Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 12th_NPRU Conference (Nursing)

12th_NPRU Conference (Nursing)

Published by Nongnutch Chowsilpa, 2021-01-08 06:13:08

Description: 12th_NPRU Conference (Nursing)

Keywords: Nursing Conference

Search

Read the Text Version

งานประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 จากการศึกษา ผู้ป่วยมะเร็งรังไข่ กรณีศึกษาทั้ง 2 ราย สะท้อนให้เห็นว่า การได้รับวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งรังไข่ สามารถสง่ ผลกระทบต่อชีวิตประจำวันได้หลายด้าน ซึ่งอาจจำเป็นต้องได้รบั การสนับสนนุ หลายอย่างสำหรับผูป้ ่วยทีม่ ชี ีวิต อยู่กับโรคมะเร็งรังไข่ ทั้งปัญหาด้านสุขภาพ ปัญหาทางอารมณ์ ปัญหาการเงินและสุขภาพในระยะยาว โดยเฉพาะใน ระยะแรกของโรค และไม่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง พยาบาลต้องมีการพัฒนาความรู้และเทคนิคการพยาบาลให้ สอดคล้องกับแนวทางการรักษา และต้องคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล เข้าใจในระยะของการได้รับการวินิจฉัยโรคของ ผปู้ ว่ ยเปน็ สำคญั เพอ่ื ใหก้ ารพยาบาลแบบองค์รวม ครอบคลุมตามปญั หาของผู้ป่วยได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 8. กติ ตกิ รรมประกาศ ขอขอบคุณ ผู้ป่วยมะเร็งรังไข่ ที่เป็นผู้ให้ประสบการณ์ที่มีค่ายิ่งในการนำศาสตร์และศิลป์มาใช้ในการพยาบาล โดยการนำกระบวนการพยาบาลมาใช้เพื่อตอบสนองตามความต้องการของผู้ป่วยแบบองค์รวมอย่างมีประสิทธิภาพ และ ขอขอบคุณทีมสหสาขาวชิ าชพี ท่ีมสี ่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย เอกสารอ้างองิ (References) โกสนิ ทร์ วิราษร. เคมีบำบัดในผู้ปว่ ยตงั้ ครรภ์. คน้ เมอ่ื 13 มิถุนายน 2563 จาก https://www.smj.ejnal.com /e-journal จตุพล ศรสี มบูรณ์ , และชำนาญ เกียรตพิ ีรกุล. บรรณาธิการ. (2554). มะเร็งนรีเวชวทิ ยา. กรุงเทพฯ: พมิ พด์ ี. จติ รากานต์ เจรญิ บุญ. (2011). Ovarian tumor in pregnancy. ค้นเม่อื 16 พฤษภาคม 2563 จาก https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/index.php?option=com_content&view=article&id=534:ovarian- tumor-in-pregnancy&catid=45&Itemid=561. ชัยเลศิ พงษ์นริศร. (2010). เนอื้ งอกของรงั ไข.่ คน้ เม่ือ 16 พฤษภาคม 2563 จาก https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/index.php?option=com_content&view=article&id=416:ovarian- tumor&catid=42&Itemid=479. เพลินพิศ ธรรมนิภา. (2558). คมู่ อื การพยาบาล การบรหิ ารยาเคมบี ําบดั สำหรับผูป้ ่วยมะเร็งรังไข.่ กรุงเทพฯ: งานการ พยาบาลสตู ิศาสตร์-นรเี วชวิทยา ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหดิ ล. ภาควชิ าการพยาบาลสตู ิศาสตร์-นรเี วชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. (2553). ตำราการพยาบาลนรีเวช (ฉบบั องค์รวม). กรงุ เทพฯ: วี พร้ิน. ภาควิชาพยาธวิ ิทยาคลนิ ิก คณะแพทยศ์ าสตร์ศริ ิราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. (2563). ค่มู อื การส่งตรวจทางหอ้ ง ปฏิบตั ิการ. ค้นเม่ือ 16 พฤษภาคม 2563 จาก https://www.si.mahidol.ac.th/th/manual/Project/content. ภาควชิ าสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. (2560). ตำรานรเี วชวิทยา. กรุงเทพฯ: พี เอ ลฟี ว่ิง. วริ ะพล ภมิ าลย.์ (มปป.). เภสชั กรรมบำบัดในมะเร็งรังไข.่ ค้นเม่ือ 11 พฤษภาคม 2563 จาก http://kpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byval/ag_16_in_1.2.4_509(2555).pdf. วีรศกั ด์ิ วงศถ์ ริ พร. (2553). โรคมะเรง็ รังไข่. ค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2563 จาก https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetail.asp?aid=215. เว็บไซตเ์ มดไทย (MedThai). (2017). มะเร็งรังไข่ (Ovarian cancer) อาการ สาเหตุ การรักษาโรคมะเรง็ รังไข่ 5 วิธี !. ค้น เม่อื 10 พฤษภาคม 2563 จาก https://medthai.com/มะเรง็ รังไข.่ ศูนย์รวบรวมข้อมลู โรงพยาบาลนครปฐม. (2563). สถติ ิผ้ปู ่วย: โรงพยาบาลนครปฐม. คน้ เมอื่ 11 พฤษภาคม 2563 จาก http://www.nkpthospital.go.th/th/. สถาบนั มะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ . (2559). แนวทางการตรวจวนิ จิ ฉยั และรกั ษาโรคมะเร็งรังไข่. กรุงเทพฯ: โฆสิตการพมิ พ์. พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วถิ ชี วี ติ ใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 183

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 สถาบนั มะเรง็ แห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ . (2560). คมู่ อื มาตรฐานการทำงานเกี่ยวกับยาเคมบี ำบัด และ การดูแลผ้ปู ่วยหลังได้รับยา. กรุงเทพฯ: นิวธรรมดาการพมิ พ์. สุวชิ า จิตติถาวร. (2018). มะเร็งรงั ไข่. คน้ เม่ือ 11 พฤษภาคม 2563 จาก https://med.mahidol.ac.th/cancer_center/th/protfolio/knowledge/gyne/ovary. 184 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้งั ท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 การนําเสนอผลงานวิจยั และผลงานวิชาการ แบบโปสเตอร์ (Poster Presentation) สาขาพยาบาลศาสตร์ พยาบาลกบั การวิจยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพือ่ วถิ ชี วี ิตใหม่ ในยุค Disruptive Technology พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่อื วิถีชวี ติ ใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 185

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 186 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 รปู แบบการป้องกนั และควบคมุ ยาสูบในโรงเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษา ในอำเภอยงี่ อ จังหวัดนราธวิ าส อัสฮา อดุลย์รอหมาน โรงพยาบาลย่ีงอเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษา Adulroman.azhar@gmail.com บทคัดยอ่ การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการป้องกันและควบคุม ยาสูบสำหรบั นักเรียนในโรงเรียนระดบั มธั ยมศึกษา ในอำเภอยีง่ อ จังหวัดนราธิวาส โดยใชเ้ ครือ่ งมือ แบบสอบถามแบบคดั กรอง ASSIST ของWHO ในนักเรียนจำนวน 140 ราย การสนทนากลุ่มและการสมั ภาษณเ์ ชิงลึกในกลมุ่ ผทู้ ่ีมีสว่ นเก่ียวข้อง คอื นักเรยี น ผ้ปู กครอง ครู ตวั แทนชุมชน และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินท้องถ่นิ จำนวน 30 คน เคร่ืองมอื ทง้ั หมดได้รบั การตรวจสอบความตรงเชิงเน้อื หา (logical content validity) จากผ้ทู รงคณุ วฒุ จิ ำนวน 4 ทา่ น ผลการศึกษา พบว่า สถานการณ์การสูบบุหรี่นักเรียนในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ในอำเภอยี่งอ จงั หวดั นราธิวาส คอื มีประสบการณก์ ารใช้ผลติ ภณั ฑย์ าสบู และสารเสพตดิ อ่นื ๆ จำนวน 37 ราย (ร้อยละ 26.43) การใช้ ผลิตภัณฑ์ยาสูบอย่างเดียวจำนวน 43 ราย (ร้อยละ 30.71) และไม่เคยมสี ่วนเกีย่ วข้องกับสารเสพติดทุกชนิดจำนวน 60 ราย (ร้อยละ 42.86) ทำให้เกิดการมีรูปแบบการป้องกันและควบคุมยาสูบในโรงเรียนใน 7 ประเด็นดังต่อไปนี้คือ 1. นโยบายของโรงเรียนและข้อตกลงของชุมชน 2. ระบบการบริหารจัดการ โดยมีคณะทำงานของโรงเรียน 3. การจัด สภาพแวดล้อม การกำหนดพื้นที่ห้ามสูบบุหรี่และการเฝ้าระวัง 4. การสอดแทรกการเรียนการสอนในชั้นเรียนและ กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร 5. บทบาทของแกนนำนักเรยี น 6. ชมุ ชนและเครอื ขา่ ยการขับเคล่ือนทางสุขภาพ 7. การ สอดสอ่ งดูแลนกั เรยี นรว่ มกันอย่างตอ่ เนอื่ ง นอกจากนี้ยงั พบประเด็นเพ่มิ เติมจากรูปแบบขา้ งต้น คือ การมีต้นแบบที่ดหี รอื แบบอย่างที่ดี และการปลูกฝังด้านคุณธรรมจริยธรรมถือเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญ โดยทั้งสองโรงเรียนมีรูปแบบการ ปอ้ งกันทคี่ ลา้ ยคลึงกัน เว้นแต่คณะทำงานของแกนนำนกั เรยี น สรุปและเสนอแนะ จากการศกึ ษาขา้ งตน้ พบว่า รปู แบบการดำเนนิ งานงานเพ่อื การควบคมุ ป้องกนั ยาสบู ในโรงเรียนระดับมยั มศกึ ษา เปน็ การบูรณาการความรว่ มมอื ของกลไกหลัก 4 ระดบั คอื ระดับ บคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน และ โรงเรยี น อย่างไรกต็ าม จำเปน็ ต้องมกี ารศกึ ษาประเมนิ ตดิ ตามรปู แบบดงั กลา่ วท้งั ในด้านผลลพั ธ์และ ผลกระทบตอ่ การควบคมุ ยาสูบในระยะยาวตอ่ ไป คำสำคัญ : ยาสูบ, รปู แบบ, การปอ้ งกนั และควบคุม, ในโรงเรียน, จงั หวดั นราธวิ าส พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพื่อวถิ ชี วี ิตใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 187

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 Model for Tobacco Prevention and Control in Yi-ngo Secondary Schools, Narathiwas Province. Azhar Adulroman Yi-ngo Chalermprakiet Hospital 80th Anniversary **Adulroman.azhar@gmail.com Abstract This study was a descriptive research design aiming to study a model of tobacco prevention and control in Yi-ngo Secondary schools, Narathiwas Province. The data were collected by using the ASSIST screening test to 140 students in both schools, focus group discussion, and in-depth interviews among 30 participants including students, parents, teachers, community representatives, and local governors. All research tools were examined for logical content validity by 4 experts. The study revealed that 31 students (26.43%) in both schools had experienced in tobacco and other drugs use. 43 persons (30.71%) had ever used only tobacco and 60 persons (42.86%) had never tried. Those situations were contributed to the development of tobacco prevention and control models in both schools consisting of 7 aspects as follows: 1) school policies and community agreements; 2) management system and school committee ; 3) environmental management, 4) fully integrated tobacco control curriculum in schools 5) working against tobacco use by student leaders; 6) community and health networks. 7) continuing of tobacco control surveillance. In addition, this model was demonstrated that being a good role model was a critical role in tobacco prevention among students as well as moral and ethical values. For this model, both schools also developed similar protection patterns, except for the working of the student committee. Conclusions and suggestions: The finding showed that the integration among all levels including, individuals, family, community, and school, was a critical role contributing to the tobacco prevention and control in Secondary school model. However, this needs to be further evaluated and monitored for both its outcomes and impacts in a long period. Keywords: tobacco, model, prevention and control, in school, Narathiwat province 188 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวิชาการระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 1. บทนำ จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2556 พบว่าประชาชนไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไปมีการบริโภค ยาสบู 10.77 ลา้ นคน (19.94%) อตั ราการบริโภคยาสูบของเพศชายเท่ากับ 39% เพศหญิงเทา่ กับ 2.05% เม่อื พิจารณาอัตรา การบรโิ ภคยาสูบของประชาชนไทย อายุ 15 ปี ขึน้ ไปในรอบ 22 ปี ที่ผา่ นมา (พ.ศ.2534- 2556) พบวา่ มแี นวโน้มลดลงโดยมี อัตราการเปลี่ยนแปลงเท่ากับ 37.7% กล่าวคือ ประชาชนไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไปที่บริโภคยาสูบในปี พ.ศ. 2534 มีจำนวน 12.26 ล้านคน (32.00%) ลดลงเป็น 10.9 ล้านคน (20.7%) ในปี พ.ศ.2552 แต่ในปี พ.ศ. 2554 กลับเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น 11.50 ล้านคน (21.4%) และกลับลดลงอีกในปี พ.ศ.2556 เป็น 10.77 ล้านคน(19.94%) ซึ่งต่ำกว่าปี 2552 จากการศึกษา ภาระโรคในปี พ.ศ. 2552 พบว่าการสบู บหุ รีเ่ ปน็ สาเหตขุ องการเสยี ชีวิตของประชาชนไทยประมาณ 48,244 คนต่อปโี ดยเฉลี่ย ผู้ชาย 1 ใน 6 คน และผู้หญิง 1 ใน 25 คนเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ ซึ่งทำให้สูญเสียปีสุขภาวะ (Disability Adjusted Life Years; DALY) จากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรและเกิดความพิการของภาระโรคทั้งหมดในผู้ชายและสูญเสียปีสุขภาวะ 6.0 แสนปี หรือ 11.1% (ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์, 2554) โดยเฉพาะในเด็กและเยาวชนทั้งเพศชายและเพศหญิง พบว่ามี แนวโน้มของอายุที่เริ่มสูบบุหรี่ในครั้งแรกต่ำลงเรื่อยๆ โดยมีช่วงอายุอยู่ระหว่าง 15-19 ปี (ศรัญญา เบญจกุล,2558) จาก สถานการณ์การสูบบุหร่ีท่เี พ่มิ ข้ึนในวัยเด็กและเยาวชนทำให้ยุทธศาสตร์เพื่อการควบคุมยาสูบระดับชาติปี พ.ศ.2557 มุ่งเน้น การเพิ่มประสิทธภิ าพในการดำเนินมาตรการที่เจาะจงเพื่อให้เห็นผลสัมฤทธ์ิตอ่ กลุม่ เปา้ หมาย 3 ลด 2 เพิ่ม โดย 3 ลด คือ 1) การลดนักสูบหน้าใหม่ (อายุ 15-24 ปี, 19-24 ปี) ทั้งเพศชายและเพศหญิง 2) ลดจำนวนผู้สูบเดิมในเขตชนบท โดยเฉพาะ ผู้บริโภคบุหรี่มวนเส้น อายุระหว่าง 15-44 ปี 3) การลดควันบุหรีม่ อื สองในที่ทำงาน และ 2 เพิ่ม คือ 1) เพิ่มระบบกลไกการ ป้องกันในอุตสาหกรรมยาสูบแทรกแซงนโยบายควบคุมยาสูบของรัฐบาล และ 2) เพิ่มผู้ที่ทำหน้าที่ขับเคลื่อนการควบคุม ยาสูบในพื้นที่ระดบั จังหวัดและระดับท้องถิ่น (ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์, 2557) จากนโยบายดังกล่าวกระทรวงศึกษาธิการได้ ออกประกาศแนวทางการปฏิบัติเพ่ือการควบคุมยาสูบข้ึนในสถานศกึ ษา ทำให้ในปัจจุบันสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธกิ าร ร่วมมือกับเครือข่ายครูเพ่ือโรงเรียนปลอดบุหร่ี จากการสนับสนนุ ของมลู นิธิรณรงค์ เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ภาคีของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ กระทรวงสาธารณสขุ (สุนดิ า ปรีชาวงษ์และคณะ, 2557) ปัญหาการดำเนินงานในโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดนราธิวาส ในปัจจุบันข้อมูลจากการดำเนินงานของ เครือข่ายครูเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่ในจังหวัดนราธิวาส พบว่า ไม่มีรูปแบบการควบคุมที่ชัดเจน และไม่การกำหนด วัตถุประสงค์ในการดำเนินการอย่างชัดเจน จึงมีบางโรงเรียนบางโรงเรียนที่เริ่มเข้าร่วมโครงการ แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ เทา่ ทีค่ วร เน่อื งจากการเอื้ออำนวย/การยอมรบั /การเหน็ ชอบต่อโครงการโรงเรียนปลอดบหุ รจี่ ากผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ยัง ไม่ให้การสนับสนุนเต็มที่ ไม่ให้ความสนใจ ไม่ร่วมกันผลักดันประกาศเป็นนโยบายของโรงเรียน รวมทั้งบางคนยังมี พฤติกรรมสูบบุหรี่อยู่เป็นต้น จากการถอดบทเรียนผลการดำเนินงาน โรงเรียนปลอดบุหรี่ในจังหวัดนำร่อง ของจังหวัด สงขลา พบว่า ปัจจัยที่ทำใหป้ ระสบผลสำเรจ็ (key success factors) คอื การให้ความร่วมมอื จากสถานศึกษา โดยจดุ เดน่ ของเครือข่ายครูฯ จังหวัดสงขลา คือ การที่มีผู้อำนวยการ ผู้บริหารหรือฝ่ายบริหาร ของโรงเรียนหรือสถานศึกษาเข้ามา อยู่ในกลุ่มแกนนำเครือขา่ ยครูฯ ด้วย การที่มีผู้อำนวยการ ผู้บริหารหรือฝ่ายบริหาร ร่วมเข้ามาอยู่ในกลุ่มทำใหไ้ ด้มุมมอง แบบฝ่ายบรหิ ารที่คำนงึ ถึงความเปน็ ไปได้บนพื้นฐานของระบบ นอกจากนี้สมาชกิ ของเครอื ข่ายฯส่วนใหญ่เป็นผู้มีความรู้ ในเร่อื งบหุ ร่ีและยาเสพตดิ เนื่องจากเคยทำงานรณรงค์ในโรงเรยี นท่ตี นเองทำงานอยู่ จึงทำใหม้ ตี ้นทนุ ทางความรภู้ ายใต้ท่ี มีบทบาทการเป็นวิทยากร (อภิญญา ตันทวีวงศ์ และคณะ, 2555) นอกจากนี้ข้อมูลจากการดำเนินงานของเครือข่ายครู เพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่ในจังหวัดนราธิวาส พบว่า มีบางโรงเรียนบางโรงเรียนที่เริ่มเข้าร่วมโครงการ แต่ไม่ประสบ ผลสำเร็จเท่าทคี่ วร เนอื่ งจากการเอือ้ อำนวย/การยอมรบั /การเหน็ ชอบต่อโครงการโรงเรียนปลอดปลอดบหุ รี่จากผบู้ ริหาร สถานศึกษา ยังไม่ให้การสนับสนุนเต็มที่ ไม่ร่วมกันผลักดันประกาศเป็นนโยบายของโรงเรียน รวมทั้งบางคนยังมี พฤติกรรมสูบบุหรี่อยู่เป็นต้น ดังนั้น รูปแบบการป้องกันและควบคุมยาสูบในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาใน อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส การศึกษาครั้งนี้ใช้มาตรการดำเนินงาน ตามมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ มาเป็นแนวทางสำหรับ การป้องกันและควบคุมยาสูบในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ในอำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส เพื่อให้ได้รูปแบบการ ดำเนินงานการป้องกันควบคุมยาสูบในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดนราธิวาส ทั้งนี้เพื่อใช้เป็นแนวทางให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงเรียนซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความใกล้ชิดกับเยาวชน รวมถึงภาค พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่อื วิถชี วี ติ ใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 189

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ประชาชนและภาคีที่เกี่ยวข้อง สามารถนำไปใช้ในการ กำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการควบคุมยาสูบทั้งใน ระดับ โรงเรียนและในชุมชน ซ่ึงจะนำไปสู่การป้องกนั และแก้ไขปัญหาการสูบบหุ รีข่ องเยาวชนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธผิ ล และยั่งยืน 2. วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั เพ่อื ศกึ ษารปู แบบการปอ้ งกันและควบคุมยาสบู สำหรับนกั เรยี นในโรงเรียนระดับมธั ยมศึกษา ในอำเภอย่ีงอ จังหวัดนราธวิ าส 3. วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (Population and samples) ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ท่ีมี่ส่วน เกย่ี วขอ้ งในการป้องกันและควบคมุ ยาสูบในในอำเภอยี่งอ จังหวดั นราธิวาส โดยคัดเลอื กกลุ่มตวั อย่างแบบเฉพาะเจาะจง โดย มีกลุ่มตัวอยา่ งดังตอ่ ไปน้ี 1. ผปู้ กครองนักเรยี น 2. ผู้นำชุมชน 3. ตวั แทนรา้ นค้า 4. ครทู ่ีรบั ผิดชอบงานควบคุมยาสบู ในโรงเรียน 5. เจ้าหน้าที่ อปท. /อบต. 6. เจา้ หนา้ ท่ี รพ.สต. 7. ผ้นู ำศาสนา 8. นักเรียนแกนนำ 3.2 การเลอื กกลมุ่ ตัวอย่าง (Sample group selection) เลอื กกล่มุ ตวั อยา่ ง ใช้การคัดเลอื กแบบ เฉพาะเจาะจง จากกลมุ่ ผ้ทู ีม่ สี ว่ นเกี่ยวขอ้ งในการป้องกันและควบคุมยาสบู ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา อำเภอยี่งอ จังหวดั นราธวิ าส โดยมีเกณฑใ์ นการคัดเลือกดงั น้ี 1. ผู้ปกครองนักเรียน ทีม่ ีบตุ รกำลงั ศกึ ษาอยู่ 2. ผนู้ ำชมุ ชน ท่ีอาศยั อย่หู มู่บ้านเดยี วกันกบั ทตี่ ้ังของโรงเรียน 3. ตวั แทนรา้ นค้าท่ตี ัง้ ร้านอยู่หมูบ่ ้านเดยี วกนั กบั ท่ีต้ังของโรงเรียน 4. ครทู ่ีรบั ผิดชอบงานควบคมุ ยาสูบในโรงเรียน 5. ตวั แทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ท่ีรบั ผดิ ชอบงานควบคุมยาสบู 6. เจ้าหนา้ ท่ีโรงพยาบาลสง่ เสรอมสขุ ภาพตำบล/ศูนยส์ ุขภาพชมุ ชนท่รี ับผิดชอบงานควบคมุ ยาสูบ 7. ผ้นู ำศาสนาท่ีอาศยั อยู่หม่บู ้านเดียวกนั กบั ท่ีตั้งของโรงเรยี น 8. นักเรียนแกนนำ ซึ่งเป็นนักเรยี นทีก่ ำลงั ศึกษาอยู่ โดยเป็นแกนนำนักเรยี นในโครงการเก่ียวกับยาสบู 3.3 เครือ่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจยั (Research instruments) 1. ผู้นำการการสมั ภาษณ์เชิงลกึ (ตัวผูว้ จิ ยั ) ทำหน้าที่นำการสมั ภาษณเ์ ชิงลึก 2. ผ้จู ดบันทึก (ผูช้ ่วยนักวจิ ัยคนที่ 1) ทำหนา้ ทก่ี ารจดบันทกึ ระหวา่ งการสมั ภาษณ์เชงิ ลึก 3. วัสดุ-อุปกรณ์ในการสมั ภาษณเ์ ชิงลึก ไดแ้ ก่ กระดาษสำหรับจดบันทึก ปากกา นาฬิกาจบั เวลา เครื่อง บันทกึ เสยี ง เคร่อื งด่ืมและอาหารวา่ ง 3.4. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย (Instrument validation) การตรวจสอบแนวคำถามที่ใช้ในการ สัมภาษณ์เชงิ ลึก ผูว้ ิจัยได้นำแนวคำคามที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลกึ ไปใหผ้ ู้ทรงคุณวุฒิจำนวนท้ังสนิ้ 4 คน ตรวจสอบ จากนั้น จงึ ทำการหาคา่ ดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามกบั วัตถุประสงค์ (IOC) ซ่งึ แนวคำถามท่ีใช้ในการสนทนากลมุ่ นีไ้ ด้ค่า IOC - 1.00 เมื่อได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว ผู้วิจัยนำแนวคำถามมาปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมตามข้อเสนอแนะของ ผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อให้แนวคำถามในการใช้สัมภาษณ์เชิงลึกนั้น มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย และมี ความสมบูรณข์ องแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณเ์ ชิงลกึ ที่ได้รับจากการพัฒนาแลว้ ไปทำการทดลอง (try out) กบั ผู้ใหข้ ้อมูล ทีม่ ลี ักษณะคลา้ ยคลงึ กันกับเกณฑท์ ่กี ำหนดให้ แต่ไม่ได้ใชก้ ลุ่มตวั อยา่ งทีใ่ ช้ในการเกบ็ ขอ้ มูลจรงิ จำนวน 3 คน 3.5 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Data collection) ในการทำวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยเก็บรวมรวมข้อมูลดว้ ยตนเอง โดย ใช้วิธีการสมั ภาษณเ์ ชิงลึก การจดบันทึก การบันทึกเสียง และการบันทึกวีดีโอ การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เกบ็ ข้อมูลจนได้ข้อมูลที่ชัดเจน ครอบคลุม ครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ที่ศึกษา ซึ่งผู้วิจัยได้มีเก็บรวบรวมข้อมูลตามขั้นตอน ดงั ต่อไปน้ี 1. ระยะเตรยี มการ 1.1 ผู้วิจัยได้เลือกผใู้ หข้ อ้ มลู เพอื่ เข้ารว่ มการวจิ ัยตามคณุ สมบตั ิทีก่ ำหนด ด้วยวิธกี ารสมุ่ ตวั อยา่ งแบบเจาะจง ตามเกณฑ์การคดั เลือกผู้ให้ข้อมลู หลกั ข้างต้น โดยผู้ใหข้ ้อมลู มีความยินยอมและสมคั รใจในการเข้ารว่ มวจิ ยั หรือใหข้ ้อมลู 190 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดับชาติ ครงั้ ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 1.2 ผวู้ ิจัยขอหนังสือจากโรงพยาบาลย่ีงอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ถึงผู้อำนวยการโรงเรียน เพ่ือช้ีแจง วัตถุประสงค์ รายละเอียดของการทำวิจัย ขออนุญาตทำการเก็บข้อมูลประกอบการทำวิจัย และขอความอนุเคราะห์ให้ผู้ให้ ขอ้ มลู เดินทางมาท่ีโรงเรยี นในอำเภอยี่งอ เพอ่ื รว่ มกนั ทำการสนทนากลมุ่ ตามวันและเวลาท่ีกำหนด 1.3 เตรียมความพร้อมของผชู้ ่วยนักวิจัยและผจู้ ดบนั ทกึ โดยการนดั ประชุมช้ีแจงพร้อมกนั เก่ียวกบั บทบาท หนา้ ท่ี แนวคำถามในการสนทนากล่มุ ขนั้ ตอนและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเปน็ ทีเ่ ข้าใจตรงกัน 1.4 เตรียมสถานที่ และวัสดุ-อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการสมั ภาษณ์เชิงลกึ 2. ระยะดำเนินการ 2.1 ผู้วิจัยและผู้ช่วยผู้วิจัยเข้าพบผู้ให้ข้อมูล และแนะนำตัว ทักทายเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีเพื่อให้เกิด ความไว้วางใจระหว่างผู้วิจัยและผู้เข้าร่วมวิจัยหรือผู้ให้ข้อมูลก่อนทำการสัมภาษณ์เชิงลึก หลังจากนั้นผู้วิจัยได้ชี้แจงเกี่ยวกับ วตั ถปุ ระสงค์และรายละเอยี ดของการวิจยั ตลอดจนการเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยสรุป พรอ้ มทง้ั อธบิ ายถงึ การพทิ ักษ์สิทธขิ องผูใ้ หข้ อ้ มลู 2.2 รวบรวมข้อมูล โดยชี้แจงให้ผู้ให้ขอ้ มูลทราบว่า ต้องการพูดคุยในประเด็นคำถามใดบ้าง โดยใช้วิธีการ สัมภาษณเ์ ชิงลึก พร้อมทั้งขออนุญาตบันทึกเสียง ถ่ายภาพ และ ระยะเวลาในการสัมภาษณ์เชิงลึก ประมาณ 1 ชั่วโมง สุดท้าย ผูว้ จิ ยั กลา่ วขอบคุณเพอื่ ปดิ การการสัมภาษณ์เชิงลึก 3.6 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู (Data analysis) 1. การถอดเทปที่ได้จากการบันทึกข้อมูลของการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยนำมาถอดความแบบคำต่อคำ (verbatim) และจดบนั ทกึ ขอ้ มลู ทีไ่ ด้มาเรยี บเรียงไวอ้ ย่างเป็นระเบยี บ 2. แยกประเดน็ สำคัญของขอ้ มลู โดย 2.1 อ่านและทำความเข้าใจภาพรวมของข้อมูลทั้งหมด แล้วพิจารณาใจความสำคัญหรือใจความ หลักของขอ้ ความเหลา่ นั้นและพจิ ารณาความสัมพนั ธย์ ่อยภายใต้บรบิ ททศี่ กึ ษาอยา่ งละเอียด 2.2 อ่านข้อความสำคัญ/ประเด็นหลักที่สำคัญ โดยเลือกอ่านตอนที่เก่ียวข้องกับประเด็นท่ีต้องการ ศึกษา ทำความเข้าใจการให้ความหมายของผู้ให้ข้อมูลอย่างละเอยี ดและคำสำคัญ(coding) เพ่อื ความสะดวกในการค้นหาและ กลบั มาทบทวนอกี ครัง้ 2.3 อา่ นละเอยี ด (line-by-line) อา่ นทำความเข้าใจรายละเอียดทุกบรรทดั ทุกประโยคแล้วพจิ ารณา ขดี เสน้ ใต้เลอื กประโยคทส่ี ำคัญตามวตั ถุประสงค์ 3. นำประเดน็ หลักสำคญั (theme) มาใชค้ ำหรือปรับเปลี่ยนภาษาให้สามารถสื่อความหมายถึงเรื่องที่จะ ศึกษา 4. จัดกลุ่มประเด็นหลักที่สำคัญ (theme) เป็นหมวดหมู่พร้อมทั้งเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของหมวดหมู่ เพ่ืออธบิ ายผลทีเ่ กิดข้นึ 5.. เขยี นบรรยายประเด็นหลัก (theme) เพอื่ สะท้อนใหเ้ ห็นถึงอารมณค์ วามรสู้ กึ ท่ีเกิดขนึ้ ในผลการศึกษาน้นั ๆ นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการทดสอบแบบสามเส้า (triangulation Technique) เพื่อจะลดความลำเอียง ของนักวิจัย และทำให้ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น โดยใช้การต รวจสอบสามเส้าด้านวิธีการรวบรวมข้อมูล (methodological triangulation) คือ การใชว้ ิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลหลากหลายวิธี เพอื่ รวบรวมขอ้ มูลในประเด็นเดียวกัน ซึ่งเก็บข้อมูลจากไฟล์เสียงบันทึกคำพูด และการสังเกตปฏิกิริยาสีหน้า/แววตา ด้านข้อมูล (data triangulation) คือ การมี ข้อมูลที่หลากหลาย จากผูใ้ ห้ข้อมูลจำนวน 16 ราย ด้านทฤษฎี (theory triangulation) ได้ทำความเข้าใจข้อมูลที่ได้รับเพือ่ สร้างขอ้ สรปุ เบ้อื งต้นมาตรวจสอบกับขอ้ มูลตามแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั และดา้ นผ้วู จิ ัย (investigator triangulation) โดย ตรวจคุณภาพของผู้รวบรวมข้อมูลภาคสนาม โดยมีผู้ช่วยวิจัยหลายคนช่วยกันเก็บรวบรวมข้อมูล อีกทั้งใช้ในการยืนยันผล (conformability) หมายถึงความสามารถในการยืนยันผลที่เกิดขึ้นจากข้อมูลดิบ โดยผู้วิจัยได้รวบรวมเทปบันทึกเสียง การ บันทึกบนกระดานไวทบ์ อรด์ ว่ามขี ้อมลู ตรงกนั หรือไม่ และมกี ารใชค้ ำพดู ของผู้ให้ขอ้ มลู ประกอบในรายงานการวิจยั เพ่ือยืนยัน ผลการวิจัยว่าเป็นความจริงมิได้เกิดจากความลำเอียงของผู้วิจัยทั้งหมด แล้วพิจารณาใจความสำคัญหรือใจความหลักของ ขอ้ ความเหลา่ น้นั และพิจารณาความสมั พนั ธ์ยอ่ ยภายใตบ้ รบิ ทท่ีศึกษาอย่างละเอียด พยาบาลกบั การวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือวิถีชวี ิตใหม่ในยุค Disruptive Technology | 191

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 4. ผลการวิจัย จากการศึกษารูปแบบการป้องกนั และควบคุมยาสูบในโรงเรียนระดับมธั ยมศกึ ษาในอำเภอย่ีงอ จังหวัดนราธิวาส โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี ได้แก่ ครูและบุคลากรในโรงเรียน แกนนำนักเรียน ครอบครัวและผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน ผู้นำทางศาสนาหรือปราชญ์ชาวบ้าน ร้านค้าปลีกในชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเครือข่ายบริการ สขุ ภาพ โรงเรียนในเขตเมอื ง และโรงเรยี นนอกเขตเมอื ง สามารถสรุปได้ 7 ประเด็นดงั ต่อไปน้ี 1.นโยบายหรอื มาตรการ 2. การบริหารจัดการ 3. การจัดสภาพแวดล้อม 4. การสอดแทรกการเรียนการสอน 5. บทบาทของแกนนำนักเรียน 6.ชุมชน และเครือขา่ ย 7. การดูแลและการชว่ ยเหลอื 4.1 นโยบายหรือมาตรการ จากการศึกษานโยบายหรือมาตรการ สามารถแบ่งได้ 2 ส่วน นโยบายของโรงเรียน และนโยบายของชุมชน ในนโยบายส่วนของโรงเรียน คือการทำเป็นประกาศของโรงเรียน เรื่อง โรงเรียนเป็นเขตปลอด บหุ ร่ีตามกฎหมาย ไม่ให้มกี ารสบู บหุ ร่ี ท้ังในและนอกเวลาราชการ รวมถึงการเข้ามาใชส้ ถานที่ของบคุ คลภายนอกในการจัด กิจกรรมหรืองานต่างๆ ครูและบุคลากรของโรงเรียนต้องเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรยี นโดยการไม่สูบบุหรี่ หรือหากยังเลิก สูบบุหรี่ไม่ได้ ต้องไม่สูบในบริเวณโรงเรียนหรือไม่สูบบุหรี่ต่อหน้านักเรียน โรงเรียนสนับสนุนการสร้างความร่วมมือกับ ผู้ปกครองนักเรียน ต่างๆและชุมชน ในการจัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่และค่านิยมการไม่สูบบุหรี่ และยังมี มาตรการลงโทษของโรงเรียน ในกรณีที่นักเรียนสูบบุหรี่ คือ ประกาศปรับจับจริง ถ้าจับได้ปรับ 200 บาท ทุกราย โดยให้ ผูป้ กครองมาจา่ ยค่าปรับทโ่ี รงเรียน ไม่ให้นักเรียนจา่ ย เพราะถือวา่ เปน็ การแจ้งผปู้ กครองให้ทราบ และทำบันทึกข้อความต่อ หนา้ ผูป้ กครอง นักเรยี นกจ็ ะโดนหกั คะแนนคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ขอ้ ซง่ึ งานกิจการนักเรียนดูแล 3 ข้อ พอไม่ผ่านก็ ต้องแก้คณุ ลกั ษณะข้อนน้ั กรณียาสูบน้ี คือตอ้ งไปเขา้ ค่ายปรบั เปล่ียนพฤติกรรม ใช้เวลา 2 วัน 1 คนื \" และในส่วนของชุมชนน้นั มกี ารใช้ฮกู มปากตั หรือเรียกว่าข้อตกลงของชุมชน เนอ่ื งจากกฎหมายไม่สามารถบังคับ ใช้ได้ โดยมีข้อตกลงของชมุ ชน คือ ห้ามสูบบุหรีใ่ นมัสยิด ศาลามัสยิด โรงเรียน(ตาดีกา) ศาลาอเนกประสงค์ โรงเรียน และ สนามเด็กเล่น\" 4.2 การบริหารจัดการ จากการศกึ ษาการบรหิ ารจดั การ โดยโรงเรียนมคี ณะทำงานของโรงเรยี น ไดแ้ ก่ ครฝู า่ ยปกครอง มีหน้าที่ในการสอดส่องดูแลนักเรียน ครูที่ดแู ลห้องละหมาดหรือครูอิสลามศึกษาการพดู ตักเตือนหรือนาซีฮัต หลังละหมาดเสรจ็ สว่ นทา่ นรองผอู้ ำนวยการเป็นคนดูแลอย่ใู นการทำหน้าท่ีสอดส่องดแู ลทุก ๆช่ัวโมง และยงั มีครูประจำชนั้ ของเด็ก ครูที่ปรึกษาทุก หอ้ ง มี 2 คน ก็เปน็ คณะทำงานโดยปริยายอยแู่ ลว้ ท่ีจะช่วยสอดสอ่ งดแู ลนักเรียนในห้องเรยี น สว่ นการทำงานของนักเรียน ก็มสี ภา นกั เรยี น กล่มุ นกั เรยี นต่อต้านยาเสพติด กลมุ่ นกั เรยี น To be Number One ที่เปน็ ผู้ช่วยครูในการสอดสอ่ งดูแล 4.3 การจัดสภาพแวดลอ้ ม จากการศึกษาการจัดสภาพแวดล้อม โดยท่มี กี ำหนดพ้นื ทหี่ ้ามสบู บุหร่ี โดยการติด ป้ายเครอ่ื งหมาย เขตปลอดบหุ ร่ีหรือห้ามสบู บหุ รี่ ตง้ั แต่บรเิ วณทางเขา้ -ออกของโรงเรยี น บริเวณสนามหนา้ เสาธง บริเวณ อาคารเรยี น ห้องน้ำ โดยในการจัดห้องน้ำให้โล่งโดยท่ีโรงเรียนทำโครงการหอ้ งนำ้ สะอาด พื้นทีโ่ ลง่ ไมม่ ีกำแพงก้นั และยัง มีการจัดสถานทใี่ ห้โล่งสบายตา พืน้ ที่โลง่ สะอาด ทำใหท้ กุ คนสามารถเห็นท่วั ถงึ เพื่อกำจัดจุดเอ้อื จดุ ลับตา หรือคนจดุ เสย่ี ง ในการสบู บุหรี่ ไม่มีพ้ืนท่จี ดุ หรือลบั ตา เพราะภูมทิ ัศนใ์ ห้นา่ อยู่ 4.4 การบูรณาการและสอดแทรกการเรียนการสอน จากการศึกษาการบูรณาการเรียนการสอนและการ สอดแทรก โรงเรยี นมีการสอดแทรกในรายวิชา ดังนี้ วิชาสุขศกึ ษา จะมีการสอดแทรกเรื่องของ โทษและพษิ ภัยบุหรี่ โรค ที่มาจากบุหร่ี การปอ้ งกันตัวเองไม่ให้ยงุ่ กับกับบหุ ร่ี การสนบั สนุนและสง่ เสรมิ การเล่นกฬี าเพื่อไมใ่ หม้ เี วลาว่างไปทำอย่าง อน่ื รายวิชาสังคมศกึ ษา มีการประยกุ ตใ์ ช้กฎหมายยาสูบกับเยาวชน ยาสบู ในโรงเรียน และยาสบู ในชุมชนเพ่อื ให้นักเรียน ทราบถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ส่วนรายวิชาอิสลามศึกษา มีการสอดแทรกเรื่องกฎหมายยาเสพติดกับความผิด ในทางศาสนา บทลงโทษทางศาสนา บทลงโทษแหง่ วันอาครี ัฐ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นและกิจกรรมเสริมหลักสูตร โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมชุมนุมนักเรียนทุกวัน ตอนเย็น หลังเลิกเรียน เวลา 15.00 น. เพื่อให้นักเรียนมีเวลามาเจอเพื่อนๆ ในชุมชน เพื่อลดความเสี่ยงกับการใช้เวลาในการสบู บุหร่ี ลูกเสือต้านยาภัยยาสูบ เช่น การเดินรณรงค์วันงดสูบบุหรี่โลก และกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมจิตอาสา เพอื่ ให้นกั เรียนใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ 4.5 บทบาทของแกนนำนักเรยี น บทบาทของแกนนำนักเรียน โดยทีน่ ักเรียนแกนนำในโรงเรียน มแี กนนำจาก สภานักเรียน แกนนำต่อตา้ นยาเสพติด แกนนำ To be Number One ซึ่งเป็นตวั แทนของนักเรียนและครู ที่ทำหน้าทีใ่ น โรงเรยี น การพูดหน้าเสาธงโดยมีการพูดถงึ เร่อื งบหุ ร่ีในเวลาเข้าแถวตอนเช้า การออกรายการวิทยขุ องโรงเรยี นเวลาตอน เชา้ ก่อนเข้าแถว เวลา 07.30 - 07.45 น. และเวลาพกั เท่ยี ง เวลา 12.30 - 12.45 น. 192 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 4.6 ชุมชนและเครือข่าย ชุมชนและเครือข่าย มีกับทำงานร่วมกันกับผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา องค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ สถานบรกิ ารสขุ ภาพ โดยให้ความรว่ มมือในการเฝ้าระวัง ป้องกันการสบู บุหรี่ในโรงเรียน โดยการเข้าร่วม กิจกรรมที่โรงเรียนจัด โดยการเชิญผู้ปกครองเข้าไปร่วมกิจกรรม การประชุมกับผู้นำชุมชน ให้ความร่วมมือกับชุมชนในการ ปอ้ งกันยาสบู ของชุมชน และใหป้ ระชาชนชว่ ยกันสอดส่องดแู ลลกู หลานในหมู่บ้าน นอกจากน้ผี ู้ปกครองยังต้องเป็นตน้ แบบในการไม่สบู บุหร่ี และต้องสรา้ งความตระหนกั ของพิษภัยยาสูบ การนาซฮี ตั (การตักเตือน)ลูกบ่อยๆ การปลูกฝังถึงพิษภัยยาสูบ การยกตัวอย่างโรคที่ตามมาจาการสูบบุหรี่ และการสร้างบรรยากาศใน ครอบครวั ให้น่าอยู่ มกี ิจกรรมร่วมกนั ในเวลาวา่ ง ได้แก่ ช่วยเหลืองานบา้ น พาลกู เข้าสวน ในสว่ นของผนู้ ำศาสนา ผู้นำชุมชน โรงเรยี นจะประสานไปยังผนู้ ำศาสนา โต๊ะอหี มา่ ม/คอเตบ็ /บิหลั่น ในวันศกุ ร์ให้มี การคุตบะห์(ธรรมเทศนา)เก่ียวกบั ยาสูบ โดยทโี่ รงเรียนจะนำนักเรียนไปละหมาดวันศุกร์ท่มี ัสยดิ ในชมุ ชน จงึ ทำให้นักเรียนได้ ฟังคตุ บะห์(ธรรมเทศนา)เกีย่ วกับยาสบู หรือเรื่องอื่นๆ ทสี่ อดแทรกเรอ่ื งยาสูบไปดว้ ย สว่ นผูน้ ำชุมชนกจ็ ะมกี ารแจง้ ขา่ ว ก่อนคุ ตบะห์(ธรรมเทศนา)วันศุกร์ ให้กับประชาชนรับฟัง ก็จะมีการสอดแทรกเรื่องบุหรี่ และในส่วนของร้านค้าก็มีการทำข้อตกลง กบั ชุมชน โรงเรยี น ร้านค้าทอ่ี ยู่บริเวณโรงเรียนห้ามขายบหุ ร่ี ในสว่ นขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ หรือเทศบาล สนับสนนุ งบประมาณในการดำเนนิ การทุกปจี ากกองทนุ ตำบล งบของ สปสช. ใหส้ ถานบรกิ ารสาธารณสุข รพ.สต หรอื โรงพยาบาล โดยการทำงานรว่ มกันกับ อสม. ในการคดั กรองผสู้ บู บุหรใี่ นชุมชน การคัดกรองคาร์บอน ในคลินิกเลกิ บหุ รี่เคลอื่ นที่ โดยมกี ารรว่ มกับ อบต./เทศบาล ในการลงพ้ืนท่ี เชิงรุกแกป่ ระชาชนในพน้ื ทแ่ี ละมกี ารชกั ชวนเข้าคลินิกเลิกบุหรข่ี องสถานบริการสาธารณสขุ รพ.สต หรอื โรงพยาบาล โดย สามารถแจง้ ความประสงคไ์ ด้กับ เจา้ หน้าที่ หรอื อสม.ในพ้นื ทรี่ บั ผดิ ชอบ 4.7 การดูแลและการช่วยเหลือ การดูแลนักเรียน มีระบบการตดิ ตามดูแล โดยครูที่ปรึกษา คัดกรองเด็กท่เี ข้า ข่ายกลุ่มเส่ียง ครูที่ปรึกษาแจ้งครปู กครอง ครูปกครองแจง้ ผอ. และ ผอ.แจ้งผู้ปกครองของนักเรียน และยังมีระบบการ ติดตามดแู ล จากแกนนำนักเรยี น โดยการรายงานครูท่านไหนกไ็ ด้ ในกรณีที่ติดยาสูบและต้องการเข้าร่วมบำบัด โรงเรียนจะประสานไปยัง โรงพยาบาล/รพ.สต./สถานบริการ สาธารณสุข เพื่อเข้าสู่กระบวนการของคลินิกเลิกบุหรี่ หลังจากเข้ากระบวนการเลิกบุหรี่เสร็จสิ้นแล้ว โรงพยาบาล/รพ. สต./สถานบรกิ ารสาธารณสขุ จะสอบถามความสมคั รใจของผู้เข้าร่วมบำบัด ว่าสนใจเขา้ รว่ มฝึกอาชพี ทท่ี างองคก์ ารบรหิ าร ส่วนตำบลจัดให้หรอื ไม่ และจะทำการประสานไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อส่งไปฝึกอาชีพทีจ่ ัดสรรให้ หลังจาก การฝกึ อาชีพแล้ว องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ก็มีการตดิ ตามตอ่ เน่ืองเร่อื งการประกอบอาชีพ และการกลับมาสบู บุหรี่ซำ้ ในส่วนของโรงพยาบาล/รพ.สต./สถานบริการสาธารณสุข การติดตามผู้มารับบริการที่เข้าคลินิกเลิกบุหรี่ ต่อเนื่อง หลังเลิกบุหรี่แล้ว 1 สัปดาห์ 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน และยังประสาน อสม. คอยติดตามช่วยเหลือผู้ป่วย เลิกบุหร่ีไม่ให้กลับมาสูบซ้ำ นอกจากนยี้ งั พบประเดน็ เพิ่มเติม 2 ประเดน็ คอื การมตี ้นแบบท่ดี /ี แบบอย่างทด่ี ี และสง่ เสริมการปลกู ฝงั ดา้ น คณุ ธรรมจริยธรรม 1. การมีต้นแบบที่ดี/แบบอย่างที่ดี การมีต้นแบบที่ดี/แบบอย่างที่ดี ของการไม่สูบบุหรี่ โดยมีครู ผู้ปกครอง และนักเรียน โดยในส่วนของครูพบว่า ครูและบุคลากรในโรงเรียนเป็นต้นแบบท่ีดีของการไม่สูบบุหร่ีด้าน พฤติกรรม เป็นแบบอย่างด้านคุณธรรม จริยธรรม อยู่ในครรลองศาสนา ครูต้องเป็นคนดีให้เด็กนักเรียนเห็น ไม่ยุ่ง เกี่ยวกับยาเสพติดใดๆ ทั้งสิ้น โดยในสว่ นของแกนนำนกั เรยี น เปน็ ตน้ แบบให้เพ่อื นนักเรียน โดยการไมส่ ูบบุหร่ี มกี ารตกั เตอื นเพ่อื นนักเรียนท่ี สบู บหุ ร่ี และในส่วนของผ้ปู กครองนักเรียน เปน็ ต้นแบบให้ลูกโดยการไม่สูบบุหร่ี ไมส่ บู บหุ รี่หนา้ ลกู ไมส่ ูบบุหร่ีในบ้าน ไม่ ใชใ้ หล้ ูกไปซอื้ บุหรใ่ี ห้ 2. ส่งเสริมการปลูกฝังด้านคุณธรรมจริยธรรม ส่งเสริมการปลูกฝังด้านคุณธรรมจริยธรรม ในการป้องกันและ ควบคุมยาสูบ พบว่า โดยการใช้หลักศาสนาในการสร้างความตระหนักถึงพิษภัยยาสูบ ส่วนของครูมีการส่งเสริมการปลูกฝัง คณุ ธรรมจริยธรรมในรายวิชาอสิ ลามศึกษา ศาสนากบั การสบู บหุ ร่ี บทลงโทษของการสบู บหุ ร่ี ในวชิ าพุทธศาสนา ก็จะมีเรื่อง การนำหลักธรรมกบั ยาเสพตดิ ส่วนผู้ปกครองมีการสร้างรากฐานของอีม่านใหล้ ูก เนน้ ยำ้ การรกั อัลลอฮ การรักท่านนบี รักพอ่ แม่ เน้นย้ำให้ลูก ฟังเสมอ ไมม่ ีสิ่งใดย่งั ยืน ศาสนาสำคญั ท่ีสดุ เม่ือบุตรหลานรักอัลลอฮก็จะมีการเกรงกลัวท่ีจะทำผิด ใช้ชีวิตตามแบบฉบับ พยาบาลกบั การวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพอ่ื วถิ ชี วี ติ ใหม่ในยุค Disruptive Technology | 193

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 หรืออิริยาบทของทา่ นนบี และเชือ่ ฟงั พอ่ แมท่ ำตามในสง่ิ พอ่ แม่แนะนำ สว่ นในโรงเรยี นมกี ารให้นักเรยี นนาซีฮัตเวลาหลัง ละหมาดซฮุ รี(ตอนเทย่ี ง) และมีกจิ กรรมฮาลาเกาะฮของชมรมมุสลมิ ทร่ี ุ่นพ่ีทำไว้และยงั ดำเนินการอยใู่ นปัจจุบนั 5. สรปุ ผลการวจิ ยั รปู แบบการป้องกันและควบคมุ ยาสบู ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ในอำเภอยงี่ อ จังหวดั นราธวิ าส ผลการศึกษา การ พบว่า รูปแบบการปอ้ งกนั และการควบคุมยาสูบของโรงเรียน ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง โรงเรยี น หรือสถานศึกษา ครอบครัวและผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ร้านค้าบริเวณโดยรอบโรงเรียน องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิ่น และเครือขา่ ยบริการสุขภาพ นโยบายของผู้บริหาร และการให้ความรว่ มมือของภาคเี ครอื ขา่ ยนับเป็นส่วนสำคัญใน การทำให้สถานศึกษาเป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ โดยออกมาตรการและรูปแบบการป้องกันที่ชัดเจน เพื่อให้สถานศึกษาเป็น พื้นที่สีขาวโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยสามารถสรุปผลการวจิ ัยเป็นรูปแบบดังนี้ 1. นโยบายหรือมาตรการ 2. การบรหิ ารจดั การ 3. การจดั สภาพแวดลอ้ ม 4. การสอดแทรกการเรยี นการสอน 5. บทบาทของแกนนำนักเรียน 6. ชุมชน และเครือข่าย 7.การดูแลและการช่วยเหลือ นอกจากนี้ยังพบประเด็นเพิ่มเติม คือ 1. การมีต้นแบบที่ดี/แบบอยา่ งที่ดี 2. ประเด็นของการส่งเสริมการปลูกฝังดา้ นคุณธรรมจริยธรรม รูปแบบการป้องกันและการควบคุมยาสูบของโรงเรียน ในโรงเรียนระดับมธั ยมศกึ ษา ในอำเภอยง่ี อ จังหวัดนราธวิ าส 6. อภปิ รายผล จากการศึกษาเร่อื ง รูปแบบการปอ้ งกันและการควบคมุ ยาสบู ของโรงเรียน ในโรงเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษา ใน อำเภอยงี่ อ จงั หวดั นราธิวาส สามารถอภปิ รายผลตามวัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัยเป็น 7 ประเดน็ ดงั นดี้ งั น้ี 6.1 นโยบายหรอื มาตรการ จากการศึกษา ประเด็นนโยบายหรือมาตรการ พบว่า นโยบายของผู้บริหารโรงเรียนมี ส่วนสำคัญในการจัดทำเป็นรูปแบบการป้องกันและการควบคุมยาสูบของโรงเรียน โดยที่โรงเรยี นมีการจดั ทำนโยบายเป็นเขต ปลอดบุหร่ีในโรงเรียนตั้งทางเข้า-ออก และหน้าเสาธง บริเวณสนามกีฬาของโรงเรียน บริเวณอาคารเรียนทุกอาคารเรียน ที่ จอดรถสำหรบั นักเรยี น โรงอาหาร และรวมถงึ ห้องน้ำทกุ ห้องของโรงเรยี น 194 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 6.2 การบริหารจัดการ จากการศึกษา ประเด็นการบริหารจัดการของโรงเรียน พบว่า โรงเรียนมีการแต่งตั้ง คณะทำงานของโรงเรียน ได้แก่ คณะทำงานของครู และคณะทำงานของนักเรียนท่ีทำหน้าเป็นผ้ชู ว่ ยครู ได้แก่ แกนนำนักเรียน ตอ่ ตา้ นยาเสพติด แกนนำ To Be Number One สภานกั เรียน และคณะทำงานของครู 6.3 การจัดสภาพแวดล้อม จากการศึกษา ประเด็นการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียน พบว่า โรงเรียนมีการจัด สภาพแวดล้อมของโรงเรียนมีการกำหนดพื้นที่ห้ามสูบบุหรี่ โดยการติดป้ายเคร่ืองหมาย เขตปลอดบุหรี่หรอื ห้ามสูบบุหรี่ ได้ ครอบคลุมบริเวณอาคารเรียนท่ัวโรงเรยี น รวมถึงห้องน้ำ ยังมีการจัดสถานที่ใหโ้ ล่งสบายตา เพื่อกำจัดจดุ เอื้อ จุดลับตา หรือ คนจุดเสย่ี งในการสูบบหุ รี่ 6.4 การสอดแทรกการเรียนการสอน จากการศึกษา ประเด็นการสอดแทรกการเรียนการสอนของโรงเรียน พบว่า โรงเรยี นมีการสอดแทรกการเรยี นการสอนของโรงเรียน มกี ารสอดแทรกเน้ือหาทเ่ี ก่ียวข้องยาสบู ในรายวชิ าดังนี้ วิชาสขุ ศกึ ษา รายวิชาสังคมศกึ ษา และรายวชิ าอสิ ลามศกึ ษา โดยมีเน้ือหาทคี่ รอบคลุมทกุ รายวชิ าในเรือ่ งท่ีเกี่ยวขอ้ งกับยาสบู 6.5 บทบาทของแกนนำนักเรียน จากการศึกษา ประเด็นบทบาทของแกนนำนักเรียนของโรงเรียน พบว่า แกนนำ นักเรยี นมีบทบาทในชว่ ยเหลือโรงเรียนมากว่าโรงเรียนนอกเขตเมือง โดยนักเรียนในเขตเมืองมีแกนนำท่ีทำงานดว้ ยกัน 3 กลุ่ม ได้แก่ แกนนำจากสภานักเรียน แกนนำต่อต้านยาเสพติด และแกนนำ To be Number One ที่ทำหน้าที่ในโรงเรียนได้ ครอบคลมุ ในดา้ นต่าง ๆ 6.6 ชุมชนและเครือขา่ ย จากการศึกษา ประเดน็ ชุมชนและเครือขา่ ย พบว่า โรงเรียนมกี ารทำงานร่วมกันโรงเรียน โรงพยาบาล/รพ.สต. โรงเรยี นจะขอความรว่ มมอื กับเพื่อใหบ้ ุคลากรสาธารณสุขมาให้ความรู้เกย่ี วกับยาสูบให้นกั เรียนเกี่ยวกับ ยาสบู เพ่อื ให้เหน็ ภาพของผลกระทบจากการสูบบหุ รี่ ในส่วนของผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน โรงเรียนจะประสานไปยังผู้นำศาสนา โต๊ะอีหม่าม/คอเต็บ/บิหลั่น ในวันศุกร์ ให้มีการคุตบะห์เกี่ยวกับยาสูบ โดยที่โรงเรียนจะนำนักเรียนไปละหมาดวันศุกร์ที่มัสยิดในชุมชน จึงทำให้นักเรียนได้ฟังคุ ตบะห์เก่ียวกบั ยาสบู ในส่วนขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรอื เทศบาล สนบั สนุนงบประมาณในการดำเนินการจากกองทุนตำบล งบ ของ สปสช. ให้ รพ.สต ศูนยส์ ขุ ภาพชมุ ชนเมือง หรอื โรงพยาบาล โดยการทำงานรว่ มกันกับ อสม. ในการออกให้บรกิ ารคลินิก เลิกบุหรี่เคล่อื นท่ี มกี ารคดั กรองผู้สบู บุหรี่ในชุมชน ในการลงพื้นท่เี ชิงรุกแกป่ ระชาชนในพื้นท่ี 6.7 การดูแลและการช่วยเหลือ จากการศึกษา ประเด็นการดูแลและการช่วยเหลือนักเรียน พบว่า โรงเรียนมี การดแู ลและการช่วยเหลือนักเรียน โดยหากพบเห็นนักเรยี นท่ีสูบบุหร่ี จะมีระบบการดแู ลและการช่วยเหลอื โดยครูท่ีปรึกษา แจ้งให้ครูปกครองและแจ้งผู้อำนวยการทราบหลังจากนั้นประสานไปยังผู้ปกครองของนักเรียน เพื่อให้ผู้ปกครองมารับทราบ เกี่ยวกับพฤติกรรมของลูกที่เกี่ยวข้องกับยาสูบ และให้ทำบันทึกข้อความ หลังจากนั้นโรงเรียนจะทำการหักคะแนน คุณลักษณะอังพึงประสงคข์ องนักเรียน ทำให้นักเรียนตกคุณลักลักษณะอนั พึงประสงค์ จึงทำให้นักเรียนต้องมีการซ่อมหรือ แกไ้ ขคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยการเขา้ ร่วมคา่ ยท่ีโรงเรยี นกำหนด ระยะเวลา 2 วนั 1 คนื นอกจากนี้จากการศึกษายังพบประเด็นเพิ่มเติม 2 ประเด็น คือ การมีต้นแบบที่ดี/แบบอย่างที่ดี และส่งเสริมการ ปลกู ฝังด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม 1. การมีต้นแบบที่ดี/แบบอย่างที่ดี โดยในประเด็นของการมีต้นแบบที่ดี/แบบอย่างที่ดี โดยมีครู ผู้ปกครอง และ นักเรียน โดยในส่วนของครู พบว่า เป็นแบบอย่างด้านคุณธรรม จริยธรรม ครูต้องเปน็ คนดีให้เด็กนักเรยี นเหน็ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับ ยาเสพติดใดๆ ทัง้ สนิ้ ในส่วนของผู้ปกครองนักเรียน เป็นต้นแบบให้ลูกโดยการไม่สูบบุหรี่ ไม่สูบบุหรีห่ น้าลูก ไม่สูบบุหรีใ่ นบ้าน รวมถึงไม่ ใชใ้ ห้ลกู ไปซ้อื บหุ รี่ ซ่งึ การกระทำขา้ งต้นเป็นการเป็นตัวอย่างทดี่ ีให้กบั ลูก ซึ่งสอดคลอ้ งกบั แนวคิดของทฤษฎีการกระทำอย่างมี เหตผุ ลท่กี ลา่ ววา่ ทัศนคติเป็นปัจจัยสำคัญในการเกิดพฤติกรรมถ้ามีความรสู้ ึกชอบ เห็นด้วยหรือรู้สกึ ว่ากระทำพฤติกรรมนั้น ๆ แล้วมปี ระโยชนก์ ็มีแนวโนม้ ท่จี ะปฏบิ ตั ิพฤตกิ รรมน้ันสูง (Usaha, Kanwihok, Julasereekul & Harehansapong, 2015) 2. สง่ เสรมิ การปลูกฝังด้านคุณธรรมจริยธรรม ประเด็นของการสง่ เสริมการปลูกฝังดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม พบว่า การทพ่ี อ่ แมห่ รอื คนในครอบครัวสรา้ งรากฐานของอมี ่าน(หลักศรทั ธา)ให้ลูก และปลกู ฝังการรักอลั ลอฮ การรักทา่ นนบี รักพ่อ แม่ เน้นย้ำการทำตามหลักศาสนา เมื่อบุตรหลานรักอัลลอฮกจ็ ะมีการเกรงกลัวที่จะทำผดิ และการใช้ชีวิตตามแบบฉบับหรือ อริ ิยาบทของทา่ นนบซี ง่ึ เปน็ ศาสนฑูตของพระองค์อัลลอฮในการดำเนินชวี ิต พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือวิถีชวี ิตใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 195

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ส่วนในโรงเรียนมีการให้นักเรียนนาซีฮัตเวลาหลังละหมาดซุฮรี(ตอนเที่ยง) ซึ่งจะเป็นการนาซีฮัต(ตักเตือน) และมี กิจกรรมฮาลาเกาะฮของชมรมมุสลิม คือการรวมกลุ่มเพื่อศึกษาเรื่องหลักการศาสนา การศึกษาอัลกุรอ่าน การศึกษา ความหมายของอัลกุรอ่าน(อรรถาธิบายกุรอ่าน) ซึ่งจะเห็นได้ว่าการใช้กระบวนข้างต้นเป็นส่วนสำคัญในการการส่งเสริมการ ปลกู ฝงั ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมให้นกั เรียน 7. ขอ้ เสนอแนะการวิจยั 1. การจัดกิจกรรมรณรงคภ์ ายในโรงเรยี น โดยการบรรยายของผู้ทม่ี ปี ระสบการณ์ตรงทป่ี ว่ ยด้วยโรคทเี่ กดิ จาก การสูบบหุ รี่ 2. การใหข้ อ้ มูลข่าวสารแก่เด็กและเยาวชน ควรเนน้ การใหข้ อ้ มูลที่เหน็ เปน็ รปู ธรรม การใหเ้ ห็นภาพจากความ เจ็บปว่ ยจริงอย่างตอ่ เน่ือง โดยเฉพาะการให้ข้อมูลข่าวสารผ่านบุคลากรของโรงเรียน 3. ในการจัดทำแผนปฏบิ ตั กิ ารของโรงเรียนเรอ่ื งการป้องกันและควบคมุ ยาสบู ในโรงเรียนควรใหม้ ีการดึงภาคี เครือขา่ ย เขา้ มามสี ่วนรว่ มในจดั ทำแผนปฏิบตั ิการของโรงเรยี นเพือ่ ให้ภาคเี ครือขา่ ยให้ความร่วมมอื อยา่ งเตม็ ที่ 8. เอกสารอ้างองิ (References) ศิรวิ รรณ พิทยรงั สฤษฏแ์ ละคณะ. (2554). รายงานสถานการณ์การบริโภคยาสบู รายจังหวัด. กรุงเทพฯ: ศนู ยว์ ิจยั และ จัดการความรเู้ พือ่ การควบคมุ ยาสบู (ศจย.). ศิริวรรณ พทิ ยรงั สฤษฏ์และคณะ. (2557). สรปุ สถานการณ์ปัจจยั เสยี่ งหลักดา้ นยาสบู ของประเทศไทย พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ: ศนู ยว์ จิ ยั และจดั การความรเู้ พ่ือการควบคุมยาสบู (ศจย.) ศรัญญา เบญจกลุ , (2558). สถติ ิการสบู บุหรข่ี องคนไทย : สำนักงานสถิตแิ หง่ ชาติ 2558 คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล กรุงเทพฯ : ศนู ย์วิจยั และจัดการความร้เู พอื่ การควบคมุ ยาสบู (ศจย.). สุนิดา ปรชี าวงษ์และคณะ, (2557). รวมพลัง “จัดการความรู้” เพื่อควบคุมยาสบู ในสถานศึกษา การจดั การความรู้ เพือ่ การขับเคลอ่ื นการควบคุมยาสบู ในสถานศกึ ษา 2557. กรงุ เทพฯ อภิญญา ตันทวีวงศ์และคณะ. (2555). “โรงเรียนปลอดบุหร่ี” จะสานตอ่ อยา่ งไร ให้เบง่ บานทุกพื้นที่. กรงุ เทพฯ: อภญิ ญา ตันทวีวงศ์และคณะ. (2555) . เอกสารสรุปรายงานการถอดบทเรยี นและจดั ทำขอ้ เสนอในการ พฒั นาตัวแบบ “โรงเรยี นปลอดบุหร่ี” ระยะท่ี 2 มลู นธิ ริ ณรงคเ์ พอ่ื การไมส่ บู บุหรี่. กรุงเทพฯ: Usaha, J., Kanwihok,T., Julasereekul, S. & Harehansapong, W. (2015). Meta Synthesis of Preventive Factors for Cigarette Smoking among Thai Youths. Nonthaburi: Office of Tobacco Consumption Control, Department of Disease Control, Ministry of Public Health. (in Thai). กิตตกิ รรมประกาศ ดว้ ยพระนามของอลั ลอฮ ผ้ทู รงกรณุ าปราณี ผทู้ รงเมตตาเสมอ มวลแห่งการสรรเสรญิ เป็นสทิ ธิแดพ่ ระองค์ ขอ สดุดตี ่อพระองค์ด้วยความบรสิ ุทธใ์ิ จทไ่ี ดท้ รงช่วยเหลอื บา่ วของพระองค์ในการรับใช้ศาสนาของพระองค์ ประทานโอกาส ใหง้ านวิจยั ฉบับน้สี ำเรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดี งาวิจยั ฉบับนส้ี ำเร็จลุล่วงดว้ ยดี ดว้ ยความกรณุ า และความช่วยเหลืออย่างดยี ่ิงจาก ดร.ซอฟียะห์ นิมะ อาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ในขณะวิจัยกำลังศึกษา ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ท่ีกรุณาช่วยเหลือแนะนำแนวทางการ ศึกษาวจิ ัย ตรวจสอบ แกไ้ ข พรอ้ มทง้ั ใหก้ ำลงั ใจดว้ ยดเี สมอมา ผ้วู จิ ยั รู้สึกซาบซ้ึงและประทบั ใจในความกรณุ าเปน็ อย่างย่ิง ขอขอบพระคุณ ดร.กุลทัต หงส์ชย่างกูร ดร.เพ็ญ สุขมาก ภก.พิจักษณา มณีพันธ์ และคุณรุสนี มะ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ในการตรวจสอบเครื่องมือการวิจัย และบุคลากรของสถาบันการจดั การระบบสุขภาพ ภาตใต้ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ อำนวยความสะดวกในการติดตอ่ ประสานงานในดา้ นการทำวจิ ยั และด้านตา่ ง ๆ ดว้ ยดีเสมอมา ขอขอบพระคณุ ผู้บรหิ าร ครู บุคลากร รวมท้งั นักเรียน โรงเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษา ในอำเภอย่งี อ ผ้นู ำศาสนา ผ้ปู กครอง เจ้าหน้าทีอ่ งค์การปกครองส่วนท้องถิน่ เจ้าหนา้ ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และอาสาสมัครสาธารณสุข รวมท้งั บคุ ลากร โรงพยาบาลยงี่ อเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ที่อนเุ คราะหส์ ถานที่ในการเก็บข้อมลู และเป็นสถานที่ดำเนินการงานวจิ ยั 196 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วชิ าการระดับชาติ ครั้งท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ประสิทธผิ ลของหมากฝรงั่ ผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทดอ์ ะมอร์ฟัสแคลเซยี มฟอสเฟต ต่อการปอ้ งกันฟนั ผใุ นเด็กวัยเรียน Effectiveness of Chewing Gum Containing Casein Phosphopeptide - Amorphous Calcium Phosphate (CPP-ACP) on Dental Caries Prevention in Students มารุต ภูพ่ ะเนยี ด1* จนั ทภา จวนกระจา่ ง1 ธีรนชุ การป๊อก1 และ สริ ามล นิลกำเนดิ 1 1 วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร จังหวัดสพุ รรณบรุ ี สถาบนั พระบรมราชชนก *marut@phcsuphan.ac.th บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัส แคลเซียมฟอสเฟตต่อการป้องกันฟันผุในเด็กวัยเรียน โดยการวิจัยครั้งนี้มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 21 คน กลุ่มตัวอย่างได้ เคี้ยวหมากฝรั่งที่ผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟต (CPP-ACP) ครั้งละ 1 เม็ด เป็นเวลา 10 นาที วนั ละ 2 คร้ัง ในตอนเช้า และตอนกอ่ นเลกิ เรยี น โดยมีคุณครูเป็นผ้คู วบคมุ ดแู ล เกบ็ ขอ้ มูลโดยการตรวจสุขภาพช่อง ปากก่อนทดลอง 1 ครั้ง และหลังการเคี้ยวหมากฝรั่งที่ผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอส เฟตใน สัปดาห์ที่ 4, 8 และ 12 โดยใช้แบบบันทึกผลการตรวจโรคฟนั ผุ และแบบบันทึกคราบจุลินทรีย์ วิเคราะห์ขอ้ มูลดว้ ยสถิติ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Wilcoxon signed rank test และ Friedman test ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังไดร้ ับสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟสั แคลเซียมฟอสเฟตนกั เรียนมีฟันผุไม่เพ่ิมขน้ึ และภายหลังได้รับสารเค ซนี ฟอสโฟเปปไทด์ อะมอรฟ์ ัสแคลเซียมฟอสเฟต นกั เรยี นมปี รมิ าณคราบจลุ นิ ทรีย์บนตวั ฟนั ลดลงกวา่ กอ่ นได้รับสารเคซนี ฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟต สรุปได้ว่าการเคี้ยวหมากฝรั่งที่มีส่วนผสมของสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟสั แคลเซียมฟอสเฟตสามารถควบคมุ คราบจลุ นิ ทรีย์ และการเกดิ ฟันผุ ดงั นัน้ การเคยี้ วหมากฝร่ังที่มีส่วนผสมของ สารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซยี มฟอสเฟตกับเด็กนักเรยี นจงึ เปน็ แนวทางหนึง่ ในการชว่ ยปอ้ งกันฟนั ผุ คำสำคญั : คราบจุลนิ ทรีย์, ฟนั ผุ, เคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซยี มฟอสเฟต (CPP-ACP) Abstract This study was quasi-experimental research to study the effectiveness of Casein Phosphopeptide- Amorphous Calcium Phosphate (CPP-ACP) on dental caries prevention and dental plaque control in students. The sample consisted of 21 students. Students were chewed chewing gum containing CPP-ACP 2 times per day (morning and afternoon), 1 tablet each time and chewing for 10 minutes with 12 weeks trial. Data were collected 4 times: before the experiment and 4, 8 and 12 weeks after the experiment. Data collected include dental plaque and tooth decay. Data were analyzed by mean, standard deviation, Wilcoxon signed rank test and Friedman test. The results showed that after the experiment, students did not increase tooth decay and significantly reduced dental plaque compared to before the experiment (Sig. 0.05). In conclusion, chewing gum containing CPP-ACP can control dental plaque and tooth decay, therefore it is an alternative way to prevent tooth decay. Keyword: Dental plaque, Dental caries, Casein Phosphopeptide-Amorphous Calcium Phosphate (CPP- ACP) พยาบาลกบั การวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่อื วิถีชวี ิตใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 197

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 1. บทนำ ปัญหาสขุ ภาพช่องปากนั้นเป็นปัญหาหนึ่งที่มีความสำคัญทางสาธารณสุขโดยเฉพาะโรคฟันผุซึ่งมอี ัตราการเกดิ โรคค่อนข้างสูงแม้ว่าโรคฟันผุจะไม่ใช่โรคที่มีความรุนแรงเป็นอันตรายถึงชีวิตในทันทีแต่ก็ทำให้เกิดการสูญเสียทาง เศรษฐกิจและสร้างความเจบ็ ปวดทรมานเคีย้ วอาหารได้ไม่เตม็ ทมี่ กี ล่ินปากอีกท้งั เปน็ แหลง่ เพาะพันธุ์เชอ้ื โรคซงึ่ เป็นสาเหตุ ทำให้ร่างกายอ่อนแอทำให้เกิดโรคอื่น ๆ ตามมา โรคฟันผุนี้ถึงแม้จะมีการรณรงค์เผยแพร่ความรู้ทางทันตสุขภาพแก่ ประชาชนในทุกกลุ่มอายุเพื่อตระหนักถึงปัญหาและหันมาสนใจดูแลสุขภาพช่องปากมาตลอดแต่โรคฟันผุก็ยัง คงเป็น ปัญหาของประชาชนทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเด็ก ซึ่งสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดปัญหาด้านทันตสุขภาพ เกิด จากพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารที่ไม่เหมาะสมการดูแลสุขภาพช่องปากท่ีไม่ถูกวิธที ศั นคตใิ นการดูแลสุขภาพช่องปากท่ีไม่ ถกู ต้องของผปู้ กครองและครูผู้ดแู ลเด็กและขาดความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับวิธปี อ้ งกันฟันผขุ องผปู้ กครองและครูผู้ดูแลเด็ก จึงทำใหเ้ ดก็ ไม่ได้รับการรกั ษาท่เี หมาะสมเม่ือเกดิ โรคฟันผขุ ึ้น จากการสำรวจสภาวะสุขภาพชอ่ งปากประเทศไทย ครง้ั ท่ี 8 พ.ศ. 2560 พบว่าในกลุ่มของเด็กวัยเรียน ร้อยละ 52 มีฟันแท้ผุ โดยมีค่าเฉลี่ยฟันแท้ผุ ถอน อุด (DMFT) 1.4 ซี่ต่อคน (สำนักทันตสาธารณสุข, 2561) และจากรายงานสภาวะช่องปากของเด็กวัยเรียนจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2561 พบว่า เด็กอายุ 6 ปี 9 ปี และ 12 ปี มฟี ันผุ ร้อยละ 9.42 25.60 และ 44.4 ตามลำดบั (กระทรวงสาธารณสุข, 2562) เห็นได้ว่า อัตราการเกิดฟันผุจะเพิ่มขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น แม้จะมีมาตรการในการควบคุมป้องกันฟันในระดับโรงเรียนแล้วก็ตาม สถานการณ์ดังกล่าวมีความเป็นไปได้ว่าปัญหาโรคฟันผุนั้นจำเป็นต้องมีมาตรการหรือแนวทางในการควบคุมป้องกันท่ี หลากหลายและควรหาแนวทางใหม่ๆ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กวัยเรียนเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสูง ซึ่งมี ปัจจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เช่น อาหารทเี่ ด็กรับประทานและพฤติกรรมการทำความสะอาดชอ่ งปาก ปัญหาโรคฟันผนุ ั้นมวี ิธีการป้องกนั และควบคุมทัง้ วิธีกล เช่น การแปรงฟัน และการใช้สารเคมีซึ่งสารทีน่ ิยมใชม้ าก ที่สุดคือฟลูออไรด์ แต่นอกจาการใช้ฟลูออไรด์แล้วการใช้สารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟต (Casein phosphopptide - Amorphous calcium phosphate: CPP-ACP) เป็นสารอีกชนิดหนึ่งที่มีการใช้ในการป้องกันฟันผุ สาร ดังกล่าวมีคุณสมบัติยับยั้งการขจัดแร่ธาตุของเคลือบฟัน ส่งเสริมให้เกิดการคืนแร่ธาตุสู่เคลือบฟัน ยับยั้งการเกาะตัวของ แบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคฟันผุ การป้องกันการเกิดฟันสึกกร่อน (Erosion) และการป้องกันอาการเสียวฟัน (Dentinal sensitivity) โดยสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟต ช่วยป้องกันฟันผุโดยมีกลไกสำคัญ คือ ช่วยยับยั้ง การสญู เสยี แรธ่ าตขุ องเคลือบฟัน ช่วยส่งเสรมิ การคนื แร่ธาตุสเู่ คลือบฟัน และช่วยยับยง้ั การเกาะตวั ของแบคทีเรียท่ีก่อให้เกิด โรคฟันผุ (Samue et.al., 2018) นอกจากนี้สารโดยสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟต ยังช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพของฟลูออไรด์ให้จับกับผิวเคลือบฟันได้ดียิ่งขึ้น (Poureslami et al., 2017) ในปัจจุบันมีการใช้สารเคซีนฟอส โฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟตผสมลงในอาหารหรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ยาสีฟัน น้ำยาบ้วนปาก และหมากฝรั่ง ทั้งนี้มีรายงานวิจัยที่พบว่าการเคี้ยวหมากฝรั่งปราศจากน้ำตาลช่วยลดเศษอาหารและคราบจุลินทรีย์บนตัวฟัน (Wessel et al, 2016) และการเคี้ยวหมากฝรั่งปราศจากน้ำตาล เป็นเวลา 10 นาที สามารถเพิ่มความเป็นกรดด่าง (pH) ในน้ำลายได้ (Hegde & Thakkar, 2017) สอดคลอ้ งกับงานวิจยั ท่ีพบว่าหมากฝร่ังทม่ี ีสารทดแทนน้ำตาล สารตา้ นจลุ ชีพ แร่ธาตุอ่ืนๆ ส่วน ใหญม่ ีผลตอ่ การลดคราบจุลินทรีย์ (Matthews, 2015) กลไกดังกล่าวจึงสามารถป้องกันการเกิดฟันผุได้ จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจในเรื่องประสิทธิผลของสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัส แคลเซียมฟอสเฟตต่อการป้องกันฟันผุในเด็กวัยเรียน โดยใช้หมากฝรั่งซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มสี ่วนผสมสารเคซีนฟอสโฟเปป ไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟต (CPP-ACP) ซึ่งประชาชนทั่วไปสามารถหาได้ง่ายตามท้องตลาดทั่วไป ซึ่งสารดังกล่าวมี คุณสมบตั ทิ ่สี ามารถควบคุมป้องกนั โรคฟนั ผุอกี วิธีหนงึ่ ได้ 2. วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัย 2.1 เพื่อศึกษาประสิทธิผลการเคี้ยวหมากฝรั่งผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟตในการ ปอ้ งกันการเกดิ คราบจุลนิ ทรยี ใ์ นเด็กวยั เรยี น 2.2 เพื่อศึกษาประสิทธิผลการเคี้ยวหมากฝรั่งผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟตในการ ปอ้ งกนั การเกิดโรคฟันผุในเดก็ วัยเรียน 3. สมมตฐิ านการวจิ ยั 3.1 ภายหลงั การเคย้ี วหมากฝรงั่ ผสมสารเคซนี ฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟตปริมาณคราบจลุ นิ ทรยี ล์ ดลง 3.2 ภายหลงั การเคี้ยวหมากฝรัง่ ผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟสั แคลเซียมฟอสเฟตอัตราการเกดิ ฟนั ผไุ ม่เพม่ิ ขึ้น 198 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 4. นิยามศพั ท์ 4.1 เดก็ วยั เรียน หมายถงึ การศกึ ษาครัง้ นผี้ ูว้ ิจัยใช้เดก็ อายุ 10-12 ปี ในจังหวัดสพุ รรณบรุ ี 4.2 สารเคซนี ฟอสโฟเปปไทด์ อะมอรฟ์ ัสแคลเซียมฟอสเฟต (CPP-ACP) หมายถึง สารประกอบของแคลเซยี มและ ฟอสเฟต ทีส่ กัดมาจากโปรตีนในนมวัวสามารถยับยั้งการสญู เสียแร่ธาตุ สง่ เสรมิ การคืนกลับแคลเซียมสู่ผิวฟันช่วยลดการ สกึ กร่อนและคืนความแขง็ แรงให้กับเคลือบฟัน 4.3 หมากฝรั่ง หมายถึง หมากฝรั่งปราศจากน้ำตาลที่มีส่วนผสมของสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัส แคลเซยี มฟอสเฟต 4.4 คราบจลุ ินทรีย์ หมายถงึ คราบสีขาวขุ่นนิม่ ทีป่ ระกอบด้วยเช้ือแบคทีเรยี ต่างๆ ตดิ อย่บู นตวั ฟนั 4.5 ฟันผุ หมายถึง ฟันทม่ี ีลกั ษณะเปน็ รอยสีดำและเปน็ รบู นตวั ฟัน โดยมีการทำลายสว่ นท่เี ปน็ เนอื้ เยือ่ แขง็ ของฟนั 5. วธิ ีดำเนนิ การวจิ ยั การศกึ ษาครัง้ นี้เปน็ การวิจยั แบบกึง่ ทดลอง (Quasi-Experimental Research) เพอ่ื ศกึ ษาประสทิ ธผิ ลของสารเค ซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอรฟ์ สั แคลเซยี มฟอสเฟตตอ่ การป้องกันฟันผใุ นเด็กวยั เรียน เก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใช้แบบบันทึก ผลการตรวจโรคฟนั ผุ และแบบประเมนิ คราบจุลินทรีย์ 5.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนในเขตตำบลหนองบ่อ อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างง่ายโดยการจับฉลาก จำนวน 20 คน โดยคำนวณขนาด ตวั อย่างเพอ่ื เปรยี บเทียบคา่ เฉลย่ี 2 กลุ่มทไ่ี มอ่ ิสระตอ่ กนั ดงั น้ี ������ = 2(������������+������������)2���������2��� คำนวณไดเ้ ทา่ กบั 18.56 (������������)2 ������������ คอื ความเช่ือม่นั 95% เทา่ กับ 1.69 ������������ คือ อำนาจการทดลอง 80% เทา่ กบั 0.84 ������������ คือ ค่าเฉลี่ยความแตกต่างของคราบจุลินทรีย์ก่อนและหลังเคี้ยวหมากฝรั่งปราศจากน้ำตาล เท่ากับ 0.34 อ้างอิงจากงานวิจยั ของ Kaur et al. (2018) ������������ คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความแตกต่างของคราบจุลินทรีย์ก่อนและหลังเคี้ยวหมากฝรั่งปราศจาก นำ้ ตาล เท่ากับ 0.37 อา้ งอิงจากงานวิจัยของ Kaur et al. (2018) เกณฑก์ ารคดั เข้า (Inclusion criteria) เด็กวัยเรียนอายุ 10-12 ปี ผทู้ ไ่ี มแ่ พโ้ ปรตีนในนมวัว(จากการซกั ประวัติ) ทีศ่ กึ ษา อยใู่ นโรงเรยี นเขตของตำบลหนองบ่อ อำเภอสองพ่นี ้อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี และเป็นผู้ยนิ ยอมและให้ความรว่ มมือในการวจิ ัย เกณฑ์การคัดออก (Exclusion Criteria) นักเรียนกลุ่มตัวอย่างท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา หรือมีปัญหา เรือ่ งการเค้ียวอาหาร หรือมีฟันผทุ ุกซ่ี หรือมีหนิ นำ้ ลายครอบคลุมทงั้ ปาก 5.2 เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประสิทธิผลของสารเคซนี ฟอสโฟเปปไทด์ อะมอรฟ์ ัสแคลเซียมฟอสเฟต (CPP ACP) ของนกั เรยี น ประกอบด้วย 1) หมากฝรงั่ ทม่ี ีสว่ นผสมของสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟสั แคลเซียมฟอสเฟต (CPP-ACP) 2) แบบประเมนิ การตรวจโรคฟนั ผุ เปน็ การตรวจฟนั รายซี่ 3) แบบประเมินคราบจุลินทรีย์บนตัวฟัน เป็นการตรวจประเมินด้วย Debris Index โดยแบ่งฟันในช่องปาก ออกเป็น 6 ส่วน (Sextants) ทำการตรวจฟันทุกซี่ในส่วนนั้น ๆ และบันทึกเฉพาะค่าที่สูงที่สุดในแต่ละบริเวณแบบ ประเมนิ การตรวจโรคฟนั ผุ โดยมีเกณฑก์ ารให้คะแนน ดังนี้ 0 = ไม่พบ 1 = พบเลก็ น้อย ไม่เกนิ 1/3 บนตัวฟัน 2 = พบไมเ่ กิน 2/3 บนตัวฟัน และเล็กน้อยใต้เหงือก 3 = พบมากกว่า 2/3 บนตัวฟัน และพบมากใตเ้ หงอื ก 5.3 การประเมินคณุ ภาพการตรวจ การตรวจประเมินคราบจุลินทรีย์บนตัวฟัน และฟันผุ มีการควบคุมมาตรฐานการตรวจโดยวิเคราะห์สถิติ Kappa มผี ลการประเมนิ ดงั นี้ 1) คา่ ปรับมาตรฐานระหวา่ งผู้ตรวจ (Inter – Examiner Calibration) มคี ่า Kappa เทา่ กบั 0.84 2) คา่ ปรบั มาตรฐานตวั ผตู้ รวจเอง (Intra – Examiner Calibration) มคี า่ Kappa เทา่ กับ 0.87 พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือวิถชี วี ิตใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 199

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 5.4 การทดลองและการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผู้วจิ ยั กำหนดระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้าไว้ 3 ระยะ โดยมีรายละเอยี ดของกจิ กรรมดำเนนิ การศกึ ษาค้นควา้ ดงั น้ี ระยะก่อนทดลอง ผู้วิจัยตรวจประเมินฟันผุ และคราบจุลินทรีย์บนตัวฟันของเด็กนกั เรียน โดยใช้ชุดตรวจฟนั แล้วบันทึกผลการตรวจในแบบบนั ทึกผลการตรวจโรคฟนั ผแุ ละแบบบนั ทึกคราบจุลนิ ทรยี ์ในกลมุ่ ทดลอง ระยะทดลอง ผู้วิจัยให้เด็กนักเรียนเคี้ยวหมากฝรั่งที่มีส่วนผสมเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียม ฟอสเฟต (CPP-ACP) วันละ 2 ครั้ง (ตอนเช้า และตอนก่อนเลิกเรียน) ครั้งละ 1 เม็ด และเคี้ยวเป็นเวลา 10 นาที โดยมี คณุ ครเู ปน็ ผู้ควบคมุ ดูแล เป็นระยะเวลา 12 สปั ดาห์ และมกี ารตดิ ตามประเมินคราบจุลนิ ทรีย์ทุก 4 สปั ดาห์ ระยะหลังการทดลอง ผู้วิจัยตรวจประเมินฟันผุ และคราบจุลินทรีย์บนตัวฟันของเด็กนักเรียน แล้วบันทึกผล การตรวจในแบบบันทกึ ผลการตรวจโรคฟันผุและแบบบนั ทึกคราบจลุ ินทรยี ์ 5.5 การวิเคราะหข์ อ้ มูล การใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงมาตรฐาน ในการบรรยายข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ อายุ อตั ราการเกิดฟันผุ อัตราการเกิดคราบจลุ นิ ทรยี ์ การใชส้ ถิตเิ ชงิ อนุมานในการเปรียบเทียบความแตกต่างของอตั ราการเกิดฟันผุและอัตราการเกิดคราบจุลินทรีย์ ก่อนและหลงั ได้เค้ียวหมากฝรัง่ ผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอรฟ์ ัสแคลเซียมฟอสเฟต (CPP-ACP) โดยการทดสอบ ค่าดว้ ยสถิติ Wilcoxon signed rank test และ Friedman test 6.ผลการวิจยั จากวิเคราะหผ์ ลการศึกษาคร้ังนี้ พบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชาย คิดเป็นร้อยละ 66.7 และนักเรยี นหญิง คิดเป็นรอ้ ยละ 33.3 และเมือ่ วิเคราะห์เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของอัตราการเกิดฟันผแุ ละอัตราการเกิดคราบจุลินทรีย์ กอ่ นและหลงั ได้เค้ยี วหมากฝรง่ั ผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอรฟ์ ัสแคลเซียมฟอสเฟต (CPP-ACP) อธบิ ายได้ดงั นี้ ตารางที่ 1 เปรียบเทียบปริมาณคราบจุลินทรีย์ตามช่วงเวลาที่ได้รับสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียม ฟอสเฟต ช่วงเวลา Mean S.D. Mean Rank df Friedman test P-value กอ่ นทดลอง 0.74 0.33 3.17 สัปดาหท์ ่ี 4 0.73 0.52 3.03 3 15.565 0.001 สปั ดาห์ที่ 8 0.36 0.36 2.17 สปั ดาห์ที่ 12 0.16 0.11 1.63 จากตารางท่ี 1 แสดงค่าเฉล่ยี ปรมิ าณคราบจลุ นิ ทรยี บ์ นตัวฟนั ก่อนทดลอง เทา่ กบั 0.74 (S.D. = 0.33) คา่ เฉล่ีย ปริมาณคราบจลุ ินทรีย์บนตัวฟันหลังการทดลอง 4 สัปดาห์ เท่ากับ 0.73 (S.D. = 0.52) ค่าเฉลี่ยปริมาณคราบจุลินทรีย์ บนตวั ฟนั หลงั ทดลอง 8 สัปดาห์ เทา่ กับ 0.36 (S.D. = 0.36) และค่าเฉลย่ี ปริมาณคราบจุลนิ ทรยี บ์ นตวั ฟนั หลงั ทดลอง 12 สัปดาห์ เท่ากับ 0.16 (S.D. = 0.11) เมื่อเมื่อทดสอบด้วยสถิติ Friedman test พบว่า ก่อนและหลังได้เคี้ยวหมากฝรั่ง ผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟสั แคลเซยี มฟอสเฟตนักเรียนมีคา่ เฉลยี่ ปริมาณคราบจุลนิ ทรยี บ์ นตัวฟันลดลงอยา่ ง มีนยั สำคัญทางสถิติที่ 0.05 และจะเห็นได้ว่ามกี ารลดลงของคราบจลุ ินทรยี ต์ อ่ เนอ่ื งตงั้ แต่สปั ดาห์ที่ 4 จนถึงสัปดาหท์ ี่ 12 ตารางท่ี 2 เปรียบเทยี บปริมาณคราบจลุ ินทรีย์กอ่ นและหลงั ได้เคย้ี วหมากฝรง่ั ผสมสารเคซนี ฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟสั แคลเซียมฟอสเฟต 12 สปั ดาห์ ช่วงเวลา Mean S.D. Wilcoxon signed rank test P-value ก่อนทดลอง 0.74 0.33 -3.163 0.002 สัปดาหท์ ี่ 12 0.16 0.11 จากตารางท่ี 2 แสดงค่าเฉลย่ี ปริมาณคราบจลุ นิ ทรยี บ์ นตัวฟนั กอ่ นทดลอง เทา่ กบั 0.74 (S.D. = 0.33) และหลงั ได้เคีย้ วหมากฝรงั่ ผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอรฟ์ สั แคลเซียมฟอสเฟต 12 สปั ดาห์ ค่าเฉลีย่ ปรมิ าณคราบจุลินทรยี ์ เท่ากับ 0.16 (S.D. = 0.11) เมื่อทดสอบด้วยสถิติ Wilcoxon signed rank test พบว่า ก่อนและหลังได้เคี้ยวหมากฝรั่ง 200 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซยี มฟอสเฟตนักเรียนมีค่าเฉลย่ี ปรมิ าณคราบจลุ นิ ทรยี บ์ นตัวฟนั ลดลงอยา่ ง มนี ยั สำคัญทางสถิติที่ 0.05 ตารางท่ี 3 เปรียบเทียบค่าเฉล่ียฟันแท้ผุ(ซี่ต่อคน) ตามชว่ งเวลาทไ่ี ด้เค้ยี วหมากฝร่ังผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัส แคลเซียมฟอสเฟต ช่วงเวลา Mean S.D. Mean Rank df Friedman test P-value กอ่ นทดลอง 1.80 1.37 2.23 สปั ดาหท์ ี่ 4 2.00 1.41 สัปดาหท์ ี่ 8 2.06 1.57 2.50 3 7.200 0.066 2.63 สัปดาห์ท่ี 12 2.06 1.57 2.63 จากตารางท่ี 3 แสดงคา่ เฉลย่ี ฟันแท้ผุกอ่ นทดลอง เท่ากับ 1.80 (S.D. = 1.37) ค่าเฉลย่ี ฟนั แทผ้ ุหลังการทดลอง 4 สัปดาห์ เท่ากับ 2.00 (S.D. = 1.41) ค่าเฉลี่ยฟนั แท้ผุหลังทดลอง 8 สัปดาห์ เท่ากับ 2.06 (S.D. = 1.57) และค่าเฉล่ีย ฟันแท้ผุหลงั ทดลอง 12 สัปดาห์ เท่ากับ 2.06 (S.D. = 1.57) เมื่อทดสอบด้วยสถิติ Friedman test พบว่า ก่อนและหลงั ได้เคี้ยวหมากฝรั่งผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟตนักเรียนมีค่าเฉลี่ยฟันแท้ผุไม่แตกต่างกัน แสดงใหเ้ หน็ วา่ ฟันแท้ผไุ มเ่ พิม่ ขึ้น ตารางที่ 4 เปรียบเทยี บค่าเฉลี่ยฟันแท้ผ(ุ ซี่ตอ่ คน) ก่อนและหลงั ได้เค้ียวหมากฝร่ังผสมสารเคซนี ฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัส แคลเซียมฟอสเฟต 12 สปั ดาห์ ช่วงเวลา Mean S.D. Wilcoxon signed rank test P-value กอ่ นทดลอง 1.80 1.37 -1.633 0.102 สปั ดาหท์ ี่ 12 2.06 1.57 จากตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลีย่ ฟันแทผ้ ุก่อนการทดลอง เท่ากบั 1.8 (S.D.=1.37) และหลังได้เคี้ยวหมากฝรั่งผสม สารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟต 12 สัปดาห์ มีค่าเฉลี่ยฟันแท้ผุ เท่ากับ 2.06 (S.D.=1.57) เมื่อ ทดสอบด้วยสถิติ Wilcoxon signed rank test พบว่า ก่อนและหลังได้เคี้ยวหมากฝรั่งผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอรฟ์ สั แคลเซียมฟอสเฟต 12 สัปดาห์ นักเรียนมีการเกิดฟันผไุ มแ่ ตกต่างกนั แสดงให้เหน็ ว่าฟนั แท้ผไุ ม่เพ่มิ ขน้ึ 7.สรุปและอภปิ รายผลการวจิ ัย 7.1 ประสิทธิผลการเคี้ยวหมากฝรั่งผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟตในการป้องกันการเกดิ คราบจลุ ินทรยี ใ์ นเดก็ วัยเรียน จากผลการวิจัยพบว่า ภายหลังไดเ้ คย้ี วหมากฝร่งั ผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟสั แคลเซยี ม ฟอสเฟตนักเรียนมีคา่ เฉลย่ี ปรมิ าณคราบจุลินทรีย์บนตัวฟนั ลดลงอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ิที่ 0.05 ซ่ึงเปน็ ไปตามสมมติฐาน ทั้งน้ี เนอื่ งจากการเกิดคราบจุลนิ ทรยี ใ์ นช่องปากนนั้ เรม่ิ จากมไี บโอฟิลม์ (Biofilms) ที่ผวิ ฟนั จับกันระหวา่ งผวิ นำ้ ลายที่คลุมอยบู่ นผวิ ฟนั กับเชื้อแบคทีเรีย แบคทีเรียในคราบจุลินทรีย์จะย่อยสลายอาหารหลังจากที่บริโภค ซึ่งทำให้เกิดกรดในช่องปากขึ้น เมื่อเคี้ยว หมากฝรั่งจะสามารถกระตุ้นให้เกิดการกำจดั เศษอาหารท่ีเหลือหลังจากการบริโภคอาหาร การกำจัดส่วนหน่ึงเปน็ เพราะการแนบ สัมผสั โดยตรงของหมากฝร่งั กบั เศษอาหาร ร่วมกับการบดเคีย้ วและน้ำลายทเ่ี พ่ิมข้ึน จึงช่วยปอ้ งกนั แบคทีเรียลดการก่อตัวของไบ โอฟิล์มแบคทีเรียในช่องปาก (Wessel, 2016) และจากคุณสมบัติของสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟตใน การทำใหแ้ คลเซยี มและฟอสเฟตในคราบจลุ ินทรียเ์ พม่ิ ขนึ้ เมอ่ื ไอออนของแคลเซียมทีข่ องเหลวนอกเซลล์ (Extracellular fluid) มี ความเข้มข้นมากจะทำให้ผนังเซลล์ของเชื้อสเตรพโตคอคคัสมีสภาพซึมผ่านได้ และเกิดการสลายของเซลล์ ส่งผลให้เกิดการฆ่า แบคทเี รียหรอื การหยดุ ยั้งแบคทเี รีย (Poureslami et al., 2017) ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของ ฟรานซสิ กา แมททิว ทพี่ บว่า หมาก ฝรงั่ ส่วนใหญ่ทม่ี ีสารทดแทนน้ำตาล สารตา้ นจลุ ชพี แรธ่ าตอุ ่นื ๆ มีผลในเชงิ บวกต่อการลดคราบจุลินทรีย์ (Matthews, 2015) 7.2 ประสทิ ธผิ ลการเคย้ี วหมากฝรั่งผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์อะมอร์ฟสั แคลเซยี มฟอสเฟตในการป้องกันการเกิด โรคฟันผุในเด็กวัยเรียน พบว่า ก่อนและหลังได้เคี้ยวหมากฝรั่งผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟต นกั เรียนมกี ารเกดิ ฟนั ผุไมแ่ ตกต่างกนั แสดงให้เหน็ วา่ ฟันแทผ้ ุไมเ่ พมิ่ ข้ึน ซ่งึ เป็นไปตามสมมตฐิ าน ทงั้ นเี้ นื่องจากการเกิดฟันผุนั้น มีองค์ประกอบ 4 ประการ คือ ตัวฟัน น้ำตาล แบคทีเรีย และเวลา โดยแบคทีเรียย่อยสลายน้ำตาลจึงทำให้เกิดความเป็นกรด พยาบาลกบั การวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วถิ ชี วี ิตใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 201

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 เมอ่ื ความเป็นกรดถึงจุดวิกฤต (pH น้อยกว่า 5.5) สง่ ผลใหเ้ คลือบฟันสูญเสียแร่ธาตเุ ม่ือสูญเสียแรธ่ าตุเป็นเวลานานฟันก็จะเกิด เปน็ รูผุขึน้ (ชตุ มิ า ไตรรตั น์วรกุล, 2554) การควบคุมป้องกันฟันผจุ ึงจำเป็นต้องดำเนินการกับปัจจัยดังกล่าว ซึ่งจากการทดลอง ด้วยการเคี้ยวหมากฝรั่งผสมสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟตทุกวันนั้นช่วยลดปริมาณคราบจุลินทรีย์ได้ เท่ากับว่าลดบริมาณแบคทเี รียในชอ่ งปากลงจงึ ทำให้โอกาสเสย่ี งในการเกิดฟันผุลดลงดว้ ย และด้วยคุณสมบัตขิ องสารเคซีนฟอส โฟเปปไทด์ อะมอรฟ์ สั แคลเซียมฟอสเฟต ทชี่ ว่ ยยบั ย้ังการสูญเสียแร่ธาตุของเคลือบฟัน ช่วยสง่ เสรมิ การคืนแร่ธาตุสู่เคลือบฟัน และช่วยยับยั้งการเกาะตัวของแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคฟันผุ (Samue et.al., 2018) และยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของ ฟลูออไรด์ให้จับกับผิวเคลือบฟันได้ดียิ่งขึ้น (Poureslami et al., 2017) และยังมีรายงานวิจัยพบว่า การเคี้ยวหมากฝร่ัง ปราศจากนำ้ ตาล เปน็ เวลา 10 นาที สามารถเพมิ่ ความเปน็ กรดดา่ ง (pH) ในนำ้ ลายได้ (Hegde & Thakkar, 2017) จะเห็นได้ว่า จากคุณสมบัติของหมากฝร่ังที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดการกำจัดเศษอาหาร และการไหลของน้ำลาย ทำให้เกิดการยึดเกาะของคราบ จุลินทรีย์น้อยลง และทำให้ค่า pH เพิ่มขึ้น ประกอบกับสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัสแคลเซียมฟอสเฟตที่สามารถ หยุดยงั้ แบคทเี รีย และชว่ ยสง่ เสริมการคืนแร่ธาตุสเู่ คลือบฟัน จึงเปน็ ปัจจัยท่สี ่งผลให้ลดโอกาสท่จี ะเกิดฟันผุลง 8.ข้อเสนอแนะ 8.1 ขอ้ เสนอแนะในการนำผลวิจยั ไปใช้ 8.1.1 แนะนำให้ผู้ปกครองและคุณครูใช้หมากฝรั่งที่มีส่วนผสมของสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟสั แคลเซียมฟอสเฟตเปน็ ตวั ช่วยเสรมิ ประสิทธภิ าพในการปอ้ งกันฟันผขุ องเดก็ นักเรียน 8.1.2 เดก็ วยั เรียนทัว่ ไปสามารถใช้การเคี้ยวหมากฝรง่ั มีส่วนผสมของสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอร์ฟัส แคลเซียมฟอสเฟตเปน็ ตัวช่วยในการลดคราบจลุ นิ ทรีย์บนตัวฟันในชว่ งเวลาฉกุ เฉนิ เรง่ ด่วนทไ่ี มส่ ามารถแปรงฟนั ได้ 8.2 ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ัยครง้ั ต่อไป ควรมกี ารศกึ ษาประสทิ ธผิ ลของสารเคซีนฟอสโฟเปปไทด์ อะมอรฟ์ ัสแคลเซยี มฟอสเฟตในการปอ้ งกนั การ เกิดโรคฟนั ผุในเด็กวยั เรยี นโดยมกี ลมุ่ เปรียบเทียบเพือ่ เพ่มิ ความน่าเชอื่ ถอื ของงานวจิ ยั มากข้นึ 9. เอกสารอา้ งอิง กระทรวงสาธารณสุข. (2562). ขอ้ มูลเพือ่ ตอบสนอง Service Plan สาขาสขุ ภาพชอ่ งปาก. สบื คน้ เมอื่ 11 มกราคม 2562. จาก http://hdcservice.moph.go.th. ชุตมิ า ไตรรตั น์วรกลุ . (2554). ทนั ตกรรมปอ้ งกนั ในเดก็ และวัยรนุ่ ฉบบั ปรับปรุงครัง้ ที่ 2 (พิมพค์ รงั้ ท่ี 4). กรุงเทพฯ: เบสทบ์ ุ๊ค. สำนักทนั ตสาธารณสุข. (2561). รายงานผลการสำรวจ สภาวะสขุ ภาพช่องปากแหง่ ชาติ ครั้งที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560. กรงุ เทพฯ: สามเจรญิ พานิชย์. Hegde, R.J. & Thakkar, J.B. (2017). Comparative evaluation of the effects of casein phosphopeptide-amorphous calcium phosphate (CPP-ACP) and xylitol-containing chewing gum on salivary flow rate, pH and buffering capacity in children: An in vivo study. J Indian Soc Pedod Prev Dent, 35(4), 332-337. Kaur, K., Nekkanti, S., Madiyal, M. & Choudhary, P. (2018). Effect of chewing gums containing probiotics and xylitol on oral health in children: A randomized controlled trial. J Int Oral Health, 10(5), 237-243. Matthews F. (2015). The use of sugar free chewing gum as a supplement in the prevention of dental caries. J Oral Res, 4(2), 129-136. Poureslami, H., Hoseinifar, Ra., Khazaeli, P., Hoseinifar, Re., Sharifi, H. & Poureslami, P. (2017). Changes in the concentration of Ions in saliva and dental plaque after application of CPP-ACP with and without fluoride among 6-9 year old children. J Dent Biomater, 4(1), 361-366. Samuel,V., Ramakrishnan, M., Halawany, H.S., Abraham, N.B., Jacob, V. & Anil, S. (2017). Comparative evaluation of the efficacy of tricalcium phosphate, calcium sodium phosphosilicate, and casein phosphopeptide – amorphous calcium phosphate in reducing streptococcus mutans in saliva. Niger J Clin Pract, 20(11), 1404-1410 Wessel S. (2016). Oral health benefits of chewing gum. Groningen: Rijksuniversiteit Groningen, 43-55. Wessel, S.W., Mei, H.C., Maitra, A., Dodds, M.W. & Busscher, H.J. (2016). Potential benefits of chewing gum for the delivery of oral therapeutics and its possible role in oral healthcare. Expert Opin Drug Deliv, 13(10), 1421-1431. 202 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ผลของโปรแกรมฝึกอบรมการชว่ ยฟืน้ คืนชีพขนั้ พ้ืนฐานต่อความรู้และการปฏิบตั ิ การชว่ ยฟื้นคนื ชีพขนั้ พน้ื ฐานของกลุ่มผสู้ งู อายุโรงเรยี นผสู้ ูงอายุ ตำบลแมก่ า จังหวัดพะเยา ทววี รรณ ศรสี ขุ คำ1* กติ ติยา ไทยธวชั 2 อรทัย เกตุขาว1 สุนันทา ต้ังนติ ิพงศ์1 และ เพญ็ นิภัท นภรี งค์2,ณัฎฐนิ ี นนั ทาทอง2 1สาขาวิชาปฏิบตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยพะเยา 2สาขาวชิ าแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั พะเยา * ผรู้ ับผิดชอบบทความ E-mail: toon8627@gmail.com บทคัดย่อ การเกิดขึ้นของสังคมผสู้ งู อายทุ ำให้วดั ทางศาสนาต้องปรับเปลย่ี นบทบาทในการเป็นผู้จดั ต้ังโรงเรยี นผู้สูงอายุ การ จัดกิจกรรมด้านสุขภาพฉุกเฉินให้ผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจึงเป็นสิ่งที่มีความจำเป็น การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว วัดผลก่อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบคะแนนความรู้การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและประเมินทักษะการ ปฏบิ ัติการชว่ ยฟืน้ คืนชีพของกลุ่มผสู้ งู อายุ จังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอยา่ งเป็นผสู้ งู อายุโรงเรยี นผู้สงู อายุ ตำบลแม่กาจำนวน 26 คน ได้มาจากการส่มุ ตวั อยา่ งแบบเจาะจงตามคณุ สมบตั ิทีก่ ำหนด เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ัยได้แก่ 1) แบบทดสอบกอ่ นและหลัง การเข้าร่วมกิจกรรม 3) แบบตรวจสอบการปฏิบัติ 3) โปรแกรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นเวลาที่ใช้ 4 ชั่วโมง ประกอบด้วย การ บรรยายคลิป แผน่ พบั การสาธิตและการฝึกปฏิบตั ิ การชว่ ยฟืน้ คนื ชพี ข้ัน สถติ วิ ิเคราะห์เปน็ สถิตเิ ชงิ พรรณนา และ paired t- test ผลการวิจยั พบวา่ ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมมคะแนนเฉลย่ี ของความรู้การช่วยฟืน้ คืนชีพขน้ั พ้ืนฐาน หลงั การทดลอง สงู กว่ากอ่ นการทดลอง อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิ (p-value < 0.000) โดยเพ่มิ ขนึ้ จาก 9.34, 5.90 และยังพบวา่ หลังการเข้า ร่วมกิจกรรม กลุ่มตัวอย่างมีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพ้ืนฐานทุกคน ผลการศึกษาสามารถนำ ที่กิจกรรมไปประยุกต์ใช้ใน พืน้ ที่อนื่ ทีม่ ลี กั ษณะทางประชากรคลา้ ยคลึงกนั คำสำคญั : การช่วยฟนื้ คืนชีพขั้นพื้นฐาน ผ้สู ูงอายุ โรงเรยี นผู้สงู อายุ พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่อื วิถีชวี ติ ใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 203

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 Effects of basic life support training program on knowledge and practice regarding basic life support among older people at the Elderly Schools, Maekha Sub-district Phayao Province Taweewun Srisookkum1,*, Kittiya Thaitawad2*, Orathai Katkhaw1 Sunanta Tangnithipong1 Pennipat Nabheerong2 and Natthinee Nantatong2 1Department of Emergency Medical Operation, School of Medicine, University of Phayao 2Department of Medicine, School of Medicine, University of Phayao. *Corresponding Author; email: toon8627@gmail.com Abstract The aging society lead to the Buddhist Monasteries established the elderly schools. The health care activities are the best way for aging people in the elderly schools. This research design was the one group pretest-posttest design aimed to compare mean score and evaluate the practice of basic life support(BLS) among older people at the Elderly Schools, Phayao Province. Sample were twenty-six aging people at the elderly school in Makha Subdistrict, selected by purposive sampling as inclusion criteria. Instruments were 1) the test for pretest and post-test 2) the practical check-list and 3) Four hours of basic life support program which consisted of; 50 mintiues s of lectures, self-learning from pamphlets; 3 hours of demonstration and practicing regarding BLS. Data were analyzed by descriptive statistics and paired t-test. The study showed that after finished program, the knowledge mean score of BLS reveled statistically significant increase at p-value < 0.000 from 9.34. Besides, this study revealed that after intervention all samples practiced basic BLS. This study should be taken this program to apply using for the another area which were similar as this study. Keywords: basic life support, older people, the elderly school 204 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วชิ าการระดับชาติ ครง้ั ที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 1. บทนำ แนวคิดพ้นื ฐานของแผนผสู้ ูงอายุแห่งชาติฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2545-2564) ฉบับปรบั ปรงุ ครั้งท่ี 1 พ.ศ. 2552 ไดก้ ำหนด วิสัยทัศน์ “ผู้สูงอายุเป็นหลักชัยของสังคม” โดยการบรรลุวิสัยทัศน์ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่สำคัญไว้ 5 ยุทธศาสตร์โดย ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมและพัฒนานับยุทธศาสตร์ที่ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุ (กระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย,์ 2553: 29-32 ) โรงเรียนผสู้ ูงอายนุ บั เปน็ การจัดการศึกษาอีกรูปแบบหนึง่ ทต่ี ้องการ ให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิต รวมถึงยังเป็นการสร้างพื้นที่ในการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุเพ่ือ พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สงู อายุ โดยกิจกรรมในโรงเรียนผูส้ ูงอายุจะเป็นกิจกรรมที่สำคัญต่อการดำเนนิ การของชีวิตช่วยเพ่ิมพนู ทักษะชวี ติ ที่จำเป็น (กรมกจิ การผู้สูงอายุ, 2559: 3) การช่วยฟ้ืนคืนชพี ข้ันพ้ืนฐานนับว่าเป็นกิจกรรมความจำเป็นของสังคม และเปน็ ทักษะสำคญั ท่ีจะสามารถทำให้ผูส้ งู อายุได้ช่วยชวี ติ ผู้เจบ็ ปว่ ยฉุกเฉินทเ่ี พม่ิ จำนวนมากขึน้ ได้ จำนวนผเู้ จ็บปว่ ยฉกุ เฉินในโลก (World Health Organization, 2019: 1) และในประเทศไทยที่เพม่ิ มากขน้ึ (สถาบัน การแพทย์ฉกุ เฉินแหง่ ชาติ, 2562: 1) จำนวนผ้เู จบ็ ปว่ ยฉกุ เฉนิ ที่เพิม่ มากขึ้นน้ีสาเหตุของการเสยี ชวี ติ คือ ภาวะของหัวใจหยุด เต้นซึง่ จากรายงานวจิ ยั พบวา่ มีเพียงอัตราร้อยล 7.7 ที่รอดชวี ติ ซึง่ การทีจ่ ะชว่ ยให้ผู้ท่ีมภี าวะหัวใจหยุดเต้นคือ การช่วยฟ้ืน คืนชีพขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการมาตรฐานการช่วยชีวิต สมาคมโรคหัวใจในพระบรมราชชูปถัมภ์ระบุว่าบุคคลแรกที่พบ ผ้ปู ่วยจะสามารถช่วยชวี ิตผไู้ ดไ้ ด้ (ปรญิ ญา คณุ าวุฒแิ ละคณะ, 2558: 15) งานวจิ ัยที่ผา่ นมายังระบุว่า คนท่ีเข้ารับการอบรม สามารถช่วยให้ผู้หยุดหายใจมีโอกาสรอดชีวิตได้มากกว่าผู้ที่ไม่รับการอบรม (Cave et al, 2011: 692) ประกอบกับใน ปัจจุบันสภาพสังคมในโลกเป็นสังคมผู้สูงอายุ (World Health Organization, 2015: 3) เช่นเดียวกับประเทศไทยที่พบว่า เป็นสังคมผสู้ ูงอายุ และผสู้ ูงอายมุ กี ารทำกจิ กรรมรว่ มกันมากขึ้น (ปราโมทย์ ประสาทพรกลุ , 2561: 60) นัน้ หมายถึงผสู้ งู อายุ ท่โี รงเรียนสงู อายุจะไดพ้ ฒั นาทกั ษะชีวติ และสามารถชว่ ยบุคคลอน่ื ใหร้ อดชวี ติ ได้ คณะกรรมการมาตรฐานการช่วยชีวิต สมาคมโรคหัวใจในพระบรมราชชูปถัมภ์ได้กล่าวถึงการช่วยฟื้นคืนชีพข้ัน พื้นฐานเป็นกระบวนการตั้งแต่การประเมินความปลอดภัยของที่เกิดเหตุ การประเมินผู้ป่วยที่หยุดหายใจ การร้องขอความ ช่วยเหลือจากหน่วยฉุกเฉิน การวางมือกดหน้าอกด้วยอัตราความลึก การคืนกลับของหน้าอกและการหยุดกดหน้าอก (ปริญญา คุณาวุฒิและคณะ, 2558: 27) งานวิจัยที่ผ่านมาเกี่ยวกับการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพืน้ ฐานมีการวิจัยในหลากหลาย กลุ่มได้แก่ กลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษา(Cave et al, 2011: 692; เพ็ญพักตร์ ไชยสงเมือง และชัจคเณค์ แพรขาว, 2561: 126) นักศึกษาพยาบาล (Roy, et al, 2015: 46) นักศึกษาแพทย์ (รัชยากร ลิ่มอภิชาติและคณะ, 2563: 135) อาสาสมัคร (นิกร จันทภิลมและฐิติภา ตั้งวานิช, 2561: 27) ประชาชนที่เห็นเหตุการณ์ที่มีอายุตั้งแต่ 50-75 ปี (Naset, et al, 2012: 124) วัย ทำงาน (พมิ พ์รดา ศริ จิ ติ ต์ธงชยั , 2561: 38) และ ผู้ดแู ลเด็ก(ลดาวรรณ อุบลและคณะ, 2559: 69) สำหรบั งานวิจัยที่ผ่าน มาเก่ียวกับโรงเรียนผสู้ ูงอายุในการจดั กิจกรรมด้านสุขภาพ พบวา่ เป็นการจัดกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ เช่น การออก กำลังกาย การดูแลสุขภาพเบื้องต้น (จามรี พระสุนิต, 2561: 277 ; พระครูโสภณพุทธิศาสตร์ และคณะ, 2562: 969) การ ดแู ลสขุ ภาพเบ้อื งตน้ (พระครโู สภณพทุ ธศิ าสตร์ และคณะ, 2562: 968-969; ยพุ นิ หมื่นทพิ ย์ และคณะ, 2562: 4193-4194 ) การทำแผลและการปฐมพยาบาล (ยพุ ิน หมน่ื ทพิ ย์ และคณะ, 2562: 4194) สำหรบั ในการวจิ ัยนี้ได้ใช้แนวคิดเกี่ยวกบั ตัวแบบเชิงเหตผุ ล (Rational Model) ซึง่ ตัวแบบเชิงเหตุผลเป็นที่รู้จักกัน คือ ตัวแบบความรู้ ทศั นคตแิ ละการปฏิบัติ (KAP model) โดยแนวคดิ นตี้ ง้ั อยบู่ นสมมตุ ฐิ านทีว่ ่าบุคคลทม่ี ีความรู้เพ่ิมมากขึ้น จะส่งผลต่อทัศนคติและการปฏิบตั ิ (WHO, 2012: 20) ร่วมกับแนวคิดของแบนดูรา(Bandura) ในการเรียนรู้ด้วยการสังเกตุ ตัวแบบที่ประกอบไปด้วยกระบวนการตั้งใจ เก็บจำ การกระทำและการจูงใจ และการรับรู้ความสามารถของตนเอง (self efficacy) ที่กล่าวถงึ แหล่งของการรบั รคู้ วามสามารถของตนเองมาจาก ประสบการณท์ ี่สำเร็จ การสังเกตและการเรยี นรู้จากตัว แบบ การชักจูงทางสังคมและสภาวะทางรา่ งกาย(ประกาย จิโรจน์กุล, 2556: 73-76) เปน็ ฐานในการสรา้ งกรอบการวิจัย ตำบลแม่กา เป็นพื้นท่ีในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพะเยาเป็นพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ในปัจจุบันมีตำบลแม่กา การ จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ 2 แห่ง จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่ายังไม่มีงานวิจัยเกี่ยวกับการช่วยฟื้นคืนชีพในกลุ่มผู้สูงอายุใน โรงเรียนผู้สูงอายุ ดังนั้น การจัดโปรแกรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุนับเป็นสิ่งที่มี ความสำคัญ เพราะสอดคล้องกับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติที่ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ และยังเป็นการ จัดการให้ผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุดูแลสุขภาพตนเองได้ซึ่งมีความสอดคล้องกับหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุ สามารถ ช่วยชีวติ ผู้อน่ื ได้ได้ดว้ ยและยงั มคี วามเหมาะสมกับสภาพสังคมผสู้ ูงอายุในปจั จบุ นั พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วถิ ชี วี ิตใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 205

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 2. วตั ถุประสงค์การวิจัย 2.2.1 เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความรู้การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและความรู้และการปฐมพยาบาลเบื้องต้น กอ่ นและหลงั การเขา้ รว่ มโปรแกรมฝกึ อบรมการชว่ ยฟืน้ คนื ชพี ขน้ั พน้ื ฐาน 2.2.2 เพอ่ื ประเมินการปฏิบตั กิ ารชว่ ยฟ้ืนคนื ชพี ขั้นพื้นฐานหลงั การเขา้ ร่วมโปรแกรมฝกึ อบรมการช่วยฟน้ื คนื ชีพ ข้นั พน้ื ฐาน 3. สมมตุ ิฐานการวจิ ยั ภายหลังกลุ่มตวั อยา่ งเขา้ โปรแกรมฝกึ อบรมการช่วยฟ้นื คืนชพี ขน้ั พนื้ ฐานคะแนนเฉลย่ี ของความรูก้ ารช่วยฟนื้ คนื ชพี ขน้ั พ้ืนฐานแตกต่างกนั อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิติ 4. วิธีดำเนินการวจิ ัย 4.1 รูปแบบการวิจัยงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียวเปรียบเทียบก่อนและหลังการเข้าร่วม โปรแกรมฝึกอบรม ได้กำหนดพื้นที่ศึกษาที่มีคุณสมบัติ คือ เป็นโรงเรียนผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลแม่กาที่ไม่เคยมีการอบรม เก่ยี วกบั การช่วยฟื้นคืนชีพและการปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น กลุ่มตวั อยา่ งในการศกึ ษาครั้งนี้ คำนวณขนาดตัวอย่างที่เข้าร่วม กิจกรรมโดยใช้ Power Analysis โดยใช้ตารางสำเร็จรูป ของโคเฮน (Cohen, 1988: 54) กำหนดค่าระดับความเชื่อม่ัน 0.05 ใหม้ ีอำนาจการทดสอบท่ี 0.85 และประมาณค่าขนาดการจดั ทำของตัวแปร (effect size) ที่ 0.50 ไดจ้ ำนวนตัวอย่าง 22 คนและเพ่ิมการสูญหายของข้อมูลรอ้ ยละ 20 ไดจ้ ำนวนตวั อย่างในการวจิ ัยจำนวน 26 คน การสุ่มตวั อย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) โดยกำหนดเกณฑค์ ดั เข้า คอื อายตุ ้ังแต่ 55 ปี สามารถอ่าน ออกเขียนได้ ไม่มีปัญหาเรื่องการสื่อสาร สุขภาพแข็งแรง และยินดีเข้าร่วมวจิ ัยวิจัย และกำหนดเกณฑก์ ารคัดออกคอื ไม่ สามารถร่วมกิจกรรมจนจบกระบวนการ 4.2 เครอื่ งมือและการหาคุณภาพเคร่อื งมอื 4.2.1. เครือ่ งมือท่ีใช้ในการวิจยั ประกอบไปด้วย 4.2.1.1 โปรแกรมฝกึ อบรมการช่วยฟ้ืนคนื ชีพข้ันพื้นฐาน ประยกุ ตจ์ ากแนวคิดของสถาบันการแพทย์ ฉุกเฉินแห่งชาติ (2559: 7-14) มีอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรมคือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมในโปรแกรมแก่ คลิป การช่วยฟื้นคืนชีพ หุ่นจำลองการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR manikin) อุปกรณ์พยุงดามมือและเท้า (splint) ใช้เวลาดำเนิน กิจกรรม 4ชั่วโมงรายละเอียดกิจกรรม คือ 1) กิจกรรมกลุ่มการนำเข้าสู่บทเรียน 10 นาที การบรรยายและเอกสาร ประกอบการบรรยาย หัวขอ้ การชว่ ยฟนื้ คืนชีพขน้ั พน้ื ฐาน (cardio pulmonary resuscitation: CPR 2015) ใช้เวลา 20 นาที 2) การสาธติ การช่วยฟื้นคืนชพี ข้ันพน้ื ฐาน 30 นาที และ 3) การแบ่งกลุม่ ฝึกปฏบิ ัติการชว่ ยฟน้ื คืน 180 นาที 4.2.1.2 แบบทดสอบ พัฒนาโดยประยุกต์จากการปฏิบัติการช่วยชีวิตปี ค.ศ. 2015 ของ American Heart Association ( AHA) Guideline Update for Cardiopulmonary Resuscitation (CPR) and Emergency Cardiovascular Care 2015 (ปรญิ ญา คณุ าวฒุ ิและคณะ, 2558: 23-24) มี 3 ส่วนคอื 1) สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู สว่ นบุคคลมีจำนวน 3 ข้อได้แก่ อายุ เพศ และลักษณะการอยู่อาศัย 2) ส่วนที่ 2 แบบทดสอบความรู้การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานจำนวน 15 ข้อมี ข้อคำถาม 2 ตัวเลือก มีคะแนนรวมทั้งหมด 15 คะแนนโดยกำหนดให้ตอบถูกต้องกำหนดให้ 1 คะแนน และตอบผิด กำหนดให้ 0 คะแนน ในการแปรผลคะแนนความรู้การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน แบ่งเป็น 3 ระดับ (Best, 1977: 174) คือ ช่วงคะแนน 0.00-5.00 หมายถึงระดับต่ำ ช่วงคะแนน 5.01-10.00 หมายถึงระดับปานกลาง ช่วงคะแนน 10.01-15.00 หมายถงึ ดี 4.2.1.3 แบบตรวจสอบรายการทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน พัฒนาขึ้นโดยประยุกต์จาก การปฏิบัติการช่วยชวี ติ ปี ค.ศ. 2015 ของ AHA (ปริญญา คุณาวุฒแิ ละคณะ, 2558: 23-24) มจี ำนวน 9 ข้อ แบง่ เปน็ 2 ระดบั คือทำได้ 1 คะแนน และทำไมไ่ ด้ 0 คะแนน 4.2 การทดสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบ คณะผู้วจิ ัยโดยสร้างขอ้ คำถามแลว้ นำใหผ้ ู้เชียวชาญตรวจสอบความตรง ของเนื้อหา และนำไปทดลองใช้กับประชากรที่มีลักษณะทางประชากรใกล้เคียงกัน หลังจากนั้นนำแบบทดสอบความรู้ หา ความเชอ่ื มั่นของความร้ดู ว้ ย KR-21 ได้คา่ ความเชือ่ มั่นความรู้การช่วยฟน้ื คนื ชพี ข้นั พืน้ ฐานเท่ากับ 0.67 ความเชือ่ ม่ันของแบบ ตรวจสอบรายการเทา่ กบั 0.69 206 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวิชาการระดับชาติ คร้ังที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 4.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 4.3.1 ก่อนการทดลองคณะผ้วู ิจัยทำการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกย่ี วข้องในการจดั ทำกจิ กรรม จากนนั้ ประสาน กับผู้นำชุมชนในพืน้ ทีศ่ ึกษาในการเตรยี มความพร้อมในการวิจยั ท่ีผู้เข้าร่วมวจิ ยั สะดวกที่สุดเพือ่ ที่จะลดการรบกวนผู้เข้าร่วม วจิ ยั ใหน้ อ้ ยที่สดุ 4.3.2 ทำการประชุมทีมผู้ช่วยนักวิจัยคือ นิสิตสาขาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์จำนวน 12 คน เพื่อระบุ หน้าที่ในการเป็นผู้ช่วยนักวิจัยได้แก่ การช่วยเก็บข้อมูลก่อนและหลังการวิจัย การช่วยเป็นวิทยากรบรรยาย และวิทยากร ประจำกลมุ่ การช่วยฟืน้ คนื ชพี และการปฐมพยาบาล 4.3.3 ก่อนการนำเข้าสู่กิจกรรมให้ทีมนักวิจัยทำการยินยอมด้วยวาจาในการเข้าวิจัย เมื่อผู้ร่วมวิจัยยินยอม และใหผ้ ู้ชว่ ยผนู้ กั วจิ ยั ท้งั หมดดำเนนิ การเกบ็ ข้อมูลในกลมุ่ กอ่ นการเข้าร่วมกิจกรรม 4.3.4 จากนั้นดำเนินการวิจัยคณะผู้วิจัยจัดกิจกรรมเข้าสู่บทเรียนด้วยการแนะนำทีมและวิทยากร และ ผู้เข้าร่วมวิจัยใช้เวลา 10 นาที และแจกเอกสารแผ่นพับให้ผู้เข้าร่วมวิจัยทุกคนเพื่อเรียนรู้ด้วยตนเอง มีคณะผู้วิจัยและ ผเู้ ขา้ ร่วมวจิ ัย ดว้ ยการบรรยายร่วมกับการสาธติ ในหัวข้อ การช่วยฟื้นคนื ชพี ข้นั พนื้ ฐานใชเ้ วลา 50 นาที แล้วทำการแบ่งกลุ่ม ผู้เข้าร่วมวิจัยฝึกปฏิบัติโดยมีคณะผู้วิจัยและผู้ช่วยวจิ ัยทีมเป็นผู้ที่คอยช่วยเหลือแนะนำระหว่างทำกิจกรรมทำกิจกรรม การ ช่วยฟน้ื คนื ชีพ 3 ช่ัวโมง รวมเวลาในการทำกิจกรรมตามโปรแกรมคอื 4 ช่วั โมง 4.3.5 หลังจากกิจกรรมการวิจัยสิ้นสุด คณะผู้วิจัยจึงให้ผู้เข้าร่วมวิจัยจัดทำแบบทดสอบหลังการเข้าร่วม โปรแกรมฝกึ อบรมอกี คร้ังจึงสิน้ สุดการวิจยั 4.4 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ข้อมูลส่วนบุคคลใช้ สถิติเชิงพรรณนา ไดแ้ ก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ส่วนเปรยี บเทียบคา่ เฉล่ยี ของตัวแปรกอ่ นและหลงั การเข้าร่วมกจิ กรรมใช้สถิตเชิงอนุมานได้แก่ สถติ ิ Paired t-test 5. ผลการวจิ ยั สรปุ และอภปิ รายผลการวิจัย 5.1 ผลการวิจัย ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ทั้งหมด 26 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มากร้อยละ 84.6 อายสุ ว่ นใหญ่ 60-69 ปี ร้อยละ 53.8 และส่วนใหญ่อาศัยอยู่กบั ลูกหลานร้อยละ 57.7 สำหรับระดับความรู้ ดังตารางที่ 1 พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความรู้ระดับดีหลังการเขา้ ร่วมโปรแกรมเพ่ิมขึ้นจากก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมจากร้อยละ 11.00 เป็นร้อยละ 50.00 โดยคะแนนเฉลีย่ ของความรูห้ ลังการเขา้ ร่วมกจิ กรรมเพิม่ ขึ้นจากก่อนการเข้าร่วมกจิ กรรมจาก 9.34 คะแนน เปน็ 11.34 คะแนน คะแนนเฉลี่ยของความรู้หลังการเข้าร่วมโปรแกรมเพิ่มขึ้นจากก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมจาก 9.34 คะแนน เป็น11.34 คะแนน เมื่อทดสอบความสัมพันธ์ทางสถิติ พบว่าคะแนนความรู้ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.000) โดยคะแนนเฉลี่ยของความรู้หลังการเข้าร่วมโปรแกรมเพิ่มขึ้นจากก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมจาก 5.90 คะแนน เป็น 11.20 คะแนน เมื่อทดสอบความสัมพันธ์ทางสถิติ พบว่าคะแนน ความรู้ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p- value < 0.000) ดงั ตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 เปรียบเทียบระดบั คะแนน ค่าเฉลยี่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และความแตกต่างคะแนนทีคะแนนความรู้ เก่ียวกบั การช่วยฟ้นื คืนชีพข้ันพนื้ ฐานก่อนและหลงั การเขา้ ร่วมโปรแกรม ระดบั การรว่ มโปรแกรม จำนวน (ร้อยละ) การชว่ ยฟนื้ คืนชพี ขน้ั พ้นื ฐาน กอ่ น หลงั t p-value ระดับต่ำ (0.00-5.00 คะแนน) -4.272 <0.001 ระดบั ปานกลาง (5.01-10.00 คะแนน) 0(0.00) 0(0.00) ระดับดี (10.01-15.00 คะแนน) 23(89.00) 13(50.00) X; S.D. 3(11.00) 13(50.00) 9.34; 1.16 11.19; 1.65 ผลการเปรียบเทยี บความรรู้ ายข้อพบว่าหลงั การเข้ารว่ มโปรแกรม กลมุ่ ตวั อย่าง รอ้ ยละ 100 สามารถตอบถกู ต้อง กล่าวคือทุกคนสามารถตอบข้อคำถามเก่ียวกับ “สิ่งแรกที่ผูช้ ่วยเหลือควรนึกถึงก่อนการเข้าช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ” และ “ท่าทถี่ ูกตอ้ งในการกดนวดหัวใจคอื ผู้ช่วยเหลือใช้สนั มือข้างหนง่ึ วางบริเวณคร่ึงลา่ งของกระดกู หนา้ อก วางมอื อีกข้างหนึ่ง พยาบาลกบั การวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพ่ือวิถชี วี ิตใหม่ในยุค Disruptive Technology | 207

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ทาบหรอื ประสานลงไปบนมอื อีกข้าง” สว่ นขอ้ คำถามท่ีกลมุ่ ตวั อย่างตอบคำถามไดถ้ ูกต้องลดลงหลงั เขา้ รว่ มกจิ กรรม คือ จากร้อยละ 43.0 เหลือร้อยละ 27.0 “อาการของผู้ท่ีหัวใจหยุดเต้น” และยังพบว่าหลังการเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่ม ตัวอย่างทีต่ อบคำถามได้ถูกต้องมากที่สุดจากก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมจากร้อยละ 15 เป็นร้อยละ 40.0 คือ “สิ่งแรกท่ี ควรปฏิบตั ิเมือ่ พบผู้ปว่ ย หมดสติ ปลุกเรยี กไม่ตืน่ คอื รีบเข้าไปกดนวดหัวใจ” ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของความรู้การช่วยฟ้ืนคืนชีพข้ันพน้ื ฐานของกลุ่มตัวอย่างกอ่ นและหลังการเข้ารว่ มโปรแกรม รายการ จำนวน(ร้อยละ) กอ่ น หลัง 1. ความหมายของการช่วยฟ้นื คนื ชพี ขนั้ ฟื้นฐาน 24.0(92.0) 25.0(96.0) 2. การประเมินอาการผทู้ ่ีหมดสติ 22.0(85.0) 21.0 (80.0) 3. CPR (ซีพีอาร)์ เรียกอกี ช่ือหนงึ่ วา่ การนวดหัวใจผายปอดกชู้ ีพ 22.0 (85.0) 25.0 (90.0) 4. สาเหตขุ องการหยดุ หายใจ 20.0 (76.0) 24.0 (92.0) 5. อาการของผู้ทห่ี ัวใจหยดุ เตน้ 11.0 (43.0) 7.0 (27.0) 6. สิ่งแรกทีผ่ ้ชู ว่ ยเหลือควรนึกถึงก่อนการเขา้ ชว่ ยเหลือผบู้ าดเจ็บ 25.0 (96.0) 26.0(100.0) 7. สงิ่ แรกทีค่ วรปฏบิ ตั ิเมอื่ พบผ้ปู ว่ ย หมดสติ ปลกุ เรียกไม่ต่ืน คือ รบี เขา้ ไปกดนวดหวั ใจ 4.0 (15.0) 12.0 (40.0) 8. หมายเลขโทรศพั ทข์ องหนว่ ยแพทยฉ์ กุ เฉิน 1669 22.0 (85.0) 25.0 (96.0) 9. วธิ กี ารปลกุ เรียกผปู้ ่วยหมดสตเิ ปน็ การปลุกเรียกทีด่ ที ี่สุดคอื การใช้เสยี ง 3.0 (12.0) 5.0 (19.0) 10.การกดนวดหวั ใจควรจัดใหผ้ ูป้ ่วยนอนราบบนที่นอนหรอื พน้ื นุ่มเพ่ือป้องกนั ผปู้ ่วยปวดหลัง 5.0 (19.0) 11.0 (42.0) 11.ทา่ ทถี่ ูกต้องในการกดนวดหวั ใจคือผชู้ ่วยเหลือใชส้ นั มอื ขา้ งหนง่ึ วางบรเิ วณครึ่งลา่ งของกระดกู 22.0 (85.0) 26.0(100.0) หน้าอก วางมอื อีกขา้ งหนง่ึ ทาบหรือประสานลงไปบนมอื อกี ขา้ ง 17.0 (65.0) 25.0 (96.0) 12.ท่าพกั ฟนื้ ท่เี หมาะสมหลงั การช่วยฟนื้ คนื ชีพขนั้ พน้ื ฐาน คอื 5.0 (19.0) 11.0 (42.0) 13.อาการเจ็บแนน่ หนา้ อกเป็นอาการอนั ตรายจากการวางมอื ผดิ ตำแหน่งขณะกดนวดหัวใจ 19.0 (73.0) 23.0 (88.0) 14.สาเหตทุ ีพ่ บบอ่ ยของภาวะหยดุ หายใจ คือ ส่งิ แปลกปลอมอดุ ก้ันทางเดนิ หายใจ 22.0 (84.0) 25.0 (96.0) 15.อัตราสว่ นท่เี หมาะสมของการกดนวดหนา้ อกตอ่ การชว่ ยหายใจ คอื 30 ตอ่ 2 ผลการวิจัยด้านการปฏิบัติช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานหลังการเข้าร่วมโปรแกรมพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติ ได้มากที่สุดคือ “ทำการช่วยหายใจโดยการเป่าปาก 2 ครั้ง” และ “ทำการกดอกช่วยฟื้นคืนชีพ ใช้อัตราการกดหน้าอก 30 ครั้ง ต่อการช่วยหายใจเป็น 2 ครั้ง” ในขณะที่การปฏิบัติน้อยสุดคือ “กดหน้าอกด้วยความเร็ว อย่างน้อย 100 ครั้ง/นาที แตไ่ ม่ควรเกิน 120 ครั้งตอ่ นาที” และ “ยดื ไหลเ่ หยยี ดแขนตรง หลงั ตรง โน้มตวั และปลอ่ ยน้ำหนกั ตัวลงสมู่ ือ ในแนวตั้งฉากกับตัวผู้ป่วย และกดมือลงในแนวดิ่ง ไม่โยกตัว กดให้ลึกอย่างน้อย 2 นิ้ว (5 ซม) แต่ไม่ควรลึกเกิน 6 ซม. (2.4 นิ้ว)” ดงั ตารางท่ี 3 ตารางท่ี 3 จำนวนร้อยละของการปฏิบตั ิการชว่ ยฟ้นื คืนชพี ขั้นพนื้ ฐานของกลมุ่ ตวั อยา่ งหลังการเขา้ ร่วมโปรแกรม รายการ จำนวน ร้อยละ 24 92.0 1.ตรวจดูความปลอดภยั 24 92.0 2.เร่มิ ทำการกดหน้าอกใหเ้ ร็วท่ีสดุ โดยวาง ส้นมือ 2 ขา้ งซอ้ นกนั บรเิ วณกงึ่ กลางหน้าอก 20 77.0 3. ยดื ไหลเ่ หยียดแขนตรง หลังตรง โน้มตวั และปล่อยนำ้ หนักตวั ลงสมู่ อื ในแนวต้งั ฉากกบั ตวั ผู้ป่วย และกด 16 62.0 มือลงในแนวดง่ิ ไมโ่ ยกตัว กดให้ลกึ อยา่ งน้อย 2 นวิ้ (5 ซม) แต่ไมค่ วรลกึ เกิน 6 ซม. (2.4 นิว้ ) 24 92.0 4.กดหน้าอกด้วยความเร็ว อย่างน้อย 100 ครั้ง/นาที แต่ไม่ควรเกนิ 120 ครงั้ ต่อนาที 5.ปลอ่ ยใหท้ รวงอกผู้ปว่ ยคืนตวั ให้สดุ ไม่กดค้าง และกดหนา้ อกติดต่อกันจนครบ 30 ครง้ั (ตอ้ งไม่พกั มอื 24 92.0 26 100.0 หรือปลอ่ ยนำ้ หนักไวบ้ นหนา้ อกผ้บู าดเจ็บก่อนการป๊ัมในครัง้ ต่อไปต้องปลอ่ ยให้หนา้ อกยกตวั ขึ้นสุดกอ่ น 26 100.0 กดในครัง้ ตอ่ ไปนัน้ เอง) 23 88.0 6.เปดิ ทางเดนิ หายใจดว้ ยวธิ กี ดหน้าผากเชยคางแหงนหน้า 7.ทำการช่วยหายใจโดยการเปา่ ปาก 2 ครัง้ 8.ทำการกดอกชว่ ยฟ้นื คืนชพี ใชอ้ ัตราการกดหนา้ อก 30 คร้ัง ตอ่ การช่วยหายใจเป็น 2 คร้ัง 9.หากมผี ู้ช่วยเหลอื เพยี งคนเดียวใหก้ ดนวดหัวใจกระท่ังผูป้ ่วยกลับมามสี ติ หรือรถพยาบาลมาถงึ ท่เี กิดเหตุ 208 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 5.2 การอภปิ รายผล ความร้เู กย่ี วกบั การชว่ ยฟื้นคืนชีพขั้นพ้ืนฐาน ผลการวจิ ัยพบว่าภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรม กลุ่มตวั อยา่ งมีคะแนนความรู้เพิ่มขึ้นถึง 1.85 คะแนน โดยพบว่ามีความแตกตา่ งอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.001) เมือ่ เปรียบเทียบกับก่อนการฝึกโดยขึ้นจาก 9.34 คะแนน เป็น 11.19 คะแนน สาเหตุทค่ี ะแนนความรูด้ ้านการช่วยฟ้ืนคืนชีพ เพิ่มขึ้นเป็นเพราะกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้ได้รับความรู้การช่วยฟื้นคืนชีพ ทั้งการบรรยาย การสาธิต CPR การฝึก ปฏิบัติจริง ได้เห็นตัวแบบจากสัญลักษณ์ (symbolic model) การดูสาธิตทำจากหุ่นจำลอง และตัวแบบที่เป็นคำสอน จาก แผ่นพบั ความรู้ (instruction) จากตวั แบบทหี่ ลากหลายทำให้เกิดการต้ังใจ สเู่ ปน็ กระบวนการจำ การเปล่ยี นแปลงในความคิด เกดิ เป็นความรูข้ ึน้ ดงั ทแี่ บนดรู า ได้กลา่ วไว้ (ประกาย จิโรจนก์ ุล, 2556: 73-76) ผลการศึกษาทไี่ ดน้ ีส้ อดคลองกบั การศึกษา ในนักเรยี นมัธยมศกึ ษา (เพญ็ พกั ตร์ ไชยสงเมอื ง และชจั คเณค์ แพรขาว , 2561: 128) นักศกึ ษาพยาบาล (Roy, et al, 2015: 47) อาสาสมคั ร (นิกร จันทภิลมและฐิติภา ตงั้ วานชิ , 2561: 31) วยั ทำงาน (พิมพ์รดา ศริ ิจติ ต์ธงชยั , 2561: 3) และสอดคล้อง กับการศึกษาของรัชยากร ลิ่มอภิชาติและคณะ (2563: 135) ในกลุ่มนักศึกษาแพทย์ ที่พบว่าพบว่าคะแนนเฉลี่ยความรู้ เกี่ยวกับการชว่ ยฟืน้ คนื ชีพ หลงั การทดลองสูงกว่ากอ่ นการทดลอง 5.3 สรุป โปรแกรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานโปรแกรมได้ทำให้คะแนนความรู้การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน หลังการเขา้ ร่วมโปรแกรมเพิ่มขนึ้ จากก่อนเขา้ ร่วมกิจกรรม 1.85 คะแนนอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติ (p-value <0.001) โดยทำ ให้กลุ่มตัวอย่างทุกคนมีความรู้ในข้อคำถามการประเมินผู้ป่วยอันดับแรกและการจัดท่าที่ถูกต้องในการกดหน้าอกเพื่อช่วย หายใจ และทำให้นอกจากนีห้ ลังการเขา้ โปรแกรมผู้เข้ารว่ มกิจกรรมสามารถปฏิบตั กิ ารช่วยฟื้นคนื ชีพขั้นพื้นฐานได้ทกุ คน 5.4 ข้อเสนอแนะ โปรแกรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในกลุ่มผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลแม่กา จังหวัดพะเยา ได้ส่งผลตอ่ คะแนนทเ่ี พิ่มขึน้ ของการช่วยฟื้นคนื ชพี ข้ันพ้นื ฐานทำให้กลุ่มตัวอย่างสามารถปฏิบัติการช่วยฟ้ืน คืนชีพขั้นพื้นฐานได้ทุกคน ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรนำโปรแกรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในพื้นที่ และพื้นท่ี อื่นท่มี ลี ักษณะทางประชากรคล้ายคลงึ กัน ควรนำกิจกรรมไปประยกุ ตใ์ ช้ในพน้ื ทตี่ อ่ ไป 6. กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณอย่างสูง “คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาที่สนับสนุนงบประมาณในการวิจัย” ครั้งนี้ และที่สำคัญอย่างยิ่งคือผู้เข้าร่วมวิจัยทุกท่าน เจ้าอาวาสวัดแม่กาโทกหวาก นิสิตสาขาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา อาสาสมัครสาธารณสขุ ชมุ น ผนู้ ำชุมชน ที่กรณุ าเปน็ ผู้ชว่ ยเหลือจนงานวจิ ยั นส้ี ้ินสดุ 7. เอกสารอ้างองิ (References) กรรณิกา เรอื นจันทร์ , เอกชัย กันธะวงศ์ และ ชยธิดา ไชยวงษ์. การพฒั นาหลักสตู รการอบรมเร่อื ง “การปฐมพยาบาล ผปู้ ว่ ยฉุกเฉิน” สำหรบั ชุมชนดอนแกว้ อ. แมร่ มิ จ. เชียงใหม.่ วารสารเครือข่ายวทิ ยาลยั พยาบาลและการ สาธารณสุขภาคใต้, 2563: 7(1), 184-193. กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์.(2554). แผนผสู้ งู อายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) ฉบบั ปรบั ปรุงคร้ังท่ี 1 พ.ศ. 2552. ค้นเม่อื 01 มถิ นุ ายน 2563 จาก http://www.dop.go.th/download/laws/law_th_20152309144546_1.pdf จามรี พระสนุ ติ . การส่งเสรมิ สุขภาวะผู้สูงอายใุ นโรงเรยี นผสู้ ูงอายุ ชมุ ชนดงมะดะ จังหวดั เชยี งราย. วารสารการวจิ ัยเชงิ พน้ื ท่ี, 2561: 10(4), 270-279. นกิ ร จันทภลิ มและฐติ ภิ า ต้ังวานิช. ผลของโปรแกรมส่งเสรมิ สมรรถนะตนเองต่อความสามารถในการใหบ้ รกิ ารฉกุ ฌฉนิ ของอาสาสมคั รฉุกเฉินการแพทย์. วารสารพยาบาลและสขุ ภาพ, 2561: 12(1). 24-34. ปราโมทย์ ปราทพรกุลและคณะ. (2561). รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายไุ ทย พ.ศ. 2560. นครปฐม: สถาบนั วจิ ยั ประ ชกรและสงั คม, มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. ปริญญา คณุ าวุฒ,ิ นลนิ าสน์ ขุนคล้ายและบวร วิทยชำนาญกลุ .(บรรณาธกิ าร). สรปุ แนวทางปฏิบตั ิการช่วยชวี ิต ปี ค.ศ.2015. กรุงเทพ: บจก.ปญั ญามิตร การพมิ พ์. ประยงค์ จันทร์แดง. การดแู ลผสู้ งู อายุตามแนวพุทธ กรณีศึกษาโรงเรียนผ้สู ูงอายุในวัดเขตตตำบลแมก่ า อ.เมอื ง จ. พะเยา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์, 2561: 26(52), 28-48. พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพือ่ วิถชี วี ติ ใหม่ในยุค Disruptive Technology | 209

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ประกาย จโิ รจน์กลุ . (2556). แนวคดิ ทฤษฎีการสร้างเสรมิ สขุ ภาพและการนำมาใช้. นนทบุรี : โครงการสวสั ดิการวิชา กการสถาบันบรมราชชนก. พระครโู สภณพทุ ธศิ าสตร์, พระปลัดบุญเจิด สจุ ิตโฺ ต, พระปลดั บญุ เจดิ สุจติ โฺ ต, พระเทิดศักด์ิ สตตฺ นิ ฺธโร, นพดล ดไี ทยสงค์ และเกษม แสงนนท์. โรงเรียนผสู้ งู อายกุ ารจดั การสขุ ภาวะและสวสั ดิการผสู้ ูงอายุ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมหาจุฬานาคทรรศน์, 2562: 6(2), 960-972. ยพุ นิ หมื่นทพิ ย,์ มนันชยา จติ ตร์ ตั น์ และปยิ พร พรหมแกว้ . เส้นทางและผลการพัฒนาหลกั สูตรสูโ่ รงเรยี นผสู้ ูงอายุ ต้นแบบ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช. วารสารมหาจฬาุ นาครทรรศน์, 2565: 6(9), 4184- 4198. พิมพ์รดา ศิริจิตต์ธงชัย. การพัฒนาความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่กรมควบคุมโรคกับการช่วยฟื้นคืนชีพข้ันพ้ืนฐาน และการใช้เคร่ืองกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าอัตโนมัติ. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 2561: 7(2). 35-41. เพญ็ พกั ตร์ ไชยสงเมอื ง และชัจคเณค์ แพรขาว. ผลของโปรแกรมการสอนการช่วยเหลอื ขน้ั พ้ืนฐานภาวะหัวใจหยดุ เต้น ในนักเรียนมธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นมัธยมแหง่ หนงึ่ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื . วารสารพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข, 2561: 28(2), 118-131. รัชยากร ลมิ่ อภิชาต, อกั ษร พูลนติ พิ ร, อัจฉริยาพร พลรตั นแ์ ละปรนชุ ชัยชูสอน. การคงอยู่ของความรู้เร่อื งการช่วยฟื้น คืนชีพภายหลงั การเรยี นรแู้ บบทมี ของนักศึกษาแพทยช์ ั้นปที ี่ 6. วิสญั ญสี าร, 2563: 46(3), 133-140. ลดาวรรณ อบุ ล, ทศั นี ประสบกิตตคิ ุณ, อรณุ รตั น์ ศรีจันทรน์ ติ ย์ และชดชนก วิจารสรณ์. การสอนช่วยชวี ิตขัน้ พืน้ ฐาน ดว้ ยวดี ีทัศน์สำหรับผดู้ แู ลผปู้ ่วยเดก็ ที่เสย่ี งต่อการเกิดภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ . J NURS SCI, 2559: 34(3) 66-78. สถาบันการแพทยฉ์ กุ เฉนิ แห่งชาติ. (2562). แผนหลักการแพทย์ฉุกเฉนิ ฉบับที่ 3.1 พ.ศ. 2562-2565. กรงุ เทพ: บริษทั อัลทเิ มทพริ้นตงิ้ . สถาบันการแพทยฉ์ กุ เฉินแหง่ ชาติ. (2559). ค่มู ืออาสาสมัครฉุกเฉิน. นนทบุรี: สถาบันการแพทย์ฉุกเฉนิ . Best J.W. (1977). Research in education. New Jersey: Prentical-Hall Inc. Cave DM., Aufderheide, TP., Beeson, J., Ellison, A., Gregory, A., Hazinski, MF. & et. al. Importance and Implementation of Training in Cardiopulmonary Resuscitation and Automated External Defibrillation in Schools. Circulation, 2011: 123(6), 691-706. Cohen J. (1988). Statistical power analysis for behavioral sciences. New Jersey: Hillsdale. Naset, A., Birkes., TS., Furunes, T., Myklebust, H., Mykletun, RJ. & Odegaard, S. A randomized trial on elderly laypersons’s CPR performance in realistic cardiac arrest simulation. Acta Aneaesthesiol Scan, 2012: 56, 124-135. Roy, R., Ravidra, HN., & Jain, PK. Impact of health awareness programme on knowledge and practice regarding revised protocol of delivering cardiopulmonary resuscitation (CPR) among nursing students. International Journal of Nursing Education, 2015: 7(2). 44-48. World Health Organization. (2019). Emergency care and trauma care. [March 13, 2020] Retrieved from: https://www.who.int/emergencycare/en/ World Health Organization. (2010). Global status report on non-communicable diseases 2010. Geneva: World Health Organization. World Health Organization. (2012). Health education: theoretical concepts, effective strategies and core competencies: a foundation document to guide capacity development of health educators. Geneva: World Health Organization. 210 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ คร้ังท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธิพลตอ่ ภาวะสขุ ภาพจติ ของนักศึกษาพยาบาล หลกั สูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ กมลรัตน์ ทองสว่าง1* สุวารี คำศริ ิรักษ์2 ยุภดี สงวนพงษ์3 และธนาวทิ ย์ กางการ4 1กลมุ่ วชิ าการพยาบาลสุขภาพจติ และจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ 2กล่มุ วิชาการพยาบาลอนามยั และชมุ ชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ 3กลุ่มวิชาการพยาบาลเดก็ และวยั รุ่น คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ 4สาขาวิชาสงั คมศกึ ษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ *tongsawangk@hotmail.com (corresponding author) บทคัดยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศกึ ษาภาวะสขุ ภาพจิตและปัจจัยท่ีมอี ิทธิพลต่อภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษา พยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษา พยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีการศกึ ษา 2561 จำนวน 359 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคล ดัชนีชี้วัดสุขภาพจิต (TMHI - 66) มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .986 และแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ สำหรับอายุ 18-25 ปีของกรม สุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข มคี า่ ความเชือ่ มน่ั เทา่ กับ .983 วิเคราะหข์ ้อมลู ดว้ ย คา่ รอ้ ยละ คา่ เฉลีย่ คา่ สว่ นเบ่ียงเบน มาตรฐาน ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ด้วยวิธีของเพียร์สัน สมการถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจยั พบว่า ภาวะสุขภาพจติ ของนกั ศกึ ษาพยาบาล หลกั สูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ ตำ่ กวา่ คนท่ัวไป ร้อยละ 38.71 อายุ สถานภาพสมรสของบิดามารดา และเพศ สามารถร่วมกันทำนายภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษา พยาบาล ไดร้ ้อยละ 0.43 อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถิติ (P-value = .000) โดยสมการพยากรณใ์ นรปู คะแนนดิบ คอื Y = 2.825 + .030X1 + -.035X2 + -.125X3 คำสำคญั : ภาวะสุขภาพจติ ปจั จยั ทำนายภาวะสุขภาพจิต พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือวถิ ชี วี ติ ใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 211

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 Factors Influencing the Mental health status of Undergraduate Nursing Students, Faculty of Nursing, Chaiyaphum Rajabhat University Kamonrut Tongsawang1,*, Suwaree Kamsirirak2, Yupahdi Sanguanphong3 and Thanawit Kangkarn4 1 Mental Health and Psychiatric Nursing Program. Chaiyaphum Rajabhat University (Nursing) 2 Health and Community Nursing Program. Chaiyaphum Rajabhat University (Nursing) 3 Pediatric and Adolescent Nursing Program. Chaiyaphum Rajabhat University (Nursing) 4 Social Studies Program. Chaiyaphum Rajabhat University (Education) *Corresponding Author; email: tongsawangk@hotmail.com Abstract The objectives of this research were to study the mental health status and factors influencing the mental health status of the students of undergraduate nursing students, Faculty of Nursing, Chaiyaphum Rajabhat University. The sample were 359 undergraduate nursing students, Faculty of Nursing, Chaiyaphum Rajabhat University, academic year 2018. The research tool was questionnaires composing 3 parts namely for personal data; mental health indicators (TMHI – 66) with reliability at .986 and the Emotional Intelligence Assessment for persons aged 18–25 years of Department of Mental Health, Ministry of Public Health at with reliability .983. Data analysis used consisted of percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient conducted with multiple regression equations. The research results appeared as following: The mental health status of the nursing students, classified with score levels of mental health indicators, was found that of 139, appeared lower than general public, accounting 38.71%, and The factors influencing the mental health status of the nursing students were found that age, marital status of parents and sex co-forecast the mental health status of the nursing students by 0.43 percent with statistical significance (P-value = .000)., which can be written into forecasting equation in form of raw score as following: Y = 2.825 + .030X1 + -.035X2 + -.125X3. Keywords: Mental health status, Factors influencing the mental health status 212 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวิชาการระดับชาติ คร้งั ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 1. บทนำ การศกึ ษาเป็นกระบวนการท่ีทำใหม้ นษุ ยส์ ามารถพัฒนาคุณภาพชีวติ ของตนใหส้ ามารถดำเนินชีวติ ในสังคมได้อย่างมี ความสุขและสามารถเกื้อหนุนการพัฒนาประเทศได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้านของ ประเทศชาติ ในปัจจุบันการพัฒนาในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) (คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2560) โดยยุทธศาสตร์หนึ่งในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 คือ ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” “การพัฒนาที่ยั่งยืน” และ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ที่ต่อเนื่องจาก 2 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9-11 ทั้งนี้จะเห็นได้ว่า สถาบันการศึกษานั้นมีบทบาทสำคัญในการเตรยี มคนซึง่ ถือว่า“คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” สถาบันการศึกษาจะส่งเสริมบุคคลที่จะจบการศึกษาระดบั อุดมศึกษาออกไปเป็นบุคคลที่เป็นศูนย์กลางการพัฒนา ซึ่งมุ่งเน้น การยกระดับคุณภาพทุนมนุษย์ของประเทศ โดยพัฒนาคนให้เหมาะสมตามช่วงวัย เพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ การหล่อ หลอมให้คนไทยมีค่านิยมตามบรรทัดฐานที่ดีทางสังคม เป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย และมี จติ สำนกึ ทด่ี ตี อ่ สังคมส่วนรวมซ่ึงพรอ้ มจะตอ่ สูส้ ร้างสรรคส์ ่ิงใหม่ท่มี ีคุณค่า เปน็ ผู้นำเปน็ นกั คิดที่ใช้สติปัญญาอย่างเต็มที่และมี อุดมคตเิ พื่ออนาคตทดี่ ีกว่าอยา่ งแท้จริง ซง่ึ นำไปสกู่ ารพัฒนาประเทศทีย่ ัง่ ยนื ต่อไป คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ซึ่งเป็น สถาบันอุดมศึกษา มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) (คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2560) โดยนักศึกษา คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ เปน็ เยาวชนทีก่ ้าวเข้ามารบั การศึกษาโดยตรงดา้ นการดแู ลสุขภาพและอนามยั และกำลังจะ ก้าวเข้าสู่การเป็นพยาบาลวิชาชีพ มีหน้าที่ในการดูแล ป้องกัน ส่งเสริม และรักษาสุขภาพอนามัยแก่ประชาชนและผู้มารับ บริการโดยทั่วไป นักศึกษาพยาบาลเป็นบุคลากรทางสุขภาพที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเรียนรู้และฝึกฝนให้เป็นผู้มี ความรู้ความเข้าใจและมีศักยภาพในการสร้างเสริมสุขภาพจิตตนเองเพื่อดำรงไว้ซึง่ การเปน็ ผูท้ ี่มีสุขภาพจิตทีด่ ี เป็นแบบอย่าง สร้างเสริมให้ผู้รับบริการมีสุขภาพจิตที่ดี ในขณะเดียวกันในช่วงวัยของนักศึกษาเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตและพัฒนา โดย อายุเฉลี่ยพบวา่ ยงั อยใู่ นช่วงวยั ของวยั รุ่นตอนปลายถึงวัยผู้ใหญต่ อนต้น ซ่งึ ถอื ว่าเป็นชว่ งวยั เปล่ยี นผา่ นท่สี ำคญั อันได้แก่สภาพ ร่างกายและจิตใจอยใู่ นระหว่างการเปลยี่ นแปลง มีอารมณอ์ อ่ นไหวงา่ ย ตอ้ งการความรัก ความเข้าใจและต้องการทีป่ รึกษาเพ่ือ ความมนั่ คงทางจิตใจ ซึง่ ต้องใช้การปรับตวั เพ่ือให้ดำเนนิ ชีวิตในช่วงวยั นไี้ ดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ นอกจากจะเผชิญปัญหาดา้ นร่างกายและพฤติกรรมแล้ว นักศึกษายังต้องเผชิญกับความคาดหวงั ของผู้ปกครองและ สังคมในบทบาทของการเรียนในสถาบันอุดมศึกษารวมทั้งความคาดหวังของอาจารย์ที่มีต่อความคาดหวังความสามารถของ นักศึกษา ซึ่งเป็นสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการศึกษาในวิชาชีพพยาบาลซึ่งต้องมีความรับผิดชอบสูง รวมท้ัง บุคลิกภาพที่แตกต่างกันจากประสบการณ์ชีวิตที่แตกต่างกัน สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ส่งผลก่อให้เกิดความเครียด มีปัญหาในการ ปรับตัว หากไม่ได้รับการช่วยเหลือและดูแลอย่างเหมาะสมความเครียดดังกล่าวก็จะก่อตัวนำไปสู่การมีภาวะสุขภาพจิตท่ี ผิดปกติเกิดขึ้นได้ (Chris, Martin, & Marianne, 2011; Jimenez, Navia-Osorio & Diaz, 2010) ไม่ว่าจะเป็นภาวะความ วิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า การทำหน้าที่ทางสังคมที่บกพร่อง ความก้าวร้าว ความสิ้นหวงั ทอแท้ใจ ตลอดจนพฤติกรรมเส่ียงตอ่ การฆ่าตัวตายในที่สุด (วารีรัตน์ ถาน้อย และคณะ, 2555) จะเห็นได้ว่าภาวะสุขภาพจิตนัน้ มีความสำคัญอยา่ งมากเพราะเป็น สภาพชีวิตท่ีมคี วามสุขสมบรู ณ์ทั้งกายและใจ บุคคลที่มีสขุ ภาพจิตดีจะสามารถปรับตัวปรบั ตนเองให้สามารถอยู่ร่วมกบั สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างมีความสุข มคี วามสมั พันธ์กับผอู้ ื่นดว้ ยดี มีชวี ิตทีส่ มดลุ และตอบสนองความต้องการของตนโดยไม่มีความ ขัดแย้งใด ๆ ภายในจิตใจของตนเอง มีการตระหนักในคุณค่าของตนเอง มีความสามารถในการแก้ปัญหา สามารถจัดการกับ ภาวะวิกฤติได้ มีความสมดุลในการพึ่งพาตนเองและผู้อ่ืน (Shives, 2012) จากการทบทวนวรรณกรรมได้พบว่ามีการตระหนัก ถึงความสำคัญของภาวะสุขภาพจิตของพยาบาลทั้งในประเทศไทย (พูนศรี ศรีสะอาด, 2554; สุมาลี จูมทอง, ดุษฎี โยเหลา, งามตา วนินทานนท์ และ สธญ ภูค่ ง, 2552) และต่างประเทศ (Chris, Martin, & Marianne, 2011; Luo & Wang, 2009) ซึ่ง ให้ความสำคัญในการศึกษาถึงหลาย ๆ มิติขององค์ความรู้ที่จะมาอธิบายถึงสภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาลที่ทำมา อยา่ งต่อเนื่อง เพราะสภาพสงั คม บรบิ ทสิ่งแวดลอ้ มมกี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งหลากหลายและรวดเรว็ เหตุปจั จัยทน่ี ำไปส่กู ารเกิด ปญั หาสุขภาพจิตจงึ เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยเชน่ กนั จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า ความฉลาดทางอารมณ์เป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพจิตและ สามารถทำนายสภาวะสุขภาพจิตได้อย่างมีนัยสำคญั ที่ .05 (จิณห์จุฑา ชัยเสนา ดาลลาส, สายใจ พัวพันธ์, ดวงใจ วัฒนสินธ์, 2558) นอกจากนีป้ ัจจัยส่วนบคุ คลทม่ี คี วามสัมพนั ธ์กบั สภาวะสุขภาพจิต คือ เพศ ชั้นปี และภูมลิ ำเนา (วรัชฌา คณุ าดศิ ร และ พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วิถีชวี ติ ใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 213

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 จารุรินทร์ ปิตานุพงศ์, 2553) จะเห็นไดว้ า่ การศึกษาปัญหาสุขภาพจิตเป็นเร่ืองท่คี วรศึกษาอย่างต่อเน่ืองและข้อมูลต้องมีความ ทนั สมยั อยเู่ สมอ เพราะข้อมูลเหลา่ นจ้ี ะเป็นข้อมลู พน้ื ฐานสำคญั ในการพัฒนาศักยภาพ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตท่ีดีท้ังร่างกายและ จิตใจของนักศึกษาพยาบาลไปพร้อมๆกับการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน ผู้วิจัยซึ่งเป็นอาจารย์ กลุ่มสาขาวิชาการ พยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช จึงเห็นความสำคัญในการที่จะต้องเฝ้าระวังการเกิดปัญหาสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะนำมาเป็นแนวทางใน การดูแล เฝา้ ระวงั และหาแนวทางในการส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษาเป็นผ้มู ภี าวะสุขภาพจิตทดี่ ี เป็นบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ ของสถาบนั อันเปน็ ทรพั ยากรมนุษย์ท่มี คี ณุ ภาพ ทำประโยชนใ์ ห้แก่สงั คมและประเทศชาติตอ่ ไป 2. วัตถุประสงค์การวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอทิ ธิพลต่อภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ ชั้นปี ภูมิลำเนา สถานภาพสมรสของบิดา มารดา รายไดเ้ ฉล่ยี ครอบครัว คา่ ใชจ้ ่ายของนกั ศกึ ษาตอ่ เดอื น เกรดเฉลยี่ สะสม ความฉลาดทางอารมณ์ 3. สมมตฐิ านการวจิ ยั 1. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ ชั้นปี ภูมิลำเนา สถานภาพสมรสของบิดามารดา รายได้เฉลี่ยครอบครัว ค่าใช้จ่ายต่อเดือน เกรดเฉลี่ยสะสม และความฉลาดทางอารมณ์ เป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะสุขภาพจิตของ นกั ศกึ ษาพยาบาล หลกั สูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ ชั้นปี ภูมิลำเนา สถานภาพสมรสของบิดามารดา รายได้เฉลี่ยครอบครัว ค่าใช้จา่ ยของ นศ.ต่อเดอื น เกรดเฉลี่ยสะสม และความฉลาดทางอารมณ์ สามารถพยากรณภ์ าวะสุขภาพจิตของนักศึกษา พยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิได้ 4. วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย 4.1 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรคือ นักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ชัยภูมิ ปกี ารศึกษา 2561 จำนวน 359 คน กลุม่ ตัวอย่าง คือ ศกึ ษาจากประชากร นักศึกษาพยาบาล หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ ปกี ารศกึ ษา 2561 ช้นั ปที ่ี 1–4 จำนวน 359 คน 4.2 เครือ่ งมอื และการหาคณุ ภาพเครือ่ งมือ 4.2.1 เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการศกึ ษาเปน็ แบบสอบถามประกอบดว้ ย 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ชั้นปีท่ีศึกษา ภูมิลำเนา สถานภาพสมรส ของบดิ ามารดา รายได้เฉลีย่ ของครอบครวั ค่าใชจ้ ่ายของนักศึกษาต่อเดอื น เกรดเฉลีย่ สะสม สว่ นที่ 2 แบบสอบถามเก่ียวกับดชั นชี ี้วัดสุขภาพจิตคนไทย (TMHI - 66) ในดา้ นสภาพจติ ใจ ด้านสมรรถภาพ ของจิตใจ ด้านคุณภาพของจิตใจ และด้านปัจจัยสนับสนุน เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า จำนวน 66 ข้อ โดยแบง่ ระดบั ความรูส้ ึก ออกเปน็ 4 ระดับ คือไม่เลย เลก็ นอ้ ย มาก และมากท่ีสุด คำถามมที ้งั ข้อความทางบวกและทางลบ การแปลผล ดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทย 66 ข้อ มีคะแนนเต็มทั้งหมด 198 คะแนน สามารถนำมา เปรียบเทยี บกับเกณฑป์ กติทกี่ ำหนดดงั นี้ คะแนน 143 – 198 คะแนน หมายถงึ สุขภาพจติ ดกี ว่าคนทั่วไป (good) คะแนน 122 – 142 คะแนน หมายถึง สุขภาพจติ เท่ากับคนท่ัวไป (fair) คะแนน 121 คะแนนหรอื น้อยกว่า หมายถึง สุขภาพจิตตำ่ กวา่ คนท่ัวไป (poor) 214 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ส่วนที่ 3 แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์สำหรับอายุ 18-25 ปี ของกรมสุขภาพจิต กระทรวง สาธารณสุข เป็นแบบมาตราสว่ นประมาณค่า 4 ระดบั จำนวน 52 ขอ้ โดยแบ่งระดับความรสู้ กึ ออกเป็น 4 ระดบั คือ ไมจ่ รงิ จรงิ บางครั้ง คอ่ นขา้ งจริง และจริงมาก คำถามมที ้งั ขอ้ ความทางบวกและทางลบ การแปลผลคะแนนความฉลาดทางอารมณ์ โดยรวม รายด้าน ดี เก่ง สุข ในกลุ่มประชากร อายุ 18-25 ปี (กรมสขุ ภาพจิต,2543) รายละเอียดดังตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 การแปลผลคะแนนความฉลาดทางอารมณ์ โดยรวม และรายดา้ น องคป์ ระกอบความฉลาดทางอารมณ์ ต่ำกว่าปกติ เกณฑป์ กติ สูงกว่าปกติ คะแนนรวม <138 138 - 170 >170 1. องคป์ ระกอบดา้ น ดี <48 48 – 58 >58 1.1 ควบคุมอารมณ์ <14 14 – 18 >18 1.2 เหน็ ใจผู้อ่ืน <16 16 – 20 >20 1.3 รบั ผิดชอบ <17 17 – 23 >23 <45 45 – 59 >59 2. องค์ประกอบดา้ น เก่ง <15 15 – 21 >21 2.1 มีแรงจูงใจ <45 14 – 20 >20 2.2 ตดั สินใจและแก้ปญั หา <15 15 – 21 >21 2.3 สมั พันธภาพกบั ผอู้ น่ื <42 42 – 56 >56 <9 9 – 13 >13 3. องคป์ ระกอบดา้ น สุข <16 16 – 22 >22 3.1 ภูมใิ จในตนเอง <15 15 – 21 >21 3.2 พึงพอใจในชวี ิต 3.3 สุขสงบทางใจ 4.2.2 การหาคุณภาพเครื่องมือ ผู้วิจัยนำแบบสอบถามเก่ียวกับดัชนีช้ีวดั สุขภาพจิตคนไทย (TMHI - 66) ของกรมสุขภาพจติ และแบบประเมิน ความฉลาดทางอารมณ์สำหรับอายุ 18-25 ปี ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ไปทดลองใช้กับนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งหนึ่ง จำนวน 30 ราย แล้วนำมาหาค่าความชื่อมั่นของเครื่องมือ โดยใช้สูตร สัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) แบบสอบถามเกี่ยวกับดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทย (TMHI - 66) มคี า่ ความเชื่อม่ันเทา่ กบั .986 และแบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ์ มคี ่าความเชอ่ื มั่นเท่ากับ .983 4.2.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การทำวิจัยคร้ังนี้ผ่านการพิจารณาและได้รบั การอนมุ ัติจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคน ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ ในการพทิ กั ษส์ ิทธ์ขิ องกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยได้ทำหนังสือขออนุญาตจากคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ในการขอเก็บ ขอ้ มลู จากนกั ศกึ ษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ ปกี ารศกึ ษา 2561จำนวน 359 คน ผูว้ ิจยั ได้ชี้แจงให้ผู้ ร่วมโครงการวิจัยทราบถึงความสำคัญและวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยพร้อมท้ังอธิบายรายละเอียดของแบบประเมินจน เขา้ ใจ และได้ขอความรว่ มมือจากนักศึกษาในการตอบแบบสอบถามข้อมลู ส่วนตวั รว่ มกับแบบสอบถามเก่ียวกับดัชนีช้ีวัด สขุ ภาพจติ คนไทย (TMHI - 66) ของกรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข และแบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ์สำหรับ อายุ 18-25 ปี ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ทั้งนี้นักศึกษาผู้ร่วมโครงการมีสิทธิ์ที่จะปฏิเสธการตอบ แบบสอบถามและแบบประเมินหรือขอยกเลิกได้โดยไม่มีผลกระทบใด ๆ ข้อมูลที่ได้จะนำเสนอเป็นภาพรวมโดยไม่มีการ เปิดเผยขอ้ มูลส่วนบคุ คลในทุกกรณี แตน่ ักศึกษาสามารถขอใช้ผลการประเมนิ ส่วนตน ใหเ้ ป็นประโยชนใ์ นการพัฒนาตนเอง เปน็ รายบุคคล ผวู้ จิ ยั เกบ็ รวบรวมแบบสอบถามแลว้ นำมาตรวจสอบความสมบูรณแ์ ละความครบถว้ นของขอ้ มลู พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพื่อวถิ ชี วี ติ ใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 215

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 4.2.4 การวเิ คราะหข์ ้อมูล ผู้วิจัยประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลหาค่าความถี่ ร้อยละ ในการหาค่าคะแนนภาวะสุขภาพจิตของ นกั ศกึ ษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ และความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิค์ วามสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s product-moment correlation coefficient) การวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคณู (multiple regression) และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลาย ข้ันตอน (Stepwise selection) เพ่อื หาปจั จัยท่ีมอี ิทธิพลต่อภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศา สตรบณั ฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ 5. ผลการวจิ ยั 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น พบว่าเป็นเพศหญิงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 91.1 อายุ 21 ปีมากที่สุด คิด เปน็ ร้อยละ 31.2 ศึกษา ชนั้ ปที ี่ 3 มากทสี่ ุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 29.5 ภมู ลิ ำเนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากทีส่ ดุ คดิ เป็นรอ้ ย ละ 93.0 รายได้เฉลี่ยของครอบครัว/ต่อเดือนรายได้ จำนวน 10,001 – 20,000 บาท มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 51.5 ค่าใช้จ่ายของนักศกึ ษา/ต่อเดือน ค่าใช้จ่าย จำนวน 5,01 – 6,00 บาท มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 33.1 เกรดเฉลีย่ สระสม เกรดเฉล่ยี 3.00-3.49 มากทส่ี ุด คิดเป็นร้อยละ 40.1 2. ภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล หลักสตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต โดยรวม พบวา่ ภาวะสุขภาพจติ ของ นักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ แยกตามระดับคะแนนดัชนีชี้วัดสุขภาพจิต ส่วนมาก มีระดับภาวะสุขภาพจิตต่ำกว่าคนทั่วไป จำนวน 139 คน คิดเป็นร้อยละ 38.71 รองลงมา มีระดับภาวะ สุขภาพจิตมากกวา่ คนท่วั ไป จำนวน 119 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.14 และมีระดบั ภาวะสขุ ภาพจิตเท่ากบั คนทวั่ ไป จำนวน 101 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 28.13 ดังแสดงในตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของภาวะสุขภาพจติ ของนกั ศกึ ษาพยาบาล หลกั สูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑติ คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ จำแนกตามระดับคะแนนและระดบั ภาวะสุขภาพจิต ระดับคะแนน ระดบั ภาวะสขุ ภาพจิต จำนวน (คน) รอ้ ยละ 143-198 คะแนน มากกว่าคนท่วั ไป 119 33.14 122-142 คะแนน เท่ากับคนทว่ั ไป 101 28.13 121 คะแนนหรือน้อยกวา่ ต่ำกว่าคนทว่ั ไป 139 38.71 359 100.0 รวม 3. ความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ พบว่า ความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะ พยาบาลศาสตร์ โดยรวม ส่วนมากเท่ากับคนทั่วไป จำนวน 181 คน คิดเป็นร้อยละ 50.42 รองลงมาคือต่ำกว่าคนทั่วไป จำนวน 170 คน คิดเป็นร้อยละ 47.35 และมากกวา่ คนท่ัวไป จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 2.23 รายดา้ น ด้านสุข มาก ทสี่ ุด คือ เทา่ กบั คนทว่ั ไป จำนวน 259 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 72.14 รองลงมา คือ ด้านเก่ง เทา่ กบั คนทว่ั ไป จำนวน 251 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 69.92 และด้านดี ตำ่ กวา่ คนท่ัวไป จำนวน 210 คน คิดเป็นร้อยละ 58.50 ตามลำดับ ดงั แสดงในตารางท่ี 3 216 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ จำแนกตามระดับความฉลาดทางอารมณ์ โดยรวมและรายด้าน ความฉลาดทางอารมณ์ของ ระดบั ความฉลาดทางอารมณ์ของนักศกึ ษาพยาบาล นักศกึ ษาพยาบาล ตำ่ กว่าคนท่ัวไป เท่ากบั คนทว่ั ไป มากกว่าคนทว่ั ไป ระดบั คะแนนโดยรวม 1. ดา้ นดี จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ 2. ด้านเกง่ 3. ดา้ นสขุ 170 47.35 181 50.42 8 2.23 210 58.50 132 36.77 17 4.74 93 25.90 251 69.92 15 4.18 96 26.74 259 72.14 4 1.11 4. ผลความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะสุขภาพจิต และความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ พบว่า ภาวะสุขภาพจิต และความฉลาด ทางอารมณ์ของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ มี ความสมั พันธก์ นั ทางบวก (r = .110, sig < .05) อย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 อายุ และชนั้ ปี มีความสัมพันธ์ทางบวก กับภาวะสขุ ภาพจติ (r = .110, sig < .01 และ r = .418, sig < .01 ตามลำดบั ) อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .01 เพศและ สถานภาพสมรสของบดิ ามารดา มีความสมั พันธท์ างลบกับความฉลาดทางอารมณข์ องนักศึกษาพยาบาล (r = -.113, sig < .05 และ r = -.112, sig < .05) อย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิที่ระดบั .05 ดงั แสดงในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 แสดงความสมั พนั ธ์ของระหว่างปัจจยั สว่ นบคุ คล ภาวะสขุ ภาพจติ และความฉลาดทางอารมณข์ องนกั ศกึ ษา พยาบาล หลักสตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ เพศ อายุ ช้นั ปี สถานภาพ ค่าใช้จ่าย เกรด สขุ ภาพจติ ความ ภมู ลิ ำเนา สมรสของ รายได้ เฉลีย่ ฉลาด สะสม ทาง บดิ ามารดา อารมณ์ เพศ 1 - .009 -.021 .085 -.073 -.004 -.016 -.048 -.113* อายุ .047 .745** -.133* .055 .062 .153** -.066 .299** .121* ชัน้ ปี 1 1 -.158** .085 .044 .059 -.120* .418** .067 ภมู ลิ ำเนา 1 -.081 -.031 .076 .129* -.072 -.090 สถานภาพ 1 -.064 .012 .020 .057 -.112* สมรสของ 1 .219** .062 -.043 .029 บิดามารดา รายได้ ค่าใชจ้ ่าย 1 -.069 -.027 .086 เกรดเฉลีย่ ฯ 1 -.036 .098 สขุ ภาพจิต 1 .110* ความฉลาด 1 ทางอารมณ์ 5. ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ พบว่า อายุ สถานภาพสมรสของบิดามารดา และเพศ สามารถร่วมกันทำนายภาวะ พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพอ่ื วถิ ีชวี ติ ใหม่ในยุค Disruptive Technology | 217

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 สุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-value = .000) ซึ่งตัวแปรทั้งสามสามารถอธิบายการผนั แปรของภาวะสขุ ภาพจติ ของนกั ศึกษาพยาบาลไดร้ ้อยละ 0.43 (R2 = .043) ดงั แสดงในตารางท่ี 5 ตารางท่ี 5 ปจั จัยทม่ี ีอิทธิพลตอ่ ภาวะสขุ ภาพจติ ของนกั ศกึ ษาพยาบาล หลกั สูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ (Constant) Unstandardized Standardized t P-value อายุ Coefficients Coefficients สถานภาพสมรสฯ B Std. Error 22.204 .000 เพศ 2.351 .019 2.825 .127 -2.465 .014 .030 .013 -2.273 .024 -.035 .014 -.125 .055 6. สรปุ ผลการวจิ ยั 1. ภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ แยกตามระดับคะแนนดัชนีชี้วัดสุขภาพจิต พบว่า มีภาวะสุขภาพจิตต่ำกว่าคนทั่วไป จำนวน 139 คน คิด เป็นร้อยละ 38.71 รองลงมา มีภาวะสุขภาพจิตมากกว่าคนทั่วไป จำนวน 119 คน คิดเป็นร้อยละ 33.14 และมีภาวะ สุขภาพจติ เทา่ กับคนท่วั ไป จำนวน 101 คน คดิ เป็นร้อยละ 28.13 2. ผลการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ พบว่า อายุ สถานภาพของบดิ ามารดา และเพศ ที่สามารถรว่ มกันทำนาย ภาวะสขุ ภาพจติ ของนักศึกษาพยาบาล หลกั สูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-value = .000) ซึ่งตัวแปรทั้งสามสามารถอธิบายการผันแปรของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะ สุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ได้ รอ้ ยละ 0.43 (R2 = .043) สามารถเขยี นสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดบิ ได้ดงั ต่อไปน้ี Y = 2.825 + .030X1 + -.035X2 + -.125X3 7. อภิปรายผลการวิจยั 1. ภำวะสขุ ภำพจติ ภาวะสุขภาพจิตของนกั ศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราช ภัฏชัยภูมิ พบว่าค่าระดับคะแนนดัชนีชี้วัดสุขภาพจิต ค่าระดับคะแนนที่มากที่สุดคือ มีภาวะสุขภาพจิตต่ำกว่าคนทั่วไป คดิ เป็นร้อยละ 38.71 รองลงมา มีภาวะสขุ ภาพจิตมากกวา่ คนทัว่ ไป คดิ เป็นร้อยละ 33.14 และมีภาวะสขุ ภาพจิตเท่ากับ คนทั่วไป คดิ เป็นร้อยละ 28.13 จากผลการวจิ ยั ทพี่ บว่า ภาวะสขุ ภาพจิตของนกั ศกึ ษาพยาบาล หลักสตู รพยาบาลศาสตร บัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ส่วนมากมีภาวะสุขภาพจิตต่ำกว่าคนทั่วไป คิดเป็นร้อยละ 38.71 ทั้งนี้อาจจะเป็นเพราะว่า นักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เป็นเยาวชนทีก่ ้าวเข้ามารับ การศึกษาโดยตรงด้านการดูแลสุขภาพและอนามัยและกำลังจะก้าวเข้าสู่การเป็นพยาบาลวิชาชีพ มีหน้าที่ในการดูแ ล ป้องกัน ส่งเสริม และรักษาสุขภาพอนามัยแก่ประชาชนและผู้มารับบริการโดยทั่วไป ในขณะเดียวกันในช่วงวัยของ นกั ศึกษาเปน็ วัยท่ีกำลังเจริญเติบโตและพัฒนา โดยอายเุ ฉลยี่ พบว่ายงั อยู่ในช่วงวยั ของวัยรุน่ ตอนปลายถงึ วัยผใู้ หญต่ อนตน้ ซ่ึงถือวา่ เป็นชว่ งวยั เปลีย่ นผา่ นที่สำคญั อนั ไดแ้ ก่สภาพรา่ งกายและจิตใจอยใู่ นระหวา่ งการเปลีย่ นแปลง มีอารมณ์ออ่ นไหว ง่าย ตอ้ งการความรกั ความเขา้ ใจและต้องการที่ปรึกษาเพ่ือความมั่นคงทางจติ ใจ ซ่ึงต้องใชก้ ารปรับตวั เพ่ือให้ดำเนินชีวิต ในช่วงวัยนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากจะเผชิญปัญหาด้านร่างกายและพฤติกรรมแล้ว นักศึกษายังต้องเผชิญกับ ความคาดหวงั ของผู้ปกครองและสังคมในบทบาทของการเรยี นในสถาบันอุดมศึกษารวมทั้งความคาดหวงั ของอาจารย์ท่ีมี ต่อความคาดหวังความสามารถของนักศึกษา ซึ่งเป็นสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการศึกษาในวิชาชีพ พยาบาลซง่ึ ต้องมคี วามรับผิดชอบสูง รวมทงั้ บคุ ลกิ ภาพทแี่ ตกตา่ งกันจากประสบการณช์ ีวติ ทแี่ ตกตา่ งกนั สงิ่ ต่าง ๆ เหล่าน้ี 218 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวิชาการระดับชาติ คร้ังท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ส่งผลก่อให้เกิดความเครียด มีปัญหาในการปรับตัว หากไม่ได้รับการช่วยเหลือและดูแลอย่างเหมาะสมความเครียด ดังกล่าวก็จะก่อตัวนำไปสู่การมีภาวะสุขภาพจิตที่ผิดปกติเกิดขึ้นได้ (Chris, Martin, & Marianne, 2011; Jimenez, Navia-Osorio & Diaz, 2010) ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของอัญชลี ชุ่มบัวทอง (2553) ซึ่งศึกษาภาวะสุขภาพจิตและ ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจยั ต่าง ๆ กับภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาทางดา้ นวิทยาศาสตร์สุขภาพชัน้ ปีที่ 1 มหาวิทยาลัย หัวเฉลียวเฉลิมพระเกียรติ ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2551 จำนวน 301 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามสุขภาพทั่วไป GHQ-28 (General health questionnaire-28) กลุ่มตัวอยา่ งเลือกโดยการสุ่มจากกล่มุ การ เรียน ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาคณะเทคนคิ การแพทยม์ ปี ัญหาสขุ ภาพจติ มากท่ีสดุ รอ้ ยละ 56.0 2. ปจั จัยทมี่ ีอิทธิพลต่อภาวะสขุ ภาพจติ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะสุขภาพจิต ของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ พบว่า มีตัวแปร อายุ สถานภาพสมรสของบิดามารดา และเพศ ที่ร่วมกันทำนายภาวะ สุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P-value = .000) ซึ่งตัวแปรทั้งสามสามารถอธิบายการผันแปรของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิต ของนักศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 0.43 (R2 = .043) ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ วรัชฌา คุณาดิศร และจารุรินทร์ ปิตานุ พงศ์ (2553) ได้ศกึ ษาปจั จัยสว่ นบคุ คลที่มคี วามสัมพนั ธก์ บั สภาวะสุขภาพจติ พบว่า เพศ ชน้ั ปี และภูมิลำเนา สามารถสง่ ผล ต่อภาวะสุขภาพจิตได้ ซึ่งไม่สอดคล้องกับงานวิจัยของณฏั ฐินี ดีแท้ (2557) ได้ศึกษาภาวะสุขภาพจิตและปัจจยั ท่ีมีอิทธพิ ล ต่อภาวะสุขภาพจิตของ นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ผลการวิจัย พบว่า ภาวะสุขภาพจิตของ นักศึกษาชั้นปีท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามอยู่ในระดับสูงกว่าปกติในทุก ๆ ด้าน และเมื่อใช้การวิเคราะห์ความ ถดถอย พบวา่ มกี ลุ่มตัวแปรพยากรณ์ 2 ตวั ทมี่ นี ยั สำคญั ของการพยากรณส์ ุขภาพจิตของนักศึกษาชน้ั ปี ที่ 4 มหาวิทยาลัย ราชภัฏพิบูลสงคราม คือ แรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ์ และบรรยากาศในการเรียนการสอน และงานวจิ ัยของจตพุ ร อาญาเมือง และ คณะ (2556) ได้ศึกษา สภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาสาธารณสุขชุมชน จังหวัดชลบุรี ประชากรที่ศึกษา คือ นักศึกษา หลักสูตรสาธารณสุขชุมชน ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี จำนวน 120 คน เก็บข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามปัจจัยส่วนบคุ คล และ แบบสอบถาม SCL-90 ผลการศึกษาพบวา่ นักศกึ ษาสว่ นใหญ่มสี ภาวะสุขภาพจิตปกติ เป็นเพศหญิง เพศและกลุ่มอายุไม่มีความสัมพันธ์กับสภาวะสุขภาพจิต ส่วนปัจจัยด้านอาชีพของผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย สถานภาพของครอบครัว การร่วมทำกิจกรรมเสริมหลักสูตร ความสัมพันธ์กับเพื่อน บรรยากาศในครอบครัว ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนชั้น ม.6 มีความสัมพันธ์กับสภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาสาธารณสุขชุมชนในด้านภาวะซึมเศร้า ความวิตก กงั วล และความร้สู ึกไม่เป็นมติ รที่ระดบั p<0.05 ทั้งนี้อนั เน่อื งมาจากภาวะสขุ ภาพจติ ท่ดี ี หรอื ภาวะความสขุ ทีล่ ึกล้ำเกินกวา่ ท่ตี ามองเห็น คือ คณุ งามความดี ความสุขจากคณุ ค่าของชวี ิต การไดบ้ ำเพญ็ ประโยชนช์ ่วยเหลือผู้อ่นื มศี รัทธาในส่ิงท่ีดีงาม มีปัญญาที่ทำให้รู้จักการปฏิบัติต่อสิ่งทั้งหลายอยา่ งถูกต้อง และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ทำให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี และ ความสุขดา้ นนามธรรมข้ันสูง ทเ่ี รยี กว่า โลกตุ ตระ หมายถึง ผู้ท่มี ีจติ ใจเปน็ อิสระดว้ ยความรู้เทา่ ทนั ต่อสิ่งทงั้ หลาย รชู้ ีวิตตาม ความเป็นจริง ปล่อยให้กฎธรรมชาติทั้งหลายเป็นไปตามธรรมชาติไม่ให้ความทุกข์เข้ากระทบจิตใจ มีความสุขอยู่กับตัวเอง และมีชีวิตท่ีสมบูรณ์ สอดคล้องกับแนวคิดของ พระพรหมคุณาภรณ์ (2551) กล่าวไว้ว่า ความสุขเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา และพากันแสวงหา ด้วยวิธีการต่างๆ ตามแต่ระดับของสติและปัญญา แต่ถ้าระดับของสติและปัญญาอ่อนลง การแสวงหา ความสุขนั้นๆ ก็ย่อมจะพาเอาความทุกข์ พ่วงเข้ามาด้วยมากเข้าเท่านั้น แยกออกได้เป็นสองฝ่าย คือ ความสุขทางกาย ได้แก่ ความสุขท่ีสัมผสั ไดจ้ ากประสาททัง้ 5 คือ รูป เสียง กลิ่น รส และผิวหนงั เรียกว่า กามคุณ 5 หรือความสุขท่ีเกิดจาก เนื้อหนังมังสา อันเป็นสิ่งสกปรกและความสุขทางใจได้แก่ ความสขุ ที่สัมผัสไดจ้ ากจิต คือ ความสบายใจ ความสุขใจ ความ อมิ่ ใจ ความพอใจ อันเกิดจากจติ ใจทสี่ งบและเยน็ อนั เป็นความสขุ ท่ีสะอาดเปน็ ความสุขที่แทจ้ ริง 8. ข้อเสนอแนะ 8.1 ควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตร พยาบาลศาสตรบณั ฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ เพอ่ื ทราบความคิดเห็นของนกั ศึกษา และบุคลากรต่อการบริหารจดั การศึกษา 8.2 ควรศึกษาความคิดเห็นของทุกฝ่ายในลักษณะของการวิจัยเชิงคุณภาพของสถาบันการศึกษาที่ประสบ ความสำเร็จในการนำแนวทางการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลกึ (In-depth interview) เพื่อให้ พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพอ่ื วิถีชวี ติ ใหม่ในยุค Disruptive Technology | 219

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ได้ข้อมูลที่มีมุมมองผู้ปฏิบัติที่หลากหลาย โดยครอบคลุมประเด็นสภาพการดำเนินงาน สภาพปัญหาอุปสรรค ผลการ ดำเนนิ งานปจั จัยท่เี ออ้ื ต่อ จดุ แขง็ จุดอ่อน และความช่วยเหลือจากหนว่ ยงานอืน่ ๆ 8.3 การศกึ ษาการพัฒนาแนวทางในการสง่ เสริมภาวะสุขภาพจติ ของนักศึกษาพยาบาล จากขอ้ คน้ พบของงานวิจัย ท่พี บวา่ ภาวะสขุ ภาพจิตพบวา่ มากทส่ี ดุ คอื ตำ่ กว่าคนทัว่ ไป คดิ เป็นรอ้ ยละ 38.71 8.4 การศึกษาการพัฒนาแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ด้านดี จากข้อค้นพบของ งานวจิ ัยที่พบวา่ ระดับความคิดความฉลาดทางอารมณ์ตำ่ สุด คอื ความฉลาดทางอารมณ์ ดา้ นดี 9. กติ ตกิ รรมประกาศ การวิจัยครัง้ นี้ได้รับทนุ อุดหนนุ จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีงบประมาณ 2561 การวิจัยนี้สำเร็จลุล่วงด้วยการ อนุเคราะห์ของท่านอธิการบดมี หาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ ผ้อู ำนวยการและเจา้ หนา้ ทีส่ ำนักวิจยั และพัฒนา คณบดคี ณะพยาบาล ศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ทใ่ี ห้โอกาสและการสนับสนนุ ให้งานวิจยั นส้ี ำเร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี เอกสารอ้างองิ (References) คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.ิ (2560). สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คม แหง่ ชาติ สำนกั นายกรฐั มนตรี. จตุพร อาญาเมือง และคณะ. (2556). สภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาสาธารณสขุ ชมุ ชน ชลบุรี. วารสารสาธารณสุขศาสตร์, 43 (2): 1-13. จิณห์จฑุ า ชยั เสนา ดาลลาส, สายใจ พวั พันธ,์ ดวงใจ วฒั นสินธ.์ (2558). ปจั จยั ทมี่ อี ิทธิพลตอ่ ภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษา พยาบาล. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา, 23 (3): 1-13. พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โต). (2551). ธรรมนญู ชีวิต. กรุงเทพฯ : สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. พนู ศรี ศรสี ะอาด. (2554). การศึกษาเปรยี บเทียบการสนับสนุนทางสังคมที่มผี ลต่อความวติ กกังวลของนักศึกษาพยาบาลชั้นปี ท่ี 1 และชั้นปที ่ี 4 ของวทิ ยาลยั พยาบาลสรรพสิทธปิ์ ระสงค์อุบลราชธานี. รายงานการวิจัย. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. สุมาลี จมู ทอง, ดุษฎี โยเหลา, งามตา วนนิ ทานนท์ และ สธญ ภู่คง. (2552). ประสบการณค์ วามเครียดและวิธเี ผชิญ ความเครียดของนกั ศึกษาพยาบาลจากการเรยี นภาคปฏิบตั ใิ นห้องคลอด. วารสารพฤตกิ รรมศาสตร์, 15 (1): 39-56. วรชั ฌา คุณาดิศรและจารรุ ินทร์ ปติ านุพงศ์.(2553).ภาวะสขุ ภาพจติ และปัจจัยทีส่ มั พนั ธ์ในนกั ศกึ ษาแพทย์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร.์ สงขลานครนิ ทร์เวชสาร, 28 (3) : 139-144. วารีรตั น์ ถานอ้ ย และคณะ.(2555). ปจั จัยทีม่ อี ทิ ธิพลตอ่ ภาวะสุขภาพจิตของนกั ศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล. วารสารสภาการพยาบาล, 27 (ฉบบั พเิ ศษ): 60-76. Chris, G, Martin, D & Marianne. (2011). Stress, coping, satisfaction in nursing students.Journal of Advanced Nursing, 67 (3): 621-632. Shives. (2012). Basic concepts of psychiatric-mental health nursing. New York: Lippincott Williams & Wilkins. 220 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครงั้ ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 อัตราความชกุ และปจั จัยทีม่ ีความสัมพันธก์ บั พฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภยั ของนสิ ิตมหาวทิ ยาลยั พะเยา ทววี รรณ ศรสี ุขคำ1* เทียนทอง ตะ๊ แก้ว2 อรทยั เกตขุ าว1 กติ ตยิ า ไทยธวชั 3 พีรณฐั ผลวชิ า3 สุนันทา ตัง้ นิติพงศ์1 สรุ างคนา ไชยรนิ คำ1 1สาขาวชิ าปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยพะเยา 2สาขาวิชาอนามยั ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั พะเยา 3สาขาวชิ าแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั พะเยา * ผู้รบั ผดิ ชอบบทความ E-mail: toon8627@gmail.com บทคัดยอ่ การวิจัยเชิงวิเคราะห์ภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ พฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ของนสิ ิตในมหาวิทยาลัยพะเยา กลุม่ ตวั อย่างเป็นนิสิตระดับปรญิ ญาตรีจำนวน 400 เลือก ตัวอย่างแบบเจาะจงซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามโดยดำเนินการเก็บในช่วง เดือนกุมภาพันธ์ 2563 วิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยสถติ เิ ชงิ พรรณนา และสถติ อิ นมุ านคือ การทดสอบไควส์ แคว์ ค่าสัมประสิทธิ์ ความสัมพนั ธ์ Phi(φ) และสหสมั พันธอ์ นั ดบั ของสเปียรแ์ มน ผลการวิจัยพบว่า อัตราความชุกของการสวมหมวกนิรภัยร้อยละ 93.0 ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสวม หมวกนิรภัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติมีจำนวน 6 ตัวแปรได้แก่ 1) มาตรการบังคับการสวมหมวกนิรภัย ความสัมพันธ์ ทางบวกระดับสูง (r=0.750) 2) ทัศนคติต่อการสวมหมวกนิรภัย(r=0.439) ความเป็นเจ้าของหมวกนริ ภัย ( p-value< 0.001, φ=0.429) มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง 3) จำนวนครั้งของการประสบอุบัติเหตุ แรงสนับสนุนทาง สังคม (r=0.172; r=0.133) มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับ การมีใบขับขี่รถจักรยานยนต์ (p-value< 0.001, φ=0.203) มีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ผลการศึกษาสามารถนำไปใช้ในการกำหนดมาตรการและจัดกิจกรรมเพื่อปอ้ งกันการบาดเจ็บ และการสญู เสียชีวติ ของนสิ ิตในพนื้ ทศี่ ึกษาและพ้ืนทอ่ี นื่ ทีม่ ลี กั ษณะทางประชากรคลา้ ยคลึงกนั คำสำคญั : อตั ราความชกุ ของการสวมหมวกนริ ภยั พฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภัย พยาบาลกบั การวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือวถิ ชี วี ติ ใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 221

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 Prevalence rate and helmet wearing behavior among undergraduate students, University of Phayao Taweewun Srisookkum1,*, Tienthong Takaew2, Orathai Katkhaw1 , Kittiya Thaitawad2, Peeranut Pholvicha2, Sunanta Tangnithipong1 and Surangkana Chairinkam1 1Department of Emergency Medical Operation, School of Medicine, University of Phayao 2Department of Community Health, School of Medicine, University of Phayao. 3Department of Medicine, School of Medicine, University of Phayao. *Corresponding Author; email: toon8627@gmail.com Abstract The analytical research, cross-sectional design aimed to study prevalence rate and explore the associated factors of helmet wearing behavior among undergraduate students, University of Phayao. Sample were four hundred undergraduate students at a University of Phayao, selected by purposive sampling as inclusion criteria. Instruments was questionnaires which collected during February, 2020. Data were analyzed by descriptive statistics and inferential statistics Chi-square test, Phi (φ) coefficient and Spearman rank coefficient The research showed that prevalence rate of helmet wearing behavior was 93.0 %. The statistics revealed that 6 independent variables had influenced the helmet wearing behavior among samples. They are the following: (1) a positive strong variable ; enforcement of the helmet wearing ( r=0.750), (2) an intermediated positive variable; attitude on the helmet wearing( r=0.439); an intermediated variable helmet owner (p-value< 0.001, φ=0.429), (3) low positive variables; number of accidents(r=0.172) ; social support (r=0.133); low variables; license motorcycle p-value< 0.001, φ=0.203). The research should be taken set up measurement and activities for the area study and the similar as this study. Keywords: prevalence rate of helmet wearing, helmet wearing behavior 222 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 1. บทนำ การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจรยังเป็นปัญหาสำคัญของโลก องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่า พ.ศ. 2558 การการเสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุจราจรของประเทศไทยอยู่อันดับที่ 2 ของโลกและอันดับท่ี 1 ในภูมิภาคเอเชีย อัตรา การเสียชีวิต 36.2 ต่อแสนประชากร (World Health Organization, 2015: 235) และจากข้อมูลการเฝ้าระวังของ กระทรวงสาธารณสุข พบว่า รถจักรยานยนตเ์ ป็นยานพาหนะที่เกดิ การบาดเจบ็ และเสยี ชีวิตสูงสุด ร้อยละ 85.34 (สำนกั ระบาดวทิ ยา, 2560: 238 ) โดยเด็กและเยาวชนเสยี ชีวิตจากอบุ ัติเหตุบนทอ้ งถนน เฉลี่ยปีละ 2,510 ราย ซึ่งเยาวชนอายุ 15-25 ปี เปน็ กล่มุ ทีเ่ สยี ชวี ติ มากทส่ี ุด (สำนักระบาดวิทยา, 2560: 240-243) การป้องกันการบาดเจ็บท่ีศีรษะและสมองมีสำคัญมากเพราะเป็นสาเหตุที่ทำให้ผูบ้ าดเจ็บเสียชวี ิตหรือพิการได้ จากการเกิดอุบัติเหตุดังที่กล่าวมาข้างต้น วิธีที่สามารถลดความรุนแรงและป้องกันการบาดเจ็บบริเวณศีรษะเมื่อเกิด อุบตั ิเหตไุ ด้ คอื การสวมหมวกนิรภยั (Ouellet & Kasantikul, 2006: 49) การสังเคราะห์งานวจิ ัยเกยี่ วกับการสวมหมวก นริ ภยั ในวยั ร่นุ ในตา่ งประเทศพบวา่ อัตราความชุกการสวมหมวกนิรภัยอยใู่ นช่วง ร้อยละ 50 ถงึ รอ้ ยละ 82.0 (Chow et al., 2019: 11)นอกจากนี้งานวิจัยในประเทศในมาเลเซียอัตราความชุกการสวมหมวกนิรภัยในกลุ่มผู้ที่ขับขี่มอเตอร์ไซด์ ร้อยละ 75.2 ในนักเรียนร้อยละ 47.8 (Sambasivam et al, 2020: 722) ในจาไมก้าอัตราความชุกของการใส่หมวก นิรภัยในประชาชนรอ้ ยละ 29.4 ปจั จยั ทำนายทีก่ ารสวมหมวกนริ ภยั ได้แก่ อายุ การมีใบขบั ข่ีและการมปี ระกันสขุ ภาพ ส่วนปัจจัยด้านเพศ การมีงานทำ การดื่มแอลกอฮอลล์ไม่มีความสัมพันธ์กับการสวมหมวกนิรภัย ( Fletcher et al, 2019:401) ในกัมพูชาอัตราความชุกของการใส่หมวกนิรภัยในกลุ่มผู้ขับขี่มเตอร์ไซด์ช่วงกลางคืนร้อยละ 29.4 ช่วง กลางวันร้อยละ สาหตุที่ใส่หมวกนิรภัยได้แก่ ข้อกำหนดทางกฎหมาย (Bachani at, al, 2012: 31) และในประเทศ ปากีสถานอัตราความชุกการสวมหมวกนิรภัยในผู้ขับขี่มอเตอร์ไซด์ร้อยละ 56 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสวมหมวก นิรภัยได้แก่ การศึกษาและความเชื่อว่าหมวกนิรภัยสามารถป้องกันได้ และเชื่อว่าผู้ขับขี่ต้องใส่หมวกนิรภัย ส่วนอายุ รายได้ ข้อกำหนดทางกฎหมายไมม่ ีความสมั พนั ธก์ บั การใช้หมวกนริ ภยั (Khan, et al., 2008: 385) รายงานวิจัยในประเทศไทย อัตราความชุกการสวมหมวกนิรภัยในผู้ขับขี่จักรยานยนต์ร้อยละ 62.2 ปัจจัยที่มี ความสมั พนั ธ์กับการสวมหมวกนริ ภัยไดแ้ ก่ ทางหลวงแผน่ ดิน ทางหลวงชนบทและสภาพท้องฟ้าแจ่มใส สว่ นปัจจัยด้านเพศ ไม่มีความสัมพันธ์กับการสวมหมวกนิรภัย (จรรยา ศิริประกอบและคณะ, 2560: s211-212) ทัศนคติของนักศึกษามีความ ความสัมพันธ์กับการสวมหมวกนิรภัย (พนิดา เทพชาลีและคณะ, 2562: 879) กลุ่มนักศึกษาประสบการณ์การเกิดอุบัติเหตุ อายุต่ำกว่า 18 ปแี ละการรับร้คู วามรุนแรงสามารถทำนายพฤติกรรมการใช้หมวกนิรภัย (เจะ๊ แว ซารฟี ะห์, 2560: 68) รายงานสถานการณ์ของประเทศไทยอัตราตายอุบัติเหตุต่อแสนประชากรเท่ากับ 25.2 ส่วนภาคเหนืออัตราตาย อบุ ตั ิเหตตุ ่อแสนประชากร 28.0 ประชากร เปน็ ลำดบั ที่ 2 รองจากภาคกลาง (กลุ่มข้อมูลและขา่ วสารดา้ นสุขภาพ, 2562: 128) สำหรับในจังหวัดพะเยาสถานการณ์อุบัติเหตุจราจรทางถนนเดือนมีนาคม ปีงบประมาณ 2562 พบว่า รถจักรยานยนต์ยังเป็น พาหนะสำคญั ผู้บาดเจบ็ และผเู้ สียชวี ิตส่วนใหญเ่ ป็นผูข้ ับขี่ที่มพี ฤตกิ รรมการไมส่ วมหมวกนิรภัย สูงถงึ รอ้ ยละ 71.62 (สำนักงาน สาธารณสขุ จังหวัดพะเยา, 2561) มหาวทิ ยาลัยพะเยาต้ังอยู่ในจังหวัดพะเยาเป็นสถานศกึ ษาทม่ี ีสภาพแวดล้อมติดถนนใหญ่ ซึ่งด้านหน้ามหาวิทยาลัยเป็นถนนพหลโยธินซึ่งเป็นถนนสายหลักในการคมนาคมขนส่ง มีการใช้รถใช้ถนนเป็นจำนวนมาก การจราจรคับคั่ง รถยนต์วิ่งด้วยความเร็ว แต่นิสิตมีการใช้รถจักรยานยนต์เป็นยานพาหนะในการเดินทางมากที่สุด ทำให้เกิด อบุ ตั เิ หตุจากการขับขี่รถจักรยานยนตบ์ ่อยคร้ัง ได้รับการบาดเจ็บ การเสยี ชวี ิตซึ่งส่งผลกระทบต่อการเรียนและครอบครัวของ นิสติ ได้ จากสถิติในรอบ 5 ปีท่ผี ่านมนี สิ ิตของมหาวิทยาลัยเสียชวี ิตจากอุบตั เิ หตโุ ดยใช้รถจักรยานยนต์จำนวน 4 คน จากที่ได้กล่าวมาข้างต้นจะพบว่าการสวมหมวกนิรภัยจึงเป็นเรื่องสำคัญมาก การศึกษาความชุกและปัจจัยที่ สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยาจึงมีความจำเป็น สำหรับงานวิจัยนี้ได้ใช้ตัวแบบ ความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Believe Model) ซึ่งมีตัวแปรปัจจัยร่วม (Modiflying factors) ส่งผ่านไปยังปัจจัยด้าน ความเช่ือสว่ นบุคคลทสี่ ่งผลต่อการกระทำ (Individual Belief) คอื และปัจจยั กระตนุ้ (Cues to act) สง่ ผลตอ่ พฤติกรรม สว่ นบคุ คล (Individual behavior) (Barbara K. Rimer, 2008: 49) ร่วมกับงานวิจัยท่ีผ่านมาเปน็ กรอบในการวจิ ัย งานวจิ ัย นี้ต้องการคำตอบว่ามีปัจจัยอะไรบ้างที่เป็นต้นเหตุของพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัย ผลที่ได้จากงานวิจัยจะสามารถนำ ข้อมูลไปใช้ในการวางแผนส่งเสริมพฤติกรรมการขับขี่ที่ปลอดภัยเพื่อการป้องกันการบาดเจ็บและการเสยี ชีวิตของนิสิตใน พ้นื ท่ตี อ่ ไป พยาบาลกบั การวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือวถิ ชี วี ิตใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 223

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 2. วตั ถปุ ระสงค์การวิจัย 2.1 เพ่ือศกึ ษาอัตราชกุ ของพฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภยั ในนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยา 2.2 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยร่วม (อายุ เพศ รายได้ ความเป็นเจ้าของหมวกนิรภัย การมีใบขับขี่ รถจักรยานยนต์ ความถขี่ องการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ) กับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภยั ในนิสิตมหาวิทยาลยั พะเยา 2.3 เพื่อศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างปัจจัยกระตุ้น (แรงสนับสนนุ ทางสังคม และมาตรการบังคับการสวมหมวก นริ ภยั ) กบั พฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภยั ในนสิ ิตมหาวทิ ยาลยั พะเยา 2.4 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อส่วนบุคคล (ทัศนคติ การรับรู้ความรุนแรง การรับรู้โอกาสเสี่ยง การเกดิ อบุ ัตเิ หตุ) กับพฤติกรรมการสวมหมวกนริ ภัยในนิสิตมหาวิทยาลยั พะเยา 3. สมมตุ ฐิ านการวิจัย 3.1 ปจั จยั ร่วมดา้ นปัจจัยดา้ นประชากร ได้แก่ อายุ เพศ รายได้ ความเป็นเจา้ ของหมวกนิรภยั การมใี บขบั ข่ี และ ความถข่ี องการเกดิ อบุ ตั เิ หตมุ คี วามสมั พนั ธ์กับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภยั ของนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยา 3.2 ปจั จัยกระตุ้นดา้ นภูมหิ ลงั ไดแ้ ก่ แรงสนบั สนนุ ทางสงั คม และมาตรการบงั คบั การสวมหมวกนริ ภยั มี ความสมั พันธ์กับพฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภยั ของนสิ ิตมหาวทิ ยาลยั พะเยา 3.3 ปัจจยั ความเชอื่ สว่ นบุคคลไดแ้ ก่ ทัศนคติ การรบั รคู้ วามรนุ แรง การรบั รโู้ อกาสเส่ียงการเกดิ อุบตั ิเหตุมี ความสัมพนั ธก์ ับพฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภยั ของนิสติ มหาวทิ ยาลยั พะเยา 4. วธิ ดี ำเนินการวิจัย 4.1 รปู แบบการวิจัยงานวิจัย เปน็ การวิจยั เชงิ วิเคราะห์ แบบภาคตดั ขวาง 4.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรเปน็ นิสติ ระดบั ปริญญาตรีในมหาวิทยาลยั จำนวน 17,696 คน กลุ่ม ตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คำนวณจากสูตรคำนวนณขนาดตัวอย่างสำหรับแบบการศึกษาแบบตัดขวาง (Supavanich and Podhipak, 1988: 123) กำหนดคา่ ระดับความเชอื่ มน่ั 0.05 ไดจ้ ำนวนขนาดตัวอย่าง 376 ราย และเพมิ่ การสูญหาย ของข้อมูลร้อยละ 5 ไดจ้ ำนวนตวั อยา่ งในการวจิ ัยจำนวน 400 คน สูตรคำนวณขนาดตวั อย่าง แทนคา่ การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) โดยกำหนดคุณสมบัติของตัวอย่าง คือ เป็นผู้ที่มี จักรยานยนต์ สมัครใจเข้าร่วมวิจัยและศึกษาอยู่ภายในมหาวิทยาลัยช่วงเวลาที่เก็บข้อมูล ส่วนคุณสมบัติของเกณฑ์คดั ออกคือ ตอบข้อมูลไมค่ รบทุกข้อ 4.3 เครอื่ งมอื และการหาคุณภาพเครอื่ งมอื เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามที่สร้างขึ้นโดยประยุกต์จากแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Barbara K. Rimer, 2008: 49) และงานวิจัยทผี่ า่ นมา (ศิวาพร ศรีสกลุ , 2558: 90-91) ประกอบดว้ ย ส่วนที่ 1 ข้อมูลปัจจัยร่วมได้แก่ อายุ เพศ รายได้ ความเป็นเจ้าของหมวกนิรภัยการมีใบขับขี่ ความถ่ี ของการขับขจ่ี ักรยานยนต์ และความถีข่ องการเกิดอบุ ตั ิเหตุ สว่ นท่ี 2 ขอ้ มูลปัจจยั กระตุ้น ได้แก่ แรงสนบั สนนุ ทางสังคมเป็นข้อคำถามแบบตรวจสอบรายการจำนวน 3 ขอ้ และมาตรการบังคบั การสวมหมวกนิรภัยเปน็ ขอ้ คำถามแบบตรวจสอบรายการจำนวน 2 ขอ้ ส่วนที่ 3 ปัจจัยด้านความเชื่อส่วนบุคคล แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ 3.1) ข้อคำถามทัศนคติการขับขี่ รถจกั รยานยนต์ จำนวน 11 ข้อ ซึง่ ลักษณะคำตอบของคำถามแต่ละขอ้ เปน็ มาตรวัดทัศนคติของลเิ คริ ์ททั้งที่เป็นเชิงบวก และเชงิ นเิ สธ โดยแบง่ เป็น 5 ระดบั คือ เหน็ ด้วยอยา่ งยิ่ง เห็นด้วย เห็นด้วยปานกลาง ไมเ่ ห็นดว้ ย และไมเ่ หน็ ดว้ ยอยา่ งยิง่ 3.2) ข้อคำถามการรับรู้ความรุนแรงการเกิดอุบัติเหตุจำนวน 15 ข้อ โดยกำหนดให้ 5 เป็นการรับรู้ความรุนแรงต่อการ เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด, 4 เป็นการรับรู้ความรุนแรงต่อการเกิดอุบัติเหตุมาก, 3 เป็นการรับรู้ความรุนแรงต่อการเกิด อุบัติเหตุปานกลาง, 2 เป็นการรับรู้ความรุนแรงต่อการเกิดอุบัติเหตุน้อย และ 1 เป็นการรับรู้ความรุนแรงต่อการเกิด อุบตั ิเหตนุ ้อยท่สี ุด และ 3.3) ข้อคำถามการรับรโู้ อกาสเสีย่ งการเกดิ อุบตั เิ หตุจำนวน 15 ข้อ โดยมีการวัดลิเคริ ์ท (Likert- Type Scale) จำนวน 5 ระดับ โดยกำหนดให้ 5 เป็นการรับร้โู อกาสเส่ยี งต่อการเกิดอุบตั เิ หตมุ ากท่สี ุด, 4 เปน็ การรับรู้ 224 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้ังที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุมาก, 3 เป็นการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุปานกลาง, 2 เป็นการรับรู้โอกาส เสี่ยงต่อการเกดิ อุบัตเิ หตนุ อ้ ย และ 1 เปน็ การรบั รรู้ บั รู้โอกาสเสยี่ งต่อการเกดิ อุบตั ิเหตุน้อยที่สดุ การแปลผลคะแนนของความเชือ่ ส่วนบุคคลทั้ง 3 ส่วนแบ่งเป็น 5 ระดับ (Best, 1977: 174) การแปร ผลจากคะแนนเฉลี่ยรายข้อและภาพรวม โดยกำหนดคะแนนเฉลี่ย 4.51 - 5.00 คือระดับสูงมาก , 3.51 – 4.50 คือ ระดบั สงู , 2.51 – 3.50 คือระดับปานกลาง, 1.51 – 2.50 คือระดบั ตำ่ และ 1.00 – 1.50 คือ ระดับต่ำมาก การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การทดสอบหาค่าความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) โดย ผู้ทรงคณุ วุฒิดูความตรงของเนือ้ หากบั วัตถุประสงค์ จากน้นั นำเคร่ืองมอื ไปทดลองใช้ในประชากรคล้ายคลึงกันจำนวน 35 ชดุ หาคุณภาพความเที่ยงของเคร่ืองมอื ในส่วนขอ้ มลู ของทศั นคติ การรับร้คู วามรุนแรง และการรับรู้โอกาสเส่ียงของการ เกดิ อบุ ัติเหตุ โดยใช้ Alpha Cronbatch ได้คา่ ความเทยี่ ง = .973, .919 และ .857 ตามลำดบั 4.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 4.4.1 คณะผู้วิจัยประชุมร่วมกับทีมผู้ช่วยนักวิจัยซึ่งเป็นนิสิตสาขาปฏิบัติการฉุกเฉินกาเพื่อชี้แจง วัตถุประสงค์ วิธกี ารเกบ็ ขอ้ มลู การพิทักษส์ ิทธิของกล่มุ ตวั อย่าง 4.4.2 ทีมผู้ช่วยนักวิจัยเก็บข้อมูลในโรงจอดรถมอเตอร์ไซด์ของมหาวิทยาลัยพะเยา โดยก่อนเก็บข้อมูล ผู้ช่วยนักวิจัยต้องขอความยินยอมในการเก็บข้อมูลด้วยวาจาจากกลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเข้า เมื่อได้รับ อนุญาตจึงดำเนินการเก็บข้อมลู ด้วยเครอื่ งมอื ทส่ี ร้างขึ้น 4.4.3 หลังจากกลุ่มตวั อย่างส่งเครื่องมอื ให้นักวิจัยแล้ว ผู้ช่วยนักวิจัยทำการตรวจสอบข้อมูลหากขอ้ มูลไม่ ครบตามที่กำหนด ผู้ช่วยนักวิจัยจะคัดเครื่องมอื ของตวั อย่างที่ตอบไม่ครบออก และดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ เครื่องมือที่สร้างข้ึนในกลุ่มตัวอย่างทีม่ ีคุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเข้าในช่วงเวลาเดือนกุมภาพันธุ์ 2563 จนได้ตัวอย่างครบ ตามทก่ี ำหนด 4.5 การวิเคราะหข์ ้อมลู สถิตเิ ชิงพรรณนา ไดแ้ ก่ ร้อยละ ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน สถิตเิ ชงิ อนมุ าน ไดแ้ ก่ การทดสอบไควส์ แคว์ (Chi-square test) ค่าสัมประสิทธิค์ วามสัมพนั ธ์ Phi(φ) และสหสมั พนั ธอ์ ันดบั ของสเปยี ร์ แมน (Spearman rank coefficient) โดยแปรผลจากระดบั ความสมั พนั ธต์ ามเกณฑ์ของ Borg (ผอ่ งพรรณ ตรยั มงคลกูล และสภุ าพ ฉตั ราภรณ,์ 2555: 104) ดงั นี้ คา่ สมั ประสิทธส์ หสัมพนั ธ์ การแปรความหมาย สงู กว่า 0.85 มีความสมั พนั ธ์สงู มาก 0.65-0.85 มีความสมั พนั ธ์สงู 0.35-0.64 มีความสมั พนั ธป์ านกลาง 0.20-0.34 มีความสมั พันธต์ ่ำ ตำ่ กวา่ 0.20 มคี วามสมั พันธต์ ำ่ มาก 5. ผลการวิจัย สรปุ และอภปิ รายผลการวจิ ัย 5.1 ผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 57.0 อายุเฉลี่ย 20.61 ปี รายได้ที่ได้รับจาก ครอบครัวเฉลี่ย 8,797 บาท กลุม่ ตัวอยา่ งมรี ถจกั รยนตเ์ ปน็ ของตนเองร้อยละ 76.5 มีใบขบั ขเ่ี ปน็ ของตนเองร้อยละ 33.0 และมหี มวกนริ ภัยเปน็ ของตนเอง สำหรับอัตราชุกการสวมหมวกนิรภยั รอ้ ยละ 93.0 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธร์ ะหว่างปัจจัยร่วมกับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัย โดยใช้การทดสอบไคว์ส แคว์ และ คา่ สัมประสิทธิค์ วามสัมพันธ์ Phi ด้านเพศพบวา่ กลุม่ ตวั อย่างส่วนใหญ่เปน็ เพศหญงิ มพี ฤตกิ รรมการสวมหมวก นิรภัยรอ้ ยละ 57.8 เมอื่ ทดสอบความสัมพนั ธท์ างสถติ ิพบว่า เพศไม่มคี วามสมั พันธก์ ับพฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภัย การ มใี บขบั ข่รี ถจกั รยานยนต์พบวา่ กลุม่ ตัวอย่างสว่ นใหญ่มใี บขบั ขร่ี ้อยละ 69.3 เม่ือทดสอบความสัมพันธท์ างสถิติพบว่า การ มีใบขับขี่รถจักรยานยนต์มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < .001) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ (φ) เท่ากับ .203 ความเป็นเจ้าของหมวกนิรภัยวพบว่า ส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่างเป็น เจ้าของหมวกนริ ภยั ร้อยละ 92.5 เม่ือทดสอบความสมั พนั ธ์ทางสถิติพบว่า ความเปน็ เจา้ ของมีความสมั พันธ์กับพฤติกรรม การสวมหมวกนิรภัยอย่างมนี ยั สำคัญทางสถติ ิ (p-value < .001) โดยมคี ่าสมั ประสทิ ธิ์ความสัมพนั ธ์(φ) เท่ากับ .429 ดงั ตารางท่ี 1 พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วถิ ีชวี ิตใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 225

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ตารางท่ี 1 ความสมั พันธ์ระหวา่ งปัจจัยร่วมกับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยในกล่มุ ตวั อย่าง พฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภัย χ2 p-value Phi(φ) 0.059 ปัจจัย สวม ไม่สวม รวม 1.373 0.241 .203 16.545 <.001*** .429 เพศ 73.780 <.001*** ชาย 157 (42.2) 15 (53.6) 172 (43.0) หญงิ 215 (57.8) 13 (46.4) 228 (57.0) การมีใบขบั ขรี่ ถจกั รยานยนต์ มี 259 (69.6) 9 (32.1) 268 (67.0) ไมม่ ี 113 (30.4) 19 (67.9) 132 (33.0) ความเป็นเจา้ ของหมวกนิรภยั มี 344 (92.5) 11 (39.9) 345 (88.8) ไมม่ ี 28 (7.5) 17 (60.7) 45 (11.3) ผลการวิเคราะห์โดยใช้สหสมั พนั ธอ์ นั ดับของสเปยี รแ์ มน พบว่า ปัจจยั รว่ มที่มีความสมั พนั ธ์กับพฤติกรรมการสวม หมวกนิรภัยคือ จำนวนครั้งของการประสบอุบัติเหตุ (r=.172) มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับต่ำ ส่วนตัวแปรอายุและ รายได้ที่รับต่อเดือนไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติ ปัจจัยกระตุ้นมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยคือ มาตรการบังคับการสวมหมวกนิรภัย (r=0.750) มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับสูง และแรงสนับสนุนทางสังคม (r=0.133) มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับต่ำ ปัจจัยความเชื่อส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยคือ ทัศนคติตอ่ การสวมหมวกนริ ภัย (r=0.439) มีความสมั พันธ์ระดับปานกลาง ส่วนตัวแปรการรับรู้ความรุนแรงของการเกิด อบุ ตั เิ หตแุ ละการรบั รู้โอกาสเสีย่ งของการเกิดอุบตั ิเหตุไม่มคี วามสัมพันธ์ทางสถิตดิ ังตารางที่ 2 ตารางท่ี 2 ความสัมพันธ์ระหวา่ งปจั จยั รว่ ม ปัจจัยกระตุ้น และปจั จยั ความเชื่อส่วนบุคคลกบั พฤติกรรมการสวมหมวก นริ ภัยของกลมุ่ ตัวอยา่ ง รายการ r ระดับความสัมพันธ์ ปจั จัยรว่ ม -0.039 ไมม่ คี วามสมั พนั ธ์ 1. อายุ 0.016 ไม่มคี วามสมั พนั ธ์ 2. รายได้ทรี่ ับตอ่ เดอื น 0.172** 3. จำนวนครั้งของการประสบอบุ ตั ิเหตุ ระดบั ต่ำ 0.133** ปจั จัยกระตนุ้ 0.750** ระดับต่ำ 4. แรงสนับสนุนของเพือ่ นผูป้ กครองและชุมชน ระดับสงู 5. มาตรการบงั คับการสวมหมวกนริ ภยั 0.439** 0.042 ระดบั ปานกลาง ปจั จัยความเชื่อสว่ นบคุ คล 0.034 ไมม่ คี วามสมั พันธ์ 6. ทศั นคติตอ่ การสวมหมวกนริ ภยั ไมม่ คี วามสมั พนั ธ์ 7. การรบั รู้ความรุนแรงของการเกดิ อุบัติเหตุ 8. การรับรโู้ อกาสเสี่ยงของการเกดิ อุบัตเิ หตุ 5.2 สรุปผลการวจิ ัย อตั ราชกุ ของการสวมหมวกนิรภยั ร้อยละ 93.0 ปัจจัยท่ีมคี วามสมั พันธ์กับพฤตกิ รรมการสวม หมวกนิรภัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ 1) ปัจจัยร่วมคือ การมีใบขับขี่รถจักรยานยนต์มี (p-value< .001, φ= .203) จำนวนครง้ั ของการประสบอุบตั เิ หตุ (r=0.172) มคี วามสัมพนั ธร์ ะดับต่ำ และความเป็นเจ้าของหมวกนริ ภัย (p-value< .001, φ = .429) มีความสัมพันธ์ระดับปานกลาง 2) ปัจจัยกระตุ้นคือมาตรการบังคับการสวมหมวกนิรภัย (r=0.750) มี ความสัมพนั ธท์ างบวกระดบั สูง และแรงสนบั สนนุ ทางสังคม (r=0.133) มคี วามสมั พนั ธท์ างบวกระดบั ต่ำ และ 3) ปัจจัยความ เชอ่ื ส่วนบุคคลคอื ทศั นคติต่อการสวมหมวกนริ ภัยมี (r=0.439) มคี วามสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง 226 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 5.3 การอภปิ รายผล ผลการศึกษาพบว่า อัตราชุกของการสวมหมวกนิรภัยของกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 93.0 ผลการศึกษาที่ได้สูงกว่าใน ต่างประเทศสหรัฐอเมริกา แคนนาดา (Chow et al., 2019: 11) มาเลเซีย (Sambasivam et al, 2020: 722) จาไมก้า (Fletcher et al, 2019:401) กมั พชู า (Bachani at, al, 2012: 31) และปากีสถาน (Khan, et al., 2008: 385) และยงั พบว่า อตั ราชุกในการศึกษานี้สูงกว่าการศึกษาในประเทศไทย (จรรยา สริ ิประกอบและคณะ, 2560: 210; พนดิ า เทพชาลีและคณะ, 2562: 879) ซ่ึงอาจเป็นเพราะใกล้กับมหาวิทยาลยั มจี ุดตรวจรถจักรยานยนตท์ ำให้กลมุ่ ตวั อย่างต้องสวมหมวกนริ ภัย ปัจจัยร่วมตัวแปรการมีใบขับขี่รถจักรยานยนต์มีความสมั พันธ์กับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p-value < 0.001, φ =0.203) โดยมรี ะดบั ความสมั พนั ธร์ ะดบั ตำ่ ผลการศึกษาทไ่ี ด้นี้สอดคลองกับการศึกษาของ Fletcher et al. (2019:401) ที่พบว่าในการมีใบขับขี่มีความสัมพันธ์กับการสวมหมวกนิรภัย ทั้งนี้เพราะหน้ามหาวิทยาลัย เปน็ ทตี่ ง้ั ของสถานีตำรวจซึง่ มีจดุ ตรวจทำให้กลุม่ ตัวอย่างอาจเกรงต่อมาตรการบังคับทางกฎหมายทพ่ี นื้ ท่ีกำหนด ปัจจัยรว่ มตวั แปรจำนวนครั้งของการประสบอบุ ตั ิเหตุ (r=0.172) มคี วามสมั พันธท์ างบวกระดับตำ่ กบั พฤตกิ รรมการ สวมหมวกนิรภัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยพบว่ามีความสัมพันธ์ทางบวก หมายความว่า จำนวนครั้งของการประสบ อบุ ัตเิ หตุมากข้นึ พฤติกรรม การสวมหมวกนริ ภัยมากขน้ึ ผลการศึกษาท่ีไดน้ แ้ี ตกต่างกับการศกึ ษาบุปผา ลาภทวี (2555: 28) ท้ังนีเ้ พราะปจั จยั ร่วมคือประสบการณ์เดมิ ส่งผลต่อความเชือ่ ของการปฏบิ ัติ (Barbara K. Rimer, 2008: 49) ของกลุ่มตวั อย่าง ทมี่ ีอุบตั เิ หตุอาจมีความตระหนกั ตอ่ ประสบการณอ์ บุ ัตเิ หตใุ นอดตี จึงให้ตอ้ งปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัย ปัจจัยร่วมตวั แปรความเป็นเจา้ ของหมวกนิรภัยมีความสมั พนั ธ์ระดับปานกลาง กับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัย อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001) ผลการศึกษาท่ไี ด้นี้แตกต่างกบั การศึกษาบปุ ผา ลาภทวี (2555: 28) อาจเป็น เพราะมนี สิ ิตส่วนใหญม่ ีที่พกั ไกลกบั มหาวิทยาลัยและยังใกลก้ ับสถานีตำรวจทีต่ ั้งเป็นจดุ ตรวจหมวกนิรภยั ประกอบกับและไม่ มีรถประจำทางระหว่างที่พกั มายังมหาวิทยาลัยทำให้ต้องใชม้ อเตอร์ไซดแ์ ละหมวกนิรภัย ปัจจัยกระตุ้นตัวแปรมาตรการบังคับการสวมหมวกนิรภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับสูง (r=0.750) กับ พฤตกิ รรมการสวมหมวกนริ ภัยอย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิ หมายความว่ามาตรการบังคับการสวมหมวกนริ ภัยย่ิงมีจำนวนมาก ข้นึ พฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภยั ของกลมุ่ ตัวอยา่ ง ผลการศกึ ษาท่ีไดค้ ลา้ ยกบั การศึกษาของกมลชนก เศรษฐบุตร (2562) ที่ ระบุว่ามาตรการทางกฎหมายเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดการรณรงค์การสวมหมวกนิรภัย สาหตุ อาจเป็นเพราะในพื้นที่หน้า มหาวิทยาลัยมสี ถานตี ำรวจทตี่ ้งั จดุ ตรวจทำใหก้ ลุม่ ตัวอยา่ งตอ้ งสวมหมวกนริ ภยั ปัจจัยกระตุ้นตัวแปรแรงสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับต่ำ (r=0.133) กับพฤติกรรมการสวม หมวกนิรภัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ หมายความว่า แรงสนับสนุนมากกลุ่มมากขึ้นพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยมากข้ึน การศึกษาที่ได้นี้แตกต่างกับการศึกษากมลวรรณ คุ้มวงษ์และคณะ (2562: 49) ที่พบว่าอิทธิพลของครอบครัว และอิทธิพล ของเพื่อนเป็นปัจจัยร่วมทำนายพฤติกรรมความปลอดภัยในการขับขี่จักรยานยนต์ สอดคล้องกับแบบแผนความเชื่อด้าน สขุ ภาพที่ระบวุ ่า ปจั จัยกระต้นุ คอื แรงสนบั สนุนสง่ ผลต่อการปฏิบัตคิ ือการสวมหมวกนิรภยั (Barbara K. Rimer, 2008: 49) ปัจจัยความเชื่อส่วนบุคคลตัวแปรทัศนคติต่อการสวมหมวกนิรภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง (r=0.439) กบั พฤติกรรมการสวมหมวกนิรภยั อย่างมีนยั สำคญั ทางสถิติ หมายความวา่ คะแนนทศั นคติที่สูงขึ้นพฤติกรรมการ สวมหมวกนิรภัยมากขึ้น ผลการศึกษาที่ได้สอดคล้องกับการศึกษาของ Khan, et al.(2008: 385) ที่พบว่าทัศนคติมี ความสัมพันธ์กับการสวมหมวกนิรภัย เป็นไปตามแนวคิดของแบบแผนความเช่ือดา้ นสุขภาพทีร่ ะบุว่า ความเชื่อด้านสุขภาพ ส่งผลต่อการปฏบิ ตั ิ (Barbara K. Rimer, 2008: 49) 5.4 ขอ้ เสนอแนะ 5.4.1 ข้อเสนอเชิงนโยบาย สถานีตำรวจในพื้นที่และมหาวิทยาลัยพะเยาควรกำหนดการบังคับใช้หมวกนิรภัยเป็น มาตรการท่สี ำคัญเพอื่ เป็นการป้องกนั การบาดเจบ็ และการสญู เสยี ชวี ติ ของนิสิตในมหาวิทยาลัยพะเยา 5.4.2 ข้อเสนอเชิงปฏิบัติ เพื่อเป็นการป้องกันการบาดเจ็บและการสูญเสียชีวิตของนิสิตในมหาวิทยาลัยพะเยา หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้องควรให้ความสำคญั ในการจัดกจิ กรรมเพ่ือปรับพฤติกรรมการสวมหมวกนริ ภยั โดยให้ความสำคัญในกลุ่ม ท่มี หี มวกนริ ภยั กล่มุ ที่ไม่เคยเกดิ อบุ ตั ิเหตจุ ากรถจกั ยานยนต์ และกลุ่มท่ขี าดการเสริมแรงจากเพอ่ื นผปู้ กครองและชมุ ชน 6. กติ ติกรรมประกาศ คณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณกลุ่มตัวอย่างและนิสิตสาขาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์จำนวน 8 คนของคณะ แพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยพะเยาเป็นผูช้ ว่ ยเหลือจนงานวิจยั นสี้ ้นิ สดุ พยาบาลกบั การวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่อื วิถีชวี ิตใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 227

The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 7. เอกสารอา้ งอิง (References) กมลชนก เศรษฐบุตร. พฤตกิ รรมเชงิ ลึกของนิสติ มหาวทิ ยาลยั ในการสวมหมวกนิรภยั . วารสารมนุษยศาสตรแ์ ละ สังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา, 2562: 27(4), 194-217. กมลวรรณ คุ้มวงษ์, นิสากร กรุงไกรเพชร, สุวรรณา จันทร์ประเสริฐ. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมในการขับขี่จักรยายนต์ของ นกั เรยี นช้นั มัธมศกึ ษาตอนปลายภาคตะวนั ออก. วารสารคณะพยาบาลมหาวทิ ยาลยั บูรพา, 2562: 27(4), 42-52. กล่มุ ข้อมลู และขา่ วสารดา้ นสุขภาพ. (2562). สถติ สิ าธารณสุข 2561. นนทบรุ ี: กองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสขุ . จรรยา ประกอบศริ ,ิ อาภาพร กฤษณ์พันธ์และสุรชั นา ชา้ อำเภอบางใหญ่งชายวงศ.์ ความชุกในการสวมหมวกนริ ภยั ของ ผขู้ ับข่ีจักรยานยนต์อำเภอบางใหญ่ จงั หวัดสพุ รรณบุรี. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 2560: 26(2), 209-206. เจ๊ะแว ซารีฟะห์. (2560). ปจั จยั คัดสรรตามแบบแผนความเชอ่ื ดา้ นสขุ ภาพที่สง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมการใชห้ มวกนิรภยั ใน การป้องกนั อุบตั ิเหตุของนักศึกษาสถาบนั การพลศึกษา วิทยาเขตยะลา. วทิ ยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์. บปุ ผา ลาภทวี.(2555). ปจั จยั ทีม่ คี วามสมั พนั ธต์ ่อพฤตกิ รรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้บาดเจบ็ จากการขบั ข่รี ถจกั ร ยานยนต์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลมิ พระเกยี รต.ิ กรุงเทพ: โครงการวิจยั เพ่ือพฒั นางานโรงพยาบาล ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. ศิวาภรณ์ ศรีสกลุ . (2558). ผลของการสร้างแรงจูงใจเพ่อื การปกป้องสขุ ภาพต่อพฤติกรรมการสวมหมวกนริ ภัยของ นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย อำเภอศรรี าชา จังหวัดชลบุร.ี วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาพยาบาลศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวชิ าการพยาบาลเวชปฏบิ ัตชิ ุมชน มหาวทิ ยาลยั บรู พา. สำนักระบาดวิทยา.(2560). สรปุ รายงานการเฝา้ ระวังประจำปี 2559. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์ การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั พะเยา.(2561). ผลการดำเนินงานเฝ้าระวงั ป้องกนั และลดอุบตั เิ หตจุ ราจรทางถนน จงั หวัดพะเยา ประจำเดอื นมนี าคม 2562. [24 กรกฎาคม 2561] สืบคน้ เมื่อ 11 มกราคม 2563. จาก http://www.pyomoph.go.th/backoffice/files/3192.pdf Bachani, AM., Tran, NT., Sann, S., Ballesteros, MF., Cnim, C., Ou, A., Sem, P., Nei, X., & Hyder, A. Helmet Use Among Motorcyclists in Cambodia: A Survey of Use, Knowledge, Attitudes, and Practices. Traffic Injury Prevention, 2012: 13(S1):31–36. Chow, R., Borean, M., Hollenberg, D., Viehweger, J, Anpalagan, T. & Rzepka, A. Bicycle and helmet use of adolescents: A meta analysis. In J Child Health Hum Dev, 2019: 12(1), 11-18. Fletcher, C., McDowell, D., Thompson, C., & James, K. Helmet use among motorcycle accident victims in the north-east region of Jamaica. International Journal of Injury Control and Safety Promotion, 2019: 26(4), 399-404. Khan I, Khan A, Aziz F, Islam M, Shafqat S. Factors associated with helmet use among motorcycle user in Karachi, Pakistan. ACAD EMERG MED, 2008: 15(4), 384-387. Ouellet JV and Kasantikul V. (2006). Motorcycle Helmet Effect on a Per-Crash Basis in Thailand and the United States. Traffic Inj Prev: 7(1), 49-54. Rimer B.K. (2008). Models of individual health behavior. In Glanz, K., Rimer, B.K., Wiswanath, K. (Eds.), Health behavior and health education: Theories, research and practice. San Francisco: John Wiley & Sons Sambasivam, S., Aziz AA., Karuppiah., Abidin, EZ., Tamrin, SBM., Naeini, HS., Mani, KKC., Perumal, PA., & Alias, AN. Prevalence of safety equipment and helmet use among school students commuting to school in South Selangor, Malaysia. SongklanaKarin J. sci. Technol, 2010: 42(3), 721-724. Supanvanich, S & Podhipak, A. (1993). Epidemiology. Bangkok: Faculty of Public Health. World Health Organization. (2018). Global status report on road safety 2015. [2018 August 5]. ค้นเม่ือ 11 มกราคม 2563. จาก http://www.who.int/violence_injury_prevention/road_safety_status/2015/en 228 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era

การประชมุ วิชาการระดับชาติ ครง้ั ท่ี 12 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม เรือ่ ง ศาสตรพ์ ระราชา และการวิจยั เพอื่ สร้างดลุ ยภาพชีวติ ในยคุ Disruptive Technology สาขาพยาบาลศาสตร์ เรือ่ ง พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพือ่ วถิ ชี ีวิตใหม่ ในยุค Disruptive Technology วันที่ 9 – 10 กรกฎาคม 2563 ณ อาคารสถาบนั ภาษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 12 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม สาขาพยาบาลศาสตร์ พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วถิ ชี วี ติ ใหม่ ในยุค Disruptive Technology 9 – 10 กรกฎาคม 2563 จัดพมิ พ์โดย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม