Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ส่วนเนื้อหารายงานประจำปี 63

ส่วนเนื้อหารายงานประจำปี 63

Published by kanyanat_jo, 2022-01-17 07:20:22

Description: ส่วนเนื้อหารายงานประจำปี 63

Search

Read the Text Version

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 1 สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ภาพรวม ของหน่วยงาน

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 2 วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ และอำนาจหนา้ ทข่ี องหนว่ ยงาน วสิ ยั ทศั น์ (Vision) “มงุ่ พฒั นาสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร ใหม้ คี วามเข้มแขง็ มภี มู คิ มุ้ กัน และทนั ตอ่ การ เปลี่ยนแปลง” พนั ธกจิ (Mission) 1. ยกระดับคุณภาพและขยายการให้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทว่ั ไป 2. ขยายเครือข่ายความร่วมมือและการบูรณาการระหว่างหน่วยงานในประเทศและต่างประเทศ เพื่อการพฒั นาระบบสหกรณ์ 3. ส่งเสรมิ และสนับสนุนการสร้างจิตสำนึกความเปน็ สหกรณ์ และการมีส่วนร่วม 4. ส่งเสริมและสนบั สนนุ การสร้างเครือข่ายพนั ธมติ รทางด้านการบรหิ ารจดั การ ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรมเพื่อสร้างความเข้มแขง็ ในระบบสหกรณ์ 5. สนบั สนนุ และคุม้ ครองสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรในการดำเนนิ งานเพ่ือตอบสนองความต้องการ ของสมาชกิ และผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี ภายใตห้ ลกั การสหกรณ์สากลและกฎหมายที่เกี่ยวขอ้ ง อำนาจหนา้ ทข่ี องหนว่ ยงาน 1. ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ และ กฎหมายอนื่ ทเี่ กีย่ วข้อง 2. สง่ เสรมิ และพัฒนางานสหกรณท์ กุ ประเภท และกลมุ่ เกษตรกร 3. สง่ เสรมิ เผยแพร่ และใหค้ วามรเู้ กี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธกี ารสหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร และประชาชนท่ัวไป 4. ส่งเสริมและพัฒนาธรุ กิจของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร 5. ปฏิบัติงานรว่ มกันหรือสนบั สนุนปฏิบตั ิงานของหน่วยงานอ่ืนที่เก่ียวขอ้ ง หรือทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 3 โครงสรา้ งและอตั รากำลงั ของสำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั อดุ รธานี  โครงสรา้ งสำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อดุ รธานี นายยงยทุ ธ อดุ มศกั ด์ิ สหกรณจ์ งั หวดั อดุ รธานี

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 4 ฝ่ายบริหาร นายประสทิ ธิ์ เทพมณู ี หวั หนา้ ฝา่ ยบรหิ ารทว่ั ไป นายอาทติ ย์ พรมทะรอื นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ นางสาวสภุ าวะดี ปญั ญา นายอดลุ ย์ ธรรมสอน นางสาววรางคณา พรหมมาอาจ สบิ เอกนฤเบศร์ ทองใบ นกั วเิ คราะหน์ โยบายละแผน นกั จดั การงานทว่ั ไป เจา้ พนกั งานการเงนิ และบญั ชี เจา้ พนกั งานธรุ การ น.ส.บงั อร คำระกาย นางธญั พมิ ล โคตรบตุ ร นายสมหมาย ทา้ วสนทิ นายสพุ จน์ เกษแกว้ นายจกั รกฤษณ์ ปทั มนาคร เจา้ พนกั งานธรุ การ เจา้ พนกั งานธรุ การ พนกั งานบรกิ ารเอกสารว่ั ไป บ.2 พนกั งานขบั รถยนต์ ส.2 พนกั งานขบั รถยนต์ ส.2 นายปติ ิ สนิ ทพิ ลา นายชชั วาล พรหมสาขา ณ สกลนคร นายสาคร แกว้ ภบู าล นายเสถยี ร ทองนอ้ ย พนกั งานขบั รถยนต์ ส.2 พนกั งานขบั รถยนต์ ส.2 พนกั งานขบั รถยนต์ ส.2 พนกั งานขบั รถยนต์ ส.2

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 5 กลุ่มจดั ตงั้ และสง่ เสรมิ สหกรณ์ นางวนดิ า อามาตยท์ ศั น์ ผอู้ ำนวยการกลมุ่ จดั ตงั้ และสง่ เสรมิ สหกรณ์ นางสาวทพิ ยส์ ดุ า กลนิ่ คลา้ ยกนั นางสาวอษั ฏาพร พบิ ลู ย์ นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ นกั วชิ าการสหกรณป์ ฏบิ ตั กิ าร นางสาวชนญั ชดิ า สารชยั นางธารณา ทพิ ยก์ รรณ นางณฎั ฐวรภา ศรดี า นกั วชิ าสหกรณ์ นกั วชิ าสหกรณ์ นกั วชิ าการสหกรณ์

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 6 กลมุ่ สง่ เสริมและพัฒนาธรุ กิจสหกรณ์ วา่ ทรี่ อ้ ยตรจี อมประสาน ผวิ หมู ผอู้ ำนวยการกลมุ่ สง่ เสริมและพฒั นาธรุ กจิ สหกรณ์ นางวไิ ลลกั ษณ์ ผวิ หูม นางสาวจริ ชั ยา กำมะณี นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ นางสาวรชั นนิ ทร์ ทองชว่ ย นางสาวโสรยา พมิ ลพร นางนันทยิ า บำรงุ นอก นางสาวภทั รภร โภคาพานชิ นกั วชิ าสหกรณ์ นกั วชิ าการมาตรฐาน นกั วชิ าการสหกรณ์ นกั วชิ าการสหกรณ์ สนิ คา้

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 7 กลมุ่ สง่ เสริมและพฒั นาการบรหิ ารการจดั การสหกรณ์ นายอภเิ ดช ธรรมสอน ผอู้ ำนวยการกลมุ่ สง่ เสรมิ และพัฒนาการบรหิ ารการจดั การสหกรณ์ นางกนกวรรณ แกว้ มงุ คุณ นางสาวนชุ นารถ พรมทอง นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ นางสาวณฐั ยา เทพสนุ ทร นางสาวภรภคั รชั ตะกลุ นนท์ นายยศพทั ธ์ กติ ริ าช นางสาวเกวลี คอกทอง นกั วชิ าการสหกรณ์ เจา้ พนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์ เจา้ พนกั งานส่งเสริมสหกรณ์ เจา้ พนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 8 กลมุ่ ตรวจการสหกรณ์ นายวชริ ะ แกว้ พะเนาว์ ผ้อู ำนวยการกลุ่มตรวจการสหกรณ์ นางสาวกญั ญา คำตา นายธราธปิ ทพิ ยก์ รรณ นายยทุ ธนา ศรธี รสทุ ธ์ิ นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ นติ กิ รปฏบิ ตั กิ าร นางสาวรษั ฎากมล ธรรมวเิ ศษ นางสาวอรวรรณ มหี ลง นติ กิ ร นกั วชิ าการสหกรณ์

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 9 กลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์ 1 นาสรุ พล นรสงิ หธ์ าดา ผอู้ ำนวยการกลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์ 1 นางสาวนติ ยา สงั ขทพิ ย์ นางสาววาสนา บบุ ผาแสง นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ นกั วชิ าการสหกรณป์ ฏบิ ตั กิ าร นางสาวสนุ ยี ์ แซเ่ ต๋ง นางสางรชั นกี ร บญุ สังข์ นกั วชิ าสหกรณป์ ฏบิ ตั กิ าร เจา้ พนกั งานส่งเสรมิ สหกรณ์ ปฏบิ ตั งิ าน นางสาวรตั นา เศวตวงศ์ นางจารวุ รรณ รงุ่ ศรรี ตั น์ เจา้ พนกั งานส่งเสรมิ สหกรณ์ เจา้ พนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 10 กลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์ 2 นายเดชา ธาราพรหม ผอู้ ำนวยการกลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์ 2 นางวรชั ยา อนิ ทรกองแกว้ นายปญั ญา นอ้ ยมะลวิ นั นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ เจา้ พนกั งานส่งเสรมิ สหกรณอ์ าวโุ ส นางนทั ธมน เทพมณู ี นางสาวอจั ฉรา คำจนั ทร์ นกั วชิ าการสหกรณ์ เจา้ พนกั งานส่งเสรมิ สหกรณ์

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 11 กลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์ 3 นายสมชติ ร มณสี าร ผอู้ ำนวยการกลมุ่ สง่ เสรมิ สหกณ์ 3 นายอภยั ทองใบ เจา้ พนกั งานส่งเสริมสหกรณอ์ าวโุ ส นางสาวรตั นาพร ทองดี วา่ ทร่ี อ้ ยตรหี ญงิ อไุ รภรณ์ สนั ตสิ งู เนนิ เจา้ พนกั งานสง่ เสริมสหกรณ์ เจา้ พนกั งานส่งเสริมสหกรณ์

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 12 กลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์ 4 นายวชั รนิ ทร์ ขำคม ผอู้ ำนวยการกลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์ 4 วา่ ทรี่ อ้ ยตรสี ทิ ธศิ กั ดิ์ จนั ทรห์ อม นางสาวกญั ญาณฐั สพุ นั ธ์ นกั วชิ าการสหกรณป์ ฏบิ ตั กิ าร นกั วชิ าการสหกรณป์ ฏบิ ตั กิ าร นางสาวอภสิ รา เมฆวนั เจา้ พนกั งานส่งเสริมสหกรณ์

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 13 กลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์ 5 นายสมชาติ แจงกลาง ผอู้ ำนวยการกลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์ 5 นางสาวปรยี นนั ท์ รกั สจุ รติ นางสาวปณฐั ตา มาหา นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ นางสาวสกลสภุ า เพชรคำจนั ทร์ เจา้ พนกั งานสง่ เสริมสหกรณ์

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 14  อตั รากำลงั ของสำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อดุ รธานี รวม 48% ขา้ ราชการ ลกู จา้ งประจา 41% พนกั งานราชการ 66 คน 11% ประเภทอตั รากำลงั ชาย หน่วย : คน ข้าราชการ 16 ลกู จา้ งประจำ 7 หญิง รวม พนกั งานราชการ 3 16 32 26 -7 รวม 24 27 40 66 *** ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2563

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 15 แผนปฏบิ ตั ิงานและงบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563  แผนปฏิบตั งิ าน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 1. แผนงาน บคุ ลากรภาครฐั (ดา้ นการแก้ไขปญั หาความยากจน ลดความเหลอ่ื มลำ้ และสรา้ งการเตบิ โต จาก ภายใน) ผลผลติ /โครงการ รายการคา่ ใชจ้ า่ ยบคุ ลากรภาครฐั พฒั นาเศรษฐกจิ ฐานรากและชมุ ชนเขม้ แข็ง กจิ กรรมหลกั : ค่าใช้จ่ายบุคลากรกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. แผนงานพน้ื ฐาน ด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ผลผลติ /โครงการ สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรไดร้ บั การสง่ เสรมิ และพฒั นาใหเ้ ปน็ กลไกการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมในระดบั ชมุ ชน กิจกรรมหลกั : สง่ เสรมิ และพัฒนาสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกร รายจ่ายเพื่อการลงทนุ สำหรับครุภัณฑ์ และสง่ิ ก่อสรา้ ง ๓. แผนงานพน้ื ฐาน ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ผลผลติ /โครงการ สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรไดร้ บั การสง่ เสรมิ และพฒั นาใหเ้ ปน็ กลไกการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมในระดบั ชมุ ชน กิจกรรมหลกั : สง่ เสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร กิจกรรมรอง : พัฒนาบคุ ลากรในสถานศึกษา/ประชาชนท่ัวไป ๔. แผนงานพนื้ ฐาน ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ผลผลติ /โครงการ สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรไดร้ บั การสง่ เสรมิ และพฒั นาใหเ้ ปน็ กลไกการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมในระดบั ชมุ ชน กิจกรรมหลัก : สง่ เสริมและพัฒนาสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรใหค้ วามเขม้ แข็งตามศักยภาพ 5. แผนงาน พฒั นาและสง่ เสรมิ เศรษฐกิจแบบฐานราก ผลผลติ /โครงการ สง่ เสรมิ และพฒั นาอาชีพเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาทดี่ นิ ทำกนิ ของเกษตรกร กิจกรรมหลกั : สง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดท่ีดินตามนโยบายรัฐบาล กจิ กรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพือ่ แก้ไขปัญหาที่ดนิ ทำกินของเกษตรกร ๖. แผนงาน พฒั นาและสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ แบบฐานราก ผลผลติ /โครงการ พฒั นาศกั ยภาพการดำเนินธรุ กจิ ของสหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร และธรุ กิจชมุ ชน กจิ กรรมหลัก : เพิ่มศกั ยภาพการดำเนินธุรกิจรวบรวมและจดั เกบ็ ผลผลติ การเกษตรในสถาบัน เกษตรกร กิจกรรมรอง : พัฒนาศักยภาพการดำเนนิ ธุรกจิ ของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน ๗. แผนงาน ยทุ ธศาสตร์ ผลผลติ /โครงการ โครงการสง่ เสรมิ การดำเนนิ งานอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ กจิ กรรมหลัก : พัฒนาสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรในพื้นที่ฯ โครงการราชดำริ กิจกรรมรอง : คลนิ ิคเกษตรเคลอ่ื นที่ฯ 2563

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 16 ๘. แผนงาน ยทุ ธศาสตร์ ผลผลติ /โครงการ โครงการสง่ เสรมิ การดำเนนิ งานอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ กิจกรรมหลกั : พฒั นาสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรในพืน้ ที่ฯ โครงการราชดำริ กจิ กรรมรอง : สง่ เสริมกิจกรรมสหกรณน์ ักเรียนในโรงเรยี นตามพระราชดำรฯิ ๙. แผนงาน ยทุ ธศาสตร์ ผลผลติ /โครงการ โครงการสง่ เสรมิ การดำเนนิ งานอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ กจิ กรรมหลัก : พัฒนาสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกรในพืน้ ทฯ่ี โครงการราชดำริ กจิ กรรมรอง : ขบั เคล่อื นปรัชญาปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงฯ ๑๐. แผนงาน ยทุ ธศาสตร์ กจิ กรรมหลกั : ช่วยเหลือด้านหน้ีสนิ สมาชกิ สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร กิจกรรมรอง : เงินอดุ หนุน เพอื่ ชดเชยดอกเบย้ี เงนิ กู้ให้สกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 17  งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 - 2563 แผนภูมแิ สดงงบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61- ๒๕๖3 จำแนกตามประเภทงบรายจา่ ย ลา้ นบาท งบลงทุน 35 30 25 20 15 10 5 0 งบบุคลากร งบดาเนนิ งาน เงนิ อดุ หนุน งบรายจ่ายอ่ืน ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ประเภทงบรายจา่ ย ปี 2561 ปี 2562 หนว่ ย : ลา้ นบาท รวมทงั้ สน้ิ 32.46 15.95 ปี 2563 งบบุคลากร 6.81 6.09 งบดำเนินงาน 12.58 8.28 20.36 งบลงทุน 5.26 0.94 6.30 เงนิ อดุ หนนุ 7.81 0.64 4.87 งบรายจา่ ยอ่ืน (ถา้ มี) 3.73 - - 5.46 -

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 18 สรปุ ขอ้ มลู สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563  ขอ้ มลู สถติ ขิ องสหกรณ์ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวนสหกรณแ์ ละจำนวนสมาชกิ สหกรณ์ จำนวนสหกรณ์ จำนวนสมาชกิ ทงั้ หมด จำนวนสมาชกิ ทม่ี ี สว่ นรว่ มในการดำเนนิ ธรุ กจิ ประเภทสหกรณ์ (แหง่ ) (คน) รอ้ ยละ (คน) 1. สหกรณ์การเกษตร 98 151,002 151,002 100 2. สหกรณป์ ระมง 1 1,531 1,531 100 3. สหกรณน์ ิคม - 4. สหกรณ์ออมทรพั ย์ 19 - - - 5. สหกรณร์ ้านค้า 2 28,055 100 6. สหกรณ์บริการ 15 28,055 7. สหกรณเ์ ครดิตยเู น่ียน - - 6 2,624 - 100 รวม 141 2,624 100 8,131 100 191,343 8,131 191,343 ทม่ี า : (กลุ่มจัดตง้ั และสง่ เสรมิ สหกรณ์ สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั อุ ดรธานี) สถานะสหกรณ์ จำนวนสหกรณ์ (แหง่ ) จำนวนสหกรณ์ ทง้ั หมด ประเภทสหกรณ์ ดำเนนิ งาน/ หยดุ ดำเนนิ งาน/ เลกิ จดั ตงั้ ใหม่ ธรุ กจิ ธรุ กจิ /ชำระบญั ชี (1) + (2) + (3) 1. สหกรณก์ ารเกษตร (1) (2) (4) + (4) 2. สหกรณป์ ระมง (3) - 3. สหกรณน์ ิคม 58 15 - 98 4. สหกรณอ์ อมทรพั ย์ - 1 25 - 1 5. สหกรณร์ า้ นคา้ - - - - - 6. สหกรณ์บรกิ าร 18 - - - 19 7. สหกรณเ์ ครดิตยเู น่ียน - - 1 - 2 5 3 2 - 15 6 - 7 6 - - 141 รวม 87 19 35 ที่มา : (กลุม่ จดั ตง้ั และส่งเสรมิ สหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวดั อดุ รธานี)

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 19 ปริมาณธรุ กจิ ของสหกรณใ์ นปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปรมิ าณ ปรมิ าณธรุ กจิ แยกตามประเภทการใหบ้ รกิ าร (ลา้ นบาท) ธรุ กจิ ประเภทสหกรณ์ ของสหกรณ์ รบั ฝากเงนิ ใหเ้ งนิ กู้ จดั หาสนิ คา้ รวบรวม บรกิ าร รวมท้งั สนิ้ (แหง่ ) มาจำหนา่ ย ผลผลติ และ และอนื่ ๆ 8,305.61 แปรรปู - - 1. สหกรณ์การเกษตร 98 1,346.03 5,919.12 564.72 469.10 6.63 2. สหกรณป์ ระมง 19,229.59 3. สหกรณ์นิคม 1- - --- - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 5. สหกรณร์ า้ นค้า - - - --- 0.79 6. สหกรณ์บริการ 9.95 7. สหกรณ์เครดิตยเู นียน 19 2,017.02 17,210.76 - - - 27,545.96 2- - --- 15 0.01 0.79 - - - 6 1.53 8.41 - - - รวมทง้ั สน้ิ 141 3,364.60 23,139.10 564.72 469.10 6.63 ทม่ี า : (กล่มุ สง่ เสรมิ และพัฒนาธรุ กิจสหกรณ์ สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั อุ ดรธาน)ี ผลการดำเนนิ งานของสหกรณ์ ผลการดำเนนิ งานปลี า่ สดุ ทม่ี กี ารปดิ บญั ชใี นปงี บประมาณ พ.ศ.2563 กำไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ ผลการดำเนนิ งานในภาพรวม การดำเนนิ งานมผี ลกำไร - ขาดทนุ ในภาพรวม ประเภทสหกรณ์ (1) (2) (3) สหกรณท์ มี่ ผี ลกำไร สหกรณท์ ขี่ าดทนุ (ลา้ นบาท) จำนวน รายได้ คา่ ใชจ้ า่ ย (6) (7) (5) – (7) 1. สหกรณก์ ารเกษตร สหกรณ์ (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (4) (5) จำนวน ขาดทนุ 2. สหกรณ์ประมง (แหง่ ) จำนวน กำไร สหกรณ์ (ลา้ น 107.64 3. สหกรณ์นคิ ม สหกร (ลา้ นบาท) (แหง่ ) บาท) - 4. สหกรณ์ออมทรพั ย์ 43 1,594.27 1,486.62 - 5. สหกรณร์ ้านค้า ณ์ 7 (2.31) 6. สหกรณ์บรกิ าร 0- - (แหง่ ) -- 1,455.74 7. สหกรณเ์ ครดติ ยเู นีย่ น -- - 0- - 36 113.81 -- รวมทง้ั สน้ิ -- -- 0.37 12 2,187.91 732.16 -- 1 (0.01) 11.62 12 1,455.74 -- 1,575.39 0- - -- 1 0.37 2 2.89 2.52 3 11.62 3 24.47 12.84 60 3,809.55 2,234.16 52 1,581.56 8 (2.32) ที่มา : (กล่มุ สง่ เสรมิ และพัฒนาการบรหิ ารการจดั การสหกรณ์ สำนกั งานหสกรณจ์ งั หวัดอดุ รธาน)ี หมายเหตุ ผลรวมของสหกรณ์ในชอ่ ง (1) จะต้องเทา่ กบั ผลรวมของช่อง (4) + (6)

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 20  ผลการจดั ระดบั ชน้ั สหกรณ์ จำแนกตามประเภทของสหกรณ์ ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2563 สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ รวม ประเภทสหกรณ์ ชน้ั 1 ชน้ั 2 ชัน้ 3 ชน้ั 4 98 - สหกรณภ์ าคการเกษตร 1 1. สหกรณ์การเกษตร 6 51 17 24 21 2. สหกรณน์ คิ ม - --- 6 12 3. สหกรณป์ ระมง - -1- 3 141 สหกรณน์ อกภาคการเกษตร 4. สหกรณอ์ อมทรพั ย์ 10 8 2 1 5. สหกรณเ์ ครดิตยเู นี่ยน - 51- 6. สหกรณบ์ ริการ - 525 7. สหกรณร์ ้านค้า -1 2 รวม 16 70 23 32 ทม่ี า : รายงานสรุปผลการจดั ระดบั ชั้นสหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กองแผนงาน  ผลการจดั ระดบั ชนั้ สหกรณ์ เปรยี บเทยี บ 3 ปี (ปี พ.ศ. 256๑ – 256๓) ระดบั ชนั้ ระดบั ชน้ั ระดบั ชนั้ ระดบั ชนั้ ช้นั 1 ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 256๑ ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 256๒ ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 256๓ (แห่ง/รอ้ ยละ) (แหง่ /รอ้ ยละ) (แห่ง/รอ้ ยละ) 16/11 17/12 19/13 70/50 ช้ัน 2 75/53 90/63 23/15 ชั้น 3 37/26 20/14 32/24 ชั้น 4 13/9 14/10 141/100 รวม 142/100 143/100 ที่มา : รายงานสรุปผลการจดั ระดบั ชั้นสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 256๓ กองแผนงาน ปี 2563 ชน้ั 1 ปี 2562 ชั้น 2 ปี 2561 ชั้น 3 ชั้น 4 0 10 20 30 40 50 60 70

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 21  ขอ้ มลู สถติ ขิ องกลมุ่ เกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวนกลมุ่ เกษตรกรและจำนวนสมาชกิ กลมุ่ เกษตรกร ประเภทกลมุ่ เกษตรกร จำนวนกลมุ่ จำนวนสมาชกิ จำนวนสมาชกิ ทมี่ ี รอ้ ยละ เกษตรกร กลมุ่ เกษตรกรทงั้ หมด สว่ นรว่ มในการดำเนนิ ธรุ กจิ 1. กลมุ่ เกษตรกรทำนา (แห่ง) 100 2. กลุม่ เกษตรกรทำสวน (คน) (คน) 100 3. กลมุ่ เกษตรกรเล้ยี งสตั ว์ 63 8,612 8,612 100 4. กลมุ่ เกษตรกรทำไร่ 11 1,196 1,196 100 5. กลุ่มเกษตรกรทำประมง 34 3,312 3,312 6. กลุ่มเกษตรกรอ่นื ๆ (ระบุ) 17 - - 55 55 - - - - 100 - - รวม 125 13,175 13,175 ที่มา : (กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณส์ ำนักงานหกรณ์จังหวัดอุ ดรธานี) สถานะกลมุ่ เกษตรกร จำนวนกลมุ่ เกษตรกร (แหง่ ) จำนวนกลมุ่ เกษตรกรทง้ั หมด ประเภทกลมุ่ เกษตรกร ดำเนนิ งาน/ หยดุ เลกิ จดั ตงั้ ใหม่ ธรุ กจิ ดำเนนิ งาน/ /ชำระบญั ชี (1) + (2) + 1. กลุ่มเกษตรกรทำนา (4) (3) + (4) 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน (1) ธรุ กจิ (3) - 3. กลุม่ เกษตรกรเลี้ยงสตั ว์ (2) - 63 4. กลมุ่ เกษตรกรทำไร่ 20 - 10 5. กลุ่มเกษตรกรทำประมง 10 33 10 - 34 6. กลมุ่ เกษตรกรอนื่ ๆ (ระบุ) 21 -1 - 17 6 94 - - - 83 - - - -- -- 125 รวม 57 50 18 ทมี่ า : (กลุ่มจดั ตง้ั และส่งเสริมสหกรณ์ สำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดอุ ดรธาน)ี

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 22 ปริมาณธรุ กจิ ของกลมุ่ เกษตรกรในปงี บประมาณ พ.ศ. 256๓ ปรมิ าณธรุ กจิ ปรมิ าณธรุ กจิ แยกตามประเภทการใหบ้ รกิ าร (ลา้ นบาท) ของกลมุ่ ประเภท เกษตรกร รบั ฝาก ให้เงนิ กู้ จดั หาสนิ คา้ รวบรวม บรกิ าร รวมทงั้ สน้ิ กลมุ่ เกษตรกร (แหง่ ) เงนิ มาจำหนา่ ย ผลผลติ และ และอน่ื ๆ แปรรปู 1. กลมุ่ เกษตรกรทำนา 63 - 3.94 0.64 - - 4.59 2. กลมุ่ เกษตรกรทำสวน 11 - 1.91 0.87 46.69 - 49.48 3. กลมุ่ เกษตรกรเลยี้ งสัตว์ 34 0.28 15.85 0.87 - 17.02 4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ 17 - 1.02 0.51 - - 1.53 5. กลุ่มเกษตรกรทำประมง - -- - - 6. กลมุ่ เกษตรกรอื่น ๆ - - - (ระบ)ุ ……… - -- - - - - รวมทง้ั สนิ้ 125 0.28 22.74 - 2.90 46.69 72.63 ทีม่ า : (กลุม่ สง่ เสรมิ และพัฒนาธรุ กจิ สหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั ุอดรธานี) ผลการดำเนนิ งานของกลมุ่ เกษตรกร ผลการดำเนนิ งานปลี า่ สดุ ทม่ี กี ารปดิ บญั ชใี นปงี บประมาณ พ.ศ.2563 กำไร (ขาดทนุ ) ผลการดำเนนิ งานในภาพรวม การดำเนนิ งานมผี ลกำไร - ขาดทนุ สทุ ธิ ประเภท (1) (2) (3) กลมุ่ เกษตรกร กลมุ่ เกษตรกร ในภาพรวม กลมุ่ เกษตรกร จำนวน รายได้ คา่ ใชจ้ า่ ย ทม่ี ผี ลกำไร ทข่ี าดทนุ (ลา้ นบาท) กลมุ่ (ลา้ น (ลา้ น (5) – (7) 1. กล่มุ เกษตรกรทำนา เกษตรกร บาท) บาท) (4) (5) (6) (7) 2. กลมุ่ เกษตรกรทำสวน (แหง่ ) จำนวน กำไร จำนวน ขาดทนุ 0.07 กลมุ่ (ลา้ น กลมุ่ (ลา้ น 0.76 3. กลุม่ เกษตรกรเล้ยี งสัตว์ 18 1.15 1.08 เกษตรกร บาท) เกษตรกร บาท) 0.50 9 67.19 66.43 (แหง่ ) (แหง่ ) 0.02 4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ 18 1.75 1.25 5. กลมุ่ เกษตรกรทำประมง 4 0.20 0.17 15 0.17 3 (0.10) - 6. กลุ่มเกษตรกรอ่นื ๆ 0- - - (ระบุ) 0- - 9 0.76 -- 1.37 รวมทง้ั สนิ้ 17 0.57 1 (0.06) 4 0.02 1 (0.01) -- -- -- -- 49 70.31 68.94 44 1.54 5 (0.16) ทม่ี า : (กลมุ่ สง่ เสรมิ และพัฒนาการบรหิ ารการจดั การสหกรณ์ สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอดุ รธาน)ี หมายเหตุ ผลรวมของกล่มุ เกษตรกรในชอ่ ง (1) จะตอ้ งเท่ากับผลรวมของชอ่ ง (4) + (6) และกลมุ่ เกษตรกร

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 23  ผลการดำเนินงานของกลมุ่ เกษตรกร ในรอบปบี ญั ชลี า่ สดุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 คำชแี้ จง รายละเอียดตามเอกสารแนบ ตารางผลการดำเนนิ งานของสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร ในรอบปบี ญั ชลี า่ สดุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จากตารางในภาพผนวก

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 24 สว่ นท่ี 2 ผลการดำเนินงาน

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 25 สรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ านและผลเบกิ จา่ ยงบประมาณ ตามแผนปฏบิ ตั งิ านและงบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 งบประมาณ เปา้ หมาย ผลการดำเนนิ งาน ทไี่ ดร้ บั ผลการเบกิ จา่ ย หมายเหตุ (หนว่ ย จดั สรร+ ประกอบ แผนงาน/ผลผลติ /กจิ กรรม นบั ) โอนเพม่ิ (อธบิ าย)…… หนว่ ยนบั รอ้ ยละ บาท บาท รอ้ ยละ (%) (%) แผนงานพื้นฐานดา้ น ดา้ นการแกป้ ญั หาความยากจน ลดความเหล่ือมลำ้ และสร้างการเตบิ โตภายใน ผลผลิต/โครงการ สหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรได้รบั การสง่ เสริมและพัฒนาใหก้ ลไกการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชุมชน กิจกรรมหลัก ส่งเสริม 760,400.- 760,400.- 100% และพัฒนาสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร กจิ กรรมรองสง่ เสรมิ และ 266 แห่ง ๒๖๖ แหง่ 100% 760,400.- 760,400.- 100% พฒั นาสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร ให้มคี วามเขม้ แข็ง ตามศักยภาพ งานกำกบั ดูแล ตรวจสอบ 128 แหง่ 128 แห่ง 100% 213,500 213,500 100% และคุม้ ครองระบบสหกรณ์ ผลผลติ /โครงการ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรไดร้ บั การส่งเสริมและพัฒนาตามศกั ยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและ 125 ราย 120 ราย 96% 147,200 122,850 83.46% ** ผสู้ มคั ร พ ั ฒ น า ส ห ก ร ณ ์ แ ล ะ ก ลุ่ ม เข้าร่วม เกษตรกร โครงการไม่ โครงการ สร้างเครือข่าย สามารถ ลกู หลานเกษตรกรกลับบา้ น เดินทางมา เขา้ ร่วมการ อบรมได้ แผนงานพน้ื ฐานด้าน ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ผลผลติ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรได้รบั การสง่ เสริมและพัฒนาตามศกั ยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและ 4 คนั 4 คัน 100% 3,412,400 3,412,400 100% พ ั ฒ น า ส ห ก ร ณ ์ แ ล ะ ก ลุ่ ม เกษตรกร รายจ่ายเพื่อการ ล งทุ นส ำห รับครุภัณฑ์ ครภุ ัณฑย์ านพาหนะ ผลผลิต/โครงการ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรได้รับการสง่ เสริมและพฒั นาใหก้ ลไกการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมในระดับชมุ ชน กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและ 3 ชดุ 3 ชุด 100% 143,400 143,400 100% พ ั ฒ น า ส ห ก ร ณ ์ แ ล ะ ก ลุ่ ม เกษตรกร รายจ่ายเพื่อการ ล งทุ นส ำห รับครุภัณฑ์ คอมพิวเตอร์

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 26 แผนงาน บคุ ลากรภาครัฐ 100% 7,722,300 7,722,300 100% ผลผลิต รายการคา่ ใช้จ่ายบคุ ลากรภาครฐั กิจกรรมหลัก ค่าใช้จ่าย 27 อัตรา 27 อัตรา บุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริม สหกรณ์ แผนงานยุทธศาสตร์ เพอื่ สนบั สนุนการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม โครงการ ส่งเสริมดำเนนิ งานอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ กจิ กรรมหลัก พัฒนา สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรใน พื้นท่ีโครงการอัน เน่ืองมาจากพระราชดำริ กจิ กรรมรอง สง่ เสริม และพัฒนาสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร กิจกรรม 1 สง่ เสรมิ 11 11 โรงเรียน 100% 183,900 89,793 48.83% 25,100 กิจกรรมสหกรณ์นกั เรียนใน โรงเรยี น 7,320 100% โรงเรยี น ตามพระราชดำริ 33.27% สมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรม ราชกมุ ารี กิจกรรมรอง โครงการ 12 คร้งั 12 คร้ัง 100% 25,100 คลนิ ิกเกษตรเคลอ่ื นที่ กิจกรรมรอง ขับเคลื่อน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และส่งเสริมการเกษตรตาม แนวทางทฤษฎีใหม่ - ขับเคลอื่ นปรัชญา 5 แห่ง 5 แห่ง 100% 22,000 เศรษฐกิจพอพยี ง - ส่งเสริมการเกษตรตาม 87 ราย 87 ราย 100% 10,600 10,600 100% แนวทางทฤษฎใี หม่ โครงการ ช่วยเหลอื ด้านหน้ีสินสมาชิกสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร กิจกรรมหลัก ช่วยเหลือ ด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ลดดอกเบ้ีย 9 แห่ง 9 แหง่ 100% 4,052,441.17 4,052,441.17 100% เงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิก 6,026 ราย 6,026 100% สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ราย

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 27 แผนงานบูรณาการ พฒั นาและสง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานราก 107,690.00 91.89% ผลผลิต ส่งเสริมและพฒั นาอาชพี เพ่อื แก้ไขปัญหาทด่ี นิ ทำกนิ ของเกษตรกร กิจกรรมหลัก ส่งเสริม 1 พ้นื ท่ี 1 พ้นื ท่ี 100% 117,200.00 และพัฒนาอาชีพภายใต้ 120 ราย 120 ราย 100% โครงการจัดที่ดินตาม นโยบายรฐั บาล โครงการ พัฒนาศกั ยภาพการดำเนนิ ธุรกจิ ของสหกรณ์ กลุม่ เกษตรกร และธรุ กจิ ชมุ ชน 99.35% ก ิ จ ก ร ร ม ห ล ั ก เ พ่ิ ม 1 แหง่ 1 แห่ง 100% 1,400,000 1,390,879.5 ศักยภาพการดำเนินธุรกิจ รวบรวมและจัดเก็บผลผลิต จ า ก เ ก ษ ต ร ก ร ใ น ส ถ า บั น เกษตรกร ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2563 ท่มี า : (ฝา่ ยบริหารท่ัวไป สำนักงานสหกรณ์จังหวดั อดุ รธานี)

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 28 ผลการปฏบิ ตั งิ านสง่ เสรมิ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จงั หวดั อดุ รธานี มเี ขตพน้ื ทรี่ วม 20 อำเภอ สหกรณ์ จำนวน 141 แหง่ กลมุ่ เกษตรกร จำนวน 125 แหง่ รวมทง้ั สน้ิ 266 แหง่ ประกอบดว้ ย 1. อำเภอ เมอื ง มีสหกรณ์ 39 แหง่ สมาชกิ 143,651 คน กลุม่ เกษตรกร 15 แหง่ สมาชิก 2,999 คน ⚫ ผลการเขา้ แนะนำ ส่งเสรมิ และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง มีสหกรณ์ 39 แห่ง โดยแยกเป็นสหกรณ์ภาคการเกษตร 12 แห่ง นอกภาค การเกษตร 27 แห่ง ดำเนินธุรกิจ 28 แห่ง หยุดดำเนินธุรกิจ 1 แห่ง อยู่ระหว่างการชำระบัญชี 10 แห่ง มีกลุ่มเกษตรกร 15 แห่ง ดำเนินธุรกิจ 5 แห่ง หยุดดำเนินธรุ กจิ 5 แห่ง อยู่ระหว่างการชำระบัญชี 5 แห่ง ซึ่ง กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 ได้เข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) ทกุ สถาบัน จากการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อทำหน้าที่ในการกำกับ ดูแล แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ใหไ้ ด้รับการสง่ เสรมิ และพัฒนาความเข้มแข็งตามศักยภาพ ตลอดจน การติดตามงานหรือโครงการตามนโยบาย และการปฏิบตั หิ น้าทร่ี าชการอนื่ ซ่ึงสรปุ ผลการดำเนนิ งานดา้ นตา่ งๆ ได้ ดังน้ี 1. ดา้ นการบริหารจดั การ 1. การยกระดับช้นั ความเขม้ แข็งของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร ดำเนินการกำกับ ดูแล แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพื้นที่อำเภอเมือง ผลักดันการ จดั ช้ันสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรใหม้ ผี ลการจัดระดับช้นั ในด้านตา่ ง ๆ ซ่งึ ผลการดำเนินการเป็นไปตามแผนท่ีได้ วางไว้ ดังนี้ เข้าแนะนำสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรครบทุกแห่ง สหกรณ์ที่ดำเนินงานผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 21 แห่ง จากทั้งหมด 39 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร ทั้งหมด 15 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 4 แห่ง ไมผ่ ่านเกณฑม์ าตรฐาน 1 แห่ง เน่ืองจากมีผลการดำเนินงานขาดทุนสุทธิ และไมน่ ำมาจัดมาตรฐาน 10 แห่ง เนื่องจากหยุดดำเนนิ งาน และเลิก/ชำระบญั ชี 2. การจดั ชั้นคณุ ภาพการควบคมุ ภายใน ได้ดำเนินการกำกับ ดูแล แนะนำส่งเสริม พัฒนาด้านประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร (การ ควบคุมภายใน) เพื่อพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ให้ได้รับการจัดช้ัน คุณภาพการควบคมุ ภายในที่ดขี ้ึน และรักษาระดับช้นั ที่ 1 ได้ จำนวน 17 แหง่ ผลักดันการจัดช้ันความเข้มแข็ง ของสหกรณ์ จากชน้ั 2 ขน้ึ ช้ันท่ี 1 และจากช้นั 3 ขนึ้ สู่ชั้นท่ี 2 และที่ยงั ต้องปรับปรุงไม่มกี ารควบคุมภายในให้ มีการควบคุมภายในได้ 3. การจดั มาตรฐานสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร ได้ดำเนินการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและประเมินผลการดำเนินงานให้กับสหกรณ์และ กลมุ่ เกษตรกร ซง่ึ สหกรณส์ ามารถรกั ษามาตรฐานได้ 21 แหง่ และกลมุ่ เกษตรกรสามารถรักษามาตรฐานได้ 4 แห่ง ซึ่งกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ๑ เข้าติดตาม แนะนำ ช่วยเหลือการจัดทำบัญชี การปิดบัญชีประจำปีของ

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 29 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเพื่อให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน และสามารถประชุม ใหญส่ ามัญประจำปีไดภ้ ายใน 150 วัน นับแต่วันสิน้ ปที างบญั ชีของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 4. การติดตามการใช้เงินกกู้ องทนุ ต่างๆ ได้ดำเนินการกำกับดูแลแนะนำส่งเสริมกระบวนงานขั้นตอนวิธีปฏิบัติให้กับสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนหมุนเวียนของกรมส่งเสริม สหกรณ์ ผลดำเนินการ ทำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการแนะนำส่งเสริมสนับสนุนเงินกองทุนพัฒนา สหกรณ์และเงินกองทุนสงเคราะหเ์ กษตรกร ในปีงบประมาณ 2563 ดงั นี้ 4.1 เงินกองทุนพฒั นาสหกรณ์ 1) เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (โครงการปกติ) อัตราดอกเบี้ย ตามชั้นลูกหนี้ มีจำนวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์โคนมอุดรธานี จำกัด มี 5 สัญญา สมาชิกได้รับประโยชน์จาก โครงการฯ จำนวน 66 ราย โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) เพือ่ จดั หาอาหารโคให้สมาชกิ วงเงินก้ทู ไ่ี ดร้ ับจัดสรร 3 ล้าน (2) เพื่อแปรรูปนม วงเงนิ กทู้ ไ่ี ดร้ ับจดั สรร 3 ลา้ นบาท (3) เพื่อจดั หาแมพ่ ันธ์โคนม วงเงินกู้ท่ไี ด้รับจัดสรร 3 ล้านบาท (4) เพอ่ื ปรับปรุงฟารม์ วงเงินกทู้ ี่ได้รับจดั สรร 600,000 บาท (5) เพ่อื จัดหาแหลง่ น้ำ วงเงินกูท้ ไ่ี ดร้ บั จัดสรร 550,000 บาท 2) เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (โครงการพิเศษ) มีจำนวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์โคนมอุดรธานี จำกัด มี 1 สัญญา ชื่อโครงการสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุน กิจกรรม : ให้สมาชิกกู้ วงเงนิ ท่ีได้รบั จดั สรร 1 ลา้ นบาท มีสมาชิกได้รบั ประโยชน์ จำนวน 66 ราย 4.2 เงนิ กองทนุ สงเคราะหก์ ลุ่มเกษตรกร 1) โครงการสนับสนุนเงินทุนเพ่ือสร้างระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะ 1 มีสหกรณ์ การเกษตรในพื้นที่อำเภอเมืองที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 1 แห่ง คือ สหการเกษตรนิคมฯ เชียงพิณ จำกัด เลขที่สัญญา 7/2560 ลงวันที่ 17 มีนาคม 2560 จำนวนเงินเงินกู้ 200,000 บาท ระยะเวลาชำระหนี้ ภายใน 5 ปี วันที่ครบกำหนดชำระหนี้ วันที่ 30 กรกฎาคม 2564 สมาชิกได้รับประโยชน์จากโครงการฯ จำนวน 4 ราย โดยนำไปใช้ในการขดุ สระ จำนวน 1 ราย เจาะบ่อบาดาล จำนวน 3 ราย 2) โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งทุนในการผลิตและการตลาด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มกี ลมุ่ เกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 3 แหง่ คอื (1) กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์เชียงพิณ เลขที่สัญญา 11/2563 วงเงินที่ได้รับจัดสรร จำนวน 1,000,000 บาท มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกกู้ ครบกำหนดชำระหนีภ้ ายในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2564 มี สมาชกิ ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการให้เงินกแู้ ก่สมาชิก จำนวน 56 ราย (2) กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์หนองไผ่ เลขที่สัญญา 21/2563 วงเงินที่ได้รับจัดสรร จำนวน 900,000 บาท มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกกู้ ครบกำหนดชำระหนี้ภายในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2564 มี สมาชิกไดร้ ับประโยชน์จากการใหเ้ งินกแู้ ก่สมาชกิ จำนวน 58 ราย (3) กลุ่มเกษตรกรทำนาหนองนาคำ เลขที่สัญญา 23/2563 วงเงินที่ได้รับจัดสรรจำนวน 800,000 บาท มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกกู้ ครบกำหนดชำระหนี้ภายในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 มี สมาชกิ ได้รบั ประโยชนจ์ ากการให้เงนิ กู้แกส่ มาชิก จำนวน 50 ราย

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 30 4.3 การแกไ้ ขปญั หาหนค้ี า้ งกองทนุ พฒั นาสหกรณ/์ เงนิ กองทุนสงเคราะหก์ ลมุ่ เกษตรกร ในพ้ืนทีอ่ ำเภอเมอื ง มสี หกรณท์ ม่ี หี นี้กองทนุ พัฒนาสหกรณ์คา้ งชำระ จำนวน 2 แห่ง คอื 1) สหกรณ์ผเู้ ลี้ยงสหกรณ์อุดรธานี จำกัด มสี ถานภาพเลิก/ชำระบญั ชี เป็นลกู หน้ีผดิ นดั เงินกองทุน พัฒนาสหกรณ์ สัญญาลงวันที่ 8 สิงหาคม 2555 สิ้นสุดสัญญาวันที่ 7 สิงหาคม 2556 เงินต้นตามคำ พิพากษาจำนวน 658,322.73 บาท สถานะหนี้อยู่ระหว่างดำเนินคดี ขั้น 7 (สืบทรัพย์/ยึดทรัพย์) มยี อดตน้ เงนิ ผิดนัดคงเหลอื ณ 30 กันยายน 2563 จำนวน 168,866.60 บาท 2) สหกรณ์บริการเดินรถอุดรธานี จำกัด มีสถานะยังดำเนินธุรกิจ เป็นลูกหนี้ผิดนัดเงินกองทุน พัฒนาสหกรณ์ สญั ญาลงวนั ที่ 27 กรกฎาคม 2558 ส้ินสุดสญั ญาวันท่ี 26 กรกฎาคม 2560 เงนิ ต้นตามคำ พิพากษา 1,218,136.99 บาท สถานะหนี้อยู่ระหว่างดำเนินคดี ขั้น 6 (ออกหมายบั งคับคดี) มียอดตน้ เงนิ ผดิ นดั คงเหลือ ณ 30 กันยายน 2563 จำนวน 435,392.84 บาท 5. การวเิ คราะห์สถานภาพการเงนิ ของสหกรณ์ ผลท่ีไดจ้ ากการวิเคราะห์สถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร มดี งั นี้ 1) สหกรณท์ ่มี ีผลกำไรจากการดำเนนิ งาน จำนวน 26 แห่ง และกลมุ่ เกษตรกรท่ีมีผลกำไรจากการ ดำเนินงาน จำนวน 5 แหง่ 2) สหกรณท์ ่มี ีผลขาดทุนจากการดำเนนิ งาน จำนวน 2 แห่ง 2. ดา้ นการพฒั นาธรุ กจิ 1. ด้านการมีสว่ นร่วมในการใชบ้ รกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ผลความสามารถในการให้บริการสมาชิก (การมีสว่ นรว่ มของสมาชิกใน การใชบ้ รกิ ารดา้ นกิจกรรมรว่ มกบั สหกรณ)์ ในพ้นื ทอี่ ำเภอเมือง สหกรณท์ ้งั หมด 29 แหง่ ผลคะแนนการมีส่วน ร่วมระดับ 4 คือรักษาการมีส่วนร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 จำนวน 20 แห่ง คิดเป็นร้ อยละ 68.97 และ คะแนนการมีส่วนร่วมระดับ 0 คือยกระดับการมีส่วนร่วม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 จำนวน 9 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 31.03 ซ่ึงอยใู่ นเกณฑ์ต้องเข้าไปแนะนำสง่ เสรมิ ใหส้ มาชกิ มสี ว่ นรว่ มธรุ กิจสหกรณ์เพิ่มขึ้น 2. ด้านปรมิ าณธุรกจิ ปีงบประมาณ 2563 ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ในพื้นที่อำเภอเมืองที่มีสถานะดำเนินธุรกิจและ หยุดดำเนินงาน ไม่รวมเลิก/ชำระบัญชี ที่มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 เทียบกับปีที่ผ่านมา ในปีงบประมาณ 2563 มีปริมาณธุรกิจรวมทั้งสิ้น 24,780,974,636.30 บาท ประกอบด้วย 1) เงินฝาก 9,276,429,111.84 บาท 2) ให้เงินกู้ 15,075,928,850.46 บาท 3) จัดหาสินค้า/อุปกรณ์มาจำหน่าย 215,223,651.41 บาท 4) การรวบรวมผลผลิต 138,724,137.79 5) การแปรรูป 72,473,879.00 บาท และ 6) ใหบ้ ริการอื่น ๆ 1,195,005.80 บาท ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรของกลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะดำเนินงานและหยุดดำเนินงาน ไม่รวมเลิก/ชำระบัญชี ที่มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 เทียบกับปีที่ผ่านมา ในปีงบประมาณ 2563 มีปริมาณธุรกิจรวมทั้งสิ้น 4,436,376.00 บาท ประกอบด้วย 1) ให้เงินกู้แก่สมาชิก 4,062,000.00 บาท 2) จดั หาสินคา้ /อุปกรณ์มาจำหน่าย 374,376.00 บาท 3. ประสทิ ธภิ าพในการดำเนนิ ธรุ กจิ การแก้ไขปัญหาหนี้สินของสมาชิก ตามโครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสหกรณ์ภายใต้ โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนนิ ธุรกจิ ของสหกรณภ์ าคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร เพ่ือส่งเสริมและพัฒนา สหกรณ์การเกษตรให้มศี ักยภาพในการดำเนินธุรกิจรวมทัง้ แนวทางในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิก โดยสหกรณ์เป้าหมายในพื้นที่อำเภอเมือง จำนวน 1 สหกรณ์ คือ สหกรณ์การเกษตรเมืองอุดรธานี จำกัด ผล

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 31 การจัดโครงการสหกรณ์สามารถแก้ปัญหาหนี้ค้างชำระ มีหนี้ค้างลดลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ซึ่งโครงการได้เร่ิมดำเนินการตั้งแต่เดอื นกรกฎาคม 2562 สหกรณ์ได้จัดทำแผนจากจำนวนสมาชกิ ที่มีหนี้ค้าง ชำระจำนวน 780 ราย เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิก ซึ่งสหกรณ์ได้ดำเนินการจัดทำแผนจัดการหนี้จำนวน 152 ราย จัดทำแผนป้องกัน จำนวน 1 แผน มีแผน เจรจา/ตดิ ตามหนี้ทุกเดือน ข้อมลู ณ 30 กันยายน 2563 สมาชกิ ไดร้ บั การแก้ไขปัญหาหน้ีค้างชำระแล้วเสร็จ จำนวน 170 ราย คงเหลือสมาชิกที่มีหนีค้ ้างชำระจำนวน 610 ราย แสดงว่าสหกรณ์มีการแก้ไขหนี้ค้างชำระ ลดลงคดิ เปน็ ร้อยละ 21.80 จากจำนวนสมาชิกทีม่ ีหน้คี ้างชำระทง้ั หมด 4. ด้านการออมเงนิ ของสมาชิก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในเขตพื้นที่อำเภอเมือง มีการระดมทุน ภายในเพิ่มขึ้นทั้งเงินรับฝากและทุนเรือนหุ้น ได้แนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการดำเนิน ส่งเสริมการออมกับสมาชิก สหกรณ์มีอัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปี 2562 (ปีก่อน) จำนวน 18 แห่ง อตั ราส่วนเงนิ ออมต่อหน้สี ินของสมาชกิ ลดลงจากปกี อ่ น จำนวน 11 แห่ง 5. การใชป้ ระโยชน์จากอปุ กรณก์ ารตลาด สหกรณ์การเกษตรในพื้นที่อำเภอเมือง มีการแนะนำให้ใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด/ สิ่งก่อสร้างเครื่องจักรกลการเกษตรของสหกรณ์ภาคการเกษตรที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐ จำนวน 4 แห่ง ดังนี้ 1) สหกรณก์ ารเกษตรเพ่ือการตลาดลกู คา้ ธ.ก.ส. อดุ รธานี จำกดั มกี ารใช้ประโยชนจ์ ากอุปกรณ์ การตลาด ดังนี้ (1) ฉาง ขนาด 200 ตัน จำนวน 1 หลงั สภาพดีใช้จัดเกบ็ /รักษาผลผลติ ขา้ วเปลือก (2) ลานตาก ขนาด 2200 ตารางเมตร จำนวน 1 แห่ง สภาพดีใช้งานเพื่อรวบรวมผลผลิต ข้าวเปลือก (3) เครื่องชั่ง ขนาด 40 ตัน จำนวน 1 เครื่อง สภาพดีเปลี่ยนเป็นระบบคอมพิวเตอร์ใช้ ชั่ง/ ตวง/วัด/คัดแยกผลผลติ ข้าวเปลือก (4) โกดงั ใชเ้ ป็นคลังสนิ ค้า ขนาด 400 ตัน จำนวน 3 หลัง ใช้ประโยชนใ์ นการจดั เก็บ/รักษา ผลผลิต (5) ฉาง ขนาด 500 ตนั จำนวน 1 หลัง สภาพดใี ชจ้ ัดเก็บขา้ ว (6) รถบรรทุก 6 ล้อ จำนวน 4 คัน ไม่สามารถติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม ใช้ขนส่ง/เคลื่อนย้าย ผลผลิต สหกรณ์ใชป้ ระโยชน์โดยการให้เชา่ (7) รถตกั จำนวน 1 คัน สภาพใช้งานได้เพ่ือขนส่ง/เคลอ่ื นยา้ ยผลผลิต (8) ปั๊มน้ำมัน ประกอบด้วย อาคารปั๊มน้ำมัน 1 หลัง/ ถังน้ำมันใต้ดิน 5 ถัง/ ตู้จ่าย 8 ตู้/ ป้าย 1 ป้าย/ ระบบไฟฟ้าปมั๊ นำ้ มัน 1 ชดุ / ระบบ Postec ปม๊ั น้ำมนั 1 ชดุ 2) สหกรณ์โคนมอุดรธานี จำกัด แนะนำใหส้ หกรณ์ใชป้ ระโยชน์จากอปุ กรณ์การตลาด ดังนี้ (1) โรงงานแปรรูปพาสเจอร์ไรส์ ขนาด 2 ตัน/วัน สภาพทรุดโทรม แต่ยังใช้งานได้เพื่อการ แปรรปู น้ำนมโค/ผลติ สนิ คา้ (2) ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ขนาด 2 ตนั /วัน ใชเ้ พอ่ื รวบรวมผลผลิต จำนวน 1 หลัง (3) โกดัง จำนวน 1 หลงั ใช้เพ่ือเก็บอาหารสัตว์ (4) ห้องเย็น จำนวน 1 หลัง ใชเ้ พ่อื จดั เก็บ/รกั ษาผลผลิต (5) รถบรรทุก 10 ลอ้ จำนวน 1 คนั ใชเ้ พือ่ ขนสง่ /เคลื่อนย้ายผลผลติ

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 32 3) สหกรณ์การเกษตรเมืองอุดรธานี จำกัด แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์ใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์ การตลาด/สิง่ กอ่ สร้าง จำนวน 4 รายการ ได้แก่ (1) เครอ่ื งช่ังขา้ วเปลือก ขนาด 40 ตัน จำนวน 1 เครื่อง (2) ลานตาก เพ่ือรวบรวมผลผลติ ขา้ วเปลอื ก ขนาด 2200 ตารางเมตร จำนวน 1 แห่ง (3) ฉาง ขนาด 200 ตัน สภาพยังใช้งานได้ ใช้เกบ็ ผลผลิตขา้ วเปลือก จำนวน 1 แห่ง ในช่วงฤดูเก็บเกี่ยวในปีที่ผ่านมามีสมาชิกมาใช้บริการลานตากข้าวเปลือก และรวบรวม ผลผลติ ขา้ วเปลือกจากสมาชิกและประชาชนในพืน้ ที่เก็บไวท้ ฉ่ี างข้าวเพื่อรอจำหนา่ ย 4) สหกรณก์ ารเกษตรนคิ มฯ เชียงพณิ จำกัด แนะนำส่งเสริมให้ใชป้ ระโยชน์จากอปุ กรณก์ ารตลาด จำนวน 4 รายการ ดงั นี้ (1) ลานตาก ขนาด 2200 ตารางเมตร จำนวน 1 แห่ง ใชป้ ระโยชน์ในการรวบรวมผลผลติ (2) ฉาง ขนาด 200 ตนั จำนวน 1 หลงั ใชจ้ ัดเกบ็ /รกั ษาผลผลติ (3) โรงงานผลิตปยุ๋ /ทำปุย๋ หมกั จำนวน 1 แหง่ ใชแ้ ปรรูปผลผลติ /ผลติ สินค้าปุ๋ย (4) ปัม๊ น้ำมนั ประกอบด้วยตจู้ ่ายนำ้ มนั สภาพใช้งานได้ จำนวน 1 ปม๊ั 3. การกำกับ ดูแล ตรวจสอบและค้มุ ครองระบบสหกรณ์ 1. ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารงาน การแกไ้ ขปญั หาในการดำเนนิ กจิ การ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 มกี ารกำกับ ดูแล สหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ดงั น้ี 1) ดำเนินการตรวจการสหกรณ์ในพ้ืนทอ่ี ำเภอเมืองอุดรธานี ครบทกุ แหง่ จำนวน 36 แหง่ 2) กำกบั ดูแล กลมุ่ เกษตรกร จำนวน 10 แห่ง 2. การชำระบญั ชี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สหกรณ์ที่มีสถานะ เลิก/ชำระบัญชี จำนวน 9 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จำนวน 5 แห่ง การดำเนินการชำระบัญชีส่วนใหญ่อยู่ในขั้น 2 (รับมอบทรัพย์สิน) และขั้น 3 ส่งงบดุลตาม มาตรา 80 4. งานตามนโยบายรฐั บาล ในปีงบประมาณ 2563 ผลงานตามนโยบายรัฐบาลในพื้นท่ีอำเภอเมืองที่ได้รับมอบหมายให้ ดำเนินการ มี ดังน้ี 1. โครงการลูกหลานเกษตรกรกลับบา้ นสานตอ่ อาชีพเกษตรกร มีผู้สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการฯ ในพื้นที่อำเภอเมืองอุดรธานี จำนวน 32 ราย กลุ่มส่งเสริม สหกรณ์ 1 ได้รับมอบหมายจากสหกรณ์จังหวดั อุดรธานีลงพื้นที่เพื่อประเมินความพร้อมในการประกอบอาชพี เกษตรกรรมของผู้สมัครที่เข้าร่วมโครงการ และเข้ารับการอบรมความรู้ทางการเกษตร ยืนยันสถานะเข้าร่วม โครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลบั บา้ น สานตอ่ อาชีพการเกษตร จำนวน 12 ราย 2. โครงการลดดอกเบยี้ เงินก้ใู หเ้ กษตรกรสมาชกิ สหกรณ์ทไี่ ดร้ บั การจดั สรรปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่อำเภอเมือง ที่เข้าร่ วมโครงการ 1 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรเมืองอุดรธานี จำกัด ได้รับจัดสรรปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จากกรมส่งเสริม สหกรณ์ จำนวน 753 ราย เป็นจำนวนเงิน 718,604.64 บาท ทำให้มียอดเงินชดเชยดอกเบี้ยคงเหลือที่ยัง ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จำนวน 1,877,107.15 บาท โดยสหกรณ์ได้ดำเนินการเบิกจ่ายเงินชดเชย ดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิก เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2563 สหกรณ์ได้ดำเนินการจ่ายเงินให้สมาชิกตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2563 ถึงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2563 ครบแล้ว และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ได้จัดสรรงบประมาณเงนิ ชดเชยดอกเบยี้ ตามโครงการลดดอกเบีย้ เงินกใู้ ห้เกษตรกรสมาชิก

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 33 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 753 ราย จำนวนเงิน 767,268.36 บาท สหกรณ์จะดำเนินการตามแนว ทางการเบกิ จ่ายของกรมฯตอ่ ไปในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ⚫ ปญั หา/อปุ สรรคในการดำเนินงานของสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร 1. ดา้ นองค์กร 1) การบรหิ ารจดั การลกู หนี้คา้ งชำระของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร สมาชิกไม่มาชำระหนต้ี ามกำหนด เป็นจำนวนมาก ทำให้สหกรณ์ต้องตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายของสหกรณ์ ส่งผลในการ ดำเนนิ งานสหกรณ์ 2) ทุนดำเนินงานน้อย เนื่องจากไม่มีการระดมทุนภายใน สมาชิกยังขาดความเชื่อมั่นในระบบ สหกรณ์ ทำให้การระดมทุนในรูปแบบของหุ้น และเงินรับฝากออมทรัพย์มีน้อย สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรขาด เงนิ ทุนหมนุ เวยี นในการดำเนินงาน ทำให้มปี ริมาณธุรกจิ ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรลดลง 2. ด้านบุคลากร 1) คณะกรรมการดำเนินงานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรขาดความรู้ ความเขา้ ใจ และไม่ให้ความสำคัญ ในการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับของสหกรณ์ ทำให้สหกรณ์มีระบบการควบคุมภายในไม่ดี มีผลต่อการ ประเมินความเข้มแข็งของสหกรณ์ และความน่าเช่ือถือของสมาชิกสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร 2) เจ้าหน้าที่สหกรณย์ ังขาดการติดตามแก้ไขปญั หาอย่างต่อเนื่อง ไม่มีความใส่ใจในการทำหน้าท่ี ของตนเองเทา่ ทคี่ วร 3) คณะกรรมการดำเนินงานขาดความร้ใู นการวางแผนงาน และจดั ทำแผนธุรกิจของสหกรณ/์ กลุ่ม เกษตรกร ทำให้ไมร่ ทู้ ิศทางในการดำเนนิ งานท่ีชดั เจน ขาดการติดตามผลการดำเนินงาน 4) สมาชิกขาดความร่วมมือในการทำธุรกิจกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทำให้การมีส่วนร่วมทำ ธรุ กจิ ของสมาชกิ ลดลง สง่ ผลใหส้ หกรณไ์ ม่ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน 5) เจา้ หน้าทส่ี หกรณ์/กรรมการที่ได้รับมอบหมายทำบัญชี ยงั ขาดความรู้ ความเข้าใจในการจัดทำ บญั ชี หรอื ไมม่ ีความร้ดู า้ นบัญชี ยังตอ้ งพงึ่ เจา้ หนา้ ทีข่ องรฐั 3. อปุ กรณ์ 1) สหกรณข์ นาดเล็กขาดอุปกรณ์สำนักงานทจ่ี ำเป็นในการปฏบิ ัตงิ าน เช่น คอมพิวเตอร์ เป็นต้น 2) การจัดเกบ็ เอกสารไมเ่ ปน็ ระบบ ทำให้คน้ หาเอกสารลำบาก 4. ดา้ นงบประมาณ สหกรณ์ขนาดเล็ก ยังขาดการวางแผนงบประมาณรายรับ-รายจ่ายประจำเดือน เพื่อเป็นเครื่องมือ ในการควบคุมการดำเนนิ งานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา 1. แนะนำส่งเสริมให้คณะกรรมการดำเนินงานศึกษาระเบียบ ข้อบังคับที่สหกรณ์ถือใช้อยู่ในปัจจุบัน เพื่อเป็นแนวทางในปฏิบตั งิ านให้เปน็ ไปตามระเบยี บ ข้อบังคับสหกรณ์ 2. เจา้ หน้าทีส่ ่งเสริมสหกรณ์ เขา้ ร่วมประชมุ คณะกรรมการ เพอ่ื แนะนำส่งเสริม ใหค้ วามรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนนิ งานในรปู แบบสหกรณ์ ทบทวนการถือใช้ระเบียบ ข้อบงั คบั หรือแนะนำส่งเสรมิ ให้สหกรณ์ปฏิบัติ ตามระเบยี บ ข้อบังคับ หรอื กฎหมายทีเ่ ก่ียวข้องอยา่ งถกู ตอ้ ง 3. สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จัดทำแผนกลยทุ ธ์เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน หรือปรับปรุงแก้ไขที่มี อย่เู ดิมใหด้ ีย่งิ ขนึ้ เพ่อื ให้การดำเนินงานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรมีประสทิ ธภิ าพ/ประสทิ ธิผลเพิ่มข้ึน

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 34 4. แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรพิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับและระเบียบที่เกี่ยวข้องให้ สอดคล้องรบั พระราชบัญญตั ิสหกรณ์ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2562 5. แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการติดตามการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง และรายงาน ผลการแกไ้ ขปัญหาให้ท่ีประชมุ คณะกรรมการไดร้ ับทราบทุกครงั้ แล้วรายงานผลใหจ้ ังหวัดทราบอยา่ งตอ่ เน่อื ง ⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด อุดรธานี ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 1. สหกรณอ์ อมทรัพย์ครูอุดรธานี จำกดั ผลงาน/ความสำเร็จของสหกรณ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูอุดรธานี จำกัด ได้ดำเนินการภายใต้การกำกับ ส่งเสรมิ ของกลุม่ ส่งเสริมสหกรณ์ 1 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั อดุ รธานี กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อม่งุ เน้นการบริหาร จัดการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ สามารถผ่านเกณฑ์การประเมินโครงการสหกรณ์สีขาวด้วย ธรรมาภบิ าล ผลการดำเนินงานในปี 2563 ในปี 2563 สหกรณ์ออมทรัพย์ครูอุดรธานี จำกัด มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพโดย สามารถระดมหุ้น และเงินฝากจากสมาชิกเพื่อให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยไม่มีการกู้เงินจากภายนอก ซ่งึ สรุปผลความสำเรจ็ ได้ ดงั นี้ 1. ทนุ เรือนห้นุ ในวนั ส้นิ ปที างบัญชี ณ 30 กนั ยายน 2562 สหกรณม์ ที ุนเรอื นหุน้ จำนวน 10,287,017,070.00 บาท ในระหวา่ งปีมีทุนเรอื นหนุ้ เพ่ิม 408,854,000.00 บาท ณ วนั ส้นิ ปี 30 กนั ยายน 2563 สหกรณ์มีทุนเรือนหุน้ จำนวน 10,695,871,080.00 บาท 2. การรบั ฝากเงิน ณ วนั สน้ิ ปี 30 กนั ยายน 2562 สหกรณ์มเี งนิ รบั ฝาก 16,907 บัญชี เป็นจำนวนเงิน 5,644,289,684.86 บาท ณ วนั ส้ินปี 30 กนั ยายน 2563 สหกรณ์มเี งินฝาก 18,777 บญั ชี เป็นจำนวนเงิน 6,246,985,944.69 บาท 3. การใหเ้ งินกู้ ณ วันสิ้นปี 30 กันยายน 2562 สหกรณ์มีลูกหนี้เงินกู้ จำนวน 17,077,316,319.77 บาท ระหว่างปีมีการปล่อยเงินกู้ฉุกเฉิน, เงินกู้สามัญและเงินกู้พิเศษ เป็นจำนวนเงิน 5,923,195,057.11 บาท ณ วันสิ้นปี 30 กันยายน 2563 มีลูกหนี้เงินกู้จำนวน 17,076,961,308.77 บาท สาเหตุที่สมาชิกกู้เงิน เพิ่มขึ้นในระหว่างปีเกิดจากสภาพปัญหาการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในปัจจุบัน ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้จึงมีผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ส่งผลต่อค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพของสมาชิก ส่วนใหญ่ที่มีรายได้ประจำอาจทำให้รายได้มีไม่เพียงพอจึงมีการกู้ยืมเพิ่มขึ้น และพฤติกรรมการกู้ยืม เปลี่ยนแปลงไปเป็นการกู้ยืมเพื่อปิดหนี้วงเงินเดิม และใช้เงินส่วนต่าง (Refinance) เพิ่มขึ้น สิ่งสำคัญในการ อนุมัติสินเชือ่ สหกรณ์ตอ้ งพิจารณาถึงหลักความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิก (Capacity) คุณสมบัติของ ผู้กู้ (Character) หลักประกัน (Collateral) เพื่อเป็นการป้องกันความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากตัวลูกหนี้จากการ ไมส่ ามารถชำระหนค้ี นื เงนิ กู้ได้ อย่างไรก็ดี หากพจิ ารณาโครงสรา้ งเงนิ ทนุ ของสหกรณจ์ ากแหล่งท่ีมาของเงินทุน

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 35 ที่สำคัญ พบว่า ยังคงใช้ทุนภายในที่ได้จากหุ้นซึ่งเกิดจากการสะสมรายเดือนและเงินฝากหรือเงินออมของ สมาชิกโดยสะสมสม่ำเสมอและต่อเนื่องในทุกปี จึงส่งผลให้สหกรณ์มีปริมาณเม็ดเงินทุนหมุนเวียนในระบบ อย่างตอ่ เน่อื งเช่นกนั ซง่ึ สหกรณไ์ ด้นำทุนที่ได้ไปลงทุนในลูกหน้ีเงนิ กูแ้ ก่สมาชิกเป็นส่วนใหญ่ สามารถสร้างเป็น รายได้และผลกำไรท่ีเพิ่มขึ้นให้กับสหกรณ์ 4. การจัดสวัสดกิ ารแก่สมาชกิ 4.1 สงเคราะห์ศพแก่สมาชิกและคสู่ มรส สหกรณ์มกี ารจ่ายทุนสงเคราะห์สมาชิกและคสู่ มรส เป็น สมาชกิ จำนวน 90 ราย เปน็ เงิน 3,611,400.00 บาท และค่สู มรสจำนวน 38 ราย เปน็ เงิน 963,800.00 บาท 4.2 บำเหน็จสมาชิกที่เกษียณอายุและถึงแก่กรรม สหกรณ์จ่ายให้สมาชิกที่เกษียณอายุ จำนวน 625 ราย เป็นเงิน 35,420,972.50 บาท สมาชกิ ทถี่ งึ แก่กรรม จำนวน 33 ราย เปน็ เงนิ 1,416,762.54 บาท 4.3 สวสั ดกิ ารสมาชกิ ท่ีมีอายุ 61 ปขี ้นึ ไป (วันคล้ายวันเกิด) 1) อายุ 61 - 65 ปี จ่ายรายละ 2,000 บาท สมาชิกจำนวน 2,920 ราย เปน็ เงิน 1,840,000.00 บาท 2) อายุ 66 - 70 ปี จ่ายรายละ 2,500 บาท สมาชกิ จำนวน 1,150 ราย เปน็ เงนิ 2,875,000.00 บาท 3) อายุ 71 ปขี ึน้ ไป จา่ ยรายละ 3,000 บาท สมาชิกจำนวน 1,135 ราย เปน็ เงิน 3,405,000.00 บาท 4.4 สมาชกิ ถงึ แกก่ รรม จ่ายรายละ 300,000 บาท สมาชกิ จำนวน 90 ราย เปน็ เงิน 26,700,000.00 บาท 4.5 ทุนการศกึ ษาบุตรสมาชิก ทนุ ละ 3,000 บาท สมาชิกจำนวน 661 ทนุ เปน็ เงิน 1,983,000.00 บาท 4.6 สงเคราะหส์ มาชิกประสบภยั พิบัติ สมาชิกจำนวน 14 ราย เปน็ เงิน 91,000.00 บาท 5. การบรจิ าคเพือ่ การกศุ ล 5.1 สถานศึกษาและหน่วยงานสงั กดั ของสมาชกิ เปน็ เงนิ 1,225,907 บาท 5.2 การจดั งานครู ปี 2563 เปน็ เงนิ 200,000 บาท 5.3 สนับสนุนบุญกฐิน ผา้ ปา่ การศึกษา สาธารณกุศล เปน็ เงิน 226,547 บาท 5.4 ด้านต่างๆ เช่น ให้นักศึกษาจาก 3 สถาบันเข้าฝึกงาน, อนุญาตให้หน่วยงานต่างๆ ใช้ห้อง ประชมุ 11 ครงั้ ให้ชมรมข้าราชการครูบำนาญใช้สถานท่ี เปน็ ตน้

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 36 ปจั จัยแห่งความสำเรจ็ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูอุดรธานี จำกัด มีการจัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานประจำเดือน ร่วมกับเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ นำปัญหา/อุปสรรคของลูกหนี้ค้างชำระเสนอที่ประชุมคณะกรรมการเพ่ือ พจิ ารณาเป็นรายๆ ไป โดยมอบหมายให้เจ้าหนา้ ท่สี ินเชอ่ื ทำแผนตดิ ตามหนี้และจดั กล่มุ ลกู หนีส้ หกรณ์ 2. คณะกรรมการดำเนินการมีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนมากขึ้น ทำหน้าที่ของ ตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ สมาชิกมีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองมากขึ้น เมื่อเป็นหนี้ต้องชำระหน้ี เพอื่ ใหส้ หกรณส์ ามารถดำเนนิ ธรุ กิจได้อย่างต่อเน่ือง 3. สหกรณ์มีความเข้มแข็งเพราะมีทุนดำเนินงานจากภายในเพียงพอในการบริหารจัดการสร้าง รายไดใ้ ห้สหกรณโ์ ดยไมต่ อ้ งพึ่งพาแหลง่ เงินทนุ จากภายนอก

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 37 2. สหกรณเ์ คหสถานบ้านมนั่ คงเพชรธนา จำกดั ผลงาน/ความสำเรจ็ ของสหกรณ์ สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่งคงเพชรธนา จำกัด ได้รับการแก้ไขปัญหาเนื่องจากไม่สามารถปิดบัญชีได้ ตั้งแต่ปี 2557 ถึง 2562 จึงได้รับคัดเลือกเป็นกลุ่มเป้าหมายของจังหวัดอุดรธานีให้เข้าร่วมโครงการสร้าง ความเข้มแข็งการจัดทำบัญชีและงบการเงินของสหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่บัญชีของสหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงให้จัดทำ บญั ชีได้เปน็ ปัจจุบัน และใหส้ หกรณเ์ คหสถานบ้านมน่ั คงสามารถจดั ทำงบทดลองและปิดบัญชีได้ตามกฎหมายที่ กำหนด การดำเนินโครงการดังกล่าวสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุดรธานีได้แต่งตั้งทีมปิดบัญชีสหกรณ์ประจำ จังหวัด 1 ทีม และให้สหกรณ์แต่งตั้งทีมปิดบัญชีสหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงเพชรธนา จำกัด 1 ทีม เพื่อดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติงานปิดบัญชีสหกรณ์ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2563 ณ ที่ทำการสหกรณ์ เคหสถานบ้านมั่นคงเพชรธนา จำกัด โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมโครงการ คือ ผู้แทนจาก สำนกั งานตรวจบัญชีสหกรณอ์ ุดรธานี และผูแ้ ทนจากสำนักงานพฒั นาองค์กรชุมชน (องคก์ รมหาชน) หรือ พอช. เขา้ รว่ มสังเกตการณ์ดว้ ย ผลงานที่ได้การแก้ไข มีดงั นข้ี ้อ 1 สหกรณ์มแี ผนปฏิบัติงานปดิ บัญชีสหกรณ์เคหสถาน บ้านมั่นคงเพชรธนา จำกัดจังหวดั อดุ รธานี จำนวน 1 แผน สามารถปิดบญั ชีสง่ ใหผ้ ู้สอบบญั ชีได้ภายในวันท่ี 31 กรกฎาคม 2563 ข้อ 2 สหกรณ์ยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการจัดทำบัญชี จึงได้จ้าง บุคคลภายนอกเป็นผู้จัดทำบัญชี เพื่อจัดทำงบการเงินตั้งแต่ปี 2557 ถึง 2562 ให้แล้วเสร็จตามคำแนะนำ ของผู้สอบบัญชีที่ให้แนวทางการแก้ไขงบการเงิน และสามารถส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีเพื่อขอรับการตรวจ บัญชี ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ และสหกรณ์สามารถจัดทำงบทดลองได้เป็นปัจจุบัน ทั้งนี้ให้ทีมปิดบัญชี สหกรณป์ ระจำจังหวัดเขา้ ติดตามและรายงานผลให้สหกรณ์จังหวัดทราบทกุ เดือน

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 38 ปจั จัยแห่งความสำเร็จ ปัจจัยแห่งผลสำเร็จที่ทำให้สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงเพชรธนา จำกัด ที่สามารถจัดทำงบการเงิน แล้วเสร็จตามกำหนดได้นั้น เนื่องจากได้รับความร่วมมือจากทีมปิดบัญชีสหกรณ์ฯ เช่น คณะกรรมการ ดำเนินการที่รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองมากขึ้น และผู้แทนหน่วยงานจากสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ผู้แทน จาก พอช. ที่ให้คำแนะนำและแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้ตรงประเด็นจึงทำให้สหกรณ์สามารถปิดบัญชีได้ ตามแผนท่ีกำหนด ทั้งนี้ ทีมปิดบัญชีประจำจังหวัดได้เข้าติดตามผลการดำเนินงานหลังโครงการฯ อย่าง ต่อเน่อื งทุกเดอื นเพอ่ื รายงานผลใหส้ หกรณจ์ ังหวัดและกรมส่งเสริมสหกรณท์ ราบ 2. อำเภอ ศรีธาตุ ประกอบดว้ ย สหกรณ์ 10 แหง่ สมาชิก 4,515 คน กลมุ่ เกษตรกร 8 แห่ง สมาชกิ 1,399 คน ⚫ ผลการเขา้ แนะนำ สง่ เสริม และแก้ไขปญั หาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร ในเขตพื้นที่อำเภอศรีธาตุมีสหกรณ์ที่ดำเนินธุรกิจ 5 แห่ง หยุดดำเนินธุรกิจ 4 แห่ง ชำระบัญชี 1 แห่ง มีกล่มุ เกษตรกรท่ดี ำเนินธุรกจิ 4 แหง่ หยุดดำเนินธุรกจิ 2 แห่ง ชำระบญั ชี 2 แห่ง ซงึ่ กลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์ 2 ได้เข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ทุกสถาบัน โดยสรุปผลการ ดำเนินงานแบ่งเป็นดา้ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. ด้านการบรหิ ารจดั การ 1. การยกระดบั ชั้นความเขม้ แข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ โดยการวิเคราะห์และจัดทำแผนการพัฒนาเพือ่ ยกระดับสหกรณเ์ ป้าหมายสู่ระดับชั้นที่ดีขึ้น ซึ่งผลจากการขับเคลื่อนสามารถยกระดบั ความเข้มแข็งสหกรณ์ใน อำเภอศรธี าตุ รักษาระดับช้ันสหกรณไ์ ด้ จำนวน 5 แหง่ การประเมินผลการดำเนินงานตามเกณฑ์การจัดระดับชั้นของกลุ่มเกษตรกรในอำเภอศรีธาตุ จำนวน 6 แห่ง (กลุ่มเกษตรกรที่ดำเนินธุรกิจ จำนวน 4 แห่ง หยุดดำเนินธุรกิจ จำนวน 2 แห่ง) ผลจากการ ขับเคล่อื นสามารถ รกั ษาระดบั ชน้ั ได้ทงั้ หมด 2 แหง่

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 39 2. การจัดชนั้ คุณภาพการควบคุมภายใน ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 ในภาพรวม เปรียบเทยี บกับผลการจัดระดับชนั้ สหกรณ์ ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2563 ระดบั ชัน้ ระดบั ชน้ั สหกรณ์ ระดับชัน้ สหกรณ์ ขอ้ มูล ณ 30 ก.ย.62 ขอ้ มูล ณ 30 ก.ย.63 ชั้น 1 แห่ง ร้อยละ แหง่ รอ้ ยละ ชัน้ 2 1 10 1 10 ช้ัน 3 5 50 4 40 ชนั้ 4 (ชำระบญั ช)ี 3 30 2 20 รวม 1 10 3 30 10 100 10 100 จากตาราง พบว่าผลการจัดชั้นสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 มีสหกรณ์ที่มีความเข้มแข็งอยู่ชั้น 1 และชั้น 2 จำนวน 5 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 100 ของ สหกรณ์ท่ีดำเนนิ ธรุ กจิ ทงั้ หมด 5 แหง่ ) ลดลงจากเดิม จำนวน 1 แห่ง เม่ือเทียบกบั ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2562 ซึ่งมสี หกรณ์อยใู่ นช้นั 1 และช้ัน 2 จำนวน 6 แห่ง (คิดเปน็ ร้อยละ 100 ของสหกรณ์ที่ดำเนินธุรกิจ 6 แห่ง) สำหรับชั้น 4 มีสหกรณ์ที่เข้าสู่กระบวนการเลิก เพิ่มขึ้น 2 แห่ง ทำให้ สหกรณ์ช้นั 4 มจี ำนวน 3 แหง่ 3. การจัดมาตรฐานสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ในเขตพื้นที่อำเภอศรีธาตุ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 มีสหกรณ์นำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 5 แห่ง สหกรณ์ที่ไม่นำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 5 แห่ง กลุ่มเกษตรกรนำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 3 แห่ง ไม่นำมาจัดมาตรฐาน 3 แห่ง ดังนี้ มีสหกรณ์ที่รักษาเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอยู่ในระดับดีเลิศ จำนวน 2 แห่ง สหกรณ์ที่รักษาเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอยู่ในระดับดีมาก จำนวน 3 แห่ง สหกรณ์ รักษาเป้าหมายกลุ่มเกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 2 แห่ง ผลักดันให้กลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานใหผ้ า่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 2 แหง่ 4. การตดิ ตามการใชเ้ งินกู้กองทนุ ตา่ ง ๆ 4.1 เงินกองทนุ พฒั นาสหกรณ์ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการแนะนำส่งเสริมสนับสนุนเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จำนวน 2 แหง่ ดังนี้ 1) สหกรณ์การเกษตรศรีธาตุ จำกดั วตั ถุประสงค์เพอ่ื ให้สมาชกิ กยู้ มื ทำการเกษตร 2) สหกรณ์การเกษตรบ้านห้วยวังปลาศรีธาตุ จำกัด วัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกกู้ยืมทำ การเกษตร(ปลกู มนั สำปะหลัง) 3) สหกรณ์การเกษตรอุตสาหกรรมมันสำปะหลังศรีธาตุ จำกัด วัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุน ใหส้ มาชิกกยู้ มื เงนิ 4) สหกรณโ์ คนมศรีธาตุ จำกดั วตั ถุประสงค์เพอ่ื เป็นทุนให้สมาชิกกู้ยืม

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 40 ผลจากการกู้ยืมเงินฯทำให้ มีปริมาณธุรกิจเพิ่มมากขึ้น มีการใช้เงินกู้ให้ถูกต้องตาม วัตถุประสงค์ ทำให้เมอ่ื สิ้นปีสหกรณ์มีกำไรเพมิ่ มากขึ้น ทำใหส้ มาชิกมีสภาพคล่องทางการเงิน มีความเป็นอยู่ท่ี ดีข้ึน และสามารถชำระหนี้ไดท้ นั ตามกำหนดเวลา 4.2 เงนิ กองทุนสงเคราะหเ์ กษตรกร 1) ในเขตพ้นื ทอ่ี ำเภอศรธี าตุ มสี หกรณ์ 1 แหง่ และกลุ่มเกษตรกร 1 แหง่ ท่กี ูเ้ งินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกร ซึ่งผลจากการกู้ยืมเงินกองทุนฯ ทำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจที่เพิ่มขนึ้ ใช้เงินกู้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ทำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีทุนหมุนเวียนดีขึ้น สามารถชำระหนี้ได้ทัน ตามกำหนดเวลา 2) เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการสนับสนุนเงินทนุ เพื่อสาร้างระบบน้ำในไร่นา ของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ในเขตพื้นที่อำเภอศรีธาตุ มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่กู้เงินกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกรโครงการฯ จำนวน 3 แห่ง แยกเป็น สหกรณ์ 2 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง ซึ่งสามารถชำระหน้ี ไดท้ นั ตามกำหนดเวลา 4.3 การแกไ้ ขปญั หาหน้คี า้ งกองทนุ พฒั นาสหกรณ์/เงนิ กองทนุ สงเคราะห์กล่มุ เกษตรกร ในเขตพื้นที่อำเภอศรีธาตุ ไม่มีลูกหนีค้ ้างชำระเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์และเงนิ กองทุน สงเคราะห์เกษตรกร 5. การวิเคราะหส์ ถานภาพทางการเงนิ ของสหกรณ์ จากสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม อาจส่งผลให้สหกรณ์เกิดความเสี่ยงในด้าน ต่างๆ คือ เงินทุนของสหกรณ์ส่วนใหญ่มาจากเงินกู้ยืมและเงินรับฝาก หากอัตราดอกเบี้ยมีการปรับตัวข้ึน อาจจะส่งผลกระทบตอ่ การจดั หาเงนิ ทุนของสหกรณ์ในอนาคตได้ การชำระหนต้ี ามกำหนดของลกู หน้เี งนิ กู้ และ ทุนสำรองต่อสินทรัพย์อยู่ในระดับที่ต้องปรับปรุง โดยจะส่งผลให้มีหนี้ค้างนาน สหกรณ์ควรกำหนดให้มี มาตรการติดตามเรง่ รดั หน้ที ่เี หมาะสมมากขึ้น ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์ 2 แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ใหไ้ ดร้ ับการตรวจสอบและรับรองงบการเงนิ จากผู้สอบบญั ชสี หกรณ์ จำนวน 7 แหง่ ดงั นี้ 1) สหกรณ์มีผลการดำเนินงาน มีกำไรสุทธิ 5 แห่ง กลุ่มเกษตรกรมีผลการดำเนินงาน มีกำไรสุทธิ 2 แห่ง 2) ไมม่ ีสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรทม่ี ีผลการดำเนินงานขาดทนุ 3) มีสหกรณ์ที่อยู่ในสถานะหยุดดำเนินงาน จำนวน 5 แห่ง และมีกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในสถานะ หยุดดำเนนิ งาน 2 แห่ง 4) สหกรณ์ท่อี ยู่ในสถานะชำระบญั ชี 3 แห่ง คอื (1) สหกรณ์การเกษตรภูไทยนำ้ ทพิ ย์ จำกัด (2) สหกรณพ์ ัฒนาชนบทศรธี าตุ จำกัด (3) สหกรณ์การเกษตรกร(รายย่อย)อำเภอศรธี าตุ จำกัด กลมุ่ เกษตรกรทอี่ ยู่ในสถานะชำระบญั ชีจำนวน 2 แหง่ คอื (1) กลมุ่ เกษตรกรทำไร่จำปี (2) กลมุ่ เกษตรกรทำนาบา้ นโปรง่

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 41 2. ดา้ นการพฒั นาธุรกจิ 1. ดา้ นการมสี ่วนร่วมในการใช้บรกิ าร จากการเข้าแนะนำ ส่งเสริม ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการดำเนินการส่งเสริมให้สมาชิกร่วม คดิ ร่วมตัดสินใจ รว่ มดำเนินธรุ กิจกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมากข้ึน ทำใหส้ มาชิกมาใชบ้ ริการสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรในรแู บบการกยู้ ืมเงิน ในการซ้ือสินค้า เพิม่ มากขึ้น ไดด้ ำเนินการแนะนำสง่ เสริมสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร เพือ่ สง่ เสริมสนบั สนุนพฒั นาด้านการมีส่วน ร่วมของสมาชิกในการทำธุรกิจหรือการใช้บริการ เช่น การกู้ยืมเงินของสมาชิก การซื้อสินค้ามาจำหน่ายให้กับ สมาชกิ การรบั ซอื้ ผลผลิตการเกษตรของสมาชกิ และการใหบ้ ริการรับฝากเงนิ ของสมาชกิ พบว่าสมาชกิ ที่มีส่วน ร่วมในการทำธุรกิจหรือใช้บริการกับสหกรณ์ 5 แห่ง แต่มีสหกรณ์ที่มีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์เกิน กว่าร้อยละ 70 จำนวน 3 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรศรธี าตุ จำกัด,สหกรณ์โคนมศรีธาตุ จำกัด และสหกรณ์ การเกษตรบา้ นห้วยวงั ปลาศรีธาตุ จำกัด สว่ นสมาชกิ ท่ีมสี ่วนรว่ มในการทำธรุ กจิ หรือใช้บริการกับสหกรณ์ ไม่ถึง ร้อยละ 70 จำนวน 2 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรอุตสาหกรรมมนั สำปะหลงั ศรีธาตุ จำกัด เนื่องจากมีเงนิ ทุน ไม่เพียงพอต่อความต้องการของสมาชิกจึงทำให้บริการสมาชิกได้ไม่ทั่วถึง และสหกรณ์ยางพาราศรีธาตุวังสาม หมอ จำกดั เนอื่ งจาก สหกรณไ์ ม่ได้ดำเนินธรุ กิจ มเี พยี งการปลอ่ ยเงินกสู้ มาชกิ จำนวน 3 ราย 2. ด้านปรมิ าณธุรกิจ จากการวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อสรุปผลการ วิเคราะห์และกำหนดแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจสินเช่ือ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหนา่ ย ธุรกิจรวบรวมผลผลิตการเกษตร ธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตร และธุรกิจรับฝากเงิน พบว่าพื้นที่อำเภอ ศรธี าตุ จงั หวัดอุดรธานี สหกรณท์ ม่ี สี ถานะดำเนินกิจการ จำนวน 5 แห่ง มอี ตั ราการขยายตวั ของปริมาณธุรกิจเพิ่มข้ึนจาก ปีก่อน จำนวน 4 แห่ง ปริมาณธุรกิจลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน จำนวน 1 แห่ง กลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะดำเนิน กิจการ จำนวน 2 แห่ง ปริมาณธุรกิจลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน จำนวน 2 แห่ง เนื่องจากสถานการณ์ภัยแล้ง และปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 ทำให้สมาชิกไม่มีประสิทธิภาพในการส่งชำระหนี้ ทำให้ กลุ่มเกษตรกรเก็บหน้ีได้ยากข้ึน 3. ประสทิ ธภิ าพในการดำเนนิ ธรุ กจิ จากสภาพปญั หาของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสว่ นมากจะเปน็ หน้ีคา้ งนาน การแก้ไขปญั หาหนี้สิน ของสมาชิก ควรมีการวางแผนให้เจ้าหน้าที่สินเชื่อออกติดตาม เร่งรัดหนี้ค้างชำระอย่างเข้มข้นเป็นรายบุคคล และนำปัญหาอุปสรรคที่พบมาเสนอที่ประชุมคณะกรรมการทุกเดือน เพื่อหาแนวทางแก้ไขต่อไป เช่น การหา เงินทุนที่มีอัตราดอกเบี้ยต่ำมาให้สมาชิกู้ยืม การจัดทำโครงการปรับโครงสร้างหนี้ให้กับสมาชิกสหกรณ์ การ จัดหาสินค้ามาจำหนา่ ยให้สมาชิกในราคาที่เป็นธรรม ซงึ่ ในปีนส้ี หกรณ์สามารถลดจำนวนลูกหน้ีค้างนานท่ีมีหน้ี คา้ งชำระ 3 ปลี งได้ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ได้แนะนำ ส่งเสรมิ ให้สหกรณ์และ กล่มุ เกษตรกรมีการดำเนิน ธุรกิจดา้ น ต่าง ๆ ประกอบด้วย 1) ธุรกิจเงินรับฝาก สหกรณ์จำนวน 2 แหง่ 2) ธรุ กจิ สินเชื่อ สหกรณ์จำนวน 5 แหง่ กล่มุ เกษตร จำนวน 2 แหง่ 3) ธรุ กจิ จดั หาสินค้ามาจำหน่าย จำนวน 2 แห่ง

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 42 4. ดา้ นเงินออมของสมาชิก ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในอำเภอศรีธาตุ มีการระดมทุนภายใน เพิ่มขึ้นทั้งเงินรับฝากและทุนเรือนหุ้น แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการดำเนินส่งเสริมการออมกับ สมาชิกส่วนมากจะเปน็ สหกรณ์ ส่วนกลุม่ เกษตรกรไม่ได้ดำเนนิ ธุรกิจรับฝากเงินจากสมาชิก สมาชิกสามารถมา ฝากเงินเพิ่มมากขึ้นกว่าปีก่อน สหกรณ์มีอัตราส่วนเงนิ ออมต่อหนี้สนิ ของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปี 2562 (ปีก่อน) จำนวน 3 แห่ง ส่วนกลุม่ เกษตรกรไม่ไดด้ ำเนนิ ธุรกจิ รบั ฝากเงนิ จากสมาชกิ 5. การใช้ประโยชน์จากอปุ กรณ์การตลาด มีการแนะนำส่งเสริมการใช้อุปกรณ์การตลาดอย่างอย่างคุ้มค้า มีสมาชิกมาใช้บริการลานตากของ สหกรณ์ได้โดยไมเ่ สียค่าใช้จ่ายใดๆในช่วงฤดเู ก็บเกีย่ วข้าว ทำใหไ้ ม่เกดิ ปัญหาจากการทส่ี มาชิกเม่ือเก็บเก่ียวข้าว แลว้ ไม่มีท่ตี าก 3. การกำกบั ดูแล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์ 1. ประสิทธิภาพการบริหารงาน การแก้ไขปัญหาในการดำเนินกิจการ (ข้อบกพร่อง/ข้อสังเกตผู้สอบ บญั ชี) 1) กลุ่มเกษตรกรถือเงนิ สดเกนิ กวา่ ระเบยี บกำหนด ไดแ้ นะนำใหก้ ล่มุ เกษตรกร ถือปฏบิ ัติตาม ระเบยี บวา่ ด้วยการเกบ็ รักษาเงนิ สดโดยเคร่งครดั 2) กรณีผู้ตรวจสอบกิจการไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามข้อบังคับ ได้แนะนำให้ผู้ตรวจสอบกิจการเข้า ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามความเหมาะสม และรายงานผลการตรวจสอบให้ทีป่ ระชุม คณะกรรมการทราบทกุ เดือน 3) กรณีการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ไม่เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ แนะนำให้ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการตรวจสอบการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ให้ครบถ้วน ถูกต้องและให้ผ้มู ี อำนาจลงนาม ลงนามให้ครบถว้ น หากมีการแก้ไขควรเซ็นกำกบั ห้ามขีดฆ่าหรือลบเปน็ อนั ขาด 4) กรณีสหกรณ์รับฝากเงินจากบุคคลภายนอกที่มิได้เป็นสมาชิก ซึ่งการปฏิบัติดังกล่าว ไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 มาตรา 46(5) และที่แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2553 และไม่เป็นตามข้อบังคับและระเบียบสหกรณท์ ี่กำหนดให้ สหกรณ์รับฝากเงินจากสมาชิกหรือสหกรณ์ หรือสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ซึ่งมีสมาชิกนั้นไม่น้อยกว่ากึ่งหนง่ึ เปน็ สมาชิกของสหกรณผ์ ู้ฝากเงนิ ทงั้ น้ี ตามระเบียบของสหกรณท์ ี่ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ 5) กรณีสหกรณ์มีเงินปันผลค้างจ่ายและเงินเฉลี่ยคืนค้างจ่าย สหกรณ์ควรดำเนินการจ่ายให้ สมาชิกให้เสรจ็ สน้ิ โดยเร็ว 6) สหกรณ์มีเงินรอตรวจสอบยกมาจากปีก่อน ซึ่งยังไม่สามารถสอบหาที่มาของผู้โอนและ รายการโอนเพื่อบันทึกบัญชีที่ถูกต้องได้ สหกรณ์ควรเร่งตรวจสอบยอดเงินดังกล่าวให้ถูกต้องโดยเร็วและ รายงานผลผู้สอบบญั ชที ราบโดยเร็ว 2. การชำระบญั ชี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในเขตพื้นที่อำเภอศรีธาตุมีสหกรณ์พัฒนาชนบทศรีธาตุ จำกัด ซ่งึ อยใู่ นข้ันตอนการรับมอบทรพั ยส์ นิ 4. งานตามนโยบายรัฐบาล 1. โครงการลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพเกษตรกร มีสมาชิกสหกรณ์และสมาชิก เกษตรกรผ้ปู ระสงค์สมัครเป็นสมาชกิ สหกรณ์เข้าร่วมโครงการฯ จำนวนท้ังสิน้ 7 ราย

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 43 2. โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (โครงการเงินชดเชยดอกเบี้ย) มีสหกรณ์การเกษตรศรีธาตุ จำกัด เข้าร่วมโครงการ ซึ่งมีสมาชิกเข้าร่วมโครงการดังกล่าว จำนวน 536 ราย เป็นเงิน 397,140.20 บาท ⚫ ปญั หา/อปุ สรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. ด้านองคก์ ร สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีสมาชิกจำนวนมากและอยู่พื้นที่ห่างไกล สมาชิกบางคนมีอายุมาก บางรายก็เสียชวี ติ ทำใหย้ ากต่อการตดิ ตอ่ ประสานงาน และไม่ค่อยใหค้ วามรว่ มมือเท่าท่ีควร คู่สมรสของสมาชิก บางรายเปน็ ลูกค้าธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ทำให้มีหน้ีสินหลายทาง 2. ดา้ นบคุ ลากร 1) คณะกรรมการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่งมีการเก็บรักษาเงินสดเกินกว่าวงเงินท่ีกำหนด เปน็ ประจำ ทำใหเ้ ส่ยี งต่อการทุจริตได้ 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่งไม่มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ จึงได้มอบหมายให้คณะกรรมการ ดำเนนิ การชว่ ยกันปฏิบัตหิ นา้ ท่ี โดยมอบหมายประธานกรรมการทำหนา้ ท่ีรับ-จ่าย ซง่ึ สามารถรวบรวมและแยก หมวดหมู่เอกสารหลักฐานรับ-จ่ายได้ และเลขานุการทำหน้าท่ีเกบ็ รักษาเงนิ สด ในส่วนการบันทึกบญั ชีได้จัดจ้าง บุคคลภายนอก ซึ่งบุคคลดังกล่าวทำได้เพียงบันทึกสมุดบัญชีขั้นต้น สมุดบัญชีขั้นปลายและบัญชีย่อยต่างๆ และบางสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรคณะกรรมการสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกรมีอายุคอ่ นขา้ งมาก 3. อุปกรณ์ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่งมีเครื่องใช้สำนักงาน ตู้เก็บเอกสารไม่ได้มาตรฐานในการเก็บ รักษาเอกสารทางเงินและบญั ชี และส่วนมากไม่มคี อมพิวเตอร์ใชใ้ นการปฏิบัตงิ าน 4. ดา้ นงบประมาณ สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรบางแห่งมีงบประมาณไม่เพยี งพอต่อความต้องการของสมาชิก ทำให้การ บริหารงานงบประมาณไม่ทั่วถึงสมาชิกทุกคน ทำให้ต้องกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ และกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกรมาให้บรกิ ารสมาชกิ ⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา 1. แนะนำให้สมาชิกที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล สมาชิกที่อายุมาก สมาชิกที่เสียชีวิตและไม่ต้องการ ใช้บริการกับสหกรณ์ ให้ลาออกจากการเป็นสมาชิกสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร เพื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จะไดบ้ รกิ ารสมาชกิ ไดค้ รอบคลุมทั่วถึง 2. มีบางสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการเก็บรักษาเงินสดไว้เกินระเบียบที่กำหนด ได้แนะนำให้ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ปฏิบัติตามระเบียบ เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นให้สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรนำเงินส่วนเกินเข้าฝากธนาคารในวันถัดไป และกำกับเจ้าหน้าที่ให้ปฏิบัติตามระเบียบอย่างเคร่งครดั ให้คณะกรรมการมีมตมิ อบหมายหน้าที่ใหร้ บั ผดิ ชอบ และปฏิบัติตามระเบยี บอยา่ งเคร่งครดั 3. ได้แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรควรจัดหาตู้เก็บเอกสารที่ได้มาตรฐาน เพื่อจัดเก็บเอกสารไว้ เปน็ ระเบยี บและป้องกันความเสียหายทอ่ี าจจะเกิดขึ้นกรณีเอกสารสูญหาย หากสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรควร จะจดั หาคอมพิวเตอรเ์ พ่ือใชใ้ นการปฏิบตั ิงานในการเก็บข้อมลู และสะดวกต่อการปฏบิ ตั งิ าน 4. ควรมีการจัดทำแผนการปฏิบัติงานในการเพิ่มปริมาณธุรกิจ เช่น ธุรกิจรวบรวมผลผลิตของสมาชิก มาจำหน่าย ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่ายโดยจัดหาปุ๋ย วัสดุการเกษตร มาจำหน่ายให้สมาชิกในราคา ท่เี ปน็ ธรรม

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 44 ⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด อุดรธานี ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สหกรณ์โคนมศรีธาตุ จำกดั สหกรณ์โคนมศรีธาตุ จำกัด สำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 285 หมู่ 1 ถนนศรีธาตุ-ไชยวาน ตำบลหัวนาคำ อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี โทรศัพท์ 082-8579166 จดทะเบียนวันที่ 18 สิงหาคม 2538 ปัจจุบันมี สมาชกิ 103 คน มคี ณะกรรมการดำเนนิ การ จำนวน 10 คน ผลงาน/ความสำเรจ็ ของสหกรณ์ 1. สหกรณ์จัดโครงการระดมทุนเรือนหุ้นและจัดหาสินค้ามาจำหน่ายให้กับสมาชิกเพื่อจัดหาแหล่ง เงินทนุ ภายในของสหกรณ์ โดยมสี มาชิกร่วมทำธรุ กิจ ร้อยละ 85 ของสมาชกิ ท้ังหมด 2. สหกรณ์ส่งเสริมอาชีพให้แก่สมาชิก โดยการจัดหาสินค้ามาจำหน่ายในราคายุติธรรมแก่สมาชิก สหกรณ์ เชน่ จัดหาอาหารสัตวม์ าจำหน่าย จำหน่ายสินคา้ อุปโภคบรโิ ภค เปน็ ต้น 3. สหกรณ์มีความสามัคคีกลมเกลียว ทั้งคณะกรรมการดำเนินการ และฝ่ายจัดการ มีความเสียสละ ทมุ่ เทใหก้ บั การดำเนินงานอยา่ งเต็มกำลังความสามารถ 4. สหกรณ์มีผู้นำที่มีความสามารถ มีวิสัยทัศน์รอบด้าน มีความเสียสละ ระดมความคิดความสามารถ ในการแก้ไขปัญหาของสหกรณไ์ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี 5. สหกรณ์มีการติดตามผลการดำเนินงานตามโครงการเป็นประจำ สม่ำเสมอ และนำปัญหาที่พบมา หารอื ในทีป่ ระชมุ คณะกรรมการดำเนนิ การสหกรณเ์ พ่ือหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา เป็นประจำทกุ เดอื น โครงการจดั หาสนิ ค้ามาจำหน่าย

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 45 ปจั จยั แหง่ ความสำเรจ็ 1. สมาชิกทุกคนให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ เป็นอย่างดี มีคณะกรรมการดำเนนิ งานให้ความสำคัญกับแนวคิดในการพัฒนาต่อยอดธรุ กจิ ให้มีปริมาณเพ่ิมข้ึน 2. มีเจ้าหน้าที่ ทั้งคณะกรรมการดำเนินการ มีความสามัคคีกลมเกลียว ปฏิบัติงานเต็มความรู้ ความสามารถ มีความเสียสละ ทุ่มเทให้กับการดำเนินงานอย่างเต็มกำลังความสามารถ ทำให้การทำ งานมี ศกั ยภาพมากย่งิ ขนึ้ 3. มีเจ้าหนา้ ทส่ี ่งเสรมิ สหกรณ์ เข้าไปใหค้ ำแนะนำและกำกับดูแลอย่างใกลช้ ดิ 4. สหกรณ์สามารถเข้าถึงความต้องการของสมาชิกได้ทำให้สมาชิกมีความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อ สหกรณ์ว่าเป็นสถาบันที่เป็นที่พึ่งและให้ความช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิ จและสังคมให้แก่สมาชิก ทุกคนได้ สหกรณ์มีผู้นำที่มีความสามารถ มีวิสัยทัศน์รอบด้าน เสียสละ สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นของ สหกรณไ์ ด้ 3. อำเภอ วงั สามหมอ ประกอบด้วย สหกรณ์ 6 แห่ง สมาชกิ 2,692 คน กล่มุ เกษตรกร 10 แหง่ สมาชิก 992 คน ⚫ ผลการเขา้ แนะนำ สง่ เสริม และแก้ไขปญั หาสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร ในเขตพื้นที่อำเภอวังสามหมอ มีสหกรณ์ที่ดำเนินธุรกิจ 3 แห่ง หยุดดำเนินธุรกิจ 3 แห่ง กลุ่มเกษตรกรท่ีดำเนนิ ธรุ กิจ 3 แหง่ หยุดดำเนนิ ธรุ กิจ 5 แหง่ ชำระบัญชี 2 แห่ง ซ่ึงกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 ได้ เข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ทุกสถาบัน โดยสรุปผลการ ดำเนินงานแบ่งเปน็ ดา้ นต่าง ๆ ดังน้ี 1. ดา้ นการบรหิ ารจดั การ 1. การยกระดับช้นั ความเขม้ แขง็ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ โดยการวิเคราะห์และจัดทำแผนการพัฒนาเพ่ือ ยกระดับสหกรณเ์ ป้าหมายสู่ระดบั ชั้นทีด่ ีขึ้น ซึ่งผลจากการขับเคลือ่ นสามารถยกระดบั ความเขม้ แขง็ สหกรณ์ใน อำเภอวงั สามหมอ รกั ษาระดบั ชั้นสหกรณ์ได้ จำนวน 1 แหง่ การประเมินผลการดำเนินงานตามเกณฑ์การจัดระบบชั้นของกลุ่มเกษตรกร ในอำเภอวังสามหมอ จำนวน 6 แห่ง (กลุ่มเกษตรกรที่ดำเนินธุรกิจ จำนวน 3 แห่ง หยุดดำเนินธุรกิจ จำนวน 5 แห่ง ชำระบัญชี 2 แหง่ ) ผลจากการขับเคลือ่ นสามารถ รักษาระดบั ไดท้ งั้ หมด 2 แหง่

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 46 2. การจัดชน้ั คณุ ภาพการควบคมุ ภายใน ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 ในภาพรวม เปรยี บเทยี บกับผลการจัดระดับช้ันสหกรณ์ ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2563 ระดบั ชั้น ระดบั ชนั้ สหกรณ์ ระดบั ชน้ั สหกรณ์ ขอ้ มลู ณ 30 ก.ย.62 ข้อมลู ณ 30 ก.ย.63 ชั้น 1 แหง่ รอ้ ยละ แหง่ ร้อยละ ชน้ั 2 1 16.66 1 16.66 ชั้น 3 4 66.67 4 66.67 ช้ัน 4 (ชำระบญั ชี) 1 16.67 1 16.67 รวม - 6 100 6 100 จากตารางพบว่าผลการจัดชั้นสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 มีสหกรณ์ที่มีความเข้มแข็งอยู่ชั้น 1 และชั้น 2 จำนวน 5 แห่ง มีผลการจัดชั้นเท่าเดิม เมอ่ื เทยี บกับผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562 ซง่ึ มสี หกรณ์อยู่ในช้ัน 1 และช้ัน 2 จำนวน 5 แหง่ 3. การจดั มาตรฐานสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร สหกรณ์ในเขตพื้นที่อำเภอวังสามหมอ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีสหกรณ์นำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 3 แห่งและสหกรณท์ ี่ไมน่ ำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 3 แห่ง กลุม่ เกษตรกรนำมาจดั มาตรฐาน จำนวน 2 แห่ง ไม่นำมาจัดมาตรฐาน 8 แห่ง ดังนี้ มีสหกรณ์ที่รักษาเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอยู่ในระดับดีเลิศ จำนวน 1 แห่ง สหกรณ์ที่รักษาเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอยู่ในระดับดีมาก จำนวน 1 แห่ง ผลักดันให้ กล่มุ เกษตรกรทีไ่ มผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐานให้ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 1 แห่ง 4. การติดตามการใชเ้ งินกูก้ องทุนตา่ งๆ 4.1 เงนิ กองทนุ พัฒนาสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการสนับสนุนเงินทุนในการ ดำเนินงานจากแหลง่ ทนุ ภายนอกอน่ื ๆ และจากแหลง่ เงินทนุ ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ดังนี้ 1) สหกรณก์ ารเกษตรวังสามหมอ จำกดั วัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ให้สมาชิกกู้ยืม สามารถส่งชำระหน้ี กรมสง่ เสริมสหกรณ์ไดท้ นั ตามกำหนดเวลา 2) สหกรณ์การเกษตรอุตสาหกรรมมันสำปะหลังวังสามหมอ จำกัด ซึ่งไม่สามารถชำระหนี้ เงนิ กองทนุ พัฒนาสหกรณไ์ ด้ เน่อื งจากนำเงินไปใช้ไม่ตรงกบั วัตถุประสงค์ 4.2 เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ำในไร่นาของ สมาชิกสถาบันเกษตรกร ในเขตพื้นที่อำเภอวังสามหมอ มีสหกรณ์ที่กู้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ในโครงการฯ จำนวน 2 แหง่ ดังน้ี 1) สหกรณ์การเกษตรวังสามหมอ จำกัด วัตถุประสงคเ์ พอ่ื ขดุ สระ บ่อบาดาล สามารถส่งชำระ หนีก้ รมสง่ เสริมสหกรณ์ได้ทันตามกำหนดเวลา

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 47 2) สหกรณ์การเกษตรอตุ สาหกรรมมันสำปะหลังวงั สามหมอ จำกัด ซึ่งสหกรณ์ฯไมส่ ามารถส่ง ชำระหนไ้ี ด้ทันตามกำหนดเวลา 4.3 การแก้ไขปญั หาหนคี้ า้ งกองทนุ พฒั นาสหกรณ/์ เงนิ กองทนุ สงเคราะห์กลมุ่ เกษตรกร ในเขตพื้นที่อำเภอวังสามหมอ มีหนี้ค้างเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ และเงินกองทุน สงเคราะห์โครงการระบบน้ำในไร่นาระยะที่ 1 คือสหกรณ์การเกษตรอุตสาหกรรมมันสำปะหลังวังสามหมอ จำกัด ซึ่งสหกรณ์ฯได้ดำเนินการขอไกล่เกลี่ยหนี้ค้างชำระกับกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการ สหกรณแ์ ล้ว 5. การวเิ คราะหส์ ถานภาพทางการเงินของสหกรณ์ จากสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม อาจส่งผลให้สหกรณ์เกิดความเสี่ยงใน ด้านต่างๆ คือ เงินทุนของสหกรณ์ส่วนใหญ่มาจากเงินกู้ยืมและเงินรับฝาก หากอัตราดอกเบี้ยมีการปรับตัวข้ึน อาจจะส่งผลกระทบต่อการจัดหาเงินทุนของสหกรณ์ในอนาคตได้ การชำระหนี้ตามกำหนดของลูกหนี้เงินกู้ ไมไ่ ด้ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด โดยจะส่งผลให้มหี น้ีค้างนาน สหกรณ์ควรกำหนดให้มีมาตรการติดตามเร่งรัด หน้ีให้เขม้ ข้นมากยิ่งขึน้ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 ได้แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์และ กลมุ่ เกษตรกร ให้ไดร้ ับการตรวจสอบและรบั รองงบการเงนิ จากผสู้ อบบัญชีสหกรณ์ 5 แหง่ 1) สหกรณ์มีผลการดำเนินงาน มีกำไรสุทธิ 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกรมีผลการดำเนินงาน มกี ำไรสทุ ธิ 2 แห่ง 2) สหกรณ์มีผลการดำเนินงานขาดทุนสุทธิ จำนวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตร วังสามหมอ จำกดั เน่อื งจากสหกรณ์มีลูกหนี้ค้างนานเกนิ 3 ปี และไมส่ ามารถเรียกเก็บหนี้ได้ ทำให้ผู้สอบบัญชี ตัง้ คา่ เผ่ือหน้สี งสยั จะสูญไว้เตม็ จำนวน 3) มีสหกรณ์ที่อยู่ในสถานะหยุดดำเนินงาน จำนวน 1 แห่ง และมีกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ใน สถานะหยุดดำเนนิ งาน จำนวน 2 แห่ง 4) สหกรณ์ทไ่ี ม่สามารถสง่ งบการเงนิ ให้ผสู้ อบแสดงความคดิ เห็นไดจ้ ำนวน 1 แห่ง 5) สหกรณ์และกล่มุ เกษตรกรทีอ่ ยู่ในสถานะชำระบญั ชี 3 แห่ง คอื (1) สหกรณโ์ คเน้อื บ้านดานใหญ่ จำกัด (2) กลุม่ เกษตรกรทำนาหนองหญา้ ไซ (3) กลุ่มเกษตรกรเลีย้ งสัตวบ์ ะยาว 2. ดา้ นการพฒั นาธรุ กิจ 1. ดา้ นการมสี ว่ นร่วมในการใชบ้ รกิ าร จากการเข้าแนะนำ ส่งเสริม ให้สหกรณ์มีการดำเนินการส่งเสริมให้สมาชิกร่วมดำเนินธุรกิจกับ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมากขึ้น โดยการประชาสมั พันธ์ผ่านการประชุมกลุ่มสมาชิก จัดโครงการต่าง ๆ เพื่อ ดงึ ดูดให้สมาชิกมาใช้บรกิ ารมากขึ้น เชน่ การใชล้ านตากเพ่ือตากมันสำปะหลงั ขนาด 2,064 ตารางเมตร การ รวบรวมยางก้อนถ้วย ซึ่งสมาชิกสามารถมาใช้บริการได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น ได้ดำเนินการแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาด้านการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการทำธุรกิจ หรือการใช้บริการ เช่น การกู้ยืมเงินของสมาชิก การซื้อสินค้ามาจำหน่ายให้กับสมาชิก การรับซื้อผลผลิต การเกษตรของสมาชิก และการให้บริการรับฝากเงินของสมาชิก พบว่าสมาชิกที่มีส่วนร่วมในการทำธุรกิจหรอื ใช้บริการกับสหกรณ์ 3 แห่ง ซึ่งมีสหกรณ์ที่มีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์เกินกว่าร้อยละ 70

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 48 จำนวน 3 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรวังสามหมอ จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางวังสามหมอ จำกัด และ สหกรณโ์ คเน้ือสร้างอาชีพแบบยงั่ ยนื อำเภอวังสาหมอ จำกดั 2. ดา้ นปรมิ าณธรุ กิจ จากปญั หาภัยแล้ง และโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา-2019 ส่งผลให้ปรมิ าณธุรกจิ ของสหกรณ์ภาพรวม ในเขตพื้นที่อำเภอวังสามหมอ มีปริมาณลดลงจากปีที่ผ่านมา จึงดำเนินการร่วมหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ร่วมกับสหกรณ์ เพื่อส่งเสริมการเพิ่มปริมาณธุรกิจ โดยการเพิ่มปริมาณธุรกิจและบริการให้หลากหลาย ตามความต้องการของสมาชกิ สหกรณ์ท่ีมสี ถานะดำเนนิ กจิ การ จำนวน 5 แห่ง มีอตั ราการขยายตวั ของปริมาณ ธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน จำนวน 4 แห่ง ปริมาณธุรกิจลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน จำนวน 1 แห่ง กลุ่มเกษตรกรท่ีมีสถานะดำเนินกิจการ จำนวน 2 แห่ง ปรมิ าณธุรกิจลดลงเมื่อเทียบกบั ปีก่อน จำนวน 2 แห่ง เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจ สังคม ภัยแล้ง และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 ในปัจจุบันทำให้สมาชิกไม่มี ประสทิ ธิภาพในการส่งชำระหน้ี สง่ ผลกล่มุ เกษตรกรเก็บหนไ้ี ดย้ ากขึน้ 3. ประสิทธภิ าพในการดำเนนิ ธุรกจิ จากสภาพปัญหาของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรสว่ นมากจะเป็นหน้ีคา้ งนาน การแก้ไขปัญหาหน้ีสิน ของสมาชิก ควรมีการวางแผนให้เจ้าหน้าท่ีสินเชื่อออกติดตามเร่งรัดหนี้ค้างชำระ อย่างเข้มข้นเป็นรายบุคคล และนำปัญหาอุปสรรคที่พบมาเสนอที่ประชุมคณะกรรมการทุกเดือน เพื่อหาแนวทางแก้ไขต่อไป เช่น การหา เงินทุนที่มีอัตราดอกเบี้ยต่ำมาให้สมาชิกู้ยืม การจัดทำโครงการปรับโครงสร้างหนี้ให้กับสมาชิกสหกรณ์ การ จดั หาสินค้ามาจำหนา่ ยให้สมาชิกในราคาท่ีเป็นธรรม ซ่งึ ในปีน้ีสหกรณส์ ามารถลดจำนวนลูกหน้ีค้างนานที่มีหน้ี ค้างชำระ 3 ปีลงได้ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ได้แนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรมกี ารดำเนนิ ธุรกิจดา้ น ตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย 1) ธรุ กจิ เงนิ รบั ฝาก สหกรณ์ดำเนินธรุ กิจ จำนวน 1 แหง่ 2) ธรุ กจิ สนิ เชื่อ สหกรณ์ดำเนนิ ธรุ กจิ จำนวน 3 แหง่ และกลุ่มเกษตรดำเนนิ ธรุ กจิ จำนวน 1 แหง่ 3) ธรุ กจิ จัดหาสนิ คา้ มาจำหนา่ ย สหกรณด์ ำเนินธุรกิจ จำนวน 2 แหง่ 4) ธรุ กจิ รวบรวมผลติ ผล สหกรณ์ดำเนินธุรกิจ จำนวน 2 แห่ง 4. ด้านเงนิ ออมของสมาชิก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในอำเภอวังสามหมอ มีการระดมทุน ภายในทางด้านเงินรับฝากลดลง แนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการดำเนินการส่งเสริมการออมกับ สมาชิกส่วนมากจะเป็นสหกรณ์ ส่วนกลุ่มเกษตรกรไม่ได้ดำเนินธุรกิจรับฝากเงินจากสมาชิก สมาชิกมาฝากเงิน กับสหกรณ์ลดลงกว่าปีก่อน สหกรณ์มีอัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินของสมาชิกลดลงจากปี 2562 (ปีก่อน) จำนวน 1 แหง่ ส่วนกลุ่มเกษตรกรไมไ่ ดด้ ำเนนิ ธรุ กจิ รบั ฝากเงนิ จากสมาชิก 5. การใชป้ ระโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด สหกรณ์การเกษตรในเขตพ้ืนที่อำเภอวงั สามหมอ มีการดำเนินการติดตาม ตรวจสอบ แนะนำให้ใช้ ประโยชน์จากอปุ กรณ์การตลาด/สิ่งก่อสรา้ งเครื่องจักรกลการเกษตรของสหกรณภ์ าคการเกษตรให้อยู่ในสภาพ พร้อมใช้งาน และใช้อุปกรณ์การตลาดอย่างคุ้มค่า สามารถสร้างแหล่งรายได้เพื่อให้มีรายได้เพียงพอและ เพิ่มขีดความสามารถชำระหนี้ไห้กับสมาชิกได้ ซึ่งอุปกรณ์การตลาด/สิ่งก่อสร้างเครื่องจักรกลการเกษตรของ สหกรณภ์ าคการเกษตรทไ่ี ดร้ ับการสนับสนุนงบประมาณจากภาครฐั จำนวน 2 แห่ง ดงั นี้ 1. สหกรณ์การเกษตรวงั สามหมอ จำกดั 2. สหกรณก์ องทุนสวนยางวังสามหมอ จำกดั

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 49 6. ติดตามการใช้เงินอุดหนนุ ให้เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ ในเขตพน้ื ทีอ่ ำเภอวงั สามหมอ มสี หกรณท์ ไี่ ดร้ บั เงนิ อุดหนุน จำนวน 2 สหกรณ์ โดยมี รถยนต์ ลาน ตาก ฉาง เครื่องซีล เครื่องยนต์ เครื่องตีป่น ถึงบรรจุภัณฑ์ จากการเข้าไปแนะนำส่งเสริมโดยสหกรณ์ได้ ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุดแกส่ หกรณ์ 3. การกำกับ ดแู ล ตรวจสอบและคมุ้ ครองระบบสหกรณ์ 1. ประสิทธภิ าพการบริหารงาน การแก้ไขปัญหาในการดำเนินกิจการ (ข้อบกพร่อง/ข้อสังเกตผู้สอบ บญั ชี) 1) ให้การแนะนำ ส่งเสริม ให้มีการแก้ไขระเบียบ ข้อบังคับของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อให้ สอดคล้องกับการปรับปรุงพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ตลอดจนระเบียบ และ กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้อง 2) กรณีการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ไม่เรียบร้อย ครบถ้วน สมบูรณ์ แนะนำให้สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร มีการตรวจสอบการจัดทำรายละเอียดในสัญญาเงินกู้ให้ครบถ้วน ถูกต้องและให้ผู้มีอำนาจลง นาม ลงนามใหค้ รบถว้ น ไมใ่ หม้ ีรอยขีดฆา่ หรอื ลบเนือ่ งจากเป็นเอกสารสำคัญทางกฎหมาย 3) สหกรณ์มีสินค้าขาดบัญชยี กมาจากปีก่อน ซึ่งตามมติที่ประชุมคณะกรรมการประจำเดือนและ สหกรณไ์ ดป้ รบั ปรุงเป็นคา่ เสยี หายจากสินค้าขาดบญั ชที ั้งจำนวน 4) กรณีสหกรณ์มีเงินปันผลค้างจ่ายและเงินเฉลี่ยคืนค้างจ่าย สหกรณ์ควรดำเนินการจ่ายให้ สมาชกิ ใหเ้ สร็จสน้ิ โดยเรว็ 5) ณ วันสิ้นปี สหกรณ์มีลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้หลายรายการ ซึ่งได้ประมาณการค่าเผื่อหน้ี สงสยั จะสูญไวเ้ ตม็ จำนวนแลว้ สหกรณ์ควรพจิ ารณาดำเนินการจามข้ันตอนและตดิ ตามให้ลกู หน้ีผู้รับผิดชอบให้ มีการชำระคืนโดยเร็ว เพ่อื ลดความเสยี หายจากข้อบกพร่องทเ่ี กิดข้นึ 6) สหกรณ์รับฝากเงินจากบุคคลภายนอกที่มิได้เป็นสมาขิก ซึ่งการปฏิบัติดังกล่าวไม่เป็นไปตาม พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 มาตรา 46(5) และแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา 16 แหง่ พระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2562 และไม่เป็นไปตามข้อบังคับและระเบียบสหกรณ์ที่กำหนดให้สหกรณ์รับเงินฝากจาก สมาชิกและสหกรณ์อื่นหรือสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ ซึ่งมีสมาชิกของสมาคมนั้นไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งเป็น สมาชิกของสหกรณผ์ รู้ ับฝากเงนิ ทั้งน้ี ตามระเบียบของสหกรณ์ที่ได้รับความเหน็ ชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ 2. การชำระบญั ชี ในปงี บประมาณ พ.ศ.2563 พ้ืนท่ีอำเภอวังสามหมอ มกี ล่มุ เกษตรกรทำนาหนองหญา้ ไซ ซ่ึงอยู่ใน ข้ันตอนการรบั มอบทรพั ยส์ ิน และดำเนนิ การทำงบสง่ ให้ผ้สู อบบัญชี 4. งานตามนโยบายรัฐบาล 4.1 โครงการลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพเกษตรกร มีสมาชิกสหกรณ์ และเกษตรกร ผู้ประสงคส์ มัครเปน็ สมาชิกสหกรณเ์ ข้าร่วมโครงการฯ จำนวนท้ังส้ิน 4 ราย 4.2 โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (โครงการเงินชดเชยดอกเบี้ย) มีสหกรณ์การเกษตรวังสามหมอ จำกัด เข้าร่วมโครงการ ซึ่งมีสมาชิกเข้าร่วมโครงการดังกล่าว จำนวน 490 ราย เป็นเงนิ 227,710 บาท

รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) | 50 ⚫ ปัญหา/อปุ สรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. ด้านองค์กร สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีสมาชิกจำนวนมากและอยู่พื้นที่ห่างไกล สมาชิกบางคนมีอายุมาก บางรายกเ็ สียชวี ิต ทำใหย้ ากตอ่ การติดตอ่ ประสานงาน และไม่ค่อยให้ความรว่ มมอื เท่าที่ควร คู่สมรสของสมาชิก บางรายเป็นลกู คา้ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ทำใหม้ ีหนีส้ ินหลายทาง 2. ดา้ นบุคลากร คณะกรรมการสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรบางแห่งมีเก็บรกั ษาเงนิ สดเกนิ กวา่ วงเงนิ ที่กำหนดเปน็ ประจำ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่งไม่มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ จึงได้มอบหมายให้คณะกรรมการดำเนินการช่วยกัน ปฏิบัติหนา้ ท่ี โดยมอบหมายประธานกรรมการทำหนา้ ท่ีรับ-จ่าย ซึ่งสามารถรวบรวมและแยกหมวดหมู่เอกสาร หลักฐานรับ-จ่ายได้ และเลขานุการทำหน้าท่ีเก็บรักษาเงินสด การบันทึกบัญชีได้จัดจ้างบุคคลภายนอก ซึ่งทำ ได้เพียงบันทึกสมุดบัญชีขั้นต้น สมุดบัญชีขั้นปลายและบัญชีย่อยต่าง ๆ ซึ่งบางสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร คณะกรรมการสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรมีอายุคอ่ นข้างมาก 3. อุปกรณ์ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่งมีเครื่องใช้สำนักงาน ตู้เก็บเอกสารไม่ได้มาตรฐานในการเกบ็ รกั ษา เอกสารทางเงนิ และบญั ชี และส่วนมากไม่มคี อมพิวเตอรใ์ ชใ้ นการปฏิบัติงาน 4. ดา้ นงบประมาณ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางแห่งมีงบประมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการของสมาชิก ทำให้การ บริหารงานงบประมาณไม่ทั่วถึงสมาชิกทุกคน ทำให้ต้องกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ และกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกรมาให้บรกิ ารสมาชกิ ⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา 1. แนะนำให้สมาชิกที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล สมาชิกที่อายุมาก สมาชิกที่เสียชีวิตและไม่ต้องการ ใช้บริการกับสหกรณ์ ให้ลาออกจากการเป็นสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจะได้ บรกิ ารสมาชิกได้ครอบคลมุ ทั่วถงึ 2. มีบางสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการเก็บรักษาเงินสดไว้เกินระเบียบที่กำหนด ได้แนะนำให้สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรให้ปฏิบัติตามระเบียบ เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร นำเงินส่วนเกินเข้าฝากธนาคารในวันถัดไป และกำกับเจ้าหน้าที่ให้ปฏิบัติตามระเบียบอย่างเคร่งครัด ใหค้ ณะกรรมการมีมติมอบหมายหน้าที่ใหร้ ับผิดชอบ และปฏบิ ตั ิตามระเบยี บอยา่ งเครง่ ครัด 3. ได้แนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรควรจัดหาตู้เก็บเอกสารที่ได้มาตรฐาน เพื่อจัดเก็บเอกสารไว้เป็น ระเบียบและป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นกรณีเอกสารสูญหาย สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรควรจะจัดหา คอมพิวเตอร์เพือ่ ใชใ้ นการปฏิบัติงานในการเก็บข้อมลู และสะดวกต่อการปฏิบัตงิ าน 4. ควรมีการจัดทำแผนการปฏิบัติงานในการเพิ่มปริมาณธุรกิจ เช่น ธุรกิจรวบรวมผลผลิตของสมาชกิ มาจัดการขาย ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหนา่ ย โดยจัดหาปุ๋ย วัสดุการเกษตร สินค้าอุปโภคบริโภคมาจำหนา่ ยให้ สมาชิกในราคาทเ่ี ปน็ ธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook