Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (2564-2570)

แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (2564-2570)

Published by e20dku, 2022-07-12 04:28:42

Description: แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (2564-2570)
National Disaster Prevention and Mitigation Plan (2021-2027)

Keywords: Plan,Disaster management,Crisis managment,Disaster Plan,National Plan

Search

Read the Text Version

ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมความเป็นหุ้นส่วนระหว่างประเทศในการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภยั จากสถติ สิ าธารณภยั ของโลกแสดงใหเ้ หน็ แนวโนม้ การเกดิ สาธารณภยั ทมี่ คี วามรนุ แรงและความถม่ี ากขน้ึ ประกอบกบั ข้อมูลจากธนาคารพฒั นาแหง่ เอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ชใี้ ห้เหน็ วา่ ภมู ิภาคเอเชีย และแปซิฟิกมีความเสี่ยงต่อการเกิดสาธารณภยั สูงท่สี ุดในโลกทงั้ รปู แบบเดิม และภัยคุกคามรปู แบบใหม่ กอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายแก่ชีวิตและทรัพยส์ ิน ทำ� ให้การพฒั นาต่าง ๆ หยดุ ชะงกั ส่งผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ และสังคมในระยะยาว ประชาคมโลกจึงตระหนักถึงความส�ำคัญในการยกระดับความร่วมมือ ในเชิงหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ (Strategic Partnership) เพ่อื ดำ� เนนิ การไปสู่เปา้ หมายร่วมกนั (Common Goals) ในการลดความเส่ยี งจากสาธารณภยั ในขณะเดยี วกนั ประเทศไทยจำ� เปน็ ตอ้ งเสรมิ สรา้ งความเปน็ หนุ้ สว่ นการจดั การสาธารณภยั และประสาน ความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรมในทุก ๆ ระดับร่วมกับประเทศต่าง ๆ และหนว่ ยงานภาคีเครอื ข่ายในระดบั สากล โดยการนำ� แนวคดิ กรอบการพัฒนาระดบั โลก ที่เกี่ยวขอ้ ง เชน่ การลด ความเส่ียงจากสาธารณภยั การปรับตัวต่อการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ และการพฒั นาทีย่ ง่ั ยืน เป็นตน้ มาเชื่อมโยง (Coherence) และปรบั ใชก้ บั แผนพฒั นาทกุ ภาคสว่ น เพอื่ การลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั ตามบรบิ ทของประเทศ สกู่ ารปฏบิ ตั ติ งั้ แตร่ ะดบั ชาตจิ นถงึ ระดบั ชมุ ชน (Localization) รวมถงึ การพฒั นาศกั ยภาพของชมุ ชนใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปล่ียนแปลง นอกจากนี้ ยังต้องส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพระบบการจัดการสาธารณภัย ของประเทศผา่ นการเรยี นรรู้ ว่ มกนั สรา้ งระบบการบรู ณาการทรพั ยากรทเี่ หมาะสม สนบั สนนุ การแลกเปลยี่ นประสบการณ์ และแนวทางปฏบิ ัติท่ีดี (Best Practice) เพ่ือสร้างความร่วมมือ ความรูค้ วามเข้าใจ และสามารถน�ำไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ เพ่ือลดความเส่ียงจากสาธารณภัย (Risk-Informed) ให้เกิดความตระหนักในการลงทุนที่ค�ำนึงถึงความเส่ียง จากสาธารณภยั และประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับอยา่ งรอบดา้ นและสมดลุ อนั จะน�ำไปสู่การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยืน 1. แนวคดิ การส่งเสริมความเป็นหุ้นสว่ นระหว่างประเทศในการจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภัย การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยเป็นหัวใจหลักของการพัฒนาท่ียั่งยืน ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือแบบ เปน็ หนุ้ สว่ น (Partnership) จากทกุ ภาคสว่ นในทกุ ระดบั อยา่ งครอบคลมุ (Inclusive approach) โดยแตล่ ะประเทศ ตอ้ งเหน็ พอ้ งรว่ มกนั ในการวางแผนและดำ� เนนิ กจิ กรรมทค่ี ำ� นงึ ถงึ ความเสยี่ งจากสาธารณภยั รวมถงึ การประชมุ หารอื การแลกเปล่ียนเรียนรู้ การพัฒนาศักยภาพการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยภายใต้กรอบความร่วมมือต่าง ๆ การประเมนิ ผลสมั ฤทธขิ์ องการปฏบิ ตั งิ าน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลผลติ อยา่ งเปน็ รปู ธรรมและเกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ โดยการ ส่งเสริมบทบาทของประเทศไทย ให้มีความมั่นคง (Security) มีความม่ังค่ังและยั่งยืน (Sustainability) มีสถานะ และเกียรติภูมิ (Status) มีมาตรฐานสากล (Standard) และมีเอกภาพมพี ลัง (Synergy) 92 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

2. เป้าประสงค์ 2.1 เพอื่ ใหท้ กุ ภาคสว่ นมคี วามตระหนกั และเขา้ รว่ มเปน็ หนุ้ สว่ นในการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั อย่างยงั่ ยนื 2.2 เพอื่ ยกระดับมาตรฐานการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภยั ในระดับชาตแิ ละนานาชาติ 2.3 เพอื่ ยกระดบั การประสานความชว่ ยเหลือดา้ นมนุษยธรรมอย่างมเี อกภาพ 3. กลยุทธ์การสง่ เสริมความเป็นห้นุ สว่ นในการจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภัย กลยทุ ธ์ท่ี 1 เสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย ระหวา่ งประเทศ ประเทศไทยมงุ่ เนน้ การสง่ เสรมิ และประสานความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานระหวา่ งประเทศในการจดั การความเสย่ี ง จากสาธารณภัยที่สอดคล้องกับกรอบนโยบายต่างประเทศ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพ และพัฒนา ความร่วมมือ ของหน่วยงานภาคีเครือข่ายตามแนวทางของกรอบการพัฒนาระดับโลก ซึ่งต้องพิจารณาจากความเชี่ยวชาญ และประสบการณท์ จี่ ะไดร้ บั ประโยชนร์ ว่ มกนั โดยเฉพาะความรว่ มมอื กบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น ระดบั ภมู ภิ าค และระดบั โลก ท้ังน้ี ประเทศไทยด�ำเนินยุทธศาสตร์ความเป็นหุ้นส่วนด้านการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยระหว่างประเทศ ในรูปแบบทวิภาคีและพหภุ าคี ดังน้ี (1) การเปน็ หนุ้ สว่ นยทุ ธศาสตรด์ า้ นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั แบบทวภิ าคี เปน็ ความรว่ มมอื ระหว่างประเทศ ในลักษณะของความร่วมมือระหว่างรัฐต่อรัฐ หรือกับองค์การระหว่างประเทศ โดยมีเป้าหมาย เพอ่ื สนบั สนนุ และรว่ มมอื กบั ประเทศหนุ้ สว่ นในการจดั การสาธารณภยั รวมทงั้ แลกเปลยี่ นแนวทางการจดั ทำ� ยทุ ธศาสตร์ ด้านการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยและน�ำเอาแนวทางปฏิบัติท่ีดีมาเป็นต้นแบบในการพัฒนายุทธศาสตร์ ดา้ นการจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภยั ของประเทศ (2) การเปน็ หนุ้ สว่ นยทุ ธศาสตรด์ า้ นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั แบบพหภุ าคี เปน็ ความรว่ มมอื ตงั้ แตส่ องประเทศขน้ึ ไป ทง้ั ในระดบั กรอบโลก กรอบภมู ภิ าค และกรอบอนภุ มู ภิ าค โดยในระดบั กรอบโลก ประเทศไทย โดยกระทรวงการต่างประเทศ และส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ให้การสนับสนุนการ ดำ� เนนิ งานตาม “กรอบความรว่ มมอื หนุ้ สว่ นระหวา่ งไทยกบั สหประชาชาติ (United Nations Partnership Framework: UNPAF)” รว่ มกบั ทมี งานสหประชาชาตปิ ระจำ� ประเทศไทย (United Nations Country Team: UNCT) และหนว่ ยงาน ทเี่ กย่ี วขอ้ งในการดำ� เนนิ ภารกจิ ด้านการพฒั นาเพ่ือส่งเสริมความร่วมมือของทุกภาคสว่ น ตามภารกิจของหน่วยงาน ภาครฐั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง โดยประเดน็ ดา้ นการจดั การสาธารณภยั และการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศรว่ มกบั โครงการพฒั นา แหง่ สหประชาชาติ (United Nations for Development Programme: UNDP) และสำ� นกั งานเพอื่ การลดความเสยี่ ง จากภยั พบิ ตั แิ หง่ สหประชาชาติ (United Nations Office for Disaster Risk Reduction: UNDRR) ทำ� หนา้ ทขี่ บั เคลอ่ื น เป้าหมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื พ.ศ. 2558 – 2573 และกรอบการดำ� เนนิ งานเซนไดเพ่อื การลดความเสย่ี งจากภยั พิบตั ิ พ.ศ. 2558 - 2573 รวมไปถงึ กรอบโลกอ่นื ๆ ซึง่ ดำ� เนินการรว่ มกับหน่วยงานขององคก์ ารสหประชาชาติทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ที่มีสำ� นกั งานประจ�ำประเทศไทย และสำ� นกั งานระดบั ภมู ิภาคทต่ี ั้งอย่ใู นประเทศไทย แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 93

ระดับภมู ภิ าคอาเซียน ประเทศไทยรว่ มเป็นคณะกรรมการอาเซยี นดา้ นการจัดการภยั พบิ ตั ิ (ASEAN Committee on Disaster Management: ACDM) โดยไดร้ ว่ มกำ� หนดมาตรการและกลไก เพ่ือสนบั สนุนความร่วมมือ ในการจดั การสาธารณภยั ของภมู ภิ าคและปฏบิ ตั ติ ามความตกลงอาเซยี นวา่ ดว้ ย การจดั การภยั พบิ ตั แิ ละการตอบโต้ สถานการณฉ์ ุกเฉิน (ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response: AADMER) และดำ� เนนิ การตามแผนงาน AADMER Work Programme (2021 - 2025) ซง่ึ ประกอบดว้ ยพนั ธกจิ หลกั 5 ประการ โดยประเทศไทยรว่ มกบั สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวและสาธารณรฐั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ มบี ทบาทในฐานะประธาน รว่ มคณะทำ� งานด้านการป้องกนั และลดผลกระทบท่ีกำ� กับดูแลการด�ำเนนิ งานในพันธกจิ ท่ี 1 และ 2 (การประเมิน ความเสยี่ ง การปอ้ งกนั และการลดผลกระทบ) รวมไปถงึ การสนบั สนนุ การดำ� เนนิ การเพอื่ บรรลวุ สิ ยั ทศั นข์ องอาเซยี น ด้านการจัดการ ภยั พบิ ตั ิ (ASEAN Vision on Disaster Management) ระดบั อนภุ มู ภิ าคมกี รอบความรว่ มมอื ในการขบั เคลอ่ื นประเดน็ ดา้ นการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั ทป่ี ระเทศไทยพฒั นาความเปน็ หนุ้ สว่ นรว่ มกบั ประเทศสมาชกิ ใหเ้ กดิ ประโยชนร์ ว่ มกนั ยงิ่ ขนึ้ เชน่ กรอบความรว่ มมอื อนุภูมิภาคคณะกรรมาธิการแม่น�้ำโขง (Mekong River Commission: MRC) กรอบความร่วมมือความริเริ่ม แห่งอ่าวเบงกอลสำ� หรับความร่วมมอื หลากหลายสาขาทางวชิ าการ และเศรษฐกจิ (Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation: BIMSTEC) กรอบความรว่ มมือการประชมุ สดุ ยอด เอเชยี ตะวนั ออก (East Asia Summit: EAS) และการประชมุ อาเซยี นวา่ ดว้ ยความรว่ มมอื ดา้ นการเมอื งและความมน่ั คง ในภูมภิ าคเอเชีย-แปซฟิ ิก (ASEAN Regional Forum: ARF) เป็นต้น แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการสง่ เสรมิ ความเปน็ หนุ้ สว่ นยทุ ธศาสตรด์ า้ นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ทงั้ แบบทวิภาคี และพหภุ าคขี องประเทศไทยและประเทศหุ้นสว่ น (1) ใหม้ กี ารจดั ทำ� บนั ทกึ ความเขา้ ใจ (Memorandum of Understanding: MOU) ความรว่ มมอื ทางวชิ าการ ดา้ นการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั กบั นานาประเทศ โดยเฉพาะประเทศเพอ่ื นบา้ นทมี่ ชี ายแดนตดิ กนั และองคก์ ร ระหว่างประเทศ (2) จัดท�ำโครงการความร่วมมือเพ่ือการพัฒนาการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย โดยริเริ่มใน ภาคสว่ นตา่ ง ๆ อาทิ ภาคเกษตร ภาคคมนาคม ภาคการศกึ ษา เปน็ ตน้ (3) รว่ มกนั พฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมเพอื่ การปอ้ งกนั และลดผลกระทบ เชน่ การจดั ทำ� แผนทเ่ี สย่ี งภยั การพัฒนาระบบเตือนภัย การจัดท�ำกรอบและแผนการฟื้นฟูหลังการเกิดสาธารณภัย การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ด้านการจัดการความเสย่ี งจากสาธารณภัย เป็นต้น (4) เข้าร่วมหรือเป็นเจ้าภาพร่วมจัดการประชุมระหว่างประเทศเพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยน (Platform) องคค์ วามรทู้ างวชิ าการ ประสบการณ์ แนวทางปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี (Best Practice) และการฝกึ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (5) แลกเปลย่ี นและจดั ส่งผูเ้ ชย่ี วชาญไปปฏิบัตงิ านในองค์การระหว่างประเทศ 94 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

กลยทุ ธท์ ่ี 2 พฒั นาระบบการประสานความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมท่ีมเี อกภาพ ประเทศไทยมกี ารพฒั นาระบบการประสานความชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมทม่ี เี อกภาพ เพอ่ื ใหก้ ารประสาน ความชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมกบั ตา่ งประเทศและแนวทางการจดั การความชว่ ยเหลอื ภายในประเทศมคี วามชดั เจน สอดคลอ้ งกบั แนวทางปฏบิ ตั แิ ละแผนปฏบิ ตั กิ ารในระดบั พนื้ ที่ โดยมเี ปา้ หมายในการจดั ทำ� มาตรฐาน แผนปฏบิ ตั กิ าร คมู่ อื และขั้นตอนการรับและการให้ความช่วยเหลือด้านมนษุ ยธรรม (1) แนวทางปฏบิ ตั ิ “การรบั ” ความชว่ ยเหลือด้านมนษุ ยธรรมจากต่างประเทศ (1.1) จัดท�ำมาตรฐาน แผนปฏิบัติการ คู่มือ และขั้นตอนการรับความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม จากตา่ งประเทศเมอื่ เกดิ สาธารณภยั รา้ ยแรงอยา่ งยงิ่ เพอื่ เปน็ กรอบการดำ� เนนิ งานและการปฏบิ ตั ขิ องหนว่ ยงานฝา่ ยไทย ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง หนว่ ยงานตา่ งประเทศ และองคก์ ารระหวา่ งประเทศทจ่ี ะใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมเมอ่ื มกี ารรอ้ งขอ ซงึ่ ประกอบดว้ ยสาระสำ� คญั อยา่ งนอ้ ย 1) แนวทางปฏบิ ตั ขิ องประเทศไทยในการขอรบั ความชว่ ยเหลอื จากตา่ งประเทศ 2) เงอื่ นไขและขน้ั ตอนในการรบั และการเปดิ รบั รอ้ งขอ ปฏเิ สธ และยตุ คิ วามชว่ ยเหลอื จากตา่ งประเทศ 3) การจดั การ ข้อมูลด้านสาธารณภัย 4) การจัดการระบบการประสานความช่วยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรม ณ จดุ เดยี ว (National Single Window: NSW) และ 5) ขนั้ ตอนการอำ� นวยความสะดวกและการดูแลความปลอดภยั ใหแ้ กต่ ่างประเทศ องคก์ ารระหวา่ งประเทศ และองคก์ รตา่ งประเทศอน่ื ๆ โดยครอบคลมุ ความชว่ ยเหลอื ในดา้ นบคุ ลากรและผเู้ ชย่ี วชาญ ทไี่ ดร้ ับมอบหมายใหป้ ฏบิ ตั ิการชว่ ยเหลือและบรรเทาทุกข์ เชน่ แพทย์ วิศวกร สถาปนิก พนักงานขบั เครอ่ื งจักรกล เป็นต้น ด้านเคร่ืองอุปโภค บริโภค อุปกรณ์และอุปกรณ์ชนิดพิเศษในการช่วยเหลือการปฏิบัติงานของบุคลากร และผเู้ ชย่ี วชาญ เชน่ ยานพาหนะ เครอ่ื งจกั ร อปุ กรณก์ ารสอื่ สาร อปุ กรณด์ าวเทยี ม คลนื่ ความถ่ี อปุ กรณท์ างการแพทย์ ยาและเวชภณั ฑ์ สนุ ัขคน้ หา ทรพั ยากรทางทหาร เปน็ ตน้ ด้านการขนส่งทางบก ทางน้�ำ ทางอากาศ และด้านการ รบั บริจาค ท้ังน้ี ต้องสอดคล้องกับกฎหมายและกฎระเบียบของประเทศไทยและระหว่างประเทศ ตลอดจนกรอบการปฏบิ ตั ิตา่ ง ๆ ของสากลท่ไี ด้รบั การรบั รอง (1.2) จัดให้มีการฝึกการรับความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมจากต่างประเทศเป็นประจ�ำ อยา่ งนอ้ ย ปีละ 1 คร้ัง โดยพจิ ารณาใช้กลไกคณะอนกุ รรมการความร่วมมอื ระหว่างประเทศด้านการจัดการสาธารณภยั (2) แนวทางปฏิบัติ “การให”้ ความช่วยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมแก่ตา่ งประเทศ (2.1) จัดท�ำมาตรฐาน แผนปฏิบัติการ คู่มือและขั้นตอนการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม แกต่ า่ งประเทศ เพอ่ื เปน็ กรอบการดำ� เนนิ งานและการปฏบิ ตั ขิ องหนว่ ยงานฝา่ ยไทยทเี่ กยี่ วขอ้ ง ตลอดจนตา่ งประเทศ ทจ่ี ะรบั ความชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมจากประเทศไทย ซงึ่ ประกอบดว้ ยสาระสำ� คญั อยา่ งนอ้ ย 1) หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ ของประเทศไทยในฐานะผใู้ ห้ความชว่ ยเหลือ 2) หนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบของประเทศผูร้ บั ความชว่ ยเหลือ 3) เงื่อนไข และขนั้ ตอนในการให้ และยตุ คิ วามชว่ ยเหลอื และ 4) บญั ชที รพั ยากรสำ� หรบั ปฏบิ ตั งิ านดา้ นมนษุ ยธรรม สำ� หรบั กรณี ทจี่ ะตอ้ งมกี ารดำ� เนนิ การรว่ มกนั ในทางปฏบิ ตั ิ เชน่ การฝกึ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั รว่ มกบั ประเทศเพอื่ นบา้ น ตอ้ งเสนอคณะรฐั มนตรใี หค้ วามเหน็ ชอบ ทงั้ น้ี ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั กฎหมายและกฎระเบยี บของประเทศไทยและระหวา่ ง ประเทศ ตลอดจน กรอบการปฏบิ ตั ิตา่ ง ๆ ของสากลท่ีได้รบั การรบั รอง แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 95

(2.2) จดั ใหม้ กี ารฝกึ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมแกต่ า่ งประเทศเปน็ ประจำ� อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 คร้ัง (กรณีสาธารณภัยที่เกิดอยู่นอกราชอาณาจักรไทย) โดยพิจารณารูปแบบการฝึกตามความเหมาะสม เช่น การจัดการฝึกปฏิบัติเพื่อเตรียมความพร้อมในการเคล่ือนย้ายทรัพยากรส�ำหรับการจัดการเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ อาทิ การดบั ไฟปา่ การกูภ้ ัยเหตุอาคารถล่ม เป็นต้น กลยทุ ธท์ ่ี 3 ยกระดบั มาตรฐานการปฏบิ ัติงานด้านมนษุ ยธรรม การยกระดบั มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านดา้ นมนษุ ยธรรมในภาวะฉกุ เฉนิ ใหม้ เี อกภาพ มาตรฐาน และมคี วาม สอดคล้องกับหลักการสากลว่าด้วยการพัฒนาระบบการประสานความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ณ จุดเดียว (National Single Window: NSW) โดยคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรปและกรอบความตกลงว่าด้วยการ อำ� นวยความสะดวกดา้ นศลุ กากรดว้ ยระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ณ จดุ เดยี วของอาเซยี น (ASEAN Single Window: ASW) เม่ือวันที่ 9 ธันวาคม 2548 ซึ่งเป็นระบบจัดการข้อมูลและเอกสารในการอนุญาตน�ำเข้าและส่งออกทางธุรกรรม ระหวา่ งประเทศเพยี งจดุ เดยี วในการจดั การสาธารณภยั ไมว่ า่ จะเปน็ การนำ� เขา้ ทางกายภาพ หรอื ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ โดยมกี ารแจง้ ขอ้ มลู ไปยงั หนว่ ยงานอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง และ/หรอื มกี ระบวนการควบคมุ รว่ มกนั เพอ่ื ใหผ้ มู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ในธรุ กรรมน้ันไดร้ ับประโยชน์อย่างรวดเร็วและถ้วนหน้า แนวทางปฏิบตั ิเพอ่ื ยกระดับมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านดา้ นมนษุ ยธรรม (1) พัฒนาระบบการประสานความช่วยเหลอื ด้านมนุษยธรรม ณ จุดเดียว (National Single Window: NSW) ตามมติคณะรฐั มนตรี เมื่อวันที่ 16 ตลุ าคม 2561 มอบหมายให้บรษิ ัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) เป็นองค์กรผู้ให้บริการ National Single Window (NSW Operator) และมอบหมายให้กรมศุลกากรด�ำเนินการ ตามขั้นตอน ระเบียบ และกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงมอบหมายให้หน่วยงาน ทเี่ กย่ี วข้องกับกระบวนการน�ำเข้า ส่งออก และโลจสิ ตกิ ส์ เรง่ รดั การดำ� เนนิ การพฒั นาระบบเชือ่ มโยง และแลกเปลีย่ นขอ้ มลู ผา่ นระบบ NSW สำ� หรบั การดำ� เนนิ การทเี่ กยี่ วขอ้ งกับการยกเวน้ ภาษี การเดนิ ทางเขา้ /ออกของบคุ ลากร การน�ำเข้า/ ส่งออก อปุ กรณ์ สิง่ อ�ำนวยความสะดวก สง่ิ ของบรรเทาทุกข์ และอนื่ ๆ ในการให้ความชว่ ยเหลือดา้ นมนษุ ยธรรม นอกจากน้ี ใหก้ องบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ใชร้ ะบบการประสานความชว่ ยเหลอื ด้านมนุษยธรรม ณ จดุ เดยี ว เปน็ หลกั ในการจดั การ สัง่ การ ตดิ ตาม และตรวจสอบความชว่ ยเหลอื ด้านมนษุ ยธรรม ท้ังในการรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศเม่ือเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่งและการให้ความช่วยเหลือแก่ ประเทศอนื่ ๆ (2) เชอื่ มโยงระบบการประสานความชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรม ณ จดุ เดยี ว (National Single Window: NSW) เขา้ กบั คลงั ขอ้ มลู สาธารณภยั แหง่ ชาติ เพอื่ ใหส้ ามารถตดิ ตาม (Tracking) การจดั เกบ็ สงิ่ ของสำ� รองจา่ ยในคลงั สำ� รองทรพั ยากรทกี่ ำ� หนดไวใ้ นแตล่ ะภาค (Stockpiling) การจดั สรรและการแจกจา่ ยสงิ่ ของ ตลอดจนมกี ารปรบั ปรงุ พัฒนา และเชอ่ื มโยงระบบดังกลา่ วอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 96 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(3) จดั ใหม้ รี ะบบขอ้ มลู สารสนเทศทส่ี ามารถเชอื่ มโยงกบั ตา่ งประเทศไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการจัดให้มีเว็บไซต์ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย เพื่อใช้เป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ ส่ือสาร และติดตามเก่ียวกับการประสานความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมกับต่างประเทศ และองค์กรผู้ให้ความช่วยเหลือ ตลอดจนประชาชนทัว่ ไป โดยใหเ้ ป็นระบบขอ้ มลู สารสนเทศหลักของประเทศท่ใี ช้แลกเปลยี่ นขอ้ มูลกบั ระบบอืน่ ๆ ของภูมภิ าค หน่วยงานและองคก์ ารระหวา่ งประเทศ หรือหน่วยงาน ภาคประชาสงั คมท่ีปฏบิ ัตงิ านเกี่ยวขอ้ งกับการ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรม เชน่ ศนู ยป์ ระสานงานอาเซยี นในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรม (ASEAN Coordinating Centre for Humanitarian Assistance on disaster management: AHA Centre) ส�ำนักงาน เพ่ือการประสานงานด้านมนุษยธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Office for the Coordination of Humanitarian Affairs: UNOCHA) นอกจากนี้ จะต้องสง่ เสรมิ ให้บคุ ลากรเรียนรู้ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี รูปแบบใหม่ เช่น การจัดเก็บข้อมูลสาธารณภัย การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงลึก การใช้องค์ความรู้ด้านภูมิศาสตร์ สารสนเทศ (Geographic Information System: GIS) การใช้แผนทีด่ าวเทียม (Satellite) การควบคุมอากาศยาน ไรค้ นขบั (Drone) รวมถงึ การใชป้ ญั ญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence: AI) เพอื่ นำ� มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการวเิ คราะห์ ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณาจดั ท�ำกรอบนโยบายและแผนปฏิบัติการ (4) สนับสนนุ การด�ำเนินงานของคณะกรรมการอาเซียนดา้ นการจัดการภัยพบิ ัติ (ASEAN Committee on Disaster Management: ACDM) และศูนย์ประสานงานอาเซียนในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม (ASEAN Coordinating Centre for Humanitarian Assistance on disaster management: AHA Centre) และใหก้ ารสนบั สนนุ การดำ� เนนิ งานของโครงการคลงั สง่ิ ของชว่ ยเหลอื ระบบโลจสิ ตกิ ส์ เพอ่ื ชว่ ยเหลอื เมอ่ื เกดิ ภยั พบิ ตั ิ ฉุกเฉินของอาเซยี น (Disaster Emergency Logistics System for ASEAN: DELSA) ท่ใี ช้ประเทศไทยเป็นสถานที่ ในการกระจายสงิ่ ของชว่ ยเหลอื ไปยงั ประเทศทปี่ ระสบภยั ในภมู ภิ าคอาเซยี น รวมถงึ ใชค้ ลงั สง่ิ ของชว่ ยเหลอื ดงั กลา่ ว เปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ เพอื่ พฒั นาระบบคลงั เกบ็ สงิ่ ของชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ขิ องประเทศและของภมู ภิ าคอน่ื นอกจากน้ี ใหส้ นบั สนนุ บคุ ลากรเขา้ รว่ ม การฝกึ อบรมและรว่ มปฏบิ ตั กิ ารในดา้ นการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรม เชน่ ทมี ประเมนิ ความเสยี หายและตอบโตเ้ หตฉุ กุ เฉนิ ของอาเซยี น (ASEAN Emergency Response and Assessment Team: ASEAN-ERAT) ทมี ประเมินภยั พบิ ัตขิ ององคก์ ารสหประชาชาติ (United Nations Disaster Assessment and Coordination: UNDAC) และการฝึกอบรมภายใต้การสนับสนุนจากองค์กรและหน่วยงานต่าง ๆ อาทิ ศนู ยเ์ ตรยี มความพรอ้ มปอ้ งกนั ภยั พบิ ตั แิ หง่ เอเชยี (Asian Disaster Preparedness Center: ADPC) ศนู ยล์ ดภยั พบิ ตั ิ แหง่ เอเชยี (Asian Disaster Reduction Center: ADRC) คณะกรรมการไตฝ้ นุ่ (Typhoon Committee: TC) องคก์ ารเพอื่ การพฒั นาระหวา่ งประเทศของสหรฐั อเมรกิ า (United State Agency for International Development: USAID) คณะกรรมาธกิ ารระหวา่ งรฐั บาลวา่ ดว้ ยสมทุ รศาสตร์ (Intergovernmental Oceanographic Commission: IOC) หรือองคก์ รและหนว่ ยงานต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 97

