Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (2564-2570)

แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (2564-2570)

Published by e20dku, 2022-07-12 04:28:42

Description: แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (2564-2570)
National Disaster Prevention and Mitigation Plan (2021-2027)

Keywords: Plan,Disaster management,Crisis managment,Disaster Plan,National Plan

Search

Read the Text Version

16. ประชาสัมพันธจ์ ังหวัด กรรมการ 17. ผู้แทนสำ� นักงานทรัพยากรน�ำ้ แหง่ ชาติภาค กรรมการ 18. ผ้แู ทนหนว่ ยงานของรัฐท่ผี ้วู ่าราชการจงั หวดั เหน็ สมควรแต่งต้ัง กรรมการ 19. ผแู้ ทนรัฐวสิ าหกจิ ในจังหวดั กรรมการ 20. ผ้แู ทนสถาบนั การศกึ ษาในพ้ืนทที่ ีผ่ ้วู า่ ราชการจงั หวดั เหน็ สมควรแตง่ ตัง้ กรรมการ 21. ผู้แทนองคก์ ารสาธารณกศุ ลท่ผี ู้ว่าราชการจังหวดั เห็นสมควรแต่งตั้ง กรรมการ 22. ผอู้ ำ� นวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต กรรมการ 23. หวั หนา้ สำ� นักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัด กรรมการและเลขานุการ หมายเหต ุ อาจปรับเปลี่ยนหรือเพ่ิมเตมิ กรรมการไดต้ ามทผ่ี อู้ ำ� นวยการจงั หวัดเห็นสมควร อ�ำนาจหน้าที่ 1. จดั ทำ� แผนปฏิบัตกิ ารตามความเสี่ยงภยั ดา้ นต่าง ๆ ใหส้ อดรบั กบั แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั 2. ก�ำหนดแนวทาง/การด�ำเนินการเพื่อลดความเส่ียงจากสาธารณภัย การเตรียมพร้อมรับมือกับสาธารณภัย ของกองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั อำ� เภอ และกองอำ� นวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินแหง่ พนื้ ท่ี 3. จัดตั้งทมี เฝา้ ระวัง ติดตาม ประเมนิ และวเิ คราะห์สถานการณส์ าธารณภัย และแจง้ เตอื นภัยเมื่อเกิด หรือคาดว่า จะเกิดสาธารณภัยข้ึนในการจัดการสาธารณภัยขนาดกลาง (ระดับ 2) และให้จัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ จงั หวัดข้นึ เพอ่ื ควบคุม สงั่ การ และบัญชาการในพ้นื ที่ 4. รวบรวมและจัดท�ำคลงั ข้อมูลทรพั ยากรในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยในพ้ืนท่จี ังหวัด 5. ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และจังหวัดข้างเคียง โดยให้และรับการสนับสนนุ ทรพั ยากร เพือ่ ชว่ ยเหลอื ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 6. เชิญผู้แทนหน่วยงาน องค์กร หรือบุคคลใดที่เห็นสมควรเข้าร่วมการประชุม เพ่ือให้ข้อมูลที่จ�ำเป็นต่อการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั ในพน้ื ที่ 7. ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นใดตามทผ่ี ้มู อี �ำนาจตามกฎหมายมอบหมาย (4) กองอ�ำนวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั อำ� เภอ (กอปภ.อ.) ทำ� หนา้ ทอี่ ำ� นวยการ ควบคมุ สนบั สนนุ และประสานการปฏบิ ตั กิ บั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในเขตพน้ื ทรี่ บั ผดิ ชอบในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และปฏบิ ตั งิ านตามทผ่ี วู้ า่ ราชการจงั หวดั หรอื กองอำ� นวยการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดมอบหมาย โดยมีนายอ�ำเภอ/ผู้อ�ำนวยการอ�ำเภอ เป็นผู้อ�ำนวยการ ทั้งน้ี ให้มีการจัดประชมุ กองอ�ำนวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั อ�ำเภอ อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 2 ครั้ง และมอี งคป์ ระกอบ ดังนี้ 42 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

ประกอบด้วย กองอ�ำนวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั อ�ำเภอ 1. นายอ�ำเภอ/ผูอ้ ำ� นวยการอ�ำเภอ ผ้อู ำ� นวยการ 2. ปลัดอ�ำเภอ หัวหนา้ กลุม่ งานดา้ นความม่ันคง รองผอู้ ำ� นวยการ 3. ผู้ก�ำกับการหัวหน้าสถานตี ำ� รวจในเขตพนื้ ท ี่ กรรมการ 4. ผูแ้ ทนกระทรวงกลาโหมทไี่ ด้รับมอบหมาย กรรมการ 5. สาธารณสขุ อำ� เภอ กรรมการ 6. ทอ้ งถน่ิ อ�ำเภอ กรรมการ 7. ผู้บรหิ ารองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ในพน้ื ท่ี กรรมการ 8. ผู้แทนหน่วยงานของรัฐทีน่ ายอ�ำเภอเหน็ สมควรแต่งต้งั กรรมการ 9. ผ้แู ทนสถานศกึ ษาที่นายอ�ำเภอเห็นสมควรแต่งตง้ั กรรมการ กรรมการ 10. ผแู้ ทนองคก์ ารสาธารณกศุ ลในพ้ืนทที่ ่นี ายอำ� เภอเห็นสมควรแต่งต้ัง กรรมการ 11. ผแู้ ทนส�ำนักงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั กรรมการ 12. ปลัดอ�ำเภอ หวั หน้าฝ่ายความมัน่ คง กรรมการและเลขานุการ 13. หวั หน้าส�ำนักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั สาขา (ถา้ มี) กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ หมายเหตุ อาจปรับเปลีย่ นและเปลย่ี นแปลงกรรมการไดต้ ามทผ่ี ้อู ำ� นวยการอ�ำเภอเหน็ สมควร อำ� นาจหนา้ ที่ 1. จดั ทำ� แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั อำ� เภอและแผนทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื อำ� นวยการ ประสานงาน และสนบั สนนุ การปฏิบัติในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามแผนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัด 2. ก�ำหนดแนวทางปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย การเตรียมพร้อมรับมือกับสาธารณภัย และการฟื้นฟู ของกองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอ�ำเภอ และกองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ แหง่ พื้นท่ี 3. จัดตั้งทีมเฝา้ ระวัง ตดิ ตาม ประเมินและวิเคราะหส์ ถานการณส์ าธารณภยั และแจ้งเตือนภยั เม่ือเกดิ หรือคาดว่า จะเกดิ สาธารณภัยขึ้น และให้จัดต้ังศูนยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์อ�ำเภอเพื่อควบคมุ และสั่งการ ในพน้ื ที่ 4. รวบรวม จดั ทำ� คลงั ขอ้ มลู ทรพั ยากรในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และฐานขอ้ มลู ความเสยี่ งภยั ในพน้ื ทอี่ ำ� เภอ 5 ปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี น่ื ใดตามทผ่ี วู้ า่ ราชการจงั หวดั และหรอื กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั มอบหมาย (5) กองอ�ำนวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล (กอปภ.ทน./ทม./ทต.) ท�ำหน้าที่อ�ำนวยการ ควบคุม ปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เผชิญเหตุ และแจ้งเตือนภัยเมื่อเกิดสาธารณภัยข้ึน พร้อมทั้งจัดท�ำแผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ของเทศบาลใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั และแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 43

อำ� เภอ รวมถงึ มหี นา้ ทชี่ ว่ ยเหลอื ผอู้ ำ� นวยการจงั หวดั และผอู้ ำ� นวยการอำ� เภอตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย พรอ้ มทงั้ สนบั สนนุ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซ่ึงมีพื้นที่ติดต่อหรือใกล้เคียง หรือเขตพ้ืนท่ีอ่ืน เมื่อได้รับการร้องขอ โดยมีนายกเทศมนตรี/ผู้อ�ำนวยการเทศบาล เป็นผู้อ�ำนวยการ ทั้งน้ี ให้มีการจัดประชุม กองอ�ำนวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เทศบาล อย่างน้อยปีละ 2 คร้งั (6) กองอ�ำนวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั องค์การบรหิ ารสว่ นต�ำบล (กอปภ.อบต.) ท�ำหน้าที่อ�ำนวยการ ควบคุม ปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เผชิญเหตุ และแจ้งเตือนภัยเม่ือเกิดสาธารณภัยขึ้น พร้อมทั้งจัดท�ำแผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ขององคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบลให้สอดคล้องกบั แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดและแผนการปอ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภยั อำ� เภอ รวมถงึ มหี นา้ ทช่ี ว่ ยเหลอื ผอู้ ำ� นวยการจงั หวดั และผอู้ ำ� นวยการอำ� เภอตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย พร้อมท้ังสนับสนุนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีพ้ืนที่ติดต่อหรือใกล้เคียง หรอื เขตพ้ืนทอี่ ่นื เมื่อได้รับการร้องขอ โดยมีนายกองค์การบริหารสว่ นต�ำบล/ผอู้ ำ� นวยการองคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบล เป็นผอู้ ำ� นวยการ ท้งั น้ี ให้มกี ารจัดประชมุ กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล อย่างนอ้ ยปลี ะ 2 คร้งั (7) กองอำ� นวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั กรุงเทพมหานคร (กอปภ.กทม.) ทำ� หนา้ ทอ่ี ำ� นวยการ ควบคมุ สนบั สนนุ ประสานการปฏบิ ตั ใิ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตกรุงเทพมหานคร และจัดท�ำแผนปฏิบัติการหรือแผนเผชิญเหตุตามประเภทความเส่ียงภัยให้สอดคล้องกับ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร รวมทั้งด�ำเนินการสนับสนุนการปฏิบัติการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั และเปน็ หนว่ ยเผชญิ เหตเุ มอ่ื เกดิ สาธารณภยั ในพนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบโดยมผี วู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร ในฐานะผ้อู �ำนวยการเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ มอี ำ� นาจหน้าทแ่ี ละแนวทางปฏิบตั ติ ามหมวด 3 แหง่ พระราชบัญญัตปิ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 ทง้ั น้ี ใหม้ กี ารจดั ประชมุ กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กรงุ เทพมหานคร อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 2 ครงั้ รวมทงั้ มอี งคป์ ระกอบและอำ� นาจหนา้ ท่ี ใหเ้ ปน็ ไปตามทผี่ วู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานครกำ� หนด (8) กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยส�ำนกั งานเขต (กอปภ.สนข.) ท�ำหน้าท่ีรับผิดชอบและปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตของตน และมีหน้าท่ีช่วยเหลือผู้อ�ำนวยการกรุงเทพมหานครตามที่ได้รับมอบหมาย โดยให้ส่วนราชการและหน่วยงาน ของกรุงเทพมหานคร รวมท้ังภาคเอกชนที่อยู่ในเขตพื้นท่ีร่วมปฏิบัติงานในกองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั สำ� นกั งานเขต โดยมีผ้อู ำ� นวยการเขต เปน็ ผชู้ ่วยผู้อำ� นวยการกรุงเทพมหานคร (9) กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเมอื งพทั ยา (กอปภ.เมืองพัทยา) ท�ำหน้าที่อ�ำนวยการ ควบคุม ปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เผชิญเหตุ และแจ้งเตือนภัยเม่ือเกิดสาธารณภัยขึ้น พร้อมท้ังจัดท�ำแผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ของเมืองพัทยา ให้สอดคล้องกับแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดและแผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยอ�ำเภอ รวมถึงมีหน้าที่ช่วยเหลือผู้อ�ำนวยการจังหวัดและผู้อ�ำนวยการอ�ำเภอตามท่ีได้รับมอบหมาย 44 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

พรอ้ มทง้ั สนบั สนนุ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ซงึ่ มพี น้ื ทตี่ ดิ ตอ่ หรอื ใกลเ้ คยี ง หรอื เขตพ้ืนทอี่ นื่ เมือ่ ได้รบั การรอ้ งขอ โดยมีนายกเมอื งพัทยา/ผู้อำ� นวยการเมืองพทั ยา เปน็ ผูอ้ ำ� นวยการ ทงั้ น้ี ใหม้ ี การจัดประชุมกองอ�ำนวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยเมอื งพทั ยา อย่างนอ้ ยปีละ 2 ครง้ั ท้ังน้ี เมอ่ื เกิดหรอื คาดวา่ จะเกิดสาธารณภัยขน้ึ ให้องค์กรปฏบิ ตั ิในแตล่ ะระดบั ดังกล่าวข้างตน้ ปฏบิ ตั งิ านตามขนั้ ตอนในแตล่ ะระดบั การปฏบิ ตั กิ าร (Level of Activation) พรอ้ มทงั้ ใหม้ กี ารจดั ตงั้ กองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ/ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ขึ้นตามระดับการจัดการสาธารณภัยโดยให้เป็นไป ตามแนวทางปฏิบัติในการจัดต้ังองค์กรปฏิบัติการจัดการในภาวะฉุกเฉินที่ปรากฏอยู่ในบทท่ี 4 ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การจัดการในภาวะฉุกเฉนิ แบบบูรณาการ แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 45

นายกรฐั มนตร/ี รองนายกรฐั มนตรีท่ีได้รบั มอบหมาย กรณีเกดิ สาธารณภยั รา้ ยแรงอยา่ งยิง่ กองบญั ชาการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ (บกปภ.ช.) ผูบ้ ัญชาการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ (รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย) รองผู้บัญชาการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ (ปลัดกระทรวงมหาดไทย) กองอ�ำนวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) ผู้อำ� นวยการกลาง (อธบิ ดกี รมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย) กองอำ� นวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั (กอปภ.จ.) กองอำ� นวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยกรงุ เทพมหานคร (กอปภ.กทม.) ผ้อู �ำนวยการจังหวดั ผอู้ �ำนวยการกรงุ เทพมหานคร (ผ้วู า่ ราชการจังหวัด) (ผ้วู ่าราชการกรุงเทพมหานคร) รองผอู้ �ำนวยการจงั หวดั รองผู้อำ� นวยการกรงุ เทพมหานคร (นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด) (ปลัดกรงุ เทพมหานคร) กองอ�ำนวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยอ�ำเภอ (กอปภ.อ.) กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยสำ� นกั งานเขต (กอปภ.สนข.) ผ้อู �ำนวยการอำ� เภอ ผชู้ ว่ ยผู้อ�ำนวยการกรุงเทพมหานคร (นายอ�ำเภอ) (ผ้อู ำ� นวยการเขต) กองอำ� นวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย กองอำ� นวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย กองอำ� นวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เมอื งพัทยา (กอปภ.เมอื งพทั ยา) เทศบาล (กอปภ.ทน./ทม./ทต.) องค์การบรหิ ารสว่ นต�ำบล (กอปภ.อบต.) ผู้อ�ำนวยการทอ้ งถน่ิ ผู้อ�ำนวยการทอ้ งถิน่ ผู้อำ� นวยการทอ้ งถิน่ (นายกเมืองพทั ยา) (นายกเทศมนตร)ี (นายกองค์การบรหิ ารส่วนตำ� บล) ผูช้ ่วยผอู้ ำ� นวยการทอ้ งถิน่ ผ้ชู ่วยผู้อำ� นวยการท้องถน่ิ ผู้ชว่ ยผอู้ ำ� นวยการทอ้ งถิ่น (ปลดั เมืองพัทยา) (ปลัดเทศบาล) (ปลดั องค์การบรหิ ารส่วนต�ำบล) แผนภาพที่ 3-2 กลไกการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั 46 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

3.3 บทบาท หน้าท่ี และแนวทางปฏิบตั ริ ว่ มกับหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง 3.3.1 บทบาท หนา้ ท่ี ให้หน่วยงานท่ีอยู่ภายใต้สังกัดกระทรวงและหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องมีบทบาทหน้าท่ีในการจัดการ ความเสีย่ งจากสาธารณภัยร่วมกัน ดงั นี้ หน่วยงาน บทบาทหน้าที่ (1) ส�ำนักนายกรฐั มนตรี (1.1) จดั สรรงบประมาณเพ่อื ดำ� เนนิ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ส�ำนกั งบประมาณ) (1.2) สนับสนุนด้านการข่าวกรองและให้ค�ำแนะน�ำด้านการรักษาความปลอดภัยฝ่ายพลเรือน ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (สำ� นกั ข่าวกรองแห่งชาติ) (1.3) บริหารจัดการด้านข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์ในภาวะปกติและภาวะวิกฤต (กรมประชาสมั พันธ)์ (1.4) จัดระบบการรับบริจาคเพื่อให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัย (ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายก รฐั มนตร)ี (1.5) ส�ำรวจศึกษาและวิเคราะห์สภาวะเศรษฐกิจและสังคมเพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการเสนอแนะนโยบายมาตรการทางเศรษฐกิจ และสังคม ในการพฒั นาประเทศ (ส�ำนักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ) (1.6) วิเคราะห์ ประเมนิ แผนงานและโครงการพฒั นาของสว่ นราชการและรัฐวิสาหกจิ ใหเ้ ปน็ ไป ตามวตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย และแนวทางการพฒั นาของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ (สำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ) (1.7) ตดิ ตามและประเมนิ ผลแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ รวมทง้ั แผนงาน โครงการ พฒั นาของสว่ นราชการและรฐั วสิ าหกจิ (สำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต)ิ (1.8) ประสานการพัฒนาเพื่อให้เกิดมีการแปลงแผนพัฒนาฯ ไปสู่การปฏิบัติ (ส�ำนักงาน สภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต)ิ (1.9) เสนอแนะนโยบายและจัดท�ำแผนแม่บท รวมท้ังก�ำหนดมาตรการเกี่ยวกับการบริหาร ทรพั ยากรนำ้� ของประเทศ การจดั ทำ� ผงั นำ้� การบรู ณาการเชอ่ื มโยงขอ้ มลู สารสนเทศทรพั ยากรนำ้� การใหค้ วามเห็นชอบแผนปฏิบตั กิ าร แผนงาน โครงการ งบประมาณการบริหารทรัพยากรน�ำ้ แบบบูรณาการ รวมทั้งการก�ำกับดูแลและบริหารจัดการระบบสารสนเทศทรัพยากรน้�ำทั้งใน ภาวะปกติ และภาวะวกิ ฤต ตลอดจนการเสนอความเหน็ เกยี่ วกบั การจดั ตง้ั ศนู ยบ์ ญั ชาการเฉพาะกจิ (ส�ำนักงานทรัพยากรนำ้� แห่งชาต)ิ (1.10) วเิ คราะหส์ ถานการณท์ มี่ คี วามเสย่ี งสงู และนำ� ไปสวู่ กิ ฤตการณร์ ะดบั ชาติ ซง่ึ เปน็ การกระทำ� จากมนุษย์และจากภัยธรรมชาติ ภัยคุกคามด้านการทหาร และสถานการณ์ที่มีผลกระทบ ตอ่ การป้องกนั ประเทศ (ส�ำนกั งานสภาความมัน่ คงแหง่ ชาติ) (1.11) เสนอแนะ จดั ทำ� นโยบาย และพฒั นายทุ ธศาสตรค์ วามมนั่ คงแหง่ ชาตเิ กย่ี วกบั การเตรยี มพรอ้ ม แห่งชาติ ยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ และแผนบริหารวิกฤตการณ์ ตลอดจนเสนอแนะ และพัฒนาแนวทางมาตรการ อ�ำนวยการและประสานการปฏิบัติตามนโยบายกับหน่วยงาน ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เพอื่ ใหค้ รอบคลมุ ในการเตรยี มพรอ้ มดา้ นทรพั ยากร การปอ้ งกนั การแกไ้ ข การฟน้ื ฟู (สำ� นักงานสภาความม่นั คงแหง่ ชาต)ิ (1.12) เสรมิ สรา้ งความร่วมมือและเครือข่ายการบรหิ ารเหตุการณใ์ นภาวะวิกฤตกับหน่วยงาน และองคก์ รในภาควชิ าการ ทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ (สำ� นกั งานสภาความมน่ั คงแหง่ ชาต)ิ แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 47

หนว่ ยงาน บทบาทหน้าท่ี (1.13) ประสานงาน และเสริมการปฏิบตั ขิ องหนว่ ยงานของรฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม (2) กระทรวงกลาโหม หนว่ ยทหารในพ้ืนท่ี และกลุ่มมวลชนในเครือข่ายของกองอ�ำนวยการรักษาความม่ันคงภายใน (3) กระทรวงการคลงั ราชอาณาจกั รทเี่ กย่ี วขอ้ งในการดำ� เนนิ การตามแผนและแนวทางในการปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (กองอ�ำนวยการรักษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจักร) (1.14) ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประสานงานและประเมนิ แนวโน้มของสถานการณ์ทอ่ี าจกอ่ ให้เกดิ สาธารณภยั (กองอำ� นวยการรกั ษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร) (1.15) ประสานงานและสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานของรฐั รวมทงั้ เฝา้ ระวงั ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ แนวโนม้ ของสถานการณท์ อ่ี าจกอ่ ใหเ้ กดิ สาธารณภยั และเตรยี มการปอ้ งกนั เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ เหตกุ ารณห์ รอื สถานการณใ์ ดๆ ทก่ี ระทบหรอื อาจสง่ ผลกระทบใหเ้ กดิ สาธารณภยั (ศูนยอ์ �ำนวยการรกั ษาผลประโยชน์ของชาตทิ างทะเล) (1.16) จัดท�ำมาตรฐาน แนวทาง มาตรการ หลักเกณฑ์ และวิธีการทางเทคโนโลยีดิจิทัล และกระบวนการด�ำเนินงานเพ่ือให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลและระบบการท�ำงานระหว่างกัน ของหนว่ ยงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และมคี วามสอดคลอ้ งกนั (สำ� นกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั (องค์การมหาชน)) (1.17) ส่งเสริมและสนับสนุนการบูรณาการและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานของรัฐ การเปดิ เผยขอ้ มลู ภาครฐั ผา่ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และเปน็ ศนู ยก์ ลางการแลกเปลยี่ นทะเบยี นขอ้ มลู ดิจิทัลภาครัฐเพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการให้บริการประชาชน และในการด�ำเนินงาน ของหนว่ ยงานภาครฐั (ส�ำนักงานพฒั นารฐั บาลดจิ ิทัล (องค์การมหาชน)) (1.18) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหห้ นว่ ยงานของรฐั ใหบ้ รกิ ารดจิ ทิ ลั แกผ่ เู้ กยี่ วขอ้ ง (สำ� นกั งานพฒั นา รฐั บาลดจิ ิทัล (องค์การมหาชน)) (2.1) สนับสนุนภารกิจของรัฐในการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติตามมาตรา 8 (3) แห่งพระราชบญั ญัติจดั ระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2551 (2.2) แจง้ เตอื นกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทกุ ระดบั และหนว่ ยงานพลเรอื นในพน้ื ทเี่ สยี่ งภยั กรณคี าดวา่ จะเกดิ ภยั จากการสรู้ บหรอื ภยั ทางอากาศหรือการก่อวนิ าศกรรม (3.1) กำ� หนดมาตรการด้านศลุ กากร (ในการน�ำเขา้ และสง่ ออก) เพ่อื ใชส้ นบั สนุน การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (กรมศุลกากร) (3.2) กำ� หนดระเบียบขอ้ บังคับเกยี่ วกบั ระเบยี บเงนิ ทดรองราชการ (กรมบญั ชกี ลาง) (3.3) เสนอแนะออกนโยบาย แผนมาตรการเกี่ยวกับการเงินการคลัง นโยบายภาษีอากร และสนบั สนนุ สง่ เสรมิ เผยแพรข่ อ้ มลู สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ ความนา่ เชอื่ ถอื ทางดา้ นเศรษฐกจิ และการคลังของประเทศ รวมทง้ั ตดิ ต่อประสานงานกบั หน่วยงาน ทเ่ี ก่ียวข้องและสนบั สนุน การป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย และช่วยเหลอื ผปู้ ระสบสาธารณภยั (สำ� นกั งานเศรษฐกจิ การคลัง) (3.4) เสนอแนะ และใชน้ โยบายทางภาษี เพอ่ื เปน็ กลไกในการสนบั สนนุ การปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั (กรมสรรพสามิต และกรมสรรพากร) 48 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

หน่วยงาน บทบาทหนา้ ที่ (4) กระทรวงการต่างประเทศ (4.1) ประสานงานและร่วมมือกับหน่วยงานราชการไทย รวมถึงคณะผู้แทนทางการทูต และองคก์ ารระหวา่ งประเทศในประเทศไทย ในการใหก้ ารบรรเทาทกุ ขแ์ ละชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ชาวต่างประเทศ (4.2) ประสานงาน รว่ มมอื และอำ� นวยความสะดวกหนว่ ยงานตา่ งประเทศ และองคก์ ารระหวา่ ง ประเทศ ในการรบั ความช่วยเหลือจากตา่ งประเทศเพอื่ จัดการความเส่ยี งจากสาธารณภยั (4.3) ประสานงาน และร่วมมือกบั หน่วยงานต่างประเทศและองคก์ ารระหวา่ งประเทศ ในด้าน การจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Management) ตงั้ แตก่ ารลดความเสยี่ ง จากสาธารณภัย (Disaster Risk Reduction: DRR) การป้องกันและเตรียมพร้อมรับมือ สาธารณภัย (Prevention and Preparedness) การจัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response) การฟื้นฟูและสร้างใหม่ให้ดีกว่าเดิม (Recovery and Build Back Better) และการประเมนิ ความตอ้ งการหลงั เกดิ สาธารณภยั (Post Disaster Needs Assessment: PDNA) (4.4) ชแ้ี จงและประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ขา่ วสารเกย่ี วกบั บทบาทของประเทศไทย ในการใหแ้ ละรบั ความชว่ ยเหลอื และการบรหิ ารจดั การสาธารณภัย ท้ังในดา้ นการลดความเส่ียงจากสาธารณภยั การปอ้ งกนั และเตรยี มพรอ้ มรบั มอื สาธารณภยั การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ การฟน้ื ฟแู ละสรา้ งใหม่ ใหด้ กี วา่ เดมิ และการประเมนิ ความตอ้ งการหลงั เกดิ สาธารณภยั ตอ่ สอ่ื มวลชนตา่ งชาตผิ า่ นชอ่ งทาง ประชาสมั พนั ธแ์ ละการสอื่ สารตา่ ง ๆ ของกระทรวงการตา่ งประเทศ และตอ่ หนว่ ยงานตา่ งประเทศ รวมทง้ั องคก์ ารระหวา่ งประเทศ (5) กระทรวงการท่องเทยี่ วและกฬี า (5.1) ส่งเสริม สนับสนุน และให้ความร่วมมือการด�ำเนินการเผยแพร่ความรู้ด้านการเตรียม ความพรอ้ มและการชว่ ยเหลอื นกั ทอ่ งเทยี่ วในกรณเี กดิ สาธารณภยั แกน่ กั ทอ่ งเทย่ี ว และผปู้ ระกอบ การอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (กองมาตรฐานและก�ำกับความปลอดภัยนักท่องเท่ียว ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกฬี า และกองบัญชาการตำ� รวจท่องเท่ียว) (5.2) ก�ำหนดมาตรการส�ำหรับความปลอดภัยทางการท่องเท่ียว (กองมาตรฐานและก�ำกับ ความปลอดภยั นกั ทอ่ งเทย่ี ว สำ� นกั งานปลดั กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า และกรมการทอ่ งเทยี่ ว) (5.3) ช่วยเหลือเยียวยานักท่องเท่ียวชาวต่างชาติท่ีได้รับผลกระทบจากสาธารณภัย (กองมาตรฐานและก�ำกับความปลอดภัยนักท่องเที่ยว ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา) (6) กระทรวงการพัฒนาสังคม (6.1) เสริมสร้างเครือข่ายด้านการพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคมให้เป็นกลไกเสริมในการ และความม่ันคงของมนุษย์ ทำ� งานปอ้ งกนั สาธารณภยั ในระดับชมุ ชนรากฐาน (6.2) สนบั สนนุ ดา้ นการสงั คมสงเคราะหแ์ กผ่ ปู้ ระสบภยั และดแู ลชว่ ยเหลอื เดก็ กำ� พรา้ คนพกิ าร และผ้สู ูงอายุในพ้นื ท่ีประสบภัย (6.3) วางแผนและฟ้นื ฟูด้านสงั คมและจิตใจใหแ้ กผ่ ู้ประสบภัยและผู้ประสบปัญหาทางสงั คม (6.4) สนบั สนนุ กจิ กรรมดา้ นสงั คมสงเคราะห์ เพื่อฟนื้ ฟูภายในศูนยพ์ ักพิงชั่วคราว (6.5) รับผิดชอบในการเตรยี มการและบรหิ ารจัดการศนู ย์พักพงิ ช่วั คราว แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 49

หนว่ ยงาน บทบาทหน้าที่ (7) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (7.1) จดั เกบ็ ขอ้ มลู การประเมนิ ความเสยี่ ง (ประเมนิ ความลอ่ แหลม ความเปราะบาง) การวเิ คราะห์ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม การจัดท�ำแผนท่ีความเส่ียงภัย ท่ีเก่ียวข้องด้านการเกษตร การทบทวนปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน การสื่อสารความเสี่ยง และผลกระทบทไี่ ดร้ บั เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งมบี ทบาทรว่ ม ตลอดจนประชาชน เกษตรกร และองคก์ รเกษตรกร ไดต้ ระหนกั และเตรยี มพรอ้ ม เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาศกั ยภาพในการจดั การ ความเส่ียงจากสาธารณภยั (7.2) บรู ณาการประสานสอดคลอ้ งกบั แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตร ระดบั ชาติ จงั หวดั อำ� เภอ ชมุ ชน เพอ่ื ลดความเสยี่ งและบรหิ ารจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั ซงึ่ มีความสอดคล้องกบั แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ (7.3) จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรเพื่อลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย สร้างความพร้อม รับมือและฟื้นกลับได้เร็วเมื่อเกิดสาธารณภัย ตลอดจนการจัดสรรทรัพยากร เพื่อการปฏิบัติ ตามแผนงาน นโยบาย กฎหมาย ระเบียบท่ีเกี่ยวข้อง ด้านการลดความเส่ียงและการจัดการ สาธารณภัย ท้ังท่ใี ช้โครงสรา้ ง อาทิ การกอ่ สรา้ ง บ�ำรงุ รกั ษาแหล่งนำ�้ ผวิ ดนิ ในเขตชลประทาน และนอกเขตชลประทาน การปฏิบัติการฝนหลวง และที่ไม่ใช้โครงสร้าง อาทิ การวางแผน การบริหารจัดการน�้ำในระบบชลประทาน การวางแผนการเพาะปลูกพืช การจัดท�ำทะเบียน เกษตรกร (ด้านพืช ด้านประมง และดา้ นปศสุ ัตว์) การจดั ให้มีระบบ การเก็บขอ้ มลู ประเมนิ การประชาสมั พันธ์ และการแจง้ เตอื น (7.4) จดั ทำ� แผนเผชญิ เหตุ การซ้อมแผนเผชญิ เหตุ การบริหารจดั การสถานการณ์ การระดม สรรพก�ำลงั การจดั สรรทรพั ยากร การรายงานเหตกุ ารณ์ (7.5) จัดสรรทรัพยากร เพ่อื การระงับยับยัง้ ความเสยี หายท่ีเกิดจากสาธารณภัย (7.6) ประเมินความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รวมทั้งโครงสรา้ งพ้ืนฐานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง (7.7) ส�ำรวจ ตรวจสอบความเสียหาย และช่วยเหลอื ตามกฎหมาย นโยบาย แผนงาน ระเบียบ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง (7.8) จัดสรรทรพั ยากร เพ่ือการซอ่ มสร้างและการฟ้นื คนื สภาพทีด่ กี วา่ เดิม โดยปรับปรงุ ฟน้ื ฟู พนื้ ทเี่ กษตรกรรม และพน้ื ทช่ี ลประทานทไี่ ดร้ บั ความเสยี หายจากสาธารณภยั เพอื่ ใหเ้ กษตรกร สามารถประกอบอาชพี ได้ (7.9) วางแผนและมาตรการในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาสาธารณภยั ดา้ นการเกษตร (7.10) พฒั นาพนื้ ทีเ่ กษตรกรรมและพื้นทช่ี ลประทานเพอื่ ลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั (7.11) ตดิ ตามสถานการณภ์ ยั และแจ้งเกษตรกรเพอื่ เตรยี มพร้อมรบั สถานการณ์ (7.12) ปฏบิ ตั กิ ารฝนหลวงและบรหิ ารจดั การนำ้� เพอ่ื ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาอทุ กภยั และภยั แลง้ (7.13) ก�ำหนดแนวทางป้องกันและให้ความช่วยเหลือสัตว์เลี้ยง สัตว์เศรษฐกิจ และสัตว์งาน ไม่ใหไ้ ด้รบั ผลกระทบจากสาธารณภัย (7.14) พฒั นาแหลง่ นำ�้ ตามศกั ยภาพของลมุ่ นำ้� ใหเ้ พยี งพอ เพอ่ื สนบั สนนุ การปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั รวมท้งั ดำ� เนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ทางนำ�้ (7.15) ประสานงานหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมข้อมูล สภาพภูมิอากาศ สภาพน้�ำในลมุ่ น้�ำและเขอ่ื นหรือที่กักเกบ็ น้ำ� 50 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

หนว่ ยงาน บทบาทหนา้ ที่ (8) กระทรวงคมนาคม (8.1) จดั ทำ� แผนสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านในภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นคมนาคมใหส้ อดคลอ้ ง กบั แผนการ (9) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ และส่งิ แวดล้อม (8.2) ปรบั ปรงุ เสน้ ทางและโครงขา่ ยคมนาคม สนบั สนนุ ภารกจิ การสง่ กำ� ลงั บำ� รงุ พรอ้ มทงั้ แกไ้ ข เสน้ ทางเพอ่ื ปอ้ งกันและลดผลกระทบจากสาธารณภยั (8.3) จดั ใหม้ เี ส้นทางส�ำรอง เส้นทางเลย่ี ง หรอื ทำ� ทางชัว่ คราว รวมทั้งซอ่ ม หรอื ดัดแปลงแกไ้ ข สิ่งอ�ำนวยความสะดวกในระบบคมนาคม เพื่อสนับสนุน การปฏิบัติงานของกองบัญชาการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และกองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในพื้นที่ (8.4) สนับสนุนการอพยพเคล่อื นย้ายประชาชนออกจากพืน้ ทปี่ ระสบภัย หรอื เสีย่ งตอ่ การเกดิ สาธารณภัย เพ่อื ใหป้ ระชาชนมีความปลอดภยั (8.5) สนับสนุนข้อมูลเส้นทางสัญจร เส้นทางเลี่ยงพ้ืนท่ีเสี่ยงภัย และพื้นท่ีประสบภัยส�ำหรับ ประชาชน (8.6) บรู ณะ ฟืน้ ฟู เส้นทางคมนาคมท่ไี ด้รบั ความเสียหายใหส้ ามารถใช้งานไดโ้ ดยเร็ว (8.7) จดั ท�ำระบบฐานขอ้ มูลทรัพยากรเพ่อื การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ดา้ นคมนาคม (8.8) ใหก้ ารสนบั สนนุ งานด้านการจราจรในเส้นทางรับผิดชอบทป่ี ระสบภัย (8.9) ประสานงานและรับแจ้งเหตุสาธารณภัย ภัยด้านความมั่นคง และสถานการณ์ฉุกเฉิน ระหว่างหนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงคมนาคม หนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้อง และภาคประชาสงั คม (9.1) ประเมนิ สถานการณท์ ีเ่ กย่ี วข้อง โดยวเิ คราะห์สภาพอากาศ ส่งิ ปกคลมุ ดนิ ปริมาณนำ้� ฝน สถานการณ์นำ้� การใชป้ ระโยชน์ทด่ี ิน รวมทงั้ ขอ้ มลู พ้ืนที่เสย่ี งภัยทีเ่ กดิ จากธรรมชาตแิ ละพืน้ ท่ี ท่ีเกิดภัยในอดีต เฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์ แจ้งเตือนประชาชนและอาสาสมัคร รวมท้ัง สนับสนนุ ข้อมูลและประสานการให้ความช่วยเหลอื ประชาชนตามภารกิจท่ีเก่ียวข้อง (9.2) ประสานงานรว่ มกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งในการตดิ ตาม ตรวจสอบ วเิ คราะห์ และประเมนิ ผลกระทบจากธรณพี บิ ตั ภิ ยั ประเภทตา่ ง ๆ ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม เชน่ ดนิ ถล่ม แผน่ ดินไหว สนึ ามิ หลมุ ยุบ การกดั เซาะชายฝงั่ รวมทั้งการช่วยเหลือสัตวท์ ีไ่ ด้รับ ผลกระทบจากสาธารณภยั เป็นตน้ (9.3) ปรบั ปรงุ ฟน้ื ฟพู ฒั นาแหลง่ ทรพั ยากรธรรมชาติ สภาพแวดลอ้ มเขตอทุ ยาน ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ จากสาธารณภัยให้กลับสสู่ ภาพเดิมและไม่เสี่ยงต่อการเกิดภยั (9.4) ศึกษา วิจัย พัฒนานวัตกรรมเพื่อการแจง้ เตอื นภยั พบิ ตั ิในพ้นื ทเี่ ส่ยี ง รวมทงั้ เสนอแนะแนวทาง ในการปอ้ งกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ (9.5) พัฒนาระบบแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า ส�ำหรับพื้นที่เสี่ยงภัยเพ่ือเป็นข้อมูลในการเฝ้าระวัง เตอื นภยั สถานการณ์ รวมทง้ั ช่องทางการส่อื สารเครือข่าย ดา้ นการแจง้ เตือนภัย อยา่ งรวดเร็ว ทัว่ ถึง และครอบคลุมในทุกพื้นท่ี (9.6) เสริมสร้างศักยภาพเจ้าหน้าท่ีให้มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานเฝ้าระวังเตือนภัย การวเิ คราะหเ์ พอ่ื ประเมนิ สถานการณ์ โดยใชเ้ ทคโนโลยที เี่ หมาะสมมาสนบั สนนุ การดำ� เนนิ งาน เพ่อื ใหเ้ กิดความแม่นย�ำ แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 51

หนว่ ยงาน บทบาทหน้าท่ี (9.7) วางแผน ปรบั ปรงุ และพฒั นาแหลง่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสภาพแวดลอ้ ม เพอื่ ลดความเสย่ี ง จากสาธารณภยั (9.8) ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ มลพษิ และผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มจากการเกดิ สาธารณภยั รวมทง้ั เสนอแนะแนวทางการฟน้ื ฟแู ละรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม ใหม้ คี วามสมดลุ เหมาะสมตอ่ การดำ� รงชวี ติ ของประชาชนและสงิ่ มชี ีวิต (9.9) ควบคมุ และป้องกนั สตั ว์ปา่ และสตั วอ์ พยพทีไ่ ด้รับผลกระทบจากสาธารณภยั (9.10) ดำ� เนนิ การรว่ มกบั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการคาดการณก์ ารเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และประเมินความเส่ียงและผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศของประเทศ (10) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ (10.1) ด�ำเนินการให้มีระบบสื่อสารและโทรคมนาคมทั้งระบบส่ือสารหลัก ระบบส่ือสารรอง และสังคม ระบบสื่อสารส�ำรอง ตลอดจนให้บริการฐานข้อมูลด้านการส่ือสาร ให้สามารถใช้การได้ ในทกุ สถานการณ์ (สำ� นกั งานปลดั กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม บรษิ ทั โทรคมนาคม แหง่ ชาติ จำ� กดั (มหาชน)) (10.2) สนับสนนุ ข้อมูลสภาวะและการพยากรณ์อากาศและแจ้งเตือนภัย ร่วมมอื ประสานงาน แลกเปล่ยี น และใหค้ วามรูด้ า้ นอุตุนยิ มวทิ ยาและแผ่นดนิ ไหวกบั ประชาชน และหน่วยงานอ่นื ท่ีเก่ียวข้องท้ังในประเทศและต่างประเทศ รวมท้ังจัดท�ำสถิติเพ่ือการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย (กรมอตุ ุนยิ มวิทยา และส�ำนกั งานสถิติแหง่ ชาต)ิ (10.3) สนับสนุนอุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ในการสื่อสาร การจัดช่องการสื่อสารส�ำรอง เพื่อใช้ในภาวะฉุกเฉิน และสนับสนุนก�ำลังคน ในการบริการติดต่อสื่อสารได้ตลอดระยะเวลา ระหวา่ งพนื้ ทเ่ี กดิ ภยั และพน้ื ทภี่ ายนอก เพอ่ื ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ (บรษิ ทั โทรคมนาคม แหง่ ชาติ จำ� กัด (มหาชน)) (10.4) ฟน้ื ฟรู ะบบสอื่ สารเพอื่ ใหส้ ามารถตดิ ตอ่ สอื่ สารได้ (บรษิ ทั ไปรษณยี ไ์ ทย จำ� กดั (มหาชน) บรษิ ัท โทรคมนาคมแหง่ ชาติ จ�ำกัด (มหาชน)) (11) กระทรวงพลงั งาน (11.1) บรหิ ารจดั การดา้ นกา๊ ซธรรมชาตใิ นสภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นพลงั งาน (กรมเชอื้ เพลงิ ธรรมชาติ และบรษิ ทั ปตท. จ�ำกดั (มหาชน)) (11.2) บรหิ ารจดั การด้านนำ�้ มันเชือ้ เพลิงในสภาวะฉกุ เฉินด้านพลงั งาน (กรมธุรกจิ พลังงาน) (11.3) บริหารจัดการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานในสภาวะฉุกเฉินด้านพลังงาน (ส�ำนักงาน คณะกรรมการกำ� กบั กิจการพลังงาน และกรมพัฒนาพลงั งานทดแทน และอนุรักษพ์ ลังงาน) (11.4) บริหารจดั การด้านไฟฟา้ ในสภาวะฉกุ เฉินดา้ นพลังงาน (สำ� นักงานคณะกรรมการก�ำกบั กจิ การพลังงาน สำ� นักนโยบายและแผนพลงั งาน และการไฟฟ้าฝา่ ยผลติ แห่งประเทศไทย) (11.5) บริหารจัดการแผนรองรับในสภาวะฉุกเฉินด้านพลังงานในภาพรวม (ส�ำนักงานปลัด กระทรวงพลงั งาน) (11.6) จดั ทำ� ฐานขอ้ มลู แหลง่ พลงั งานเพอื่ ใชส้ นบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และกองอ�ำนวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยในพ้นื ที่ (สำ� นกั งานคณะกรรมการกำ� กบั กจิ การพลงั งาน กรมเชอ้ื เพลงิ ธรรมชาติ และกรมธรุ กจิ พลงั งาน) 52 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

หน่วยงาน บทบาทหน้าที่ (12) กระทรวงพาณิชย์ (11.7) จดั หาทรพั ยากรดา้ นพลงั งาน ใหเ้ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการใชใ้ นการปอ้ งกนั และบรรเทา (13) กระทรวงมหาดไทย สาธารณภยั (กรมธุรกจิ พลงั งาน การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย และบรษิ ัท ปตท. จ�ำกดั (มหาชน)) (11.8) สนบั สนนุ ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นพลงั งานเพอื่ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (กรมเชอ้ื เพลงิ ธรรมชาติ กรมธุรกิจพลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)) (12.1) จัดท�ำทะเบียนฐานข้อมูลผู้ผลิต/ผู้น�ำเข้าสินค้าอุปโภคบริโภคที่จ�ำเป็นต่อการครองชีพ (กรมการค้าภายใน) (12.2) สนับสนุนการบรรเทาสาธารณภัย โดยประสานผู้ผลิต/ผู้น�ำเข้าสินค้าที่จ�ำเป็นต่อการ ครองชีพ (กรมการค้าภายใน) (12.3) จัดระบบการปันส่วนและก�ำหนดมาตรการควบคุมราคาสินค้าและบริการขณะเกิดภัย (กรมการคา้ ภายใน) (12.4) กำ� หนดมาตรการก�ำกบั ดแู ลราคาสินคา้ และปรมิ าณสนิ ค้า เพ่อื การจัดหาสินคา้ ทีจ่ ำ� เปน็ ในขณะเกิดสาธารณภัยและป้องปรามการฉวยโอกาสกักตุนสินค้าหรือข้ึนราคาสินค้าซ�้ำเติม ผู้บริโภค โดยมกี ารกำ� กบั ดแู ลท้งั ต้นทางและปลายทาง (กรมการค้าภายใน) (12.5) ติดตามสถานการณ์ราคาพืชผลการเกษตรในพ้ืนที่ประสบสาธารณภัย และก�ำหนด มาตรการแก้ไขปัญหาเพ่อื ช่วยเหลือเกษตรกร (กรมการคา้ ภายใน) (12.6) ประสานผู้ผลิต/ผู้น�ำเข้า เพื่อส่งสินค้าเข้าแต่ละพ้ืนที่ให้เพียงพอกับความต้องการ โดยเฉพาะพน้ื ทป่ี ระสบสาธารณภัย และให้จ�ำหนา่ ยในราคาปกติ (กรมการคา้ ภายใน) (13.1) สง่ั การ และประสานใหจ้ งั หวดั อำ� เภอ และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ดำ� เนนิ การเกย่ี วกบั การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตพ้ืนที่ท่ีรับผิดชอบ เพื่อการลดความเส่ียง จากสาธารณภัย (13.2) ดำ� เนนิ การตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการควบคมุ อาคาร กฎหมายวา่ ดว้ ยการขดุ ดนิ และถมดนิ กฎหมายว่าด้วยการควบคุมกิจการการค้าอันกระทบถึงความปลอดภัย หรือความผาสุก แหง่ สาธารณชนและกฎหมายอ่นื ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง (13.3) ด�ำเนินการตามมาตรการด้านผงั เมืองเพอื่ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (13.4) ประกาศเขตพนื้ ทป่ี ระสบสาธารณภยั เพอ่ื สามารถชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ไดต้ ามกฎหมาย และระเบียบท่เี ก่ยี วขอ้ ง (13.5) อ�ำนวยการและประสานการปฏิบัติการจัดการสาธารณภัยและให้ความช่วยเหลือ ผปู้ ระสบภยั ฟน้ื ฟแู ละบรู ณะสภาพพนื้ ทป่ี ระสบสาธารณภยั ในกรณที เี่ กดิ สาธารณภยั ขนาดใหญ่ ทม่ี ีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง (13.6) ส่งเสริมและรักษาความม่ันคงภายใน ความสงบเรียบร้อย และให้มีบริการประชาชน ในพื้นทอ่ี ย่างมีประสิทธภิ าพ (13.7) ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ตามระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยเงนิ ทดรองราชการ เพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (เขตพื้นท่ีจังหวัดประกาศโดยผู้ว่าราชการจังหวัด และเขตพ้นื ทกี่ รุงเทพมหานครประกาศโดยอธิบดีกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย) แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 53

หน่วยงาน บทบาทหน้าที่ (13.8) พัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธีการเก่ียวกับการบริหารงานท่ีดินเพื่อสนับสนุนงาน ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (13.9) สง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรู้ และการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน สง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกจิ ชุมชนฐานรากให้มีความมนั่ คงและมีเสถยี รภาพ (13.10) สนบั สนนุ ให้มกี ารจัดทำ� และใชป้ ระโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศ ศกึ ษา วิเคราะห์ วจิ ยั จัดท�ำยุทธศาสตร์ชุมชน ตลอดจนการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา ชมุ ชน เพอ่ื ใหเ้ ป็นชุมชนเขม้ แข็งอย่างย่งั ยนื (13.11) สนบั สนนุ การบริหารจดั การศูนย์พักพิงชั่วคราว (13.12) สนบั สนนุ องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยในพนื้ ที่ (13.13) สนบั สนนุ สง่ เสรมิ และประสานงานกบั องคก์ ารสาธารณกศุ ลในการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัย (13.14) ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ทกุ ประเภทในฐานะหนว่ ยงานปฏบิ ตั กิ ารในพนื้ ท่ี กำ� หนด ให้มีมาตรการการลดความเสย่ี งจากสาธารณภัย การพฒั นา การจัดการในภาวะฉกุ เฉิน รวมถงึ การฟน้ื ฟอู ยา่ งยงั่ ยนื (14) กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ หนว่ ยงานกลางของรฐั ในการดำ� เนนิ การเกย่ี วกบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของประเทศ ตามมาตรา 11 แห่งพระราชบญั ญตั ิป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 โดยมีหน้าทีด่ ังน้ี (14.1) จัดท�ำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติเสนอคณะกรรมการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ เพือ่ ขออนมุ ตั ิต่อคณะรฐั มนตรี (14.2) จัดให้มีการศึกษาวิจัยเพ่ือหามาตรการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้มี ประสทิ ธิภาพ (14.3) ปฏบิ ตั กิ าร ประสานการปฏบิ ตั ิ ใหก้ ารสนบั สนนุ และชว่ ยเหลอื หนว่ ยงานของรฐั องคก์ ร ปกครองสว่ นท้องถิน่ และหน่วยงานภาคเอกชนในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (14.4) ใหก้ ารสงเคราะหเ์ บอื้ งต้นแก่ผ้ปู ระสบภยั ผู้ได้รบั ภยันตราย หรอื ผูไ้ ด้รบั ความเสียหาย จากสาธารณภยั (14.5) แนะนำ� ใหค้ ำ� ปรกึ ษา และอบรมเกยี่ วกบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แกห่ นว่ ยงาน ของรัฐ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ และหนว่ ยงานภาคเอกชน (14.6) ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการดำ� เนนิ การตามแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แต่ละระดบั (15) กระทรวงยตุ ธิ รรม (15.1) ใหค้ ำ� แนะนำ� ชว่ ยเหลอื และใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชนทางกฎหมายทเี่ กย่ี วกบั การเรยี กรอ้ ง สิทธิและการคุ้มครองสิทธิตามกฎหมาย (กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ และส�ำนักงานปลัด กระทรวงยุติธรรม (ส�ำนักงานยตุ ธิ รรมจงั หวัด)) (15.2) สนบั สนนุ ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นนติ วิ ทิ ยาศาสตรเ์ มอื่ ไดร้ บั การรอ้ งขอ (สถาบนั นติ วิ ทิ ยาศาสตร)์ (15.3) สนับสนุนก�ำลังแรงงานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (กรมคุมประพฤติ และกรมราชทณั ฑ์) (15.4) สนับสนุนฐานข้อมูลและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลกระทรวง ยุตธิ รรม DXC ด้วย Big Data เมอื่ ไดร้ บั การรอ้ งขอ (สำ� นกั งานกจิ การยุติธรรม) (15.5) สนบั สนนุ ฐานขอ้ มลู คนหาย คนนริ นาม และศพนริ นาม ตามแผนแมบ่ ทการตดิ ตามคนหาย คนนริ นาม และศพนริ นาม พ.ศ. 2562 - 2565 (สถาบันนิติวิทยาศาสตร์) 54 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

หนว่ ยงาน บทบาทหนา้ ท่ี (16) กระทรวงแรงงาน (16.1) ให้การศึกษา อบรม และฝึกฝนแรงงานในสถานประกอบการ รวมทั้งบุคลากร (17) กระทรวงวฒั นธรรม ด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องให้สามารถปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัยในการท�ำงาน และสามารถบรหิ ารจดั การความปลอดภยั ในสถานประกอบกจิ การของตนเอง (กรมพฒั นาฝมี อื (18) กระทรวงการอดุ มศึกษา แรงงาน และกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน) วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (16.2) ตรวจสอบขอ้ มลู แรงงานทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากสาธารณภยั เพอ่ื ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ดา้ นคมุ้ ครอง และเรียกร้องสิทธิท่ีพึงได้ตามกฎหมายแรงงาน (กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และสำ� นักงานประกนั สังคม) (16.3) ฝึกอาชีพและจัดหางานให้ผู้ประสบภัย (กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมการจัดหางาน และสำ� นักงานปลัดกระทรวงแรงงาน) (16.4) จัดหน่วยใหบ้ ริการด้านประกันสงั คมแก่แรงงานในระบบ แรงงานนอกระบบ รวมถงึ ผ้มู ี สทิ ธิทป่ี ระสบภยั เพ่ือใหไ้ ดร้ บั สิทธปิ ระโยชนท์ คี่ รบถว้ นและรวดเรว็ (ส�ำนกั งานประกนั สังคม) (16.5) จดั เตรยี ม จดั หาแรงงานทม่ี คี วามรทู้ างเทคนคิ เพอื่ ประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัย (16.6) ส�ำรวจ จดั เตรยี ม จัดหา โดยการเรยี กร้องเกณฑ์จา้ งหรือเชา่ เครื่องมอื เคร่อื งใชใ้ นการ ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั (17.1) จัดท�ำฐานข้อมูลโบราณสถานท่ีสามารถใช้เป็นจุดอพยพ ศูนย์พักพิงชั่วคราว หรือสถานท่ีอ�ำนวยความสะดวกแก่การปฏิบัติงานของกองบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั แหง่ ชาติ และกองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในพนื้ ที่ (กรมศลิ ปากร) (17.2) จัดเตรยี มพ้ืนท่ีโบราณสถานท่ีสามารถใช้เปน็ จุดอพยพ ศนู ย์พกั พิงช่ัวคราว หรือสถานท่ี อำ� นวยความสะดวกแกก่ ารปฏบิ ตั งิ านของกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั แหง่ ชาติ และกองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยในพน้ื ท่ี (กรมศลิ ปากร) (17.3) ฟื้นฟูบูรณะศาสนสถาน (ยกเว้นวัดและมัสยิด) โบราณสถาน โบราณวัตถุท่ีเสียหาย จากสาธารณภยั ให้กลบั สู่สภาพเดิม (กรมศิลปากร) (17.4) สนับสนุนงบประมาณเพ่ือสมทบในการบูรณะซ่อมแซมศาสนสถานของศาสนาอิสลาม คริสต์ พราหมณ-์ ฮินดู และซกิ ข์ เฉพาะสถานทส่ี �ำหรบั ใชป้ ระกอบศาสนกิจ องคป์ ระกอบอน่ื และระบบสาธารณปู โภคทจ่ี ำ� เปน็ ในการปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ซง่ึ ไดร้ บั ความเสยี หายจากสาธารณภยั ใหก้ ลบั มามสี ภาพพรอ้ มใชง้ านเทา่ นนั้ และการจะสนบั สนนุ งบประมาณแกศ่ าสนสถานพจิ ารณา จากกรณที ศ่ี าสนสถานในศาสนาอสิ ลามตอ้ งจดทะเบยี นถกู ตอ้ งตามพระราชบญั ญตั กิ ารบรหิ าร องคก์ ารศาสนาอสิ ลาม พ.ศ. 2540 สว่ นกรณี ศาสนสถานในศาสนาคริสต์ พราหมณ์ - ฮินดู และซิกข์ ตอ้ งอยภู่ ายใตอ้ งค์การศาสนาที่กรมการศาสนารบั รอง (กรมการศาสนา) (18.1) ศกึ ษา คน้ ควา้ และวจิ ยั ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที เี่ หมาะสมสำ� หรบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (สำ� นักงานการวิจยั แห่งชาติ ส�ำนักงานปรมาณู เพอ่ื สันติ และสถาบนั เทคโนโลยีนิวเคลยี รแ์ หง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน)) (18.2) ใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ดาวเทยี ม ขอ้ มลู ภมู สิ ารสนเทศ และขอ้ มลู จากเรดารช์ ายฝง่ั รวมถงึ ระบบ เพอ่ื การตดั สนิ ใจ เพอ่ื วางแผนงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (สำ� นกั งานพฒั นาเทคโนโลยี อวกาศและภมู ิสารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน)) แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 55

หนว่ ยงาน บทบาทหนา้ ที่ (18.3) ให้ค�ำปรึกษา สนับสนุนองค์ความรู้ ส่ิงประดิษฐ์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม (19) กระทรวงศึกษาธกิ าร ซง่ึ เกยี่ วขอ้ งกบั การจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั (กรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร สำ� นกั งานการวจิ ยั (20) กระทรวงสาธารณสขุ แห่งชาติ สำ� นกั งานคณะกรรมการ การสง่ เสรมิ วจิ ัยและนวัตกรรม ส�ำนกั งานปรมาณเู พ่ือสนั ติ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�้ำ (องค์การมหาชน) และส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)) (18.4) ใหบ้ รกิ ารข้อมูลจากระบบคลังข้อมูลนำ�้ แห่งชาติ เพอื่ สนับสนุนการปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัย (สถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรนำ�้ (องค์การมหาชน)) (18.5) สนับสนุนการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานระงับเหตุสาธารณภัยทางนิวเคลียร์ และรงั สี ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั โดยมแี ผนฉกุ เฉนิ ทางนวิ เคลยี ร์ และรังสีเป็นแผนสนับสนุนและอยู่ภายใต้แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (ส�ำนักงานปรมาณเู พ่อื สนั ติ) (19.1) พฒั นาหลักสตู รการเรียน การสอนเก่ียวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทุกระดับชั้น (19.2) ส่งเสริมหน่วยงานการศึกษาให้มีบทบาทในการช่วยเหลือ สนับสนุนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย (19.3) สง่ เสรมิ ใหค้ วามรแู้ ละการสรา้ งจติ สำ� นกึ แกน่ กั เรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชนใหม้ สี ว่ นรว่ ม ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั (19.4) สนบั สนนุ บคุ ลากรดา้ นการศกึ ษา เพอื่ สนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตแิ ละกองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ระดบั พน้ื ที่ (19.5) สำ� รวจและจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู สถานศกึ ษาเพอื่ ใชเ้ ปน็ สถานทอี่ พยพ และศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว (20.1) จัดท�ำนโยบาย พัฒนา ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ และบูรณาการแผนงานการจัดการ ภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ รว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยทเี่ ปน็ เอกภาพ ครบวงจร (20.2) เปน็ หนว่ ยงานหลกั ดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ ในการตอบสนองตอ่ ภาวะฉกุ เฉนิ และสาธารณภัย โดยจัดให้มีระบบบัญชาการเหตุการณ์ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข สั่งการหน่วยงานในสังกัด รวมถึงหน่วยงานในก�ำกับของกระทรวงสาธารณสุข และประสาน ความรว่ มมอื กบั หน่วยงานภาคเี ครือข่ายทงั้ ภาครัฐและเอกชน (20.3) พฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ประเมนิ ความเสยี่ ง ระบบการพยากรณโ์ รคและภยั สขุ ภาพ รวมถงึ การแจง้ เตอื นภัย (Warning System) กับหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง (20.4) พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และการสาธารณสุข (Public Health Emergency Operation Center: PHEOC) ในระดบั ตา่ ง ๆ เพอื่ เปน็ ศนู ยป์ ระสานการเชอื่ มโยง ของหนว่ ยงานสาธารณสุขท้งั ส่วนกลาง สว่ นภมู ภิ าค และภาคเี ครอื ขา่ ยที่เกยี่ วข้อง (20.5) จดั เตรยี มความพรอ้ มสถานพยาบาลทกุ ระดบั ในการรบั มอื กบั สาธารณภยั รวมถงึ พฒั นา บุคลากรสาธารณสุขและอาสาสมัครให้มีความรู้และทักษะพร้อมที่จะปฏิบัติงาน เมื่อเกิด สาธารณภยั และปอ้ งกนั ตนเองจากภยั ท่เี กิดข้นึ ขณะปฏิบตั ิงาน 56 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

หน่วยงาน บทบาทหน้าที่ (20.6) จัดหาและจัดเตรียมทรัพยากรทางการแพทย์และการสาธารณสขุ สนบั สนนุ การบริหาร จัดการในภาวะฉุกเฉิน รวมถึงประสานการระดมสรรพก�ำลังและทรัพยากรด้านการแพทย์ และการสาธารณสุขแบบบรู ณาการ (20.7) พฒั นาทมี ปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทางการแพทยใ์ นภาวะฉกุ เฉนิ ในระดบั ตา่ ง ๆ ทพี่ รอ้ มปฏบิ ตั ิ การช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถใช้ประโยชน์ได้ทันทีเม่ือเกิด สาธารณภัย (20.8) จดั ใหม้ ีการรักษาพยาบาลฉกุ เฉิน (Emergency Care System) ครอบคลุมการแพทย์ ฉกุ เฉนิ กอ่ นถงึ โรงพยาบาล (Emergency Medical Services: EMS) การรกั ษาพยาบาลฉกุ เฉนิ ที่โรงพยาบาล (Emergency Care in hospital) การส่งต่อ (Inter hospital care) พรอ้ มทง้ั สนับสนุนการปฏิบัติงานทั่วประเทศ และจัดระบบเครือข่ายบริการด้านการแพทย์ และการสาธารณสขุ (20.9) พฒั นาระบบสอื่ สารสงั่ การเชอื่ มโยงหนว่ ยงานในสงั กดั รวมถงึ ภาคเี ครอื ขา่ ย ทง้ั ในประเทศ และต่างประเทศ (20.10) พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการแพทย์และการสาธารณสุขส�ำหรับบริหารจัดการ ในภาวะฉุกเฉิน อาทิ ข้อมูลสถานการณ์ รายงานความเสียหายหรือผลกระทบ ผู้เช่ียวชาญ ทางการแพทย์และการสาธารณสุข ทรัพยากรด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ทีมปฏิบัติ การฉกุ เฉินทางการแพทย์ (20.11) จัดท�ำแผนบริหารความต่อเน่ืองขององค์กร (Business Continuity Plan: BCP) และประคองระบบบริการด้านการแพทย์และการสาธารณสุขในภาวะวิกฤติครอบคลุมทุกมิติ ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข จัดท�ำแผนและจัดให้มีระบบฟื้นฟูด้านการแพทย์ และการสาธารณสขุ รวมทงั้ สนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ภายหลงั เหตกุ ารณห์ รอื สาธารณภยั (20.12) สนับสนุนด้านวิชาการ องค์ความรู้ นวัตกรรม เผยแพร่ให้ภาคีเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้อง ใช้เปน็ แนวปฏิบัติ และฝกึ อบรมการปฏิบัติหน้าทที่ ่ีเก่ียวขอ้ งกบั การแพทยแ์ ละการสาธารณสุข (20.13) จัดให้ความรู้แก่ประชาชนและสนับสนุนเครือข่ายภาคประชาชนในการจัดการ ในภาวะฉกุ เฉนิ และส่ือสารความเสย่ี งในภาวะฉกุ เฉนิ ใหส้ ามารถเขา้ ถึงประชาชนทกุ ระดบั (21) สถาบนั การแพทยฉ์ กุ เฉนิ แหง่ ชาติ (21.1) ประสานงาน สนับสนนุ ติดตาม และประเมินผลการปฏบิ ตั ิการด้านการแพทย์ฉุกเฉนิ (21.2) เปน็ หนว่ ยงานกลางในการประสานกบั หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนทง้ั ใน และตา่ งประเทศ ดา้ นการแพทย์ฉกุ เฉิน (21.3) จัดท�ำมาตรฐาน แนวทาง หลักเกณฑ์ เกณฑ์และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามมาตรฐาน ระบบการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ภายในประเทศ และระบบการประสานงาน ทางการแพทยร์ ะหวา่ งประเทศ (21.4) สนบั สนนุ ใหม้ รี ะบบปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ และพฒั นาระบบสอ่ื สารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือประโยชนใ์ นการปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ ทางการแพทย์ (21.5) สนบั สนนุ อดุ หนนุ ชดเชยคา่ ปฏบิ ตั กิ ารแพทยฉ์ กุ เฉนิ ใหแ้ กห่ นว่ ยปฏบิ ตั กิ ารตามหลกั เกณฑ์ ที่คณะกรรมการการแพทยฉ์ กุ เฉิน (กพฉ.) ก�ำหนด (21.6) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การพฒั นาศกั ยภาพผปู้ ฏบิ ตั กิ าร หนว่ ยปฏบิ ตั กิ าร และสถานพยาบาล ด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ตั้งแต่ระดับต้นจนถึงระดับสูง และหลักสูตรต่อยอดในการปฏิบัติงาน ดา้ นการแพทยฉ์ ุกเฉนิ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ และมคี วามพร้อม ในการปฏิบัตกิ ารในภาวะภยั พิบตั ิ แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 57

หนว่ ยงาน บทบาทหนา้ ที่ (22) กระทรวงอุตสาหกรรม (21.7) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ยั และพฒั นา รวมถงึ เผยแพรค่ วามรดู้ า้ นการแพทย์ ฉุกเฉิน ในการป้องกันตนเองก่อนเกิดภัย รวมทั้งการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการแจ้งเหตุ (23) สำ� นกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ เมือ่ พบผู้ป่วยฉกุ เฉิน (21.8) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหห้ นว่ ยงานเครอื ขา่ ยทงั้ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และมลู นธิ /ิ ภาคเอกชนทไี่ มแ่ สวงหาก�ำไร จดั ชุดปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ ใหม้ คี วามครอบคลุมทกุ พื้นท่ี (21.9) จดั เกบ็ ข้อมูลผ้บู าดเจบ็ และผูเ้ สียชวี ิตท่มี าด้วยระบบการแพทยฉ์ กุ เฉิน ทั้งในภาวะปกติ และภาวะสาธารณภัย (22.1) กำ� หนดมาตรฐานและก�ำกบั ดูแลการผลติ สินคา้ อุตสาหกรรม สนิ คา้ ชมุ ชนทอ่ี ยูใ่ นความ รับผดิ ชอบใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมคี ุณภาพตามท่ีกฎหมาย กฎ ระเบียบและวิธกี ารอนื่ ที่กำ� หนด (22.2) จดั ท�ำแผนปฏิบัติการดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ใหส้ อดคล้องกบั แผนการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ (22.3) ส่งเสริมและสนับสนุนข้อมูลและองค์ความรู้ด้านเคร่ืองจักรกล การผลิต ส่ิงแวดล้อม ความปลอดภยั วตั ถอุ นั ตราย และพลงั งานเพอื่ ประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (22.4) จัดท�ำฐานข้อมูลทรัพยากรของแหล่งอุตสาหกรรม เพ่ือใช้สนับสนุนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั (22.5) ใหค้ วามช่วยเหลือภาคอตุ สาหกรรมทไี่ ดร้ ับผลกระทบจากสาธารณภยั (22.6) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และใหบ้ รกิ ารดา้ นเทคโนโลยคี วามปลอดภยั อาชวี อนามยั สขุ อนามยั การบรหิ ารความปลอดภยั เพอ่ื ประโยชนใ์ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั (22.7) ตดิ ตอ่ และประสานความรว่ มมอื ดา้ นความปลอดภยั ของโรงงานกบั หนว่ ยงานหรอื องคก์ ร ด้านความปลอดภัยท้ังในและต่างประเทศ เพ่ือป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัย/ อุบัติภยั รวมทั้งการกีดกันทางการค้าดว้ ยเหตผุ ลจากความเสีย่ งภัย (23.1) รกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยและความปลอดภยั ของประชาชนในพน้ื ทปี่ ระสบภยั และพนื้ ที่ ใกลเ้ คียง (23.2) ควบคุมและบังคับใช้กฎหมายเพอ่ื ป้องกนั และปราบปรามการกระท�ำผดิ ทางอาญา (23.3) ปฏิบัติหน้าที่ด้านการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล การจัดการศพ การติดตามผู้สูญหาย และการสง่ กลับ (23.4) จดั ระบบจราจรในพน้ื ที่ประสบภัยและพ้นื ทีใ่ กล้เคียง (23.5) จัดชุดเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญพิเศษสนับสนุนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น ชุดกภู้ ยั ชดุ สนุ ขั ค้นหา ชุดเกบ็ กู้ และทำ� ลายวัตถุระเบิด เปน็ ตน้ (23.6) สนบั สนนุ กำ� ลงั เจา้ หนา้ ที่ เครอื่ งมอื อปุ กรณ์ และยานพาหนะ แกก่ องบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ และกองอ�ำนวยการปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัยในพืน้ ที่ 58 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

หน่วยงาน บทบาทหน้าที่ (24) ส�ำนกั งานพระพทุ ธศาสนา แห่งชาติ (24.1) จัดทำ� ฐานข้อมลู วัดท่สี ามารถใช้เป็นจุดอพยพ/ศนู ย์พกั พงิ ชวั่ คราว หรอื สถานท่อี �ำนวย ความสะดวกแก่การปฏิบัติงานของกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และกองอ�ำนวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยในพ้ืนที่ (24.2) จัดเตรียมพื้นที่วัดที่สามารถใช้เป็นจุดอพยพ/ศูนย์พักพิงช่ัวคราว หรือสถานที่อ�ำนวย ความสะดวกแก่การปฏิบัติงานของกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และกองอำ� นวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในพน้ื ท่ี (24.3) ฟ้นื ฟูบูรณะวัดท่เี สยี หายจากสาธารณภัยใหก้ ลบั สสู่ ภาพปกตหิ รอื ดกี วา่ เดิม (25) มูลนธิ ริ าชประชานุเคราะห์ (25.1) ให้การสงเคราะห์ช่วยเหลอื ผู้ประสบสาธารณภยั ทเ่ี กดิ ข้ึนท่ัวประเทศ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ (25.2) ใหก้ ารสนับสนนุ ดา้ นการป้องกันสาธารณภยั ทวั่ ประเทศ (25.3) ให้การสงเคราะห์ช่วยเหลือเป็นส่วนร่วมแก่ประชาชนท่ีได้รับความทุกข์ยากเดือดร้อน ประการอื่น (25.4) ให้การสงเคราะห์ด้านการศึกษาแก่เด็กก�ำพร้า หรือเด็กอนาถาที่ครอบครัวประสบ สาธารณภยั และใหท้ นุ การศกึ ษาแกน่ ักเรยี นท่ีเรียนดใี นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ (25.5) ร่วมมอื กับองคก์ รการกศุ ลอนื่ ๆ ในกจิ กรรมสาธารณประโยชน์ (26) สภากาชาดไทย (26.1) จัดเตรียมโลหติ ยา เวชภัณฑ์ วสั ดุอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ตลอดจนเครอื่ งอปุ โภคบริโภคเพ่อื ใช้ ในการบรรเทาทุกขแ์ ละสงเคราะหผ์ ู้ประสบภัย (26.2) ฝึกอบรมเจ้าหนา้ ท่ี สมาชิกสภากาชาดไทย อาสากาชาด เหล่ากาชาดจังหวดั กง่ิ กาชาด อำ� เภอ และประชาชน เพอ่ื เตรยี มพรอ้ มรบั สาธารณภยั รวมถงึ ใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั การปฐมพยาบาล และการสาธารณสุขเพอ่ื ใหส้ ามารถช่วยเหลือตนเอง และผอู้ น่ื ไดเ้ มื่อประสบภัย (26.3) สภากาชาดไทย รวมไปถงึ เหลา่ กาชาดจงั หวดั และกงิ่ กาชาดอำ� เภอ บรรเทาทกุ ขผ์ ปู้ ระสบภยั ขณะเกดิ เหตุ และหลงั เกดิ เหตดุ ว้ ยการบรกิ ารทางการแพทย์ ทง้ั การรกั ษาพยาบาล ปอ้ งกนั โรค และสงเคราะห์เคร่ืองอุปโภคบริโภค ตลอดจนอุปกรณ์ และบริการอื่น ๆ ตามความจ�ำเป็น ของผ้ปู ระสบภัย (26.4) ตดิ ตอ่ และประสานความร่วมมือกับสภากาชาดประเทศต่าง ๆ ผา่ นทางคณะกรรมการ กาชาดระหวา่ งประเทศ และสหพนั ธ์สภากาชาดและสภาเสีย้ ววงเดือนแดงระหว่างประเทศ (27) สำ� นกั งานคณะกรรมการกจิ การ (27.1) ก�ำกับดูแลผู้รับใบอนุญาตฯ ให้จะต้องด�ำเนินการตามบทบัญญัติของมาตรา 35 กระจายเสยี งกิจการโทรทศั น์ แห่งพระราชบัญญัติการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ.2551 ในกรณีท่ีมีภัยพิบัติ และกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือมีเหตุฉุกเฉิน หรือมีกรณีอ่ืนตามท่ีคณะกรรมการประกาศก�ำหนด ซ่ึงมีความจ�ำเป็น ต้องออกอากาศแจ้งข่าวหรือเตือนภัยให้ประชาชนทราบ กรณีท่ีมีภัยพิบัติหรือเหตุฉุกเฉิน สามารถดำ� เนนิ การรอ้ งขอผรู้ บั ใบอนญุ าตใหด้ ำ� เนนิ การแจง้ ขา่ วหรอื เตอื นภยั ใหป้ ระชาชนทราบ เมอื่ รฐั บาลหรอื หนว่ ยงานของรฐั ทเี่ กยี่ วขอ้ งรอ้ งขอใหผ้ รู้ บั ใบอนญุ าตดำ� เนนิ การตามทร่ี อ้ งขอนนั้ แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 59

หนว่ ยงาน บทบาทหน้าท่ี (27.2) ด�ำเนินการเกี่ยวกับการจัดสรรและใช้คลื่นความถี่ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกจิ การโทรคมนาคมเพอ่ื สนบั สนนุ ภารกจิ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และในกรณที เ่ี กดิ เหตฉุ ุกเฉนิ และภยั พบิ ตั ินั้น กสทช. ไดจ้ ัดทำ� ประกาศ กสทช. เรือ่ งหลักเกณฑ์การใช้คล่ืนความถี่ เพอื่ สนบั สนนุ ภารกจิ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และในกรณที เี่ กดิ เหตฉุ กุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ิ (27.3) จัดอบรม เน้นยำ้� ใหค้ วามร้ถู ึงการปฏิบัตขิ องสือ่ ในการเผยแพรข่ ้อมูลข่าวสาร ใหเ้ ปน็ ไป ตามกรอบจรยิ ธรรม จรรยาบรรณ (27.4) ตดิ ตอ่ ประสานงานเพอ่ื ใหผ้ ปู้ ระกอบการจดั ทำ� แผนขนั้ ตอนการปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ ามประกาศ กสทช. เรอื่ ง หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านของผปู้ ระกอบกจิ การ กระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ ในกรณเี กดิ ภยั พิบัติหรือเหตฉุ กุ เฉนิ (28) ภาคประชาสงั คม เชน่ จติ อาสา (28.1) สนบั สนนุ กองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ กองอำ� นวยการปอ้ งกนั อาสาสมัคร องค์การสาธารณกุศล และบรรเทาสาธารณภยั กลาง หรอื กองอ�ำนวยการปอ้ งกนั และสาธารณภยั ในพื้นท่ี องคก์ รไมแ่ สวงหาผลกำ� ไร ภาคเอกชน (28.2) สนับสนุนการจัดท�ำฐานข้อมูลทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและบรรเทา เป็นต้น สาธารณภยั (28.3) ร่วมปฏิบัติงานตามที่ผู้บัญชาการ/ผู้อ�ำนวยการมอบหมายตามขีดความสามารถ และทรพั ยากร 60 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

นายกรัฐมนตรี กนช. นปท. กปภ.ช. สภาความมัน่ คงแห่งชาติ คณะกรรมการอำ� นวยการ ความช่วยเหลอื ระหว่างประเทศ แผน รักษาความมนั่ คงภายใน ปภ.ช. ตามกรอบความร่วมมอื ราชอาณาจกั ร ผบ.บกปภ.ช. (รมว.มท.) ศบภ.กห. บกปภ.ช. (รมว.กห.) สป. ทท. (ศบภ.สป.) (ศบภ.ทท.) กระทรวง ผอ.กลาง กรม (อปภ.) หนว่ ยงาน กอปภ.ก. ตร. ทเี่ ก่ยี วข้อง บก.ทท. ทบ. ทร. ทอ. ศนู ย์ ปภ.เขต (ศบภ.บก.ทท.) (ศบภ.ทบ.) (ศบภ.ทร.) (ศบภ.ทอ.) ทุกเขต ภาคประชา สนภ. นขต.ทบ. ทรภ.1,2,3 สังคม ทภ.1,2,3,4 กปช.จต. ผอ.จว. ผอ.กทม. มทบ. มทบ. ฐท.กท. รร.การบิน (ผวจ.) (ผว.กทม.) ฐท.สส. บน. กอปภ.จว กอปภ.กทม. ฐท.พง. ผอ.อ�ำเภอ ผช.ผอ.กทม. นรข. (นอภ.) (ผอ.เขต) ฉก.นย.ภต. กอปภ.อ�ำเภอ กอปภ.สนข หน่วยทหารในพน้ื ท่ี ผอ.ทอ้ งถิ่น ผอ.ท้องถ่ิน ผอ.ท้องถิน่ (นายกเมืองพทั ยา) (นายกเทศมนตร)ี (นายก อบต.) กอปภ.เมืองพทั ยา กอปภ.เทศบาล กอปภ.อบต. หมายเหตุ สายการบังคบั บัญชา --------- สายการประสานงาน * การแบง่ มอบพ้ืนที่รบั ผิดชอบของหนว่ ยทหาร ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนบรรเทาสาธารณภัยกระทรวงกลาโหม และหนังสือตกลงร่วมกนั ระหว่างผ้อู �ำนวยการจงั หวดั ผ้อู �ำนวยการกรุงเทพมหานคร และผู้บังคบั หนว่ ยทหารในพ้นื ที่ แผนภาพท่ี 3-3 แผนผังความเชอ่ื มโยงการปฏบิ ัติร่วมกบั หนว่ ยตา่ ง ๆ แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 61

3.3.2 แนวทางการปฏิบัตริ ่วมกบั หนว่ ยงาน (1) แนวทางการปฏบิ ตั ริ ว่ มกบั หนว่ ยทหาร การปฏิบตั ิการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยรว่ มระหว่างพลเรือนกับทหารน้นั จะตอ้ งมีการ ประสานงานระหวา่ งกนั อยา่ งใกลช้ ดิ และเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจระหวา่ งกนั รวมทง้ั ดำ� รงการตดิ ตอ่ สอื่ สารระหวา่ งกนั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยใชก้ ลไกการประสานและปฏบิ ตั งิ านรว่ มกนั ภายใตก้ องบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ และศูนย์บัญชาการเหตุการณ์แต่ละระดับ นอกจากนี้ เพื่อป้องกันความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนระหว่าง การปฏบิ ตั งิ านรว่ มกนั ฝา่ ยพลเรอื นและทหารอาจพจิ ารณารว่ มกนั จดั ตงั้ ศนู ยป์ ระสานงานระหวา่ งพลเรอื นกบั ทหาร หรือศูนย์ปฏิบัติงานร่วมระหว่างพลเรือนกับทหารข้ึน ทั้งน้ี ขึ้นอยู่กับระดับของหน่วยและสถานการณ์สาธารณภัย เพ่ือประชุมหารือและแลกเปล่ียนข้อมูลในการจัดการสาธารณภัย โดยยึดกรอบแนวทางการปฏิบัติตามมาตรฐาน หลกั สากล และด�ำเนินการตามมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญตั ปิ ้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 (2) แนวทางการปฏบิ ตั ริ ว่ มกบั ภาคประชาสงั คม เชน่ จติ อาสา อาสาสมคั ร องคก์ ารสาธารณกศุ ล องค์กรไมแ่ สวงหาผลกำ� ไร ภาคเอกชน เปน็ ต้น (2.1) ใหจ้ ัดเจ้าหน้าท่ปี ระสานงานกับกองบัญชาการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ และศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณแ์ ตล่ ะระดบั เพอื่ รว่ มปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และการชว่ ยเหลอื สงเคราะห์ ผปู้ ระสบภยั ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมเี อกภาพ โดยใหจ้ ดั ทำ� แนวทางการประสานงานและการปฏบิ ตั งิ านรว่ มกนั พรอ้ มทง้ั กำ� หนด ใหม้ ผี ปู้ ระสานงานหลกั (Focal Point) เพอื่ ประสานงานภายในกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ และศนู ย์บญั ชาการเหตกุ ารณ์แต่ละระดับ (2.2) ใหก้ ระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข สถาบนั การแพทย์ฉกุ เฉนิ แหง่ ชาติรว่ มกบั องค์การสาธารณกุศลจัดท�ำแนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนก�ำลังทรัพยากร เจ้าหน้าที่ อุปกรณ์ และเครื่องมือ เพอ่ื การปฏบิ ตั งิ านของกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ และศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณแ์ ตล่ ะระดบั (3) แนวทางการปฏิบตั ิรว่ มกับตา่ งประเทศหรือองค์การระหวา่ งประเทศ (3.1) ในการรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศในกรณีที่เกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ระดับ 4) หากมีความจำ� เป็นตอ้ งขอรับความช่วยเหลอื จากต่างประเทศ ให้กระทรวงการตา่ งประเทศนำ� เรื่องเสนอ กองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตเิ พอ่ื พจิ ารณา และเมอ่ื ไดร้ บั ความเหน็ ชอบแลว้ ใหป้ ระสานงาน กับกระทรวงมหาดไทย (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) และหน่วยงานอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้องโดยให้กระทรวง การตา่ งประเทศเปน็ หนว่ ยงานหลักในการประสานงานการรับความชว่ ยเหลอื จากต่างประเทศตอ่ ไป (3.2) ใหก้ ระทรวงการตา่ งประเทศจดั ทำ� มาตรฐานวธิ ปี ฏบิ ตั สิ ำ� หรบั หนว่ ยงานและองคก์ ารระหวา่ ง ประเทศท่ีดำ� เนนิ การให้ความช่วยเหลอื ประเทศไทยในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (3.3) ในกรณที รี่ ฐั บาลตา่ งประเทศหรอื องคก์ ารระหวา่ งประเทศหรอื องคก์ รภาคเอกชนตา่ งประเทศ มคี วามประสงคจ์ ะใหก้ ารสนบั สนนุ สงิ่ ของ และกำ� ลงั เจา้ หนา้ ทห่ี รอื สงิ่ อน่ื ใดเพอ่ื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบสาธารณภยั ในราชอาณาจกั รไทย ใหด้ ำ� เนนิ การตามขอ้ ผกู พนั สญั ญา ขอ้ ตกลงหรอื ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศทไ่ี ดม้ กี ารจดั ทำ� ขน้ึ โดยยกเว้นอากรแกส่ ง่ิ ของนั้น ทั้งน้ี ให้เป็นไปตามทีก่ องบญั ชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติกำ� หนด 62 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(3.4) ใหก้ ระทรวงการตา่ งประเทศจดั ทำ� แนวทางการปฏบิ ตั ใิ นการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตา่ งประเทศ กรณีเกิดสาธารณภยั และมีการรอ้ งขอความชว่ ยเหลอื จากประเทศไทยโดยให้หน่วยงานท่ีเกีย่ วขอ้ งให้การสนับสนุน (4) แนวทางการปฏบิ ัตริ ว่ มกบั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ การปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั รว่ มกบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ มีความสำ� คญั โดยพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 กำ� หนดใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นแห่งพืน้ ท่ี มีหนา้ ที่ ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยในเขตทอ้ งถน่ิ ของตนอย่างครบวงจร โดยให้ความส�ำคัญกบั การพัฒนา และส่งเสรมิ ให้ความรูแ้ ละความเข้าใจความเสีย่ งจากสาธารณภัยระดบั ชุมชนและท้องถิ่น ท้ังน้ี เพอื่ เป็นการจัดการสาธารณภัย ท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนท่ีอย่างมีประสิทธิภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีแนวทางในการปฏิบัติงาน/ประสานการปฏิบัติ กบั กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั อำ� เภอ/ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณอ์ ำ� เภอในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณีฉกุ เฉิน เชน่ การเตรียมการจัดตง้ั ศูนยพ์ ักพงิ ชว่ั คราวและการบรหิ ารจดั การศูนยพ์ ักพิงชวั่ คราว การสอื่ สารในภาวะฉุกเฉิน การอพยพ การใหค้ วามช่วยเหลอื บรรเทาทุกขแ์ ก่ผูป้ ระสบภยั ดังนี้ (4.1) การปฏิบัติร่วมกบั อำ� เภอและจังหวดั (4.1.1) จัดเจ้าหน้าที่ประสานอ�ำเภอและจังหวัด ในช่วงระยะขณะเกิดภัย พร้อมทั้ง รายงานสถานการณ์สาธารณภัยทเี่ กิดขนึ้ ตามขอ้ เท็จจริงเปน็ ระยะ ๆ (4.1.2) กรณีสถานการณ์สาธารณภัยมีความรุนแรงให้ประสานขอรับการสนับสนุน การปฏิบตั งิ านจากศนู ย์บัญชาการเหตุการณ์อ�ำเภอ/จงั หวัด ตามลำ� ดับ (4.2) การปฏิบตั ริ ่วมกบั องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ขา้ งเคียง (4.2.1) เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตพ้ืนท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของตน และสาธารณภยั มีความรนุ แรงขยายเป็นวงกว้างไปยงั พ้นื ทขี่ า้ งเคียง ใหผ้ ้อู ำ� นวยการทอ้ งถิน่ รายงานสถานการณไ์ ปยงั ผู้อ�ำนวยการอ�ำเภอ พร้อมท้ังประสานกองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยพื้นที่ติดต่อหรือใกล้เคียง ใหส้ นับสนุนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยท่ีเกดิ ข้นึ (4.2.2) เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตพ้ืนท่ีติดต่อหรือใกล้เคียงให้ผู้อ�ำนวยการท้องถ่ิน ใหก้ ารสนบั สนนุ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทเี่ กดิ ขนึ้ เพอ่ื เปน็ การบรู ณาการและการประสานการปฏบิ ตั งิ าน รว่ มกนั (4.3) การปฏบิ ัตริ ่วมกบั มูลนธิ ิ องค์การสาธารณกุศล/ภาคเอกชน/ภาคประชาสงั คม ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ประสานองคก์ ารสาธารณกศุ ล/ภาคเอกชน/ภาคประชาสงั คม สนับสนุนการปฏบิ ตั ิงานของเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกย่ี วข้อง (5) แนวทางการใชก้ ฎหมายทีม่ ีความเชอ่ื มโยงกนั ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 เปน็ กฎหมายหลัก ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ภายในราชอาณาจกั ร โดยมแี ผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ เปน็ กรอบกำ� หนดทศิ ทางการปฏบิ ัตงิ าน การประสานการปฏบิ ตั ิ รวมทัง้ การสนบั สนนุ และช่วยเหลือของหน่วยงาน ทกุ ภาคสว่ นในการดำ� เนนิ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของประเทศ โดยมแี ผนบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงกลาโหม เป็นกรอบแนวทางประสานการปฏิบัติในการสนับสนุนกบั ฝา่ ยพลเรอื น แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 63

กรณีภัยนน้ั ๆ จ�ำเป็นตอ้ งบรู ณาการเช่อื มโยงการบังคบั ใช้กฎหมายหลายฉบบั อาทิ ภยั ทเี่ กดิ จากการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล การบริหารจัดการน้�ำ โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ ไฟป่า การเผาในท่ีโล่ง และมลพิษหมอกควัน ฯลฯ การบังคับใช้กฎหมายให้เป็นไปตามการใช้อ�ำนาจเฉพาะเร่ืองน้ัน ๆ ตามทม่ี กี ฎหมายใหอ้ ำ� นาจไว้ หากภยั นน้ั มผี ลกระทบรนุ แรงกวา้ งขวางจำ� เปน็ ตอ้ งบรู ณาการเชอื่ มโยงการบงั คบั ใชก้ ฎหมาย หลายฉบับ หรืออาศัยผู้เช่ียวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษเข้ามาบริหารจัดการ ให้ผู้อ�ำนวยการแต่ละระดับ/ผู้บัญชาการ ใชอ้ ำ� นาจแจง้ ใหห้ นว่ ยงานทม่ี อี ำ� นาจตามกฎหมายซง่ึ สอดคลอ้ งกบั การจดั การสถานการณต์ ามความจำ� เปน็ และเหมาะสม ท่ีเกิดข้ึนนั้น น�ำกฎหมายที่ให้อ�ำนาจเข้ามาสนับสนุนและเช่ือมโยงการปฏิบัติงานร่วมกัน เพ่ือเสริมประสิทธิภาพ และใหม้ ีความคลอ่ งตัวในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ทั้งนี้ แผนปฏบิ ตั กิ ารในการจัดการสาธารณภัยน้นั ๆ จะต้องมคี วามสอดคล้องกบั แผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั แหง่ ชาติและแผนอ่นื ๆ ทีม่ ีกฎหมายก�ำหนด เช่น แผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์ต่างๆ ทางทะเลของศูนย์อ�ำนวยการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล แผนรกั ษาความมนั่ คงภายในราชอาณาจกั ร แผนแมบ่ ทเกยี่ วกบั การบรหิ ารทรพั ยากรนำ�้ แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ เปน็ ต้น 3.4 ขอบเขตสาธารณภยั ขอบเขตสาธารณภยั ตามแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตฉิ บบั นี้ ใหเ้ ปน็ ไปตามความหมาย “สาธารณภยั ” ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบญั ญัติปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 ดังน้ี “อคั คภี ัย วาตภัย อุทกภัย ภยั แล้ง โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสตั วน์ ำ้� การระบาด ของศัตรูพชื ตลอดจนภัยอนื่ ๆ อันมีผลกระทบตอ่ สาธารณชน ไม่วา่ เกิดจากธรรมชาติ มผี ้ทู �ำใหเ้ กดิ ข้นึ อบุ ัตเิ หตุ หรอื เหตอุ นื่ ใดซง่ึ กอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายแกช่ วี ติ รา่ งกายของประชาชนหรอื ความเสยี หายแกท่ รพั ยส์ นิ ของประชาชน หรอื ของรฐั และใหห้ มายความรวมถึงภยั ทางอากาศ และการก่อวินาศกรรมด้วย” 3.5 ระดบั การจัดการสาธารณภยั ระดบั การจดั การสาธารณภยั แบง่ เปน็ 4 ระดบั ทง้ั น้ี ขนึ้ กบั พน้ื ที่ ประชากร ความซบั ซอ้ นหรอื ความสามารถ ในการจัดการสาธารณภัย ตลอดจนศักยภาพด้านทรัพยากรท่ีผู้มีอ�ำนาจตามกฎหมายใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจ เกย่ี วกบั ความสามารถในการเขา้ ควบคมุ สถานการณเ์ ปน็ หลกั ดังน้ี ระดบั การจัดการ ผู้มีอ�ำนาจตามกฎหมาย องคก์ รปฏิบตั ิ 1 สาธารณภยั ขนาดเลก็ ผู้อ�ำนวยการอ�ำเภอ ผู้อ�ำนวยการท้องถ่ิน กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และ/หรอื ผชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการกรงุ เทพมหานคร อ�ำเภอ/ส�ำนักงานเขตกรุงเทพมหานคร/เมืองพัทยา/ ควบคมุ สงั่ การ และบัญชาการ เทศบาล/องค์การบริหารส่วนต�ำบล หากในกรณี เกดิ หรอื คาดวา่ จะเกดิ สาธารณภยั ใหก้ องอำ� นวยการ ดงั กลา่ วข้างต้นจัดต้งั : ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตุการณ์ อ�ำเภอ/ส�ำนักงานเขต/เมืองพัทยา/เทศบาล/ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบล 64 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

ระดบั การจดั การ ผูม้ ีอำ� นาจตามกฎหมาย องค์กรปฏบิ ัติ 2 สาธารณภยั ผู้อ�ำนวยการจังหวัด หรือผู้อ�ำนวยการ กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ขนาดกลาง กรงุ เทพมหานคร จงั หวัด/กรุงเทพมหานคร ควบคมุ ส่งั การ และบญั ชาการ หากในกรณีเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัย ให้กองอำ� นวยการดงั กลา่ วข้างต้นจดั ตั้ง : ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณจ์ งั หวดั /กรงุ เทพมหานคร 3 สาธารณภัย ผบู้ ญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กองบัญชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ขนาดใหญ่ แหง่ ชาติ แหง่ ชาติ ควบคุม สง่ั การ และบัญชาการ 4 สาธารณภัย นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีซ่ึง กองบัญชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั รา้ ยแรงอยา่ งยง่ิ นายกรัฐมนตรมี อบหมาย แห่งชาติ ควบคมุ สงั่ การและบัญชาการ 3.6 กฎหมายและระเบียบทเี่ กี่ยวข้องกับการจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภัย พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 เป็นกฎหมายหลักในการจัดการความเส่ียง จากสาธารณภยั ของประเทศ โดยมกี ฎหมาย/ ระเบยี บ/ ประกาศ/ คำ� สงั่ อน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งสนบั สนนุ การจดั การความเสยี่ ง จากสาธารณภยั ดังน้ี 3.6.1 กฎหมายหลกั พระราชบญั ญัตปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 และอนุบัญญตั ทิ เ่ี กีย่ วขอ้ ง รวม 9 ฉบับ ไดแ้ ก่ (1) กฎกระทรวงก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการชดเชยความเสียหายแก่ผู้เสียหายจากการบ�ำบัด ภยนั ตรายจากสาธารณภยั พ.ศ. 2554 (2) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยกจิ การอาสาสมคั รป้องกันภัยฝ่ายพลเรอื น พ.ศ. 2553 (3) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การแต่งต้ังและการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงาน ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2553 (4) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการออกหนังสือรับรองกรณีผู้ประสบ ภยั หรือเจา้ ของหรือผ้คู รอบครองทรพั ย์สนิ รอ้ งขอหลักฐานเพ่อื รบั การสงเคราะห์ หรอื บรกิ ารอ่นื ใด พ.ศ. 2552 (5) ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยเครอื่ งแบบ เครอื่ งหมาย และบตั รประจำ� ตวั เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2554 (6) ระเบยี บคณะกรรมการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยคา่ ใชจ้ า่ ยของอาสาสมคั ร ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2560 (7) ประกาศกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย เรอื่ ง แบบหนงั สอื รบั รองผปู้ ระสบภัย (8) ประกาศกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไขการใช้จ่าย เงินทดรองราชการในเชิงปอ้ งกันหรือยบั ยงั้ ภยั พบิ ัตกิ รณฉี กุ เฉิน แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 65

3.6.2 กฎหมาย/ ระเบยี บ/ ประกาศ/ คำ� สงั่ ทส่ี ำ� คญั เพอ่ื การสนบั สนนุ การจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั (1) พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. 2534 และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ และระเบยี บ สำ� นักนายกรฐั มนตรีทเ่ี กย่ี วข้อง ได้แก่ (1.1) ระเบยี บส�ำนักนายกรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยการป้องกนั อุบตั ิภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 (1.2) ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยการประสานงานด้านสาธารณปู โภค พ.ศ. 2540 (1.3) ระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยการรบั บรจิ าคและการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบ สาธารณภัย พ.ศ. 2542 (1.4) ระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และขจดั มลพษิ ทางนำ�้ เนอ่ื งจากนำ�้ มนั พ.ศ. 2547 (1.5) ระเบียบสำ� นกั นายกรัฐมนตรี วา่ ดว้ ยการบริหารทรพั ยากรน�ำ้ แห่งชาติ พ.ศ. 2561 (1.6) ระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยการบรหิ ารระบบการเตอื นภยั พบิ ตั แิ หง่ ชาติ พ.ศ. 2552 และทีแ่ กไ้ ขเพ่ิมเตมิ (1.7) ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2544 และท่ีแก้ไขเพิ่มเตมิ (1.8) ระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยคณะกรรมการบรหิ ารสนิ เชอ่ื เกษตรแหง่ ชาติ พ.ศ. 2541 (2) ระเบยี บกระทรวงการคลงั ที่เกย่ี วข้อง ได้แก่ (2.1) ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ กรณีฉุกเฉนิ พ.ศ. 2562 - หลกั เกณฑก์ ารใชจ้ า่ ยเงนิ ทดรองราชการเพอื่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ พ.ศ. 2563 (2.2) ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยเงนิ ทดรองราชการเพอ่ื ชว่ ยเหลอื คนไทยในตา่ งประเทศ พ.ศ. 2562 (2.3) ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยเงนิ ทดรองราชการเพอ่ื ใชจ้ า่ ยกรณฉี กุ เฉนิ หรอื จำ� เปน็ ในการรกั ษาความมน่ั คงของประเทศ พ.ศ. 2562 (2.4) ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการจา่ ยเงนิ ทดรองราชการเพอ่ื การปอ้ งกนั และขจดั ภาวะ มลพิษทางทะเลเน่อื งจากน�ำ้ มนั พ.ศ. 2527 (3) พระราชบญั ญตั ิ/ ระเบียบ /ประกาศ/ คำ� สง่ั อื่นๆ (3.1) พระราชบญั ญัตกิ องอาสารกั ษาดินแดน พ.ศ. 2497 (3.2) พระราชกำ� หนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉกุ เฉนิ พ.ศ. 2548 (3.3) พระราชบญั ญัตกิ กั พืช พ.ศ. 2507 (3.4) พระราชบัญญตั กิ าชาด พ.ศ. 2499 (3.5) พระราชบญั ญตั ิลักษณะปกครองทอ้ งที่ พ.ศ. 2457 66 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(3.6) พระราชบญั ญัตจิ ัดรปู ท่ดี นิ เพ่อื เกษตรกรรม พ.ศ. 2558 (3.7) พระราชบัญญัตสิ งเคราะหผ์ ูป้ ระสบภัยเนอ่ื งจากการชว่ ยเหลอื ราชการ การปฏิบตั ิงาน ของชาตหิ รอื การปฏบิ ตั ติ ามหนา้ ท่มี นุษยธรรม พ.ศ. 2543 (3.8) พระราชบญั ญตั ิทางหลวง พ.ศ. 2535 (3.9) พระราชบัญญัติทางหลวงสมั ปทาน พ.ศ. 2542 (3.10) พระราชบญั ญตั คิ วามปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการงาน พ.ศ. 2554 (3.11) พระราชบญั ญตั สิ งเคราะหข์ า้ ราชการ ผไู้ ดร้ บั อนั ตรายหรอื การปว่ ยเจบ็ เพราะเหตปุ ฏบิ ตั ิ ราชการ พ.ศ. 2546 (3.12) พระราชบัญญตั จิ ดั ระเบยี บราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2551 (3.13) พระราชบญั ญตั ิการรกั ษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2551 (3.14) พระราชบัญญตั สิ ง่ เสริมและรักษาคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม พ.ศ. 2535 (3.15) พระราชบญั ญตั ิควบคมุ อาคาร พ.ศ. 2522 (3.16) พระราชบัญญัติโรคติดตอ่ พ.ศ. 2558 (3.17) พระราชบัญญัตโิ รคระบาดสตั ว์ พ.ศ. 2558 (3.18) พระราชบญั ญัติโรคพษิ สนุ ัขบ้า พ.ศ. 2535 (3.19) พระราชบัญญัติวัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2535 (3.20) พระราชบัญญัตพิ ลงั งานนิวเคลยี รเ์ พอื่ สนั ติ พ.ศ. 2559 (3.21) พระราชบญั ญัติควบคมุ ยทุ ธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 (3.22) พระราชบญั ญตั อิ าวธุ ปนื เครอื่ งกระสนุ ปนื วตั ถรุ ะเบดิ ดอกไมเ้ พลงิ และสงิ่ เทยี มอาวธุ ปนื พ.ศ. 2490 (3.23) พระราชบญั ญตั วิ ่าดว้ ยความผิดบางประการต่อการเดนิ อากาศ พ.ศ. 2558 (3.24) พระราชบัญญัตอิ งค์การบริหารสว่ นตำ� บล พ.ศ. 2537 (3.25) พระราชบญั ญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496 (3.26) พระราชบัญญัตอิ งค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด พ.ศ. 2540 (3.27) พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหารกรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2528 (3.28) พระราชบัญญตั ิระเบียบบริหารเมอื งพัทยา พ.ศ. 2542 (3.29) พระราชบัญญตั กิ ารชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 (3.30) พระราชบญั ญตั ทิ รัพยากรนำ้� พ.ศ. 2561 (3.31) พระราชบัญญัตกิ ารรักษาผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล พ.ศ. 2562 (3.32) พระราชบัญญัติความรบั ผดิ ทางแพง่ ต่อความเสยี หายจากมลพิษนำ้� มนั อนั เกดิ จากเรอื พ.ศ. 2560 (3.33) พระราชบญั ญัติการชว่ ยเหลือกภู้ ยั ทางทะเล พ.ศ. 2550 (3.34) พระราชบัญญตั สิ าธารณสุข พ.ศ. 2535 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 67

(3.35) พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 (3.36) พระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ. 2522 (3.37) พระราชบญั ญัตกิ ารขนสง่ ทางบก พ.ศ. 2522 (3.38) พระราชบัญญัติการนิคมอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 (3.39) พระราชบญั ญตั ิโรงแรม พ.ศ. 2535 (3.40) พระราชบญั ญัตสิ ถานบรกิ าร พ.ศ. 2509 (3.41) พระราชบญั ญัติการชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 (3.42) พระราชบญั ญตั ริ กั ษาความสะอาดและความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยของบา้ นเมอื ง พ.ศ. 2535 3.6.3 กฎหมายในการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภยั ท่ีส�ำคัญ สาธารณภยั กฎหมายหลกั ในการจดั การ กฎหมาย/ ระเบียบ/ ประกาศ/ กฎหมาย/ ระเบยี บ/ 1. อคั คีภยั ความเส่ยี งจากสาธารณภยั ค�ำสง่ั ท่ีสำ� คัญเพ่ือสนับสนุน ประกาศ/ ค�ำส่ังอนื่ ๆ พระราชบัญญัติปอ้ งกันและ ทน่ี �ำมาปรบั ใช้กับ 2. วาตภัย บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 การจัดการความเสี่ยง 3. อทุ กภยั /ภัยแลง้ และอนบุ ัญญัตทิ ี่เก่ียวขอ้ ง จากสาธารณภัย ทกุ สาธารณภยั และสนึ ามิ พระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและ (1.1) พระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร กฎหมาย/ ระเบยี บ/ บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2522 ประกาศอน่ื ๆ ดังระบุไว้ และอนบุ ัญญตั ิที่เกี่ยวขอ้ ง (1.2) พระราชบญั ญตั คิ วามปลอดภยั ใน 3.6.2 ให้นำ� มาปรบั ใชก้ ับ พระราชบญั ญตั ิปอ้ งกนั และ อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม การจดั การสาธารณภัย บรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ในการทำ� งาน พ.ศ. 2554 ตามควรแกก่ รณี และอนบุ ัญญตั ิทเี่ กี่ยวข้อง (1.3) พระราชบญั ญัติโรงแรม พ.ศ. 2535 (1.4) พระราชบัญญตั สิ ถานบริการ พ.ศ. 2509 (1.5) พระราชบญั ญัตคิ วบคุมน�้ำมนั เชื้อเพลงิ พ.ศ. 2542 ฯลฯ (2.1) พระราชบญั ญัติกองอาสา กฎหมาย/ ระเบยี บ/ ประกาศ รักษาดนิ แดน พ.ศ. 2497 อื่นๆ ดังระบุไว้ใน 3.6.2 (2.2) พระราชบญั ญัตกิ ารรักษา ใหน้ ำ� มาปรบั ใชก้ บั การจดั การ ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร สาธารณภัยตามควรแกก่ รณี พ.ศ. 2551 ฯลฯ (3.1) พระราชบัญญัติทรัพยากรนำ้� กฎหมาย/ ระเบียบ/ พ.ศ. 2561 ประกาศอ่ืนๆ ดังระบุไว้ใน (3.2) พระราชบญั ญัตจิ ัดรูปทีด่ นิ 3.6.2 ใหน้ �ำมาปรบั ใช้กบั เพอ่ื เกษตรกรรมพ.ศ. 2558 การจัดการสาธารณภัย ตามควรแกก่ รณี 68 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

สาธารณภัย กฎหมายหลักในการจดั การ กฎหมาย/ ระเบยี บ/ ประกาศ/ กฎหมาย/ ระเบยี บ/ ความเสี่ยงจากสาธารณภัย คำ� สัง่ ท่ีส�ำคญั เพื่อสนบั สนุน ประกาศ/ คำ� สง่ั อื่นๆ 4. โรคระบาด ทีน่ ำ� มาปรบั ใชก้ ับ ในมนษุ ย์ พระราชบัญญัติปอ้ งกนั และ การจดั การความเสยี่ ง 5. โรคระบาดสัตว์ บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 จากสาธารณภยั ทกุ สาธารณภยั 6. โรคระบาดพชื และอนุบัญญัตทิ ี่เก่ียวข้อง 7. สาธารณภยั พระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและ (3.3) พระราชบญั ญัติ ทางนำ้� / ทางทะเล บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 การชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 และอนุบัญญัตทิ เ่ี ก่ยี วขอ้ ง (3.4) พระราชบัญญตั กิ องอาสา พระราชบัญญตั ิปอ้ งกนั และ รกั ษาดนิ แดน พ.ศ. 2497 บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 (3.5) พระราชบญั ญตั กิ ารรกั ษา และอนุบญั ญตั ิท่ีเก่ียวข้อง ความมั่นคงภายในราชอาณาจกั ร พระราชบัญญัตปิ ้องกนั และ พ.ศ. 2551 บรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 และอนบุ ญั ญตั ทิ เ่ี กย่ี วขอ้ ง ฯลฯ (4.1) พระราชบัญญัตโิ รคตดิ ต่อ กฎหมาย/ ระเบียบ/ พ.ศ. 2558 ประกาศอนื่ ๆ ดังระบไุ ว้ (4.2) พระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุข ใน 3.6.2 ใหน้ ำ� มาปรับใช้ พ.ศ. 2535 กับการจดั การสาธารณภัย ฯลฯ ตามควรแกก่ รณี (5.1) พระราชบัญญัตโิ รคระบาดสัตว์ กฎหมาย/ ระเบยี บ/ พ.ศ. 2558 ประกาศอน่ื ๆ ดังระบุไว้ (5.2) พระราชบญั ญตั ิโรคพิษสุนขั บ้า ใน 3.6.2 ใหน้ �ำมาปรับใช้ พ.ศ. 2535 กับการจัดการสาธารณภยั (5.3) พระราชบญั ญัติเชือ้ โรคและพิษ ตามควรแกก่ รณี จากสตั ว์ พ.ศ. 2558 ฯลฯ (6.1) พระราชบญั ญัติกกั พชื กฎหมาย/ ระเบียบ/ พ.ศ. 2507 ประกาศอน่ื ๆ ดงั ระบไุ ว้ ใน 3.6.2 ใหน้ �ำมาปรับใช้ ฯลฯ กับการจดั การสาธารณภยั ตามควรแกก่ รณี (7.1) พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบริหาร กฎหมาย/ ระเบียบ/ ราชการแผน่ ดิน พ.ศ. 2534 ประกาศอน่ื ๆ ดังระบุไว้ (7.2) พระราชบัญญตั ริ ักษา ใน 3.6.2 ใหน้ ำ� มาปรับใช้ ผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล กับการจดั การสาธารณภยั พ.ศ.2562 ตามควรแก่กรณี (7.3) พระราชบญั ญัตกิ ารชว่ ยเหลือ กูภ้ ยั ทางทะเล พ.ศ. 2550 (7.4) พระราชบญั ญัติความรับผิด ทางแพง่ ตอ่ ความเสยี หายจากมลพิษ น�้ำมนั อันเกดิ จากเรือ พ.ศ. 2560 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 69

สาธารณภยั กฎหมายหลกั ในการจัดการ กฎหมาย/ ระเบียบ/ ประกาศ/ กฎหมาย/ ระเบยี บ/ ความเสยี่ งจากสาธารณภยั ค�ำสั่งทส่ี ำ� คญั เพื่อสนบั สนุน ประกาศ/ คำ� ส่งั อืน่ ๆ 8. แผ่นดนิ ไหว ทนี่ �ำมาปรบั ใช้กบั 9. วนิ าศกรรมและ พระราชบัญญตั ิปอ้ งกันและ การจดั การความเสีย่ ง การก่อจลาจล บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 จากสาธารณภัย ทุกสาธารณภัย 10. ภยั จากสารเคมี และอนุบญั ญัติท่เี กี่ยวข้อง และวตั ถอุ นั ตราย พระราชบัญญัติป้องกนั และ (7.5) พระราชบัญญตั ิการเดนิ เรอื บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 ในน่านนำ้� ไทย พ.ศ. 2456 และอนุบัญญัติทีเ่ กย่ี วข้อง (7.6) พระราชบัญญัติให้อำ� นาจ พระราชบญั ญัตปิ ้องกันและ ทหารเรอื ปราบปรามการกระท�ำ บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 ความผดิ บางอย่างทางทะเล และอนุบัญญัติ ท่เี กี่ยวขอ้ ง พ.ศ. 2490 (7.7) พระราชบัญญตั เิ พ่มิ อ�ำนาจ ตำ� รวจในการป้องกันและปราบปราม การกระทำ� ความผิดทางนำ้� พ.ศ. 2496 (7.8) พระราชบญั ญัตสิ ง่ เสรมิ และ รักษาคุณภาพสงิ่ แวดล้อม พ.ศ. 2535 (7.9) ระเบียบส�ำนกั นายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยการป้องกันและขจัดมลพิษ ทางนำ้� เนือ่ งจากน�้ำมนั พ.ศ. 2547 ฯลฯ (8.1) พระราชบญั ญัตคิ วบคมุ อาคาร กฎหมาย/ ระเบยี บ/ พ.ศ. 2522 ประกาศอ่ืนๆ ดงั ระบไุ ว้ (8.2) พระราชบัญญตั ิกองอาสา ใน 3.6.2 ให้น�ำมาปรับใช้ รักษาดนิ แดน พ.ศ. 2497 กบั การจัดการสาธารณภยั (8.3) พระราชบญั ญัติการรักษา ตามควรแกก่ รณี ความมน่ั คงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2551 ฯลฯ (9.1) พระราชบญั ญัติกองอาสา กฎหมาย/ ระเบียบ/ ประกาศ รักษาดนิ แดน พ.ศ. 2497 อ่ืนๆ ดังระบุไว้ใน 3.6.2 (9.2) พระราชบญั ญตั กิ ารรกั ษา ใหน้ ำ� มาปรบั ใชก้ บั การจดั การ ความมน่ั คงภายในราชอาณาจักร สาธารณภยั ตามควรแก่กรณี พ.ศ. 2551 (9.3) พระราชบญั ญัติการชมุ นุม สาธารณะ พ.ศ. 2558 ฯลฯ (10.1) พระราชบัญญัตวิ ตั ถอุ ันตราย กฎหมาย/ ระเบยี บ/ พ.ศ. 2535 ประกาศอ่นื ๆ ดงั ระบุไว้ ใน 3.6.2 ให้นำ� มาปรบั ใช้ กบั การจัดการสาธารณภัย ตามควรแก่กรณี 70 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

สาธารณภยั กฎหมายหลกั ในการจดั การ กฎหมาย/ ระเบียบ/ ประกาศ/ กฎหมาย/ ระเบียบ/ ความเส่ียงจากสาธารณภยั คำ� ส่ังท่ีสำ� คัญเพอื่ สนบั สนนุ ประกาศ/ คำ� ส่ังอนื่ ๆ ท่นี ำ� มาปรับใชก้ บั การจัดการความเสี่ยง จากสาธารณภยั ทุกสาธารณภยั (10.2) พระราชบญั ญตั ิพลงั งาน นวิ เคลียรเ์ พ่ือสนั ติ พ.ศ. 2559 (10.3) พระราชบญั ญตั ิอาวธุ ปนื เครอ่ื งกระสนุ ปนื วตั ถุระเบิด ดอกไมเ้ พลิง และสิง่ เทยี มอาวธุ ปืน พ.ศ. 2490 (10.4) พระราชบัญญตั คิ วบคมุ ยุทธภณั ฑ์ พ.ศ. 2530 ฯลฯ 11. ภยั อน่ื ๆ พระราชบัญญตั ิป้องกันและ (11.1) พระราชบญั ญัติสง่ เสริมและ กฎหมาย/ ระเบยี บ/ ท่กี ระทบตอ่ บรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 รักษาคณุ ภาพสิง่ แวดล้อม พ.ศ. 2535 ประกาศอ่นื ๆ ดงั ระบไุ ว้ สาธารณชน เช่น และอนุบญั ญัติท่เี กยี่ วข้อง (11.2) พระราชบญั ญัตโิ รงงาน ใน 3.6.2 ใหน้ ำ� มาปรบั ใช้ ฝนุ่ ละออง พ.ศ. 2535 กบั การจัดการสาธารณภยั ขนาดเล็ก (PM 2.5) (11.3) พระราชบญั ญตั ิการนคิ ม ตามควรแกก่ รณี จากแหล่งก�ำเนดิ อตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย มลพษิ ตา่ ง ๆ ได้แก่ พ.ศ. 2522 การใช้ยานพาหนะที่ (11.4) พระราชบญั ญตั ิการจราจร มคี วนั ดำ� การเผาใน ทางบก พ.ศ. 2522 ที่โล่ง การระบาย (11.5) พระราชบญั ญัติการขนสง่ อากาศเสยี จากโรงงาน ทางบก พ.ศ. 2522 และครวั เรือน (11.6) พระราชบญั ญัตริ ักษา ความสะอาดและความเปน็ ระเบยี บ เรยี บร้อยของบา้ นเมอื ง พ.ศ. 2535 ฯลฯ หมายเหตุ ในกรณที ก่ี ฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ประกาศ คำ� สงั่ และขอ้ ปฏบิ ตั ใิ ด มไิ ดร้ ะบไุ วใ้ นแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติน้ี ใหผ้ ้มู หี นา้ ทแ่ี ละอำ� นาจ บงั คับบญั ชา ส่งั การ ควบคมุ กำ� กบั ดแู ล หรือมีหน้าทแี่ ละอ�ำนาจอ่นื ในการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัย ตามพระราชบัญญตั ิปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 ไดพ้ จิ ารณานำ� กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสง่ั และข้อปฏิบัตินั้น ๆ มาปรับใช้ตามความเหมาะสมเพื่อสนับสนุนกฎหมายหลักในการจัดการสาธารณภัยท่ีเกิดข้ึน เท่าท่ีกฎหมาย ให้อ�ำนาจและเปิดช่องให้กระท�ำได้ โดยไม่ขัดหรือแย้งกัน พร้อมท้ังค�ำนึงถึงประสิทธิภาพในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ท่ีก�ำหนดไวใ้ นแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาตนิ ้ี แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 71



4บทท่ี ยทุ ธศาสตรก์ ารจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภยั ส่วนท่ี 1 การลดความเสีย่ งจากสาธารณภัยใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ เพอื่ เปน็ การลดความสญู เสยี ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ รวมถงึ การลดผลกระทบในดา้ นตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ จากสาธารณภยั ทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม ตลอดจนการพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การและการพฒั นาศกั ยภาพใหส้ ามารถ เผชิญกบั ภยั คกุ คามและภยั ธรรมชาติในรปู แบบตา่ ง ๆ จำ� เปน็ ตอ้ งมี การสร้างความรคู้ วามเข้าใจการลดความเสี่ยง จากสาธารณภัย (Disaster Risk Reduction: DRR) ร่วมกับการแก้ไขปัญหาท่ีอาศัยธรรมชาติเป็นพื้นฐาน (Nature-based Solutions : NbS) โดยใชแ้ นวคดิ การปรบั ตวั โดยอาศยั ระบบนเิ วศ (Ecosystem-based Adaptation) ในการปฏบิ ตั งิ านเพอื่ การปอ้ งกนั จดั การ และฟน้ื ฟธู รรมชาติ หรอื การปรบั เปลยี่ นระบบนเิ วศอยา่ งยงั่ ยนื จากความทา้ ทาย ทางสังคมและการปรับตัว สร้างคุณภาพชีวิตท่ีดีและความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) อย่างต่อเนื่อง เพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารสรา้ งการรบั รคู้ วามเขา้ ใจถงึ แนวทางในการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั ใหก้ บั ทกุ ภาคสว่ น ทงั้ องคก์ ร ภาครฐั ภาคธรุ กจิ และภาคประชาสงั คม ใหม้ คี วามตระหนกั และมงุ่ เนน้ การมสี ว่ นรว่ ม มกี ารลงทนุ เพอื่ การลดความเสย่ี ง จากสาธารณภัย และพัฒนาองค์ความรู้โดยใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ท้ังในและต่างประเทศ มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดเพ่ือท่ีจะเป็นข้อมูลและเครื่องมือในการก�ำหนดมาตรการ แนวทางปฏิบัติ เพอื่ การปอ้ งกนั และลดผลกระทบทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตทำ� ใหเ้ กดิ การบรู ณาการจดั การสาธารณภยั ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ประสิทธผิ ล และเกิดผลสมั ฤทธย์ิ ง่ิ ขน้ึ เพื่อให้สงั คมเกิดภมู ิคมุ้ กนั พร้อมรบั มือและฟน้ื กลบั อย่างรวดเร็ว การลดความเส่ียงจากสาธารณภัยให้มีประสิทธิภาพเพื่อให้เป็นการพัฒนาประกอบด้วย 3 ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การมุง่ เน้นการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การและการประยกุ ตใ์ ชน้ วตั กรรม ดา้ นสาธารณภยั ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การส่งเสริมความเปน็ หุน้ สว่ นระหว่างประเทศในการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 73

ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การมุ่งเนน้ การลดความเส่ยี งจากสาธารณภยั การลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั เป็นแนวคิดและวธิ ีปฏบิ ัตใิ นการลดโอกาสของความรุนแรงและผลกระ ทบทีเ่ กดิ จากสาธารณภยั ได้ด้วยการประเมินความเสยี่ ง เพอื่ นำ� มากำ� หนดนโยบาย แผน และมาตรการเพ่อื แก้ไขตน้ เหตขุ องปญั หาในการลดความเสยี่ งทเ่ี กดิ แกช่ มุ ชนและสงั คม โดยการมงุ่ เนน้ การลดความเสยี่ งทมี่ อี ยเู่ ดมิ และปอ้ งกนั ไม่ให้เกิดความเส่ียงใหม่ด้วยการลดความล่อแหลม ลดปัจจัยที่ท�ำให้เกิดความเปราะบาง และเพิ่มศักยภาพในการ จดั การใหส้ ังคมมีความพร้อมในการเผชิญเหตุ และฟน้ื ฟใู ห้ดกี ว่าและปลอดภยั กวา่ เดมิ อันน�ำไปสูก่ ารรู้รบั - ปรบั ตวั - ฟืน้ เร็วทั่ว - อยา่ งย่ังยืน (Resilience) ความเสย่ี งจากสาธารณภยั (Disaster Risk) หมายถงึ โอกาสทสี่ าธารณภยั ทำ� ใหเ้ กดิ การสญู เสยี ตอ่ ชวี ติ รา่ งกาย ทรพั ยส์ นิ ความเปน็ อยแู่ ละภาคบรกิ ารตา่ ง ๆ ในชมุ ชนใดชมุ ชนหนง่ึ ณ หว้ งเวลาใดเวลาหนงึ่ ในอนาคต ซงึ่ สามารถ แทนดว้ ยสมการแสดงความสมั พนั ธข์ องปจั จยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ความเสย่ี ง ไดแ้ ก่ ภยั ความลอ่ แหลม ความเปราะบาง และศักยภาพ ดงั น้ี ความเสย่ี ง (Risk) = ภัย (Hazard) x ความล่อแหลม (Exposure) x ความเปราะบาง (Vulnerability) ศกั ยภาพ (Capacity) 1. แนวคิดการลดความเส่ียงจากสาธารณภัย การลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั ในแตล่ ะประเทศไมส่ ามารถดำ� เนนิ การใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายไดโ้ ดยบคุ คลใด บคุ คลหนงึ่ หรอื หนว่ ยงานใดหนว่ ยงานหนงึ่ เนอ่ื งจากสาธารณภยั เปน็ เรอื่ งของคนทกุ คน จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารกำ� หนด แนวทางให้ด�ำเนินการลดความเส่ียงจากสาธารณภัยร่วมกันทุกภาคส่วนของประเทศ ท้ังน้ี ได้มีการจัดท�ำกรอบ การด�ำเนินงานท้ังในระดับสากลและระดับภูมิภาคเพ่ือเป็นแนวทาง ในการลดความเส่ียงจากสาธารณภัยให้เกิด ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล และไดม้ กี ารยอมรบั แนวคดิ ในการปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Reduction: DRR) ข้ึน เพ่ือให้เข้าใจความเสี่ยงจากสาธารณภัย เสริมสร้างศักยภาพการจัดการความเส่ียง จากสาธารณภัย ลงทุนด้านการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยเพ่ือให้มีภูมิคุ้มกันในการพร้อมรับมือและฟื้นคืนกลับ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ รวมทงั้ พฒั นาศกั ยภาพเพอื่ เตรยี มพรอ้ มในการเผชญิ เหตสุ าธารณภยั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และการฟน้ื สภาพ และซอ่ มสร้างให้ดีกวา่ และปลอดภัยกว่าเดมิ ในช่วงการฟ้ืนฟู 74 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

2. เปา้ ประสงค์ 2.1 เพอ่ื จดั การความเสย่ี งทอี่ าจเกดิ ขน้ึ โดยการลดความเปราะบาง และความลอ่ แหลม พรอ้ มทงั้ การเพม่ิ ขีดความสามารถในการเตรียมพร้อมรบั กับสาธารณภัยทเ่ี กดิ ขึน้ 2.2 เพ่ือใหท้ กุ ภาคส่วนดำ� เนินมาตรการลดความเส่ียงทม่ี อี ยูเ่ ดิมและป้องกันไมใ่ ห้เกดิ ความเสี่ยงใหม่ 3. กลยุทธ์การมงุ่ เนน้ การลดความเสีย่ งจากสาธารณภยั กลยทุ ธ์ท่ี 1 พฒั นาและส่งเสริมใหม้ รี ะบบการประเมินความเสี่ยงจากสาธารณภยั ในทกุ ระดบั (ระดับชาติ จังหวัด อ�ำเภอ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ) การจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ตอ้ งสรา้ งการรบั รู้ ความเขา้ ใจ และพฒั นาองคค์ วามรู้ ดา้ นการจดั การ สาธารณภัยให้กับประชาชนในทุกระดับมีความเข้าใจและมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ ของการจดั การสาธารณภยั ทงั้ ระบบอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ การประเมนิ ความเสย่ี งจากสาธารณภยั เปน็ วธิ กี ารระบลุ กั ษณะความรนุ แรงและโอกาส ในการเกดิ ผลกระทบทางลบจากภัย ดว้ ยการวิเคราะหภ์ ยั ท่ีอาจเกดิ ขึน้ ความลอ่ แหลมในพืน้ ทแี่ ละประเมินสภาพ ความเปราะบางทอี่ าจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายทงั้ ตอ่ ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ เพอื่ นำ� ไปเปน็ ขอ้ มลู สำ� คญั ในการวางแผนการพฒั นา และตัดสนิ ใจเชิงนโยบายตัง้ แตร่ ะดบั ชาติ จนถึงระดบั พน้ื ท่ี (1) แนวทางปฏบิ ัติในการประเมนิ ความเสย่ี งจากสาธารณภยั (1.1) ส�ำรวจและจัดท�ำข้อมูลฐาน (Baseline Data) และชุดข้อมูล (Data Set) ท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับ การจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยในพื้นท่ี และมีการเชื่อมโยงข้อมูลทุกภาคส่วนในทุกระดับ โดยก�ำหนดให้มี ข้อตกลงระหว่างหน่วยงานในการขอใช้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการประเมินความเส่ียงจากสาธารณภัยร่วมกัน เพอ่ื ใหไ้ ดแ้ ผนทคี่ วามเสย่ี ง (Risk Map) ทงั้ น้ี ใหม้ กี ารปรบั ปรงุ ฐานขอ้ มลู เชงิ สถติ แิ ละเชงิ พน้ื ทเ่ี พอื่ การประเมนิ ความเสยี่ ง จากสาธารณภยั อย่างสมำ่� เสมอ (1.2) วเิ คราะหค์ วามเส่ยี งโดยสร้างฉากทศั น์ (Scenario - based risk assessment) เปน็ การใช้ สถานการณห์ รอื สถติ ขิ องภยั ทเ่ี คยเกดิ ขนึ้ ในอดตี เพอ่ื คน้ หาความเสย่ี งทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ในอนาคต (Future Risk Scenario) หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยให้ท่ีปรึกษาด้านเทคนิคจากสถาบัน การศึกษา สถาบันวิจัยและพัฒนา หรอื ผเู้ ชยี่ วชาญทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในพน้ื ทน่ี ำ� ความรู้ และแนวทางปฏบิ ตั จิ ากภูมิปัญญาท้องถ่ินมาปรับ ใช้ร่วมกับความรู้เชิงวิทยาศาสตร์ ผนวกกับปัจจัยที่เก่ียวข้องกับความเส่ียงในทุกมิติ (Inclusive DRR) (2) แนวทางปฏบิ ัติในการใช้ผลการประเมนิ ความเสีย่ งเพ่ือการวางแผน วางแผนเพอื่ ปอ้ งกนั ความเสยี่ ง แกไ้ ขปญั หาความเปราะบาง และความลอ่ แหลม การเตรยี มความพรอ้ ม และเพ่ิมศักยภาพในการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยในทุกระดับ โดยน�ำผลการประเมินความเสี่ยงมาเป็น แนวทางในการกำ� หนดแผนงาน/โครงการในการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั เพอื่ จดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั และจดั สรร ทรพั ยากร รวมถงึ รเิ ร่ิมโครงการการประยกุ ตใ์ ชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยีเพอื่ การจัดการความเสย่ี งจากสาธารณภัย บรรจุในนโยบายระดับชาติ และระดบั พ้นื ที่ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 75

(3) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจเร่ืองการลดความเสย่ี งจากสาธารณภัยเพื่อน�ำไปสู่ การปฏบิ ตั ิ (3.1) ส่ือสารความเสี่ยงของพื้นที่ให้แก่ประชาชนและทุกภาคส่วนได้รับทราบความเส่ียง ของพนื้ ท่ี ตนเองเพ่ือให้มีความตระหนกั เข้าใจความเส่ยี งในพน้ื ท่ี ให้รเู้ ทา่ ทันภยั และเตรียมความพรอ้ มรับมอื กับสาธารณภัย ในการวางแผนและการลงทุนในการลดความเส่ียงจากสาธารณภยั (3.2) จดั ทำ� ปรบั ปรงุ และพฒั นาคมู่ อื ประเมนิ ความเสย่ี งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Assessment Guideline) โดยให้หน่วยงานภาครัฐในระดับพื้นท่ีประเมินความเสี่ยงจากสาธารณภัยร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในภาคสว่ นตา่ ง ๆ ได้รับรู้ความเสีย่ งของพน้ื ท่ี (3.3) จดั ทำ� ปรบั ปรงุ และพฒั นาสอื่ การเรยี นรใู้ หค้ รอบคลมุ ทกุ ภาคสว่ น โดยเฉพาะกลมุ่ ทตี่ อ้ งดแู ล เป็นพเิ ศษ เช่น กลุม่ เปราะบาง กลุม่ แรงงานข้ามชาติ กลุ่มนกั ท่องเที่ยวต่างชาติ เปน็ ต้น (3.4) พัฒนาศักยภาพใหท้ ุกภาคสว่ นมคี วามรู้และความเข้าใจความเส่ียงจากสาธารณภยั โดยใหน้ �ำ คูม่ ือประเมินความเสย่ี งจากสาธารณภัย และส่ือการเรยี นรู้มาประยุกต์ใชใ้ ห้เปน็ ไปตามบริบทของพนื้ ที่ (3.5) ให้มีหลักสูตรการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย ในการศึกษาภาคบังคับและการศึกษา นอกระบบ กลยทุ ธท์ ี ่ 2 พฒั นามาตรการลดความเสีย่ งจากสาธารณภัย การลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั มงุ่ เนน้ การลดความเสย่ี งทมี่ อี ยเู่ ดมิ และปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ความเสย่ี งใหม่ ด้วยมาตรการและวิธีการที่หลากหลายในการป้องกันและลดความล่อแหลม เปราะบาง และเพ่ิมศักยภาพในการ เตรยี มความพร้อมเผชิญเหตุ รวมทง้ั ฟน้ื ฟูใหก้ ลับสูส่ ภาวะปกตไิ ดอ้ ย่างรวดเร็ว ใหด้ กี วา่ และปลอดภยั กว่าเดมิ รว่ มกับ การแกไ้ ขปัญหาท่อี าศัยธรรมชาตเิ ปน็ พืน้ ฐาน (Nature-based Solutions : NbS) โดยพิจารณาเลอื กใชว้ ิธกี ารลด ความเส่ยี งจากสาธารณภัยตามแนวทางปฏิบตั ดิ ังนี้ (1) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการหลกี เล่ยี งความเสย่ี ง (Risk Avoidance) (1.1) ยา้ ยทตี่ งั้ ชมุ ชน หมบู่ า้ นและอาคารสถานทอ่ี อกนอกพน้ื ทเ่ี สย่ี งตอ่ การเกดิ สาธารณภยั หรอื การ ออกแบบโครงสร้างและใช้วัสดใุ นการก่อสร้างท่ีมีความคงทนและปลอดภัย (1.2) กำ� หนด/จดั ท�ำโซนนง่ิ เพ่อื วางแผนการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภยั (1.3) จดั ทำ� ผงั เมอื ง โดยคำ� นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มและความเสย่ี งจากสาธารณภยั และมกี าร บงั คับใช้อยา่ งเครง่ ครัด พร้อมท้ังจดั ทำ� กฎระเบียบมาตรฐานด้านความปลอดภัยในชุมชนท่ีอยอู่ าศยั (2) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการปอ้ งกนั และลดผลกระทบจากความเสยี่ ง (Risk Prevention and Mitigation) (2.1) ก�ำหนดพ้ืนท่ี และจัดกลุ่มทตี่ ั้งทางเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม เช่น การวางแผนการใช้ทด่ี ิน การจัดทำ� แผนท่ีเสย่ี งภัย การก�ำหนดมาตรฐานความปลอดภยั ของกิจกรรมต่าง ๆ การกำ� หนดโซนนง่ิ เปน็ ต้น (2.2) ก�ำหนดมาตรฐานการก่อสร้างอาคารท่ีต้านทาน และไม่ก่อให้เกิดสาธารณภัยต่าง ๆ เชน่ แผน่ ดินไหว พายุ เป็นตน้ 76 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(2.3) เสรมิ สรา้ งความแขง็ แรงของตลงิ่ ดว้ ยการปลกู ตน้ ไม้ ไมพ้ มุ่ หญา้ แฝก รว่ มกบั การลดความเสยี่ ง จากภัยพิบัติโดยอาศัยระบบนิเวศเป็นฐาน (Ecosystem-based Disaster Risk Reduction : EcoDRR) เช่น การปลกู ปา่ โกงกางปอ้ งกนั ชมุ ชนรมิ นำ้� หรอื รมิ ทะเลอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครงั้ หรอื ตามความเหมาะสม ใหเ้ ปน็ ระบบและ เปน็ ไปอย่างมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วน (2.4) ขุดลอกคูคลอง ท่อระบายน้�ำ และรักษาความสามารถในการระบายน้�ำของพ้ืนท่ี แบบปกติ และแบบฉกุ เฉิน (2.5) ปรบั แผนการเกษตรเพอื่ กระจายความเสย่ี ง เชน่ ปลกู ปา่ ตน้ ไม้ ปลกู ไมค้ ลมุ หนา้ ดนิ กนั ดนิ พงั ทลาย ทำ� แนวปลกู แนวขวาง แนะนำ� พนั ธพ์ุ ชื ทที่ นตอ่ แมลงศตั รพู ชื และความแหง้ แลง้ รวมถงึ สง่ เสรมิ การปลกู พชื ใหเ้ หมาะสม กบั สภาพพืน้ ที่และสภาพภมู ิอากาศ เป็นตน้ (2.6) พฒั นาบอ่ บาดาล และบอ่ นำ้� ตืน้ (2.7) สรา้ งความตระหนักเพื่อป้องกนั การติดตอ่ ของเชือ้ โรค และอื่น ๆ (2.8) ออกกฎหมายทีจ่ �ำเป็นในการลดความเสี่ยงจากสาธารณภยั (3) แนวทางปฏิบัติในการถ่ายโอนความเส่ียง (Risk Transfer) (3.1) สร้างระบบประกันภัย โดยภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน เช่น กรมธรรม์ประกันภัย ซงึ่ เปน็ การตกลงทำ� สญั ญารว่ มกนั ระหวา่ งผเู้ อาประกนั ภยั กบั ผรู้ บั ประกนั ภยั ทอี่ กี ฝา่ ยตกลง จะจา่ ยเงนิ จำ� นวนหนงึ่ ตามกำ� หนด ระยะเวลาทไ่ี ดต้ กลงกนั ไว้กบั อีกฝา่ ยหนึ่ง ซงึ่ เม่อื เกดิ สาธารณภัยข้นึ จะไดร้ บั คา่ สินไหมชดเชยบางส่วนหรอื ทั้งหมด จากผ้รู ับประกันภัย (3.2) ออกพันธบัตรสาธารณภยั (Catastrophe/CAT bond) คือ ตราสารหน้ีท่ผี ลตอบแทนอ้างอิง กับมูลค่าความเสียหาย โดยเม่ือเกิดสาธารณภัยท่ีก�ำหนดไว้และมูลค่าความเสียหายเกินกว่าระดับท่ีก�ำหนด ผู้ออก ตราสารหนจี้ ะหกั เงนิ ตน้ หรอื ดอกเบยี้ ตามขน้ั ตอนทตี่ กลงไวเ้ พอื่ ชดเชยกบั ความเสย่ี งทส่ี งู ขนึ้ แตห่ ากไมเ่ กดิ สาธารณภยั ตามท่รี ะบุไว้ในชว่ งเวลาทก่ี �ำหนด ผลู้ งทนุ กจ็ ะไดร้ ับดอกเบย้ี และเงินตน้ คนื เมื่อครบก�ำหนด (4) แนวทางปฏิบัติในการยอมรบั ความเส่ียง (Risk Acceptance) (4.1) ฝกึ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เพอ่ื สรา้ งความพรอ้ มและเพมิ่ ศกั ยภาพ ของหนว่ ยงาน และบคุ ลากร รวมทง้ั เปน็ การทดสอบการประสานงานและการบรู ณาการความรว่ มมอื ใหท้ ราบจดุ บกพรอ่ งและชอ่ งวา่ ง ในการปฏบิ ตั งิ านในภาวะฉกุ เฉนิ เพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารปรบั ปรงุ ขน้ั ตอน แนวทางปฏบิ ตั ิ และแผนทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในแตล่ ะระดบั ทง้ั นี้ การฝกึ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ใหห้ มายรวมถงึ การฝกึ ซอ้ มแผน การซักซ้อม การฝึกปฏิบัติ และการทดสอบมาตรการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามความเหมาะสม และความจำ� เปน็ ของแตล่ ะหนว่ ยงาน รวมท้ังการฝึกซอ้ มแผนระหว่างประเทศ ใหก้ องบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั แต่ละระดบั และหนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบแผนสนับสนุนการปฏิบัติงานในภาวะฉกุ เฉิน แตล่ ะด้าน จดั ใหม้ ี การฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อยา่ งน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งน้ี ให้พิจารณาทำ� การฝกึ ดว้ ยประเภทและรูปแบบ ที่เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคก์ ารฝึกและขอบเขตของภารกิจทจ่ี ะท�ำการฝึก แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 77

(4.2) จดั ทำ� แผนอพยพ ประกอบดว้ ย บญั ชจี ำ� นวนผอู้ พยพ บญั ชสี ว่ นราชการ สงิ่ อำ� นวยความสะดวก ในการอพยพ การกำ� หนดเขตพน้ื ทรี่ องรบั การอพยพใหอ้ ยใู่ นพน้ื ทที่ เี่ หมาะสม การกำ� หนดเจา้ หนา้ ทห่ี รอื ผรู้ บั ผดิ ชอบ การอพยพไว้ให้ชัดเจน การก�ำหนดเส้นทางอพยพหลักและเส้นทางอพยพส�ำรองส�ำหรับแต่ละประเภทภัย รวมทั้ง การส�ำรวจและการจัดเตรยี มพาหนะ น้�ำมันเชอื้ เพลิง แหลง่ พลังงาน และระบบส่ือสารสำ� หรบั การอพยพ ให้กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละระดับจัดท�ำแผนอพยพ แผนอพยพ ส่วนราชการ หรือวางมาตรการการอพยพ (4.3) จัดเตรียมพ้ืนที่รองรับการอพยพ โดยจัดหาพ้ืนที่ท่ีมีความปลอดภัยและมีเส้นทางคมนาคม งา่ ยตอ่ การเขา้ ถงึ มกี ารจดั ระเบยี บพนื้ ทเ่ี ปน็ สดั สว่ น และเหมาะสมสำ� หรบั เปน็ ทพ่ี กั ชว่ั คราว แกผ่ ปู้ ระสบภยั ทเ่ี คลอื่ น ย้ายออกจากถิ่นที่อยอู่ าศยั ท่ีเกิดสาธารณภยั หรือเส่ียงตอ่ การเกดิ สาธารณภัย (4.4) จดั เตรยี มการจดั ตง้ั ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว (Temporary Shelter Management) เปน็ การ แกป้ ญั หาทอี่ ยูอ่ าศัยชั่วคราวในสถานการณท์ ่เี กดิ สาธารณภยั ขน้ึ ซึง่ รัฐต้องมกี ารเตรยี มแผนรับมอื ตอ่ จากการอพยพ ในภาวะฉกุ เฉนิ โดยกำ� หนดอาคารทจี่ ะใชเ้ ปน็ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวไวแ้ ละการบรหิ ารจดั การในศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว ทงั้ น้ี การเตรยี มการจดั ตั้งศนู ยพ์ กั พิงช่ัวคราวทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพควรประกอบดว้ ยอยา่ งน้อย ดงั นี้ (4.4.1) จัดหาสถานทีต่ ั้งศูนยพ์ กั พงิ ชั่วคราว โดยพิจารณาเลอื กสถานทต่ี ั้งจากการมีสว่ นรว่ ม จากทุกภาคส่วนโดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง และให้ค�ำนึงถึงความปลอดภัยไม่เสี่ยงต่อการเกิดภัยซ�้ำ มีการคมนาคม สะดวก มคี วามพรอ้ มของสาธารณปู โภค เชน่ ประปา ไฟฟา้ เปน็ ตน้ รวมทงั้ ตอ้ งกำ� หนดนโยบายในการเปดิ การบรหิ าร และปิดศูนยใ์ หช้ ัดเจน (4.4.2) จดั การภายในศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวใหเ้ ปน็ ไปตามโครงสรา้ งแผนบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว (4.4.3) กำ� หนดปจั จยั ความจำ� เปน็ ขน้ั ตำ�่ ของศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวทเ่ี หมาะสม ตามมาตรฐานสเฟยี ร์ (4.4.4) ใหม้ กี ารบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ผอู้ พยพ โดยมกี ารเกบ็ บนั ทกึ ขอ้ มลู ทจี่ ำ� เปน็ ประกอบดว้ ย ข้อมลู ประชากร ข้อมลู ส่วนบุคคล และข้อมลู ดา้ นธุรการ ทง้ั น้ี เมอ่ื สถานการณส์ าธารณภยั สน้ิ สดุ ลง เจา้ หนา้ ทปี่ ระจำ� ศนู ยจ์ ะเตรยี มความพรอ้ มสำ� หรบั การอพยพกลบั และหวั หน้าศูนย์จะประกาศปิดศูนย์ (4.5) แผนบรหิ ารความตอ่ เนอื่ ง (Business Continuity Plan: BCP) เปน็ แผนรองรบั การดำ� เนนิ ภารกจิ ในการบรหิ ารราชการและใหบ้ รกิ ารประชาชนไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งเมอ่ื อยใู่ นสภาวะวกิ ฤต โดยแนวคดิ การบรหิ าร ความต่อเนื่องของหน่วยงานภาครัฐเน้นการควบคุม ดูแล และป้องกันทรัพยากรท่ีส�ำคัญต่อการด�ำเนินงานหรือให้ บรกิ ารเพอื่ สรา้ งประโยชนส์ งู สดุ สำ� หรบั ผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี โดยหากการควบคมุ ภายในทม่ี อี ยไู่ มส่ ามารถ ควบคมุ ดแู ลและปอ้ งกนั ไดท้ งั้ หมดเมอ่ื เกดิ สภาวะวกิ ฤตจะทำ� ใหก้ ารดำ� เนนิ งานหรอื การใหบ้ รกิ ารของหนว่ ยงานลดลง และไมต่ อ่ เนอื่ ง ดงั นน้ั บทบาทหนา้ ทข่ี องหนว่ ยงานภาครฐั คอื ตอ้ งเรง่ ดำ� เนนิ การใหก้ ารดำ� เนนิ งานหรอื การใหบ้ รกิ าร กลับมาให้เหมือนภาวะปกติแม้ในสถานการณ์ สาธารณภัยตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 และวันท่ี 31 มนี าคม 2563 ทงั้ น้ี สง่ เสรมิ ให้ภาคเอกชนมีการจัดทำ� แผนบรหิ ารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP) ใหค้ รอบคลมุ ธุรกจิ ทกุ ขนาด รวมถึงวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม 78 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(4.6) การแจ้งเตือนภัย (Warning) เป็นการด�ำเนินการแจ้งเตือนภัยเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ ในการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ ม การปอ้ งกนั และลดผลกระทบ โดยการใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารเกยี่ วกบั สาธารณภยั และการแจง้ เตอื นภยั ทร่ี วดเรว็ ไปยงั พน้ื ทแี่ ละกลมุ่ เปา้ หมาย เพอื่ ใหห้ นว่ ยงานและประชาชน เตรยี มความพร้อมรบั มอื กบั สาธารณภยั ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งทนั ทว่ งที ทง้ั นี้ การแจง้ เตอื นภัยจะหมายรวมถงึ การแจง้ เตอื นภยั ลว่ งหนา้ (Early Warning) ตงั้ แตก่ ารใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารทเี่ ปน็ ประโยชนแ์ ละทนั เหตกุ ารณผ์ า่ นชอ่ งทางตา่ ง ๆ ไปยงั หนว่ ยงาน/องคก์ ร และประชาชน เพอื่ ใหห้ นว่ ยงานและ/หรอื บคุ คลทก่ี ำ� ลงั เผชญิ ความเสย่ี งตอ่ การเกดิ สาธารณภยั สามารถตดิ ตาม วเิ คราะห์ และประเมนิ สถานการณ์ โดยระบบเตอื นภยั แบบครบวงจร (End-to-End Early Warning System) จะมงุ่ เน้นกระบวนการด�ำเนินการตง้ั แต่ตน้ ทางในการวิเคราะห์ประเมนิ ความเสี่ยง เพอื่ แจง้ เตือนภยั ไปยงั หนว่ ยงานและประชาชน ใหม้ คี วามพรอ้ มในการรบั มอื กบั สาธารณภยั และสามารถอพยพไปยงั พน้ื ทปี่ ลอดภยั ไดอ้ ยา่ ง มีประสิทธภิ าพ ผ่านช่องทางสือ่ สารตา่ ง ๆ ทไี่ ดจ้ ดั เตรียมไว้ (4.6.1) แนวทางปฏบิ ตั ขิ องระบบการเตอื นภยั ดำ� เนนิ การจดั หา ตดิ ตงั้ และพฒั นาโครงสรา้ ง ระบบการเตือนภยั ระบบส่ือสารและโครงสร้างพน้ื ฐานด้านการเตอื นภัยในการพัฒนาการแจง้ เตอื นภัย วิเคราะหข์ ้อมลู สาธารณภยั และการสง่ ขอ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ งรวดเรว็ ไปยงั สว่ นราชการ หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง และประชาชน ซ่ึงการพัฒนา และเชอ่ื มโยงระบบการแจง้ เตอื นและเฝา้ ระวงั ภยั ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ประกอบดว้ ย 4 องคป์ ระกอบหลกั ตามแผนภาพท่ี 4-1 แผนภาพที่ 4-1 องค์ประกอบสำ� คัญของระบบการเตือนภัย แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 79

(1) การรบั รู้และเข้าใจความเสีย่ ง (Risk Knowledge) โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทเี่ ปน็ ระบบและคำ� นงึ ถงึ การเปลย่ี นแปลงของภยั อนั เนอื่ งจากปจั จยั อนื่ ๆ เชน่ การขยายตวั ของเมอื ง เป็นตน้ มาใช้ในการประเมนิ ความเส่ยี งจากสาธารณภัย เพ่อื น�ำมาสนับสนนุ /ตดั สนิ ใจในการแจ้งเตอื นภยั ให้ตรงกับ พนื้ ทีท่ จ่ี ะได้รับผลกระทบเมอ่ื สาธารณภยั เกิดขึน้ การประเมินความเสีย่ งไม่ควรดำ� เนนิ การเพยี งคร้ังเดียวควรมกี าร ปรับปรุงตามระยะเวลา โดยขน้ึ อยู่กบั การเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อม กาลเวลา และบริบทของพนื้ ที่ (2) การติดตามสถานการณ์และการพยากรณ์ (Monitoring and Forecasting) เปน็ ขนั้ ตอนในการเฝา้ ระวงั ตดิ ตามสถานการณ์ และการวเิ คราะหค์ าดการณส์ าธารณภยั ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ เชงิ พน้ื ทใี่ นแตล่ ะระดบั เพ่ือให้การคาดการณ์มีความถูกต้อง แม่นย�ำ ครอบคลุม และรวดเร็ว เช่น กรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยาชเี้ ปา้ ระดบั จงั หวดั หนว่ ยงานในพนื้ ทว่ี เิ คราะหแ์ ละแจง้ เตอื นภยั ในพน้ื ทเี่ สยี่ งตอ่ ไป โดยใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ นวตั กรรม แบบจำ� ลองการวเิ คราะหข์ อ้ มลู จำ� นวนมาก (Data Analytics and BIG DATA) ปญั ญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence: AI) เป็นต้น (3) การแจ้งเตือนภยั และการส่อื สาร (Dissemination and Communication) โดยเม่ือได้ผลการวิเคราะห์สถานการณ์สาธารณภัยแล้ว ต้องจัดท�ำข้อความหรือค�ำแจ้งเตือนท่ีชัดเจน เข้าใจง่าย และเกดิ ประโยชนต์ อ่ ชุมชน/ประชาชนมากท่สี ดุ เชน่ เวลาทีจ่ ะเกดิ สาธารณภัย ระยะเวลาการเกดิ พนื้ ท่ีทจ่ี ะได้รบั ผลกระทบ แนวทางการปฏบิ ตั แิ ละการเตรยี มพรอ้ ม เปน็ ตน้ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนไมเ่ กดิ ความสบั สนและสามารถปฏบิ ตั ิ ตามได้อย่างถูกวิธี รวมทั้งจะต้องจัดเตรียมโครงสร้างพ้ืนฐานระบบสื่อสาร (Communication Infrastructure) และระบบ/อปุ กรณเ์ ตอื นภยั ให้ครอบคลุมพ้ืนทีเ่ สี่ยงภัย (4) ความตระหนกั รู้และการตอบสนองต่อการแจง้ เตอื นภยั (Public Awareness and Response Capability) เม่ือชุมชน/ประชาชนในพื้นท่ีได้รับข้อความ/สัญญาณแจ้งเตือนแล้วต้องรู้เท่าทันภัย โดยตระหนกั ถึงความปลอดภัย การป้องกันและเตรียมความพรอ้ มรบั มือกับสาธารณภยั ที่จะเกิดขึน้ ตง้ั แต่การสรา้ ง ความเขม้ แข็งในชุมชน การปอ้ งกนั และลดผลกระทบ ความสามารถจดั การในภาวะฉุกเฉนิ ตลอดจนการอพยพไป ยังพ้นื ทีป่ ลอดภัย (4.6.2) แนวทางปฏบิ ตั กิ ารแจง้ เตอื นภยั เนอ่ื งจากสาธารณภยั ทเี่ กดิ ขนึ้ โดยเฉพาะ ภยั ธรรมชาติ มรี ะยะเวลาในการเกดิ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ดงั นนั้ ในการแจง้ เตอื นภยั ใหพ้ จิ ารณาระยะเวลาของการแจง้ เตอื นภยั ตามแตล่ ะ ประเภทของสาธารณภัย โดยแบง่ กระบวนการแจง้ เตือนภัยเป็น 3 ขน้ั ตอน ดังน้ี (1) เฝ้าระวัง ติดตาม วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์ โดยติดตามข้อมูล ความเคลอ่ื นไหวของเหตกุ ารณ์ และปจั จยั เสยี่ งตา่ ง ๆ ทอี่ าจสง่ ผลใหเ้ กดิ สาธารณภยั รวมทง้ั เฝา้ ระวงั ใหข้ อ้ มลู ขา่ วสาร แกป่ ระชาชน รวมท้งั ติดตามสถานการณแ์ ละปฏิบตั งิ านตลอด 24 ช่วั โมง ให้กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติแลกเปลี่ยนข้อมูล ขา่ วสาร วิเคราะห์และประเมนิ สถานการณ์เพอื่ ตดั สินใจในการเตรียมรบั มือกบั สาธารณภัย (2) แจ้งเตือนภัยล่วงหน้า โดยแจ้งข้อมูลข่าวสารท่ีบ่งช้ีว่ามีแนวโน้มที่จะเกิด สาธารณภยั ขน้ึ ในพนื้ ทท่ี มี่ คี วามเสยี่ งภยั ไปยงั สว่ นราชการ กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แตล่ ะระดบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และประชาชน เพอื่ ใหต้ ดิ ตามขอ้ มลู ขา่ วสารและความเคลอ่ื นไหว อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รวมทงั้ จัดวางแนวทาง มาตรการ และขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ รว่ มกับหน่วยงานที่มหี นา้ ทีใ่ นการเฝ้าระวัง ตดิ ตามสถานการณ์ เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์ และแจกจา่ ยขอ้ มลู ขา่ วสาร เพอ่ื ใหก้ ารแจง้ เตอื นภยั ลว่ งหนา้ มมี าตรฐานเปน็ รปู แบบเดยี วกนั 80 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

หากประเมนิ สถานการณแ์ ลว้ คาดวา่ มโี อกาสเกดิ สาธารณภยั มากกวา่ รอ้ ยละ 60 ใหม้ ีการแจง้ เตือนภัยทันทกี บั กองอ�ำนวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แตล่ ะระดับ และประชาชนในพนื้ ท่ีเสย่ี งภัย ในการเตรียมความพร้อมรับมอื กบั สาธารณภัยท่จี ะเกดิ ขนึ้ โดยมีข้อมลู การแจง้ เตือนภยั ดังน้ี l คาดการณร์ ะยะเวลา และบริเวณพน้ื ทีท่ ีจ่ ะเกิดสาธารณภัย l ผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ข้ึนและความยาวนานของภัย (ระยะเวลา) l แนวทางการปฏบิ ตั ติ นของส่วนราชการ หน่วยงาน และประชาชน l การเตรียมความพรอ้ มรบั มอื เช่น อาหาร น�ำ้ ดม่ื ยารักษาโรค เป็นตน้ ใหก้ องอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กลาง จดั วางแนวทาง มาตรการ และข้ันตอนการปฏิบัติ ร่วมกับหน่วยงานที่มีหน้าท่ีในการแจ้งเตือนภัยเพื่อส่ังการไปยังกองอ�ำนวยการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยแต่ละระดับ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต พร้อมทั้งให้กรมประชาสัมพันธ์ รว่ มกบั กรมการปกครอง กำ� หนดขน้ั ตอนวธิ ปี ฏบิ ตั เิ พอื่ เผยแพร่ และประชาสมั พนั ธ์ สอ่ื สารความเสยี่ ง แจกจา่ ยขอ้ มลู ขา่ วสาร และแจ้งเตอื นภัยให้กบั พื้นทีท่ ่ีประสบสาธารณภยั เพ่อื ให้ม่ันใจได้ว่าประชาชนไดร้ บั ข้อมูลข่าวสารทถี่ ูกต้อง และรวดเรว็ เพื่อเตรียมรบั สถานการณ์เปน็ ไปตามแนวทางทก่ี �ำหนด (3) รับมือและอพยพหากคาดว่าสาธารณภัยที่เกิดข้ึนจะส่งผลกระทบต่อชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนในพ้ืนท่ี ให้ด�ำเนินการแจ้งผู้อ�ำนวยการส่ังการให้อพยพไปยังพ้ืนท่ีปลอดภัย หรือพ้ืนที่ ที่หนว่ ยงานราชการ มูลนธิ ิ องค์กร หรอื เอกชนไดจ้ ัดเตรียมไว้ ให้กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแต่ละระดบั ก�ำหนดแนวทาง และข้ันตอนการปฏิบัติ รวมทั้งแผนเผชิญเหตุ ส�ำหรับส่วนราชการ หน่วยงาน และองค์กรเอกชน ในการรบั มอื กบั สาธารณภยั ทเี่ กดิ ขึน้ โดยให้กระทรวงกลาโหม ศนู ย์ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั เขต และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เป็นหน่วยงานสนับสนุนทรัพยากร เครื่องจักรกล เคร่ืองมือพิเศษ หากเกินศักยภาพ ที่จะรับมอื กบั สถานการณ์ได้ ใหร้ ายงานกองอำ� นวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั กลางทราบทันที ท้ังนี้ ระยะเวลาในการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าและการแจ้งให้อพยพขึ้นอยู่กับ สถานการณแ์ ละประเภทของสาธารณภยั เชน่ ดนิ โคลนถลม่ /นำ�้ ปา่ ไหลหลากอาจมรี ะยะเวลาในการแจง้ เตอื น 1-2 วนั ในขณะทภ่ี ยั จากสึนามิจะมรี ะยะเวลา 1-2 ช่ัวโมง เปน็ ตน้ การกำ� หนดระดบั /สญั ลกั ษณ/์ สกี ารแจง้ เตอื นภยั ใหเ้ ปน็ ไปตามบรบิ ทและภารกจิ ของแต่ละหนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบ โดยอา้ งองิ จากระดบั สถานการณส์ าธารณภัย /ความรนุ แรง ของสาธารณภัยตาม แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 (4.6.3) แนวทางปฏบิ ตั พิ ฒั นาและเชอ่ื มโยงระบบการเตอื นภยั สำ� หรบั หนว่ ยงาน ภาคสว่ น ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ประชาชนและชมุ ชนในพน้ื ทเ่ี สย่ี งภยั เพอ่ื ทำ� ใหก้ ารเตอื นภยั มคี วามแมน่ ยำ� นา่ เชอื่ ถอื และมปี ระสทิ ธภิ าพ มากยง่ิ ขึ้น โดยมแี นวทาง ดงั นี้ (1) ปรับปรุงอุปกรณ์เคร่ืองมือและเทคโนโลยีให้สามารถรองรับกับระบบเตือนภัย ในปจั จบุ นั และต่างประเทศได้ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 81

(2) พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และแบบจ�ำลองในการพยากรณ์และคาดการณ์ สาธารณภยั โดยนำ� การวเิ คราะหข์ อ้ มลู จำ� นวนมาก (Data Analytics and BIG DATA) และปญั ญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence: AI) มาใช้ในการพยากรณ์และคาดการณ์ (3) จัดท�ำมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP) และเสริมสรา้ งขีดความสามารถของเจา้ หน้าท่ีผู้ปฏบิ ัตงิ าน (4) จัดวางระบบส่ือสารหลกั อยา่ งนอ้ ย 2 ระบบ และระบบส่อื สารสำ� รอง (5) จัดเตรียมและติดตั้งโครงสร้างพ้ืนฐานระบบสื่อสารและอุปกรณ์เตือนภัย ใหค้ รอบคลมุ พน้ื ท่เี สย่ี งภัย (6) เตรยี มความพรอ้ มและสรา้ งความตระหนกั รวมถงึ ใหป้ ระชาชนมกี ารรบั รแู้ ละเขา้ ใจ ความเสยี่ งจากขอ้ มลู ทไ่ี ดร้ บั โดยจดั ใหม้ กี ารฝกึ อบรม เชน่ อาสาสมคั รแจง้ เตอื นภยั ในชมุ ชนเมอื ง ตำ� บลและหมบู่ า้ น เพื่อเสริมสรา้ งความเข้าใจเก่ียวกับระบบการเตือนภัยทมี่ ีความแตกตา่ งกนั ของภัย แต่ละประเภท เปน็ ตน้ (7) จดั ใหม้ กี ารฝกึ กระบวนการระบบการเตอื นภยั เพอื่ เปน็ การทดสอบแผนปฏบิ ตั กิ าร แผนเผชญิ เหตุ ข้ันตอน เครือ่ งมือ อปุ กรณ์ และความพร้อมของประชาชนทัง้ ในระดับจังหวดั อำ� เภอ ตำ� บล หมู่บ้าน อย่างนอ้ ยปีละ 1 ครง้ั (4.6.4) แนวทางปฏิบตั ิเผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสาร ใหน้ �ำเทคโนโลยมี าสนับสนนุ ในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ แผนทีเ่ ส่ยี งภยั แอพพลิเคชัน่ จัดท�ำ Web Service ในการน�ำเสนอข้อมลู และ Mobile Application เพอ่ื เป็น ชอ่ งทางในการใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู และแจง้ เตอื นภยั ใหแ้ กป่ ระชาชน และกลมุ่ เปราะบางผา่ นสมารท์ โฟน (Smart Phone) หรอื แทบ็ เลต็ (Tablet) หรอื ระบบอื่นทส่ี ามารถเข้าถึงไดโ้ ดยง่าย (4.7) เตรยี มความพร้อมด้านทรัพยากรสาธารณภยั (4.7.1) จัดให้มีสิ่งของส�ำรองจ่ายเพ่ือการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ได้แก่ อาหาร เส้ือผ้า เคร่ืองนุ่งห่ม เตน็ ท์ ทพ่ี กั ชว่ั คราว ยารกั ษาโรค อุปกรณ์เครอ่ื งใชท้ จี่ ำ� เปน็ ต่อการด�ำรงชีวติ เคร่ืองจักรกลสาธารณภัย อุปกรณ์เคร่ืองมือพเิ ศษสำ� หรับแต่ละประเภทภยั วสั ดุส้นิ เปลอื ง รวมทั้งสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ (4.7.2) ให้มกี ารระดมทรพั ยากรอื่น ๆ ได้แก่ คน ระบบเทคโนโลยี ข้อมูลสาธารณภัย รวมถึง ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ เพื่อเป็นการสร้างความเป็นหุ้นส่วนร่วมกันของทุกหน่วยงานในประเทศ ทั้งภาครัฐในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถ่ิน รวมท้ังการมีส่วนร่วมท้ังบุคคลในชุมชน ภาคเอกชน องค์กรท่ีไม่แสวงหาผลก�ำไร และมูลนธิ ิตา่ ง ๆ (4.7.3) บรู ณาการระดมทรพั ยากรจากหลายหนว่ ยงานใหม้ คี วามพรอ้ มรบั มอื กบั สาธารณภยั ได้แก่ การประเมินความต้องการในการใช้ทรัพยากรในแต่ละประเภทภัย การประมาณทรัพยากรท่ีจ�ำเป็นต้องใช้ การกำ� หนดมาตรฐานกลางสำ� หรบั การจดั หา การจดั หาทรพั ยากรสำ� รอง ระบบคงคลงั และการจดั เกบ็ รกั ษาตามมาตรฐาน ของแต่ละผลติ ภัณฑใ์ นคลงั เกบ็ (Stockpiling) การตรวจสอบสถานะความพรอ้ มใช้ของทรพั ยากร การบ�ำรงุ รักษา การฝกึ ทกั ษะความชำ� นาญในการใชง้ านอปุ กรณแ์ ละระบบตา่ ง ๆ การจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู บญั ชที รพั ยากร การวางระบบ การจดั สรรทรพั ยากร รวมทงั้ ระบบการระดมสรรพกำ� ลงั การวางแผนระบบโลจสิ ตกิ ส์ และการจดั ทำ� คมู่ อื ปฏบิ ตั งิ าน (4.7.4) ใหม้ กี ารสนบั สนนุ การจดั สรรงบประมาณเพอื่ การปอ้ งกนั และลดผลกระทบ การเตรยี ม ความพร้อม การเผชิญเหตแุ ละการจดั การในภาวะฉุกเฉนิ รวมถึงการฟื้นฟูอยา่ งยัง่ ยืน 82 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

กลยุทธท์ ่ี 3 สง่ เสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นและทกุ ระดบั เสรมิ สรา้ งความเปน็ หนุ้ สว่ นในการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั การเสรมิ สรา้ งความเปน็ หนุ้ สว่ นในการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั เปน็ การมงุ่ เนน้ บทบาท การมสี ว่ นรว่ ม ของทกุ ภาคสว่ นในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ดว้ ยการกำ� หนดบทบาทของแตล่ ะภาคสว่ นใหม้ คี วามชดั เจน เพอ่ื สรา้ งการรบั รบู้ ทบาท ภารกจิ และความรสู้ กึ ในความเปน็ สว่ นหนงึ่ ของการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั รว่ มกนั โดยเปดิ โอกาสให้ “รว่ มคดิ ร่วมตดั สินใจ ร่วมท�ำ ร่วมแกป้ ญั หา” ตามวงจรการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภยั ซง่ึ เปน็ แนวทางในการนำ� เรอ่ื งการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั เขา้ สกู่ ระแสหลกั ในการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ของประเทศ (Mainstreaming Disaster Risk Reduction into Development) และเสริมสร้างความเข้มแข็งหรือภูมิคุ้มกัน ใหแ้ ก่ชมุ ชน สังคม และประเทศ ท้ังนี้ รฐั จะต้องก�ำหนดนโยบายการเสรมิ สร้างความเปน็ หนุ้ สว่ นในการจดั การความเส่ยี งจากสาธารณภัย เปน็ นโยบายสำ� คญั ของประเทศ โดยขบั เคลอื่ นการบรู ณาการการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั ใหน้ ำ� ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ อยา่ งเป็นรปู ธรรม รวมท้งั ให้ความส�ำคญั ในการวางแผน และจัดสรรงบประมาณ เพ่อื สนับสนนุ การด�ำเนนิ งาน (1) แนวทางปฏบิ ัตใิ นการกำ� หนดให้เปน็ นโยบายแห่งรฐั ท่สี ำ� คญั (1.1) สง่ เสรมิ บทบาทการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในฐานะหนุ้ สว่ นในการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั ไดแ้ ก่ การรว่ มจดั ทำ� แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในทกุ ระดบั และระบกุ ารลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั ไวใ้ นยุทธศาสตรแ์ ละแผนพฒั นาของประเทศ (1.2) สนับสนุนและจัดสรรงบประมาณส�ำหรับการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย การเผชิญเหตุ และการฟนื้ ฟู เช่น งบประมาณรายจา่ ยประจ�ำปี งบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ เปน็ ต้น (1.3) ศึกษา วจิ ยั และรวบรวมมาตรการข้อบังคับ กฎเกณฑ์ และระเบียบทเ่ี กี่ยวข้องกับการจดั การ ความเสี่ยงจากสาธารณภัยของทุกภาคส่วนในแต่ละระดับ เพ่ือใช้จัดการกระบวนการ และวางแผนในฐานะหุ้นส่วนใน การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เชน่ การประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม (Environmental Impact Assessment: EIA) การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment: SEA) กฎหมายอาคาร (Building Code) เปน็ ต้น (1.4) ทบทวนและปรบั ปรุงนโยบาย กฎหมาย และบทบาทของทุกภาคสว่ นในแต่ละระดบั ในการ ลดความเสี่ยงจากสาธารณภยั ของประเทศ เช่น ประมวลกฎหมายสาธารณภยั เปน็ ตน้ (1.5) รฐั ควรมีนโยบายแพลตฟอรม์ ได้แก่ (1.5.1) สรา้ งความเขม้ แขง็ ในการประสานงานระหวา่ งหนว่ ยงาน และการสรา้ ง ความรว่ มมอื ระหว่างรัฐบาล ภาคประชาสงั คม และภาคส่วนอื่น ๆ ในแตล่ ะระดบั (1.5.2) จดั ใหม้ สี มชั ชาการจดั การสาธารณภยั เปน็ เวทสี าธารณะระดบั ชาติ เพอ่ื เปดิ โอกาสให้ ภาคสว่ นต่าง ๆ ในสังคมได้แลกเปลย่ี นองค์ความรู้ ประสบการณ์ และเรียนรรู้ ว่ มกัน เพ่ือคน้ หาทางออกในประเดน็ ปญั หารว่ มทแี่ ตล่ ะภาคสว่ นใหค้ วามสำ� คญั และนำ� ไปสกู่ ารเสนอแนะพฒั นานโยบายสาธารณะในการจดั การความเสย่ี ง จากสาธารณภยั ของประเทศอยา่ งเปน็ ระบบและมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น โดยจดั ใหม้ กี ารประชมุ อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครงั้ หรอื ตามความเหมาะสม แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 83

(1.5.3) ผลกั ดนั งานของผปู้ ระสานงานดา้ นการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั ระดบั กระทรวง และจังหวัด เช่น แผนงานและโครงการที่เกี่ยวข้องกับการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย การประเมินความเสี่ยง การประเมินความสูญเสียและความเสยี หายจากสาธารณภยั เปน็ ตน้ (1.6) จัดท�ำบันทึกข้อตกลงระหว่างภาคประชาสังคม ภาคเอกชน กับภาครัฐในการน�ำนโยบาย การลดความเสย่ี งจากสาธารณภัยไปสู่การปฏบิ ตั ิ (1.7) พฒั นาและสง่ เสรมิ การสรา้ งความตระหนกั ใหแ้ กผ่ เู้ กีย่ วขอ้ งทุกภาคสว่ น ท้ังภาคประชาสังคม ภาคเอกชน ตลอดจนชมุ ชนในสงั คมใหเ้ ปน็ ผรู้ เู้ ทา่ ทนั ภยั โดยสามารถตดั สนิ ใจและมบี ทบาทในการบรหิ ารจดั การในฐานะ หุ้นสว่ นผดู้ ำ� เนินภารกจิ การลดความเส่ยี งจากสาธารณภยั (To Empower) (1.8) พฒั นาและสง่ เสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นตงั้ แตร่ ะดบั ชาตถิ งึ ชมุ ชนดำ� เนนิ แผนงาน โครงการ/กจิ กรรม/ เวทสี าธารณะทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั เชน่ แผนสนบั สนนุ งบประมาณ การประเมนิ ความเสยี่ ง การจดั ล�ำดบั ความเสยี่ งท่ีต้องมีมาตรการเสริมสรา้ งความรว่ มมือ และการมสี ว่ นร่วม เปน็ ตน้ (1.9) สง่ เสรมิ การบรหิ ารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวกิ ฤตและการจดั ทำ� แผนรองรบั การบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื ง ให้แก่ทุกภาคส่วน โดยให้ทุกหน่วยงานจัดท�ำแผนบริหารความต่อเน่ือง (Business Continuity Plan: BCP) ของหนว่ ยงาน (1.10) ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ โครงการความรว่ มมือระหว่างภาครฐั และเอกชน โดยให้เอกชนเข้ามา มสี ว่ นรว่ มกบั ภาครฐั ในการจดั สรา้ ง ปรบั ปรงุ และพฒั นาการบรหิ ารจดั การสาธารณปู โภค และสาธารณปู การขน้ั พนื้ ฐาน รวมถึงการให้บรกิ ารอ่นื ๆ แก่ประชาชน (1.11) จดั ตงั้ กองทนุ การจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั และกองทนุ พเิ ศษเพอื่ การจดั การความเสยี่ ง จากสาธารณภยั โดยใหก้ ระทรวงการคลงั เปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการจดั ตง้ั กองทนุ กระทรวงมหาดไทยเปน็ หนว่ ยงาน บรหิ ารกองทนุ การจัดหารายได้ การเบิกจ่าย และการใช้จ่ายกองทุน (1.12) กำ� หนดมาตรการการเงนิ การคลงั และการสง่ เสรมิ การลงทนุ เพอ่ื การลดความเสยี่ งสาธารณภยั ใหแ้ ก่ภาคประชาสังคม เช่น การออกพนั ธบัตร มาตรการทางภาษี เป็นตน้ (1.13) สง่ เสรมิ สถาบนั ประกนั ภยั สถาบนั การเงนิ เพอ่ื ใหภ้ าคประชาสงั คม เขา้ ถงึ ระบบประกนั ความเสยี่ ง การทำ� ประกนั ภยั การใหส้ นิ เชอื่ ฉกุ เฉนิ หรอื การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ แกช่ มุ ชนและครอบครวั เพอ่ื การถา่ ยโอน ความเสย่ี งจากสาธารณภยั (2) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการรว่ มเป็นหุ้นสว่ นในการลดความเส่ียงจากสาธารณภัย (2.1) ภาคประชาสังคม เสรมิ สรา้ งใหภ้ าคประชาสงั คมมสี ว่ นรว่ มดา้ นการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั การเผชญิ เหตุ และการฟื้นฟู ได้แก่ การให้ความรู้เฉพาะทาง ให้ค�ำแนะน�ำในทางปฏิบัติท่ีเก่ียวข้องกับการจัดท�ำและด�ำเนินงาน ตามกรอบกฎเกณฑ์ มาตรฐาน และแผนงานทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั โดยสร้างความตระหนกั รู้ ให้กับประชาชน ชมุ ชนมีความพร้อมรับมือและการฟืน้ กลับเร็ว รวมทงั้ ใหม้ ีการรบั ฟังความคดิ เหน็ ของประชาชน 84 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(2.2) สถาบนั ทางการศึกษา องคก์ รวจิ ัย นักวชิ าการ ผ้เู ช่ยี วชาญ ศึกษา พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านการจัดการความเส่ียง จากสาธารณภยั รวมทงั้ เผยแพรค่ วามรใู้ นเรอื่ งดงั กลา่ วเพอ่ื ประโยชนใ์ นการประยกุ ตใ์ ช้ ใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทของประเทศ และพื้นท่ี ส่งเสริมความรว่ มมอื ทางวชิ าการ และร่วมแสดงความคิดเห็น ให้ค�ำปรกึ ษา (2.3) ภาคเอกชน เช่น องคก์ รธรุ กจิ สถาบันการเงนิ มุ่งเน้นและส่งเสริมให้ด�ำเนินงานทางธุรกิจท่ีรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมทป่ี ลอดภยั อยา่ งเปน็ รปู ธรรมและครบวงจร (Corporate Social Responsibility: CSR) และมกี ารบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งทางธรุ กจิ รวมถึงส่งเสริมให้น�ำแนวทางการลดความเส่ียงจากสาธารณภัยมาผนวกเข้ากับรูปแบบและวิธีด�ำเนินธุรกิจ ด้วยการ ใชข้ อ้ มูล ความรปู้ ระกอบการลงทุน สรา้ งความตระหนักร้ใู ห้กบั พนักงาน ลกู คา้ ตลอดจนสนับสนุนให้เกดิ งานวจิ ยั นวัตกรรม และเทคโนโลยีส�ำหรับการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย โดยแบ่งปันและเผยแพร่ข้อมูล ความรู้ และแนวทางปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปดิ เผยได้ รวมทง้ั สนบั สนนุ ผเู้ ชย่ี วชาญ เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ และเครอ่ื งจกั ร เพอ่ื การจดั การความเสย่ี ง จากสาธารณภยั (2.4) ส่อื ส่งเสริมบทบาทและสนับสนุนการมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และรู้เท่าทันภัยให้แก่ประชาชน โดยส่ือสารข้อความที่เป็นประเด็นส�ำคัญในการเผยแพร่ข่าวสาร (Key Message) การสอ่ื สารความเส่ยี งสาธารณภัย (Risk Communication) ส่สู าธารณะ และเผยแพรข่ อ้ มูลทีถ่ กู ต้อง เชอ่ื ถอื ได้ มคี วามหลากหลาย เขา้ ถงึ ประชาชนทกุ กลมุ่ โดยปฏบิ ตั ติ ามนโยบายการสอ่ื สารความเสย่ี งจากสาธารณภยั สนบั สนนุ ระบบการเตอื นภยั ลว่ งหนา้ กระตนุ้ และสรา้ งวฒั นธรรมความปลอดภยั (Safety Culture) และการมสี ว่ นรว่ ม ของชุมชนอย่างจริงจังในการรณรงค์เผยแพร่ความรู้ให้แก่ประชาชนทุกกลุ่ม และน�ำเสนอในช่วงเวลาท่ีเหมาะสม ตามแนวทางปฏิบัตทิ ี่กำ� หนดร่วมกัน แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 85

ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การเพิม่ ประสิทธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การและประยกุ ตใ์ ชน้ วตั กรรมด้านสาธารณภัย เปน็ การปรบั ปรงุ กระบวนการทำ� งานทม่ี อี ยเู่ ดมิ ใหม้ คี ณุ ภาพ รวมถงึ การใชน้ วตั กรรมจากองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี เพอ่ื ใหก้ ารจดั การสาธารณภยั ของประเทศเกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ภายใตก้ รอบแนวคดิ การพฒั นานวตั กรรมอยา่ งยง่ั ยนื โดยใชฐ้ านขอ้ มลู องคค์ วามรู้ เทคโนโลยี การลงทนุ บคุ ลากร องคก์ รทเ่ี กยี่ วขอ้ ง การวจิ ยั และการประยกุ ตใ์ ชน้ วตั กรรม ดา้ นสาธารณภยั การทบทวนและบงั คบั ใชก้ ฎหมาย ตลอดจนการเสรมิ สรา้ ง ความเขา้ ใจ ความตระหนกั และเพม่ิ ศกั ยภาพ ของชมุ ชนในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เพอื่ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการพฒั นาการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ของประเทศใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ 1. แนวคดิ การเพ่มิ ประสิทธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การและประยุกต์ใชน้ วตั กรรมดา้ นสาธารณภัย ปัจจุบันสาธารณภัยท่ีเกิดข้ึนมีแนวโน้มทวีความรุนแรง มีความถี่ในการเกิดเพิ่มขึ้น มีลักษณะการเกิด ทไ่ี ม่แนน่ อน ผันผวนตลอดเวลา มคี วามซับซอ้ น ทำ� ให้การจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั รปู แบบเดิม ไม่สามารถ ด�ำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีความจ�ำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย โดยการสรา้ งและพฒั นาการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั รปู แบบใหมเ่ พอื่ รบั มอื กบั สาธารณภยั ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป โดยใชก้ ารเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การทม่ี งุ่ เนน้ การสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มการสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั จากสาธารณภยั ในทุกภาคสว่ น โดยมชี ุมชนเปน็ ฐาน (Community Based Disaster Risk Management: CBDRM) เปน็ แนวทาง และวางรากฐานใหช้ มุ ชนมสี ว่ นรว่ มกบั หนว่ ยงานภาครฐั อยา่ งเขม้ แขง็ การพฒั นาศกั ยภาพใหช้ มุ ชนหรอื เมอื งมคี วามสามารถ รับมือและปรับตัวกับสาธารณภัยท่ีเปล่ียนแปลงไป (Smart Community/City) รวมถึงการประยุกต์ใช้นวัตกรรม ดา้ นสาธารณภยั โดยใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรค์เพอ่ื พฒั นาองค์ความรู้หรอื การคดิ ค้นประดษิ ฐส์ ิ่งใหม่ ๆ เชน่ การบรกิ าร ผลติ ภัณฑ์ หรอื กระบวนการ (Service, Product, Process) ที่มีคณุ คา่ (Value Creation) สามารถพัฒนาต่อยอด เพอ่ื น�ำไปสู่การเปลีย่ นแปลงการจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภยั ทด่ี ีขึน้ เป็นมาตรฐาน และมีความย่ังยืน 2. เป้าประสงค์ 2.1 เพื่อเสริมสร้างระบบบริหารจัดการ การวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี และภูมิปัญญา ให้การจัดการ ความเสยี่ งจากสาธารณภัยโดยระบบอัจฉริยะอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 2.2 เพอ่ื สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ดว้ ยการรเู้ ทา่ ทนั ภยั ใหก้ บั ประชาชนทกุ ชว่ งวยั อยา่ งเสมอภาคและการมสี ว่ นรว่ ม ของผ้มู ีส่วนไดส้ ่วนเสยี (Stakeholder) จากทกุ ภาคส่วน 86 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

3. กลยุทธ์การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพระบบบรหิ ารจัดการและประยกุ ตใ์ ชน้ วัตกรรมด้านสาธารณภยั กลยุทธท์ ี่ 1 พัฒนาระบบสารสนเทศด้านสาธารณภัย สารสนเทศดา้ นสาธารณภยั มคี วามสำ� คญั และนำ� มาใชใ้ นการสนบั สนนุ การจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ตงั้ แตก่ ารปอ้ งกนั และลดผลกระทบ การเตรยี มความพรอ้ ม การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ และการฟน้ื ฟใู หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ มากขึ้น สามารถเข้าถึงและเชื่อมโยงข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ไว้เป็นระบบเดียวกันและน�ำมาวิเคราะห์ประเมินผล เพ่ือใชใ้ นการตดั สินใจ การปฏบิ ตั งิ าน รวมท้ังการเผยแพรส่ ูส่ าธารณะ (1) แนวทางปฏิบัติในการจัดท�ำแพลตฟอร์ม (Platform) สารสนเทศด้านการจัดการความเสี่ยง จากสาธารณภยั ของประเทศ โดยกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั รว่ มกบั กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม จัดท�ำ ควบคุม ก�ำกับ ดูแล แพลตฟอร์มดังกล่าว เพ่ือให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องพัฒนาระบบสารสนเทศเช่ือมต่อ และใช้ประโยชน์ (2) แนวทางปฏิบัติในการจัดท�ำมาตรฐานชุดข้อมูลสาธารณภัย โดยให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องจัดท�ำ พัฒนา ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลของแต่ละหน่วยงานให้มีรูปแบบเป็นมาตรฐานเดียวกัน เช่น ข้อมูลทางสังคม ขอ้ มลู ทางสาธารณปู โภค ขอ้ มลู โครงสรา้ งพน้ื ฐาน ขอ้ มลู ทางเศรษฐกจิ ขอ้ มลู ทางการเงนิ เปน็ ตน้ เพอ่ื กำ� หนดมาตรฐาน ของขอ้ มูลการจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภยั ของประเทศ ใหส้ อดคล้องตามหลกั มาตรฐาน (3) แนวทางปฏิบัติในการพัฒนาระบบวิเคราะห์และประมวลผล เพ่ือสนับสนุนระบบการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS) ในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยด้านการป้องกันและลดผลกระทบ การเตรยี มความพรอ้ ม การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ การฟน้ื ฟู ทมี่ คี วามถกู ตอ้ ง แมน่ ยำ� รวดเรว็ บนพน้ื ฐานหลกั วชิ าการ ทงั้ มติ ดิ า้ นเศรษฐกจิ และสงั คม ภายใตแ้ พลตฟอรม์ (Platform) สารสนเทศ ดา้ นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ของประเทศ (4) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการจดั ทำ� ระบบน�ำเสนอข้อมลู และการเข้าถึงขอ้ มูล โดยการจดั ท�ำระบบสืบค้น การคดั กรอง วิเคราะหก์ ารแสดงผล ไดท้ ุกช่วงเวลาครอบคลมุ ทุกมติ ิการจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภยั เป็นตน้ ภายใตแ้ พลตฟอรม์ (Platform) สารสนเทศดา้ นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ของประเทศ เพอื่ ใหห้ นว่ ยงาน ท่ีเกยี่ วข้องใชป้ ระโยชนใ์ นภารกจิ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งในการจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภยั กลยุทธท์ ี่ 2 พัฒนาองค์ความรดู้ ้านการจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภัย การจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยให้มีประสิทธิภาพและมีมาตรฐาน จ�ำเป็นต้องอาศัยองค์ความรู้ จากการศกึ ษา วจิ ยั นวตั กรรม เทคโนโลยี มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดำ� เนนิ การ นอกจากนจี้ ำ� เปน็ ตอ้ งมกี ระบวนการเผยแพร่ ถา่ ยทอดองคค์ วามรดู้ า้ นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั โดยเพม่ิ ขดี ความสามารถใหบ้ คุ ลากรดา้ นการจดั การ ความเส่ียงจากสาธารณภัยมีทักษะในการปฏิบัติงาน รวมถึงประชาชนเพื่อให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ น�ำไปสู่ การเตรียมความพรอ้ มรับมือจากสาธารณภยั ท่อี าจจะเกดิ ข้ึน แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 87

(1) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยี เพอ่ื นำ� ผลงานการวจิ ยั และพฒั นา เทคโนโลยีมาประยกุ ต์ใชใ้ นงานดา้ นการจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภัย ได้แก่ การจดั ต้ังศนู ย์วิจยั ดา้ นการจดั การ ความเสยี่ งจากสาธารณภยั ของประเทศ การทำ� บนั ทกึ ขอ้ ตกลงกบั สถาบนั การศกึ ษา องคก์ รวชิ าการ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การสรา้ ง และการประยกุ ตใ์ ชน้ วตั กรรม ตลอดจนผสมผสาน ตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญา และการนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอ่ื การวางแผนปอ้ งกนั และลดผลกระทบไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามบรบิ ทของพนื้ ทแ่ี ละการเปลยี่ นแปลงของสถานการณ์ ภยั ในอนาคต (2) แนวทางปฏิบัติในการส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ไปสู่การเป็นผู้เช่ียวชาญ ด้านการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยตามมาตรฐาน ด้วยการสนับสนุนให้บุคลากร จากทุกภาคส่วนเข้าใจ ในบทบาทหน้าที่ และศกึ ษาอบรม พฒั นา องค์ความรู้เฉพาะด้าน รวมทั้งการแลกเปลี่ยนบุคลากรในการปฏบิ ตั ิงาน ระหวา่ งหนว่ ยงานทงั้ ในและตา่ งประเทศ และการจดั ใหม้ กี ารทดสอบและประเมนิ เพอื่ รบั รองบคุ ลากรใหเ้ ปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญ ดา้ นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ในระดบั สากล เชน่ การประเมนิ และการรบั รองผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นการจดั การ สาธารณภยั ตามมาตรฐานองคก์ ารสหประชาชาติ เป็นตน้ (3) แนวทางปฏิบัติในการส่งเสริมกระบวนการจัดการความรู้ด้านสาธารณภัย โดยการรวบรวม องคค์ วามรู้ และถา่ ยทอดองคค์ วามรสู้ สู่ าธารณะดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การจดั เวทเี สวนา สมั มนา อบรม สอื่ ออนไลน์ ตลอดจนสง่ เสรมิ การแลกเปลยี่ นประสบการณ์ สงั เคราะหบ์ ทเรยี น แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี (best practice) การบรรจุหลักสูตร ในภาคการศกึ ษา การจดั ตงั้ ศนู ยก์ ารเรยี นรสู้ าธารณภยั ในทกุ ระดบั การจดั ตง้ั สถาบนั การดบั เพลงิ และบรรเทาสาธารณภยั และสถาบนั ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของประเทศ โดยใหก้ รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เปน็ หนว่ ยกำ� กบั ควบคมุ ในการดำ� เนนิ การ และกำ� หนดมาตรฐานวชิ าชพี และมาตรฐานการฝกึ อบรมเกยี่ วกบั การปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัยให้แก่หน่วยงานของรฐั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ และหนว่ ยงานภาคเอกชน กลยทุ ธ์ที่ 3 พฒั นาการส่อื สารความเสี่ยงจากสาธารณภัยทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ การสอื่ สารเปน็ กลไกสำ� คญั ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ รบั รู้ และรบั ทราบเรอ่ื งการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั เป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั โดยเฉพาะส่อื สารให้เกดิ การปฏิบัตริ ะหวา่ งหน่วยงานที่เกย่ี วข้อง ในการจัดการความเสย่ี ง จากสาธารณภัย รวมถึงเป็นเครื่องมือในการแจ้งข่าวสารและเผยแพร่ข้อมูลสาธารณภัยแก่ประชาชนให้รับทราบ อย่างทั่วถึงสามารถลดความสูญเสียด้านชีวิตและทรัพย์สิน ทั้งน้ี การน�ำนวัตกรรม และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาระบบสอ่ื สารจะเพ่มิ ประสทิ ธิภาพ การตดิ ตอ่ สอื่ สาร การกระจายขอ้ มลู ข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว ท่วั ถึง ค้มุ คา่ น�ำไปส่กู ารสร้างมาตรฐานการส่อื สารการจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภัยของประเทศ (1) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการพฒั นาและสรา้ งรปู แบบการสอ่ื สารความเสย่ี งจากสาธารณภยั สสู่ าธารณะ โดยประชาชนทกุ กลุ่ม รวมทงั้ กลมุ่ เปราะบาง และนกั ท่องเท่ียว รบั ร้แู ละเขา้ ใจในรูปแบบง่ายและสามารถนำ� ขอ้ มูล ดงั กลา่ วไปใชใ้ นการวางแผนการเตรยี มความพรอ้ มรบั มอื จากสาธารณภยั ทอี่ าจเกดิ ขนึ้ และปฏบิ ตั ติ วั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ระหว่างเกิดสาธารณภัย โดยพัฒนารูปแบบ สื่อประชาสัมพันธ์ ท่ีมีความรวดเร็ว ครอบคลุมทันต่อสถานการณ์ เชน่ การสรา้ งส่อื ออนไลน์เพอ่ื ใหข้ ้อมูลความเส่ียงจากสาธารณภัย เกมส์ แอพพลเิ คชน่ั บน Smart Phone เวบ็ ไซต์ รวมถึงเป็นช่องทางในการโตต้ อบ รบั และส่งข้อมลู ความเสย่ี ง เป็นต้น 88 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(2) แนวทางปฏิบตั ใิ นการพัฒนาการระบบเตือนภยั แบบครบวงจร (End-to-End Early Warning System) ทส่ี ามารถแจ้งเตอื นภัยทหี่ ลากหลายประเภทภยั (Multi-Hazard) น�ำไปสู่ การแจ้งเตอื นภัยล่วงหน้า รวมถงึ ขา่ วสารขอ้ มลู ทมี่ คี วามแมน่ ยำ� ตรงเปา้ หมายทกุ กลมุ่ โดยกลมุ่ เปา้ หมาย ในพนื้ ทเ่ี สย่ี งจากสาธารณภยั สามารถ รับรู้ รบั ทราบสถานการณ์สาธารณภยั แนวทางการปฏบิ ตั ิตนเมอื่ เกดิ สาธารณภยั ได้อย่างรวดเรว็ ครอบคลมุ ทั่วถงึ ทกุ พน้ื ทแี่ ละเหมาะสมกับประเภทสาธารณภัยที่เกิดข้นึ กลยทุ ธท์ ี่ 4 ส่งเสริมการลงทุนด้านการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยแบบมีส่วนร่วมจากภาครัฐ เอกชน และภาคประชาสงั คม ในระดบั ชาติ จังหวดั อำ� เภอ และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น การลงทุนในการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยสามารถด�ำเนินการได้ท้ังมาตรการ ด้านโครงสร้าง และดา้ นไม่ใช้โครงสร้าง เช่น ระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐาน มาตรการทางการเงนิ ฯลฯ และใช้กระบวนการสรา้ งความ เปน็ หนุ้ สว่ นเขา้ มาเปน็ กลไกในการขบั เคลอ่ื นใหเ้ กดิ การลงทนุ เพอ่ื การจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย เพือ่ สรา้ งรากฐานให้มคี วามมัน่ คงและย่งั ยนื (1) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการสง่ เสรมิ ใหภ้ าครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชนมกี ารลงทนุ แบบมสี ว่ นรว่ ม ดา้ นการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั โดยการนำ� ผลงานวจิ ยั นวตั กรรม และเทคโนโลยี ดา้ นการจดั การความเสย่ี ง จากสาธารณภัยมาประยุกต์ใช้เพื่อประกอบการลงทุนด้านต่าง ๆ ของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยการจัดสรรงบประมาณเพ่ือการบ�ำรงุ รักษาหรือบูรณะระบบโครงสรา้ งพ้นื ฐาน สิง่ สาธารณูปโภค สาธารณปู การ ท่ีมีอยู่เดิมและก่อสร้างใหม่ เช่น การก่อสร้างระบบป้องกันน�้ำท่วม ในสถานท่ีส�ำคัญทางเศรษฐกิจ การจัดท�ำระบบ ชลประทานสำ� หรบั ภยั แลง้ และอทุ กภยั การลงทนุ ระบบ ดา้ นการปอ้ งกนั อคั คภี ยั ดา้ นพลงั งาน ในสถานประกอบการ หรือพน้ื ทีอ่ ยอู่ าศัยให้มีความปลอดภัย เปน็ ต้น (2) แนวทางปฏิบัติในการเสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐ เอกชน และประชาชน ในการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยในทุกระดับ โดยเป็นการด�ำเนินกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการจัดการ ความเส่ียงจากสาธารณภัยระหวา่ งภาครัฐ ภาคเอกชนหรอื ชมุ ชน เกิดความรบั ผิดชอบ การมสี ่วนรว่ ม การตัดสินใจ และผลประโยชน์ร่วมกัน ได้แก่ การจัดท�ำบันทึกข้อตกลงเพ่ือด�ำเนินกิจกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในพ้ืนที่เสี่ยงจากสาธารณภัย โครงการก่อสร้างระบบป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัยโดยบูรณาการการใช้ ทรัพยากร เครอ่ื งมือ เครือ่ งจักร และงบประมาณร่วมกันระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐ โครงการสรา้ งสังคม รรู้ บั ปรับตวั จากสาธารณภยั เพ่ือการพัฒนาเมืองทยี่ ง่ั ยนื ของภาคเอกชน (CSR) เป็นต้น (3) แนวทางปฏิบัติในการก�ำหนดกลไก/มาตรการทางการเงินและการคลัง เพ่ือส่งเสริมการจัดการ ความเส่ยี งจากสาธารณภยั ใหเ้ กิดการผลกั ดนั การขับเคลอื่ นกิจกรรม แผนงาน โครงการ การจดั การความเสยี่ ง จากสาธารณภัย เช่น การจัดตั้งกองทุนการจัดการสาธารณภัย การก�ำหนดมาตรการยกเว้นหรือลดภาษีส�ำหรับ ผปู้ ระกอบการและประชาชนเพ่อื จูงใจให้ตระหนักถึงสาธารณภัยทอี่ าจจะเกดิ ขึ้น เป็นตน้ (4) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการสง่ เสรมิ ธรุ กจิ ประกนั ภยั เพอ่ื ลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั และขยายขอบเขต ให้ครอบคลุมธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) เพ่ือกระจายความเสี่ยง และลดภาระท่ีเกิดจากผลกระทบ จากสาธารณภยั เชน่ ภาครฐั จดั ตง้ั งบประมาณเพอื่ สนบั สนนุ ระบบประกนั ภยั ดา้ นสาธารณภยั การกำ� หนดมาตรการ/ แนวทางเพ่ือจัดสรรงบประมาณอุดหนุนเบี้ยประกันบางส่วนให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพ้ืนที่เสี่ยงจากสาธารณภัย ภาครัฐท�ำข้อตกลงกบั บริษัทประกนั ภยั ในระดบั สากลเพื่อรับประกันสาธารณภยั เป็นตน้ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 89

กลยทุ ธ์ท่ี 5 เสริมสร้างการมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วนในการจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภัย การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม โดยสร้างขีดความสามารถในการปฏิบัติงานร่วมกันอย่างสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมถงึ การสรา้ งชมุ ชนทม่ี ภี มู คิ มุ้ กนั จากสาธารณภยั ยดึ หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ชโ้ ดยมเี ปา้ หมายเพอ่ื พฒั นา ไปส่สู งั คมทีม่ ีความปลอดภยั (1) แนวทางปฏิบัติในการพัฒนาความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย ภาคประชาชน อาสาสมัคร และอื่น ๆ เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานเจ้าหน้าท่ีรัฐ โดยส่งเสริมการร่วมคิด ร่วมด�ำเนินการ ร่วมวางแผนในการ จดั การความเสย่ี งจากสาธารณภัย ดงั นี้ (1.1) การสร้างจิตส�ำนึกการท�ำงานร่วมกันและการแสวงหาผู้ร่วมด�ำเนินการ โดยการเสริมสร้าง องค์ความรู้ด้านการจัดการสาธารณภัย โดยการฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการจัดการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แก่ผู้น�ำชุมชนรวมถึงคนในชุมชน เพื่อกระตุ้นให้ชุมชนตระหนักถึงสภาพความเสี่ยงในพื้นท่ีและเข้ามามีส่วนร่วม ในทกุ ภาคสว่ นทุกขนั้ ตอนของการจัดการสาธารณภัย (1.2) การสร้างข้อตกลงและร่วมกันวางแผน (Partnership Agreement & Action Planning) โดยสรา้ งแนวทางการบรหิ ารจดั การสาธารณภยั ระดบั ชมุ ชน โดยมงุ่ เนน้ การวางกลไกขบั เคลอื่ นกจิ กรรม การลดความเสย่ี ง จากสาธารณภยั ในรปู แบบคณะกรรมการ โดยมชี มุ ชนเปน็ ศนู ยก์ ลางในการวางแผนเตรยี มพรอ้ มรบั มอื ปอ้ งกนั จดั การ บรรเทาและฟนื้ ฟคู วามเสียหายจากสาธารณภยั (1.3) การก�ำกับ ติดตาม และประเมินผล เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือทบทวนผลการด�ำเนินงานร่วมกัน ตดิ ตามความกา้ วหนา้ หรอื ผลสมั ฤทธติ์ ามทก่ี ำ� หนดไว้ และนำ� ผลจากการตดิ ตามและประเมนิ ผลมาใชพ้ ฒั นาแนวทาง การพัฒนาความร่วมมอื ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ (1.4) สร้างความเข้มแข็งและความต่อเน่ืองของเครือข่ายอย่างย่ังยืน โดยใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี จากงานวจิ ยั เพ่ือแสวงหาทางเลอื กในการทำ� กจิ กรรมท่สี ่งเสริมความสัมพันธ์และการแสวงหาแกนนำ� เครอื ขา่ ย เช่น การฝกึ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแบบมสี ว่ นรว่ มอยา่ งตอ่ เนอื่ ง การสรา้ งระบบจงู ใจ การจัดหาทรพั ยากร สนบั สนนุ อยา่ งพอเพียงในการให้ความชว่ ยเหลือหรือแก้ไขปญั หา เป็นต้น (2) แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนหรอื เมอื งใหม้ ขี ดี ความสามารถในการจดั การความเสยี่ ง จากสาธารณภยั นำ� ไปสชู่ มุ ชน/เมอื งแหง่ ความปลอดภยั โดยสง่ เสรมิ การพฒั นาระบบอจั ฉรยิ ะ (Smart Community/City) โดยสรา้ งศกั ยภาพการจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภัยของชมุ ชนและเมอื ง (Community Based Disaster Risk Management) ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะ ภายใต้กรอบแนวคดิ “ร้รู ับ - ปรับตัว - ฟื้นเร็วทั่ว - อยา่ งยั่งยืน (Resilience)” โดยมแี นวปฏิบตั ิตามการสรา้ งชมุ ชน/เมืองแห่งความปลอดภัยอย่างยงั่ ยนื 10 ประการ (สำ� นกั งาน ลดความเสี่ยงภยั พิบตั แิ หง่ สหประชาชาติ, 2560) ดังน้ี (2.1) จดั ตง้ั องคก์ รเพอ่ื สร้างการรบั รู้ ความตระหนกั และเตรยี มความพร้อมด้านการลดความเสยี่ ง จากสาธารณภัยในระดับพื้นทอ่ี ยา่ งมสี ว่ นร่วมกบั ภาคสว่ นต่าง ๆ (2.2) จดั สรรงบประมาณและการสรา้ งแรงจงู ใจทกุ ระดบั ในสงั คมใหม้ กี ารลงทนุ เพอื่ การลดความเสย่ี ง จากสาธารณภยั 90 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570

(2.3) ปรับปรงุ ขอ้ มลู ภัยและข้อมูลความเปราะบางให้เป็นปัจจุบนั รวมท้งั มกี ารประเมิน ความเสย่ี ง จากสาธารณภยั เพื่อน�ำไปสกู่ ารตดั สินใจและวางแผนพัฒนาเมอื งอย่างเหมาะสม (2.4) ลงทุนดา้ นโครงสรา้ งพืน้ ฐานโดยค�ำนึงถึงปัจจัยทางด้านการลดความเส่ยี งจากสาธารณภัย (2.5) ประเมนิ และปรับปรงุ สถานศกึ ษาและสถานพยาบาลให้มีความปลอดภยั จากสาธารณภัย (2.6) บงั คบั ใชก้ ฎหมายควบคมุ อาคาร การวางผงั เมอื ง และจดั สรรพนื้ ทที่ ม่ี คี วามปลอดภยั จากสาธารณภยั อย่างเท่าเทยี ม (2.7) ใหม้ หี ลักสูตรการศกึ ษาด้านการลดความเสี่ยงจากสาธารณภยั ในสถานศึกษาและชุมชน (2.8) อนรุ ักษ์ระบบนิเวศวิทยา และจัดใหม้ ีแนวปอ้ งกนั ลดผลกระทบจากภยั พบิ ัติ โดยใช้โครงสรา้ ง ทางธรรมชาติ (2.9) พฒั นาระบบการแจง้ เตอื นภยั ลว่ งหนา้ และเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพเรอื่ งการจดั การ ในภาวะฉกุ เฉนิ รวมทั้งการฝกึ ซ้อมการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั (2.10) ประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัยเพ่ือเป็นข้อมูลในการด�ำเนินการฟื้นสภาพ และซอ่ มสรา้ งทอ่ี ยอู่ าศยั และสภาพชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องผไู้ ดร้ บั ผลกระทบ รวมทงั้ เปน็ ขอ้ มลู ในการกำ� หนดแนวทาง มาตรการทส่ี ามารถสนบั สนนุ การจัดการในภาวะฉุกเฉนิ ในอนาคต แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 91


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook