งานประชุมวชิ าการระดับชาติ ครง้ั ท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 1.2. ส่งเสริมให้อาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษาได้รับการฝึกอบรมการใช้โปรแกรมออนไลน์ การ เตรียมพรอ้ มในการสอนแบบออนไลน์ 1.3. กำหนดสมรรถนะของรายวชิ าภาคปฏิบตั ิเพื่อวางแผนการฝึกปฏบิ ตั ิในกรณที นี่ ักศึกษาไม่สามารถไป ฝึกปฏิบัติงานทีโ่ รงพยาบาลได้ โดยให้ทกุ รายวิชาภาคปฏบิ ตั ิได้ทบทวนตนเองและหาสาระหลักของสมรรถนะรายวิชา ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลทีจ่ ำเป็นและสำคัญ 1.4. ประสานงานแหล่งฝึกภาคปฏิบัติทุกแห่งแบบมีส่วนร่วม เพื่อร่วมกันรับทราบมาตรการการเฝ้าระวัง การป้องกนั และการติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19) ของโรงพยาบาล ของคณะพยาบาลศาสตร์ รวมถงึ การเก็บตัวนักศึกษาพยาบาลก่อนการข้ึนฝึกภาคปฏบิ ัติ เพ่อื สรา้ งความม่ันใจแก่แหล่ง ฝกึ ในการเตรยี มความพร้อมของการส่งนักศึกษาขึ้นฝึกภาคปฏบิ ัติทจี่ ะลดความเสี่ยงจากการดำเนนิ การ 1.5. จัดเตรียมความพร้อมชุดป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ (PPE) แว่นตา หน้ากากอนามัยแบบป้องกันโรค (N95) แอลกอฮอล์เจล ฯลฯ 2. แนวทางการพฒั นาดา้ นนกั ศึกษา 2.1. ส่งเสริมให้นักศึกษาได้รับการฝึกอบรมการใช้โปรแกรมออนไลน์ สื่อวิดีโอ การทำงานไลน์กลุ่มกับ เพือ่ น เพอ่ื เตรยี มพร้อมในการสอนแบบออนไลน์ 2.2. จัดทำสื่อออนไลน์ในการเตรยี มความพร้อมของนกั ศึกษาในการป้องกันตนเองตามมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) 2.3. จัดทำประกาศการเก็บตัวก่อนการขึ้นฝึกภาคปฏิบัติ มีการตรวจร่างกาย มีการกำกับติดตาม มีคู่มือใน การดำเนนิ การตามมาตรการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19) 2.4. สร้างความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของนักศึกษาพยาบาลในการปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วย การเว้น ระยะหา่ งการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลตามความเหมาะสม การฝึกปฏบิ ตั งิ านในรายท่มี ีความเส่ียงสงู โดยมีแนวปฏิบัติใน การฝึกงาน 2.5. การเสริมสรา้ งวัคซีนป้องกันโรคของนกั ศกึ ษาเช่น วัคซีนไข้หวดั ใหญ่ วัคซนี ป้องกันอสี ุกอใี ส พร้อมการ ประกันสขุ ภาพเพื่อป้องกันโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19) และได้รับแจกจัดเตรียมความพร้อมชุดป้องกันการ แพรก่ ระจายเช้อื (PPE) แว่นตา หนา้ กากอนามยั แบบป้องกนั โรค (N95) แอลกอฮอล์เจล ฯลฯ 3. แนวทางการพัฒนาสนับสนนุ ดา้ นการบริหารจดั การ 3.1. การเตรียมพร้อมการปฏิบัติงานบนหอผู้ปว่ ย อาจารย์ทุกคนที่นิเทศได้รบั แจกจัดเตรียมความพรอ้ ม ชุดป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ (PPE) แว่นตา หน้ากากอนามัยแบบป้องกันโรค (N95) แอลกอฮอล์เจล ฯลฯ พร้อม การประกนั สุขภาพเพื่อป้องกันโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19) จากมหาวทิ ยาลัย 3.2. การปรับภาระงานเชิงบูรณาการโดย การยืดหยุ่นเวลาในการปฏิบัติงานที่บ้าน ร่วมกับการปฏิบัติ หนา้ ที่ที่ศนู ย์เก็บตวั 14 วันของจังหวัดนครปฐม ถือเป็นภาระงานตามทีม่ หาวิทยาลัยกำหนด 3.3. การวางแผนบริหารจัดการแบบออนไลน์ เช่น การบริหารการพัฒนาหลักสูตรแบบออนไลน์ หลักสูตรระยะสั้น หลักสูตรบริการวิชาการ การทำสัมมนาออนไลน์เพื่อพัฒนาการออกข้อสอบ การสัมมนาออนไลน์ เพือ่ สานความรว่ มมอื กบั ต่างชาติ ฯลฯ พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือวถิ ชี วี ติ ใหม่ในยุค Disruptive Technology | 33
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 บทสรปุ บทเรียนจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) สะท้อนคิดได้ว่า วสิ ยั ทัศนข์ องผู้นำมีความสำคญั กบั การจัดการสถานการณ์วิกฤตทุกสถานการณ์ ทักษะการตัดสนิ ใจเป็นหัวใจสำคัญ ของการบริหารจัดการในภาวะวิกฤต โดยเฉพาะสถานการณ์วิกฤตที่ไม่มีประสบการณ์การจัดการมาก่อน ทักษะ ความยืดหยนุ่ และเข้าใจความตระหนกของสมาชกิ ในองค์กรต้องใชท้ กั ษะการสื่อสารที่เข้าถงึ บนข้อจำกัดให้เข้าใจให้ ไดม้ ากท่ีสดุ และทสี่ ำคัญคือ ความเปน็ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐมต้อเชื่อมั่นในปรัชญาของ มหาวิทยาลัยและคณะเพื่อให้นำพาไปยงั ทิศทางทีท่ ำเพื่อชุมชนท้องถน่ิ บนพื้นฐานศาสตรแ์ ละวิชาการพยาบาลที่จะ ชว่ ยใหท้ ุกคนมีสุขภาพดีทงั้ ในองค์กรและชุมชนท้องถิ่น บรรณานุกรม 1. https://www.europol.europa.eu/activities-services/public-awareness-and-prevention- guides/safety-guide-for-new-normal-after-covid-19 2. https://www.who.int/southeastasia/news/detail/15-05-2020-local-epidemiology-should- guide-focused-action-in-new-normal-covid-19-world 3. https://www.nursingtimes.net/news/coronavirus/a-new-normal-nurses-adapt-and-push- call-for-change-post-lockdown-03-06-2020/ 4. https://www.roswellpark.org/cancertalk/202004/coping-strange-new-normal-nurses-perspective 5. Neill Wigglesworth. Infection control 6: hand hygiene using soap and water. Nursing Times [online]. November 2019 / Vol 115 Issue 11. 6. World Health Organization (2009) WHO Guidelines on Hand Hygiene in Health Care: a Summary. Bit.ly/WHOHandHygiene 7. Tess Wragg. An overview of initial NICE clinical guidance about Covid-19. Nursing Times [online]. May 2020 / Vol 116 Issue 5 8. Helen Oldknow. Increasing staff engagement and patient participation in research. Nursing Times [online] June 2020 / Vol 116 Issue 6 9. Andrew Dwight Reed . A New normal. AJN. April 2020/ Vol. 120, No. 4. 10.William E. Rosa. Nurses as Global and Planetary Citizens. AJN. April 2020/ Vol. 120, No. 4. 11. Public Health England. (2020). Personal protective equipment (PPE) – resource for care workers working in care homes during sustained COVID-19 transmission in England. 12. World Health Organization 2020. Public health criteria to adjust public health and social measures in the context of COVID-19. WHO/2019-CoV/Adjusting_PH_measures/Criteria/2020.1. 13. World Health Organization 2020. Weekly operational update on COVID-19, 22-26 June 2020. 14. World Health Organization 2020. Critical preparedness, readiness and response actions for COVID-19, 22-26 June 2020. 15. World Health Organization 2020. COVID-19 Strategic Preparedness and Response Monitoring and evaluation, 22-26 June 2020. 34 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชมุ วิชาการระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 บทบาทพยาบาลในยุค New Normal & Disruptive Technology กรณี New Normal era: โรงพยาบาลนครปฐม พว.ฉตั รวลัย ใจอารยี ์ หวั หนา้ พยาบาล โรงพยาบาลนครปฐม พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือวถิ ีชวี ติ ใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 35
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 36 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้ังที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพือ่ วิถชี วี ิตใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 37
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 38 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้ังที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพือ่ วิถชี วี ิตใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 39
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 40 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้ังที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพือ่ วิถชี วี ิตใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 41
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 42 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครั้งท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 แนวปฏบิ ัติท่ีดดี ้าน การพยาบาล การวจิ ัย และการจัดการเรียนการสอน ตามศาสตร์พระราชาเพอ่ื วิถชี วี ิตใหม่ ในยคุ Disruptive Technology โดย สถาบนั เครือข่ายความร่วมมอื พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพอื่ วิถีชวี ิตใหม่ในยุค Disruptive Technology | 43
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 44 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติ คร้ังที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 แนวปฏบิ ัตทิ ีด่ กี ารจดั การเรยี นการสอน “Simulation Center for BLENDED LEARNING” ผ้ชู ว่ ยศาตราจารย์ ดร.วนดิ า ดุรงค์ฤทธชิ ัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี 1. บทสรปุ โครงการ: แนวปฏิบัติที่ดีด้านการจัดการเรียนการสอน เรื่อง “Simulation Center for BLENDED LEARNING” คณะ พยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี นี้ ได้รวบรวมองค์ความรู้ที่มีในการจัดการเรียนการ สอนในหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารท่ีใช้การเรียนรู้ด้วยสถานการณเ์ สมอื นจริง (simulation based learning) ซ่ึงเป็นสว่ นหน่งึ ของการ จัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (blended learning) มีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื 1)ศกึ ษาและพัฒนาจดั การเรยี นการสอนใน สถานการณ์จำลองเสมือนจริงสำหรับนักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติจนมีความมั่นใจ 2) พัฒนาคู่มือการจัดการเรียนการสอนใน สถานการณ์จำลองเสมอื นจริง 3) เผยแพรค่ มู่ ือการจัดการเรียนการสอนในสถานการณจ์ ำลองเสมอื นจริง ขั้นตอนการจัดทำแนวปฏิบัติประกอบด้วย การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการเรียนการสอน simulation based learning การสำรวจวัสดุ อุปกรณ์ที่ต้องการ การจัดทำแผน/ คู่มือต่าง ๆ การประเมินผลและการใช้แนว ปฏิบัติ ผลการดำเนนิ การทำให้ได้ 1) คู่มือห้องปฏบิ ัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ 2)แผนพัฒนาสมรรถนะทางคลินิกของ นักศกึ ษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ ท้งั 4 ช้นั ปี ตาม program learning outcomes 3) แผนพัฒนาอาจารย์ (Faculty practice) 4) แผนพัฒนาทักษะการเขียนโจทย์สถานการณ์สำหรับหุ่น sim- man, sim-mum และแผนการพัฒนางานวิจัยการ จัดการเรียนการสอนดว้ ยโจทย์สถานการณ์เสมือนจริง 5) ผลการวิจัย เรื่อง ผลของการใช้ภาพเคลื่อนไหวสามมิติต่อผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์ระบบหัวใจของนักศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ อย่างไรก็ตามแนวปฏิบัตินี้ยังคงมีการพัฒนา อย่างต่อเน่อื งเพอ่ื ให้เกดิ ผลลัพธ์ที่ดีทส่ี ุดต่อไป 2. ทม่ี าและความสำคญั ของโครงการ : การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (blended learning) เป็นการเรียนการสอนท่ีได้รับความนิยมมากขึ้นใน ปัจจุบนั เน่ืองจากใชก้ ระบวนการเรียนการสอนทห่ี ลากหลายเพอื่ พัฒนาให้ผเู้ รยี นเกิดทกั ษะการเรียนร้เู พอื่ การดำรงชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 โดยทักษะที่ทกุ คนต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต (life-long learning) ตามหลักการ 3R x 7C ซึ่งประกอบด้วย 3R คือ Reading (อ่านออก) (W) writing (เขียนได้) และ (A) arithmetic (คิดเลขเป็น) และ 7C ได้แก่ ทักษะด้านการคิด อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์ (Cross- cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือการทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะ อาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้(Career and Learning Skills) (วจิ ารณ์ พานิช, 2555) หัวใจสำคัญของการเรียนรู้เพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 นั้น ผู้สอนมีบทบาทในการสร้างสิ่งแวดล้อมและ สร้างสิ่งสนับสนนุ การเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรยี นได้เรยี นรู้จากการลงมือปฏบิ ัติ (learning by doing) คณะพยาบาลศาสตร์และ วิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เชื่อว่าการสร้างสถานการณ์เสมือนจริง (simulation) ที่มีความ หลากหลายเพื่อให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้และฝึกปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลในห้องปฏิบัติการทางการพยาบาลนั้นสามารถทำให้ผู้เรยี น ได้ฝึกปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์เสมือนจริง สภาพแวดล้อมเสมือนจริง ผู้เรียนได้ฝึกฝนประสบการณ์อย่าง ปลอดภัยที่ (simulation based learning) ดังนั้นกระบวนการสร้างปฏิบัติท่ีดใี นการจัดการเรียนการสอนด้วยการสร้าง สถานการณ์จำลองในศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ คณะพยาบาลศาสตร์นั้นช่วยส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อการดำรงชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 ได้ พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพื่อวิถีชวี ติ ใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 45
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 3. วัตถุประสงค์ : 1) ศึกษาและพัฒนาจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์จำลองเสมือนจริงสำหรับนักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติจนมี ความมั่นใจ 2) พฒั นาคู่มือการการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณจ์ ำลองเสมอื นจริง 3) เผยแพรค่ ่มู ือการการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณจ์ ำลองเสมอื นจรงิ 4. แนวปฏบิ ัตทิ ด่ี ี (วธิ กี าร/กระบวนการ/แนวทางการดำเนินตาม PDCA) : การดำเนินงานแนวปฏิบตั ทิ ี่ดดี า้ นการจัดการเรยี นการสอนเร่อื ง “Simulation Center for BLENDED LEARNING” ของคณะพยาบาลศาสตรแ์ ละวทิ ยาการสขุ ภาพ ไดด้ ำเนนิ การอย่างต่อเนื่อง ตัง้ แตป่ กี ารศึกษา 2559 ดว้ ย กระบวนการ PDCA ตามแนวคดิ เดมงิ (Deming) อยา่ งต่อเนือ่ งทกุ ปี โดยสรุปการจัดทำแนวปฏบิ ตั ิมกี ระบวนการ ดงั นี้ 5. ผลกระทบที่เป็นประโยชน์หรอื สรา้ งคณุ คา่ : ภายหลังดำเนนิ การทำให้ได้คมู่ ือ แผนปฏบิ ัตกิ ารตา่ ง ๆ รวมทง้ั ผลงานวิจัย รายละเอียดดังน้ี 1) คมู่ อื ห้องปฏบิ ตั ิการทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ ศนู ยท์ รพั ยากรการเรยี นรู้ คณะพยาบาลศาสตรแ์ ละวทิ ยาการ สุขภาพ 2) แผนพัฒนาสมรรถนะทางคลินิกของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ทั้ง 4 ชั้นปี ตาม program learning outcomes 3) แผนพฒั นาอาจารย์ (Faculty practice) 4) แผนพัฒนาทักษะการเขียนโจทย์สถานการณ์สำหรับหุ่น sim- man, sim-mum และแผนการพัฒนา งานวจิ ยั การจัดการเรยี นการสอนดว้ ยโจทย์สถานการณ์เสมอื นจรงิ 5) ผลการวจิ ัย 1 เรื่อง ผลของการใช้ภาพเคล่ือนไหวสามมิติต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์ ระบบหวั ใจของนักศกึ ษาวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ (วรัฎฐา เหมทอง, วรี ยทุ ธ ศรีทุมสขุ ., 2563) 6) การเปน็ แหล่งศกึ ษาดงู านจากหน่วยงานตา่ ง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกประเทศ 6. ปัจจยั แหง่ ความสำเร็จ : 1) นโยบายระดับประเทศ ระดับมหาวิทยาลัยและนโยบายระดบั คณะ 2) กระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรทู้ ่ตี ่อเน่อื งและการถอดบทเรียน 3) ความมุ่งมน่ั ของบุคลากรคณะพยาบาลศาสตรแ์ ละวิทยาการสขุ ภาพ 46 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชุมวชิ าการระดับชาติ คร้งั ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 7. ปญั หาอปุ สรรคและแนวทางการแกไ้ ข : ปญั หาและอุปสรรค 1) การใช้งานเทคโนโลยีที่ทนั สมัยของอาจารยแ์ ละนักศึกษาทยี่ งั ไม่ชำนาญ 2) การสื่อสารแนวปฏบิ ตั ิใหอ้ าจารย์เข้าใจตรงกัน แนวทางการแก้ไข 1) จัดอบรมเชงิ ปฏิบัติการการใช้งานเทคโนโลยีท่ีทนั สมัย เช่น การเขียนโจทย์สถานการณ์สำหรับ sim-man and sim-mum การใชง้ าน ระบบปฏิบตั ิการสถานการหนา้ จอสมั ผสั 2) จัดระบบพ่ีเลยี้ งสำหรับอาจารยใ์ หม่ 8. แนวทางในการจัดการความรู้ (ถ้ามี) : 1) ประเมินผลการใช้แนวปฏบิ ตั ิทุก 6 เดือน และมีแผนปรบั ปรุงแนวปฏบิ ตั ทิ ุก 1 ปี จัดซือ้ วัสดุ-ครภุ ณั ฑ์ ท่ีมี ความเสมือนจริงเพมิ่ มากขึน้ จัดทำระบบความปลอดภยั เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นไดเ้ รยี นรใู้ นหอ้ งปฏิบตั ิการไดต้ ลอด 24 ชั่วโมง 2) ทำวจิ ัยผลของแนวปฏบิ ัตแิ ละเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั อย่างน้อยปีละ 1 เรอื่ ง 3) พัฒนาห้องปฏิบตั กิ ารใหไ้ ดม้ าตรฐาน ESPReL และตรวจรบั รองการเปน็ หอ้ งปฏิบตั ิการที่มีสารเคมีเพื่อเป็น ประโยชน์ในการทำงานวจิ ยั ตอ่ ไป 4) พัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ทางการพยาบาลและวิทยาการสุขภาพชั้นนำระดับประเทศ รองรับการเรียนรู้ ทางการพยาบาลและวิทยาศาสตร์สุขภาพ รวมทง้ั ให้บริการวิชาการ 9. รายการอ้างอิง วจิ ารณ์ พานิช.(2555). วถิ สี ร้างการเรยี นรู้เพอ่ื ศษิ ย์ในศตวรรษที่ ๒๑. กรงุ เทพฯ : มลู นธิ ิสดศรี- สฤษดว์ิ งศ์ วรัฎฐา เหมทอง, วรี ยุทธ ศรที ุมสขุ . (2563). ผลของการใชภ้ าพเคลอื่ นไหวสามมติ ติ อ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวิชากาย วภิ าคศาสตรร์ ะบบหวั ใจของนักศกึ ษาวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ. วารสารมหาวทิ ยาลยั ครสิ เตยี น, 26(1), 94-103. พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วถิ ชี วี ิตใหม่ในยุค Disruptive Technology | 47
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 รูปแบบการจดั เรยี นการสอนแบบออนไลน์ ในยุคดจิ ิทลั ผ้ชู ่วยศาตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธิ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม บทสรุปโครงการ การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพควรเป็นรูปแบบที่มีความทันสมัยและปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ท่ี เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียนและการประเมินผล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานการณ์ที่มีการแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชื้อ ทำให้การเรียนการสอนแบบออนไลน์มีบทบาทมากขึ้น ซ่ึงการจัดรูปแบบการเรียนการสอนนีต้ ้อง อาศัยคณะกรรมการหรือทมี ทำงานให้ความร่วมมอื ในกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่การวางแผนท่ีครอบคลุม การปฏิบัติ การตรวจสอบ และการพฒั นาปรับปรุง ทำให้ไดแ้ นวปฏิบตั ริ ปู แบบการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ที่มี ประสทิ ธิภาพในการสง่ เสรมิ ให้นกั ศึกษาเกิดการเรียนรูต้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ ที่มาและความสำคญั ของโครงการ ปจั จุบนั ทิศทางการพัฒนาประเทศไทยมเี ป้าหมายในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีข้ึน เกิดความ มั่นคง มั่นคั่ง และยั่งยืน ซึ่งพื้นฐานส่วนหนึ่งของการพัฒนาประเทศให้เปน็ ไปตามเป้าหมาย คือ ระบบการศึกษาที่ต้องมี การปรับตัวและพัฒนาให้ทันสมัยกับสถานการณ์ของประเทศและทั่วโลก โดยการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมา ประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนมากขึ้น ทั้งกระบวนการสอน วิธีการเรียนรู้แลกเปลี่ยน และการคิดวิเคราะห์ ผ่าน รปู แบบการเรียนการสอนต่าง ๆ การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (online learning) เป็นรูปแบบที่มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาบูรณาการ ใชเ้ ป็นอยา่ งมาก ผา่ นเครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ น็ต โดยผเู้ รียนสามารถเข้าถึงการเรียนไดท้ ุกท่ี ทุกเวลา ไมจ่ ำเป็นต้องเดินทางมา เรยี นทีส่ ถาบันการศกึ ษา แต่สามารถติดตอ่ กันผา่ นได้หลายช่องทาง เช่น e-mail, Line program, Facebook webpage เป็นต้น ซึ่งสื่อการเรียนการสอนมีทัง้ ส่วนที่เป็นเอกสารเนื้อหา ข้อความ รูปภาพ วีดีโอ และเสียง ที่ผู้เรียนสามารถศกึ ษา ค้นคว้าเพม่ิ เติมไดด้ ้วยตนเอง เป็นการส่งเสรมิ ให้เกดิ ทกั ษะด้านการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเรื่องการสืบคน้ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี จากสถานการณ์ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 2019 (Coronavirus Disease 2019; COVID- 19) ตั้งแต่ปลายเดือนธันวาคม 2562 เป็นสิ่งสำคัญที่เป็นตัวชักนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและการนำการเรียนการสอน แบบออนไลน์มาใช้ได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากยังอยู่ในช่วงเวลาของการเรียนการสอนของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ทำให้เกิดผลกระทบอย่างมากต่อการเรียนของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี ซึ่งทางคณะ กรรมการบริหารหลักสูตรได้ตระหนกั เห็นถงึ ปัญหาและความสำคัญของการเรียนการสอน จึงได้วางแผนปรับวิธีการเรียน การสอนใหเ้ ปน็ แบบออนไลน์ รวมถึงการวดั และประเมินผลทเี่ หมาะสม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพฒั นารปู แบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ 2. เพ่อื สง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการเรยี นการสอนของนกั ศกึ ษาและอาจารย์ 3. เพอื่ ใหน้ กั ศกึ ษามีทกั ษะดา้ นการสอ่ื สารและการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพม่ิ ขนึ้ แนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดี (วิธีการ/กระบวนการ/แนวทางการดำเนนิ ตาม PDCA) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม ได้ดำเนินการ ดังนี้ 48 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 1. การวางแผน (Plan) กจิ กรรม ผูร้ ับผดิ ชอบ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร 1.1 สำรวจความพร้อมของนกั ศึกษาในการเรยี นแบบออนไลน์ รว่ มกบั คณะกรรมการกิจการ นกั ศึกษา 1.2 วางแผนรปู แบบการเรยี นการสอนแบบออนไลนใ์ นภาคทฤษฎี ภาคฤดรู อ้ น ปีการศึกษา คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร 2562 การประเมนิ ผลการเรียนการสอนแบบออนไลน์ สดั สว่ นการประเมนิ ผล และการ ประเมินผล (ภาพที่ 1, 2) ประธานสาขาวชิ าพยาบาลศาสตร์ / 1.3 นำแนวทางฯ การประเมนิ ผล และสดั สว่ นการประเมนิ ผลภาคฤดรู ้อน ปีการศึกษา 2562 รองคณบดีฝา่ ยวชิ าการ คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์ เสนอที่ประชุมคณะกรรมการบรหิ ารคณะ ประธานรายวิชาทฤษฎี 1.4 ประกาศแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎแี บบออนไลน์ ตารางสอนออนไลน์ และ ตารางสอบแบบออนไลน์ภาคฤดรู อ้ น ปกี ารศึกษา 2562 แก่คณาจารย์รบั ทราบ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร 1.5 ประชุมทมี อาจารยผ์ ูส้ อน และนำแนวทางฯ ไปจัดเตรียม มคอ 3 และปรับปรุงด้านกลยุทธ์ ประธานรายวชิ า หรืออาจารย์ การสอน โปรแกรมทใี่ ช้ การประเมนิ ผล สดั ส่วนการประเมนิ ผล และการตดิ ตามการเข้าเรยี นของ ผ้สู อน เจา้ หน้าท่ฝี ่ายสนบั สนุนดา้ น นกั ศกึ ษา วชิ าการ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร 1.6 จัดการประชมุ พิจารณา มคอ 3 โดยผู้ทรงคณุ วุฒิภายนอกคณะท่มี คี วามเชยี่ วชาญดา้ นการวดั เจ้าหนา้ ทีฝ่ ่ายสนบั สนนุ ด้านวิชาการ และการประเมินผล ใหข้ ้อเสนอแนะสำหรับรายวิชานำไปปรับปรงุ ให้เหมาะสม ทั้งด้านการวิธกี าร คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร สอน การวดั และการประเมินผล อาจารยป์ ระจำช้นั อาจารยผ์ สู้ อน 1.7 แจ้งกำหนดการการสอนแก่เจ้าหนา้ ทีฝ่ ่ายสนับสนนุ เพ่ือลงกำหนดการสอนในปฏิทินคณะทาง เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยสนับสนุนด้านวชิ าการ ไวปไซต์ (ภาพที่ 3) เพอ่ื ใหอ้ าจารยแ์ ละนกั ศกึ ษารบั รกู้ ำหนดการเรยี นการสอนในภาพรวมได้ อาจารยผ์ ้สู อน ประธานรายวิชา 1.8 จัดทำคู่มอื การเรยี นออนไลนส์ ำหรบั นกั ศกึ ษา (ภาพท่ี 4, 5) ประกอบดว้ ยขอ้ มลู รายวิชาและ คณะกรรมการบริหารหลกั สตู ร โปรแกรมที่ใช้สอนและสอบ สิ่งท่ตี ้องเตรยี มสำหรบั การเรียนออนไลน์ ช่องทางการส่อื สาร รวมถึง คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร ช่ือและเบอรโ์ ทรศพั ท์ผ้ปู ระสานงาน กรณีมปี ญั หาใน การเรยี น 1.9 ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลเกย่ี วกบั การเรยี นการสอนผ่านชอ่ งทางตา่ งๆ เช่น เวปไซดค์ ณะพยาบาล ศาสตร์ Facebook ของคณะ กลมุ่ line อาจารยป์ ระจำชน้ั และนักศกึ ษา เปน็ ตน้ 1.10 กรณมี ีปัญหาระหวา่ งการเรียนการสอน ใหป้ ระสานงานมาทผี่ ู้รบั ผดิ ชอบทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ตามลำดบั เช่น นกั ศกึ ษามีปญั หาในการเข้าเรียน ใหแ้ จ้งอาจารย์ผสู้ อน หลังจากนนั้ อาจารยผ์ สู้ อน แจง้ ประธานรายวชิ า ตามลำดบั เป็นต้น หากเป็นปัญหาทตี่ อ้ งแกไ้ ขระดับคณะ ให้ประธานรายวิชา แจง้ มายังคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรเพ่ือประชุมแก้ไขตอ่ ไป 1.11 จัดอบรมเกยี่ วกบั การใช้โปรแกรมการเรียนการสอนแบบออนไลน์ให้แกอ่ าจารยแ์ ละ นกั ศกึ ษา เพอ่ื ให้มีความพร้อมในการเรยี นได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ พยาบาลกบั การวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพื่อวิถีชวี ติ ใหม่ในยุค Disruptive Technology | 49
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ภาพท่ี 1 แนวทางการจดั การเรียนการสอนภาคทฤษฎี แบบออนไลน์ ภาคฤดูร้อน ปกี ารศึกษา 2562 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม 50 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชุมวชิ าการระดับชาติ ครัง้ ท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 หมายเหตุ - LMS คือ Learning Management System เป็น Open Source Software ที่พัฒนาขน้ึ เพ่ือ ช่วยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระบบการเรียนแบบออนไลน์ ให้มบี รรยากาศเสมือนห้องเรยี นจรงิ ท่ีผ้สู อนและผเู้ รยี น สามารถมีปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งกันได้ - ชว่ งเวลาทีก่ ำหนดในแนวทาง เปน็ ชว่ งเวลาทส่ี อดคล้องกบั ปฏิทินการเปดิ เรยี นภาคฤดรู ้อน ปี การศกึ ษา 2562 ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม - การตดิ ตามการเขา้ เรียนคร้งั ท่ี 1 ยกเวน้ วชิ าบรหิ ารการพยาบาลและบริหารองคก์ รสุขภาพ และ วชิ าการรักษาโรคเบื้องตน้ เน่อื งจากนกั ศึกษาพยาบาลชั้นปที ี่ 3 เปิดเรียนภาคฤดรู อ้ นวันท่ี 1 พฤษภาคม 2563 ภาพท่ี 2 สัดสว่ นการประเมินผลการเรยี นการสอนภาคทฤษฎี แบบออนไลน์ ภาคฤดูร้อน ปกี ารศกึ ษา 2562 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม ภาพท่ี 3 ตารางเรียนออนไลน์ ภาคฤดูร้อน ปกี ารศกึ ษา 2562 ประชาสมั พันธ์ผ่านทางเว็ปไซดค์ ณะ พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพ่ือวิถชี วี ติ ใหม่ในยุค Disruptive Technology | 51
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม ภาพท่ี 4 คูม่ อื การเรยี นออนไลนส์ ำหรบั นักศกึ ษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม ภาพที่ 5 ตวั อยา่ งรายวิชาและโปรแกรมท่ใี ชใ้ นการสอน ภาคฤดรู อ้ น ปีการศกึ ษา 2562 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม 2. การนำแนวทางการจัดการเรยี นการสอนภาคทฤษฎี แบบออนไลน์ ไปใช้ (Do) ดังนี้ กิจกรรม ผู้รบั ผดิ ชอบ 2.1 เมือ่ เปิดภาคเรยี น ชี้แจงรูปแบบการเรียนการสอน โปรแกรมท่ีใชใ้ น การสอนและสอบ การประเมินผล รวมถึงตารางสอนและตารางสอบ ประธานรายวิชา 2.2 การดำเนินการสอน อาจารย์ผสู้ อน อาจารยผ์ ู้สอน นักศึกษา 52 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชมุ วชิ าการระดับชาติ คร้งั ท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 กจิ กรรม ผูร้ บั ผดิ ชอบ 2.2.1 ตรวจสอบการเข้าเรียนแบบออนไลน์ของนักศึกษาด้วยวิธี ตา่ งๆ เชน่ ดูรายช่อื ที่ปรากฏในโปรแกรมทใ่ี ช้ การถ่ายรปู เม่ือเร่มิ เข้าเรียน การเรียกช่ือ การเล่นเกมส์ การทำ quiz เปน็ ต้น 2.2.2 ดำเนินการสอนตามแผนการสอนแบบออนไลนต์ ามตารางสอน อาจารยผ์ ู้สอน ซึ่งบางรายวิชาอาจมบี างหวั ขอ้ ท่ีจำเปน็ ต้องสอนนอกตาราง เน่อื งจากเกิด นักศึกษา ปัญหาติดขัดดา้ นเทคนิคสัญญาณเช่ือมต่อ หรืออื่นๆ โดยที่อาจารยผ์ ้สู อน ทำการนัดหมายนอกเวลากับนักศึกษาในช่วงเวลาที่ไม่ซ้ำซ้อนจากวิชาอืน่ (ดูไดจ้ ากตารางสอนภาพรวมในปฏทิ นิ คณะดังท่ีไดก้ ล่าวมาแลว้ และแสดง ในภาพที่ 3) 2.2.3 กระตุ้นการมีส่วนร่วมในการเรียน เช่น การถามคำถาม การ อาจารยผ์ ู้สอน ยกตัวอย่างสถานการณ์แล้วให้แสดงความคิดเห็นอภิปรายและคิด นักศกึ ษา วเิ คราะห์ การมอบหมายงานใหท้ ำเปน็ กลุ่ม เปน็ ต้น 2.2.4 สรุปประเดน็ ทเ่ี รียนทั้งหมด และนัดหมายการเรียนครั้งตอ่ ไป อาจารยผ์ สู้ อน 2.3 การมอบหมายงาน 2.3.1 มอบหมายงานตามข้อกำหนดของรายวิชาใหแ้ ก่นักศึกษา ท้งั อาจารย์ผู้สอน รายบคุ คล และรายกลุ่ม โดยให้นักศกึ ษาสามารถปรึกษาอาจารย์ประจำ นักศึกษา กลุ่มได้ตามช่องทางตา่ งๆ สำหรับงานกลมุ่ นนั้ นักศึกษามีวิธีการทำงาน รว่ มกันในหลายช่องทาง เช่น ใช้โปรแกรม line, zoom ท้ังแบบขอ้ ความ และการโทรแบบกลุ่ม เป็นต้น 2.3.2 ใหค้ ำปรกึ ษาแกน่ ักศกึ ษาในการทำงานกลมุ่ แบบออนไลน์ อาจารย์ผสู้ อน 2.3.3 นำเสนองานรายบุคคล หรอื รายกลมุ่ แบบออนไลน์ อาจารย์ผ้สู อน นักศึกษา 2.3.4 ประเมินการทำงานรว่ มกนั ของนกั ศึกษา อาจารยผ์ ู้สอน นกั ศกึ ษา 2.4 จัดสอบแบบออนไลนต์ ามแนวทางฯ ทงั้ ปรนยั อตั นัย และปากเปลา่ อาจารยผ์ ้สู อน (oral test) รว่ มกับการแสดงวิธีทำ เช่น กลไกการคลอด ในวชิ าการ นักศกึ ษา พยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ การตรวจรา่ งกาย ในวิชา กระบวนการพยาบาล เปน็ ต้น 2.5 ตดิ ตามการเข้าเรยี นของนกั ศึกษาทุกครั้งของการสอน ประธานรายวิชา อาจารย์ผู้สอน 3. การตรวจสอบการนำแนวทางฯ ไปใช้ (Check) กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ 3.1 กำกบั ติดตามการจัดการเรยี นการสอนและการสอบของรายวชิ า ให้ ประธานสาขาวิชา / ตรงกบั ตารางสอนและตารางสอบตามท่ีได้ประกาศ รองคณบดฝี า่ ยวชิ าการ พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพอ่ื วถิ ีชวี ิตใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 53
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 กจิ กรรม ผู้รบั ผดิ ชอบ ประธานสาขาวิชา / 3.2 ติดตามประเมินผลการเรียนการสอนแบบออนไลน์ของนักศึกษา และ รองคณบดฝี า่ ยวิชาการ อาจารย์ พบว่ามปี ระเด็นปัญหาทคี่ วรแก้ไขระหวา่ งการจดั การเรียนการ คณะกรรมการบริหาร สอน เชน่ จำนวนงานที่มอบหมายมมี ากเกินไป การสอนบางหวั ขอ้ ใช้ หลกั สูตร เวลานาน มีการสอนท่ีไม่ตรงกบั ตารางสอนทีก่ ำหนด เปน็ ต้น และแจ้งผล การประเมินการเรียนการสอนฯ แกป่ ระธานรายวิชาและอาจารยผ์ ้สู อน ประธานรายวิชา เพื่อให้มีการปรบั เปลย่ี นวธิ กี ารสอนท่เี หมาะสมกบั การเรยี นแบบออนไลน์ ประธานสาขาวชิ า / รองคณบดีฝ่ายวิชาการ 3.3 ทวนสอบผลสมั ฤทธ์ทิ างการศกึ ษา และ มคอ 5 และพจิ ารณารว่ มกับผทู้ รงคุณวฒุ ภิ ายนอก คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ตัวอยา่ งผลการประเมินผลการเรยี นการสอนแบบออนไลนข์ องนักศกึ ษา และอาจารย์ ภาคฤดรู ้อน ปีการศึกษา 2562 (สำรวจโดยใช้ goggle form) ตวั อยา่ งผลการประเมินจากนักศกึ ษา ช้นั ปีท่ี 1, 2 และ 3 1. โปรแกรมทีใ่ ช้สอนออนไลน์ พบว่า 3 อนั ดบั แรก ได้แก่ อนั ดับ 1 Zoom (ร้อยละ 97.4) อนั ดบั 2 WebEx (ร้อยละ 93.6) อนั ดบั 3 LMS (ร้อยละ 84) สำหรบั โปรแกรมอื่น ๆ เช่น Line, Microsoft team, Facebook live, YouTube, Team link, Google classroom ภาพท่ี 6 แสดงโปรแกรมที่ใชส้ อนออนไลน์ (ทน่ี กั ศกึ ษาไดเ้ รยี นออนไลน์) 2. ความเหมาะสมของการมอบหมายงาน พบว่า ไม่เหมาะสมเนื่องจากงานมจี ำนวนมากเกินไป (รอ้ ยละ 66.2) เหมาะสมแล้ว (รอ้ ยละ 35.7) และไม่เหมาะสมเนอื่ งจากงานน้อยเกินไป (ร้อยละ 0.6) 3. การเขา้ ถึง internet ในการเรียน พบว่าใช้สญั ญาณเครือขา่ ยโทรศัพท์ (รอ้ ยละ 68.8) สัญญาณ Wi-Fi ของ ตนเอง (ร้อยละ 66.2) และสัญญาณ Wi-Fi จากสถานท่สี าธารณะ เช่น ใช้ Wi-Fi ของเพื่อนบ้าน เปน็ ต้น (ร้อยละ 6.4) 4. ผลกระทบจากการเรยี นออนไลน์ พบวา่ มคี วามวติ กกงั วลเพิม่ ขนึ้ (รอ้ ยละ 72.8) มีความเครียด เพม่ิ ขึ้น (รอ้ ยละ 64.6) และคา่ ใชจ้ า่ ยในการใช้ internet เพ่มิ ขน้ึ (ร้อยละ 57) ตัวอยา่ งผลการประเมินจากอาจารย์ 1. โปรแกรมที่ใชส้ อนออนไลน์ พบว่า 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับ 1 LMS (ร้อยละ 77.3) Zoom (รอ้ ยละ 77.3) อันดบั 2 Line (ร้อยละ 72.7) และอนั ดบั 3 อนื่ ๆ (รอ้ ยละ 27.3) เช่น OBS, Facebook live, Prezi, Meet, Google classroom 54 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชมุ วชิ าการระดับชาติ ครงั้ ท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ภาพท่ี 8 แสดงโปรแกรมท่ีอาจารย์ใชส้ อนออนไลน์ 2. การสอนแบบออนไลน์ สามารถประเมินผลการเรียนรูไ้ ดต้ าม TQF หรอื ไม่ พบวา่ สามารถ ประเมนิ ผลได้ตาม TQF รอ้ ยละ 77.3 และอีกร้อยละ 27.3 ไม่แน่ใจว่าจะประเมนิ ผลได้ โดย TQF ที่ สามารถประเมินผลได้มากทสี่ ุด คือ TQF 5 การใช้เทคโนโลยฯี (ร้อยละ 95.5) รองลงมา TQF 2 ความรู้ (รอ้ ยละ 90.9) และ TQF 3 ทักษะปัญญา (ร้อยละ 81.8) ภาพท่ี 9 แสดง TQF ทส่ี ามารถประเมินไดใ้ นการเรยี นออนไลน์ นอกจากนี้ จากการทวนสอบผลสมั ฤทธิ์การเรียนรู้ และ มคอ 5 ภาคฤดรู อ้ น ปีการศึกษา 2562 พบว่า TQF 2 ด้านความรู้ของนักศึกษาเพิ่มสูงขึ้นทกุ วชิ าและมกี ารกระจายคะแนนและเกรดผิดปกติ คือ ผลการเรียนอยใู่ นระดบั A และ B+ เป็นจำนวนมาก 4. การพฒั นาปรับปรงุ แนวทางฯ (Act) จากการติดตามตรวจสอบการนำแนวทางฯ ไปใช้รวมถึงประเมินผลการเรียนการสอนแบบออนไลน์ คณะกรรมการบริหารหลักสตู รจึงนำขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าวิเคราะหร์ ว่ มกันและปรบั ปรงุ แผนการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (ภาพ ที่ 10) ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางของมหาวิทยาลัยที่ได้จัดทำสำหรับการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563 และปรับปรุงการประเมินผลการเรียน หลังจากนั้นนำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารคณะ และจัดทำเป็นประกาศ ตามลำดับ พยาบาลกบั การวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพอื่ วิถชี วี ิตใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 55
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 ภาพท่ี 10 แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาคทฤษฎี แบบออนไลน์ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม 56 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชุมวชิ าการระดับชาติ ครัง้ ท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 จากภาพที่ 10 คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร ไดม้ ีมตริ ว่ มกันในการพัฒนาแนวทาง ฯ โดยการกำหนดให้มีการ มอบหมายงานอยา่ งเหมาะสม และระยะเวลาท่ใี ช้ในการสอนลดลง เพื่อลดระยะเวลาของการใชอ้ ินเตอรเ์ นต็ ของนักศกึ ษาทำ ใหม้ ีค่าใชจ้ ่ายลดลง นอกจากนย้ี งั ช่วยลดความไมส่ นใจจากการใชเ้ วลาในการเรยี นนาน โดยแบ่งเป็นช่วงของการสอน ดังนี้ 1) ช่วงตรวจสอบการเข้าเรียนแบบออนไลนข์ องนักศกึ ษาดว้ ยวิธตี ่าง ๆ โดยใชร้ ะยะเวลาประมาณ 15-20 นาที 2) สอนออนไลนโ์ ดยใชก้ ลยุทธ์ต่าง ๆ ทไี่ ม่ใช่การบรรยายอยา่ งเดยี ว โดยใชร้ ะยะเวลาประมาณ 1 ชว่ั โมง 3) กระตุน้ การมสี ว่ นร่วมในชั้นเรียน เชน่ ถามคำถาม ทำกิจกรรมกลมุ่ อภิปราย แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น เป็น ตน้ ใช้เวลาประมาณ 30 นาที 4) สรุปประเด็น/ความรู้ ใชเ้ วลาประมาณ 30 นาที และนัดหมายการเรยี นครงั้ ตอ่ ไป สำหรับผลการประเมินจากอาจารย์ในด้านของการประเมินผลการเรียนตาม TQF ประเมินได้ยาก คือ TQF 1 คณุ ธรรมจริยธรรม และจากผลจากการทวนสอบผลสมั ฤทธ์กิ ารเรียนรู้ ภาคฤดูรอ้ น ปีการศกึ ษา 2562 พบวา่ TQF 2 ด้าน ความรู้ของนักศึกษาเพิ่มสงู ขึ้นทุกวิชาและมีการกระจายคะแนนและเกรดผิดปกติ ดังนั้นคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร จึงไดห้ ารอื และมีมตริ ว่ มกันในการปรับเปลย่ี นสัดสว่ นของการประเมินผล โดยดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม ไมน่ ำมาคิดคะแนน เนื่องจากเป็นสิ่งที่นักศึกษาพึงมีและปฏิบัติตามกฎระเบียบของคณะฯและมหาวิทยาลัย ในขณะที่ปรับลดสัดส่วน ประเมนิ ผลของ TQF 2 ดา้ นความรู้ จากรอ้ ยละ 70 เปน็ ร้อยละ 60 เนือ่ งจากผลคะแนนสอบทน่ี ักศึกษาทำได้สูง อาจเกิด จากหลายปัจจัยที่ไม่ใช่เกิดจากความรู้จริง ๆ ของนักศึกษา เช่น การเปิดหนังสือขณะสอบออนไลน์ การหาคำตอบจาก อินเตอร์เน็ตขณะสอบ เป็นต้น แต่เพิ่มสัดส่วนการประเมนิ ผลใน TQF 3 ทักษะการคิดวิเคราะหจ์ ากรอ้ ยละ 10 เป็นร้อย ละ 20 เน่ืองจากการสอนแบบออนไลนส์ ามารถกระตุน้ ให้นกั ศึกษาแสดงความคดิ เหน็ การคดิ วิเคราะห์ได้เปน็ อยา่ งดี ภาพท่ี 11 สดั สว่ นการประเมนิ ผลการเรยี นการสอนภาคทฤษฎี แบบออนไลน์ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพื่อวิถชี วี ิตใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 57
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 • แนวทำงกำรเรียน Plan • ปฏบิ ัติตำมแนวทำง กำรสอนฯ ฯ • สัดสว่ นกำร Do ประเมนิ ผล • ประกำศเป็น แนวทำง • ปรบั แนวทำงฯ Act Check • ปรับสว่ นกำร • กำกับตดิ ตำม ประเมินผล • ประเมนิ ผล ภาพท่ี 12 การใช้ PDCA กับการพฒั นาแนวทางการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม 5. ผลกระทบที่เปน็ ประโยชน์หรอื สรา้ งคณุ ค่า a. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม มรี ูปแบบการเรยี นการสอนภาคทฤษฎีแบบออนไลน์ ที่สอดคลอ้ งกบั ทิศทางการศึกษาของประเทศไทยในปจั จบุ นั b. อาจารยม์ ีการปรับเปลยี่ นรปู แบบการสอนจากแบบบรรยายเพียงอยา่ ง เป็นการสอนแบบออนไลน์ทีม่ ี กจิ กรรมการสอนท่ีหลายหลาย c. นักศกึ ษามีทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทท่ี ันสมยั มากขน้ึ 6. ปัจจัยแหง่ ความสำเรจ็ a. ผูน้ ำมีวิสยั ทัศนท์ ก่ี ว้างไกล และเปน็ ผ้นู ำท่ีตน่ื ตวั กับการเปลีย่ นแปลง b. คณะฯ มีระบบและกลไก รวมถงึ การกำกบั ด้านการเรยี นการสอนที่ชัดเจน c. อาจารย์ใหค้ วามรว่ มมอื ตอ่ การนำแนวทางฯ ไปใช้ และประเมินผลเปน็ ระยะ d. มหาวทิ ยาลยั เหน็ ถงึ ความสำคัญและใหก้ ารสนับสนนุ ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ 7. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข a. สญั ญาณเครือขา่ ยไม่เสถยี ร ควรแกไ้ ขโดยมหาวทิ ยาลยั จัดหาและสนบั สนนุ อปุ กรณท์ ่ีชว่ ยเพม่ิ ความเสถยี ร ของเครือข่ายอินเตอรเ์ น็ต b. โปรแกรมทใ่ี ช้สอนมเี วลาจำกัดในการสอนแตล่ ะครั้ง ควรแกไ้ ขโดยมหาวทิ ยาลยั ทำสญั ญาหรือซื้อลขิ สิทธิ์ โปรแกรมท่ีใช้สอน 8. แนวทางในการจดั การความรู้ (ถ้ามี) จดั เวทแี ลกเปล่ียนเรียนรรู้ ะหว่างคณะและสถาบนั เกย่ี วกับการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ 58 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 การเสริมสร้างสมรรถนะนกั ศึกษา ดา้ นการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะผ้สู งู อายุ ภายใตห้ ลักการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง อาจารย์ รัชนี ครองระวะ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั 1. ช่ือเร่ือง / แนวปฏบิ ตั ิ แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ดี า้ นการเรียนการสอน เร่อื ง การเสรมิ สร้างสมรรถนะนกั ศกึ ษา“ด้านการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะ ผ้สู ูงอายุ ภายใต้หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง” 2. ช่อื หน่วยงาน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ัช 3. คณะทำงาน ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการพิเศษ อาจารย์ รชั นี ครองระวะ ตำแหน่ง พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการพิเศษ อาจารย์ ภริ มย์ ลส้ี ุวรรณ์ ตำแหนง่ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ อาจารย์ ดร.ณรนิ ี แย้มสกลุ ตำแหน่ง พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ อาจารย์ จรสั พร หอมจนั ทร์ดี 4. บทสรุปโครงการ ในการดำเนินการงานโครงการเสริมสร้างสมรรถนะนักศึกษานักศกึ ษาด้านการสรา้ งเสริมสุขภาวะผสู้ งู อายุภายใต้ หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สง่ ผลกระทบท่เี ป็นประโยชนแ์ ละมคี ณุ คา่ ทั้งต่อผู้จดั โครงการและผ้เู ข้าร่วมโครงการ ดังนี้ ดา้ นผจู้ ดั โครงการ/วทิ ยาลัย - เป็นโอกาสท่ดี ขี องวิทยาลัย ทไ่ี ดท้ ำหนา้ ที่ในการชี้นำ สร้างเสริมชมุ ชนให้เขม้ แขง็ - สามารถบรู ณาการการเรียนการสอน และการวจิ ยั ผา่ นกจิ กรรม - การสร้างบรรยากาศของการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ และสมั พันธภาพทด่ี ี ระหวา่ งผสู้ งู อายุและนกั ศกึ ษา ดา้ นนกั ศึกษา - ได้ประโยชน์ในการนำความรู้ไปใช้ในการสรา้ งสขุ ภาพตนเองและคนใกลช้ ิด - พฒั นาการเรียน และสมรรนะในการ การดแู ลเอาใจใสผ่ ู้สูงอายแุ ละผูส้ ูงอายทุ ่ีบ้าน - พัฒนาทกั ษะทางสังคมการเข้าถงึ ผู้สงู อายุ กลา้ ท่ีจะพดู คุยกับผสู้ งู อายุ ดา้ นผสู้ ูงอาย/ุ ภาคีเครือข่าย มีประโยชน์กับผูส้ งู อายุ สนกุ สนาน ผ่อนคลาย - ได้แนวทางในการดูแลสขุ ภาพตนเอง มคี วามสุขทไ่ี ดม้ าทำกจิ กรรมกบั เดก็ ้ ๆ - ได้นำความรูม้ าสอนเด็ก - มีกจิ กรรมทดี่ ี ๆ ซ่งึ ผสู้ ูงอายุสามารถนำไปประกอบอาชีพเพือ่ สร้างรายได้ ไมเ่ ป็นภาระของลกู หลาน ไม่เหงา และไมน่ ้อยใจ 5. ท่ีมาและความสำคญั ของโครงการ จากการที่ประเทศไทยจะเข้าสสู่ ังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ในไม่กี่ปีข้างหน้า และมแี นวโนม้ ท่จี ะมีอายุมากกว่า 75 ปี ขึ้นไปเพิ่มมากขึ้น ซึ่งสะท้อนถึงความยืนยาวของชีวิตที่เพิ่มขึ้น คุณลักษณะของผู้สูงอายุและปัญหาต่าง ๆ ที่ผู้สูงอายุกำลัง ประสบ มีความแตกต่างกันไป เช่น ความแตกต่างของระดับการศึกษา ซึ่งผู้สูงอายุในอนาคตมีแนวโน้มที่จะมีการศึกษาที่ดีข้ึน แตอ่ ย่างไรกต็ ามปญั หาท่ีสำคัญของผู้สูงอายุประสบอยู่ คอื ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสุขภาพ เกอื บครง่ึ หน่ึงของผู้สูงอายุ มี รายได้ไม่พอเลี้ยงชีพ และ 2/3 มีสุขภาพอยู่ในระดับปานกลางถึงไม่ดี เช่น ปวดหลัง ปวดเอว ไขข้ออักเสบ ความดันโลหิตสูง พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพอื่ วิถีชวี ิตใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 59
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 โรคกระเพาะ โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคไขมันในเลือดสูง ภาวะเจ็บป่วยของผู้สูงอายเุ ป็นสาเหตุสำคญั ประการหนึง่ ทีท่ ำ ให้ผสู้ ูงอายุไมส่ ามารถหา เลยี้ งชีพตนเองได้ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช ตระหนักถึงแนวโน้มดังกล่าว จึงได้มีการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ด้านการ สร้างเสรมิ สขุ ภาวะผสู้ งู อายุ โดยคาดหวังใหเ้ ป็นแหลง่ เรยี นรู้ของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ ในการพฒั นาสมรรถนะด้าน การสร้างสุขภาพในกลมุ่ ผสู้ ูงวัย ท่สี อดคล้องตามแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี และนโยบายรฐั บาลปัจจบุ ันให้ความสำคัญกับ การพัฒนาคนรองรับสังคมผู้สูงอายุสมบูรณ์ การเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษา จึงเป็นกระบวนการที่สำคัญ เพื่อให้ ผู้สูงอายุมีศักยภาพในการดูแลตนเองเพิ่มมากขึ้น และเป็นผลให้มีสุขภาพท่ีดีขึ้น ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและสามารถเข้า รว่ มกิจกรรมทางสงั คม และช่วยเหลอื กจิ กรรมทางสงั คม โดยเฉพาะการดแู ลผสู้ ูงอายดุ ว้ ยกนั เองได้อย่างมคี ณุ ภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช ในสถาบันการศึกษาที่มีภารกิจในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทาง สขุ ภาพเห็นความสำคญั ของการจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาสมรรถนะของบณั ฑิตให้มสี มรรถนะสอดคล้องกับระบบสุขภาพท่ี เปลี่ยนแปลง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ เพื่อให้นักศึกษาพยาบาล มี ความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั การสร้างเสริมสุขภาวะผูส้ ูงอายุ ภายใต้แนวคดิ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยการบูรณา การเขา้ กบั การเรยี นการสอนและการบรกิ ารวชิ าการ 6. วตั ถปุ ระสงค์ 6.1 สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนวิชาการศึกษาทั่วไปเพื่อพัฒนามนุษย์และวิชาศิลปวิทยาการ เพื่อการ พัฒนามนุษย์ 6.2 ส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาด้านการสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ สอดรับกับนโยบายศูนย์ความ เปน็ เลศิ ทางวิชาการ “ศูนย์เรียนรกู้ ารสรา้ งเสริมสุขภาวะผสู้ ูงอายุ ภายใต้แนวคิดหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง” 6.3 เพ่ือสรา้ งความสมั พันธ์ระหวา่ งผู้สงู อายุ เครือข่ายการดำเนนิ งานดา้ นผ้สู งู อายุ กบั นกั ศึกษาพยาบาลศาสตร บัณฑติ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชนนี จักรรี ัช ในการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะผูส้ งู อายภายใต้การเรยี นรตู้ ามสภาพจริง 7. แนวปฏิบตั ิท่ดี ี (วิธีการ/กระบวนการ/แนวทางการดำเนนิ ตาม PDCA) Plan 1. สัมมนาการจัดการเยนการสอนและกำหนดบทเรยี นในการบูรณาการการเรียนการสอนกบั พันธกิจบริการ วิชาการแก่สงั คม ในรายวชิ า 2. กำหนดรูปแบบการดำเนนิ งาน 3. ประสานหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง และประชมุ ชแี้ จง Do 1. การแตง่ ตัง้ คณะทำงานทมี่ ีความร่วมมือจากองค์การปกครองสว่ นท้องถนิ่ สถานบริการสขุ ภาพระดับตำบล และวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช 2. ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร/แลกเปล่ียนเรียนรูก้ ารดำเนินงาน 3. ดำเนินงานพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาด้านการสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง” ภายใต้โครงการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ด้านการสร้างเสริมความรู้เท่าทันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุเพื่อใช้ในการจัดการ เรยี นการเรยี นการสอนและบรกิ ารวชิ าการเสริมสมรรถนะนักศกึ ษาหลักสตู รพยาบาลศาสตรบัณฑติ และบคุ ลากรสาธารณสุข - ศกึ ษาดูงานเศรษฐกจิ พอเพียง และการสร้างเสริมสขุ ภาวะผูส้ งู อายุในชุมชน - กิจกรรมแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ดา้ นการสร้างเสริมสุขภาวะผสู้ ูงอายุ - รว่ มจัดกจิ กรรมกบั ภาคีเครือข่ายดา้ นการสร้างเสรมิ สุขภาวะผสู้ งู อายุ - การจดั ทำโครงงาน สร้างเสรมิ สขุ ภาวผสู้ งู อายุ Check 1. AAR ภายหลังการจดั กิจกรรม 2. ประเมินผลความสำเรจ็ ของโครงการ 3. ประชุมถอดบทเรยี นการเรยี นรขู้ องนกั ศึกษา ผสู้ ูงอายุ ภาคเี ครือข่าย และผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ โดยใช้ เทคนิคตะกรา้ 3 ใบ 60 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 Act นำผลการประเมนิ มาสู่การปรบั ปรงุ พัฒนารูปแบบโครงการ/กิจกรรม เช่น การเตรยี มความพร้อมของนักศึกษา ก่อนทำกิจกรรม การช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาในระหว่างดำเนินกิจกรรม เพื่อให้นักศึกษาสามารถดำเนินกิจกรรมได้ อย่างมน่ั ใจมากขึ้น และเกดิ การเรียนรูใ้ นระหวา่ งกจิ กรรม ประชุมวางแผนแบบมสี ่วนร่วม >>>ศกึ ษาดงู านเศรษฐกจิ พอเพยี ง>>>แลกเปลี่ยนกับผูส้ งู อายุ >>>>> จดั กิจกรรมส่งเสรมิ สขุ ภาพ >>>ถอดบทเรยี น วธิ ีการ/กระบวนการ บูรณาการการเรียนการ ประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการ กจิ กรรมที่ 1 สอนกับบรกิ ารวชิ าการใน รว่ มกับผู้เก่ยี วข้อง ศกึ ษาดงู าน มคอ.3 /แผนปฏิบัตกิ าร กจิ กรรมที่ 4 กจิ กรรมที่ 3 กจิ กรรมที่ 2 นักศกึ ษาจดั กจิ กรรม/ จัดกิจกรรมร่วมกับ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ โครงการเพอ่ื ใหบ้ รกิ าร เครอื ข่าย วิชาการ ประเมินผล ถอดบทเรียนด้วย แนวปฏบิ ัตทิ ดี่ ถี นะด้าน การจัดกิจกรรม เทคนิคตะกร้า 3 ใบ การสรา้ งเสริมสุขภาวะ ผู้สงู อายุ 8. ผลกระทบท่เี ป็นประโยชนห์ รอื สรา้ งคุณค่า 8.1 Teach less learn more: นักศึกษาฯ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุจากผู้สูงอายุ และภาคเี ครอื ขา่ ยตามสภาพจริง และเกิดความรู้จากการปฏบิ ตั ิและรูส้ ึกดีในการสัมภาษณ์ พดู คยุ กับผสู้ งู อายุ (จากที่เคยกลัว และไม่กลา้ เข้าหาผูส้ ูงอายุ) ทำให้นักศกึ ษาเข้าใจและสามารถนำไปใชไ้ ด้มากกว่าการเรียนทฤษฎีในชั้นเรียนอยา่ งเดยี ว ส่งผล ให้นักศกึ ษาเกิดสมรรถนะที่สำคญั ในการสรา้ งเสรมิ สุขภาวะผ้สู ูงอายุ ไดแ้ ก่ สมรรนถะดา้ นการส่ือสาร การสร้างสัมพันธภาพ การคดิ และการทำงานอย่างเป็นระบบ ข้นั ตอน การทำงานเป็นทมี การลงมือปฏิบัติสร้างเสริมสขุ ภาวะผู้สงู อายุ พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพอ่ื วิถีชวี ติ ใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 61
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 8.2 ความพงึ พอใจตอ่ กิจกรรมของนกั ศกึ ษา คณาจารยแ์ ละผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม 8.3 นำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาต่าง ๆ เพื่อเสริมสมรรถนะด้านการสร้างเสริม สุขภาพแก่นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั 8.4 การสนบั สนนุ การใชช้ ุมชนเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการจดั และพัฒนาการเรยี นการสอน 9. ปัจจัยแหง่ ความสำเรจ็ การดำเนินโครงการสามารถดำเนนิ โครงการได้ตามระยะเวลาทกี่ ำหนด และบรรลตุ ามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด ของโครงการ โดยได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายการดำเนินงานด้านผู้สูงอายุของอำเภอบ้าน ซึ่งปัจจัยของ ความสำเร็จ ประกอบด้วย 9.1 นักศึกษามีความกระตือรือร้นในการจัดกิจกรรม มีการเตรียมความพร้อมของกิจกรรม และที ม ดำเนินงาน มีการแบง่ บทบาทหน้าที่ในการการจดั กิจกรรมและมอบหมายงานตามความถนัดของนกั ศกึ ษา 9.2 ผบู้ รหิ ารวทิ ยาลยั ให้การสนบั สนุน และเข้าร่วมกจิ กรรมกบั นกั ศึกษา 9.3 อาจารย์และบุคลากรของวิทยาลัยเขา้ ร่วมกิจกรรมกับนักศึกษาด้วยความเป็นกันเอง ทำให้นักศกึ ษาลด ความวติ กกังวล และมีความมน่ั ใจมากขนึ้ ในการจดั กิจกรรมสรา้ งเสริมสุขภาวะผูส้ ูงอายุ 9.4 ผูส้ งู อายุและภาคเี ครือข่าย ได้แก่ ผ้แู ทนจากองค์การปกครองสว่ นท้องถ่ิน ผแู้ ทนจากโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบล ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมของนักศึกษา และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักศึกษาด้วยความเป็น กลั ยาณมติ ร ทำใหน้ ักศึกษามคี วามมน่ั ใจ เขา้ ใจบทบาทและสมรรถนะทจี่ ำเปน็ ดา้ นการสรา้ งเสริมสขุ ภาวะผู้สงู อายเุ พ่ิมข้ึน 10. ปญั หาอปุ สรรคและแนวทางการแกไ้ ข ระยะเวลาในการการดำเนินกจิ กรรมค่อนขา้ งจำกัด เน่อื งจากนักศึกษามีเวลาน้อยและต้องเรียนในหลายวิชาพร้อม ๆ กัน แนวทางการแกไ้ ข 10.1 การปรับปรงุ กระบวนการเรยี นรเู้ พื่อเสรมิ สร้างสมรรถนะนกั ศึกษาท่ตี ่อเนือ่ งในแตล่ ะชั้นปีและมีหลาย หลายวิชาพร้อม ๆ กัน 10.2 ปรับปรงุ รปู แบบกิจกรรมทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเขา้ รว่ มกจิ กรรมของนกั ศกึ ษา 11. แนวทางในการจัดการความรู้ (ถ้าม)ี การจดั การความรู้ เร่ือง สมรรถนะนักศึกษาด้านการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะผสู้ ูงอายภุ ายใต้แนวคดิ หลกั ปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพียง หลักพอประมาณ หลกั มเี หตผุ ล หลกั สร้างภูมคิ มุ้ กันทด่ี ใี นตัว 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจเร่ืองการ 1. รู้ และเข้าใจสทิ ธแิ ละหนา้ ทเี่ พอ่ื นำ 1. จดั กิจกรรมการเรียนรูอ้ ยา่ งถูกต้อง สรา้ งเสริมสขุ ภาวะผสู้ งู อายุ ไปใช้ในการจัดการเรียนรูใ้ หเ้ หมาะสม สอดคลอ้ งกบั ตวั ช้วี ัด สามารถถา่ ยทอดไดอ้ ย่างดี กบั ผู้เรยี น 2. จัดกิจกรรมใหเ้ หมาะสมกบั 2. ร้อู ยา่ งถกู ต้องในการเลือกใช้บรกิ าร 2. เตรยี มความพร้อมในการจดั การ ศักยภาพและวฒุ ิภาวะของผเู้ รยี น สขุ ภาพทห่ี ลากหลายเพื่อเปน็ ข้อมลู ท่ี เรียนรสู้ ผู่ ู้เรยี นใหเ้ หมาะสมกบั เหมาะสมตอ่ ผ้เู รียน สถานการณป์ ัจจบุ ัน 3. จัดส่ือ/อปุ กรณ/์ แหล่งเรยี นรู้ท่ี 3. วเิ คราะห์เพือ่ เลอื กบริการเพ่ือ 3. สอนไดต้ รงตามตวั ช้ีวดั และมี นำมาใชใ้ นการจัดการเรียนร้ใู ห้ สขุ ภาพทีต่ อ้ งการตามหลักสิทธิ แนวทางในการแก้ปญั หาท่อี าจเกดิ จาก หลากหลายและเพยี งพอกบั ผเู้ รยี น ผบู้ รโิ ภค การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมให้บรรลตุ าม 4. เลอื กใชบ้ รกิ ารสุขภาพทสี่ อดคล้อง ตวั ชว้ี ัด กบั ความตอ้ งการ ความรู้ 1. รูใ้ นเรือ่ งบรกิ ารและ/หรอื สินค้าจากส่ือโฆษณาเพ่ือสขุ ภาพทีห่ ลากหลาย 62 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 หลักพอประมาณ หลักมีเหตุผล หลกั สรา้ งภมู คิ มุ้ กันทดี่ ใี นตัว 2. รอบร้ใู นการวางแผนการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ บูรณาการหลกั คิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้ เหมาะสมกับศักยภาพของผเู้ รยี น 3. ใชส้ อื่ การเรยี นรแู้ ละการวดั ประเมนิ ผลท่หี ลากหลาย คุณธรรม ปฏบิ ตั ิตนอยูใ่ นความไม่ประมาท แนวคดิ ในการพฒั นาตนเองและสงั คม 1) สร้างความศรัทธาและความเชื่อมั่นในแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง การลงมือปฏิบัติตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงดว้ ยความมุ่งมั่นและความตง้ั ใจจริง เพือ่ เปน็ ตวั อยา่ งแกป่ ระชาชนและสังคม 2) การมจิตสาธารณะ ยอมรับฟงั คำแนะนำและขอ้ เสนอแนะ และพรอ้ มทีจ่ ะปรบั ปรุงตนเอง 3) รู้และตระหนักในสิ่งจำเป็นที่ขาดแคลน ไม่วางเฉยหรือรอรับการช่วยเหลือ แต่จะพยายามค้นคว้าและ ทดลองดว้ ยตนเองกอ่ นเสมอๆ มคี วามเชอ่ื พ้ืนฐานวา่ ทุกอย่างทำได้หากต้ังใจจะทำ 4) เป็นคนอ่อนน้อมถอ่ มตน วางตวั เรยี บง่าย อยู่ร่วมกับชมุ ชนและเพื่อนบ้านไดท้ ุกสถานการณ์ 5) หลกี เลี่ยงการโตแ้ ยง้ ที่ไรเ้ หตผุ ล ยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อน่ื เสมอ พยาบาลกบั การวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพื่อวถิ ชี วี ิตใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 63
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 การพัฒนาการวจิ ยั และนวตั กรรมดา้ นสขุ ภาพตามศาสตร์พระราชา อาจารย์ ดร.วนั เพญ็ แวววีรคุปต์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม 1. ชอื่ เร่อื ง / แนวปฏบิ ตั ิ : การพัฒนาการวจิ ัยและนวตั กรรมด้านสขุ ภาพตามศาสตรพ์ ระราชา 2. ช่ือหนว่ ยงาน: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม 3. คณะทำงาน: อาจารย์ ดร.วันเพ็ญ แวววรี คุปต์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมสภุ าว์ จนั ทนะโสตถิ์ อาจารย์ ดวงพร ผาสุวรรณ อาจารย์ ภาศินี สุขสถาพรเลิศ อาจารย์ กมลภู ถนอมสตั ย์ 4. บทสรุปโครงการ: การจะทำใหเ้ อกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม “บูรณาการความรู้เพื่อพัฒนาท้องถิน่ ” โดดเดน่ ขึ้นมาได้นั้น การสรา้ งงานวจิ ัยและนวตั กรรมตอ้ งสามารถแก้ปัญหาชุมชนทอ้ งถ่นิ ได้ตอ่ เนอ่ื งอยา่ งแท้จรงิ กระบวนการหน่ึงซง่ึ เป็นตวั ขับเคลอื่ น ที่สำคัญควบคู่กับการพัฒนาบัณฑติ นักปฏิบัติ นั่นคือ การพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรมด้านสุขภาพตามศาสตร์พระราชา โดย การพัฒนานักวิจัยและนวัตกรให้มีความเข้าใจและมุ่งมั่นสู่เป้าหมายเดียวกัน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม ซึ่งมุ่งเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ จึงต้องมีระบบการส่งเสริมเพื่อพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรมด้านสุขภาพตาม ศาสตร์พระราชาให้สอดคล้องกับภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย และพัฒนาควบคู่กับชุมชนท้องถิ่น ด้วยการบูรณาการการ เรยี นการสอนร่วมกับการพัฒนาอาจารย์ให้เปน็ นกั วิจัยและนวัตกรอย่างต่อเนื่อง แนวทางการส่งเสรมิ การพัฒนาการวิจัยและ นวัตกรรมด้านสุขภาพตามศาสตร์พระราชา เป็นการประยุกต์ใช้กระบวนการ PDCA ในการวางแผนการดำเนินงาน ลงมือ ปฏิบัติ ตรวจสอบและแก้ไขจุดอ่อนเพื่อเตรียมความพรอ้ มในการจัดกิจกรรมรอบต่อ ๆ ไป กระบวนการเหลา่ น้ีก่อให้เกิดการ ส่งเสริมการพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ส่งผลให้เกิดการพัฒนาองค์กรแบบองค์รวม นำไปสู่การ บรรลุเปา้ หมายอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล 5. ทมี่ าและความสำคัญของโครงการ: การได้รับการจัดสรรเงินทุนเพื่อสนับสนุนให้เกิดการผลิตงานวิจัย งานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมจากภายใน สถาบันและที่ได้รับจากภายนอกสถาบัน ในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา คณะพยาบาลศาสตรไ์ ด้รับเงินทุนสนับสนันการทำวิจัยทัง้ จากภายในสถาบันและภายนอกสถาบันมากกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง กล่าวคือ ได้รับเงินทุนสนับสนุนการวิจัย จำนวน 60,140; 58,125; 202,810 และ 54,683 บาทต่อคนตอ่ ปี ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2559-2562 ตามลำดบั อย่างไรก็ตามมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมเป็นมหาวิทยาลัยท้องถิ่นและมีเอกลักษณ์ที่สำคัญคือ “บูรณาการ ความรูเ้ พอ่ื พฒั นาท้องถิ่น” ท่เี ปน็ ภารกจิ ตอ้ งกระทำอย่างตอ่ เนือ่ ง แต่จากการตรวจรบั รองคณุ ภาพการศึกษาในรอบ 4 ปี ที่ผ่านมา (ปี พ.ศ. 2559-2561) พบว่า จำนวนหัวข้องานวิจัยและบทความวิจัยหรือวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและ ศาสตรพ์ ระราชาของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐมท่ปี รากฏในฐานข้อมลู TCI ทัง้ กลมุ่ ท่ี 1 และ 2 มี จำนวนนอ้ ยมาก เมื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาและอุปสรรค พบว่าปัญหาการสร้างงานวิจัยไม่แตกตา่ งจากคณะพยาบาลศาสตร์อนื่ กลา่ วคือ คณาจารยใ์ ชเ้ วลาสว่ นใหญใ่ นการสอนภาคปฏบิ ัติท้ังในโรงพยาบาลและชมุ ชน การตรวจแผนการพยาบาลและ แผนการสอนสขุ ศึกษา การเตรียมตวั สอนภาคทฤษฎี ออกข้อสอบทง้ั ข้อสอบปกติและข้อสอบพฒั นาความรู้ เวลาส่วนใหญ่ 64 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 จงึ ถูกใช้เพือ่ การสอน ทำให้การคิดพัฒนาการวิจยั เพอื่ คน้ หาความรใู้ หมม่ ขี อ้ จำกดั งานวิจัยทผ่ี ่านมาจึงเป็นงานวิจยั พ้ืนฐาน ขาดการบูรณาการหรอื นำมาใช้พัฒนาสุขภาพของประชาชนในทอ้ งถิน่ อยา่ งต่อเน่ือง ท่ามกลางปัญหาอปุ สรรคข้างตน้ ความรว่ มมือทางวิชาการกับชมุ ชนท้องถน่ิ ยังมอี ยา่ งต่อเน่อื ง ตั้งเรม่ิ กอ่ ตั้งคณะ มกี ารสง่ นกั ศกึ ษาออกฝกึ ปฏิบตั ิงานในชุมชนท้องถ่ินอันเปน็ เขตความรับผิดชอบในการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ทำให้เกิด ความร่วมมือและเห็นแนวทางในการบูรณาการการพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมสุขภาพตามสภาพปัญหาที่พบอย่าง แทจ้ รงิ ในการพัฒนาแนวปฏิบตั ิที่ดี เรื่องการพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรมดา้ นสุขภาพตามศาสตร์พระราชา ครั้งนี้ เกิด จากการสั่งสมประสบการณ์จากการดำเนินงานโครงการวิจัย การเข้าร่วมนำเสนอผลงานวิจัยในเวทีวิชาการ รวมทั้งความ ตั้งใจจริงของคณะกรรมการวิจัยและจัดการความรู้ที่เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนางานวิจัย/นวัตกรรมให้สามารถตอบ โจทย์ปัญหาของท้องถิ่นและเพ่ิมจำนวนมากขนึ้ จึงเกิดเปน็ รปู แบบการพัฒนาตามกระบวนการ PDCA ที่สรา้ งแรงจูงใจและ ให้แนวคิด (motivation) การชื่นชมซึ่งกันและกัน (appreciation) การสร้างความร่วมมือกับชุมชน (collaboration) การบูรณาการ (integration) และการคดิ สร้างสรรค์ (creative thinking) ซ่งึ เรยี กรปู แบบนว้ี า่ MACIC Model 6. วัตถุประสงค์ : 6.1 เพื่อสง่ เสรมิ และผลกั ดันอาจารย์และนกั ศึกษาใหเ้ กิดการรวมกลุ่มและพัฒนาการวจิ ยั และนวตั กรรมดา้ น สขุ ภาพตามศาสตรพ์ ระราชา 6.2 เพือ่ สร้างกระบวนการพฒั นาการวิจัยและนวัตกรรมดา้ นสขุ ภาพตามศาสตรพ์ ระราชาของคณะพยาบาล ศาสตร์ 7. แนวปฏบิ ัติทดี่ :ี การพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรมด้านสุขภาพตาม “ศาสตร์พระราชา” เร่ิมจากการตั้งเป้าหมายการพัฒนาที่ ยึดถือ “ประชาชนเปน็ ศูนย์กลาง” นั่นคือ การยึดปัญหาของประชาชนท้องถิ่นเปน็ หลัก และโครงการวิจัยต้องสอดคล้อง กับปัญหาของประชาชนในท้องถิ่นและผลงานวิจัยมีผู้ใช้ประโยชน์ ส่งผลให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ มีภูมิคุ้มกัน และสามารถพึ่งพาตนเองได้ทั้งภายในครอบครัว หรือ ภายในชุมชนท้องถิ่น การการพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรมด้าน สุขภาพตาม “ศาสตร์พระราชา” ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 เป็นต้นมา ประกอบด้วยกระบวน PDCA ตามแนวคิดเดมิง (Deming) ทมี่ กี ารพฒั นามาอย่างตอ่ เนื่องทุกปี ซึ่งสรุปการจดั ทำแนวปฏบิ ัตติ ามกระบวนการ ดงั นี้ • การประชมุ • เขียนโครงร่าง และนาํ เสนอแนวคดิ กบั ชมุ ชนทอ้ งถิ่น PLAN DO • ปรบั ปรงุ โครงร่าง ACTION CHECK • ตรวจสอบการไดร้ ับทนุ • บรู ณาการกับงานอื่นทีม่ ี สนบั สนนุ เปา้ หมายเดยี วกัน • ตราวจสอบจดุ อ่อนกรณี ไมไ่ ดร้ ับทุน พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่อื วถิ ีชวี ิตใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 65
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 วิธกี ารและกระบวนการดำเนนิ งาน Plan – มกี ารประชมุ โดยแบง่ เปน็ : การประชมุ กลุม่ ยอ่ ย ตามความสนใจในโจทยป์ ญั หาการวิจัยของคณาจารยแ์ ละความ เช่ียวชาญของแต่ละกลมุ่ คน : การเขา้ รว่ มประชุมเพอื่ รบั ฟงั คำช้แี จงถงึ หลกั การพฒั นาโจทยว์ ิจัยใหส้ อดคลอ้ งกับ ยุทธศาสตร์ชาตแิ ละแหลง่ ทนุ ซงึ่ จดั โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม : การประชุมกลุม่ วชิ าท่ีจะบรู ณาการงานวิจยั ในการฝึกปฏบิ ัติงานในชมุ ชน : การประชุมกลมุ่ กรรมการท่ีขบั เคลอื่ นการบรู ณาการงานวจิ ยั รว่ มกบั การบรกิ ารวชิ าการแก่ ชุมชนทอั งถ่ิน Do – เขียนโครงรา่ งวจิ ัยตามกลมุ่ ประเด็นปญั หาทไ่ี ดม้ าจากการฝึกปฏบิ ตั งิ านประสบการณ์ ในการอยูใ่ นชุมชนและการทบทวนเอกสาร การนำเสนอแนวคิดและประเมนิ ความเปน็ ไปไดข้ องการทำวจิ ยั เพ่อื แก้ปัญหาในชมุ ชน ท้องถน่ิ และเปดิ รบั ฟังขอ้ เสนอแนะจากชุมชน เขียนโครงร่างวิจัยและส่งตวั แทนไปรว่ มโครงการพฒั นาโจทยว์ จิ ัยกับสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม เพอ่ื รบั ฟงั ขอ้ วิพากษแ์ ละขอ้ เสนอแนะจากผทู้ รงคณุ วุฒภิ ายนอก มหาวทิ ยาลยั และ สง่ ข้อเสนอโครงการขอสนับสนุนทุนวิจยั ตามประกาศของ วช. สสส. และ สกว. (เดมิ ) Check – ประเมินผลการไดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ จากแหล่งทนุ ทบทวนปัญหา อุปสรรค ของขอ้ เสนอโครงการทยี่ ่นื ขอสนับสนุนทุนวิจยั ไม่ทนั ตาม กำหนดเวลา และวเิ คราะห์จุดออ่ นของขอ้ เสนอโครงการวิจัยทไ่ี มไ่ ดร้ บั การสนับสนนุ ทนุ วิจัย Act – ปรับปรงุ โครงรา่ งวิจยั และสง่ ขอสนับสนนุ ทนุ วิจัยทัง้ จากมหาวทิ ยาลยั และองค์กรปกครองสว่ น ท้องถิ่นโดยการบรู ณาการกบั งานบริการวชิ าการ บูรณาการการเกบ็ ข้อมลู หรอื การปฏบิ ตั ิการวจิ ยั ร่วมกบั การฝกึ ปฏบิ ัตงิ านในชมุ ชน/การบริการ วชิ าการในชุมชน/กิจกรรมจิตอาสาพฒั นาท้องถิ่นของคณะพยาบาลศาสตร์ แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี MACIC Model จดุ เริม่ ตน้ ของการพัฒนา กระบวนการทด่ี ี ผลลพั ธท์ ดี่ ี ทด่ี ี งานวจิ ัยมคี ุณคา่ สามารถ การสรา้ งแรงจูงใจและให้แนวคดิ ตอบโจทยแ์ ละแก้ปัญหา (motivation) ชมุ ชนได้จรงิ ช่นื ชมซึ่งกันและกัน (appreciation) ความรว่ มมอื และการบูร ณาการอยา่ งต่อเน่ือง การสร้างความรว่ มมอื กบั ชมุ ชน ชมุ ชนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (collaboration ) การบรู ณาการ การคิดสร้างสรรค์ (integration) (creative thinking) 66 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชุมวิชาการระดบั ชาติ คร้ังท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 8. ผลกระทบท่ีเปน็ ประโยชนห์ รือสร้างคุณคา่ : 1. มีระบบและกลไกการพฒั นาการวจิ ยั และนวตั กรรมดา้ นสขุ ภาพตามศาสตรพ์ ระราชาท่ีมีประสทิ ธภิ าพ 2. มีระบบตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนนิ งานพัฒนาการวจิ ัยและนวตั กรรมด้านสุขภาพตาม ศาสตร์พระราชาอย่างต่อเน่อื ง 3. นำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์เพอ่ื ใหบ้ รรลุตามเป้าหมายที่กำหนด 4. คณาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษามีความกระตอื รอื รน้ ในการทำงานวจิ ยั และนวัตกรรมด้านสขุ ภาพ อยา่ งแพร่หลาย มี การสร้างเครอื ข่ายสร้างความเขม็ แข็งในงานวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาทอ้ งถน่ิ สามารถนำผลงานวจิ ัยและนวัตกรรมด้านสุขภาพไปใช้ ประโยชนไ์ ด้อย่างแท้จริง 9. ปจั จยั แหง่ ความสำเร็จ : 1. อาจารยม์ คี วามมุง่ ม่นั ต้ังใจ แมจ้ ะมเี วลาจำกดั 2. ผบู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลัยและคณะฯ มีวสิ ยั ทศั น์ทางด้านการส่งเสรมิ และพฒั นาผลงานทางวชิ าการหรอื งานวิจยั 3. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐมมีความเขม้ แข็ง ใหก้ ารสนับสนนุ คณาจารยใ์ นการ พัฒนาโจทยว์ จิ ัยอยา่ งตอ่ เนื่อง 4. กระบวนการสง่ เสรมิ และพัฒนาทำอย่างต่อเน่ือง 5. ชุมชนทอ้ งถ่นิ ให้ความร่วมมอื และยนิ ดที จ่ี ะพัฒนางานวจิ ัย/นวตั กรรมร่วมกบั คณะพยาบาลศาสตร์ 10. ปญั หาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข : 1. อาจารย์มขี อ้ จำกดั ด้านเวลา แนวทางแกไ้ ข คือ การใชเ้ ทคโนโลยเี ขา้ มาช่วย เช่น การประชุม ปรึกษาหาผ่านออนไลด์ โปรแกรม line application การส่งงานเพอื่ ขอรับการปรกึ ษาผา่ นอีเมลล์ เปน็ ต้น 11. แนวทางในการจดั การความรู้ (ถา้ มี) : 1. จัดเวทีแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และแสดงผลงานของอาจารย์และชมุ ชนท้องถ่นิ อยา่ งสมำ่ เสมอ 2. จัดระบบฐานข้อมูลในการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ัยของคณะฯ พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วถิ ีชวี ิตใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 67
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 การบรู ณาการงานบรกิ ารวชิ าการกบั การเรยี นการสอนในชมุ ชน อาจารยก์ มลภู ถนอมสตั ย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม 1. ช่ือเร่ือง / แนวปฏบิ ตั ิ: การบรู ณาการงานบริการวิชาการกับการเรยี นการสอนในชุมชน 2. ชือ่ หนว่ ยงาน: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม 3. คณะทำงาน: คณะกรรมการวิจัย บริการวชิ าการ และนวตั กรรมทางการพยาบาล 4. บทสรุปโครงการ การบรู ณาการกับการจดั การเรียนการสอน กบั การบรกิ ารวชิ าการแกส่ งั คม ตามกรอบหลกั สูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต เป็นการเติมเต็มประสบการณ์ให้กับนักศึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้การให้บริการสุขภาพในสถานการณ์จริง ทำให้มี ความเข้าใจบรบิ ทท่ีมผี ลตอ่ การทำงานใหป้ ระสบความสำเรจ็ เรียนรู้การแกป้ ัญหาเฉพาะหน้า ดงั นัน้ การบรู ณาการบริการ วิชาการกับการจัดการเรียนการสอน จึงช่วยให้นักศึกษามีความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง และสามารถใช้ทุนและศักยภาพของ ชุมชนเข้ามาบรหิ ารจดั การโครงการไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ การบูรณาการบรกิ ารวชิ าการกบั การจัดการเรียนการสอนต้อง มีการวางแผนทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวท่ีดี มีการสำรวจความต้องการของชุมชนและสงั คม ทำความร่วมมือ กับองค์ภายนอกในการสร้างเครือข่ายทางวิชาการเพือ่ ให้เกดิ สุขภาวะอยา่ งย่ังยืนและส่งเสริมให้นักศึกษาเกดิ ผลลัพธก์ าร เรียนรตู้ ามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ 5. ท่ีมาและความสำคัญของโครงการ การผลติ บัณฑิตหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม เปน็ ไป ตามมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ โดยบรู ณาการกับปรัชญา วสิ ยั ทัศน์และ พันธกจิ ของมหาวิทยาลัยราช ภัฏนครปฐมที่เน้นการพัฒนาสุขภาพของประชาชนในท้องถิ่น เน้นให้นักศึกษาได้เป็นบัณฑิตที่มีทักษะในการให้บริการ สุขภาพประชาชนในพื้นที่จริง โดยใช้แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) ซึ่ง เป็นวิธีการที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีการประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนในห้องเรียน มีการใช้กระบวนการระดมสมองกับกลุ่ม เพื่อนเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม และกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายใน ชมุ ชน โดยใชท้ ุนและศกั ยภาพของชมุ ชนเขา้ มาบรหิ ารจัดการโครงการไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ จากความสำคญั ของการบรู ณาการบริการวิชาการกับการจดั การเรียนการสอนดังกลา่ ว การบรู ณาการบริการ วิชาการกับรายวิชาจะส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ คณะกรรมการวิจัย บริการวิชาการ และนวัตกรรมทางการพยาบาล จึงให้ความสำคัญกับการวางแผนท้ังระยะสั้น ระยะ กลาง และระยะยาวทด่ี ี มีการสำรวจความตอ้ งการของชุมชนและสงั คม มกี ารทำความร่วมมือกบั องคภ์ ายนอกในการสรา้ ง เครือข่ายทางวิชาการ กำกับติดตามการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตามมคอ.3,4 ที่กำหนดไว้ โดยมี CPAP Model (Collaboration Policies Academic and Practice Model) เป็นกรอบแนวคิดในการดำเนินงาน เพื่อให้เกิดสุขภาวะ อยา่ งยง่ั ยืนต่อไป 6. วตั ถุประสงค์ 6.1 เพอ่ื พฒั นารูปแบบการบรกิ ารวิชาการท่บี รู ณาการกบั การเรียนการสอนในชุมชนท่มี ีประสิทธภิ าพ 6.2 เพ่อื สง่ เสริมให้นักศึกษามปี ระสบการณก์ ารเรยี นรผู้ า่ นกิจกรรมการสรา้ งเสรมิ สุขภาพในสถานการณจ์ ริง 7. แนวปฏิบตั :ิ (วิธกี าร/กระบวนการ/แนวทางการดำเนนิ ตาม PDCA) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม ดำเนินการบรกิ ารวิชาการทบ่ี รู ณาการกับการเรยี นการสอน ในชุมชน โดยการใชแ้ นวคิด CPAP Model (Collaboration Policies Academic and Practice Model) ดังนี้ 68 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 การวางแผน (Plan) กจิ กรรม ผูร้ ับผดิ ชอบ คณะกรรมการวิจยั บริการวิชาการ 1.1 การระบุลักษณะของความร่วมมือที่ควรจะเป็น (Identification of และนวัตกรรมทางการพยาบาล potential) หมายถึงการบ่งชี้ความร่วมมือที่ควรจะเป็นนั้นควรเป็นอย่างไร โดยระบุความ คณะกรรมการวจิ ยั บรกิ ารวชิ าการ ชัดเจนของความร่วมมือในประเด็น ต่าง ๆ บนพื้นฐานของการสร้างสัมพันธภาพในการทำงาน และนวตั กรรมทางการพยาบาล/ ร่วมกันของทุกฝ่าย โดยอาศัยความเข้าใจ หรือการตกลงร่วมกัน มีการรวบรวมกำลังความคิด คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร วิธีการ เทคนิค และระดมทรัพยากรมาสนับสนุนงานร่วมกัน เพื่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอัน เดยี วกัน เต็มใจท่ีจะทำงานรว่ มกนั คณะกรรมการวจิ ยั บริการวชิ าการ และนวตั กรรมทางการพยาบาล โดยมีการร่วมกันระดมสมองวิธีการบริการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการเรียน การสอนในชุมชน ร่วมกันกำหนดกิจกรรมในรายวิชาการที่สามารถบรู ณาการงานบริการวิชาการ คณะกรรมการวจิ ยั บริการวิชาการ กับการเรียนการสอนในชุมชน เช่น รายวิชาการพยาบาลเดก็ และวัยรุ่นจดั กิจกรรมการเล่นให้เด็ก และนวตั กรรมทางการพยาบาล ในงานวันเด็กแห่งชาติ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุจัดกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุ วิชาการฝึก คณะกรรมการวิจยั บริการวชิ าการ ปฏิบัติการพยาบาลชุมชนจัดกิจกรรมโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน วิชาการ และนวัตกรรมทางการพยาบาล พยาบาลฉุกเฉินและสาธารณภัยจัดกิจกรรมบริการวิชาการฝึกทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพแก่ ประชาชนทัว่ ไปและนักศกึ ษา เปน็ ตน้ คณะกรรมการวจิ ยั บรกิ ารวิชาการ และนวัตกรรมทางการพยาบาล 1.2 การจัดทำเอกสารข้อมูลสำคัญ ( Capacity profiling) หมายถึง กระบวนการรวบรวม จัดระบบจำแนกและจัดเก็บเอกสารที่เป็นข้อมูลสำคัญของหน่วยงานที่ทำ ความร่วมมอื กนั ไดแ้ ก่ ข้อมลู เกี่ยวกับหน่วยงาน ข้อมูลด้านบคุ ลากร ข้อมลู งบประมาณ ขอ้ มูลด้าน วิชาการ อาจแบ่งออกเป็นเอกสารขอ้ มลู ดา้ นการบรหิ ารจดั การความร่วมมอื โดยมกี ารทำคำสัง่ คณะกรรมการดำเนนิ งาน แนวทางการปฏิบัติ แผนงาน โครงการ ท่ี ใช้เป็นมาตรฐานในการดำเนินงาน นอกจากนี้ยังมีความสำคัญ ด้านกฎหมาย และต้องมีการเก็บ รักษาเอกสารไว้ให้เป็นระเบียบและสะดวกในการนำมาใช้เมื่อต้องการ มีการระบุในมคอ.3,4 ที่ ชัดเจนในการกำหนดการบูรณาการงานบริการวชิ าการกับรายวิชา 1.3 การประเมินศักยภาพของคู่ตกลงความร่วมมือ (Capacity matching) หมายถึง การประเมินความสามารถในการแสดงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ (Knowledge) ทกั ษะ (Skills) และคุณลักษณะเฉพาะ (Attributes) ของคู่ตกลงความรว่ มมอื ที่สามารถสร้างผลงานหรือผลการปฏิบัติงาน (Performance) ที่ดี และส่งผลให้คู่ตกลงความ ร่วมมอื บรรลเุ ปา้ หมายทตี่ อ้ งการ 1.4 การเจรจาข้อตกลงระหว่างบุคคลองค์กร (Initial discussion) หมายถึง การเจรจาเบอ้ื งต้น ระหว่างบุคคลกับบคุ คลท่ีเปน็ ตัวแทนของหน่วยงาน/องค์กร เพื่อหาแนวทางใน การทำข้อตกลงระหว่างหน่วยงานต่อไป การเจรจาข้อตกลงจะนำไปสู่การร่างข้อตกลง การขอ ความเหน็ ชอบจากผู้มอี ำนาจในการกล่ันกรองการพิจารณาและการอนมุ ตั ติ ามลำดบั 1.5 การสรา้ งขอ้ ตกลงความรว่ มมอื (Agreement) หมายถงึ เอกสารหรอื หนังสื่อ ทีเ่ กบ็ บันทึกข้อตกลงความเขา้ ใจทีต่ รงกนั หรือ ข้อตกลงทีร่ ว่ มมอื ระหวา่ งสองฝา่ ย ในลักษณะของ บันทึกความเข้าใจ (M0U-Memorandum of Understanding) หรือ บันทึกความเข้าใจ (MOA-Memorandum of Agreement) 1.6 การสร้างค่านยิ มร่วม (Shared value) หมายถงึ เป็นคา่ นิยมท่ีใช้ในการช้ีนำ องค์กรและพฤติกรรมของบุคคลให้ปฏิบัติตาม และเป็นตัวสนับสนุนการตัดสินใจต่าง ๆ ที่ผลต่อ การดำเนินงานขององค์กร ค่านิยมร่วมมีความสัมพันธ์และสอดคล้องกับลักษณะขององค์กร โดย บุคคลในองค์กรต้องยึดถอื ยึดมั่นและปฏิบัติเพื่อให้ทุกภาคส่วนขององค์กรนั้นมุ่งเหน็ ไปในทิศทาง เดียวกนั การนำแนวทางการบรู ณาการบริการวิชาการกบั การเรียนการสอนในชมุ ชน (Do) โดยมีการลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง (Materializing PDCA) หมายถึง การทีผ่ ูต้ กลงรว่ มมือปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บ กตกิ า หรอื ขอ้ ตกลงทีม่ ีการกำหนดไแลว้ เพ่อื สร้างผลงานหรือผลการปฏิบตั ิงาน (Performance) ท่ดี ี และสง่ ผลให้คูต่ กลง ความร่วมมือบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ การลงมือปฏิบัติตามข้อตกลงโดยมีเป้าหมายให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและ มงุ่ เน้นใหก้ ารดำเนนิ งานเปน็ ไปอย่างมีระบบ PDCA ดังนี้ พยาบาลกบั การวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ วิถีชวี ิตใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 69
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 กจิ กรรม ผู้รบั ผดิ ชอบ 2.1 เม่อื เปดิ ภาคเรยี น ช้แี จงแนวทางการบรู ณาการรายวชิ ากบั การเรียนการสอนในชุมชน ประธานรายวิชา อาจารยผ์ ู้สอน 2.2 การดำเนนิ การบรู ณาการบรกิ ารวชิ าการกบั การเรยี นการสอนในชมุ ชนตมแผนท่ีกำหนดไว้ โดยใช้วธิ กี ารเรียนการสอนแบบ Project based โดยมีข้ันตอนดงั น้ี อาจารยผ์ ู้สอน นกั ศกึ ษา 2.2.1 ขั้นใหค้ วามรพู้ น้ื ฐาน อาจารยใ์ หค้ วามรู้พ้ืนฐานเกย่ี วกับการทำโครงงานก่อนการเรยี นรู้ เนื่องจากการทำโครงงานมรี ปู แบบและขั้นตอนทีช่ ดั เจนและรัดกมุ ดงั นน้ั นักศกึ ษาจึงมีความจำเปน็ อยา่ งยิ่งที่จะตอ้ งมีความรเู้ ก่ยี วกบั โครงงานไวเ้ ปน็ พน้ื ฐาน เพอื่ ใช้ในการปฏบิ ัตขิ ณะทำงานโครงงาน จริง ในข้นั แสวงหาความรู้ 2.2.2 ขัน้ กระตนุ้ ความสนใจ อาจารยเ์ ตรียมกจิ กรรมท่ีจะกระตุ้นความสนใจของนกั ศกึ ษา โดย ต้องคดิ หรือเตรียมกิจกรรมทด่ี ึงดดู ให้นกั ศกึ ษาสนใจ ใครร่ ู้ ถึงความสนกุ สนานในการทำโครงงาน หรือกิจกรรมร่วมกนั โดยกจิ กรรมนนั้ อาจเป็นกิจกรรมทีอ่ าจารยก์ ำหนดข้นึ หรอื อาจเปน็ กจิ กรรมที่ นักศกึ ษามคี วามสนใจตอ้ งการจะทำอยแู่ ล้ว ทงั้ นีใ้ นการกระตนุ้ ของอาจารยจ์ ะต้องเปดิ โอกาสให้ นักศึกษาเสนอจากกจิ กรรมทไ่ี ดเ้ รยี นรผู้ า่ นการจดั การเรยี นรูข้ องอาจารย์ที่เกย่ี วข้องกบั ชมุ ชนที่ นักศึกษาอาศัยอยู่หรือเปน็ เรอื่ งใกล้ตวั ทสี่ ามารถเรยี นรู้ไดด้ ้วยตนเอง 2.2.3 ขน้ั จดั กลุ่มร่วมมือ อาจารยใ์ หน้ กั ศกึ ษาแบ่งกลมุ่ กันแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการกลมุ่ ใน การวางแผนดำเนนิ กจิ กรรม โดยนักศกึ ษาเป็นผ้รู ว่ มกันวางแผนกจิ กรรมการเรยี นของตนเอง โดย ระดมความคิดและหารือ แบ่งหนา้ ทเ่ี พือ่ เปน็ แนวทางปฏบิ ตั ริ ว่ มกนั หลังจากท่ีไดท้ ราบหัวขอ้ สิ่งที่ ตนเองต้องเรียนรใู้ นภาคเรียนนน้ั ๆเรยี บรอ้ ยแลว้ 2.2.4 ขน้ั แสวงหาความรู้ ในขน้ั แสวงหาความรู้มีแนวทางปฏิบตั สิ ำหรบั นกั ศกึ ษาในการทำ กิจกรรม ดังนี้ 1) นกั ศึกษาลงมอื ปฏบิ ัติกิจกรรมโครงงาน ตามหวั ขอ้ ทก่ี ลุ่มสนใจ 2) นักศกึ ษาปฏิบัตหิ นา้ ทขี่ องตนตามขอ้ ตกลงของกล่มุ พร้อมทงั้ ร่วมมอื กนั ปฏิบตั ิกิจกรรม โดยขอคำปรกึ ษาจากอาจารย์เป็นระยะเมือ่ มีข้อสงสัยหรอื ปัญหาเกดิ ข้ึน 3) นกั ศึกษารว่ มกนั เขยี นรูปเล่ม สรปุ รายงานจากโครงงาน 2.2.5 ขน้ั สรปุ ส่ิงทเ่ี รียนรู้ อาจารยใ์ ห้นกั ศึกษาสรุปสิง่ ทีเ่ รยี นรจู้ ากการทำกิจกรรม โดยอาจารย์ใช้ คำถาม ถามนักศกึ ษานำไปสกู่ ารสรปุ สิ่งทเี่ รยี นรู้ 2.2.6 ขัน้ นำเสนอผลงาน อาจารยใ์ หน้ ักศึกษานำเสนอผลการเรียนรู้ โดยอาจารยอ์ อกแบบ กจิ กรรมหรอื จัดเวลาให้นกั ศึกษาไดเ้ สนอส่ิงท่ีตนเองได้เรียนรู้ เพือ่ ให้เพื่อนรว่ มชัน้ และนกั ศึกษา อนื่ ๆ ในคณะ ฯ ได้ชมผลงานและเรียนรกู้ ิจกรรมทีน่ ักศึกษาปฏิบตั ิในการทำโครงงาน ภาพท่ี 1 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนแบบ Project based การตรวจสอบการนำแนวทางฯ ไปใช้ (Check) 70 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชมุ วิชาการระดบั ชาติ คร้ังท่ี 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 กจิ กรรม ผรู้ ับผิดชอบ 3.1 กำกับติดตามการบรู ณาการบรกิ ารวิชาการกับการเรยี นการสอนในชุมชนให้เป็นไปตามมคอ.3 คณะกรรมการวิจยั บริการวิชาการ และนวัตกรรมทางการพยาบาล/ และ มคอ. 4 ประธานรายวิชา 3.3 รายงานผลการบรู ณาการรายวิชารว่ มกับการทวนสอบผลสัมฤทธทิ์ างการศึกษา และ มคอ 5 ประธานรายวชิ า ประธานสาขาวิชา / และพจิ ารณารว่ มกบั ผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอก รองคณบดีฝา่ ยวชิ าการ คณะกรรมการบริหารหลกั สตู ร/ คณะกรรมการวิจยั บริการวชิ าการ และนวัตกรรมทางการพยาบาล การพฒั นาปรบั ปรุงแนวทางฯ (Act) มีการประเมินผลและให้ข้อมูลย้อนกลับ (Evaluation and feedback) หมายถึง กระบวนการดำเนินงานด้าน การกำกบั ควบคมุ เพือ่ ตดิ ตามความก้าวหนา้ ของภารกิจและประเมินวา่ ภารกจิ สำเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่ โดยจะต้องกำหนดเป้าหมายและตัวนี้ชี้ในการติดตามประเมินผลเพื่อเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาว่าผลการดำเนินงานนัน้ บรรลุเกณฑ์ที่กำหนดหรือไม่ การประเมินผลช่วยให้ทราบความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของการดำเนินการ การให้ ข้อมูลย้อนกลับแก่คู่ความร่วมมือจะช่วยให้สามารถวิเคราะห์ปัจจัยเหตุแห่งความสำเร็จและความล้มเหลวได้ ทำให้เ กิด ประโยชนใ์ นการปรับปรงุ แนวทางดำเนนิ การต่อไปได้ จากการรายงานผลการดำเนนิ งานบูรณาการบริการวิชาการกับการ เรียนการสอนในชมุ ชนประจำปกี ารศกึ ษาแลว้ คณะกรรมการวจิ ัย บริการวิชาการ และนวตั กรรมทางการพยาบาลร่วมกบั คณาจารยร์ ว่ มกนั ประเมนิ ผลงานตามตัวชี้วดั จุดแขง็ จดุ ออ่ น และแนวทางในการพัฒนาเพ่ือทจ่ี ะใชใ้ นปีการศึกษาต่อไป 8. ผลกระทบทีเ่ ปน็ ประโยชนห์ รอื สรา้ งคุณค่า คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม มีการบูรณาการบริการวิชาการกับการเรยี นการสอนในชุมชน เป็นการสร้างเครือขา่ ยทางสงั คม และเครือขา่ ยทางวชิ าการ รวมทั้งเปน็ การสรา้ งการเรียนรูใ้ หก้ ับนกั ศึกษาไดฝ้ ึกการให้บริการ สขุ ภาพโดยเนน้ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรค ทำใหน้ กั ศกึ ษามีความเข้าใจบทบาทของพยาบาลในชมุ ชนมากข้ึน 9. ปจั จยั แหง่ ความสำเร็จ a. ผู้นำมีวิสัยทัศนท์ กี่ ว้างไกล และเปน็ ผูน้ ำที่ต่นื ตัวกบั การเปลย่ี นแปลง b. คณะฯ มีระบบและกลไก รวมถงึ การบรู ณาการบริการวชิ าการกับการเรยี นการสอนในชมุ ชนทชี่ ดั เจน c. อาจารย์ให้ความรว่ มมือต่อการนำแนวทางฯ ไปใช้ และประเมนิ ผลเปน็ ระยะ d. มหาวิทยาลัยสนับสนนุ งบประมาณในการบรกิ ารวิชาการกับชมุ ชนท้องถน่ิ ในพนื้ ทเ่ี ครือขา่ ย 10. ปญั หาอุปสรรคและแนวทางการแกไ้ ข ในช่วงเวลาท่ีมีการระบาดของ Covid-19 ทำใหไ้ ม่สามารถลงพืน้ ทดี่ ำเนนิ การบรกิ ารวชิ าการไดต้ ามปกติ 11. แนวทางในการจัดการความรู้ จัดเวทแี ลกเปล่ยี นเรียนรู้ระหวา่ งคณะและสถาบนั เกยี่ วกบั การจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ พยาบาลกับการวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพอ่ื วถิ ีชวี ิตใหม่ในยคุ Disruptive Technology | 71
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 การจัดกิจกรรมพฒั นาบณั ฑิตพยาบาลนกั ปฏิบัติ: สร้างนกั ศกึ ษาจติ อาสาผ่านกจิ กรรมตาม แนวคิดศาสตรพ์ ระราชา อาจารยณ์ ฐั ยา เชิงฉลาด ชูพรหม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม 1. ชื่อเรื่อง/แนวปฏิบัติ: เรื่อง การจัดกิจกรรมพัฒนาบัณฑิตพยาบาลนักปฏิบัติ: สร้างนักศึกษาจิตอาสาผ่านกิจกรรม ตามแนวคิดศาสตรพ์ ระราชา 2. ชอ่ื หน่วยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม 3. คณะทำงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หทยั ชนก บวั เจรญิ ท่ีปรึกษา ประธานกรรมการ อาจารยณ์ ฐั ยา เชงิ ฉลาด ชูพรม กรรมการ กรรมการ อาจารยศ์ ภุ รสั ม์ิ วิเชยี รตนนท์ กรรมการ กรรมการ อาจารย์เรียม นมรักษ์ กรรมการและเลขานุการ อาจารย์จฑุ าทพิ ย์ เทพสวุ รรณ์ นางสาวโศรยา นุ่มสร้อย นางสาวฐาปนีย์ ซ่ัวเซ่งอี่ 4. บทสรปุ โครงการ การจัดกิจกรรมพิเศษเพอ่ื เสรมิ จิตอาสาและการมีจติ บริการให้แกน่ กั ศกึ ษาพยาบาลซึ่งเปน็ ส่งิ สำคัญต่อการสร้าง บัณฑิตนักปฏิบัติในสายวิชาชีพพยาบาล การจัดกิจกรรมเสริมจิตบริการเป็นกระบวนการเริ่มต้นในการผลิตบัณฑิต พยาบาลนักปฏบิ ัติทม่ี คี ณุ ภาพ ไดร้ บั การยอมรับมาตรฐานวิชาชีพและยดึ มัน่ ในจรยิ ธรรมแห่งวิชาชพี โดยกระบวนการจัด กิจกรรมพิเศษเสริมจิตบริการ ได้ใช้ในการวางแผนการปฏิบัติงานงานด้านกิจการนักศึกษา ซึ่งสามารถสรุ ปได้เป็น 6 ขน้ั ตอนสำคญั ไดแ้ ก่ 1) การปลูกฝังนักศึกษาใหต้ ระหนกั ถงึ ความสำคัญของจิตอาสา ผ่านกิจกรรมการสะทอ้ นคดิ จากประสบการณ์ชวี ิต การฝึกปฏบิ ตั ิงาน และปัญหาความต้องการของสงั คม/ทอ้ งถน่ิ 2) การสร้างความเข้าใจของจิตอาสาผ่านแนวคิดศาสตร์พระราชาการสืบสานศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นกระบวนการนำศาสตร์พระราชาไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม สู่การพัฒนา ชุมชนและกลมุ่ การทำงานของนักศึกษาใหม้ นั่ คง ยั่งยืน ไปสู่การปฏบิ ตั จิ รงิ หรือเดินตามรอยเทา้ พอ่ ในการปฏบิ ัตติ น ปฏิบตั ิงาน โดยกระต้นุ ใหม้ ีกจิ กรรมทใี่ ห้การช่วยเหลือและเปน็ ประโยชน์ต่อสว่ นรวม ซงึ่ เหมาะต่อความสนใจของช่วงวัยนกั ศึกษา 3) มีกิจกรรมการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย จิตใจ ความรู้ด้านวิชาชีพ การเข้าใจปัญหาและความ ต้องการของชุมชน การดแู ลผู้ปว่ ยฉุกเฉนิ การดูแลผู้รับบริการที่หลากหลายวัฒนธรรม และการติดต่อสือ่ สารที่เป็นสากล ไดแ้ ก่ การพฒั นาทักษะภาษาองั กฤษ และการพฒั นาทักษะด้านเทคโนโลยี 4) การสร้างความเช่อื มั่นในตนเอง 5) การเข้าร่วมกจิ กรรมอยา่ งต่อเนื่อง ตลอดปีการศึกษา โดยบูรณาการร่วมกบั การเรียนการสอน และกิจกรรม จิตอาสานอกชน้ั เรยี นโดยการวางแผนอย่างมสี ่วนรว่ ม และ 6) การใหน้ กั ศึกษาได้เรยี นรูจากสภาพจริงและกระบวนการสะทอ้ นคิด การดำเนินการจัดกิจกรรมมกี ารตดิ ตามประเมินผลอย่างต่อเน่ืองผ่านการสังเกตพฤติกรรม และความเปล่ียนแปลง ของทัศนคติของนักศึกษาผ่านการสะท้อนคิด โดยพบว่าเมื่อระยะเวลาผ่านไป 1 ปีการศึกษา นักศึกษามีการสะท้อนคิด เกี่ยวกับการมีจิตบริการในทางที่ดีขึ้น ได้แก่ การเกิดความเห็นอกเห็นใจและปรารถนาให้ผู้รับบริการพ้นทุกข์ ความเข้าใจ บริบทของผู้รับบริการที่มีความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม การสร้างความไว้วางใจแก่ผู้รับบริการ การมีสติและความมุ่งมั่น ตั้งใจในการทำงาน และมีความสุขในการให้โดยไม่หวังผลตอบแทน รวมถึงมีคะแนนประเมินผลการเรียนรู้ในรายวิชา 72 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 ปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐานในภาพรวมที่สูงขึ้น จากกระบวนการดังกล่าวยังทำให้เกิดผลลัพธ์เป็น โครงการบริการวิชาการที่ เป็นประโยชนต์ อ่ สังคม 2 โครงการหลัก คือ 1) การจัดต้ังชุมนมุ Good Nurse…Good Citizen 2) กิจกรรมเรียนรู้วิถีและจติ อาสาดูแลผู้สูงอายใุ นชุมชน และนอกจากนั้นยังมีการดำเนนิ กิจกรรมตามข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ Hungkuang University มีโครงการฝกึ ประสบการณ์บณั ฑติ พยาบาลนกั ปฏบิ ัติ ณ กลมุ่ ประเทศอาเซยี นบวก (ประเทศไตห้ วนั ) เพ่อื เปน็ การ พัฒนาศักยภาพนักศึกษาทั้งด้านทักษะภาษา ทักษะการพยาบาล และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Transcultural nursing care ตามมุมมองของนักศึกษาจิตอาสาคณะพยาบาลศาสตร์ กับนักศึกษาพยาบาลต่างชาติ อันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการ ดำเนนิ งานผลิตบณั ฑติ นกั ปฏิบัตวิ ชิ าชีพพยาบาลท่ีมคี ุณภาพต่อไป 5. ท่มี าและความสำคัญของโครงการ จากวิสัยทัศน์ของคณะพยาบาลที่วา่ “คณะพยาบาลศาสตร์จะเป็นสถาบันการศึกษาพยาบาลท่ีมีมาตรฐานวิชาชพี เป็นเลิศด้วยคุณภาพในระดับสากล” โดยมีหนึ่งในพันธกิจที่สำคัญคือ การผลิตบัณฑิตพยาบาลนักปฏิบัติที่มีคุณภาพ ได้รับ การยอมรับมาตรฐานวิชาชีพและยึดมั่นในจริยธรรมแห่งวิชาชีพ ซึ่งการพัฒนานักศึกษาพยาบาลใหมีจิตบริการเป็นสิ่งสำคญั ต่อการสร้างบัณฑติ นักปฏบิ ัติในสายวิชาชพี พยาบาล เนื่องจากสังคมคาดหวังใหวิชาชีพพยาบาลเป็นวิชาชีพท่ีต้องใหการดูแล แบบองครวมอย่างเทาเทียม แต่นักศึกษาพยาบาลในปัจจุบันนี้เป็นนักศึกษา Generation Z ที่มีระบบความคิดเฉพาะตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องการเขา้ ถึงข้อมูล มีความคิดริเริม่ สรา้ งสรรค์ แต่อาจมีโลกส่วนตวั สูง มีสังคมอยู่กับส่ือสังคมออนไลน์ที่ ทำให้ออกไปทำกิจกรรม มีปฏิสัมพนั ธ์ หรือได้เรียนรูช้ ีวิตเก่ียวกับผู้อืน่ นอ้ ยลง ซึ่งเห็นไดจ้ ากลักษณะพฤติกรรมของนักศึกษา พยาบาลที่ผ่านมาว่ามีลักษณะดังกล่าวจริง ซึ่งอาจเป็นอุปสรรคในการดำเนินการการผลิตบัณฑิตพยาบาลนักปฏิบัติที่มี คณุ ภาพได้ โดยผลจากกิจกรรม “นกั กจิ กรรมสะท้อนคิด” ในชว่ งต้นปีการศึกษาท่ี 1/2560 พบวา่ นกั ศกึ ษาผนู้ ำกิจกรรมส่วน ใหญ่ร้สู กึ ว่าการเข้ารว่ มกิจกรรมจิตอาสาที่ผ่านมาคือ ร้สู ึกวา่ ทางคณะและมหาวิทยาลัยมีการจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ แต่ เป็นการเขา้ ร่วมตามการมอบหมาย เป็นกิจกรรมบงั คับ ยงั ไมท่ ำให้ความรูส้ กึ เขา้ ใจและรูซ้ ง้ึ ถงึ ความต้องการของผอู้ ืน่ เท่าท่ีควร รู้สึกไม่มีตัวตนที่ชัดเจน ยังไม่รู้สึกว่าเกิดแรงบันดาลใจในการคิดสร้างสรรค์กิจกรรมด้วยตนเอง ขาดความมั่นใจ และรู้สึกว่า ตนเองยงั ไมเ่ คยมีการเตรียมพรอ้ มทักษะอ่นื ๆ ท่สี ำคัญนอกเหนอื ทกั ษะทางวชิ าชีพสำหรับการออกไปชว่ ยเหลือผู้อน่ื เทา่ ท่ีควร ทั้งนี้ทางคณะพยาบาลสาสตร์ จึงมีการจัดทำโครงการการจัดกิจกรรมพิเศษเสริมจิตบริการสู่บัณฑิตนักปฏิบัติสากลขึ้น โดย เนน้ การปรับกระบวนการจดั กิจกรรม และสร้างสรรคก์ จิ กรรมใหม่ให้สอดคล้องกับแนวทางและกระบวนการพัฒนาจิตบริการ ที่พัฒนาให้เกิดในนักศึกษาพยาบาล Generation Z ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญที่จะนำไปสู่การผลิตบณั ฑิตพยาบาลนักปฏิบัตทิ ี่มี คุณภาพไดต้ อ่ ไป ทางคณะกรรมการกจิ การนกั ศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ร่วมกบั สโมสรนกั ศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์มีความ สนใจร่วมกันในการสรา้ งนักศึกษาจิตอาสาโดยใชแ้ นวคิดศาสตร์พระราชา ในลกั ษณะการสืบสานศาสตรพ์ ระราชาสกู่ ารพัฒนา ที่ยั่งยืน เป็นกระบวนการนำศาสตร์พระราชาไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม สู่ การพัฒนาชุมชนและกลุ่มการทำงานของนักศึกษาให้มั่นคง ยั่งยืน ไปสู่การปฏิบัติจริง หรือเดินตามรอยเท้าพ่อในการปฏบิ ัติ ตน ปฏิบัตงิ าน ประกอบด้วย การนำองคค์ วามรู้ ด้านการกำหนดเปา้ หมายของการเรียนรู้หรือการพัฒนางาน องค์ความรู้ด้าน เนื้อหา ความรู้จากโครงการพระราชดำริ และอื่น ๆ รวมทั้งการเรียนรู้นำองค์ความรู้ในวิธีทรงงานมาใช้ในการพัฒนาตนเอง พัฒนางานดำเนินชีวิต ดำเนินงานในหน้าที่ความรับผิดชอบด้วยองค์ความรู้ตามศาสตร์พระราชา หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “เดนิ ตามรอยเทา้ พอ่ สานตอ่ งานทพี่ ่อทำ” 6. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื พัฒนาจติ บริการสำหรบั นกั ศึกษาพยาบาล 2. เพ่ือพฒั นาปรบั ปรุงการวางแผนการปฏิบัติงานงานด้านกจิ การนกั ศกึ ษาให้ตรงกบั ความต้องการของสังคม 7. แนวปฏบิ ัติที่ดี (วธิ ีการ/กระบวนการ/แนวทางการดำเนินตาม PDCA) 1. การวางแผน Plan 1 - จัดกิจกรรม “นักกิจกรรมสะท้อนคิด” สำหรับคณะกรรมการสโมสรนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อทบทวนสถานการณ์ สะท้อนความคิดเห็น และร่วมอภิปรายปัญหาการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมจิตบริการและจิต สาธารณะ และประชุมทมี คณะกรรมการกิจการนักศกึ ษาและคณะกรรมการบรหิ าร ร่วมอภปิ รายแนวทางการจัดกิจกรรม เพ่อื ตอบสนองวสิ ัยทัศน์ของคณะพยาบาลศาสตร์ พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือวิถีชวี ิตใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 73
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 Do 1 - ประชุมทีมคณะกรรมการกิจการนักศึกษา และคณะกรรมการสโมสรนักศึกษาเพื่อจัดสรรการเขียน โครงการ โดยร่วมกันกำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน วางแผนสร้างการมีส่วนร่วม และหาแนวทางการเสริมทักษะที่จำเป็น สำหรับบัณฑิตนักปฏิบัติสาขาพยาบาล โดยประยุกต์จากแนวทางของ Sladek and Grabinger (2014) ที่ได้กล่าวถึง ปัจจัยที่ช่วยสร้างการมีสวนร่วมของนักศึกษา Generation Z เพื่อเป็นแนวทางในการที่จะพัฒนาจิตบริการสำหรับ นกั ศกึ ษาพยาบาล สามารถสรปุ ได้ 4 กลุม่ กจิ กรรม ดงั นี้ 1. สรา้ งตวั ตนบนโลกออนไลน์- ปรับปรุง และ update fan page สโมสรนักศึกษา และคณะ พยาบาลศาสตร์ให้มีการเคลื่อนไหว และแนะนำกิจกรรมจิตอาสาต่าง ๆ ในคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อให้นักศึกษาผู้นำ กิจกรรมมีตวั ตน รสู้ ึกว่าผลงานกจิ กรรมของตนมรี ูปธรรม เหมาะกับยุคสมยั เพอ่ื เปน็ ช่องทางในการสอ่ื สาร ประชาสัมพนั ธ์ และรับผลตอบรับจากนกั ศึกษาพยาบาลทั้งในและนอกสถาบัน รวมถึงผสู้ นใจภายนอก 2. สรา้ งการทำงานเป็นทมี - ใชก้ ารประชมุ คณะกรรมการสโมสรและนักกจิ กรรมท่ีเก่ียวขอ้ งในทกุ ๆ ครั้ง เพื่อเป็นโอกาสให้ทีมเรียนรู้กันและกัน เปิดใจ รับฟัง ตั้งเป้าหมายระยะสั้นร่วมกัน และร่วมกันฟันฝ่าอุปสรรคให้ สำเร็จ รวมถงึ วางระบบบทบาทหน้าท่ใี นทมี ให้ชัดเจน 3. ทำขอ้ ตกลงและมอบโครงสรา้ ง - รับฟังความคิดเห็นในการสร้างสรรค์กิจกรรม เรียนรู้การ สรา้ งเป้าหมายร่วมกันเพอ่ื พฒั นาจติ บริการ และรว่ มวางระบบหน้าท่ีในการทำงานแตล่ ะงานใหช้ ดั เจน 4. เสริมทักษะดา้ นการสื่อสารระหว่างบุคคล - ทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้องกับ ทักษะของบัณฑิตนักปฏิบัติสาขาพยาบาล ปรักษาและรับข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิและคณบดี ได้ข้อสรุปทักษะ พื้นฐานที่ควรมีสำหรับบัณฑิตนักปฏิบัติสาขาพยาบาล จาก ม.ราชภัฏนครปฐม คือ ความรู้ด้านวิชาชีพ การดูแลผู้ป่วย ฉุกเฉิน การดูแลผู้รับบริการที่หลากหลายวัฒนธรรม และการติดตอสื่อสารที่เป็นสากล ได้แก่ การพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษ และการพัฒนาทกั ษะด้านเทคโนโลยี Check 1 – ก่อนส้นิ สดุ ไตรมาสที่ 1 ทางคณะกรรมการไดต้ ดิ ตามประเมินผล ใน 2 ลักษณะ คือ 1. วางแผนให้นักศึกษาได้ร่วมกิจกรรมจิตอาสาตามที่ตนต้องการ และทดลองบริหารจัดการด้วย ตนเอง เพอ่ื ใหเ้ กิดการเรียนรูแ้ ละประเมินตนจากสถานการณจ์ ริง และคน้ หาวธิ กี ารกระตุ้นจิตอาสา จิตบริการทีเ่ หมาะสม ท้งั นใี้ นชว่ งระยะเวลาดงั กลา่ ว สโมสรนกั ศกึ ษาฯ ได้ดำเนินกจิ กรรมระดมทุนเพ่ือบริจาคโครงการก้าวคนละกา้ ว เม่อื ส้ินสดุ ได้ทำการสะท้อนคิด พบว่า นักศึกษารู้สึกมีความสุขในกิจกรรมที่ตนเลือกร่วมกัน ภูมิใจที่ได้ทำบางอย่างให้สังคม และ ตระหนักถึงความสำคัญของจิตอาสาและความร่วมมือ แต่ยังไม่ชัดเจนในระบบของการวางแผนปฏิบัติงานด้านกิจการ นักศึกษาเพื่อพัฒนาจิตบรกิ ารทจี่ ะนำไปสู่การผลิตบัณฑติ นักปฏิบตั ิ 2. ติดตามทักษะของนักศึกษาเก่ียวกับทักษะของบณั ฑิตนักปฏิบัติ ซึ่งมีการจัดการเรียนการสอนใน รายวิชาและกิจกรรมเสรมิ หลักสูตรของคณะ ได้แก่ การดูแลผู้รับบริการท่ีหลากหลายวัฒนธรรม และการติดตอส่อื สารท่ี เปน็ สากล พบวา่ นักศกึ ษาสว่ นใหญไ่ ม่มคี วามกระตือรอื รน้ มากพอ และการเรยี นรยู้ ังไม่หลากหลาย Act 1 - คณะกรรมการกิจการนักศึกษาประชุมเพื่อสรุปปัญหา และรายงานต่อคณบดีและคณะกรรมการ ประจำคณะประชมุ รว่ มกันหาแนวทางแก้ไขโดยมรี ายละเอยี ดในการดำเนินการ 2. การดำเนินการ Plan 2 1. วางแผนการปฏิบัติงานงานด้านกิจการนักศึกษา โดยบูรณาการ 6 ขั้นตอนของการสร้างจิต บริการเปน็ พ้นื ฐาน และสรา้ งสรรคโ์ ครงการใหส้ อดคล้องกบั แผน ได้แก 1) การปลกู ฝงนกั ศกึ ษาใหตระหนักถึงความสำคญั – บูรณาการกับวชิ าปฏิบัตกิ ารพยาบาลต่าง ๆ ที่ มกี ารสะทอ้ นคดิ เกย่ี วกับการพัฒนาจิตบริการจากการฝกึ ปฏิบตั ิ และจดั ต้งั ชมรม Good Nurse…Good Citizen 2) สร้างความรคู้ วามเข้าใจด้านศาสตรพ์ ระราชาให้แกน่ ักศึกษาและการสร้างจิตสํานึกสาธารณะ ผ่านกิจกรรมช่วยเหลือสังคม โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการของคณะ เป็นการสร้าง สง่ิ แวดลอ้ มในการเรยี นรู้ เห็นแบบอยา่ งการปฏบิ ตั ิหน้าที่ และมีโอกาสสัมผสั กับสถานการณก์ ารใหบ้ รกิ ารนอกสถานที่และ ในชุมชนที่ต้องการความช่วยเหลือ โดยมีกิจกรรมการเตรียมความพรอมทางด้านร่างกาย จิตใจ และความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ วชิ าชพี โดยสมาชิกชมรมไดร้ บั การพฒั นาทักษะทจี่ ำเป็นในการทำงานจติ อาสา จำนวนท้งั ส้นิ 6 ครัง้ ได้แก่ 74 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชมุ วชิ าการระดับชาติ ครั้งที่ 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 1. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “จิตอาสากับศาสตร์พระราชาเพื่อชุมชน” และมีการดำเนินการ กิจกรรม Check-in สำรวจตนเองจติ อาสาพยาบาลอยา่ งต่อเน่อื งตลอดชว่ งการดำเนินการของโครงการในปกี ารศึกษาทผ่ี ่านมา 2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากรุ่นพี่ชมรมหมู่เรียน 60/45 กับสมาชิกชมรมรุ่นน้องเกี่ยวกับการ ประเมินสุขภาพเบือ้ งต้นและการดแู ลสขุ ภาพผูส้ งู อายทุ มี่ ปี ัญหาสุขภาพในชุมชน 3. การฟังบรรยายและทำกิจกรรมกลุ่มย่อยเรื่องการดูแลดา้ นจิตใจและการสร้างสัมพันธภาพให้อุ่น ใจสำหรับผ้สู ูงอายุในชมุ ชน โดยทมี เจ้าหนา้ ท่พี ยาบาลและสาธารณสขุ และตวั แทนชมรมผู้สูงอายุโพรงมะเดอ่ื 4. การร่วมโครงการปฏิบัติการร่วมเรียนรู้ระบบชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ โดยชุมชนท้องถิ่นภาคกลาง อ.ท่างาม จ.สิงหบุรี โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการเรียนรู้แนวทางในการนำใช้ข้อมูล และการ จดั ทำฐานขอ้ มูลเก่ียวกบั ผูส้ ูงอายเุ พื่อวางแผนดูแลผสู้ งู อายใุ นชุมชน 5. การร่วมโครงการปฏิบัติการร่วมเรียนรู้ระบบชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ โดยชุมชนท้องถิ่นภาคกลาง อ.หนองโรง จ.กาญจนบุรี โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการเรียนรู้แนวทางดูแลผู้สูงอายุโดยใช้ วัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ และการสร้างจติ อาสาในชุมชน 6. กิจกรรมการฝึกเก็บข้อมูลการประเมินคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุใน ต.โพรงมะเดื่อ จ.นครปฐม และ ต.บ่อสุพรรณ จ.สพุ รรณบุรี ร่วมกบั คณะกรรมการโครงการ Cluster สุขภาพ ม.ราชภฏั นครปฐม เมื่อสิ้นสุด 6 กิจกรรมการพัฒนาทักษะนั้น มีการร่วมประชุมสรุปงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การ ทำงาน พบว่าสมาชิกชมรมมกี ารสะทอ้ นคิด ดังนี้ 1) ส่วนใหญ่รู้สกึ ว่าตนมคี วามมัน่ ใจมากยิง่ ขึ้นในการทำหน้าทีด่ แู ลผูส้ ูงอายุ 2) มีความเข้าใจกระบวนการจัดทำโครงการเพื่อชว่ ยแก้ปัญหาของผู้สูงอายุอย่างแท้จริง ในการจัดโครงการปี 2563 เห็นควร นำข้อมูลปัจจุบันวางแผนร่วมกับชุมชนเพือ่ พัฒนากิจกรรมให้ดียิ่งขึ้น 3) จากการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะการร่วมเกบ็ ข้อมูลคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในพื้นที่เป้าหมาย และได้ร่วมเรียนรู้กันในกลุ่ม ทำให้ต้องการจัดทำนวัตกรรมเพื่อช่วยดูแล สุขภาพของผสู้ ูงอายทุ ีด่ ้อยโอกาสบางส่วน และไดพ้ ยายามออกแบบนวัตกรรมได้จำนวน 2 ชน้ิ คือ 3.1) Walker พยุงชพี และ 3.2) อุปกรณไ์ ม้ตาลยดื เหยียดปลอดภัย คาดวา่ แผนงานปีการศกึ ษา 2563 ควรมีการจัดทำนวัตกรรมเพื่อสังคม และกิจกรรม ระดมทุนทเ่ี ปน็ ไปไดเ้ พ่ือช่วยเหลอื ผดู้ ้อยโอกาสใหม้ ากข้นึ 4) ตอ้ งการเรยี นรู้การใช้ฐานขอ้ มูล TCNAP และ RECAP อย่างง่าย เพราะเหน็ จากการใช้ ต.ทา่ งาม แลว้ รูส้ กึ วา่ มีประโยชน์ เพราะไม่ใชเ่ พยี งเป็นข้อมลู ของผู้สูงอายุ แตย่ งั สามารถใช้เพ่ือวางแผน ชว่ ยเหลือคนกลมุ่ วยั อืน่ ๆ ไดด้ ว้ ย 4) การสร้างความเชื่อมน่ั ในตนเอง 5) การเขารว่ มกิจกรรมอยา่ งตอ่ เน่ือง 6) การเรียนรูจากสภาพจริงและกระบวนการสะท้อนคิด มีการจัดกระบวนการสะท้อนคิดทุก กิจกรรม ควบคู่กบั การประเมนิ ผลโครงการ Do 2 - ปฏิบตั ติ ามแผนทว่ี างไวใ้ นไตรมาส 2 3. การตรวจสอบและประเมนิ ผล Check 2 - การดำเนินการจัดกิจกรรมมีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องผ่านการสังเกตพฤติกรรม และ ความเปลี่ยนแปลงของทัศนคติของนักศึกษาผ่านการสะท้อนคิด โดยพบว่าเมื่อระยะเวลาผ่านไป 6 เดือน และ 1 ปี การศึกษา นักศึกษามีการสะท้อนคิดเกี่ยวกับการมีจิตบริการในทางที่ดีขึ้น ได้แก่ การเกิดความเห็นอกเห็นใจและ ปรารถนาให้ผู้รับบริการพ้นทุกข์ ความเข้าใจบริบทของผู้รับบริการที่มีความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม การสร้างความ ไว้วางใจแกผ่ รู้ บั บริการ การมสี ติและความมุ่งมน่ั ต้ังใจในการทำงาน มคี วามรูค้ วามมน่ั ใจมากขึ้น และมีความสุขในการให้ โดยไมห่ วงั ผลตอบแทน และมีทศั นคติทด่ี ีข้ึนในการทำกจิ กรรม ปีการศกึ ษา 2562 มีการดำเนินโครงการการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุและการสร้างจิตอาสา การดูแลผสู้ ูงอายุ ในพ้ืนทโี่ พรงมะเด่ือและบอ่ สพุ รรณ โดยมีกำหนดการลงพ้นื ท่เี ดอื นละ 1 ครง้ั ในการดำเนนิ การมีการลง พนื้ ที่ไปแลว้ ทง้ั สิ้น 6 คร้ัง และมีการประเมนิ ตัวชวี้ ัดของโครงการพบว่า 1. ร้อยละ 98 ของนกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรส์ มาชิกชมรมฯเขา้ ร่วมโครงการ 2. มีผู้สูงอายุด้อยโอกาสและต้องการความช่วยเหลือในพ้ืนที่โพรงมะเดื่อเขา้ ร่วมโครงการ จำนวน 14 คน จาก 10 ครวั เรอื น และในพ้นื ท่ีบอ่ สุพรรณ จำนวน 10 คน จาก 7 ครัวเรือน พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตร์พระราชา เพือ่ วิถีชวี ติ ใหมใ่ นยุค Disruptive Technology | 75
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 3. ผลการเปรียบเทยี บการเปลยี่ นแปลงคุณภาพชวี ติ ของผ้สู ูงอายใุ นพน้ื ที่เป้าหมาย พบวา่ ค่าเฉลีย่ ระดับคุณภาพ ชีวติ กอ่ นและหลงั โครงการมากขึ้น อย่ทู ่ี 3.50 และ 3.63 ตามลำดบั โดยดา้ นการดจู ติ ใจเป็นด้านทม่ี คี ะแนนน้อยท่ีสุข จึง จำเปน็ ต้องพัฒนาการดแู ลดา้ นจิตใจเพ่มิ มากขึน้ 4. ผ้เู ข้ารว่ มโครงการพึงพอใจในโครงการ ในระดบั ดมี าก (คะแนนเฉลยี่ 4.63) 5. นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้สูงอายุที่มี ความหลากหลายทางวฒั นธรรมและบริบทของท้องถนิ่ มากยง่ิ ขึ้น อกี ทงั้ ต้องการพัฒนาตนเองเพอ่ื เปน็ ประโยชนต์ ่อสงั คมให้มากข้ึน ทั้งนี้พบว่าการดำเนินการเตรียมพร้อมความรู้สำหรับทักษะของบัณฑิตนักปฏิบัติสาขาพยาบาลต้องเพิ่มเติม 1) ทักษะความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาของมหาวิทยาลัย 2) ทักษะการพัฒนานวัตกรรม และความคิดสร้างสรรคเ์ ทคโนโลยีสำหรับผลติ application ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ซึ่งล้วนเป็นทักษะที่นักศกึ ษาสามารถ นำไปตอ่ ยอดกิจกรรมทางวชิ าชีพในอนาคตได้ และ 3) ทักษะการพยาบาลและการดแู ลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม 4. การปรับปรงุ กระบวนการดำเนนิ การ Act 2 - ประชุมร่วมกับทีมบริหารคณะเพื่อหาแนวทางการปรับปรุง วางแผนงานการเตรียมความพร้อม ทกั ษะทยี่ ังไมค่ รอบคลุม - วางแผนจัดทำโครงการพัฒนาบัณฑิตนักปฏิบัติ คณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อแผนงานการพัฒนาคุณภาพ บัณฑิต เน้นในการพัฒนาเชิงกลยุทธ์การพัฒนาทางด้านการเสริมทักษะการปฏิบัติเพื่อให้บัณฑิตมีคุณภาพ ได้แก่ 1) กิจกรรม นนั ทนาการเพอ่ื ผสู้ งู อายุ 2) กจิ กรรมการพัฒนา Application ดา้ นสขุ ภาพและการพยาบาล 3) การพัฒนาแนวคดิ นวัตกรรมเพ่ือ สงั คม 4) การสรา้ งเครอื ขา่ ยจิตอาสากบั เพอื่ นสหสาขาวิชาชีพเพ่ือเพิม่ มมุ มองการแก้ปญั หาและการแลกเปล่ียนรวู้ ธิ กี ารทำงาน 8. ผลกระทบทเี่ ป็นประโยชน์หรอื สร้างคุณค่า 1. นักศึกษาเกิดการเรยี นรู้และมีความสุขในการทำงาน กล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงความคิดในการปฏิบัติงาน และสรา้ งสรรคก์ จิ กรรม 2. นักศกึ ษามที กั ษะทส่ี ามารถนำไปตอ่ ยอดกิจกรรมทางวิชาชพี ในอนาคตได้ 3. คณาอาจารยเ์ กดิ การเรียนรกู้ ระบวนการสร้างจติ บรกิ ารซ่ึงเป็นคณุ สมบตั สิ ำคญั สำหรบั วชิ าชพี พยาบาล 4. แผนการปฏบิ ัติงานงานด้านกิจการนกั ศึกษาใหต้ รงกบั ความต้องการของสังคม 5. ผูบ้ ริหารของคณะพยาบาลศาสตรเ์ กิดการเรียนรรู้ ะบบการบริหารจดั การในองคก์ ร 9. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ปัจจัยที่ที่ส่งผลทำให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผนที่วางไว้ นอกจากจะมีแผนงานในการปฏิบัติที่ดีแล้ว ยังมี ปัจจยั ที่สง่ เสริม คอื 1. การมีส่วนร่วม ซึ่งเป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จในการดำเนินงาน โดย การเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สร้างสรรค์กิจกรรมด้วยตนเอง และคณาจารย์เปลี่ยนบทบาทจาก “ผู้ให้คำตอบ” มาเป็น “ผู้สร้างกระบวนการหาคำตอบ” ทำให้นักศึกษากล้าแสดงออก กล้าคิด กล้าทำ และเกิดการเรียนรู้จริงจากการทำงานและ สามารถนำไปใชไ้ ด้จริงในอนาคต 2. คำแนะนำ แนวทาง การวางแผน และวิธีการติดตามงานทีเ่ ปน็ ประโยชนแ์ ละมปี ระสิทธภิ าพจากคณบดี 10. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแกไ้ ข เนื่องจากตารางเรียนของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ไมม่ ีเวลาว่างเว้นเท่าท่ีควร ซึ่งอาจกระทบต่อแผนการ จดั กิจกรรมในบางชว่ งได้ ดังนั้นควรมกี ารวางแผนกจิ กรรมบูรณาการร่วมกับรายวิชาให้ชดั เจน เพอื่ ลดภาระนักศึกษา และ เกดิ การเรียนรู้ร่วมภายใตร้ ะยะเวลาท่จี ำกัดอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสูงสดุ 11. แนวทางในการจดั การความรู้ (ถา้ มี) จัดกจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรียนรู้ร่วมกบั นักศึกษาต่างคณะ หรอื สถาบันเครือขา่ ยอ่นื ๆ ในการแลกเปลี่ยนทัศนคติ และแนวทางการจดั กิจกรรมเพ่อื สง่ เสรมิ จติ บริการและจติ สาธารณะอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 76 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชุมวิชาการระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จังหวดั นครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 Stroke Fast Tract แผนกอุบตั เิ หตุและฉกุ เฉนิ โรงพยาบาลนครปฐม พว.วาสนา สายเสมา โรงพยาบาลนครปฐม จงั หวัดนครปฐม 1. ชือ่ เรือ่ ง/แนวปฏบิ ตั ิ แนวปฏบิ ัติทีด่ ีดา้ นการปฏบิ ัติการพยาบาล Stroke Fast Tract แผนกอบุ ตั ิเหตุ และฉกุ เฉนิ โรงพยาบาลนครปฐม 2. ชื่อหน่วยงาน งานผูป้ ว่ ยอบุ ัตเิ หตแุ ละฉุกเฉนิ โรงพยาบาลนครปฐม 3. คณะทำงาน ทีมพยาบาลงานผู้ป่วยอบุ ตั เิ หตุและฉุกเฉนิ โรงพยาบาลนครปฐม 4. บทสรุปโครงการ การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลของหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินเริ่มจากทีมได้ทบทวนการพยาบาลในกลุ่ม โรคสำคญั ต่าง ๆ พบว่าการพยาบาลผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองขาดเลือดเฉยี บพลันมอี ตั ราการไดร้ ับยาละลายล่มิ เลือดต่ำ กว่าเกณฑ์ที่กำหนด และล่าช้ากว่าเวลาที่กำหนด ทีมมีโอกาสพัฒนาการพยาบาลเพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยและมีคุณภาพ ชวี ิตทดี่ จี งึ เรม่ิ ปรับการพยาบาลตงั้ แตก่ ารพยาบาล ณ จดุ เกิดเหตุ การประสานทผ่ี เู้ กย่ี วขอ้ ง การเรม่ิ ให้ยาละลายล่ิมเลือด ทีห่ ้องฉกุ เฉนิ ผูป้ ่วยได้รับยาละลายลม่ิ เลือดอย่างรวดเรว็ อตั ราการไดร้ ับยาผ่านเกณฑ์ โดยประยุกต์ใช้หลกั การของ The D’s of stroke care ตามมาตรฐานของ Stroke fast track ใน 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular ประกอบดว้ ย 5 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ 1) การคัด กรองเบอื้ งต้น และการสง่ มอบผปู้ ว่ ย ณ ห้องฉกุ เฉนิ 2) การประเมินและการจดั การในแผนกอุบตั ิเหตแุ ละฉกุ เฉิน 3) การ วินจิ ฉัยและสัง่ การรักษา 4) การบริหารจัดการใหผ้ ู้ปว่ ยไดร้ บั ยาและกิจกรรมการพยาบาลและ 5) การรบั ผู้ป่วยสำหรับการ รักษาหรอื การส่งตอ่ ทเี่ หมาะสม ปจั จุบนั ได้แนวปฏบิ ัติท่ดี ดี ้านการพยาบาล Stroke Fast Tract เป็นต้นแบบการพยาบาล และการดแู ลรักษาผปู้ ่วยหลอดเลือดสมองขาดเลอื ดเฉยี บพลันในระดับเขต เป็นแหล่งศกึ ษาดูงานของโรงพยาบาลอนื่ 5. ท่ีมาและความสำคัญ การรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน (acute ischemic stroke) ด้วยยาละลายลิ่มเลือด ทางหลอดเลือดดำ (intravenous recombinant tissue plasminogen activator; IV rtPA) ในผู้ป่วยท่ีมีอาการภายใน 4.5 ชั่วโมง (270 นาที) เป็นมาตรฐานสากล สามารถลดภาวะทุพพลภาพและเพิ่มคุณภาพชวี ิตของผู้ป่วย ในประเทศไทย จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันทีไ่ ด้รับยาละลายลิ่มเลือดมีเพียงร้อยละ 1.95 ซึ่งอยู่ในระดับน้อย เมื่อเทียบกับกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วอาทิเช่น ประเทศแคนาดาได้รับยาละลายล่ิมเลือดร้อยละ 8.9 และสหรัฐอเมริกา ได้รับยาละลายลิ่มเลือดร้อยละ 3.0-8.53 (Lokeskrawee T, Muengtaweepongsa S, Patumanond J., et al.2017) ระบบการจัดการท่ีหอ้ งฉุกเฉินเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่สามารถพัฒนาให้ดีขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกลุ่มโรคที่มีปัจจัย ด้านเวลาส่งผลต่อการรกั ษา อย่างเช่นโรคหลอดเลือดสมอง การพัฒนาการจัดการเพื่อให้ผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองขาด เลือดเฉียบพลันที่มาห้องฉุกเฉินภายใน 4.5 ชั่วโมง หลังจากเร่ิมมีอาการมีโอกาสได้รับยาละลายลิ่มเลือดตามมาตรฐาน สากลอกี ทั้งสามารถใหย้ าไดอ้ ยา่ งเร็วที่สดุ เพื่อให้เลือดไปเล้ียงสมองน้นั ส่งผลดตี ่อการลดภาวะทพุ พลภาพของผู้ป่วยดังวลี ที่ว่า “time is brain” พบว่าทุก ๆ 1 นาทีที่ผ่านไป ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดที่ไม่ได้รับการรักษาจะสูญเสีย เซลล์ประสาทจำนวน 1.9 ล้านเซลล์จากจำนวนเซลล์สมองเฉลี่ยประมาณ 130 พันล้านเซลลท์ ั้งนี้มีคำแนะนำในปจั จุบนั ให้ผูป้ ่วยควรได้รบั ยาละลายลม่ิ เลอื ดภายใน 60 นาทีหลังจากมาถึงโรงพยาบาล ดังนั้นแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลนครปฐม จังหวัดนครปฐม จึงได้มีการพัฒนาระบบช่องทางด่วน เพื่อดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน (Stroke Fast Tract) โดยมีข้อตกลงระหว่างทีมแผนกฉุกเฉิน ร่วมกับแผนกอายุรกรรมกำหนดรูปแบบการจัดการผู้ป่วย ณ ห้องฉุกเฉินการจดั ทำแนวทางการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอด เลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน ให้เป็นมาตรฐาน ทันสมัย และสอดคล้องกับแนวทางการรักษาโรคนี้ จึงเป็นสิ่งจําเป็น เพื่อให้ พยาบาลให้การดแู ลทีม่ ีประสิทธภิ าพและผ้ปู ่วยปลอดภัย พยาบาลกับการวจิ ยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพื่อวถิ ีชวี ิตใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 77
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 6.วัตถุประสงค์ 6.1 เพอ่ื พัฒนาแนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทางคลินิกสำหรบั ผู้ปว่ ยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉยี บพลัน งาน ผูป้ ่วยอบุ ัติเหตุและฉกุ เฉนิ โรงพยาบาลนครปฐม จงั หวัดนครปฐม 6.2 เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการใหก้ ารพยาบาลทางคลินกิ สำหรบั ผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองขาดเลือดเฉยี บพลัน งานผ้ปู ว่ ยอบุ ตั เิ หตแุ ละฉุกเฉนิ โรงพยาบาลนครปฐม จังหวดั นครปฐม 7.วธิ ีการกระบวนการ เริ่มด้วยการจัดประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อทบทวนและวางแผนร่วมกันในการพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลทาง คลินกิ สำหรับผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลอื ดเฉียบพลัน งานผปู้ ว่ ยอุบตั เิ หตุและฉกุ เฉิน โดยประยุกตใ์ ช้หลักการของ The D’s of stroke care ตามมาตรฐานของ Stroke fast track ใน 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular ประกอบดว้ ย 5 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ 1) การคดั กรองเบือ้ งต้น และการสง่ มอบผปู้ ว่ ย ณ ห้องฉุกเฉนิ 2) การประเมนิ และการจัดการในแผนกอุบัตเิ หตแุ ละฉุกเฉิน 3) การวนิ ิจฉยั และส่งั การรกั ษา 4) การบรหิ ารจัดการให้ผู้ปว่ ยไดร้ ับยาและกิจกรรมการพยาบาล 5) การรบั ผู้ป่วยสำหรับการรักษาหรอื การส่งต่อท่เี หมาะสม กระบวนการดูแลเริ่มตั้งแต่ระยะก่อนเข้ารักษาในต้องรีบนำส่งสถานพยาบาลที่สามารถให้บริการ รักษาโรค หลอดเลือดสมองได้โดยให้การช่วยเหลือดังน้ี 1) Airway, Blood pressure, Circulation. (ABC) 2) สัญญาณชีพ (Vital signs) 3) การติดตามการเต้นของหัวใจ 4) การประเมินอาการแสดงของโรคหลอดเลือดสมอง prehospital stroke scale โดยใชก้ ารประเมนิ FAST ไดแ้ ก่ Facial palsy affected side ปากเบยี้ วหรอื ไม่ Arm weakness affected side แขนไม่มแี รงหรอื ไม่ Speech impairment พดู ไมอ่ อกพดู ไม่ชดั หรอื ไม่ Time of onset ถามเวลาทเ่ี ร่มิ มีอาการภายใน 3 ชั่วโมงหรือมากกว่า กรณีไม่ทราบเวลาเริ่มมีอาการสอบถามเวลาสุดท้ายที่พบว่าผู้ป่วยมีอาการปกติเวลาใด ขณะนำส่ง ตรวจดูการเต้นของหัวใจและคลืน่ ไฟฟ้าหัวใจ การติดตามความดันโลหิตทุก 15 นาที การตรวจน้ำตาลจากปลายนิ้ว และ นำส่งโรงพยาบาลเพื่อให้การรักษาท่ีเฉพาะกับโรคต่อไป ร่วมกับการใชก้ ารปรับลดขั้นตอน (lean) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ได้แก่ การลดขั้นตอนการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากห้องฉุกเฉินไปที่ห้องผู้ป่วยหนักอายุรกรรมก่อนตัดสินใจให้ยา การลด ขั้นตอนการตัดสินใจให้ยาของแพทย์ โดยใหแ้ พทย์ฉุกเฉินซึง่ ดูแลผู้ป่วยตั้งแตเ่ ริ่มแรกเปน็ ผูพ้ จิ ารณาให้ยาละลายลิม่ เลือด ตามระเบยี บแนวทางปฏิบตั ทิ ีไ่ ด้กำหนดขน้ึ ร่วมกนั ระหว่างแผนกฉกุ เฉนิ และอายุรกรรมตามหลกั มาตรฐานสากล ระยะที่ 1 เริ่มต้นในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2557 ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันที่ส่งมาห้อง ฉุกเฉนิ ภายใน 3 ชั่วโมงหลังมอี าการ จะไดร้ บั การคัดกรองซกั ประวตั โิ ดยพยาบาลและตรวจร่างกายโดยแพทย์ประจำห้อง ฉุกเฉินซึ่งเป็นแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน หรืออาจเป็นแพทย์เวรฉุกเฉินในช่วงนอกเวลาราชการที่ไม่มีแพทย์เวชศาสตร์ ฉุกเฉินขึ้นปฏิบัติงาน หากเข้าได้กับโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันจะได้รับการส่งตรวจเลือดและเอกซเรย์ คอมพิวเตอรส์ มองด่วน หากพบวา่ ไมม่ เี ลือดออกหรอื ผลเปน็ ปกติ(กรณเี อกซเรยค์ อมพวิ เตอร์สมองเร็วหลังมอี าการอาจยัง ไม่พบความผิดปกติ) ผู้ป่วยจะถูกส่งต่อไปยังห้องผู้ป่วยหนักอายุรกรรม โดยมีทีมแพทย์อายุรกรรมรับดูแลต่อเนื่องและ เป็นผพู้ ิจารณาให้ยาละลายลมิ่ เลือด ณ หอ้ งผูป้ ว่ ยหนักอายรุ กรรม ผลการดำเนินการระยะที่ 1 พบวา่ ยงั มีอัตราการไดร้ บั ให้ยาละลายลม่ิ เลือดยังน้อย คือ 13.3 % จงึ ต้องทบทวน เพ่ือหาสาเหตแุ ละหาแนวทางหารแก้ปญั หารว่ มกบั ทีม ระยะที่ 2 เริ่มในเดือนเมษายน พ.ศ. 2559 เริ่มจากมีการปรับลดขั้นตอนต่าง ๆ (lean รอบที่ 2) โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อลดระยะเวลาโดยรวมและสามารถให้ยาละลายล่ิมเลือดได้อย่างเรว็ ที่สุด ในผู้ป่วยที่มีอาการภายใน 4.5 ชั่วโมง โดยมแี พทยเ์ วชศาสตร์ฉุกเฉนิ เปน็ ผู้พิจารณาใหย้ าละลายล่ิมเลอื ด(ในกรณีที่ไม่มีแพทย์เวชศาสตรฉ์ ุกเฉนิ อยู่เวร จะ ดำเนินการโดยทีมแพทย์เวรอายุรกรรม) และให้ยา ณ ห้องฉุกเฉินในส่วนบุคลากรสนับสนุน ได้แก่ แพทย์เพิ่มพูนทักษะ และพยาบาลจากหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (stroke unit) จะมาที่ห้องฉุกเฉินเพื่อรับทราบอาการผู้ป่วยก่อนให้ยา และสามารถชว่ ยจัดการเอกสารตา่ ง ๆทำให้สามารถดูแลผ้ปู ว่ ยไดด้ ีมากขน้ึ ผลการดำเนินการระยะที่ 2 พบว่า - ระยะเวลาเฉลยี่ ตัง้ แตผ่ ปู้ ว่ ยมาถงึ โรงพยาบาลจนกระทงั่ ได้รบั ยาละลายลม่ิ เลอื ด (door-to-needle) ลดลง 78 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชุมวชิ าการระดับชาติ คร้งั ที่ 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร)์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 - ระยะเวลาเฉล่ียตง้ั แตผ่ ปู้ ่วยเริม่ มอี าการจนกระทัง่ ได้รบั ยาละลายลมิ่ เลอื ด (onset-to-treatment) ลดลง - จำนวนรอ้ ยละผูป้ ่วยไดร้ ับยาละลายลมิ่ ภายใน 60 นาที มากขนี้ Action 2557 2559 Door-to-needle 102.0 ± 43.8 นาที 49.0 ± 23.4 นาที Onset-to-treatment 176.3 ± 48.7 นาที 144.9 ± 54.1 นาที ผ้ปู ว่ ยไดร้ บั ยาละลายล่มิ ภายใน 60 นาที ร้อยละ 13.3 68 (77.3) 8.ผลกระทบทเ่ี ป็นประโยชนแ์ ละสร้างคณุ คา่ จากจำนวนผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง โรงพยาบาลนครปฐม พบว่า ผปู้ ่วย เม.ย. 2558 - ม.ี ค. 2559 เม.ย. 2559 - มี.ค. 2560 ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองทัง้ หมด 1,992 ราย 2,019 ราย ผปู้ ว่ ย ischemic stroke 1,382 ราย 1,385 ราย ผปู้ ่วย hemorrhagic stroke 543 ราย 585 ราย ผปู้ ่วย acute ischemic stroke ทไี่ ดร้ บั ยาละลายลมิ่ เลือด 15 ราย 88 ราย อตั ราผู้ป่วย ischemic stroke ทไี่ ด้รบั ยาละลายล่มิ เลอื ด ร้อยละ 1.1 รอ้ ยละ 6.4 ผลการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล Stroke Fast Tract 2559 2560 2563 102.0 นาที 49.0 นาที 33 นาที ประสิทธิผล Door-to-needle 176.3 144.9 93 นาที รอ้ ยละ 13.3 รอ้ ยละ 77.3 รอ้ ยละ 94.3 Onset-to-treatment ผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มภายใน 60 นาที 9. ปัจจัยแหง่ ความสำเรจ็ เกิดจากความร่วมมอื กันของทมี สหสาขาวิชาชพี การกำหนดระเบียบแนวทางปฏิบตั ิทีเ่ ป็นมาตรฐานสากล ตาม ขอ้ ตกลงรว่ มกันระหวา่ งแผนกฉุกเฉนิ และแผนกอายุรกรรมอกี ทั้งความทมุ่ เทของสมาชกิ ในทมี งานอุบัติเหตุและฉุกเฉินใน การรว่ มกันพัฒนาคณุ ภาพการจดั การ เพ่ือทำให้หอ้ งฉกุ เฉนิ เป็นสถานทม่ี ศี ักยภาพในการดูแลผ้ปู ว่ ยวกิ ฤตโิ ดยเฉพาะผู้ป่วย ทมี่ ีปจั จยั ดา้ นเวลาสง่ ผลตอ่ การรกั ษาอย่างเช่นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลอื ดเฉยี บพลัน 10. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข 1. การเข้าถงึ ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) ยังมจี ำนวนน้อย ควรเพ่ิมการพฒั นาระบบการจดั การโรคหลอด เลือดสมองในสว่ นก่อนถงึ โรงพยาบาล (pre-hospital care) ไดแ้ ก่ การเพิ่มความตระหนักรขู้ องประชาชนตอ่ โรคหลอด เลอื ดสมองและการเข้าถึงระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ (EMS) 2. การติดตามผปู้ ว่ ยหลงั ไดร้ ับยาละลายลิ่มเลอื ด ยงั ไม่เปน็ ระบบท่ชี ดั เจน ควรเพม่ิ การติดตามและเก็บข้อมูล อาการของผู้ปว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองขาดเลือดเฉียบพลนั ทไี่ ดร้ บั ยาละลายลิ่มเลือดอย่างต่อเน่อื ง 11. แนวทางในการจดั การความรู้ 11.1. จัดทำค่มู อื การพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองขาดเลือดเฉยี บพลนั ท่ีไดร้ ับยาละลายลิ่มเลอื ด 11.2. จัดอบรมใหแ้ ก่บุคคลกรทงั้ ภายในและภานนอกโรงพยาบาล เรอื่ งโรคหลอดเลือดสมองขาดเลอื ด เฉียบพลนั ทีไ่ ด้รับยาละลายล่มิ เลือด 11.3. ทำวิจยั ทเ่ี กย่ี วกบั โรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉยี บพลนั ทีไ่ ด้รับยาละลายลมิ่ เลือด พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตร์พระราชา เพ่ือวิถีชวี ติ ใหม่ในยุค Disruptive Technology | 79
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 80 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
งานประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครั้งท่ี 12 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม (สาขาพยาบาลศาสตร์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม | จงั หวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 9 - 10 กรกฎาคม 2563 การนาํ เสนอผลงานวิจัย และผลงานวิชาการ แบบบรรยาย (Oral Presentation) สาขาพยาบาลศาสตร์ พยาบาลกบั การวิจยั ตามศาสตรพ์ ระราชา เพือ่ วิถีชวี ิตใหม่ ในยุค Disruptive Technology พยาบาลกบั การวจิ ัยตามศาสตรพ์ ระราชา เพ่ือวิถีชวี ติ ใหมใ่ นยคุ Disruptive Technology | 81
The 12th NPRU National Academic Conference (Session: Nursing) Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 9 - 10 July 2020 82 | Nursing Research & Practice by King's Philosophy for New Normal Life in Disruptive Technology Era
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248