กลยุทธ์ท่ี 4 สง่ เสริมความเปน็ ประเทศทมี่ บี ทบาทน�ำด้านการจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภยั ประเทศไทยเขา้ สกู่ ารเปน็ ประเทศผใู้ หร้ ายใหม่ (Emerging Donor) ดว้ ยการแลกเปลยี่ นบทเรยี นและแนวทาง ปฏิบัติท่ีดีในด้านต่าง ๆ ท่ีประเทศไทยประสบความส�ำเร็จให้แก่ประเทศก�ำลังพัฒนาประเทศรายได้ปานกลาง และประเทศรายไดน้ อ้ ย เชน่ ผา่ นความรว่ มมอื แบบใต-้ ใต้ (South - South Cooperation) และความรว่ มมอื ไตรภาคี (Trilateral Cooperation) ซงึ่ ประเทศไทยต้องใชป้ ระสบการณแ์ ละองคค์ วามรใู้ นการสง่ เสริมความเป็นประเทศท่ี มีบทบาทน�ำด้านการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยเพื่อให้ประเทศเป็นผู้ให้รายใหม่แก่นานาชาติ นอกจากนี้ ประเทศไทยตอ้ งมกี ารเตรยี มความพรอ้ มดา้ นงบประมาณ และบคุ ลากรตามมาตรฐานตามหลกั สากล เพอ่ื ใหส้ ามารถ ออกปฏิบตั กิ ารไดท้ ันทีเม่อื ไดร้ บั การรอ้ งขอจากประเทศสมาชกิ (1) แนวทางปฏิบัติส่งเสริมและพัฒนาการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมทั้งภายในและระหว่าง ประเทศตามมาตรฐานตามหลักสากล (1.1) พฒั นามาตรฐานการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมตามหลกั องคก์ ารสหประชาชาตกิ ลมุ่ งาน ดา้ นมนษุ ยธรรม (Cluster Approach) โดยใหค้ ณะอนกุ รรมการความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ ดา้ นการจดั การสาธารณภยั รว่ มกบั สว่ นราชการ หนว่ ยงาน และภาคเอกชน พฒั นามาตรฐานการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมในดา้ นทเี่ กยี่ วขอ้ ง อยา่ งนอ้ ย 9 ด้าน ได้แก่ ดา้ นสุขภาพอนามัย ดา้ นโลจิสติกส์ ด้านการบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว ด้านน้�ำ และการสุขาภิบาล ด้านการสื่อสารในภาวะฉุกเฉิน ด้านความม่ันคงทางอาหาร ด้านโภชนาการ ด้านการคุ้มครอง และด้านการศึกษาเพ่ือปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (1.2) พฒั นาศกั ยภาพชดุ คน้ หาและกภู้ ยั ในเขตเมอื งทง้ั ภายในและระหวา่ งประเทศ (Urban Search and Rescue: USAR) ที่มีสมรรถนะสูงตามมาตรฐานของคณะที่ปรึกษาด้านการค้นหาและกู้ภัยในเขตเมืองสากล (International Search and Rescue Advisory Group: INSARAG) โดยชุด USAR ต้องปฏิบัตงิ านรว่ มกับชดุ USAR ของประเทศตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมในดา้ นการคน้ หาและกภู้ ยั แกป่ ระเทศทปี่ ระสบภยั พบิ ตั ติ ามทไ่ี ดร้ บั การรอ้ งขอ ทงั้ นี้ ใหก้ ระทรวงมหาดไทย โดยกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เปน็ ผปู้ ระสานงาน หลักด้านนโยบาย (Policy Focal Point) และดา้ นปฏิบตั ิ (Operation Focal Point) พร้อมทั้งให้แต่งต้ังผู้ประสานงาน หลักของชุด USAR (USAR Team Focal Point) และให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องสนับสนุนในการพัฒนาศักยภาพ ชดุ USAR ของประเทศไทย (1.3) สง่ เสรมิ บทบาทการปฏบิ ตั งิ านของทมี ปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทางการแพทย์ และสาธารณสขุ ในภาวะ ภยั พบิ ตั ขิ องประเทศไทย (Thailand Emergency Medical Team: Thailand EMT) ทมี่ สี มรรถนะสงู ตามมาตรฐาน ขององคก์ ารอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ในการปฏิบตั ิงานรว่ มกบั ทีม EMT ของประเทศ ตา่ ง ๆ เพอื่ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมดา้ นการแพทยแ์ กป่ ระเทศทป่ี ระสบสาธารณภยั ตามทไี่ ดร้ บั การรอ้ งขอ รวมทง้ั ปฏบิ ตั งิ านในประเทศอยา่ งทันทว่ งทเี มอื่ เกิดสาธารณภัย (1.4) สนบั สนนุ การประสานความร่วมมอื ระหวา่ งพลเรือน - ทหาร (Civil - Military Coordination) โดย สง่ เสรมิ บทบาททางทหารในการจดั การความเส่ยี งสาธารณภยั ท้งั ในและระหว่างประเทศ 98 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(2) แนวทางปฏิบัติให้การสนับสนุนความเป็นหุ้นส่วนทางวิชาการ และจัดให้มีโครงการศึกษาวิจัย ฝกึ อบรมและศกึ ษาดูงาน ดา้ นการพัฒนามาตรฐานการลดความเส่ียงจากสาธารณภัยร่วมกบั นานาชาติ เช่น จัดให้มี หรอื เข้ารว่ มการฝึกซ้อมร่วมกับตา่ งประเทศ จัดทำ� หลักสตู รฝึกอบรมนานาชาตใิ นประเดน็ ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการจดั การ ความเสย่ี งจากสาธารณภยั สนบั สนนุ ทนุ ฝกึ อบรมแกป่ ระเทศภาคที เ่ี กยี่ วขอ้ งเพอ่ื เขา้ รบั การฝกึ อบรมในประเทศไทย และร่วมพฒั นาการวิจยั กบั ต่างประเทศ เป็นต้น แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 99

ส่วนท่ี 2 การจดั การสาธารณภยั ให้มมี าตรฐาน การจดั การสาธารณภยั ใหม้ มี าตรฐาน เปน็ การดำ� เนนิ การทตี่ อ้ งมรี ปู แบบการปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ ระบบและชดั เจน เพอื่ ให้เกิดความเขา้ ใจและมแี นวทางปฏบิ ัตทิ ม่ี ีมาตรฐานเดยี วกนั น�ำไปสกู่ ารจัดการสาธารณภัยท่สี ามารถเชอ่ื มต่อ พน้ื ที่และภารกิจได้ทนั ที ทั้งในช่วงการจัดการในภาวะฉุกเฉนิ ซึง่ ต้องใหค้ วามสำ� คัญกบั มาตรฐาน เอกภาพ ด้วยการ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า มีความยืดหยุ่นของการจัดโครงสร้างองค์กรปฏิบัติภายใต้ระบบ การบัญชาการเหตุการณ์ ในการเผชิญเหตุ สาธารณภัยของทุกหน่วยงานเพื่อบรรเทาความรุนแรงของสาธารณภัย โดยยดึ ถอื วา่ การรกั ษาชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชนเปน็ เรอื่ งเรง่ ดว่ นลำ� ดบั แรก รวมทงั้ การจดั การเมอ่ื เขา้ สรู่ ะยะฟน้ื ฟู โดยใชก้ ระบวนการฟน้ื สภาพ (Rehabilitation) และซอ่ มสรา้ ง (Reconstruction) ซง่ึ เปน็ การดำ� เนนิ การ เพอ่ื ปรบั สภาพ ระบบสาธารณปู โภค การดำ� รงชวี ติ และสภาวะวถิ คี วามเปน็ อยขู่ องชมุ ชนทปี่ ระสบภยั ใหก้ ลบั สสู่ ภาวะปกตเิ พอื่ การฟน้ื ฟู ใหด้ ีกวา่ และปลอดภยั กวา่ เดมิ ทั้งนี้ การก�ำหนดแนวทางปฏบิ ตั จิ ะท�ำให้หนว่ ยงานตา่ ง ๆ สามารถปฏบิ ตั ิงานใหเ้ ป็นไป ในทศิ ทาง และมาตรฐานเดยี วกนั อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ การจดั การสาธารณภยั ใหม้ มี าตรฐานเพอ่ื เป็นการปฏิบตั ิประกอบดว้ ย 2 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การจัดการในภาวะฉกุ เฉินแบบบูรณาการ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการฟืน้ ฟอู ย่างยงั่ ยนื 100 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การจดั การในภาวะฉุกเฉินแบบบูรณาการ การจัดการในภาวะฉกุ เฉิน เปน็ การปฏบิ ัตกิ ารเผชญิ เหตุเพ่อื บรรเทาความรุนแรงของสาธารณภยั รวมท้ัง การรักษาขวัญ สร้างความมั่นใจ และปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นระเบียบของเจ้าหน้าที่ และประชาชน โดยให้ยึดถอื วา่ การรกั ษาชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชนเปน็ เรอ่ื งเรง่ ดว่ นลำ� ดบั แรก ทจี่ ะตอ้ งเรง่ เขา้ ระงบั เหตุ และใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทงั้ น้ี การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั มาตรฐาน เอกภาพ ดว้ ยการใชท้ รพั ยากรทมี่ อี ยอู่ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และคุ้มค่า โดยการจัดโครงสร้างองค์กรปฏิบัติ ระบบการจัดการทรัพยากร และแบ่งมอบภารกิจความรับผิดชอบ ตามความเหมาะสม ทรัพย์สิน ทรัพยากร สภาพแวดล้อม และสังคมให้มีผลกระทบน้อยท่ีสุด ดังนั้น ในภาวะปกติ จงึ ตอ้ งมกี ารเตรยี มความพรอ้ มไวเ้ พอื่ ใหส้ ามารถเผชญิ กบั เหตุ สาธารณภยั ทเ่ี กดิ ขนึ้ เพอื่ เรง่ ดแู ลประชาชนใหก้ ลบั มา มชี วี ติ ตามปกติโดยเร็ว 1. แนวคดิ การจดั การในภาวะฉุกเฉนิ 1.1 มาตรฐานการจดั การในภาวะฉกุ เฉิน ให้มีการจัดการในภาวะฉุกเฉินภายใต้รูปแบบ ระบบ และความเข้าใจที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพ่อื ใหก้ ารจัดการสาธารณภยั สามารถเชอ่ื มต่อพืน้ ทแ่ี ละภารกิจของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ได้ทนั ที โดยการน�ำระบบการ บัญชาการเหตุการณ์มาใช้กบั หน่วยงานทีม่ ีหน้าที่เข้าปฏิบตั กิ ารเผชิญเหตุสาธารณภยั ท่ีเกิดขน้ึ 1.2 เอกภาพการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ให้มกี ารก�ำหนดลำ� ดบั การบังคบั บัญชาทชี่ ดั เจน ระหวา่ งหนว่ ยงานต่าง ๆ วา่ จะรบั หนา้ ท่แี ละภารกจิ จากผู้ใด หน่วยงานใดเป็นหน่วยงานหลักในการเผชิญเหตุสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้น หน่วยงานใดท�ำหน้าที่สนับสนุน รวมทง้ั มกี ารแบง่ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สถานการณด์ ว้ ยการกำ� หนดวตั ถปุ ระสงค์ กลยทุ ธ์ วธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ ชี่ ดั เจน ซง่ึ จะทำ� ให้ เจา้ หนา้ ทจี่ ากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทเ่ี ขา้ รว่ มในการเผชญิ เหตสุ าธารณภยั ทเ่ี กดิ ขนึ้ สามารถปฏบิ ตั งิ าน ไดเ้ ปน็ ไปในทศิ ทาง เดยี วกันอยา่ งรวดเร็ว ราบรื่น และมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.3 ความยดื หยุน่ ของโครงสร้างองค์กรการจัดการในภาวะฉุกเฉนิ ให้มีโครงสร้างองค์กรปฏิบัติท่ีมีความยืดหยุ่น เพ่ือให้สามารถตอบโต้กับเหตุการณ์ที่อาจเกิดข้ึนได้ ทุกประเภทและทกุ ขนาด เนื่องจากตอ้ งอาศยั การประสานการดำ� เนนิ งานระหวา่ งหนว่ ยงาน ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ พ้ืนท่ีรับผิดชอบ รวมถึงสาขาวิชาชีพท่ีหลากหลาย ดังนั้น โครงสร้างขององค์กรปฏิบัติจึงต้องมีความยืดหยุ่น สอดคล้องกบั แตล่ ะสถานการณท์ ่เี กดิ ขึ้น โดยอาจปรบั เปลี่ยนทง้ั จำ� นวนบคุ ลากร บทบาทหนา้ ท่ี และกิจกรรม 2. เป้าประสงค์ 2.1 เพื่อยกระดับมาตรฐานระบบการจัดการในภาวะฉุกเฉินให้เป็นไปอย่างมีมาตรฐาน เอกภาพ และยดื หยนุ่ โดยการบูรณาการความรว่ มมอื จากทกุ ภาคส่วนใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล 2.2 เพือ่ ใหผ้ ูป้ ระสบภยั ได้รบั ความช่วยเหลือบรรเทาทุกข์อยา่ งรวดเรว็ ท่วั ถึง และทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ 2.3 เพอ่ื ลดความสญู เสียชีวิตและทรพั ยส์ นิ ของประชาชนทีไ่ ด้รับผลกระทบจากสาธารณภยั ให้น้อยที่สุด แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 101

3. กลยทุ ธ์การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ แบบบรู ณาการ กลยทุ ธท์ ่ี 1 พฒั นามาตรฐานการจัดการในภาวะฉกุ เฉินอยา่ งมเี อกภาพ การวางแผนการเผชิญเหตุสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ โดยก�ำหนดโครงสร้างองค์กร การจดั การ ในภาวะฉกุ เฉนิ ระบบขอ้ มลู การสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ การควบคมุ การสง่ั การ และการใชแ้ นวทางปฏบิ ตั ทิ เ่ี หมาะสม เป็นมาตรฐานเพ่อื ให้การจัดการในภาวะฉุกเฉนิ เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (1) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการแจง้ ระดบั สถานการณส์ าธารณภยั ใหห้ นว่ ยงานภาครฐั ในการจดั การสาธารณภยั ระดับสถานการณส์ าธารณภัย สำ� หรับใช้เป็นกรอบแนวคดิ ในการแจง้ เตอื นภัย และเพอื่ เปน็ แนวทาง ใหห้ น่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งนำ� ไปปรับใช้ตามภารกจิ /หน้าท่ีของหนว่ ยงานในการจัดการสาธารณภัย โดยก�ำหนดความหมายของสตี ามสถานการณ์ของสาธารณภัยไว้ 5 ระดบั ดังน้ี สแี ดง หมายถงึ สถานการณ์อยู่ในภาวะอันตรายสูงสุด ให้อาศัยอยู่แต่ในสถานท่ีปลอดภัย หรอื ตอ้ งอพยพไปยงั สถานทปี่ ลอดภัย และปฏิบัติตามข้อสั่งการ สีส้ม หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะเส่ียงอันตรายสูง เจ้าหน้าท่ีก�ำลังควบคุมสถานการณ์ ให้อพยพไปยังสถานท่ีปลอดภยั และปฏบิ ัติตามแนวทางท่ีกำ� หนด สีเหลือง หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะเส่ียงอันตราย มีแนวโน้มท่ีสถานการณ์จะรุนแรง มากขน้ึ ใหจ้ ดั เตรียมความพรอ้ มรับสถานการณ์ และปฏบิ ตั ิตามคำ� แนะน�ำ สีนำ�้ เงิน หมายถงึ สถานการณ์อยู่ในภาวะเฝ้าระวงั ให้ตดิ ตามข้อมูลขา่ วสารอยา่ งใกลช้ ดิ สีเขยี ว หมายถึง สถานการณอ์ ยู่ในภาวะปกติ ใหต้ ิดตามข้อมูลข่าวสารเป็นประจำ� ให้กองบัญชาการ/กองอ�ำนวยการแจ้งระดับสถานการณ์สาธารณภัย เพ่ือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ไปดำ� เนนิ การตามมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (2) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการจดั การเมอื่ เกดิ สาธารณภยั ตามพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 (2.1) ในเขตจังหวัด อำ� เภอ และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ให้ดำ� เนนิ การดังน้ี (2.1.1) เมอ่ื เกดิ หรอื คาดวา่ จะเกดิ สาธารณภยั ขน้ึ ในเขตองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ แหง่ พน้ื ทใี่ ด ใหเ้ ปน็ หนา้ ทข่ี องผอู้ ำ� นวยการทอ้ งถนิ่ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ แหง่ พนื้ ทน่ี นั้ เขา้ ดำ� เนนิ การปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัยโดยเร็ว และให้แจ้งผู้อ�ำนวยการอ�ำเภอที่รับผิดชอบในเขตพ้ืนท่ี และผู้อ�ำนวยการจังหวัดทราบทันที (มาตรา 21) (2.1.2) กรณที พี่ น้ื ทท่ี เี่ กดิ หรอื คาดวา่ จะเกดิ สาธารณภยั อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของผอู้ ำ� นวยการ ท้องถ่ินหลายคน ผู้อ�ำนวยการท้องถิ่นคนหนึ่งคนใดจะใช้อ�ำนาจหรือปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนก็ได้ แล้วให้แจ้ง ผู้อำ� นวยการทอ้ งถน่ิ อ่นื ทราบโดยเรว็ (มาตรา 22) 102 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(2.1.3) กรณผี อู้ ำ� นวยการทอ้ งถนิ่ มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จากเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั หรือหน่วยงานของรัฐท่ีอยู่นอกเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นท่ีของตนให้แจ้ง ให้ผู้อ�ำนวยการอ�ำเภอ หรอื ผู้อ�ำนวยการจังหวัดแลว้ แต่กรณี เพอื่ สัง่ การโดยเรว็ ตอ่ ไป (มาตรา 22) (2.1.4) ผอู้ ำ� นวยการในเขตพน้ื ทท่ี ตี่ ดิ ตอ่ หรอื ใกลเ้ คยี งมหี นา้ ทส่ี นบั สนนุ การปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั แกผ่ อู้ ำ� นวยการซงึ่ รบั ผดิ ชอบในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทเี่ กดิ ขนึ้ ในพนื้ ทต่ี ดิ ตอ่ หรอื ใกลเ้ คยี งนนั้ (มาตรา 23) (2.1.5) เมอื่ เกดิ สาธารณภยั ขน้ึ เจา้ พนกั งานทป่ี ระสบเหตมุ หี นา้ ทต่ี อ้ งเขา้ ดำ� เนนิ การเบอ้ื งตน้ เพื่อระงับภัยน้ัน แล้วรีบรายงานให้ผู้อ�ำนวยการท้องถิ่นเพ่ือส่ังการต่อไป และในกรณีจ�ำเป็นอันไม่อาจหลีกเล่ียงได้ ให้เจ้าพนักงานมีอ�ำนาจด�ำเนินการใดเพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองชีวิต หรือป้องกันอันตรายท่ีจะเกิดแก่บุคคลได้ (มาตรา 24) (2.1.6) กรณีเจ้าพนักงานจ�ำเป็นต้องเข้าไปในอาคาร หรือสถานท่ีที่อยู่ใกล้เคียงกับบริเวณ ทเ่ี กดิ สาธารณภยั เพอื่ ทำ� การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ใหก้ ระทำ� ไดต้ อ่ เมอื่ ไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ ของหรอื ผคู้ รอบครอง อาคารหรือสถานทีแ่ ลว้ เว้นแตไ่ ม่มีเจ้าของหรอื ผู้ครอบครองอยใู่ นเวลานนั้ หรอื เม่อื มีผอู้ �ำนวยการอย่ดู ว้ ย และหาก ทรัพย์สินน้ันเป็นสิ่งท่ีท�ำให้เกิดสาธารณภัยได้ง่าย ให้เจ้าพนักงาน มีอ�ำนาจส่ังให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองขนย้าย ทรพั ย์สินออกจากอาคารหรอื สถานทด่ี ังกล่าวได้ หากเจา้ ของหรือผู้ครอบครองไมป่ ฏบิ ัติตามคำ� ส่ัง ให้เจา้ พนกั งานมี อำ� นาจขนยา้ ยทรพั ยส์ นิ นนั้ ไดต้ ามความจำ� เปน็ แกก่ ารปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั โดยเจา้ พนกั งานไมต่ อ้ งรบั ผดิ ชอบ บรรดาความเสียหายอนั เกดิ จากการกระท�ำดังกลา่ ว (มาตรา 26) (2.1.7) ใหผ้ อู้ ำ� นวยการในเขตพน้ื ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบสำ� รวจความเสยี หายทเ่ี กดิ ขนึ้ และทำ� บญั ชรี ายชอ่ื ผปู้ ระสบภยั และทรพั ยส์ นิ ทเี่ สยี หายไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน พรอ้ มทงั้ ออกหนงั สอื รบั รองใหผ้ ปู้ ระสบภยั ไวเ้ ปน็ หลกั ฐานในการ รบั การสงเคราะหแ์ ละฟืน้ ฟู (มาตรา 30) (2.1.8) ในกรณที เี่ กดิ สาธารณภยั รา้ ยแรงอยา่ งยง่ิ (ระดบั 4) นายกรฐั มนตรหี รอื รองนายกรฐั มนตรี ซึ่งนายกรัฐมนตรมี อบหมายมีอำ� นาจสั่งการผู้บญั ชาการ ผู้อำ� นวยการ หน่วยงานของรฐั และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ให้ด�ำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดเพ่ือการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมท้ังให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชน โดยมอี ำ� นาจเชน่ เดยี วกบั ผบู้ ญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตแิ ละผอู้ ำ� นวยการแตล่ ะระดบั (มาตรา 31) (2.2) ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ด�ำเนินการดงั นี้ (2.2.1) เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้นในกรุงเทพมหานคร ให้ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ กรงุ เทพมหานครมหี นา้ ทเี่ ขา้ ดำ� เนนิ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั โดยเรว็ และแจง้ ใหผ้ อู้ ำ� นวยการกรงุ เทพมหานคร และรองผู้อ�ำนวยการกรุงเทพมหานครทราบทนั ที (2.2.2) ในกรณีท่ีมีความจ�ำเป็นท่ีจะต้องได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดหรือ หนว่ ยงานของรฐั ใดในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในเขตกรงุ เทพมหานคร ใหผ้ อู้ ำ� นวยการกรงุ เทพมหานคร แจง้ ใหเ้ จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ผนู้ นั้ หรอื หนว่ ยงานของรฐั นนั้ ทราบ และเมอ่ื เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ผนู้ น้ั หรือหน่วยงานของรัฐนั้น แลว้ แตก่ รณี ไดร้ บั แจง้ แลว้ ใหเ้ ปน็ หนา้ ทท่ี จี่ ะตอ้ งดำ� เนนิ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ที่เกดิ ขึน้ ในกรงุ เทพมหานครตามทไี่ ด้รับแจ้งโดยเรว็ แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 103

(3) แนวทางปฏิบตั ิในการจัดตง้ั องค์กรปฏบิ ัตกิ ารจดั การในภาวะฉุกเฉิน (3.1) องคก์ รปฏิบตั ิการจัดการในภาวะฉุกเฉิน เมอื่ เกดิ หรอื คาดวา่ จะเกดิ สาธารณภยั ขนึ้ ใหม้ กี ารจดั ตงั้ องคก์ รปฏบิ ตั กิ ารจดั การ ในภาวะฉกุ เฉนิ ขนึ้ โดยเรียกชอ่ื ว่า “กองบญั ชาการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ/ศนู ย์บญั ชาการเหตุการณ”์ (Emergency Operation Center: EOC) เพื่อท�ำหน้าท่ีเป็นศูนย์กลางในการอ�ำนวยการ ควบคุม ก�ำกับ วิเคราะห์ ประเมิน และประสานการปฏบิ ตั ทิ เี่ กยี่ วขอ้ งในการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ อยา่ งบรู ณาการและใหม้ เี อกภาพ โดยมอี งคป์ ระกอบ และโครงสร้างทเ่ี ปน็ มาตรฐานและสามารถหยดื หยุ่นไดต้ ามเหตุการณท์ ีเ่ กิดขึน้ ดังน้ี (3.1.1) กองบญั ชาการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ (บกปภ.ช.) ใหร้ ับผดิ ชอบบงั คับบัญชา อ�ำนวยการ วนิ จิ ฉยั สงั่ การ ควบคุม และประสานความรว่ มมือ จากทุกภาคส่วนในการจัดการสาธารณภัยในกรณีการจัดการสาธารณภัยขนาดใหญ่ (ระดับ 3) หรือการจัดการ สาธารณภยั รา้ ยแรงอย่างย่ิง (ระดบั 4) (3.1.2) กองอำ� นวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั กลาง (กอปภ.ก.) ในกรณกี ารจดั การสาธารณภยั ขนาดเลก็ (ระดบั 1) และการจดั การสาธารณภยั ขนาดกลาง (ระดบั 2) ใหก้ องอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กลางรบั ผดิ ชอบอำ� นวยการ ประสาน การปฏบิ ตั ิ ประเมนิ สถานการณ์ และสนับสนุนการสั่งการจากกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ รวมทั้งติดตาม เฝ้าระวังสถานการณ์ วิเคราะห์สถานการณ์ รายงาน และเสนอความคิดเห็นต่อผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ หรือนายกรัฐมนตรี เพ่ือตัดสินใจยกระดับเป็นการจัดการสาธารณภัยขนาดใหญ่ (ระดับ 3) หรอื การจัดการสาธารณภัยรา้ ยแรงอย่างยง่ิ (ระดับ 4) (3.1.3) กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (ส่วนหน้า) (บกปภ.ช. (สว่ นหน้า)) ในกรณีเมอ่ื มกี ารยกระดบั เปน็ การจดั การสาธารณภัยขนาดใหญ่ (ระดับ 3) หรือการ จดั การสาธารณภัยร้ายแรงอยา่ งย่งิ (ระดับ 4) ซึง่ สถานการณ์มคี วามรุนแรงมากครอบคลุมในพน้ื ทีก่ ว้างขวางหลาย อ�ำเภอหรือหลายจังหวัด และอาจใช้เวลาในการเผชิญเหตุท่ียาวนานกว่าปกติให้กองบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั แห่งชาติ พจิ ารณาจดั ตงั้ และแตง่ ตงั้ ผูค้ วบคุมพ้ืนท่ี (Area Commander) เพ่อื ชว่ ยเหลอื ผู้บญั ชาการ ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาตใิ นการบังคบั บัญชาและสงั่ การ ในพ้ืนท่ีท่ไี ดร้ บั มอบหมาย พร้อมทัง้ ควบคุม และก�ำกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้เป็นไปตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ โดยความรบั ผดิ ชอบของผู้ควบคมุ พน้ื ทที่ ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ดังน้ี v ประเมนิ สถานการณ์ เพอ่ื จดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของการปฏบิ ตั งิ านใหม้ คี วามสอดคลอ้ ง กับเหตุการณท์ ่เี กิดขน้ึ และภารกจิ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย v กำ� หนดวตั ถปุ ระสงค์ กลยทุ ธ์ ยทุ ธศาสตร์ และแนวทางการเผชญิ เหตุ ของแตล่ ะจงั หวดั ที่ประสบภัยให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีความเป็นเอกภาพ เพื่อให้การปฏิบัติงาน มีความชัดเจน ไม่ขัดแย้ง หรอื เกดิ ความซำ�้ ซ้อนในการเผชิญเหตุร่วมกนั v ก�ำหนดล�ำดับความส�ำคัญของเหตุการณ์ การปฏิบัติงาน หน่วยงานปฏิบัติการ ใช้ทรัพยากร และการก�ำหนดเขตพื้นท่ี หากมีเหตุการณ์สองเหตุการณ์หรือมากกว่าท่ีจ�ำเป็นจะต้องใช้ทรัพยากรที่ สำ� คญั ในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตอ้ งตดั สนิ ใจอยา่ งรวดเรว็ บนพนื้ ฐานของการวเิ คราะหว์ ตั ถปุ ระสงคจ์ ากภาพรวมตาม สถานการณ์ เพื่อใหป้ ัญหาทีเ่ กดิ ขึ้นได้รบั การแกไ้ ขอยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม 104 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

v พิจารณาการรอ้ งขอการจดั สรร การปรบั เปลยี่ น และการเคล่ือนยา้ ยทรพั ยากรท่ไี ด้ รบั การสนบั สนุนจากสว่ นกลางไปยังพน้ื ทปี่ ระสบสาธารณภัยทม่ี คี วามจำ� เป็น v รายงานสถานการณ์ สภาวะแนวโนม้ และการวเิ คราะหส์ ถานการณใ์ นพนื้ ทปี่ ระสบ สาธารณภยั ให้กองบญั ชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาตทิ ราบ v ประสานการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในระยะเร่งด่วนของแต่ละจังหวัดให้มี มาตรฐานเดียวกันเพ่อื ให้หน่วยงานตา่ ง ๆ สามารถเขา้ ปฏิบัตงิ านดา้ นการฟื้นฟูระยะกลาง และระยะยาวใหเ้ ปน็ ไป อย่างคลอ่ งตัวและต่อเนอ่ื ง v เสนอการถอนก�ำลัง และการปิดกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ (สว่ นหน้า) ให้กองบัญชาการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติพิจารณา ทง้ั นี้ การจดั ตง้ั กองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ (สว่ นหนา้ ) ให้กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง ก�ำหนดโครงสร้าง จ�ำนวนบุคลากร แนวทางและระเบียบ ปฏิบัติประจ�ำ เพ่ือให้ผู้ก�ำกับ ควบคุมพ้ืนที่ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมท้ังให้พิจารณาใช้ประโยชน์ จากทรพั ยากรของศนู ยป์ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขตเปน็ สถานทปี่ ฏบิ ตั งิ านของผกู้ ำ� กบั ควบคมุ พน้ื ท่ี เปน็ ลำ� ดบั แรก (3.1.4) ศูนยบ์ ัญชาการเหตุการณ์จงั หวดั (ศบก.จ.) ใหก้ องอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั จดั ตงั้ ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ จังหวัดเม่ือเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยข้ึน โดยมีผู้อ�ำนวยการจังหวัด เป็นผู้ควบคุม สั่งการ และบัญชาการ เพื่อท�ำหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการสาธารณภัยในพื้นท่ีจังหวัดจนกว่าสถานการณ์จะเข้าสู่ภาวะปกติ พร้อมท้ัง เปน็ ศนู ยก์ ลางในการระดมสรรพกำ� ลงั และทรพั ยากรในการจดั การสาธารณภยั จากสว่ นราชการและหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง เพื่อสนับสนุนให้แก่กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในระดับพื้นท่ี รวมท้ังอ�ำนวยการและประสาน การเผชญิ เหตรุ ะหวา่ งหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทงั้ ฝา่ ยพลเรอื นและฝา่ ยทหาร ตลอดจนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และองคก์ าร สาธารณกุศลในพ้นื ที่ท่ีรับผดิ ชอบไดอ้ ย่างมีเอกภาพและประสทิ ธิภาพ ในกรณีเมื่อมีการยกระดับเป็นการจดั การสาธารณภยั ขนาดใหญ่ (ระดบั 3) หรือการ จัดการสาธารณภัยร้ายแรงอย่างย่ิง (ระดับ 4) ให้ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดแปรสภาพเป็นศูนย์บัญชาการ เหตกุ ารณ์สว่ นหนา้ จงั หวดั (ศบก.(ส่วนหนา้ ) จ.) ของกองบัญชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ใหม้ ีหน้าที่ ปฏบิ ตั งิ านตามการบญั ชาการจากกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ หรอื กองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ (สว่ นหนา้ ) โดยรับผดิ ชอบอำ� นวยการ ควบคุม ปฏบิ ัตงิ าน และประสานการปฏิบัติ เกย่ี วกบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตพนื้ ทจี่ งั หวดั พรอ้ มทง้ั เปน็ ศนู ยก์ ลางในการระดมสรรพกำ� ลงั และ ทรพั ยากรเพอื่ การจดั การสาธารณภยั และประสานการปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ภายในจงั หวดั ทง้ั ฝา่ ยพลเรอื น และฝ่ายทหาร ตลอดจนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินและองค์การสาธารณกุศลในพน้ื ทีท่ ร่ี บั ผิดชอบ (3.1.5) ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตุการณ์อำ� เภอ (ศบก.อ.) ใหก้ องอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั อำ� เภอจดั ตง้ั ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ อ�ำเภอเมื่อเกดิ หรอื คาดวา่ จะเกิดสาธารณภยั ขน้ึ โดยมีผู้อำ� นวยการอ�ำเภอเปน็ ผู้ควบคุมและสง่ั การ เพอื่ ทำ� หนา้ ที่ใน การจดั การสาธารณภยั ทเี่ กดิ ขน้ึ จนกวา่ สถานการณจ์ ะกลบั เขา้ สสู่ ถานการณป์ กติ พรอ้ มทงั้ เปน็ ศนู ยก์ ลางในการระดม แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 105

สรรพก�ำลังและทรัพยากรในการจัดการสาธารณภัยที่เกิดข้ึน รวมท้ังอ�ำนวยการและประสานการปฏิบัติ ระหว่าง หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทง้ั ฝา่ ยพลเรอื นและฝา่ ยทหาร ตลอดจนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และองคก์ ารสาธารณกศุ ลในพน้ื ท่ี ท่ีรบั ผดิ ชอบไดอ้ ย่างมีเอกภาพ รวดเรว็ และทวั่ ถึง (3.1.6) ศูนยป์ ฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินทอ้ งถน่ิ (ศปก.อปท.) ให้กองอ�ำนวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ พน้ื ท่ี (องค์การบริหารสว่ นตำ� บล / เทศบาล / เมืองพัทยา) จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถ่ินเม่ือเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยในพ้ืนท่ี โดยมี ผู้อ�ำนวยการท้องถ่ินเป็นผู้ควบคุมและสั่งการ เพื่อท�ำหน้าท่ีจัดการสาธารณภัยที่เกิดข้ึนจนกว่าสถานการณ์จะกลับ เข้าสู่ภาวะปกติ พร้อมท้ังประสานกับส่วนราชการและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในพื้นที่ ที่รับผิดชอบและประสาน ความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในการจัดการสาธารณภัย ทุกขั้นตอน หากในกรณี ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ สาธารณภยั ตามขดี ความสามารถโดยลำ� พงั ใหข้ อรบั การสนบั สนนุ จากกองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตพื้นทต่ี ดิ ตอ่ หรอื ใกล้เคียง และหรอื กองอำ� นวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั อ�ำเภอ (3.1.7) ศูนยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์กรงุ เทพมหานคร (ศบก.กทม.) ใหก้ องอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กรงุ เทพมหานครจดั ตง้ั ศนู ยบ์ ญั ชาการ เหตกุ ารณก์ รงุ เทพมหานครเมอื่ เกดิ หรอื คาดวา่ จะเกดิ สาธารณภยั ขนึ้ โดยมผี อู้ ำ� นวยการกรงุ เทพมหานคร เปน็ ผคู้ วบคมุ สง่ั การ และบญั ชาการ เพอ่ื ทำ� หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบในการจดั การสาธารณภยั ในพน้ื ทกี่ รงุ เทพมหานครจนกวา่ สถานการณ์ จะเขา้ สภู่ าวะปกติ พรอ้ มทงั้ เปน็ ศนู ยก์ ลางในการระดมสรรพกำ� ลงั และทรพั ยากรในการจดั การสาธารณภยั จากสว่ นราชการ และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื สนบั สนนุ กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั สำ� นกั งานเขต รวมทงั้ อำ� นวยการ และประสานการเผชญิ เหตุระหวา่ งหน่วยงานต่าง ๆ ภายในกรุงเทพมหานคร ทัง้ ฝ่ายพลเรอื นและฝา่ ยทหาร ตลอดจน องคก์ ารสาธารณกศุ ลในพ้นื ทีท่ ร่ี บั ผดิ ชอบได้อยา่ งมเี อกภาพและประสทิ ธภิ าพ ในกรณเี มือ่ มีการยกระดับเปน็ การจัดการสาธารณภัยขนาดใหญ่ (ระดับ 3) หรอื การ จดั การสาธารณภยั รา้ ยแรงอยา่ งยง่ิ (ระดบั 4) ใหศ้ นู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณก์ รงุ เทพมหานคร แปรสภาพเปน็ ศนู ยบ์ ญั ชาการ เหตกุ ารณส์ ว่ นหนา้ กรงุ เทพมหานคร (ศบก.(สว่ นหนา้ ) กทม.) ของกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ใหม้ หี นา้ ทปี่ ฏบิ ตั งิ านตามการบญั ชาการจากกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ หรอื กองบญั ชาการ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ (สว่ นหนา้ ) โดยรบั ผดิ ชอบควบคมุ สงั่ การ และบญั ชาการการปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร พร้อมทั้งเป็นศูนย์กลางในการระดมสรรพก�ำลัง และทรพั ยากรเพอื่ การจดั การสาธารณภยั และประสานการปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทง้ั ฝา่ ยพลเรอื นและฝา่ ยทหาร ตลอดจนสำ� นกั งานเขต และองคก์ ารสาธารณกศุ ลในพื้นที่ทรี่ บั ผิดชอบ (3.1.8) ศนู ย์บัญชาการเหตกุ ารณ์ส�ำนกั งานเขต (ศบก.สนข.) ใหก้ องอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั สำ� นกั งานเขต จดั ตงั้ ศนู ยบ์ ญั ชาการ เหตุการณ์ส�ำนักงานเขต เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้น โดยมีผู้อ�ำนวยการเขตเป็นผู้ควบคุมส่ังการ และบัญชาการ เพื่อท�ำหน้าท่ีในการจัดการสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้นจนกว่าสถานการณ์ จะกลับเข้าสู่สภาวะปกติ พรอ้ มทง้ั เปน็ ศนู ยก์ ลางในการระดมสรรพกำ� ลงั และทรพั ยากรในการจดั การสาธารณภยั ทเ่ี กดิ ขน้ึ รวมทง้ั อำ� นวยการ และประสานการปฏิบตั ิระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ในพื้นทไี่ ดอ้ ยา่ งมเี อกภาพ รวดเร็ว และทั่วถึง 106 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

แผนภาพท่ี 4-2 การจัดตัง้ องคก์ รปฏบิ ตั ิการจัดการในภาวะฉกุ เฉนิ (EOC) (3.2) โครงสร้างองคก์ รปฏิบัติการจดั การในภาวะฉุกเฉิน กองบัญชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาต/ิ ศูนยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ ผ้บู ัญชาการ/ผ้อู �ำนวยการ ศูนย์ข้อมูลประชาสัมพนั ธ์รว่ ม ที่ปรึกษา/ผู้เช่ยี วชาญ ศูนยป์ ระสานการปฏิบัติ ส่วนปฏิบัติการ ส่วนอำ� นวยการ ส่วนสนบั สนนุ แผนภาพท่ี 4-3 โครงสร้างกองบญั ชาการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ / ศูนยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 107

โครงสรา้ งองค์กรปฏบิ ตั กิ ารจัดการในภาวะฉกุ เฉิน ประกอบด้วย (3.2.1) ผบู้ ัญชาการเหตุการณ์ (Incident Commander) มีหน้าที่ อ�ำนวยการ ส่งั การ กำ� กับ ควบคุม เหตุการณ์ตามระเบียบกฎหมาย โดยก�ำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการบัญชาการเหตุการณ์ การติดตามสถานการณ์ของเหตุการณ์ เพื่อจัดล�ำดับความส�ำคัญของกิจกรรมหรือมาตรการตามแผนเผชิญเหตุ (Incident Action Plan: IAP) โดยคำ� นงึ ถงึ ความปลอดภยั ของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน รวมถงึ การตดิ ตาม ประเมนิ สถานการณ์ แก้ไขปญั หาการดำ� เนินงานในส่วนต่าง ๆ เช่น บริหารจดั การทรัพยากร ประสานงานระดบั นโยบายกบั หนว่ ยงานท่ี เกย่ี วขอ้ ง ตดั สนิ ใจยกหรอื ลดระดบั ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ รวมทงั้ เสรมิ สรา้ งขวญั และกำ� ลงั ใจในการปฏบิ ตั งิ านให้ แกผ่ ปู้ ฏิบตั งิ าน เปน็ ต้น (3.2.2) ทป่ี รกึ ษาหรอื ผเู้ ชย่ี วชาญ (Technical Specialist) มหี นา้ ทใี่ หข้ อ้ เสนอแนะ คำ� แนะนำ� ขอ้ มลู ทางวชิ าการ การสงั เคราะห์แนวโนม้ สถานการณ์ และเทคนิคการปฏบิ ัติทเี่ ก่ยี วข้องกบั เหตกุ ารณส์ าธารณภัย ทเี่ กดิ ขนึ้ โดยใหค้ ำ� นงึ ถงึ ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ านเปน็ สำ� คญั พรอ้ มทงั้ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทอี่ น่ื ใดตามทผี่ บู้ ญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาต/ิ ผอู้ ำ� นวยการ เหน็ สมควร ทงั้ นี้ จำ� นวนและคณุ ลกั ษณะของคณะทปี่ รกึ ษาหรอื ผเู้ ชย่ี วชาญ ใหเ้ ป็นไปตามที่เหน็ สมควรและสอดคลอ้ งกบั เหตุการณ์ (3.2.3) ศนู ยข์ อ้ มลู ประชาสมั พนั ธร์ ว่ ม (Joint Information Center: JIC) มหี นา้ ทป่ี ระสานขอ้ มลู เหตุการณ์กับส่วนต่าง ๆ ภายใต้โครงสร้างองค์กรปฏิบัติ เพ่ือเป็นศูนย์กลางรวบรวมข้อมูลและสื่อสาร ตลอดจน ประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ขา่ วสารเกยี่ วกบั เหตกุ ารณส์ ปู่ ระชาชนและสอ่ื มวลชน รวมทง้ั ปฏบิ ตั กิ ารดา้ นขา่ วสาร (Information Operation) ที่ครอบคลุมการจดั การขา่ วปลอม ขา่ วลือ และการปฏบิ ัตกิ ารจิตวิทยามวลชน เพ่อื สรา้ งความเขา้ ใจ และการรบั รูข้ ้อมูลข่าวสารท่ีถกู ต้อง รวดเร็ว ทนั เหตกุ ารณ์ (3.2.4) เจา้ หนา้ ทปี่ ระสานการปฏิบตั ิ (Liaison Officer) มีหน้าท่ปี ระสานงาน และประสาน การปฏิบัติกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม โดยให้จัดท�ำแนวทางการประสานงาน และการปฏบิ ตั งิ านสนบั สนนุ ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ ทง้ั น้ี กรณกี ารจดั การสาธารณภยั ทจี่ ำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารประสานงาน ดา้ นกจิ การตา่ งประเทศ ใหก้ ระทรวงการตา่ งประเทศ และกระทรวงมหาดไทยเปน็ หนว่ ยงานหลกั รว่ มกนั จดั ทำ� ขอบเขต แผนงาน ภารกิจ และโครงสรา้ งภายในศูนย์ประสานการปฏบิ ตั ิ สำ� หรับกรณกี ารจัดการสาธารณภัยรา้ ยแรงอยา่ งยงิ่ (ระดับ 4) ใหส้ ำ� นักเลขาธิการนายก รฐั มนตรี และหน่วยงานที่มภี ารกิจทีเ่ ก่ียวข้องในส�ำนกั นายกรฐั มนตรีเขา้ รว่ มปฏิบัติงานในฐานะหน่วยงานหลักด้วย (3.2.5) สว่ นปฏบิ ตั กิ าร (Operation Section) มหี นา้ ทปี่ ฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ลดและบรรเทาภยนั ตราย ที่เกิดข้ึน ด้วยการเข้าควบคุมสถานการณ์เพ่ือรักษาชีวิตและปกป้องทรัพย์สิน ให้กลับสู่สภาวะปกติโดยเร็ว เช่น การปฏบิ ตั ิการดบั เพลงิ คน้ หาและกู้ภยั ตอบโต้สารเคมีและวตั ถุอนั ตราย ใหบ้ ริการการแพทย์และการสาธารณสขุ อ�ำนวยความสะดวกด้านคมนาคม รักษาความสงบเรียบร้อย รวมถึงประสานการปฏิบัติร่วมกับฝ่ายทหาร โดยให้ หน่วยงานทม่ี ีหนา้ ทดี่ งั กลา่ วรว่ มกนั จดั ท�ำขอบเขต แผนงาน ภารกจิ และโครงสร้างภายในส่วนปฏบิ ัติการ 108 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(3.2.6) สว่ นอำ� นวยการ (Planning Section) มีหน้าทต่ี ดิ ตาม วเิ คราะหแ์ นวโน้ม สถานการณ์ แจง้ เตอื นภยั ประสาน รวบรวมขอ้ มลู สถานะทรพั ยากร เพอ่ื ใชใ้ นการประเมนิ ความตอ้ งการ และความจำ� เปน็ ในการ สนับสนุนทรัพยากรในภาวะฉุกเฉิน พร้อมท้ังจัดให้มีการประชุมเพื่อร่วมจัดท�ำ แผนเผชิญเหตุโดยใช้ข้อมูลที่ได้รับ จากสว่ นปฏบิ ตั กิ ารและสว่ นสนบั สนนุ เป็นฐานด�ำเนนิ การ ให้กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหรือหน่วยงานตามที่ผู้บัญชาการ/ผู้อ�ำนวยการ มอบหมายเป็นหน่วยงานหลักในการจัดท�ำขอบเขต แผนงาน ภารกิจ และโครงสร้างภายใน ของสว่ นอ�ำนวยการ พรอ้ มทงั้ ใหก้ ารสนบั สนนุ สถานทปี่ ฏบิ ตั งิ านแกก่ องบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตหิ รอื ศนู ยบ์ ญั ชาการ เหตกุ ารณ์ (3.2.7) ส่วนสนับสนุน (Logistics and Administration Section) มีหน้าท่ีสนับสนุน การสง่ กำ� ลงั บำ� รงุ ทจ่ี ำ� เปน็ และตอบสนองการรอ้ งขอรบั การสนบั สนนุ ดา้ นงบประมาณ การเงนิ การคลงั และการรบั บรจิ าค เพอื่ ใหก้ ารจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ดำ� เนนิ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล โดยใหห้ นว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบภารกจิ ในแตล่ ะด้านร่วมกันจัดทำ� ขอบเขต แผนงาน ภารกจิ และโครงสร้างภายในส่วนสนบั สนุน (3.3) ผู้มีอ�ำนาจหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และผู้ที่เก่ียวข้องอย่างเป็นเอกภาพ และชัดเจนแต่ละระดับ ต้ังแต่ระดับประเทศ ระดับจังหวัด ระดับอ�ำเภอและระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามแผนภาพท่ี 4-4 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 109

สาธารณภัย นายกรัฐมนตร/ี ส่งั การให้ รองนายกรฐั มนตรที ี่ได้รับมอบหมาย ดำ� เนนิ การ อยา่ งหน่ึง ควบคุมและก�ำกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ผูบ้ ัญชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย อย่างใด ทวั่ ราชอาณาจักร (มาตรา 13) แห่งชาติ (รมว.มท.) เพ่ือปอ้ งกนั และบรรเทา ชว่ ยเหลอื ผบู้ ญั ชาการ มอี �ำนาจบงั คับบญั ชาและสงั่ การ รองผู้บัญชาการ (ปมท.) สาธารณภัย/ ตามท่ผี ู้บญั ชาการมอบหมาย (มาตรา 13) ให้ความ ชว่ ยเหลอื ควบคมุ และก�ำกับการปฏิบตั หิ น้าทขี่ อง ผอ./รอง ผอ./ผช.ผอ. ผอู้ �ำนวยการกลาง (อ.ปภ.) ประชาชนใน เจา้ พนักงาน และอาสาสมัคร ได้ท่วั ราชอาณาจักร (มาตรา 14) พืน้ ที่ท่ีกำ� หนด (มาตรา 31) รบั ผิดชอบในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ในเขต ผอ.จงั หวดั (ผวจ.) จงั หวัด (มาตรา 15) ชว่ ยเหลือ ผอ.จังหวัด และปฏิบัตหิ นา้ ทอ่ี ่นื ตามที่ ผอ.จว. รอง ผอ.จงั หวัด (นายก อบจ.) มอบหมาย (มาตรา 18) สาธารณภยั รบั ผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต กทม. ผอ.กทม. (ผว. กทม.) (มาตรา 32) ชว่ ยเหลอื ผอ.กทม. ในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย รอง ผอ.กทม. (ปลดั กทม.) และปฏบิ ัตหิ นา้ ท่อี น่ื ตามท่ี ผอ.กทม.มอบหมาย (มาตรา 35) รบั ผิดชอบและปฏิบตั หิ นา้ ทใ่ี นการป้องกันและบรรเทา ผูช้ ่วย ผอ.กทม. (ผอ.เขต) สาธารณภัยในเขตของตน และมหี นา้ ทีช่ ่วยเหลือ ผอ.กทม. ผอ.อำ� เภอ. (นายอำ� เภอ) ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย (มาตรา 36) รับผดิ ชอบในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยในเขต ผอ.ทอ้ งถ่ิน อำ� เภอของตน และชว่ ยเหลือ ผอ.จว. ตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย (นายก อบต./นายกเทศมนตร/ี นายกเมอื งพัทยา) (มาตรา 19) รับผดิ ชอบในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยในเขตของตน และมีหน้าทีช่ ว่ ยเหลือ ผอ.จว./ผอ.อ. ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย รับผดิ ชอบและปฏบิ ตั หิ น้าท่ใี นการปอ้ งกันและบรรเทา ผช.ผอ.ท้องถิน่ สาธารณภัยในเขตท้องถน่ิ ของตนและมีหน้าท่ีชว่ ยเหลอื (ปลัด อบต./ปลัดเทศบาล/ปลัดเมืองพทั ยา) ผอ.ท้องถน่ิ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย (มาตรา 20) แผนภาพที่ 4-4 การกำ� หนดบุคคลผมู้ อี ำ� นาจในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตามพระราชบัญญตั ปิ อ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 (4) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการประกาศเขตพนื้ ทป่ี ระสบสาธารณภยั /ประกาศเขตการให้ ความชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบ ภัยพิบัติกรณีฉกุ เฉิน (4.1) การประกาศเขตพ้นื ทป่ี ระสบสาธารณภยั กรณเี กดิ สาธารณภยั ตามนยิ ามของมาตรา 4 แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 ซงึ่ ปรากฏชดั เปน็ ทที่ ราบโดยทวั่ ไปในเขตพนื้ ทน่ี นั้ ใหม้ กี ารประกาศเขตพนื้ ทป่ี ระสบสาธารณภยั หรอื ในกรณี เพ่ือประโยชน์ต่อการจัดการสาธารณภัยในเขตพ้ืนที่ดังกล่าว ตามข้อเท็จจริงท่ีปรากฏและใช้เป็นหลักฐานยืนยันถึง ขอ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั สาธารณภยั ทเี่ กดิ ขน้ึ เพอ่ื ใหส้ ว่ นราชการ หนว่ ยงาน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และภาคเอกชน สามารถดำ� เนนิ การใหค้ วามชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั ได้ตามระเบยี บกฎหมายทีเ่ กย่ี วข้อง 110 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

ระดับ การจดั การ ผู้มีอ�ำนาจออกประกาศเขตพื้นท่ีประสบสาธารณภัย 1 สาธารณภยั ขนาดเล็ก ผ้อู ำ� นวยการจงั หวดั / ผ้อู ำ� นวยการกรุงเทพมหานคร 2 สาธารณภยั ขนาดกลาง ผอู้ �ำนวยการจงั หวัด / ผูอ้ �ำนวยการกรงุ เทพมหานคร 3 สาธารณภัยขนาดใหญ่ ผูบ้ ัญชาการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ 4 สาธารณภยั รา้ ยแรงอย่างย่ิง นายกรฐั มนตรี หรอื รองนายกรฐั มนตรซี งึ่ นายกรฐั มนตรมี อบหมาย ทั้งนี้ ผู้ประสบภัยอาจขอให้มีหนังสือรับรองพื้นที่ประสบภัย ทั้งที่เป็นบุคคลและนิติบุคคลได้ โดยใหก้ รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กำ� หนดรปู แบบ แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการประกาศเขตพนื้ ทป่ี ระสบสาธารณภยั และหนงั สอื รบั รองผปู้ ระสบภยั ประเภทบคุ คลธรรมดาและนติ บิ คุ คลตามมาตรา 30 แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และ บรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 (4.2) การประกาศเขตการใหค้ วามช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพบิ ัตกิ รณฉี กุ เฉนิ ตามระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยเงนิ ทดรองราชการเพอ่ื ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ส่วนราชการน�ำเงินทดรองราชการมาใช้จ่ายในการให้ความช่วยเหลือหรือสนับสนุนการให้ ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติเป็นกรณีเร่งด่วนตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม เม่อื เกิดภยั พิบตั ิกรณฉี ุกเฉินข้นึ ในท้องท่หี นง่ึ ท้องทีใ่ ด โดยมุง่ หมายท่ีจะบรรเทาความเดือดรอ้ นเฉพาะหน้าของผปู้ ระสบภยั พบิ ัติ แตม่ ิได้มุ่งหมายท่ี จะชดใชค้ วามเสยี หายใหแ้ กผ่ ใู้ ด ซง่ึ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ใิ หถ้ อื ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บและหลกั เกณฑ์ ท่กี ระทรวงการคลงั ก�ำหนด เมอื่ ภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ เกดิ ขนึ้ ในทอ้ งทใี่ ด ใหผ้ มู้ อี ำ� นาจดำ� เนนิ การประกาศใหท้ อ้ งทนี่ นั้ เปน็ เขต การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภยั พบิ ตั กิ รณีฉุกเฉนิ ดงั น้ี พนื้ ท่ี ผมู้ ีอ�ำนาจออกประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผูป้ ระสบภยั พิบตั ิกรณีฉุกเฉิน กรงุ เทพมหานคร อธบิ ดีกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย จงั หวดั ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั รว่ มกบั คณะกรรมการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบ ภยั พบิ ตั จิ งั หวดั (ก.ช.ภ.จ.) หากไมส่ ามารถประชุม ก.ช.ภ.จ. ได้ทนั ทว่ งที และผู้ว่าราชการจังหวดั เห็นวา่ ความเสยี หาย ดังกล่าวเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังก�ำหนด ก็ให้มีอ�ำนาจพิจารณาประกาศ เขตการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ ไปกอ่ นไดโ้ ดยไมต่ อ้ งขอความเหน็ ชอบ จาก ก.ช.ภ.จ. การประกาศเขตการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ ตอ้ งกำ� หนดพนื้ ทแ่ี ละระยะเวลา ของการให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั พบิ ตั นิ นั้ ดว้ ย ท้งั น้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขท่กี รมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยก�ำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลงั (5) แนวทางปฏบิ ตั ิในการตดั สินใจยกระดับการจดั การสาธารณภยั ให้ผู้บัญชาการ/ผู้อ�ำนวยการใช้เกณฑ์หรือเงื่อนไข ประกอบการพิจารณายกระดับการจัดการ สาธารณภัยตามการประเมนิ ความเสยี่ งของแตล่ ะพนื้ ท่ี แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 111

เกณฑ/์ เงื่อนไข ข้อมูลที่ใช้ระบเุ ง่อื นไข (1) พื้นที่ พ้นื ทใ่ี ช้สอยในลักษณะตา่ ง ๆ ที่ไดร้ ับผลกระทบ และความเสยี หาย (1.1) พื้นท่ีทางการเกษตรและปศสุ ัตว์ (1.2) พน้ื ทีธ่ ุรกจิ อตุ สาหกรรม และสถานประกอบการ (1.3) พน้ื ท่ีอยู่อาศัย (จำ� นวนหลังคาเรอื น) (1.4) พืน้ ทท่ี างธรรมชาติ (2) ประชากร จ�ำนวนและลกั ษณะของประชากรในพ้ืนทท่ี ไี่ ดร้ บั ผลกระทบ (2.1) จ�ำนวนผไู้ ด้รบั ผลกระทบ (2.2) จำ� นวนผูอ้ พยพ (2.3) จำ� นวนผูไ้ ดร้ บั บาดเจ็บ (2.4) จำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ (3) ความซับซอ้ น ความยากงา่ ย สถานการณแ์ ทรกซอ้ น และเงอ่ื นไขทางเทคนคิ ของสถานการณ์ (3.1) ความรนุ แรงของภยั ความเฉพาะเจาะจงทางเทคนคิ ของภยั การเกดิ ภยั ต่อเน่ือง (3.2) ความเสียหายท่ีเกิดขึ้นหรือส่งผลกระทบต่อสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน สถานท่สี �ำคัญ และเส้นทางการให้ความช่วยเหลอื (3.3) การคาดการณก์ ารขยายตวั ของภยั พน้ื ทที่ จี่ ะเสยี หายตอ่ ไป ระยะเวลา ที่การด�ำเนินกิจกรรมปกติต้องหยุดชะงัก ระยะเวลาในการตอบสนอง ตอ่ สถานการณ์ และระยะเวลาการฟ้ืนฟเู บ้ืองต้น (4) ศกั ยภาพด้านทรัพยากร ขีดความสามารถในการปฏบิ ตั ิงานจากทรพั ยากรทมี่ ีอยู่ (4.1) ก�ำลังคนของหน่วยงานหลักและหน่วยงานสนับสนุน รวมท้ัง ภาคประชาสังคม (4.2) เครอื่ งมอื อปุ กรณ์ ยานพาหนะ และอปุ กรณพ์ เิ ศษตา่ ง ๆ ตามลกั ษณะ ทางเทคนิคของแตล่ ะประเภทภัย (4.3) ปัจจัยยงั ชีพส�ำหรับแจกจ่ายแก่ผไู้ ด้รับผลกระทบ (4.4) แหลง่ ที่มาและงบประมาณจากหน่วยงานในพ้นื ท่ี (5) การพจิ ารณาตดั สนิ ใจของผู้ ดุลพนิ ิจจากการประเมนิ สถานการณ์ตามเงื่อนไขต่าง ๆ บัญชาการ/ (5.1) ขอบเขตการปกครอง ผอู้ �ำนวยการ (5.2) การประเมนิ ศักยภาพในการจดั การสาธารณภัย ทง้ั น้ี ใหใ้ ชเ้ กณฑ/์ เงอื่ นไขทางดา้ นพนื้ ท่ี ประชากร ความซบั ซอ้ น ศกั ยภาพดา้ นทรพั ยากร และดลุ พนิ จิ ของผู้บัญชาการ/ผู้อ�ำนวยการอย่างใดอย่างหน่ึง หรือหลายอย่างประกอบกันเป็นเกณฑ์ ในการน�ำเสนอ ผบู้ ญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ หรอื นายกรฐั มนตรพี จิ ารณาตดั สนิ ใจในการประกาศยกระดบั เปน็ การจดั การสาธารณภยั ขนาดใหญ่ (ระดบั 3) และการจดั การสาธารณภัยร้ายแรงอยา่ งย่งิ (ระดับ 4) 112 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(6) แนวทางปฏิบตั ิในการอพยพ เมอ่ื เกดิ หรอื ใกลจ้ ะเกดิ สาธารณภยั ขน้ึ ในพนื้ ทใ่ี ด และการทผ่ี ใู้ ดอยอู่ าศยั ในพน้ื ทนี่ น้ั จะกอ่ ใหเ้ กดิ ภยนั ตราย หรือกีดขวางตอ่ การปฏิบัตหิ นา้ ท่ี ให้ผมู้ ีอ�ำนาจตามมาตรา 28 แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มีอำ� นาจส่ังอพยพผ้ซู ึ่งอย่ใู นพ้ืนทีน่ น้ั ออกไปจากพนื้ ทอี่ ย่างเปน็ ระเบยี บ ดงั น้ี (6.1) การอพยพเคลอ่ื นยา้ ย ประกอบด้วย (6.1.1) จัดล�ำดับความส�ำคัญของผู้อพยพ โดยแบ่งกลุ่มผู้อพยพที่เป็นกลุ่มเปราะบาง เชน่ กลมุ่ ผปู้ ว่ ยทพุ พลภาพ คนพกิ าร คนชรา เดก็ สตรี เปน็ ตน้ ใหพ้ จิ ารณาอพยพเปน็ ลำ� ดบั แรก กรณเี ดก็ บดิ าและมารดา ควรอพยพไปด้วยกันท้ังครอบครวั (6.1.2) จดั พน้ื ทร่ี องรบั การอพยพและศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวแกผ่ อู้ พยพและเจา้ หนา้ ที่ ใหเ้ หมาะสม เปน็ สัดสว่ นตามทกี่ ำ� หนดไว้ในแผนระดบั จังหวัด อำ� เภอ และองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น (6.1.3) จัดระเบียบการจราจรช่วั คราวในพ้ืนทีท่ ี่เกิดสาธารณภยั และพืน้ ทใี่ กล้เคยี ง รวมทง้ั พ้นื ทีศ่ นู ย์พกั พงิ ชว่ั คราว (6.1.4) ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผอู้ พยพในการขนยา้ ยทรพั ยส์ นิ ในพนื้ ทที่ เี่ กดิ สาธารณภยั และพนื้ ท่ี ใกลเ้ คียงตามที่ไดร้ ับการร้องขอ (6.1.5) ใหจ้ ดั ท�ำทะเบยี นเพือ่ ตรวจสอบจำ� นวนผู้อพยพและผทู้ ีย่ งั ติดคา้ งในพนื้ ท่ี (6.1.6) จดั ให้มกี ารบริการด้านการแพทย์และการสาธารณสุขในพน้ื ทอ่ี พยพ (6.1.7) จดั ใหม้ รี ะบบการรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยของพน้ื ทรี่ องรบั การอพยพ และศนู ยพ์ กั พงิ ชัว่ คราว เพื่อปอ้ งกนั ทรพั ย์สนิ ของประชาชน โดยจดั ก�ำลังเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจและอาสาสมคั รตามความเหมาะสม (6.1.8) จดั ใหม้ เี จา้ หนา้ ทปี่ ระสานงานกบั เจา้ หนา้ ทต่ี ำ� รวจในพนื้ ทเ่ี พอ่ื จดั กำ� ลงั ดแู ลบา้ นเรอื น และทรพั ยส์ นิ ของผอู้ พยพเปน็ ระยะ ๆ หากกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทตี่ ำ� รวจไมเ่ พยี งพอใหป้ ระสานขอกำ� ลงั สนบั สนนุ จากหนว่ ย อาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น (อปพร.) หรอื จดั หาอาสาสมคั รจากประชาชนจติ อาสา แตห่ ากสถานการณล์ อ่ แหลม เสี่ยงต่อการสูญเสียชีวิตห้ามเจ้าหน้าที่/อาสาสมัคร ออกปฏิบัติหน้าท่ีในพ้ืนที่เสี่ยงโดยเด็ดขาดจนกว่าสถานการณ์ จะบรรเทาความรุนแรงลงและสามารถเข้าไปตรวจในพ้ืนท่ีไดโ้ ดยไมม่ คี วามเสี่ยง (6.1.9) จัดใหม้ ีการประชาสัมพันธ์ใหผ้ อู้ พยพทราบสถานการณ์อย่างตอ่ เนือ่ งและท่วั ถึง (6.2) การยกเลกิ สถานการณ์ ใหม้ กี ารตดิ ตามความเคลอื่ นไหวของสถานการณอ์ ยา่ งใกลช้ ดิ และตอ่ เนอ่ื ง โดยประชาสมั พนั ธ์ ใหป้ ระชาชนทราบถงึ สถานการณเ์ ปน็ ระยะ ๆ เพอื่ ปอ้ งกนั ความสบั สนและตน่ื ตระหนก พรอ้ มทงั้ ใหม้ กี ารยนื ยนั ความชดั เจน ถึงการยกเลกิ สถานการณ์ และแจง้ ใหผ้ ้อู พยพเตรียมพร้อมในการอพยพกลบั สู่พื้นทีอ่ ยอู่ าศยั ตอ่ ไป แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 113

(6.3) การอพยพกลับ ใหผ้ นู้ ำ� ชมุ ชนหรอื ผนู้ ำ� กลมุ่ อพยพจดั ระเบยี บและลำ� ดบั กอ่ นหลงั กอ่ นการอพยพกลบั พรอ้ มทง้ั ประสานงานกบั เจา้ หนา้ ทที่ ดี่ ำ� เนนิ การควบคมุ ดแู ลการอพยพกลบั เมอ่ื ไดร้ บั แจง้ ขา่ วการสนิ้ สดุ สถานการณส์ าธารณภยั เพื่อให้ประชาชนเตรียมความพรอ้ มและรอรับแจ้งการอพยพกลบั ไปสูพ่ ื้นท่ีอยอู่ าศัย (6.4) การอพยพสว่ นราชการ และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เป็นการเคลื่อนย้ายส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพ่ือให้สามารถให้บริการ ไดต้ ามปกติ โดยใหศ้ นู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณใ์ นเขตพน้ื ทแี่ บง่ ประเภทสว่ นราชการและองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ท่ี จะอพยพตามล�ำดับและความจ�ำเป็นเร่งด่วน พร้อมท้ังก�ำหนดพ้ืนท่ีรองรับการอพยพไว้ล่วงหน้า โดยการอพยพให้ เปน็ ไปตามแผนอพยพส่วนราชการทก่ี ล่าวไว้ในยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 กลยุทธ์ที่ 2 พฒั นาระบบและเครือ่ งมือสนับสนุนการเผชิญเหตุ (1) แนวทางปฏิบตั ใิ นการสอ่ื สารและโทรคมนาคม การตดิ ตอ่ สอื่ สารเปน็ หวั ใจสำ� คญั ในการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ เนอื่ งจากตอ้ งมี การประสานการปฏบิ ตั ิ การแลกเปลย่ี นขอ้ มลู (Information) ขา่ วสาร (Intelligence) เพอื่ แจง้ เตอื นภยั แกป่ ระชาชน ประสานงาน ควบคมุ สงั่ การ และรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน ตลอดจนการรอ้ งขอ การสนบั สนนุ ระหวา่ งหนว่ ยเผชญิ เหตดุ ว้ ยกนั กบั หนว่ ยงาน ท่ีมีหน้าท่ีสนบั สนนุ การเผชิญเหตุในดา้ นต่าง ๆ อยา่ งต่อเน่อื ง โดยมีหลักการปฏบิ ตั ิ ดังน้ี (1.1) จัดให้มีระบบการติดต่อสื่อสารและโทรคมนาคมท่ีสามารถใช้ได้ในภาวะฉุกเฉิน อย่างน้อย 2 ระบบขน้ึ ไป เพอ่ื ประสานงานในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทแ่ี ละภารกจิ รว่ มกนั ระหวา่ งสว่ นราชการ หนว่ ยงาน ศนู ยบ์ ญั ชาการ เหตกุ ารณ/์ กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แตล่ ะระดบั ศนู ยป์ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขตทกุ เขต ตลอดจนประชาชนในพน้ื ที่ (1.2) จดั ระบบการสอ่ื สารดว้ ยเครอ่ื งวทิ ยคุ มนาคม โดยใหใ้ ชค้ วามถต่ี ามหลกั เกณฑก์ ารใชค้ ลน่ื ความถี่ เพ่ือสนับสนุนภารกิจการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติก�ำหนด (1.3) จัดให้มีช่องทางติดต่อส่ือสารระหว่างกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์/กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละระดับส่วนราชการ หน่วยงาน และประชาชน อยา่ งนอ้ ย 2 ชอ่ งทางขนึ้ ไป และสามารถตดิ ตอ่ สอ่ื สารไดต้ ลอด 24 ชว่ั โมง โดยยดึ หลกั ความถกู ตอ้ ง แมน่ ยำ� รวดเรว็ ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ และเปน็ ปจั จุบัน รวมทั้งรกั ษาความปลอดภัยทางการส่อื สารดว้ ย (1.4) จัดให้มีระบบการแจ้งเหตุและการสนับสนุนข้อมูลด้านสาธารณภัยแก่ประชาชน โดยการ เช่ือมโยงการใช้เลขหมายโทรคมนาคมพิเศษระหว่างส่วนราชการและหน่วยงานท่ีท�ำหน้าที่แจ้งเหตุ และเผชิญเหตุ ฉกุ เฉนิ 114 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

หมายเลข หนว่ ยงาน การให้บริการ 191 ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ศนู ย์รบั แจ้งเหตุฉกุ เฉนิ 192/1784 กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย รบั แจ้งเหตุ และข้อมูลเตอื นภยั ชว่ ยเหลือประชาชน และประสานงานด้านสาธารณภัย 199 กรุงเทพมหานคร รับแจ้งเหตเุ พลงิ ไหม้/เกิดสาธารณภัย 1669 สถาบันการแพทยฉ์ กุ เฉินแหง่ ชาติ รับแจง้ เหตุฉุกเฉินทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข ใหก้ ระทรวงดจิ ทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม และกระทรวงมหาดไทย เปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการจัดใหม้ ี ระบบการตดิ ตอ่ สอื่ สารทส่ี ามารถใชไ้ ดใ้ นภาวะฉกุ เฉนิ การจดั ระบบการสอ่ื สาร ดว้ ยเครอื่ งวทิ ยคุ มนาคม การตดิ ตอ่ สอื่ สาร ระหวา่ งกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แตล่ ะระดบั ส่วนราชการ หน่วยงาน และประชาชน พร้อมทั้งให้มีระบบการแจ้งเหตุและการสนับสนุนข้อมูลด้านสาธารณภัย แก่ประชาชน โดยมีส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ และกระทรวงกลาโหมเป็นหน่วยงานสนับสนุนในการบูรณาการการ ตดิ ตอ่ สอื่ สาร การจดั วางระบบ การฝกึ อบรมใหค้ วามรู้ ทงั้ นี้ หากมกี ารเปลยี่ นแปลงหรอื เพมิ่ เตมิ เลขหมายโทรคมนาคม และความถี่ในการจัดการสาธารณภัยให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาติ (2) แนวทางปฏบิ ัติในการเผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธ์ขอ้ มลู ข่าวสารในภาวะฉุกเฉนิ เปน็ การจดั ระบบขอ้ มลู ขา่ วสารเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ หรอื คาดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ใหท้ กุ ภาคสว่ นรบั รู้ และเข้าใจในสถานการณ์ (Situation Awareness) เพ่ือเป็นการส่ือสารความเส่ียงด้วยช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ ในทกุ ระยะการจดั การสาธารณภยั เช่น วิทยุ โทรทศั น์ หอกระจายข่าว สือ่ สังคมออนไลน์ หรือช่องทางอื่น ๆ เพอ่ื ให้ ทกุ กล่มุ เป้าหมายสามารถเขา้ ถึงข้อมลู ที่ถูกต้อง รวดเร็ว ทนั ต่อเหตุการณแ์ ละเปน็ ปัจจุบนั รวมทั้งสรา้ งความเชื่อมัน่ ลดความต่ืนตระหนกทเ่ี กดิ จากการรบั รแู้ ละความเขา้ ใจท่ไี ม่ถูกตอ้ งโดยจดั ใหม้ ีศนู ยข์ ้อมลู ประชาสัมพันธ์รว่ ม (Joint Information Center: JIC) ในภาวะฉุกเฉิน เพอื่ เป็นศูนยก์ ลางขอ้ มลู ข่าวสาร (Point of Contact) ที่เปน็ ทางการ ให้แก่ประชาชน ส่ือมวลชน หน่วยงานต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องได้ติดตามข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ใน ทกุ ๆ ดา้ น ทงั้ น้ี ใหจ้ ดั ตง้ั ศนู ยข์ อ้ มลู ประชาสมั พนั ธร์ ว่ ม (Joint Information Center: JIC) เปน็ โครงสรา้ งหลกั ในองคก์ ร ปฏิบตั ิการจัดการ ในภาวะฉกุ เฉนิ ทุกระดบั ให้กรมประชาสัมพันธ์ร่วมกับกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยก�ำหนดแนวทางปฏิบัติหรือจัดท�ำ คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านการเผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ขา่ วสารในภาวะฉกุ เฉนิ เพอ่ื เปน็ กรอบการปฏบิ ตั ทิ มี่ มี าตรฐาน เดียวกันทว่ั ประเทศ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 115

(3) แนวทางปฏิบตั ิในการบัญชาการเหตกุ ารณ์ (Incident Command) ใหน้ ำ� หลกั การของระบบการบญั ชาการเหตกุ ารณ์ (Incident Command System: ICS) มาประยกุ ต์ ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ในการสงั่ การ ควบคมุ และประสานความรว่ มมอื ของภาคสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ ง เพอื่ ใหก้ ารจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ เปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยหลกั การพนื้ ฐานทส่ี �ำคัญ ดังน้ี (3.1) การจัดการตามวตั ถุประสงค์ (Management by Objectives) เป็นการจัดการเหตุการณ์ ทเี่ กดิ ขน้ึ ดว้ ยการประเมนิ สถานการณ์ และนำ� มากำ� หนดวตั ถปุ ระสงคก์ ารทำ� งานเพอื่ เปน็ กรอบทศิ ทางในการดำ� เนนิ การ ร่วมกนั ของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในแตล่ ะวงรอบการปฏิบัติการ (Operational Period) (3.2) การวางแผนเผชิญเหตุ (Incident Action Plan: IAP) เปน็ การก�ำหนดยทุ ธวธิ ี ในการปฏบิ ตั ิ เพอื่ ให้บรรลุวตั ถุประสงคท์ ีก่ �ำหนดไว้ ดว้ ยการระบุรายละเอียดของทรพั ยากรทจ่ี �ำเปน็ ต้องใช้ในการดำ� เนนิ การ (3.3) โครงสร้างองค์กรปฏิบัติการจดั การในภาวะฉกุ เฉินทมี่ ีความยดื หยุ่น เปน็ การจัดองค์กรปฏิบัติ รว่ มกนั ของภาคสว่ นตา่ ง ๆ ใหส้ อดคลอ้ งกบั แตล่ ะเหตกุ ารณ์ ทง้ั นี้ ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั เอกภาพ ในการบงั คบั บญั ชา (Unity of Command) หมายถึง การท่ผี ้ใู ตบ้ งั คับบัญชาจะขึ้นตรงกบั หัวหน้า ซ่ึงอย่เู หนอื ข้นึ ไปเพียงผเู้ ดยี ว ทงั้ นี้ การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ตามบทบญั ญตั ขิ องกฎหมายจะมผี บู้ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ เพยี งคนเดยี ว อยา่ งไรกต็ าม ในกรณเี หตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ มกี ารทบั ซอ้ นกนั ของพนื้ ทห่ี รอื ขอบเขตอำ� นาจทางกฎหมาย อาจมผี บู้ ญั ชาการ เหตกุ ารณไ์ ดม้ ากกวา่ 1 คน เพอื่ รว่ มกนั วางแผน กำ� หนดวตั ถปุ ระสงค์ และตดั สนิ ใจ รวมถงึ การใชอ้ ำ� นาจทางกฎหมาย ในการบงั คบั บญั ชารว่ ม (Unified Command) ภายใตโ้ ครงสรา้ งองคก์ รปฏบิ ตั เิ ดยี ว เพอ่ื การดำ� เนนิ งานอยา่ งมเี อกภาพ เป็นไปตามทศิ ทางเดียวกนั (Single Command) (4) แนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน: สปฉ. (Emergency Support Function: ESF) การสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านในภาวะฉกุ เฉนิ : สปฉ. (Emergency Support Function: ESF) เป็นเคร่ืองมือสนับสนุนภารกิจของกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (บกปภ.ช.) ที่เป็น กลุม่ ของสว่ นงาน (Functions) ประกอบด้วยหน่วยงานท่มี ภี ารกิจหนา้ ที่เหมอื นกันหรอื ใกล้เคยี งกัน มาประสานการ ปฏิบัติร่วมกนั เพอ่ื ลดความซำ�้ ซอ้ นในการด�ำเนินการ ทั้งน้ีกรณที ม่ี ีการยกระดับการจดั การ สาธารณภยั ขนาดใหญ่ (ระดับ 3) หรอื การจดั การสาธารณภัยร้ายแรงอยา่ งยง่ิ (ระดับ 4) กองบัญชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ จะพจิ ารณาสถาปนาการสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านในภาวะฉกุ เฉนิ (สปฉ.) เพยี งสว่ นงานใดสว่ นงานหนง่ึ หรอื หลายสว่ นงาน เข้าร่วมสนับสนุนการจัดการสาธารณภัย ในแต่ละเหตุการณ์ ท้ังนี้ ขึ้นอยู่กับความจ�ำเป็นของแต่ละเหตุการณ์ และสถานการณ์ที่เกิดขนึ้ ในกรณที กี่ องบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ มกี ารสถาปนา การสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ าน ในภาวะฉุกเฉิน (สปฉ.) อย่างเต็มรูปแบบ (Fully Activated) ประกอบด้วย 18 ส่วนงาน และด้านกฎหมาย ตามแผนภาพท่ี 4-5 116 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

การสนับสนุนการปฏบิ ัติงานในภาวะฉกุ เฉนิ (สปฉ.) หน่วยงานรบั ผิดชอบ (1) สปฉ.1 : สว่ นงานคมนาคม มีขอบเขตหนา้ ท่ี ดังนี้ v กระทรวงคมนาคม เปน็ หน่วยงานหลกั (1.1) จดั การระบบ และควบคมุ ความปลอดภยั ทางคมนาคม ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง (1.2) ปรับปรุงเส้นทางและโครงข่ายคมนาคม รวมถึงสนับสนุน ส่วนราชการ และหน่วยงานภายใน สปฉ. ภารกิจการส่งก�ำลังบ�ำรุง และจัดท�ำแผนสนับสนุนการปฏิบัติงาน (1.3) จัดให้มเี ส้นทางสำ� รอง เสน้ ทางเลี่ยง ดดั แปลงแกไ้ ขระบบ ในภาวะฉุกเฉิน ดา้ นคมนาคม การคมนาคมใหส้ ามารถใช้การได้เมอ่ื เกดิ สาธารณภัย (1.4) สนับสนุนการอพยพเคลื่อนย้ายประชาชนออกจากพื้นที่ ประสบภัย พ้ืนท่ีเสี่ยงต่อการเกิดสาธารณภัย และพ้ืนที่ท่ีคาดว่า จะไดร้ ับผลกระทบจากสาธารณภยั (1.5) สนับสนุนข้อมูลและการจัดการด้านคมนาคมให้แก่ ก อ ง บั ญ ช า ก า ร ป ้ อ ง กั น แ ล ะ บ ร ร เ ท า ส า ธ า ร ณ ภั ย แ ห ่ ง ช า ติ และกองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั กลาง (2) สปฉ.2 : สว่ นงานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร มขี อบเขต v กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม หนา้ ที่ ดงั น้ี เปน็ หนว่ ยงานหลัก (2.1) จดั ใหม้ รี ะบบสอ่ื สารและโทรคมนาคมทงั้ ระบบสอ่ื สารหลกั ในการประสาน การปฏิบัติระหว่าง ระบบส่ือสารรอง และระบบสื่อสารส�ำรอง ตลอดจนให้บริการฐาน ส่วนราชการ และหน่วยงานภายใน สปฉ. ข้อมูลด้านสารสนเทศและการส่ือสารให้สามารถใช้การได้ในทุก มีหน้าที่จัดท�ำแผนสนับสนุนการปฏิบัติงาน สถานการณ์ ในภาวะฉุกเฉินด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (2.2) สนบั สนนุ อปุ กรณ์และเครอื่ งมือในการสอื่ สาร การจัดชอ่ งทาง และการสื่อสาร การสอื่ สารส�ำรองเพื่อใชใ้ นภาวะฉกุ เฉิน v กระทรวงมหาดไทยและกระทรวง (2.3) สนบั สนนุ กำ� ลังเจา้ หน้าท่ีเพ่ือบรกิ ารตดิ ต่อสอ่ื สารได้ตลอด กลาโหม เปน็ หน่วยงานสนับสนนุ ระยะเวลาที่เกดิ สาธารณภัย (2.4) สนบั สนนุ การฟน้ื ฟโู ครงสรา้ งพนื้ ฐาน เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสือ่ สารในภาวะฉกุ เฉนิ (2.5) รักษาความปลอดภยั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการ สอื่ สารในภาวะฉุกเฉิน (3) สปฉ.3 : สว่ นงานสาธารณปู โภคและโครงสรา้ งพนื้ ฐาน มขี อบเขต v กระทรวงมหาดไทย เปน็ หน่วยงานหลกั หนา้ ท่ี ดังนี้ ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง (3.1) สนับสนุนขอ้ มลู สงิ่ สาธารณปู โภคและโครงสร้างพนื้ ฐาน ส่วนราชการ และหน่วยงานภายใน สปฉ. (3.2) เตรยี มความพรอ้ ม และดำ� เนนิ การปอ้ งกนั หรอื ลดผลกระทบ มีหน้าที่จัดท�ำแผนสนับสนุนการปฏิบัติงาน ที่อาจมีต่อพื้นที่เขตเมือง พื้นที่เศรษฐกิจ โครงสร้างพ้ืนฐาน ในภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณูปโภค และสิง่ สาธารณปู โภคในพ้ืนทเ่ี สย่ี งภยั และโครงสรา้ งพ้ืนฐาน (3.3) ดำ� รงสถานะ ดำ� เนนิ การปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมโครงสรา้ งพนื้ ฐาน v การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้า และสง่ิ สาธารณปู โภคในพนื้ ทปี่ ระสบสาธารณภยั ใหส้ ามารถใชก้ ารได้ นครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค ในระหวา่ งเกดิ สาธารณภยั โดยเฉพาะในพนื้ ทเี่ ขตเมอื ง และพนื้ ทเ่ี ศรษฐกจิ การประปานครหลวง เปน็ หนว่ ยงานสนบั สนนุ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 117

การสนับสนนุ การปฏิบตั ิงานในภาวะฉกุ เฉนิ (สปฉ.) หน่วยงานรับผิดชอบ (4) สปฉ.4 : สว่ นผจญเพลงิ มขี อบเขตหน้าท่ี ดังนี้ v กระทรวงมหาดไทย เปน็ หนว่ ยงานหลัก (4.1) ประสานการปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉินเมื่อเกิดอัคคีภัย ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง ในเคหสถาน สถานประกอบการ และนคิ มอตุ สาหกรรม หรอื พ้นื ท่อี ืน่ ๆ ส่วนราชการ และหน่วยงานภายใน สปฉ. (4.2) ประสานงานกับสว่ นราชการและหนว่ ยงานในการป้องกัน มีหน้าที่จัดท�ำแผนสนับสนุนการปฏิบัติงาน และระงับอคั คภี ยั ในภาวะฉกุ เฉินดา้ นการผจญเพลงิ (4.3) สนับสนุนการปฏิบัติการระงับอัคคีภัยเมื่อเกิดอัคคีภัย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวง ในพน้ื ทพี่ เิ ศษ เชน่ อทุ ยานแหง่ ชาติ นคิ มอตุ สาหกรรม ทา่ อากาศยาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือบรเิ วณทส่ี ่งผลตอ่ มลพษิ สิง่ แวดล้อม เปน็ ต้น เป็นหนว่ ยงานสนับสนนุ (4.4) สนับสนุนข้อมูลด้านเทคนิคและองค์ความรู้ในการป้องกัน และระงบั อคั คภี ยั ใหก้ บั สว่ นราชการ หนว่ ยงานในภมู ภิ าคและทอ้ งถน่ิ (5) สปฉ.5 : สว่ นงานการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ มขี อบเขตหนา้ ท่ี ดงั นี้ v กระทรวงมหาดไทย เปน็ หน่วยงานหลกั (5.1) เฝ้าระวังและติดตามข้อมูลสถานการณ์ที่อาจส่งผลให้เกิด ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง สาธารณภัย ส่วนราชการและหน่วยงานภายใน สปฉ. (5.2) ให้ข้อเสนอผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีหน้าที่จัดท�ำแผนสนับสนุนการปฏิบัติงาน แห่งชาติ ในการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าให้ประชาชน ส่วนราชการ ในภาวะฉุกเฉินด้านการจัดการสาธารณภัย และหนว่ ยงาน รบั ทราบสถานการณแ์ ละแนวโนม้ การเกดิ สาธารณภยั และการสนบั สนนุ ทรพั ยากรในภาวะฉกุ เฉนิ (5.3) ให้ข้อเสนอผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แหง่ ชาตใิ นการแจง้ เตอื นภยั และแจง้ แนวทางปฏบิ ตั ติ น เพอ่ื เตรยี มพรอ้ ม รบั สถานการณส์ าธารณภยั ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ รวมถงึ สง่ั การใหม้ กี ารอพยพ และเคลือ่ นยา้ ยไปยงั พน้ื ท่ีปลอดภยั (5.4) วิเคราะหแ์ ละวางแผนการเผชิญเหตุ (5.5) ประสานและสนับสนุนในการจัดการและการเผชิญเหตุ สาธารณภยั แก่ศนู ย์บญั ชาการเหตุการณ์ในแตล่ ะระดับ (5.6) ก�ำหนดจ�ำนวนชนิดของทรัพยากรและบุคลากรท่ีต้องใช้ เพอื่ ใหม้ ีประสิทธภิ าพและรวดเรว็ ในการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ (5.7) ประสานการใช้ทรัพยากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพือ่ สนับสนนุ การปฏบิ ตั งิ านในภาวะฉุกเฉินด้านตา่ ง ๆ (5.8) สนับสนุนทรัพยากรที่จ�ำเป็นในการเผชิญเหตุสาธารณภัย ใหก้ บั ศูนยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณใ์ นแต่ละระดบั (5.9) ประสานงานการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ในสว่ นงานสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านในภาวะฉกุ เฉิน (สปฉ.) ด้านอน่ื ๆ 118 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

การสนับสนุนการปฏิบตั ิงานในภาวะฉุกเฉนิ (สปฉ.) หน่วยงานรับผิดชอบ (6) สปฉ.6 : ส่วนงานสวัสดิการสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ v กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มีขอบเขตหนา้ ท่ี ดงั น้ี ม่นั คงของมนุษย์ เป็นหน่วยงานหลกั (6.1) ประสานงานและสนับสนนุ การจัดตั้งศนู ย์พกั พิงชั่วคราว ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง (6.2) สนับสนุนการแจกจ่ายส่ิงของจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีพให้แก่ ส่วนราชการ หน่วยงานภายใน สปฉ. ผู้ประสบภยั และองค์การสาธารณกุศล และมีหน้าท่ีจัด (6.3) สนบั สนุนงานด้านการสังคมสงเคราะหแ์ กผ่ ู้ประสบภยั ทำ� แผนสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านในภาวะฉกุ เฉนิ (6.4) เผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ขา่ วสารเกย่ี วกบั สวสั ดกิ าร ด้านสวัสดิการสังคมและความม่ันคงของ ด้านสาธารณภยั มนุษย์ (6.5) วางแผนการให้ความช่วยเหลือด้านที่อยู่อาศัย การดูแล v กระทรวงแรงงาน และสภากาชาดไทย บคุ คลท่ีตอ้ งไดร้ บั การปฏบิ ัติเปน็ กรณพี เิ ศษ การฟนื้ ฟูด้านสงั คมและ เปน็ หน่วยงานสนบั สนนุ จติ ใจให้แก่ผปู้ ระสบภยั และผปู้ ระสบปัญหาทางสังคม (6.6) ใหบ้ ริการสาธารณกศุ ล (6.7) ก�ำหนดแนวทางการช่วยเหลือผู้ว่างงานที่ได้รับผลกระทบ จากสาธารณภัย (6.8) ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครท่ีเจ็บป่วย บาดเจ็บ พกิ ารและทุพพลภาพจากการปฏิบัติหนา้ ทีข่ ณะเกดิ สาธารณภัย (7) สปฉ.7 : สว่ นงานการสนบั สนนุ ทรพั ยากรทางทหาร มขี อบเขต v กระทรวงกลาโหม เป็นหนว่ ยงานหลัก หนา้ ที่ ดังนี้ ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง (7.1) ประสานและสนบั สนนุ ทรพั ยากรทางทหาร เพอื่ ใชส้ นบั สนนุ กองบัญชาการกองทัพไทย และเหล่าทัพ ภารกจิ สปฉ. ดา้ นอน่ื ๆ และศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณใ์ นแตล่ ะระดบั ส่วนราชการ และหน่วยงานใน สปฉ. เพอื่ การเผชญิ เหตสุ าธารณภยั รวมถงึ การสง่ คนื ทรัพยากร ใ น ก า ร ส นั บ ส นุ น ท รั พ ย า ก ร ท า ง ท ห า ร (7.2) ติดตาม และรายงานสถานะทรัพยากรทางทหารท่ีถูก และมหี นา้ ทจี่ ดั ทำ� แผนสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ าน ก�ำหนดให้ใชใ้ นภารกิจสนบั สนนุ การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ในภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นการสนบั สนนุ ทรพั ยากร (7.3) ให้ขอ้ เสนอแนะ คำ� ปรกึ ษา ในกรณีท่ีตอ้ งใชค้ วามช�ำนาญ ทางทหาร ทางทหารสนับสนนุ การจดั การในภาวะฉุกเฉนิ (8) สปฉ.8 : ส่วนงานการแพทย์และการสาธารณสุข มีขอบเขต v กระทรวงสาธารณสขุ เปน็ หนว่ ยงานหลกั หนา้ ท่ี ดังน้ี ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง (8.1) ใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชนและชมุ ชนในดา้ นการรกั ษาพยาบาล ส่วนราชการ และหน่วยงานภายใน สปฉ. เบอ้ื งตน้ การสขุ าภบิ าล และอนามยั สงิ่ แวดลอ้ ม เพอ่ื ใหส้ ามารถชว่ ยเหลอื มีหน้าที่จัดท�ำแผนสนับสนุนการปฏิบัติงาน ตนเองและผอู้ ื่นได้เมอื่ ประสบสาธารณภัย ในภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และการ (8.2) เฝ้าระวัง ควบคุม และติดตามโรคติดต่อ โรคระบาด สาธารณสขุ พร้อมทั้งจัดให้มีการรักษาพยาบาล การอนามัย การสุขาภิบาล และการป้องกนั โรคแก่ผปู้ ระสบภัย แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 119

การสนับสนุนการปฏิบัตงิ านในภาวะฉุกเฉนิ (สปฉ.) หนว่ ยงานรับผิดชอบ (8.3) พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Medical v โรงพยาบาล สถานพยาบาลในสังกัด Service: EMS) หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารกชู้ พี และทมี ตอบสนองดา้ นการแพทย์ ทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น มหาวิทยาลัย ไดแ้ ก่ ทมี ปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทางการแพทยใ์ นภาวะฉกุ เฉนิ ระดบั อำ� เภอ กระทรวงกลาโหม สภากาชาดไทย สถาบนั (Mini MERT) ทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ระดับตติยภูมิ การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ส�ำนักงาน ในภาวะฉุกเฉนิ (Medical Emergency Response Team: MERT) หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ส�ำนักงาน ทมี ปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ ระดบั ประเทศ กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และระหว่างประเทศ (Thailand Emergency Medical Team: มูลนิธิ อาสาสมัครต่าง ๆ เป็นหน่วยงาน Thailand EMT) ทีมเฝา้ ระวังสอบสวนเคลอ่ื นท่ีเรว็ (Surveillance สนบั สนุน Rapid Response Team: SRRT) ทมี ปฏบิ ตั กิ ารดา้ นจติ เวช (Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team: MCATT) ที่พร้อมออกปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งจัดระบบเครือข่ายสาธารณสุขให้บริการและสนับสนุน การปฏบิ ตั งิ านทวั่ ประเทศ โดยรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื เตรยี ม ความพร้อมให้สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ดท้ นั ทเี ม่ือเกดิ สาธารณภยั (8.4) พัฒนาบุคลากรสาธารณสุขและอาสาสมัคร ให้มีความรู้ และทักษะ พร้อมท่ีจะปฏิบัติงานเม่ือเกิดสาธารณภัย และป้องกัน ตนเองจากภยั ที่เกดิ ขึน้ ขณะปฏิบัติงาน (8.5) จัดให้มีการเตรียมพร้อมทางห้องปฏิบัติการที่ทันสมัย และได้มาตรฐาน (8.6) จัดเตรียมและจัดหาทรัพยากรทางการแพทย์และการ สาธารณสุข รวมท้ังประสานการระดมสรรพก�ำลัง ด้านการแพทย์ และการสาธารณสขุ (8.7) จัดท�ำระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ และการสาธารณสุข รวมทั้งเคร่ืองมือทางการแพทย์ในด้านต่าง ๆ ของรัฐและเอกชน เพอื่ ใหพ้ ร้อมต่อการปฏิบัติเมอ่ื เกดิ สาธารณภัย (8.8) จัดให้มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลความเสียหายทาง ดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ รวมถงึ การรายงานผลอยา่ งถกู ตอ้ ง และรวดเร็ว (8.9) จดั ใหม้ กี ารพฒั นาระบบสอ่ื สาร เพอ่ื ประสานงานและสง่ั การ ภายในหน่วยงานสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้มี ประสิทธภิ าพ (8.10) ฟื้นฟูสภาพจิตใจของผู้ประสบภัยให้กลับมาด�ำรงชีวิต ได้ตามปกติ 120 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

การสนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานในภาวะฉกุ เฉิน (สปฉ.) หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ (9) สปฉ.9 : สว่ นงานการคน้ หาและกภู้ ยั มขี อบเขตหน้าท่ี ดังนี้ v กระทรวงมหาดไทยและกระทรวง (9.1) สนับสนุนการปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉินด้านการค้นหา กลาโหม เป็นหนว่ ยงานหลกั และช่วยชวี ิตผปู้ ระสบภยั ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง (9.2) ประสานการช่วยเหลือ สนับสนุน การค้นหาและกู้ภัย ส่วนราชการ หน่วยงาน และองค์การ กบั ส่วนราชการ หนว่ ยงาน และกองอ�ำนวยการป้องกนั และบรรเทา สาธารณกุศล และมีหน้าที่จัดท�ำแผน สาธารณภยั แต่ละระดับ สนับสนุนการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน (9.3) ประสานงานกับสมาคม มลู นิธิ และองค์การสาธารณกุศล ด้านการค้นหาและก้ภู ยั ทม่ี ภี ารกจิ ในการคน้ หาและกภู้ ัย (9.4) จัดระบบการปฏิบัติงานด้านการค้นหาและกู้ภัยให้เป็น มาตรฐานเดยี วกันทกุ ภาคสว่ น (9.5) สนบั สนนุ ทรพั ยากร และอปุ กรณพ์ เิ ศษในการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ค้นหาและกภู้ ัย (9.6) สนบั สนนุ ขอ้ มลู ดา้ นเทคนคิ และองคค์ วามรใู้ หก้ บั หนว่ ยงาน ปฏบิ ตั กิ ารค้นหาและกภู้ ยั (10) สปฉ.10 : ส่วนงานสารเคมี วัตถุอันตราย และกัมมันตรังสี v กระทรวงอุตสาหกรรม (สารเคมี มขี อบเขตหน้าที่ ดังน้ี และวัตถุอันตราย) และส�ำนักงานปรมาณู (10.1) วางแผน ควบคมุ และปอ้ งกนั ภยั จากสารเคมี วตั ถอุ นั ตราย เพ่ือสันติ (กัมมันตรงั ส)ี เปน็ หน่วยงานหลัก และกัมมันตรังสี ท่ีส่งผลกระทบต่อประชาชน ทรัพยากรธรรมชาติ ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง และสิ่งแวดลอ้ ม ส่วนราชการ และหน่วยงานภายใน สปฉ. (10.2) พัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธีการที่เหมาะสมเพื่อน�ำมา มีหน้าท่ีจัดท�ำแผนสนับสนุนการปฏิบัติงาน ประยุกต์ใช้ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากสารเคมี ในภาวะฉุกเฉิน ด้านสารเคมี วัตถุอันตราย วัตถอุ ันตราย และกัมมันตรังสี และกัมมันตรงั สี (10.3) ระงับภัยจากสารเคมี วัตถุอันตราย และกัมมันตรังสี v ก ร ะ ท ร ว ง ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ในพนื้ ทที่ ม่ี กี ารปนเปอ้ื นมลพษิ และประเมนิ ความเสยี หายตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม และส่ิงแวดล้อม กระทรวงกลาโหม (10.4) ให้ความช่วยเหลือและค�ำปรึกษา แนะน�ำ เก่ียวกับ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ การจดั การมลพิษอันเกดิ จากสารเคมี วตั ถุอันตราย และกมั มันตรงั สี วิจัยและนวัตกรรม กรมควบคุมมลพิษ (10.5) สง่ เสริมสนบั สนุนขอ้ มลู และองค์ความรู้ด้านสารเคมี วัตถุ เปน็ หนว่ ยงานสนับสนุน อันตรายและกัมมันตรังสี เพ่ือประโยชน์ในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั (10.6) จัดการสาธารณภัยและสนับสนุนการก�ำกับดูแล ดา้ นพลงั งานปรมาณูและนวิ เคลียร์รังสี (10.7) ปฏบิ ตั กิ ารและการปอ้ งกนั ภยั ทางเคมี ชวี ภาพ และนวิ เคลยี ร์ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 121

การสนบั สนุนการปฏบิ ัตงิ านในภาวะฉกุ เฉิน (สปฉ.) หน่วยงานรับผิดชอบ (11) สปฉ.11 : สว่ นงานการเกษตร มีขอบเขตหน้าท่ี ดังน้ี v กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (11.1) ประสานการปฏิบัติเม่ือเกิดสาธารณภัยท่ีมีผลกระทบ เป็นหนว่ ยงานหลัก ต่อดา้ นการเกษตร ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง (11.2) ติดตาม เฝ้าระวัง ประเมนิ สถานการณ์ และแจง้ เตอื นภัย ส่วนราชการ และหน่วยงานภายใน สปฉ. แกเ่ กษตรกร มีหน้าที่จัดท�ำแผนสนับสนุนการปฏิบัติงาน (11.3) ส�ำรวจและติดตามความเสียหายด้านการเกษตร ในภาวะฉุกเฉนิ ด้านการเกษตร เพอ่ื ใหก้ ารชว่ ยเหลอื v กระทรวงพาณิชย์ เป็นหน่วยงาน (11.4) สนบั สนนุ ทรพั ยากร เครอ่ื งมอื อปุ กรณต์ า่ ง ๆ เพอื่ ชว่ ยเหลอื สนับสนนุ พื้นท่กี ารเกษตรทีป่ ระสบสาธารณภยั (11.5) สนบั สนนุ ขอ้ มลู ดา้ นการเกษตรและใหข้ อ้ เสนอแนะแนวทาง ในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาทมี่ ผี ลกระทบ ดา้ นการเกษตร รวมทง้ั แนวทางการช่วยเหลือเกษตรกรทปี่ ระสบภยั (12) สปฉ.12 : ส่วนงานพลังงาน มขี อบเขตหนา้ ท่ี ดงั นี้ v กระทรวงพลงั งาน เปน็ หน่วยงานหลกั (12.1) ดแู ล รกั ษา และปอ้ งกนั ทรพั ยากรดา้ นพลงั งานใหส้ ามารถ ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง ปฏบิ ัติงานไดต้ ลอดระยะเวลาการเกิดสาธารณภยั ส่วนราชการและหน่วยงานภายใน สปฉ. (12.2) ป้องกัน และบ�ำรุงรักษาสถานท่ีส�ำคัญด้านพลังงาน มีหน้าที่จัดท�ำแผนสนับสนุนการปฏิบัติงาน ให้สามารถปฏิบัติงาน รวมถึงสนับสนุนพลังงานให้เพียงพอต่อ ในภาวะฉุกเฉินดา้ นพลังงาน ความตอ้ งการในภาวะฉกุ เฉนิ แกส่ ว่ นราชการ และหนว่ ยงานทสี่ ำ� คญั ในการใหบ้ รกิ ารประชาชน เชน่ โรงพยาบาล สถานบรกิ ารนำ�้ มนั เชอ้ื เพลงิ เป็นต้น (12.3) จัดท�ำฐานข้อมูลแหล่งพลังงานเพื่อใช้สนับสนุน การปฏบิ ตั งิ านในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (12.4) ก�ำหนดมาตรการควบคุมความปลอดภัยให้กับสถานท่ี ส�ำคัญที่เปน็ แหล่งผลิตพลงั งาน และสถานทใี่ หบ้ รกิ าร (12.5) สนับสนุนผู้เช่ียวชาญด้านพลังงานเพื่อการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย (13) สปฉ.13 : สว่ นงานรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย มขี อบเขตหนา้ ท่ี v ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ดังนี้ เปน็ หน่วยงานหลัก (13.1) ประสานการปฏิบัติในการรักษาความสงบเรียบร้อย ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง และความปลอดภยั ของประชาชน สถานทส่ี ำ� คญั ทางเศรษฐกจิ เขตเมอื ง ส่วนราชการ และหน่วยงานภายใน สปฉ. และชมุ ชนในพน้ื ทปี่ ระสบสาธารณภยั และพนื้ ทีใ่ กลเ้ คยี ง มีหน้าที่จัดท�ำแผนสนับสนุนการปฏิบัติงาน (13.2) วางแผนการรักษาความปลอดภัย และให้ความช่วยเหลือ ในภาวะฉุกเฉินด้านการรักษาความสงบ ดา้ นเทคนคิ ตา่ ง ๆ รวมถงึ การสนบั สนนุ เทคโนโลยที ท่ี นั สมยั ในการรกั ษา เรียบร้อย ความสงบเรียบรอ้ ย 122 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

การสนบั สนนุ การปฏบิ ัติงานในภาวะฉุกเฉิน (สปฉ.) หน่วยงานรับผิดชอบ (13.3) ควบคมุ และบงั คบั ใชก้ ฎหมาย เพอ่ื ปอ้ งกนั และปราบปราม การกระท�ำผดิ ที่มผี ลกระทบต่อความม่ันคง และความสงบเรียบรอ้ ย ของประเทศ (13.4) ปฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี า้ นการพสิ จู นเ์ อกลกั ษณบ์ คุ คล การจดั การศพ การติดตามผ้สู ูญหาย และการสง่ กลับ (13.5) จัดระบบจราจรในบริเวณพื้นท่ีประสบสาธารณภัย และพน้ื ท่ีใกล้เคียง (14) สปฉ.14 : ส่วนงานการฟ้นื ฟูเศรษฐกิจ การศกึ ษา v กระทรวงการคลงั เปน็ หนว่ ยงานหลัก และวัฒนธรรม มีขอบเขตหน้าที่ ดงั น้ี ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง (14.1) ประเมินผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ การศึกษา ส่วนราชการ และหน่วยงานภายใน สปฉ. วัฒนธรรมและสถานท่ีส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ในพ้ืนที่ประสบ และมหี นา้ ทจี่ ดั ทำ� แผนสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ าน สาธารณภัย ในภาวะฉุกเฉินด้านการฟื้นฟูเศรษฐกิจ (14.2) ให้ข้อเสนอแนะ แนวทาง และวิธีการในการเตรียม การศกึ ษา และวัฒนธรรม ความพร้อมรับสถานการณ์สาธารณภัย รวมถึงการฟื้นฟูในภาพรวม v กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร หลังเกิดสาธารณภัย กระทรวงพาณชิ ย์ กระทรวงการทอ่ งเท่ยี ว (14.3) กำ� หนดแนวทางการสนบั สนุนของหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง และกีฬา และส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ท้ังภาครัฐและเอกชนในการฟื้นฟู และลดช่องว่างทางเศรษฐกิจ เปน็ หน่วยงานสนบั สนุน และสงั คมของชุมชนในระยะยาว (14.4) วเิ คราะห์ ประเมนิ สถานการณ์ ปอ้ งกนั และลดผลกระทบ จากสาธารณภัยแก่สถานท่ีส�ำคญั ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม (14.5) ตดิ ตาม ตรวจสอบ และฟน้ื ฟพู ้ืนทีเ่ ศรษฐกิจ การศึกษา วฒั นธรรม และสถานทสี่ ำ� คญั ทางประวตั ศิ าสตรใ์ หก้ ลบั สสู่ ภาพเดมิ โดยเรว็ (15) สปฉ.15 : ส่วนงานการต่างประเทศ มีขอบเขตหน้าท่ี ดงั น้ี v กระทรวงการต่างประเทศ (15.1) ติดตามและรายงานข้อมูลที่เก่ียวข้องกับสถานการณ์ เปน็ หนว่ ยงานหลกั สาธารณภัยทเ่ี กดิ ข้ึนใหแ้ ก่ประเทศตา่ ง ๆ ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง (15.2) ประสานความรว่ มมือระหว่างประเทศในภาวะฉุกเฉนิ ส่วนราชการ และหน่วยงานภายใน สปฉ. (15.3) ประสาน และสนบั สนนุ การดำ� เนนิ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื และมีหน้าท่ีจัดท�ำแผนสนับสนุนการปฏิบัติ ผปู้ ระสบภัยทีเ่ ป็นชาวตา่ งประเทศ งานในภาวะฉุกเฉนิ ดา้ นการต่างประเทศ (15.4) ให้ข้อเสนอแนะกรณีที่จ�ำเป็นต้องขอรับการสนับสนุน v กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จากรัฐบาลตา่ งประเทศ องคก์ ารระหวา่ งประเทศ และองคก์ รพฒั นา กระทรวงกลาโหม สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ ภาคเอกชนระหว่างประเทศ กรมศุลกากร และสภากาชาดไทย (15.5) ก�ำหนดแนวทางการอ�ำนวยความสะดวกการน�ำเข้า เปน็ หนว่ ยงานสนบั สนนุ ทรัพยากรจากตา่ งประเทศ และการสง่ กลบั แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 123

การสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านในภาวะฉกุ เฉิน (สปฉ.) หน่วยงานรับผิดชอบ (15.6) ประสานการรับ การให้ความช่วยเหลือจากรัฐบาล องคก์ ารระหวา่ งประเทศ และองค์กรภาคเอกชนระหว่างประเทศ (15.7) ประสานการอำ� นวยความสะดวก และใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกผ่ ปู้ ระสบภยั ชาวตา่ งชาตแิ ละญาตผิ ้ปู ระสบภยั (16) สปฉ.16 : สว่ นงานการประชาสมั พนั ธ์และการจดั การขอ้ มูล v กรมประชาสมั พนั ธ์ เป็นหนว่ ยงานหลกั ขา่ วสาร มขี อบเขตหน้าท่ี ดงั นี้ ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง (16.1) ประชาสัมพันธ์และให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน ส่วนราชการและหน่วยงานภายใน สปฉ. เกี่ยวกับสาธารณภยั ในภาวะฉุกเฉินหรือภัยคกุ คามทเี่ กดิ ขึ้น และมหี นา้ ทจี่ ดั ทำ� แผนสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ าน (16.2) เผยแพรข่ อ้ มลู และความรทู้ ถี่ กู ตอ้ งเพอ่ื การเตรยี มพรอ้ ม ในภาวะฉุกเฉินด้านการประชาสัมพันธ์ รบั มือสถานการณใ์ ห้แก่ประชาชน และการจดั การข้อมูลขา่ วสาร (16.3) จดั ตงั้ ศนู ยข์ อ้ มลู ประชาสมั พนั ธร์ ว่ ม (Joint Information Center: JIC) เพ่ือเป็นศูนย์กลางการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร ระหว่างส่วนราชการ หน่วยงาน ภาคเอกชน และสื่อมวลชนทั้งใน และต่างประเทศ (16.4) กำ� หนดมาตรการ ปอ้ งกนั ตอบโตข้ า่ วลอื ขา่ วอนั เปน็ เทจ็ และข้อมูลท่ีจะสร้างความตระหนก แตกตื่น และหวาดกลัวให้แก่ ประชาชน (17) สปฉ.17 : ส่วนงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม v กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ มีขอบเขตหนา้ ที่ ดงั น้ี ส่ิงแวดลอ้ ม เป็นหน่วยงานหลกั (17.1) ประสานการปฏิบัติเมื่อเกิดสาธารณภัยท่ีมีผลกระทบ ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่วนราชการและหน่วยงานภายใน สปฉ. (17.2) วเิ คราะหแ์ ละประเมินผลกระทบจากสาธารณภยั ท่ีมีต่อ และมหี นา้ ทจี่ ดั ทำ� แผนสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ าน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม พร้อมทง้ั กำ� หนดวิธกี ารป้องกนั ในภาวะฉุกเฉินด้านทรัพยากรธรรมชาติ และลดผลกระทบ และสง่ิ แวดลอ้ ม (17.3) ให้ขอ้ เสนอแนะ แนวทาง วธิ ีการป้องกัน ลดผลกระทบ และเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ในพ้ืนท่ีทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม รวมถึงการฟื้นฟูหลังเกิดสาธารณภัย (18) สปฉ.18 : ส่วนงานงบประมาณและการบริจาค มีขอบเขต v กระทรวงการคลัง และส�ำนักนายก หน้าท่ี ดงั นี้ รฐั มนตรี เปน็ หน่วยงานหลัก (18.1) ติดตามและรายงานสถานะของแหล่งงบประมาณ ในการประสานการปฏิบัติระหว่าง เพอ่ื การจดั การสาธารณภัยและงบประมาณเพอื่ การฟืน้ ฟู ส่วนราชการ และหน่วยงานภายใน สปฉ. (18.2) ใหข้ อ้ เสนอแนะ กรณที จ่ี �ำเปน็ ตอ้ งใชเ้ งนิ ทดรองราชการ และมหี นา้ ทจี่ ดั ทำ� แผนสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ าน เพอ่ื การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ หรอื งบกลาง ในภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นงบประมาณและการบรจิ าค จากรัฐบาล 124 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

การสนับสนนุ การปฏบิ ัติงานในภาวะฉุกเฉนิ (สปฉ.) หน่วยงานรับผิดชอบ (18.3) ดำ� เนนิ การรบั บรจิ าคเงนิ และสงิ่ ของเพอ่ื ให้ ความชว่ ยเหลอื v กระทรวงการต่างประเทศ ผูป้ ระสบภยั สำ� นกั งบประมาณและสำ� นกั งานปลัด (18.4) ประสานงานการควบคมุ และตรวจสอบยอดเงนิ ธรุ กรรม ส�ำนักนายกรฐั มนตรี เปน็ หน่วยงาน ทางการเงินของเงินบริจาคในบัญชีธนาคารจากหน่วยงาน องค์กร สนับสนุน หรอื บคุ คล โดยเปดิ บัญชไี ว้และแจง้ ใหป้ ระชาชนบริจาคเงิน (19) ดา้ นกฎหมาย มีขอบเขตหนา้ ที่ v กระทรวงยุติธรรม เป็นหน่วยงานหลัก ให้ค�ำแนะน�ำและข้อหารือทางด้านระเบียบ กฎหมายในการ และหนว่ ยงานอนื่ ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง เปน็ หนว่ ยงาน วางแผนและปฏิบัติการให้แก่กองบัญชาการป้องกันและบรรเทา สนับสนุน สาธารณภัยแหง่ ชาติ (บกปภ.ช.) เพ่ือให้การจดั การเหตุการณ์เป็นไป ตามบัญญตั ิของกฎหมายและระเบยี บท่ีเก่ยี วขอ้ ง ทงั้ น้ี เพอ่ื ใหก้ ารสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านในภาวะฉกุ เฉนิ (สปฉ.) เปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั เมอื่ กองบญั ชาการ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พจิ ารณาสถาปนาสว่ นงานใดขนึ้ เพอ่ื สนบั สนนุ การปฏบิ ตั ขิ องกองบญั ชาการ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ใหห้ นว่ ยงานหลกั ในแตล่ ะการสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านในภาวะฉกุ เฉนิ (สปฉ.) ดำ� เนนิ การ ดงั นี้ (1) จดั สง่ ผแู้ ทนหนว่ ยงานทมี่ อี ำ� นาจตดั สนิ ใจมาประจำ� ณ กองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ เพื่อประสานการปฏิบัติอย่างต่อเน่ืองจนกว่าสถานการณ์จะยุติ หรือจนกว่ากองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตยิ ตุ กิ ารปฏิบัตกิ าร (Deactivated) ของการสนับสนนุ การปฏบิ ัติงานในภาวะฉกุ เฉิน (สปฉ.) นนั้ (2) ใหห้ นว่ ยงานหลกั ในแตล่ ะการสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านในภาวะฉกุ เฉนิ (สปฉ.) จดั ตง้ั องคก์ รปฏบิ ตั กิ าร ในภาวะฉกุ เฉนิ (EOC) ณ ทตี่ งั้ ของหนว่ ยงานหลกั เพอ่ื เปน็ ศนู ยก์ ลางการปฏบิ ตั กิ ารระหวา่ งหนว่ ยงานหลกั และหนว่ ยงาน สนับสนุน โดยให้เป็นไปตามแผนสนับสนุนการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน ของแต่ละการสนับสนุนการปฏิบัติงาน ในภาวะฉกุ เฉิน (สปฉ.) (3) ให้องคก์ รปฏิบัตกิ ารในภาวะฉุกเฉนิ (EOC) แต่ละการสนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานในภาวะฉุกเฉนิ (สปฉ.) ที่กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติสถาปนาข้ึน เช่ือมโยงและประสานการท�ำงานร่วมกันกับ กองบัญชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ใหก้ องอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กลางกำ� หนดแนวทางการจดั ทำ� แผนสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ าน ในภาวะฉกุ เฉนิ ใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 125

126 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ศูนยข์ ้อมูลประชาสมั พนั ธ์ร่วม ผ้บู ัญชาการเหตกุ ารณ์ ทปี่ รึกษา/ผู้เชยี่ วชาญ สปฉ. 16 ส่วนงานการประชาสัมพนั ธ์ สว่ นอ�ำนวยการ ศนู ยป์ ระสานการปฏิบตั ิ และการจดั การขอ้ มลู ขา่ วสาร ส่วนสนับสนุน ส่วนปฏบิ ัติการ สปฉ.1 คมนาคม สปฉ.7 การสนบั สนุน สปฉ.15 การตา่ งประเทศ สปฉ.5 การจดั การ สปฉ.2 เทคโนโลยี สปฉ.14 การฟน้ื ฟเู ศรษฐกจิ ทรัพยากรทางทหาร ในภาวะฉุกเฉิน สารสนเทศและการสอ่ื สาร การศกึ ษา และวฒั นธรรม สปฉ.12 พลงั งาน สปฉ.4 ผจญเพลิง สปฉ.8 การแพทย์ กฎหมาย สปฉ.3 สาธารณูปโภค สปฉ.17 ทรพั ยากรธรรมชาติ และสาธารณสขุ และโครงสร้างพ้นื ฐาน และสิ่งแวดล้อม สปฉ.18 งบประมาณและ สปฉ.9 การค้นหาและกู้ภัย สปฉ.10 สารเคมี วตั ถุ สปฉ.11 การเกษตร การบรจิ าค อนั ตราย และกัมมนั ตรงั สี สปฉ.6 สวัสดกิ ารสงั คม และความม่ันคงของ สปฉ.13 รักษาความสงบเรยี บร้อย มนษุ ย์ หมายเหตุ : สามารถปรบั เปลยี่ นไปตามสถานการณ์ แผนภาพท่ี 4-5 ตัวอยา่ งการจัดโครงสรา้ งกองบัญชาการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ทม่ี ีการสถาปนาสนับสนุนการปฏิบตั ิงานในภาวะฉุกเฉนิ อยา่ งเต็มรูปแบบ (Fully Activated)

(5) แนวทางปฏบิ ัติในการสนับสนุนการจัดการเหตุการณ์ ในการจัดการเหตุการณ์ขององค์กรปฏิบัติการจัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operation Center: EOC) จะต้องมีการรวบรวม จัดการข้อมูล รวมถึงวิเคราะห์ ประเมิน ติดตาม และประสานการปฏิบัติ ในภารกิจต่าง ๆ ซ่ึงครอบคลุมถึงการประเมินความเสียหาย ผลกระทบที่เกิดข้ึน ความจ�ำเป็นในการด�ำเนินการ เพื่อหยุดยั้งผลกระทบ การช่วยเหลือผู้ประสบภัย ความต้องการใช้ทรัพยากรในการด�ำเนินการ ชนิด ประเภท แหล่งที่มาของทรพั ยากร สถานะของทรพั ยากร และการส่งกำ� ลังบ�ำรงุ ฯลฯ ทั้งนี้ ในกรณีสาธารณภัยท่ีเกิดข้ึนมีความซับซ้อน หรือต้องใช้ระยะเวลาในการจัดการนานกว่า เหตกุ ารณท์ วั่ ไป ทำ� ใหม้ คี วามจำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารวางแผนปฏบิ ตั งิ านอยา่ งตอ่ เนอื่ ง อาจพจิ ารณาจดั ใหม้ เี จา้ หนา้ ท่ี (Staffs) หรือชุดเจ้าหน้าท่ี (Team) เพอ่ื สนับสนนุ การจัดการเหตกุ ารณข์ ององคก์ รปฏิบตั กิ ารจดั การในภาวะฉกุ เฉิน รว่ มกนั สนับสนนุ การจัดการเหตกุ ารณเ์ ปน็ กลุ่มภารกจิ เพ่อื ให้เกดิ ความครอบคลมุ และต่อเนื่อง ซ่งึ ต้องมีบุคลากร ทมี่ ีความรู้ ความเขา้ ใจระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ (Incident Command System: ICS) ทำ� หนา้ ทส่ี นบั สนนุ การจดั การเหตกุ ารณ์ ตามภารกจิ ท่จี ำ� เปน็ ภายใต้โครงสรา้ งขององคก์ รปฏบิ ัตกิ ารจดั การในภาวะฉกุ เฉิน (EOC) โดยประยกุ ต์ใชก้ ับบริบท ของพื้นที่และเหตุการณ์ เช่น เจ้าหน้าที่สนับสนุนการจัดการเหตุการณ์ (Incident Management Assistance Team: IMAT) เป็นต้น ในการเข้าสนับสนุนภารกิจขององค์กรปฏิบัติการจัดการในภาวะฉุกเฉิน หรือในภารกิจใด ภารกจิ หนงึ่ เป็นการเฉพาะ เพื่อใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึน้ โดยมีภารกจิ ดา้ นต่าง ๆ ดังน้ี (5.1) ภารกจิ ดา้ นตดิ ตามเฝา้ ระวงั สถานการณ์ (Situation Awareness) ทำ� หนา้ ทตี่ ดิ ตาม เฝา้ ระวงั ประเมนิ สถานการณ์อย่างใกลช้ ิด ประสาน เชอื่ มโยงขอ้ มูลกับหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง จดั ท�ำฐานขอ้ มลู ใหพ้ รอ้ มใช้ กำ� หนดทางเลอื กในการตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายหรอื มาตรการ และจดั ทำ� สรปุ รายงานสถานการณ์ เปน็ ระยะ ๆ เสนอต่อผูบ้ ัญชาการเหตกุ ารณเ์ พือ่ ใชใ้ นการประกอบการตัดสนิ ใจในการบญั ชาการเหตุการณ์ (5.2) ภารกจิ ดา้ นการประสานงานและการตดิ ตามการปฏบิ ตั ิ ทำ� หนา้ ทปี่ ระสานงานกบั หนว่ ยงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายภารกจิ ตามทอ่ี งคก์ รปฏบิ ตั กิ ารจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ สง่ั การ การตดิ ตามความกา้ วหนา้ ในการดำ� เนนิ การ การปฏิบตั ติ ามแผนงาน ระหว่างหน่วยงานหรอื ภารกจิ ทตี่ ้องดำ� เนนิ การร่วมกนั (5.3) ภารกจิ ดา้ นบริหารจดั การข้อมลู ข่าวสารและการขา่ วร่วมกัน (Information Management) เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ผ่านการสังเคราะห์และวิเคราะห์สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ในการก�ำหนดแนวทางหรือมาตรการ ในการจัดการความเสย่ี งจากสาธารณภยั ได้ (Intelligence) (5.4) ภารกจิ การประเมนิ ความเสยี หายและความตอ้ งการความชว่ ยเหลอื โดยใชห้ ลกั การวเิ คราะห์ ความเสียหายและประเมินความต้องการความช่วยเหลอื (Damage Analysis and Needs Assessment: DANA) และการประเมินความต้องการหลงั เกดิ สาธารณภัย (Post Disaster Needs Assessment: PDNA) (5.5) ภารกจิ ดา้ นระเบยี บกฎหมาย งบประมาณ การเงนิ และบญั ชี ทำ� หนา้ ทป่ี ระมวลกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เสนอทางเลอื กของการดำ� เนนิ การทสี่ อดคลอ้ งกบั ระเบยี บกฎหมาย กลนั่ กรองคำ� สงั่ การขององคก์ รปฏบิ ตั กิ ารจดั การ ในภาวะฉกุ เฉนิ บรหิ ารจดั การงบประมาณใหเ้ พยี งพอตอ่ การดำ� เนนิ งานในการบรหิ ารจดั การสาธารณภยั จดั หาทรพั ยากร ทีจ่ ำ� เปน็ ในการปฏบิ ตั ิงานโดยกระบวนการจดั ซ้อื จัดจ้าง ตรวจสอบการรบั การจา่ ยเงนิ และสนบั สนนุ การปฏิบัตงิ าน ของเจา้ หน้าท่ที ่ีปฏบิ ัตงิ านใหเ้ กดิ ความคล่องตวั แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 127

ท้งั น้ี องค์กรปฏิบตั กิ ารจดั การในภาวะฉกุ เฉิน (EOC) ในแต่ละระดับ สามารถพิจารณาจัดสง่ หรือขอรบั การสนับสนุนเจา้ หนา้ ท่ี (Staffs) หรือชุดเจ้าหน้าท่ี (Team) เพือ่ เข้าร่วมสนับสนุนการจดั การเหตุการณ์ หากกำ� ลังพลไมเ่ พียงพอ หรอื มีความตอ้ งการความเช่ยี วชาญ สามารถสับเปลยี่ นก�ำลังเพ่อื ให้ การทำ� งานมคี วามราบรื่น ชว่ ยเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ในการปฏบิ ตั งิ านตามภารกจิ โดยใหพ้ จิ ารณาถงึ สถานการณส์ าธารณภยั ระดบั การจดั การ สาธารณภัย ความจ�ำเปน็ จ�ำนวน และความเชยี่ วชาญของเจา้ หน้าท่ี (Staffs) หรือชดุ เจา้ หน้าท่ี (Team) โดยองคก์ ร ปฏบิ ตั กิ ารจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ (EOC) ทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ จะตอ้ งจดั เจา้ หนา้ ท่ี (Staffs) หรอื ชดุ เจา้ หนา้ ท่ี (Team) ผนวกเขา้ กบั โครงสร้างกองบญั ชาการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ / ศูนยบ์ ญั ชาการเหตุการณ์ กลยทุ ธ์ที่ 3 เพิ่มประสิทธภิ าพระบบและแนวปฏบิ ัตใิ นการบรรเทาทุกข์ (1) แนวทางปฏิบตั ใิ นการขอใช้เงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยพบิ ตั ิกรณฉี กุ เฉิน ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหส้ ว่ นราชการมวี งเงนิ ทดรองราชการในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื หรอื สนบั สนนุ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยพิบัติ กรณีจ�ำเป็นเร่งด่วนท่ีไม่สามารถรอการเบิกเงินจากงบประมาณได้ โดยมุ่งหมายที่จะบรรเทา ความเดอื ดรอ้ นเฉพาะหนา้ ของผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ิ แตม่ ไิ ดม้ งุ่ หมายทจ่ี ะชดใชค้ วามเสยี หายใหแ้ กผ่ ใู้ ด ซงึ่ ตอ้ งเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย ท่ีจ�ำเป็นในการด�ำรงชีพและความเป็นอยู่ของประชาชน หรือเป็นการซ่อมแซมให้คืนสู่สภาพเดิม โดยการเบิกจ่าย เงนิ ทดรองราชการใหถ้ อื ปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และอตั รา การชว่ ยเหลอื ทกี่ ระทรวงการคลงั กำ� หนด และเมอื่ ส่วนราชการได้จ่ายเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินไปแล้ว ต้องด�ำเนินการขอรับ โอนเงนิ งบประมาณรายจา่ ยเพอ่ื ชดใชเ้ งนิ ทดรองราชการตามทร่ี ะเบยี บกำ� หนด ซงึ่ วงเงนิ ทดรองราชการตามระเบยี บน้ี มี 2 ประเภท ดังน้ี (1.1) วงเงนิ ทดรองราชการในเชงิ ปอ้ งกนั หรอื ยบั ยง้ั ภัยพิบตั กิ รณฉี กุ เฉิน สามารถใช้จ่ายไดเ้ มอ่ื เป็น ทคี่ าดหมายวา่ จะเกดิ ภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ ขน้ึ ในระยะเวลาอนั ใกลแ้ ละจำ� เปน็ ตอ้ งรบี ดำ� เนนิ การโดยฉบั พลนั โดยไมต่ อ้ ง ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ส�ำหรับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการให้ถือปฏิบัติ ตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่อื นไขทกี่ รมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ก�ำหนด โดยความเหน็ ชอบของกระทรวง การคลัง (1.2) วงเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในการให้ ความช่วยเหลือ หรือสนับสนุนการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ สามารถใช้จ่ายได้เมื่อภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินเกิดขึ้นในท้องท่ี โดยตอ้ งประกาศเขตการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ สำ� หรบั การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ิ ใหถ้ อื ปฏบิ ตั ิตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงือ่ นไข และอตั ราทีก่ ระทรวงการคลังกำ� หนด (2) แนวทางปฏิบตั ิในการประเมนิ ความเสยี หายและความต้องการความช่วยเหลือ (Damage and Need Assessment: DANA) ให้กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละระดับ ประเมินสถานการณ์ความเสียหาย และความตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ภายในพน้ื ทป่ี ระสบภยั ตามหลกั การดา้ นมนษุ ยธรรมในเบอ้ื งตน้ (Early Recovery) เปน็ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกผ่ ทู้ ไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากสาธารณภยั ในชว่ งของการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ ขณะทส่ี ถานการณ์ 128 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

สาธารณภยั กำ� ลงั ดำ� เนนิ อยู่ โดยมกี ารประเมนิ ความเสยี หายทางกายภาพและการประเมนิ ความตอ้ งการรบั ความชว่ ยเหลอื ของผทู้ ไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ (Damage and Need Assessment: DANA) เพอื่ ใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งสามารถดำ� เนนิ การ ให้ความช่วยเหลอื ได้อย่างครอบคลุม รวดเร็ว และตรงกบั ความตอ้ งการของผรู้ ับความชว่ ยเหลอื ในระยะเวลาส้ัน ๆ และใหผ้ ปู้ ระสบภยั สามารถดำ� รงชวี ติ ในสถานการณส์ าธารณภยั ดงั กลา่ วไดอ้ ยา่ งปลอดภยั และวเิ คราะหค์ วามสามารถ ของผปู้ ระสบภยั ในการตอบโตส้ ถานการณฉ์ กุ เฉนิ ดว้ ยตนเอง รวมทงั้ ความตอ้ งการความชว่ ยเหลอื เพมิ่ เตมิ จากหนว่ ยงาน ภายนอก เชน่ ความชว่ ยเหลอื ดา้ นอาหาร นำ�้ ดม่ื การรกั ษาพยาบาล สขุ อนามยั และการกำ� จดั สงิ่ ปฏกิ ลู ความชว่ ยเหลอื ดา้ นสขุ ภาวะ ทพี่ กั พงิ อปุ กรณย์ งั ชพี เปน็ ตน้ การประเมนิ นเี้ ปน็ กระบวนการทส่ี ำ� คญั ในการปฏบิ ตั งิ านดา้ นมนษุ ยธรรม และการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัยให้อยูร่ อดปลอดภัย โดยมีหลกั การปฏิบตั ิ ดังน้ี (2.1) การประเมินเพื่อวิเคราะห์ผลกระทบเบื้องต้น (Initial Assessment) ให้ด�ำเนินการภายใน 3 ช่ัวโมงแรก โดยรวบรวมข้อมูลก่อนเกิดภัยมาประเมินและวิเคราะห์ผลกระทบเบื้องต้น เช่น ข้อมูลประชากร ข้อมูลทรัพยากร ข้อมูลพ้ืนฐานของพื้นท่ีประสบภัย ข้อมูลด้านการเกษตร ข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ รายงาน จากส่อื ต่าง ๆ และเอกสารสรปุ ขอ้ มูลส�ำคญั เปน็ ต้น (2.2) การประเมนิ แบบรวดเรว็ (Rapid Assessment) ใหด้ ำ� เนนิ การทนั ทภี ายหลงั จากเกดิ สาธารณภยั ต่อเน่ืองไป 72 ช่ัวโมง โดยเป็นการประเมินเพ่ือรวบรวมข้อมูลความต้องการทรัพยากรท่ีจ�ำเป็นในทุก ๆ ด้าน ท้งั ผู้ประสบภัย โครงสรา้ งพ้ืนฐาน ส่งิ แวดล้อม และสง่ิ ที่ควรปฏิบัตหิ ลังจากเกดิ ภยั ลำ� ดับความสำ� คญั ก่อนและหลงั ในการให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น เพื่อให้การด�ำเนินความช่วยเหลือมีประสิทธิภาพและทันต่อความต้องการ ในภาวะฉกุ เฉิน โดยให้ความสำ� คัญกับการช่วยชวี ติ เป็นความเรง่ ด่วนในลำ� ดับแรก (2.3) การประเมินแบบละเอียด (Detailed Assessment) ใหด้ �ำเนนิ การเม่ือภาวะฉุกเฉินสิน้ สดุ ลง หรอื อยา่ งนอ้ ยภายใน 2 สปั ดาห์ ขน้ึ อยกู่ บั การเขา้ ถงึ พนื้ ทป่ี ระสบภยั ซง่ึ เปน็ การประเมนิ เพอื่ ใชใ้ นการฟน้ื ฟรู ะยะสนั้ ระยะกลาง และระยะยาวไดอ้ กี ดว้ ย โดยตอ้ งประเมนิ มลู คา่ ความเสยี หายในมติ ติ า่ ง ๆ ทางกายภาพ โครงสรา้ งทางสงั คม ประมาณการดา้ นการเงนิ และเครอื่ งมอื วสั ดอุ ปุ กรณท์ จ่ี ะตอ้ งใชใ้ นการใหค้ วามชว่ ยเหลอื อยา่ งตอ่ เนอื่ งตามความจำ� เปน็ ท้ังน้ี จ�ำเป็นต้องใช้ผู้เช่ียวชาญในแต่ละสาขาด�ำเนินการประเมินความเสียหายและความต้องการความช่วยเหลือ ในแตล่ ะด้าน ทงั้ น้ี การประเมนิ ความเสยี หายและความตอ้ งการความชว่ ยเหลอื จะตอ้ งมคี วามเชอื่ มโยงกบั การตอบสนองความต้องการของผู้ท่ีไดร้ ับผลกระทบ โดยค�ำนงึ ถงึ ปจั จยั ด้านต่าง ๆ เชน่ อายุ เพศ เชือ้ ชาติ ศาสนา กลุม่ เปราะบาง เปน็ ตน้ (3) แนวทางปฏิบัตใิ นการรบั บรจิ าค หากกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ หรอื กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัยแต่ละระดับ พิจารณาเห็นว่า มีความจ�ำเป็นต้องจัดให้มีการรับบริจาคเงิน หรือทรัพย์สินเพื่อช่วยเหลือ ผปู้ ระสบสาธารณภัยใหด้ ำ� เนนิ การตามระเบียบที่เก่ียวข้อง ดังนี้ (3.1) ระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการรบั บรจิ าคและการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบสาธารณภยั พ.ศ. 2542 และทีแ่ ก้ไขเพ่มิ เตมิ (3.2) ระเบียบส�ำนกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการเรีย่ ไรของหน่วยงานของรฐั พ.ศ. 2544 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 129

(3.3) ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการรบั เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ทมี่ ผี บู้ รจิ าคใหท้ างราชการ พ.ศ. 2526 (3.4) ระเบยี บกรมพฒั นาสงั คมและสวสั ดกิ ารวา่ ดว้ ยการรบั บรจิ าคสง่ิ ของเหลอื ใชข้ องศนู ยร์ บั บรจิ าค เพือ่ การสงเคราะห์ผู้เดือดรอ้ น พ.ศ. 2547 (3.5) ระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยมาตรการทางบริหาร สำ� หรับการชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสงั คม ของกระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ พ.ศ. 2561 กรณที บ่ี คุ คล หนว่ ยงาน หรอื องคก์ รใดจดั ตง้ั ศนู ยร์ บั บรจิ าคเพอ่ื ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบสาธารณภยั โดยท่ีบุคคล หน่วยงานหรือองค์กรน้นั ไมไ่ ด้รบั มอบภารกจิ ใด ๆ จากกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ หรือกองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละระดับ ให้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการขนย้าย และบรหิ ารจดั การส่งมอบส่งิ ของบรจิ าคเอง ใหก้ รมบญั ชกี ลางและสำ� นกั นายกรฐั มนตรจี ดั ทำ� แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการรบั บรจิ าค และการให้ ความช่วยเหลือผูป้ ระสบสาธารณภยั (4) แนวทางปฏิบตั ิในการรายงานขอ้ มูล การรายงานขอ้ มลู ขา่ วสารกรณเี กดิ สาธารณภยั ใหผ้ รู้ บั ผดิ ชอบจดั ทำ� รายงาน และขอ้ เทจ็ จรงิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ท้งั ด้านสถานการณ์สาธารณภัย ดา้ นการปฏบิ ตั กิ ารระงับบรรเทาสาธารณภยั ด้านการใหค้ วามชว่ ยเหลือ และดา้ นอื่น ๆ ท่ีจำ� เปน็ โดยค�ำนงึ ถึงความถกู ตอ้ ง ความชัดเจน ครบถว้ น รวดเรว็ และสามารถใชเ้ ป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ของผ้บู ญั ชาการเหตกุ ารณ์ ในการวางแผนการดำ� เนนิ งานในระยะตอ่ ไป ดังนี้ (4.1) ให้ผู้น�ำชุมชนส�ำรวจ รวบรวมความเสียหายและความต้องการเบื้องต้น แล้วรายงานให้ ศนู ย์บัญชาการเหตกุ ารณ์ระดับพ้นื ที่ทราบ (4.2) ให้ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ระดับพ้ืนที่ รายงานสถานการณ์สาธารณภัยต่อศูนย์บัญชาการ เหตกุ ารณ/์ กองอำ� นวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ตามล�ำดบั ชัน้ ทเ่ี หนือข้นึ ไป (4.3) ให้ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์/กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตพ้ืนท่ี รายงานสถานการณส์ าธารณภยั ตอ่ กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แตล่ ะระดบั และกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาตติ ามลำ� ดับชน้ั ที่เหนือข้นึ ไป (5) แนวทางปฏบิ ัติในการจัดต้งั ศนู ย์พกั พงิ ชัว่ คราว ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวเปน็ สถานทที่ ไ่ี ดจ้ ดั เตรยี มไวส้ ำ� หรบั ผปู้ ระสบภยั ทม่ี คี วามจำ� เปน็ ตอ้ งยา้ ยออกจาก ทอ่ี ยอู่ าศยั เดมิ เนอ่ื งจากไดร้ บั ผลกระทบจากสาธารณภยั จนไมส่ ามารถอาศยั อยไู่ ดโ้ ดยผปู้ ระสบภยั จะอาศยั อยชู่ วั่ คราว จนกวา่ สถานการณ์ภยั จะยุติ หรอื ทอี่ ยอู่ าศยั เดมิ จะไดร้ ับการฟืน้ ฟู หรอื มกี ารซอ่ มสรา้ งใหส้ ามารถอพยพกลับไปอาศัยได้ ท้ังนี้ การบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราวให้เป็นไปตามมาตรฐานของแผนการบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว โดยจะต้องสามารถตอบสนองความต้องการพื้นฐานให้แก่ผู้ประสบภัยได้อย่างพอเพียง ท้ังการบริการด้านโภชนาการ อาหาร น้ำ� ดื่ม ความปลอดภยั คณุ ภาพชีวติ สาธารณปู โภค รวมถงึ สขุ าภิบาลและสขุ อนามัย โดยจะต้องดำ� เนนิ การ ดังน้ี 130 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(5.1) การเปิดศูนยพ์ กั พิงชวั่ คราว (5.1.1) จัดให้มีการท�ำทะเบียนผู้อพยพอย่างละเอียด โดยค�ำนึงถึงกลุ่มเปราะบาง ทางสงั คม เพ่ือให้ทราบความต้องการพื้นฐาน และความต้องการพิเศษของผู้อพยพ ท้ังข้อมูลประชากร ข้อมูลส่วนบุคคล และรายงานให้ศูนย์บญั ชาการเหตุการณท์ ราบ (5.1.2) จัดให้มีอาหาร น�้ำดม่ื และความตอ้ งการพิเศษอย่างพอเพยี ง เชน่ นมเด็กทารก (5.1.3) จดั ใหม้ กี ารกำ� หนดพนื้ ทอ่ี าศยั ภายในศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวโดยคำ� นงึ ถงึ ความปลอดภยั ของผอู้ พยพ ซงึ่ หมายความรวมถงึ ข้อจ�ำกดั ทางการแพทย์ ประเด็นทางมิตหิ ญิงชาย เพศสภาพ และกลมุ่ เปราะบาง (5.1.4) ให้ศูนย์พักพิงช่ัวคราวจัดให้มีระบบสาธารณูปโภค เช่น ประปา ไฟฟ้า เพอื่ อำ� นวย ความสะดวกให้เพยี งพอและท่วั ถงึ (5.1.5) จัดให้มีระบบการแพทย์และการสาธารณสุขสนับสนุนภายในศูนย์พักพิงชั่วคราว เพ่ือดแู ลทัง้ สุขภาพกายและสขุ ภาพจติ (5.2) การบริหารจดั การศนู ย์พกั พิงชวั่ คราว (5.2.1) ก�ำหนดผู้รับผิดชอบตามโครงสร้างการบริหารจัดการศูนย์พักพิงให้มีความชัดเจน โดยให้ความส�ำคัญกบั การมสี ่วนรว่ มของผู้อพยพภายในศนู ยพ์ ักพิงชัว่ คราวเพื่อสนับสนุน การทำ� งานของภาครฐั (5.2.2) ก�ำหนดให้มีการชี้แจงท�ำความเข้าใจกฎระเบียบในการอาศัยอยู่ร่วมกันภายใน ศูนย์พักพิงชั่วคราวที่ชัดเจนให้ผู้อพยพรับทราบและถือปฏิบัติ รวมถึงการสร้างความเข้าใจให้แก่ชุมชนโดยรอบ ศูนย์พักพงิ ชว่ั คราวด้วย (5.2.3) จดั ใหม้ กี ารเผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู สถานการณภ์ ยั อยา่ งเปน็ ระบบใหท้ วั่ ถงึ และต่อเน่อื ง (5.2.4) จดั ใหม้ รี ะบบการรักษาความสงบเรยี บรอ้ ยภายในศนู ยพ์ ักพิงชว่ั คราว โดยเจา้ หน้าท่ี อาสาสมัคร และการมสี ่วนร่วมของผ้อู พยพตามความเหมาะสม (5.3) การปิดศนู ยพ์ ักพงิ ช่ัวคราว เมอื่ สถานการณภ์ ยั ยตุ ิ และผอู้ พยพสามารถอพยพกลบั ไปยงั ทอี่ ยอู่ าศยั เดมิ หรอื ทอี่ ยอู่ าศยั ใหม่ ใหด้ �ำเนินการ ดงั น้ี (5.3.1) จดั ใหม้ กี ารแจง้ การปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวใหผ้ อู้ พยพทราบลว่ งหนา้ พรอ้ มจดั ทำ� ทะเบยี น ผูอ้ พยพกลบั อย่างเปน็ ระบบ (5.3.2) ประสานการเตรียมความพรอ้ มอพยพกลบั ตามแผนการส่งกลบั (5.3.3) ให้มีการแจ้งประกาศปิดศูนย์พักพิงชั่วคราวอย่างเป็นทางการ พร้อมท้ังรายงานให้ ศนู ย์บัญชาการเหตุการณท์ ีร่ ับผิดชอบทราบ แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 131

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเพิม่ ประสทิ ธิภาพการฟ้ืนฟูอยา่ งยงั่ ยนื หลังจากการจัดการในภาวะฉุกเฉินจากสาธารณภัยก็จะเข้าสู่ระยะฟื้นฟู โดยใช้กระบวนการฟื้นสภาพ (Rehabilitation) และซ่อมสร้าง (Reconstruction) ซึ่งเป็นการด�ำเนินการเพ่ือปรับสภาพระบบสาธารณูปโภค การด�ำรงชีวิต และสภาวะวิถีความเป็นอยู่ของชุมชนที่ประสบภัยให้กลับสู่สภาวะปกติ หรือพัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิม ตามความเหมาะสม โดยแบง่ ระยะเวลาในการด�ำเนนิ การออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ 1) ระยะสนั้ เป็นการดำ� เนินการ เพอ่ื บรรเทาหรอื ชว่ ยเหลอื เมอื่ ภาวะฉกุ เฉนิ ไดผ้ า่ นพน้ ไปแลว้ ไมใ่ หเ้ กดิ อนั ตรายหรอื สาธารณภยั ซำ�้ อกี เชน่ การประเมนิ ความเสยี หายขนั้ พนื้ ฐาน การจดั ทพี่ กั อาศยั ชวั่ คราว และการใหบ้ รกิ ารสาธารณะ 2) ระยะกลาง เปน็ การดำ� เนนิ การ ตอ่ เน่อื งเพอ่ื ฟืน้ ฟหู รอื สรา้ งส่ิงอำ� นวยความสะดวก ในการด�ำรงชีวติ ข้ึนใหม่ เช่น การฟ้ืนฟูเศรษฐกจิ และส่ิงแวดลอ้ ม รวมทงั้ สภาพจติ ใจ รา่ งกาย และสงั คม ของผปู้ ระสบภยั และ 3) ระยะยาว เปน็ การดำ� เนนิ การตอ่ เนอื่ งจากระยะกลาง เชน่ การซอ่ มสรา้ งโครงสรา้ งพนื้ ฐานตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ ซง่ึ อาจจะใชร้ ะยะเวลาในการดำ� เนนิ การยาวนาน นบั จากเกดิ สาธารณภยั ไปจนกว่าสถานการณจ์ ะกลบั เขา้ ส่สู ภาวะปกติ เพอ่ื การฟนื้ ฟใู ห้ดกี ว่าและปลอดภัยกวา่ เดิม 1. แนวคดิ ในการฟืน้ ฟู 1.1 แนวคดิ การพัฒนาใหด้ กี วา่ และปลอดภัยกวา่ เดิม (Build Back Better and Safer) มุ่งให้ความส�ำคัญกับการลดความเส่ียงที่มีอยู่เดิมและป้องกันไม่ให้ความเสี่ยงใหม่เกิดขึ้น เพ่ือมุ่งสู่ การเป็นชุมชนหรือสังคมที่มีความพร้อมรับและฟื้นกลับเร็วต่อสาธารณภัยอย่างยั่งยืน (Resilience) ประกอบด้วย แนวทางมาตรการต่าง ๆ ทางด้านการฟื้นฟู ได้แก่ 1) การช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้ เพื่อให้การด�ำรงชีวิตกลับเข้าสู่ภาวะปกติ โดยไม่จ�ำเป็นต้องพ่ึงพิงความช่วยเหลือจากภายนอกแต่เพียงอย่างเดียว 2) ผปู้ ระสบภยั มสี ่วนรว่ มในกระบวนการตดั สนิ ใจ เพ่อื ใหเ้ กิดการยอมรบั และมสี ่วนรว่ มในขั้นตอนต่าง ๆ ทจ่ี ะด�ำเนนิ การ 3) การพจิ ารณาประเดน็ ความเส่ียงจากสาธารณภยั ในการด�ำเนนิ การฟื้นคืนสภาพและการสรา้ งใหม่ 4) การด�ำเนนิ การ ซ่อมสร้างให้เร็วขึ้น (Building Back Faster) เท่าท่ีสามารถท�ำได้เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดตามมา โดยเฉพาะ ทางดา้ นการดำ� รงชวี ติ 5) การสรา้ งใหม่ ใหม้ คี วามมนั่ คงแขง็ แรงกวา่ เดมิ (Building Back Stronger) เพอ่ื ใหส้ ามารถ ทนตอ่ สาธารณภยั ในอนาคต 6) การใหค้ วามสำ� คญั กบั การซอ่ มสรา้ งแกก่ ลมุ่ เสย่ี งทมี่ โี อกาสไดร้ บั ผลกระทบจากสาธารณภยั มากที่สุด (Building Back Inclusively) และ 7) การปรับวิถีชีวิตที่ไม่คุ้นเคย ให้เป็นสิ่งปกติใหม่ (New Normal) ในการรับมือสาธารณภัยรูปแบบใหม่ท่ีอาจเกิดข้ึน ทั้งน้ี หากรัฐสามารถด�ำเนินการฟื้นฟูได้ตามแนวทางดังกล่าว จะสง่ ผลตอ่ การใช้งบประมาณในการลงทนุ ดา้ นการฟนื้ ฟูที่มปี ระสิทธภิ าพและคมุ้ คา่ อยา่ งแทจ้ รงิ อย่างไรก็ตาม การฟื้นฟูท่ีดีกว่าและปลอดภัยกว่าเดิม โดยเฉพาะในกระบวนการฟื้นสภาพ และการซอ่ มสรา้ งเปน็ การดำ� เนนิ การทตี่ อ้ งใชร้ ะยะเวลานาน และมกั จะถกู กำ� หนดไวเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ในแผนพฒั นาประเทศ ซงึ่ ถอื เปน็ มาตรการทางดา้ นการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั ทรี่ ฐั จะตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั ในการดำ� เนนิ การเปน็ ลำ� ดบั ตน้ ๆ เพ่อื สร้างความพรอ้ มรบั และฟนื้ กลบั เร็วให้แกป่ ระเทศ ดังแผนภาพท่ี 4-6 132 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

พฒั นาให้ดกี ว่าและปลอดภัยกว่าเดิม เตรียมความพรอม ปองกันและลดผลกระทบ เผชิญเหตุ ฟนฟบู รู ณะ เตรยี มความพรอม เผชิญเหตุ ปองกนั และลดผลกระทบ ฟน ฟบู ูรณะ แผนภาพท่ี 4-6 วงจรการจัดการสาธารณภยั สู่การพฒั นาใหด้ ีกวา่ และปลอดภัยกวา่ เดิม 1.2 เคร่อื งมอื ในการขบั เคลือ่ นการพฒั นาให้ดกี ว่าและปลอดภยั กวา่ เดิม เปน็ การประเมนิ เพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ความตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ของผปู้ ระสบภยั ทส่ี ามารถนำ� มาวเิ คราะห์ ประมวลผล และนำ� ไปประกอบในการด�ำเนินมาตรการตา่ ง ๆ ตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม ได้แก่ 1) กอ่ นเกดิ ภยั (ระยะ 0) เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อเตรียมพร้อมส�ำหรับการประเมินและการวางแผน และ 2) หลังเกิดภัย (ระยะท่ี 1 - ระยะท่ี 4) แบง่ เป็น ระยะท่ี 1 เปน็ การประเมินและวิเคราะหผ์ ลกระทบเบอื้ งต้น (Initial Assessment) ภายใน 3 วันแรก โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิเป็นหลัก ระยะที่ 2 เป็นการประเมินอย่างรวดเร็ว (Rapid Assessment) ตอ่ จากระยะที่ 1 ประมาณ 2 สปั ดาห์ โดยการใช้ข้อมลู ปฐมภูมเิ พิ่มเติมท่ไี ด้จากการส�ำรวจภาคสนาม เพือ่ วิเคราะห์ ผลกระทบและดำ� เนนิ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื บรรเทาทกุ ขอ์ ยา่ งเรง่ ดว่ น การดำ� เนนิ การดงั กลา่ วทงั้ 2 ระยะจะใชแ้ นวทาง การประเมนิ ความเสียหายและความต้องการความชว่ ยเหลือ (Damage and Need Assessment: DANA) เปน็ เครือ่ งมอื ในการประเมนิ ระยะที่ 3 - ระยะที่ 4 จะใชแ้ นวทางการประเมนิ ความต้องการหลงั เกดิ สาธารณภยั (Post-Disaster Need Assessment: PDNA) เป็นเคร่ืองมือในการประเมิน ซึ่งเป็นการประเมินแบบเชิงลึก (In-depth Assessment) ตอ่ เน่อื งจากระยะที่ 2 ในรายละเอยี ดของแตล่ ะสาขาหรอื ภาคสว่ นทีไ่ ด้รับผลกระทบมาใช้ ในการประเมนิ ไปสกู่ ระบวนการวางแผนฟ้นื ฟตู อ่ ไป โดยดังแสดงในแผนภาพที่ 4-7 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 133

ดดั แปลงจาก : UNDAC Field Handbook. (2013). 6th Edition. แผนภาพที่ 4-7 กระบวนการประเมนิ เพอ่ื การปฏิบตั งิ านด้านการใหค้ วามช่วยเหลือดา้ นมนุษยธรรม 2. เป้าประสงค์ 2.1 เพ่ือฟื้นฟูให้ผู้ประสบภัยได้รับการสงเคราะห์ช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว ท่ัวถึง ต่อเนื่อง เป็นธรรม สอดรบั กบั ความจ�ำเป็นในการใหค้ วามช่วยเหลือ และสามารถกลบั ไปดำ� รงชีวติ ได้ตามปกติ 2.2 เพอื่ ฟน้ื ฟพู น้ื ทป่ี ระสบภยั ใหม้ กี ารซอ่ มสรา้ งและฟน้ื สภาพใหก้ ลบั คนื สสู่ ภาวะปกตโิ ดยเรว็ หรอื ใหด้ กี วา่ และปลอดภยั กว่าเดิม 3. กลยทุ ธก์ ารเพ่มิ ประสิทธภิ าพการฟื้นฟูอยา่ งยงั่ ยืน กลยุทธท์ ี่ 1 พัฒนาระบบการประเมนิ ความเสี่ยงเพอ่ื การฟ้นื ฟหู ลังเกิดสาธารณภัยให้ดกี ว่าเดิม การประเมนิ ความตอ้ งการหลังเกิดสาธารณภยั (Post-Disaster Needs Assessment: PDNA) เป็นเครอ่ื งมือ ท่เี กบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในรายละเอียดของแตล่ ะภาคส่วนท่เี ก่ยี วข้อง เพ่อื น�ำไปวเิ คราะห์ ประมวลผล และวางแผนในการ ด�ำเนินมาตรการตา่ ง ๆ เพอื่ ฟืน้ ฟูอยา่ งยงั่ ยนื ตามความจ�ำเปน็ โดยใชข้ อ้ มูลความเสียหาย ความสญู เสีย ผลกระทบ และความต้องการในการฟน้ื ฟู (1) แนวทางปฏิบตั ิการใหค้ วามช่วยเหลอื ประชาชนเพือ่ การฟ้นื ฟูหลงั เกิดสาธารณภัย ใหม้ กี ารประเมินความเสียหายและความสญู เสียเพื่อการฟน้ื ฟหู ลงั เกดิ สาธารณภยั โดยการประมาณ การความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ระบบสาธารณูปโภค สภาพแวดล้อม ระบบนิเวศ และทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกท�ำลายหรือได้รับผลกระทบจากสาธารณภัย เพื่อประเมินความต้องการและจ�ำเป็น ในการฟ้นื ฟภู ายหลงั เกดิ สาธารณภยั โดยมแี นวทางปฏบิ ตั ิ ดังน้ี 134 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(1.1) ส�ำรวจระบบสาธารณูปโภคและสงิ่ สาธารณประโยชน์ต่าง ๆ จนถงึ ระดบั ครวั เรือน รวมทงั้ จดั ทำ� ฐานข้อมูลการส�ำรวจความเสียหายเพื่อเป็นข้อมูลในการฟื้นฟู และประเมินความต้องการ และจ�ำเป็นในการฟื้นฟู หลังการเกิดสาธารณภยั เช่น ข้อมลู พืน้ ฐานดา้ นชมุ ชน (ประชากร เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม) ข้อมลู การฟ้ืนฟู ผ้ปู ระสบภยั (ด้านอาหาร การเงิน สง่ิ ของเครอ่ื งใช้ ท่พี กั พิง สุขภาพ สขุ าภบิ าล และสง่ิ แวดลอ้ มการประกอบอาชีพ) ขอ้ มลู การฟน้ื ฟพู น้ื ทป่ี ระสบภยั (ทอี่ ยอู่ าศยั การศกึ ษา การดแู ลสขุ ภาพ สง่ิ กอ่ สรา้ งตา่ ง ๆ เกษตรกรรม การชลประทาน การขนสง่ การสอื่ สาร อุตสาหกรรม ระบบสุขาภบิ าล) เป็นตน้ (1.2) เสนอขอรบั การสนบั สนุนความตอ้ งการและจำ� เป็นในการฟืน้ ฟูหลงั การเกิดสาธารณภยั (1.2.1) การใชจ้ า่ ยจากงบประมาณปกตทิ ส่ี ว่ นราชการไดร้ บั การจดั สรรตามภารกจิ เชน่ อาคาร ของส่วนราชการได้รับความเสียหายจากสาธารณภัย เป็นต้น ตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 และระเบยี บว่าด้วยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. 2562 (1.2.2) คณะกรรมการช่วยเหลือประชาชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พิจารณา ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ประชาชนตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยคา่ ใชจ้ า่ ยเพอื่ ชว่ ยเหลอื ประชาชนตามอำ� นาจหนา้ ที่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ (1.2.3) คณะกรรมการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั อิ ำ� เภอ (ก.ช.ภ.อ.) และคณะกรรมการ ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติจังหวัด (ก.ช.ภ.จ.) ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการ เพือ่ ช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณีฉกุ เฉนิ โดยพจิ ารณาใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตามล�ำดับ และมกี �ำหนดระยะเวลาการ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ 3 เดอื น นบั แตว่ นั ทเี่ กดิ ภยั ซง่ึ อธบิ ดกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั มีอ�ำนาจพิจารณาขยายระยะเวลาดังกล่าว ทั้งน้ี ไม่รวมถึง ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ และไม่สามารถ สรา้ งสง่ิ กอ่ สรา้ งหรอื สาธารณปู โภคทถ่ี าวรหรอื กอ่ สรา้ งใหมไ่ ด้ กรณวี งเงนิ ทดรองราชการไมเ่ พยี งพอตอ่ การใหค้ วาม ชว่ ยเหลอื ให้เสนอขอขยายวงเงนิ ไปยงั กระทรวงการคลงั (1.2.4) การเสนอขอรบั การสนบั สนนุ วงเงนิ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ในกรณที ค่ี วามเสยี หายมมี ลู คา่ มากกวา่ วงเงนิ ทผ่ี วู้ า่ ราชการจงั หวดั มอี ำ� นาจอนมุ ตั ติ ามระเบยี บหรอื งบประมาณจงั หวดั มไี มเ่ พยี งพอ หรอื เปน็ รายการฟน้ื ฟู ใหด้ กี ว่าเดมิ จากวงเงนิ งบกลาง รายการเงนิ สำ� รองจ่ายเพ่อื กรณฉี กุ เฉนิ หรอื จำ� เป็นผ่านคณะรฐั มนตรี หรือกองทนุ เงนิ ช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภยั สำ� นักนายกรฐั มนตรี (1.3) รายงานสรุปการประเมินความต้องการและความจ�ำเป็นในเบ้ืองต้นให้ผู้อ�ำนวยการจังหวัด ผอู้ ำ� นวยการกลาง ผูบ้ ัญชาการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตแิ ละนายกรฐั มนตรีทราบตามล�ำดบั (2) แนวทางปฏิบัติในการจัดท�ำมาตรฐานแบบประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย (PDNA) เพอ่ื ใชเ้ ปน็ กรอบการประเมินความตอ้ งการของภาคส่วนที่เกยี่ วข้อง ดงั น้ี (2.1) จัดท�ำข้อมูลฐาน (Baseline Data & Information) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานส�ำหรับ การประมาณการมลู คา่ ความเสยี หาย ความสญู เสยี และผลกระทบอนื่ ๆ เชน่ ขอ้ มลู สถานการณโ์ ดยทว่ั ไป ของพน้ื ท่ี ประสบสาธารณภัย เป็นตน้ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 135

(2.2) ประเมนิ ความเสียหายและความสญู เสยี (Damage and Loss Assessment: DALA) เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบจากสาธารณภัยในทันที (Disaster Effects) ประกอบด้วย ความเสียหาย (Damage) ของสาธารณูปโภคและทรัพย์สินต่าง ๆ โดยจะประมาณการเป็นมูลค่าของการซ่อมแซมบางส่วนและทั้งหมด และความสูญเสีย (Loss) เป็นความเสียหายเชงิ มูลคา่ ทางเศรษฐกิจ โดยประมาณการเป็นมูลค่าจากการสญู เสยี รายได้ ต้นทุนการผลิต และคา่ ใชจ้ ่ายทไ่ี มค่ าดคิดว่าจะเกิด (2.3) ประเมินผลกระทบท่ีตามมา (Impacts) ทางด้านเศรษฐกิจมหภาค สังคม มิติหญิงชาย การกำ� กบั ดแู ลของภาครฐั สงิ่ แวดลอ้ ม และการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั เชน่ ความสญู เสยี ตอ่ การประกอบอาชพี ทำ� ใหเ้ กิดภาวะความยากจนและทำ� ใหเ้ กิดการอพยพยา้ ยถน่ิ เป็นตน้ (2.4) ประเมนิ ความตอ้ งการในการฟน้ื ฟู (Needs Assessment) เพอ่ื ใชส้ ำ� หรบั พจิ ารณาความตอ้ งการ ดา้ นการฟน้ื ฟขู องแตล่ ะภาคสว่ น (Recovery Needs) ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม รวมถงึ ความตอ้ งการ ของประชาชนและชุมชน โดยล�ำดับความส�ำคัญของโครงการต่าง ๆ และก�ำหนดงบประมาณที่จะด�ำเนินการฟื้นฟู เพอ่ื ให้เกิดความค้มุ คา่ ต่อการลงทุนในการฟืน้ ฟแู ตล่ ะภาคสว่ นอย่างแทจ้ ริง (2.5) จัดท�ำกรอบการฟนื้ ฟู (Recovery Framework) โดยน�ำผลการประเมนิ ความตอ้ งการในการ ฟน้ื ฟมู ากำ� หนดกรอบการฟน้ื ฟู และจดั สรรงบประมาณสนบั สนนุ ของแตล่ ะภาคสว่ น ไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบและมปี ระสทิ ธภิ าพ พร้อมรบั และฟื้นกลบั เรว็ ของประเทศ โดยจดั ทำ� มาตรฐานแบบประเมนิ ความตอ้ งการหลงั เกดิ สาธารณภยั ตามทอี่ งคก์ ารสหประชาชาติ กำ� หนด ดังนี้ (2.5.1) ภาคสงั คม คือ หนว่ ยงานท่ีดแู ลการให้บริการพ้ืนฐานทางสงั คม เชน่ ดา้ นการศึกษา การแพทย์และสาธารณสุข ทอี่ ยู่อาศัย และวัฒนธรรม เปน็ ต้น (2.5.2) ภาคสาธารณูปโภค คือ หน่วยงานท่ีดูแลโครงสร้างพื้นฐานท่ีส�ำคัญ และจ�ำเป็น ในการดำ� รงชวี ิตของประชาชน เช่น พลงั งาน ไฟฟ้า การขนส่ง และการสือ่ สาร เปน็ ตน้ (2.5.3) ภาคการผลิต คือ หน่วยงานท่ีดูแลทางด้านการผลิตสินค้า บริการของประเทศ เช่น การเกษตร การพาณชิ ย์ การอตุ สาหกรรม การค้า การทอ่ งเทยี่ ว เปน็ ตน้ (2.5.4) ภาคเศรษฐกิจมหภาค คือ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการประเมินภาพรวมทางด้าน การพฒั นาทางเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ การวเิ คราะหร์ ะบบเศรษฐกจิ มหภาค (2.5.5) ภาคการพัฒนาสังคมและมนุษย์ คือ หน่วยงานที่ดูแลเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ของประชาชน และสภาพแวดล้อมทางสังคมทเ่ี ปน็ ผลกระทบตอ่ เนือ่ งจากสาธารณภัย ซึ่งมุ่งพัฒนาให้สอดคล้อง ตามเปา้ หมายการพัฒนาสงั คมและทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นระดับสากล (2.5.6) ภาคการคลัง คือ หน่วยงานท่ีดูแลด้านการเงิน/การคลัง ทั้งภาครัฐ และเอกชน ของประเทศ (2.5.7) ประเดน็ คาบเกย่ี วกบั ภาคสว่ นอนื่ เปน็ ประเดน็ สำ� คญั ในการประเมนิ ความตอ้ งการ หลังเกิดสาธารณภัยที่ต้องพิจารณาไปพร้อมกับการประเมินผลกระทบในภาคส่วนต่าง ๆ ได้แก่ ประเด็นทางด้าน การบรหิ ารจดั การภาครฐั การลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั สง่ิ แวดลอ้ ม มติ หิ ญงิ ชาย การจา้ งงาน และการดำ� รงชวี ติ 136 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

แผนภาพท่ี 4-8 หลกั การของการประเมนิ ความตอ้ งการหลงั เกดิ สาธารณภยั (3) แนวทางปฏิบัติในการจัดต้ังระบบและกลไกในการประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย (PDNA) ใหก้ องบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ (บกปภ.ช.) กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั กลาง (กอปภ.ก.) และกองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แตล่ ะระดบั จดั ใหม้ ที มี ประเมนิ PDNA ในทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องกับการประเมินตามข้อ (1.5) โดยมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) และคู่มือเพ่ือใช้ เป็นกรอบแนวทางในการปฏบิ ัตกิ ารประเมนิ ความต้องการหลงั เกดิ สาธารณภยั แบบบรู ณาการทมี่ ีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาแนวทางบริหารจัดการดา้ นการฟน้ื ฟู การพฒั นาแนวทางการบรหิ ารจดั การดา้ นการฟน้ื ฟู โดยนำ� ผลการประเมนิ มาใชเ้ พอื่ ใหผ้ ปู้ ระสบภยั ในพน้ื ที่ สามารถด�ำรงชวี ิตใหม่ เกดิ การฟน้ื ฟูเศรษฐกิจ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม มแี นวทางปฏิบตั ิ ดงั นี้ (1) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการฟน้ื ฟสู ขุ ภาวะของผปู้ ระสบภยั ไดแ้ ก่ การฟน้ื ฟสู ภาพทางกาย ของผปู้ ระสบภยั (การตรวจรกั ษา ป้องกัน ควบคุมโรค และการฟ้นื ฟคู วามแขง็ แรงทางรา่ งกาย) และการฟน้ื ฟูสภาพจิตใจของผปู้ ระสบภยั (2) แนวทางปฏิบัติในการฟื้นฟูสภาพทางสังคม ได้แก่ การให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารความรู้ และคำ� ปรกึ ษาตา่ ง ๆ การรบั แจง้ เหตแุ ละประสานการชว่ ยเหลอื การฟน้ื ฟอู าชพี การชว่ ยเหลอื ดา้ นการสง่ เสรมิ ศักยภาพ ประชาชนและชุมชน การโยกย้ายและการต้ังถิ่นฐานของผู้ประสบภัย การท�ำให้ประชาชนหรือผู้ประสบภัย สามารถกลับมาประกอบอาชพี และด�ำเนนิ ชีวติ ไดอ้ ย่างปกติ แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 137

(3) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการฟน้ื ฟแู ละเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ ทจี่ ำ� เปน็ การกำ� หนดแนวทางปฏบิ ตั ดิ า้ นการเงนิ การคลงั ทเ่ี หมาะสมเพอ่ื เปน็ การเปดิ โอกาสใหผ้ ปู้ ระสบภยั สามารถกลบั มามคี วามมน่ั คงทางเศรษฐกจิ เชน่ เงนิ ใหเ้ ปล่า เงินอดุ หนนุ เงนิ สมทบ เงินชดเชย การผอ่ นผันดา้ นการเงิน การพกั ชำ� ระหน้ี การชว่ ยเหลอื ดา้ นการกยู้ มื หรอื การลดหยอ่ นภาษ/ี ดอกเบย้ี การจดั ตง้ั กองทนุ พเิ ศษเพอ่ื การจดั การ ความเสย่ี งจากสาธารณภยั รวมถงึ เงนิ ทนุ ในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ การฟน้ื ฟอู าชพี แกผ่ ปู้ ระสบภยั การฟน้ื ฟภู าคการเกษตร กองทุนเงินกู้ยืม เงินกู้ดอกเบี้ยต�่ำเพื่อส่งเสริมการลงทุนประกอบอาชีพ เงินแก้ไขปัญหาด้านสาธารณภัยฉุกเฉิน ในระยะส้นั เป็นต้น (4) แนวทางปฏิบัติในการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม ได้แก่ การก�ำหนดแนวทาง การฟน้ื ฟสู ภาพแวดลอ้ มทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ชมุ ชนและแหลง่ ทรพั ยากรทางธรรมชาติ รวมทงั้ พนื้ ทชี่ มุ ชนทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ จากสาธารณภยั กลยุทธ์ที่ 3 เสรมิ สรา้ งแนวทางการฟืน้ ฟูใหด้ ีกว่าและปลอดภัยกวา่ เดมิ (Build Back Better and Safer) การฟน้ื ฟใู หด้ กี วา่ และปลอดภยั กวา่ เดมิ (Build Back Better and Safer) เปน็ การนำ� มาตรการดา้ นการฟน้ื ฟู ฟื้นสภาพ และซ่อมสร้าง มาใช้เพ่ือวางแผนในการลดความเส่ียงท่ีมีอยู่เดิมและป้องกันไม่ให้ความเสี่ยงใหม่เกิดข้ึน และการปรับวิถีชีวิตที่ไม่คุ้นเคยให้เป็นส่ิงปกติใหม่ (New Normal) รวมถึงการน�ำผลการศึกษา วิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยมี าใชส้ นบั สนุนในการฟนื้ ฟอู ย่างยง่ั ยืน ดังนี้ (1) แนวทางปฏิบัติในการวางแผน สนับสนุนการฟื้นฟู และการพัฒนาศักยภาพชุมชน ใหว้ างแผนและดำ� เนนิ กจิ กรรมฟน้ื ฟอู ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยการมสี ว่ นรว่ มกบั ชมุ ชนเพอื่ ใหม้ คี วามพรอ้ ม รบั มอื และฟน้ื กลบั อยา่ งรวดเรว็ ซง่ึ เปน็ การดำ� เนนิ งานฟน้ื ฟทู ตี่ อ่ เนอ่ื งจากการบรรเทาภยั ทเี่ กดิ ขนึ้ โดยใหจ้ ดั เวทปี ระชมุ หารอื เพอ่ื บรู ณาการกระบวนการวางแผนการฟน้ื ฟใู หม้ สี าระสำ� คญั เชน่ ขอบเขต ลกั ษณะสำ� คญั ของผลกระทบจากภยั การใหค้ วามช่วยเหลือทางวชิ าการในการวางแผน การฟ้ืนฟู การระบแุ ละติดตามการแก้ไขความขดั แยง้ และการลด ความแตกต่าง รวมถึงการประยุกต์ใช้หลักการพัฒนาอย่างย่ังยืนในการวางแผน และการก�ำหนดการประสาน ความตอ้ งการทย่ี ังไมไ่ ดร้ ับการชว่ ยเหลือ (2) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการวางแผนและสนับสนนุ การฟ้ืนฟบู รกิ ารด้านสุขภาพและการบรกิ ารสงั คม ใหเ้ สรมิ สรา้ งความพรอ้ มทจ่ี ะรบั มอื ในการฟน้ื กลบั สสู่ ภาวะปกตไิ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ในการบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพ ด้านสังคม และชุมชนท่ปี ระสบภัย ครอบคลุมถงึ การบริการทางด้านการแพทย์ และการสาธารณสุข โดยพิจารณา ความลอ่ แหลม ความเปราะบางดา้ นสงั คม เชน่ ผพู้ กิ าร สตรี เดก็ คนชรา ผปู้ ว่ ย เปน็ ตน้ เพอื่ ใหม้ โี อกาสเขา้ ถงึ การบรกิ าร (3) แนวทางปฏบิ ัตใิ นการวางแผนและสนบั สนุนการฟื้นฟทู ่อี ยอู่ าศยั ใหม้ กี ารบรู ณะ ซอ่ มสรา้ ง และพฒั นาทอี่ ยอู่ าศยั ถาวร ใหม้ คี วามตา้ นทานตอ่ สาธารณภยั เพอื่ เปน็ การ แก้ไขปัญหาที่ตรงกับความต้องการและจ�ำเป็นของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการ วางแผนและสนับสนุนการฟน้ื ฟทู ี่อยอู่ าศยั เพอ่ื ลดความเสี่ยงทม่ี อี ย่เู ดมิ และปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกดิ ความเส่ียงใหม่ 138 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(4) แนวทางปฏิบตั ใิ นการวางแผนและสนับสนนุ การฟืน้ ฟรู ะบบโครงสรา้ งพ้นื ฐาน เพิ่มศักยภาพในการด�ำเนินงานฟื้นฟูระบบโครงสร้างพื้นฐานโดยเร็วและค�ำนึงถึงการลดความเสยี่ ง จากสาธารณภัย ซึ่งอาจใช้ความเช่ียวชาญด้านวิศวกรรมบริการจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน ได้แก่ พลังงาน นำ้� เข่ือน ระบบสื่อสาร ระบบการขนส่ง สาธารณปู โภค การสขุ าภิบาล และระบบอน่ื ๆ ท่สี นบั สนนุ การฟื้นฟูโครงสร้างพ้ืนฐาน รวมถึงอาคาร สถานท่ีส�ำคัญ โดยให้พิจารณาปัจจัยที่เก่ียวข้องในการฟื้นฟูซ่อมสร้าง ได้แก่ การวางผังเมือง การวางแผนใชป้ ระโยชน์ทดี่ ิน และการเลอื กใชส้ งิ่ ก่อสรา้ งตามมาตรฐานทีก่ ำ� หนด (5) แนวทางปฏิบัติในการวางแผนและสนับสนุนการฟื้นฟูทรัพยากรทางธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ใหม้ แี นวทางในการปกปอ้ งและฟน้ื ฟทู รพั ยากรทางธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมอยา่ งเหมาะสม และจำ� เปน็ เพ่อื สงวน อนุรักษ์ บูรณะ และปฏสิ งั ขรณใ์ หด้ ีกวา่ และปลอดภยั กวา่ เดมิ ตามท่ีพ้นื ทีป่ ระสบภัยรอ้ งขอ การสนับสนุน โดยให้หน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีรับผิดชอบในทุกระดับ รวมถึงหน่วยงานเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน ให้การสนับสนุนตามแผนงานและภารกิจท่ีก�ำหนดวิธีการท่ีจะใช้ทรัพยากรและสมรรถนะเพื่อตอบสนองได้ตรงตาม ความตอ้ งการของพืน้ ท่ี (6) แนวทางปฏบิ ตั ิในการวางแผนและสนับสนุนการฟืน้ ฟรู ะบบเศรษฐกจิ ส่งเสริมและสนับสนุนการฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจ (รวมถึงด้านเกษตรกรรม) คืนสู่สภาวะ ที่มั่นคง และพฒั นาโอกาสทางเศรษฐกจิ ซง่ึ จะสง่ ผลใหช้ มุ ชนเกดิ ความเขม้ แขง็ ยงั่ ยนื และสามารถปรบั ตวั อยา่ งรวดเรว็ ใหเ้ ขา้ กบั สภาวะทเี่ ปลี่ยนไป เช่น การเปดิ ด�ำเนนิ ธุรกจิ ตอ่ เนือ่ ง การสรา้ งธรุ กจิ ใหม่ การด�ำเนินธรุ กิจทำ� ให้มีการจา้ งแรงงาน การจัดหาบริการให้ตอบสนองความต้องการของชุมชน การสร้างรายได้ให้ชุมชน รวมถึงการสนับสนุนทางการ เงินในการฟน้ื ฟดู า้ นอนื่ ๆ เชน่ การลงทนุ จากภายนอก การมสี ว่ นรว่ มของภาคเอกชนในฐานะทเี่ ปน็ รากฐานทส่ี ำ� คญั สำ� หรบั การฟน้ื ฟูเศรษฐกิจของชุมชน แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 139



5บทที่ การขับเคลื่อนและติดตามประเมนิ ผลแผน การขับเคลื่อนแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ไปสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย 1) การขับเคลื่อนแผนไปสู่การปฏิบัติ 2) การติดตามและประเมินผล 3) การวิจัยและพัฒนา และ 4) การทบทวนแผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ 5.1 การขับเคลอ่ื นแผนไปสูก่ ารปฏบิ ัติ แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ไดน้ ำ� กรอบแนวคดิ การจัดท�ำแผน เชงิ ยุทธศาสตร์ แนวคดิ การบริหารแบบมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ การมองอนาคต การทบทวนสถานการณต์ ่าง ๆ ทง้ั พันธกรณี และข้อตกลงระหว่างประเทศท่ีประเทศไทยร่วมเป็นภาคี นโยบาย กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 ทศิ ทางการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในระดบั สากล และประเทศไทย ตลอดจนแนวโนม้ สถานการณส์ าธารณภัยภายในประเทศ รวมทัง้ การประเมินผลแผนการปอ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตทิ ผี่ า่ นมาเปน็ แนวทางในการจดั ทำ� แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 โดยใชก้ ระบวนการแบบมีส่วนร่วมของภาคีทุกภาคส่วนในการขับเคล่อื น แผนไปสู่การปฏบิ ตั ิ ดังน้ี 5.1.1 การขบั เคลอื่ นแผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาตไิ ปสู่การปฏิบตั ิ (1) ระดับชาติ คือ คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ มีนายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ โดยแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดท�ำ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ทำ� หนา้ ทขี่ บั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรต์ ามกรอบของประเทศ และกรอบ ความร่วมมือระหวา่ งประเทศ รวมทง้ั ตดิ ตามและประเมินผลตามแผนการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั แห่งชาติ (2) ระดบั จงั หวดั และกรงุ เทพมหานคร คอื ผวู้ ่าราชการจงั หวัดเป็นผอู้ �ำนวยการรบั ผิดชอบในการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ในเขตจงั หวัด และผ้วู ่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นผอู้ ำ� นวยการกรุงเทพมหานคร รบั ผิดชอบในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ในเขตกรงุ เทพมหานคร (3) ระดบั อำ� เภอ คอื นายอำ� เภอเปน็ ผอู้ ำ� นวยการอำ� เภอ รบั ผดิ ชอบและปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยในเขตอ�ำเภอของตน และมีหน้าทช่ี ว่ ยเหลือผู้อำ� นวยการจังหวัดตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย (4) ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแห่งพ้ืนท่ีมีหน้าที่ป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยในเขตท้องถ่ินของตน โดยมีผู้บริหารท้องถ่ินขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแห่งพ้ืนที่นั้น เปน็ ผูร้ ับผดิ ชอบในฐานะผอู้ ำ� นวยการท้องถ่นิ แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 141


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook