนไลน์], เขา้ ถึงได้จาก: https://www.rakluke.com/lifestyle/7/21/6560. (2562, 25 มถิ นุ ายน). สุขุม กาญจนพิมาย. (2561). กระทรวงสาธารณสุข ชวนหญิงไทยเข้ารับการตรวจมะเร็งเต้านม หากพบก่อนรักษาก่อนโอกาส รอดกย็ ่งิ มากขึน้ . [ออนไลน]์ , เขา้ ถึงไดจ้ าก: https: //voicetv.co.th/read /HyH9q0Gjm. (2562, 1 สงิ หาคม). สุขุม กาญจนพิมาย. (2561). เดือนตุลาคม ทุกภาคส่วนร่วมกันรณรงค์ต้านภัยมะเร็งเต้านม. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/02/117940/. (2562, 25 มิถนุ ายน). สุธารัตน์ ช้านาญช่าง, ปนัดดา ปริยทฤฆ, กนกพร หมู่พยัคฆ์. (2557). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการตรวจเต้านม ด้วยตนเองของสตรวี ยั แรงงาน. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหิดล, 32 (3), 42-51. สรารัตน์ ตระกูลรัมย์, จารุวรรณ ไตรทิพย์สมบัต. (2561). ผลของโปรแกรมส่งเสริมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีอายุ 45-54 ปี ในเขตชมุ ชนบ้านห้วยจระเข้ ตำบลหินดาด อำเภอดา่ นขุนทด จังหวัดนครราชสมี า. วารสารวิชาการ สคร. 9 ปี 2561, 24 (2), 46-56. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นครสวรรค์. (2561). สถิติผู้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเต้านม. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: http://www.nswo.moph.go.th/main/?cat=7. (2562, 30 มิถนุ ายน). สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข. (2560). อัตราตายโรคมะเร็งเต้านม. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.hiso.or.th/hiso/visualize/Index.php?links=v236. (2562, 27 มถิ ุนายน). 130 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดับชาติ ครั้งท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 การพยาบาลผปู้ ่วยติดเช้ือในกระแสโลหิตทมี่ ีภาวะช็อค Nursing Practice for Septic Shock Patients แสงสม เพิม่ พูล โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภูเบศร จังหวัดปราจนี บรุ ี [email protected] บทคดั ยอ่ กระบวนการการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิตต้องอาศัยการพัฒนาแนวทางการรักษาที่ต่อเนื่อง และครอบคลมุ มีประสทิ ธภิ าพ และสามารถนำส่กู ารปฏบิ ัตไิ ด้ ดแู ลรกั ษาผ้ปู ่วยโดยมงุ่ หวังให้ผปู้ ่วยไดร้ ับการวินจิ ฉยั อย่าง รวดเร็ว หาแหลง่ เพาะเชือ้ ทเ่ี ป็นสาเหตุ การเลอื กยาตา้ นจุลชพี ท่เี หมาะกับเชื้อกอ่ โรค เพ่ือลดอัตราการเสยี ชวี ิตและอัตรา การเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ปว่ ยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต ความเสี่ยงเฉพาะโรคของภาวะติดเชื้อในกระแสโลหติ คือการติดเชื้อในกระแสโลหติ ทีม่ ภี าวะช็อค (septic shock) ซึ่งเป็นภาวะวิกฤต คุกคามชีวิต มีอุบัติการณ์และอัตราการ เสียชีวิตสูง การป้องกันภาวะดังกล่าวต้องมีการวินิจฉัยอย่างถูกต้องรวดเร็ว ทีมแพทย์ทีมการพยาบาลจะต้องให้การ รักษาพยาบาลอย่างเร่งด่วนและครบถ้วนตามมาตรฐานในประเด็นต่าง ๆ ที่สำคัญ ตาม safety goal ภายใน 6 ช่ัวโมง แรก( และเฝ้าระวัง ติดตามอาการและอาการแสดงอย่างต่อเนื่อง สามารถรายงานแพทย์เมื่อมีอาการผิดปกติได้อย่าง ถูกตอ้ ง ทนั การ เพ่อื ใหผ้ ูป้ ่วยปลอดภยั จากภาวะช็อคจากการติดเชื้อในกระแสโลหติ ได้ บทความนี้จึงนำเสนอกรณีศึกษา ผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิตที่มีภาวะช็อค เพ่ือการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อใน กระแสโลหิตทมี่ ภี าวะช็อค คำสำคัญ: ภาวะช็อคจากการติดเชื้อในกระแสโลหิต แนวทางการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิต แนวทางการ พยาบาลผู้ปว่ ยติดเชื้อในกระแสโลหติ Abstract Care of process for patient with sepsis requires the development of continuous and comprehensive treatment, effective guidelines and able to be implemented. The aim of Caring for patients with quick diagnosis, find the source of the infection and selection of proper antibiotics, that for reduce the mortality rate and the rate of complications in patients with sepsis. The specific clinical risk of sepsis is a septic shock. Septic Shock is a critical crisis, life threatening , high incidence and death rate. The prevention of such conditions requires rapid and accurate diagnosis. The medical team, nursing team must provide urgent and complete medical care according to standards on important issues. Early gold directed therapy in 6 hours. And continuously monitor the signs and symptoms. Then report a doctor correctly, quickly when there are abnormal symptoms. To allow patients to be safe from septic shock. This article presents the case studies with septic shock patients. To apply knowledge in nursing practice for septic shock patients. Keywords : Early gold directed therapy septic shock patients พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพอ่ื วถิ ีชวี ิตใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 131

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 บทนำ การตดิ เชือ้ ในกระแสโลหิต (sepsis) เปน็ ภาวะเส่ยี งที่เป็นอันตรายซึ่งจะนำไปสูภ่ าวะช็อคที่เรียกว่า ช็อคจากการติด เชอื้ ในกระแสโลหติ (septic shock ) เป็นภาวะวิกฤตทีม่ คี วามสำคญั มีอุบตั กิ ารณแ์ ละอตั ราการเสียชวี ติ สูง การวินจิ ฉัยอย่าง ถกู ตอ้ งรวดเรว็ แพทยแ์ ละทมี การพยาบาลจะต้องใหก้ ารรักษา พยาบาลโดยเรว็ และครบถ้วนทกุ ด้าน จากข้อมูลสถิตของโลก ผู้ป่วยทม่ี ีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิตและมภี าวะล้มเหลวของอวยั วะภายใน จะมีอัตราเสยี ชวี ิต ร้อยละ 25-30 และผู้ป่วยที่ มีภาวะช็อคจากการติดเชื้อ จะมีอัตราการเสียชีวิตถึงร้อยละ 40-70 และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ และในประเทศไทย อุบัติการณ์ของภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิตมีผู้ป่วย ประมาณ 175,000 ราย/ต่อปี และมีผู้ป่วย เสียชีวิตประมาณ 45,000 ราย/ต่อปี ซ่ึงคิดแลว้ พบว่า ผ้ปู ว่ ย sepsis1 รายเกดิ ขึ้นทุก ๆ 3 นาที และผ้ปู ่วย sepsis เสียชีวติ 5 รายทุก 1 ชว่ั โมง โดยอตั รา ตายผปู้ ว่ ยตดิ เช้อื ในกระแสโลหิตในประเทศไทยปีงบประมาณ พ.ศ.2560-ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 อย่ทู รี่ อ้ ยละ 34.81,34.97 และ32.82 ตามลำดับ (ข้อมูลตัวชี้วดั กระทรวงสาธารณสุข https://hdcservice.moph.go.th) สถิติผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิตโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ปีงบประมาณ พ.ศ.2561-ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 เท่ากับ 360 และ 667 รายตามลำดับ และอัตราการเสียชีวิต เท่ากับร้อยละ 29.90 และ 23.54 ตามลำดับ และอย่ปู ่วยหอผปู้ ว่ ยอายรุ กรรมหญงิ 1 ปี พ.ศ. 2561 ,2562 จำนวนผู้ปว่ ยเท่ากับ 191 ราย และ137 ราย คิดเป็นร้อย ละ 53.06,20.54 ของผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิตทั้งหมดที่อยู่ป่วยในโรงพยาบาล อัตราเสียชีวิตเท่ากับร้อยละ 15.18,13.14 และอุบัติการณ์การเกิดภาวะช็อค เท่ากับร้อยละ 3.14,4.38 จากการทบทวนการดูแลผู้ป่วยพบว่าการ ประเมินอาการผ้ปู ่วย การเฝ้าระวงั อยา่ งตอ่ เน่อื งและการรายงานแพทย์ยังไม่ไดต้ ามมาตรฐานส่งผลใหผ้ ปู้ ่วยอาการทรดุ ลง จากความสำคัญดังกล่าว ผู้เขียนบทความจึงสนใจศึกษาผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิตที่มีภาวะช็อค เพื่อการ ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิตที่มีภาวะช็อค เป็นแนวทางในการดูแล ผู้ป่วย มุงหวังให้ผปู้ ว่ ยปลอดภัยและบคุ ลากรม่ันในในการปฏิบตั งิ าน แนวคดิ เกี่ยวกับการติดเช้อื ในกระแสโลหิตทมี่ ภี าวะชอ็ ค (Septic shock) ความหมาย การติดเช้ือในกระแสโลหิตทีม่ ภี าวะช็อค (septic shock) คือภาวะทีร่ ่างกายมีการติดเชือ้ อย่างรุนแรงในกระแส โลหิต (septicemia) โดยเฉพาะการตดิ เชื้อแบคทีเรียแกรมลบ อย่าง E.coli, Klebsiella pneumoniae เป็นต้น ที่มีการ สร้างสารพิษ (endotoxin) ทำให้เกิดภาวะ endotoxemia ซึ่งสารพษิ ดังกล่าวจะทำให้เกิดการช็อก โดยการกระตุ้นใหม้ ี การทำลายเซลลโ์ ดยตรง และกระตุ้นให้มีการหลั่งสารตา่ ง ๆ ทำให้เกิดภาวะล้มเหลวของระบบการไหลเวียนโลหิต ทำให้ เนื้อเยื่อต่าง ๆ ได้รับเลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอ โดยที่อวัยวะนั้น ๆ ไม่ตาย แต่จะสูญเสียหน้าที่ หรือการทำ หน้าที่ของอวัยวะนัน้ ๆ ลดลง ลักษณะการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือ ความดันโลหิตลดลงต่ำกว่าปกติ อัตราการไหลเวยี น โลหิตลดลงหรอื ช้าลง และปริมาณโลหิตทีไ่ หลกลับเขา้ หัวใจน้อยลงไมเ่ พยี งพอ นอกจากนี้ยงั มคี ำศัพทห์ รือนิยามของคำต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การตดิ เชือ้ ซึง่ พยาบาลควรเขา้ ใจ ดังนี้ Bacteremia คอื การตรวจพบเช้ือแบคทเี รยี ในกระแสโลหติ โดยไมม่ ีอาการแสดงของการติดเชื้อ Systemic inflammatory response syndrome (SIRS) เป็นภาวะที่ผปู้ ่วยมกี ารอักเสบแพรก่ ระจายท่ัว ๆ ไปในรา่ งกาย ซง่ึ มีอาการทางคลินิกดงั ต่อไปนอ้ี ยา่ งน้อย 2 ขอ้ (เฉพาะผู้ป่วยผู้ใหญ่เทา่ น้ัน) (สุกัญญา ชัชวาลย์,2556:137) 1. อุณหภมู ิกาย มากกว่า 38 องศาเซลเซียส หรือนอ้ ยกว่า 36 องศาเซลเซยี ส 2. อัตราเตน้ ของหัวใจ มากกว่า 90 ครั้ง/นาที 3. อัตราการหายใจมากกว่า 20 คร้งั /นาที 4. เมด็ เลือดขาว 12,000 เซลล์ตอ่ ลกู บาศก์มิลลิเมตร หรอื น้อยกวา่ 4,000 เซลลต์ ่อลูกบาศก์ มลิ ลเิ มตร Sepsis เปน็ สว่ นหนึ่งของภาวะ SIRS คือ จำกดั เฉพาะในกลุ่มท่มี กี ารติดเชอ้ื เป็นสาเหตุ Severe sepsis เปน็ ภาวะ sepsis ท่มี ีอวยั วะตา่ ง ๆ ทำงานผดิ ปกติ มเี ลือดไปเล้ยี งอวยั วะตา่ ง ๆ ลดลง หรอื มี ความดนั โลหิตต่ำ ในผู้ปว่ ยกลุ่มนีอ้ าจพบลักษณะทางคลนิ กิ เช่น มี lactic acidosis ปสั สาวะออกน้อย หรอื มรี ะดับความรู้ สตเิ ปลี่ยนแปลง เปน็ ตน้ Septic shock เป็นภาวะ sepsis ที่ผู้ป่วยยงั คงมคี วามดันโลหิตต่ำ แม้ได้รับการรกั ษาด้วยสารน้ำจนพอเพียงแลว้ และยังมีหลักฐานท่ีบ่งช้ีว่า มีเลือดไปเล้ยี งอวัยวะต่าง ๆ ลดลง เชน่ lactic acidosis ปัสสาวะออกนอ้ ย หรอื มีระดับความรู้สติ 132 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook