5.1.2 แนวทางการขบั เคล่ือนแผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ คณะกรรมการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ เปน็ กลไกสำ� คญั ของประเทศในการกำ� กบั และขบั เคลือ่ นยุทธศาสตรไ์ ปสกู่ ารปฏบิ ัตใิ ห้เกดิ ผลตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม โดยมีแนวทางการขับเคลือ่ น ดังน้ี (1) การเสริมสร้างและพัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับสาระส�ำคัญของแผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ นโยบายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และยุทธศาสตร์การจัดการความเสี่ยง จากสาธารณภยั เชน่ การประชาสมั พนั ธผ์ า่ นสอ่ื ตา่ ง ๆ การสอื่ สารและถา่ ยทอดแผน โดยการจดั ประชมุ สรา้ งความเขา้ ใจ การอบรม และซักซอ้ มการปฏบิ ตั จิ ากการจ�ำลองฉากทศั น์ เปน็ ต้น และการเสริมสรา้ งการมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น ในทุกระดับ โดยสร้างความเปน็ เจา้ ของแผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ (Sense of Belonging) เช่น การจัดท�ำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในทุกระดับ เพื่อผลักดันแผนงาน โครงการและกิจกรรม บรรจไุ วใ้ นแผนพฒั นาจงั หวดั แผนพฒั นาอำ� เภอ และแผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ เปน็ ตน้ รวมทง้ั กำ� หนดการจดั การความเสย่ี ง จากสาธารณภยั เปน็ ขอบเขตการศกึ ษาในหลกั สตู รทกุ ระดบั เชน่ หลกั สตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร หลกั สตู รนกั ปกครอง ระดบั สูง หลกั สูตรนายอ�ำเภอ หลักสตู รสำ� หรับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ เปน็ ต้น (2) การผลกั ดนั แนวทางปฏบิ ตั ขิ องยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั ตามแผนการ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ผิ า่ นแผนงาน โครงการ และกจิ กรรมภายใตแ้ ผนปฏบิ ตั กิ ารระดบั หน่วยงานสู่ระดับพื้นท่ี โดยการผสาน (Mainstreaming) ภารกิจหลักของหน่วยงานท่ีมีเป้าหมายและตัวชี้วัด ท่ีสอดคล้องกับยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การความเส่ียงจากสาธารณภัย (3) การผลักดันให้มีงบประมาณเชิงบูรณาการด้านการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ของทกุ หนว่ ยงาน โดยการจดั ประชมุ หารอื กบั หนว่ ยงานสว่ นกลาง เชน่ สำ� นกั งบประมาณ กรมบญั ชกี ลาง สำ� นกั งาน คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการและหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอื่ กำ� หนดแนวทางวธิ กี ารจดั สรรงบประมาณ ใหส้ อดคลอ้ ง กบั การขบั เคลื่อนแผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 รวมทง้ั งบประมาณตามแผน ปฏิบัติราชการประจ�ำปขี องหนว่ ยงานและการจัดสรรงบประมาณให้แกร่ ะดบั พ้ืนที่ (4) การบรู ณาการและประสานการปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งคณะกรรมการระดบั ชาติ ภายใตก้ ลไกของกฎหมาย ท่เี กี่ยวขอ้ ง เพ่ือขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์ภายใตแ้ ผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 รว่ มกันอย่างมเี อกภาพ (5) การกำ� หนดบทบาทหนว่ ยงานและภาคเี ครอื ขา่ ยทกุ ระดบั ในการขบั เคลอื่ นแผนไปสกู่ ารปฏิบัติ ตามบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่ก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 รวมทัง้ นโยบายและกฎหมายตา่ ง ๆ โดยมแี นวทางด�ำเนินการของแต่ละภาคสว่ น ดงั นี้ 142 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
หนว่ ยงาน แนวทางดำ� เนนิ งาน 1. รัฐบาล สนับสนนุ งบประมาณในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย โดยก�ำหนดเป็นนโยบาย ยุทธศาสตร์หลักของชาติ พร้อมทั้งบรรจุเป็นสาระส�ำคัญในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหง่ ชาติ 2. หน่วยงานกลาง 2.1 กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (1) จัดประชุมช้ีแจงหน่วยงานและภาคีร่วมด�ำเนินงานของทุกภาคส่วน ท้ังส่วนกลาง กระทรวงมหาดไทย (พระราชบญั ญัติ ภมู ภิ าคและทอ้ งถน่ิ เพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจและประสานความรว่ มมอื เปดิ โอกาสใหห้ นว่ ยงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ก�ำหนดแนวทางร่วมกัน ส�ำหรับใช้เป็นกรอบแนวทางในการจัดท�ำแผนการป้องกัน พ.ศ. 2550 มาตรา 11) และบรรเทาสาธารณภยั และการขอตง้ั งบประมาณ รวมถงึ การตดิ ตามและประเมนิ ผล (2) จัดประชมุ หนว่ ยงานส่วนกลาง ไดแ้ ก่ สำ� นกั งบประมาณ กรมบญั ชีกลาง สำ� นักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือร่วมกันก�ำหนด ประเดน็ การขบั เคลอื่ นทสี่ ำ� คญั ในการบรู ณาการแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติกบั ยทุ ธศาสตร์การจดั สรรงบประมาณ (3) ประสานหนว่ ยงานในการตรวจสอบ ตดิ ตามและประเมนิ ผล การนำ� เปา้ หมาย การจดั การ ความเสี่ยงจากสาธารณภัยตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ไปประกอบการจดั ทำ� แผนระดบั กระทรวง แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ� ปี เพอื่ ให้ ทกุ หนว่ ยงาน ใช้เป็นแผนขอรบั การจัดสรรงบประมาณ และเป็นกรอบการปฏบิ ตั ิ ของหน่วยงาน (4) ประสานสำ� นกั งานสถิติแห่งชาติ จัดท�ำชุดขอ้ มลู ฐานส�ำหรบั การติดตาม และประเมินผล ในระดับประเทศและพืน้ ที่ 2.2 ส�ำนกั งบประมาณ จัดท�ำยทุ ธศาสตร์การจดั สรรงบประมาณ เพ่อื สนับสนุนการขับเคลื่อนแผนการปอ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ โดยให้ความส�ำคัญกับแผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยทุกระดับ เพ่ือให้การบูรณาการการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย มีประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ลและเป็นรปู ธรรม 2.3 ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนา ใหห้ นว่ ยราชการทเี่ กยี่ วขอ้ ง กำ� หนดใหก้ ารจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั เปน็ ตวั ชวี้ ดั ระบบราชการ ในการจัดท�ำค�ำรับรองการปฏิบัติราชการระดับกระทรวงและระดับจังหวัด พร้อมท้ัง ให้มีการตดิ ตามและประเมนิ ผลทกุ ปี 2.4 หน่วยราชการส่วนกลาง รวมถึง (1) ให้หน่วยงานจัดท�ำแผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับต่าง ๆ ส่วนราชการรูปแบบเฉพาะขึ้นตรงต่อ ทเี่ กยี่ วขอ้ งใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พรอ้ มทงั้ นายกรัฐมนตรี และรัฐวิสาหกิจ ก�ำหนดแนวทางการติดตามและประเมินผลการจัดทำ� แผนปฏบิ ัติการฯ ของหน่วยงาน ทุกระดับ ใหม้ ีการดำ� เนนิ การอย่างสอดคลอ้ งในทิศทางเดียวกัน (2) ใหห้ นว่ ยงานผสานการดำ� เนนิ งานรว่ มกนั ในแนวทางปฏบิ ตั ภิ ายใตป้ ระเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ของแผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติกบั แผนอ่นื ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 3. สว่ นภูมภิ าคและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน 3.1 หนว่ ยงานระดบั จงั หวัด (1) ชแี้ จงนโยบายและแนวทางการดำ� เนนิ งานตามแผนการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั แห่งชาติ โดยอาจตงั้ คณะท�ำงานขับเคลอ่ื นติดตามและประเมินผลระดับจังหวัด ระดับ อ�ำเภอ (โดยประสานกับกลไกการติดตามและประเมินผลภายใน) เพ่ือรับผิดชอบ การดำ� เนนิ งาน และมฐี านขอ้ มลู เช่อื มโยงกบั หน่วยงานกลางอยา่ งเปน็ ระบบ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 143
หน่วยงาน แนวทางด�ำเนินงาน (2) จดั ทำ� แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั ใหก้ ำ� หนดประเดน็ การจดั การ ความเสย่ี งจากสาธารณภยั เปน็ ทศิ ทางการพฒั นาภายใตแ้ ผนพฒั นาจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั และสอดคลอ้ งกับบริบทของอ�ำเภอและองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน (3) สร้างการรบั ร้แู ผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในทกุ ระดับ (4) วเิ คราะหค์ วามเสย่ี งและนำ� ขอ้ มลู ประเมนิ ผลความเสย่ี งใหเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ในแผนพฒั นา จงั หวัดและแผนพฒั นากลุ่มจงั หวดั (5) ประชมุ หารอื เพอื่ จดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ระดบั ตา่ ง ๆ รวมถึงใหค้ วามรว่ มมือตดิ ตามและประเมนิ ผล 3.2 กรงุ เทพมหานคร จัดท�ำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานครให้สอดคล้อง กบั แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ 3.3 อ�ำเภอ จัดทำ� แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอำ� เภอใหส้ อดคล้องกบั แผนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั 3.4 องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน จดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ ารในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัด 4. ภาคเอกชนและภาคธุรกิจ มีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้เป็นรูปธรรม ซง่ึ แตล่ ะองคก์ รสามารถนำ� ประเดน็ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งไปดำ� เนนิ งานเอง หรอื รว่ มกบั หนว่ ยงาน ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชนและภาคธรุ กจิ และภาคเี ครอื ขา่ ยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ทม่ี งุ่ เนน้ ความรบั ผดิ ชอบ ต่อสังคมและส่ิงแวดลอ้ มขององคก์ ร (Corporate Social Responsibility: CSR) ภายใต้ หลกั จรยิ ธรรมและการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั อนั นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื 5. สถาบนั การศกึ ษา สถาบนั วชิ าการ ให้ความรู้แก่ภาคีเครือข่ายท้ังด้านวิชาการและการปฏิบัติ สนับสนุนเงินทุน ประสาน ด้านการพฒั นา และหน่วยงานวจิ ัย ความรว่ มมอื เครอื ขา่ ยการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรดา้ นการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัย รวมทง้ั การผลิตผลงานวจิ ัย การพฒั นานวตั กรรมและสรา้ งองคค์ วามรู้ 6. องค์กรระดบั ชมุ ชน ร่วมขับเคลื่อนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ท้ังการประชาสัมพันธ์การด�ำเนิน กิจกรรมหรือโครงการที่เก่ียวข้อง รวมถึงการให้ความช่วยเหลือสนับสนุนด้านต่าง ๆ แก่ผู้ประสบสาธารณภัย 7. ส่ือ ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์กระตุ้นให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมขับเคลื่อน เผยแพร่ ขอ้ มลู ขา่ วสาร และดำ� เนนิ งานภายใตแ้ ผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ รวมถึงสะท้อนสถานการณ์การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยด้านต่าง ๆ ที่ชัดเจน สปู่ ระชาชน ชมุ ชน และหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง 8. ภาคประชาสงั คม ให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมกับหน่วยงานทุกระดับเพ่ือให้การป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั มปี ระสทิ ธภิ าพ ทง้ั การเฝา้ ระวงั สถานการณ์ การประชาสมั พนั ธ์ แจง้ เตอื นภยั การปฏิบตั ิตามประกาศหรอื ค�ำแนะน�ำ รวมถึงการให้ความชว่ ยเหลอื สนับสนุนด้านต่าง ๆ แก่ผู้ประสบสาธารณภัยทั้งก่อน ระหว่างและหลังการเกิดสาธารณภัย 9. องคก์ รความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานและภาคีเครือข่าย และร่วมขับเคลื่อนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย โดยสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านความรู้ และเงินทุน รวมทั้ง การติดตามและประเมินผลเพื่อให้การด�ำเนินงานสอดคล้องกับพันธกรณีและข้อตกลง ระหวา่ งประเทศทีป่ ระเทศไทยได้ให้ความตกลงไว้ 144 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
(6) การติดตามและประเมนิ ผล โดยการมสี ว่ นรว่ มของหน่วยงานตา่ ง ๆ กำ� หนดใหจ้ ัดทำ� รายงาน ผลการด�ำเนนิ การเป็นประจำ� ทุกปี และการตดิ ตามและประเมนิ ผลการน�ำแผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตไิ ปสกู่ ารปฏบิ ตั ทิ กุ ระดบั โดยมกี ารแตง่ ตง้ั คณะทำ� งานตดิ ตามและประเมนิ ผลทเี่ ชอ่ื มโยงกบั กลไกประเมนิ ผล ภายในเพ่อื ใหก้ ารติดตามและประเมินผลครอบคลุม ทั้งในชว่ งกลางแผนและปลายแผน รวมทงั้ เป็นขอ้ มลู ประกอบ การพิจารณาแนวทางในการปรบั ปรุงหรือทบทวนแผนตอ่ ไป (7) การสนับสนุนการศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมการจัดการความเส่ียง จากสาธารณภัยของประเทศ รวมทั้งการถอดบทเรียนภายใต้แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ เพื่อใช้ในการจัดการความรู้ การวางแผน พัฒนาและปรับปรุงการด�ำเนินงาน รวมถึงการปรับปรุงกฎหมาย และระเบยี บตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งใหม้ มี าตรฐานและด�ำเนินการได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ สรุปกระบวนการขบั เคลือ่ นแผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ไปสกู่ ารปฏิบตั ิ ดงั แผนภาพท่ี 5-1 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 145
146 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 แนวทางขบั เคลื่อน นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ไปสู่การปฏบิ ัติ ผลผลิต ผลลพั ธ์ การเสริมสรา้ ง พฒั นา (1) สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มจากทกุ ภาคสว่ นในการนำ� องคค์ วามรกู้ ารลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั สกู่ ารขบั เคลอ่ื น (1) แผนของหน่วยงานมีการบรรจุ (1) แผนงาน โครงการ กิจกรรม ความเขา้ ใจเกย่ี วกับแนวคดิ แผนไปสกู่ ารปฏิบัติระดับต่าง ๆ (ระดบั ชาติ จังหวัด อ�ำเภอ และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ) แนวคิดการลดความเสีย่ งจากสาธารณภัย และแผนปฏิบตั ิราชการ ท่ีมกี ารกำ� หนด และกำ� หนดให้ประเดน็ การลด (2) ส่ือสารความเส่ยี งจากสาธารณภยั และเผยแพรค่ วามรผู้ า่ นสื่อตา่ งๆ ทค่ี รอบคลมุ ทกุ ภาคสว่ น (2) ทุกภาคส่วนสามารถถา่ ยทอด วตั ถปุ ระสงค์ และตัวชีว้ ัดการลด ความเส่ยี งจากสาธารณภัย รวมทั้งกลมุ่ เปราะบาง องค์ความรกู้ ารลดความเสย่ี งจาก ความเสย่ี งจากสาธารณภัย เปน็ สาระส�ำคญั ของแผน (1) จัดทำ� แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยระดับต่าง ๆ (ระดบั ชาติ ศูนย์ ปภ.เขต จงั หวดั อ�ำเภอ สาธารณภยั สแู่ นวปฏิบตั ใิ นลักษณะ (2) แนวปฏบิ ัตเิ ฉพาะความเส่ียง การเช่ือมโยงเปา้ หมาย กลยุทธ์ และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ) และแผนอ่ืนๆ ท่เี ก่ียวข้องกบั การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ต่างๆ ได้ จากสาธารณภยั และภัยที่มคี วามคาบเก่ยี ว และมาตรการในการลดความเสี่ยง (2) ประเมนิ ความเสยี่ งจากสาธารณภยั เพอื่ การวางแผนและเลอื กใชม้ าตรการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั (3) หนุ้ ส่วนความรว่ มมือเพื่อ ตอ่ เนอ่ื ง รวมทัง้ มาตรการทีม่ เี ปา้ หมาย จากสาธารณภยั จากแผนในทกุ ระดับ (3) ลงทุนด้านการจดั การความเส่ียงจากสาธารณภยั แบบสร้างความเป็นหุ้นสว่ น การลงทุนด้านการจดั การความเสีย่ ง การลดความเสย่ี จาสาธารณภัย ให้เกดิ การบรู ณาการการดำ� เนินงาน (4) ฝกึ อบรม การฝกึ ซอ้ ม และการทดสอบแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทกุ รปู แบบ จากสาธารณภยั (3) การลงทนุ มาตรการในการลด และการมีสว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน (5) พฒั นาชมุ ชนหรอื เมืองใหม้ ีขดี ความสามารถ รูเ้ ทา่ ทันภยั โดยส่งเสริมการพัฒนาระบบอัจฉริยะ (4) แผนมคี วามเชอ่ื มโยงในเปา้ หมาย ความเสีย่ งจากสาธารณภยั ของ การจัดสรรทรัพยากรเพื่อใช้ ในการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภัย (Smart Community/ City) และวตั ถุประสงค์การลดความเสย่ี ง ทกุ ภาคส่วนร่วมกัน ท้ังในภายใน ประโยชนร์ ว่ มกนั ของหน่วยงาน (1) กำ� หนดให้หนว่ ยงานหลักและภาคเี ครอื ขา่ ยความร่วมมือ จดั สรรทรัพยากร (อาทิ เคร่อื งมืออปุ กรณ์ จากสาธารณภัย และระหว่างประเทศ ภาครฐั รว่ มกับองคก์ ร ภาคเี ครือข่าย งบประมาณ บคุ ลากร องค์ความรู้ ข้อมูล เปน็ ต้น) และการลงทนุ เพ่ือการลดความเส่ียงจากสาธารณภัย (5) หน่วยงาน เครือข่าย และชมุ ชนมี (4) หน่วยงานสามารถน�ำไปด�ำเนนิ การ (2) จดั ให้มีระบบและกลไกการใชท้ รัพยากรรว่ มกันอย่างมีประสทิ ธภิ าพ กิจกรรมการเตรียมพร้อมเพอื่ การ ตามแผนและการจดั สรรทรัพยากร และภาคสว่ นต่างๆ (3) เช่อื มโยงระบบการจัดสรรทรพั ยากรเชงิ พน้ื ท่ี ทัง้ ในระดบั ภมู ิภาค และนานาชาติ ลดเความเส่ียงจากสาธารณภยั และ อยา่ งเปน็ ระบบร่วมกันทุกภาคส่วน การตดิ ตาม (4) เพิ่มความสามารถในการเขา้ ถึงขอ้ มูลความเส่ียงสาธารณภยั ระบบการแจง้ ขา่ วและการเตือนภัย ทบทวนบทเรยี นจากการฝกึ ซ้อม (5) เครือขา่ ยชุมชนปลอดภยั ท่มี ี ของสาธารณะ (6) แผนการปอ้ งกนั และบรรเทา การทำ� กิจกรรมการลดความเส่ียง และประเมนิ ผล สาธารณภัยทกุ ระดับมกี ารด�ำเนินงาน จากสาธารณภยั (1) ใหก้ ลไกติดตาม (2) ให้กลไกประเมินผลลพั ธ์ (1) มคี วามเชอื่ มโยงการตดิ ตามและประเมนิ ผล เชิงบูรณาการ (6) การจัดการในภาวะฉุกเฉิน การศึกษา วิจยั และพัฒนา ความกา้ วหน้า การด�ำเนนิ งานการลด โดยมีข้อเสนอแนะการด�ำเนนิ การหรือ (7) ระบบการติดตามและประเมินผล และการสนธิก�ำลงั อยา่ งเป็นระบบ ยทุ ธศาสตร์ เพอ่ื ใหม้ กี ารปรบั แผน โดยไมต่ อ้ ง (8) นวัตกรรม เทคโนโลยที ่ีเหมาะสม ดว้ ยมาตรฐานสากล มีประสิทธิภาพ และผลการด�ำเนินงาน ความเสี่ยงจากสาธารณภยั รอให้แผนสน้ิ สดุ รวมถึงองคค์ วามรู้ เพอื่ เปน็ แนวทาง เพ่มิ มากขนึ้ ในรายไตรมาส และสงั เคราะหบ์ ทเรยี น (2) การใหช้ ่องทางการปรับปรุงระหว่าง การปรบั ปรุงแผนและการดำ� เนินงาน (7) แผนไดร้ บั การปรบั ปรุง จากบทเรียน การด�ำเนนิ การตามยุทธศาสตร์ ในทกุ มิติ โดยสามารถพฒั นาเป็นแนวทาง และการประเมินผล พร้อมทบทวน เพอื่ การปรบั ปรงุ ปฏบิ ัตหิ รือประยุกต์ใช้นวัตกรรม โดยใหส้ อดคล้องกับกฎหมายและ ลดความเสยี่ งจากสาธารณภัยใน สถานการณ์สาธารณภยั ที่เป็นปจั จบุ ัน (1) จดั การความรู้ และถอดบทเรียนเพือ่ การพฒั นาและขยายผล ชมุ ชน/ เมอื งได้ (8) ชุมชน/ เมืองสรา้ งแนวปฏบิ ตั ิการลด (2) วิจยั และพัฒนาองค์ความรู้การกำ� หนดมาตรฐานต่าง ๆ (9) รูปแบบข้อมูลความเสี่ยงและระบบ ความเสี่ยงจากสาธารณภัยตามองค์ (3) สรา้ งสรรค์นวตั กรรมการจัดการความเส่ยี งจากสาธารณภยั เพ่ือใชใ้ นการปรบั ปรงุ พฒั นา เตือนภยั ที่ครอบคลมุ ความร/ู้ นวัตกรรมของตนเอง เพื่อใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์และสามารถลดความเสยี่ งสาธารณภยั ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ (9) ประชาชนเขา้ ถึงขอ้ มลู ความเสยี่ ง และสามารถเตรยี มพร้อมเพอื่ ความ หมายเหตุ : สีฟ้า : ผลผลิต (1) และ (2) ปลอดภัย สแี ดง : ผลผลติ (1) (2) (3) (4) (5) (7) และ (8) แผนภาพท่ี 5-1 กระบวนการขบั เคลอ่ื นแผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2564 - 2570 ไปสกู่ ารปฏบิ ัต ิ สีมว่ ง : ผลผลิต (5) (6) และ (9) สเี ขยี ว : ผลผลติ (5) และ (7) สีเหลือง : ผลผลิต (8
5.2 การตดิ ตามและประเมินผล การขบั เคลอ่ื นแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ใหบ้ รรลุ เปา้ หมายตามทกี่ ำ� หนด จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ลไกการกำ� กบั ตดิ ตามและประเมนิ ผลเชงิ ยทุ ธศาสตรท์ มี่ กี ระบวนการและการจดั การ ให้เกดิ การทบทวนทัง้ ด้านการจดั การ (Management Review) และการทบทวนผลงาน (Performance Review) ทเี่ หมาะสมและทันต่อสถานการณ์ โดยมีแนวทางปฏิบตั ิ ดงั น้ี 5.2.1 ระดบั ชาติ (1) แนวทางการติดตามและประเมินผล ประกอบด้วย หลักการประเมินผลสัมฤทธ์ิ โดยวิเคราะห์การบรรลุถึงเป้าหมายการจัดการ ความเสี่ยงจากสาธารณภยั หลกั การคดิ เชงิ เหตผุ ล โดยเชื่อมโยงความสัมพนั ธ์เชงิ สาเหตุไปสผู่ ลลพั ธแ์ ละผลกระทบ ดว้ ยขอ้ มลู รวมถงึ เหตผุ ลเชงิ ประจกั ษท์ เ่ี ชอ่ื ถอื ได้ และหลกั ความรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงาน และภาคสว่ นตา่ ง ๆ ในสงั คม พรอ้ มทง้ั กำ� หนดใหม้ กี ารจดั ทำ� รายงานผลการดำ� เนนิ งานเสนอตอ่ ประธานคณะกรรมการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติทราบ (2) ขอบเขตและกรอบเน้อื หาการติดตามและประเมินผล กำ� หนดใหค้ รอบคลมุ ทงั้ ในมติ กิ ารประเมนิ ภายในและการประเมนิ ภายนอกใหม้ คี วามสอดคลอ้ ง เชือ่ มโยงสนับสนุนกันท้ัง 2 มติ ิ ดงั นี้ (2.1) การประเมินภายใน (Internal Evaluation) การประเมินผลภายในให้มีความสอดคล้องกับเป้าหมายของแผนฯ โดยผู้ปฏิบัติงาน ที่เก่ยี วข้อง ด้วยระบบรายงาน เชน่ ระบบตรวจสอบภายใน ระบบประเมินผลเฉพาะเรอ่ื งทีจ่ �ำเป็น ระบบประเมิน ความเสย่ี งหรอื ระบบอน่ื ๆ เปน็ ประจำ� ทกุ ปี กรอบเนอื้ หามงุ่ เนน้ ปจั จยั ทน่ี ำ� สคู่ วามสำ� เรจ็ ตามเปา้ หมายตวั ชว้ี ดั ของแผน เช่น การบรหิ ารจัดการ ระบบสนบั สนุนต่าง ๆ และกลยุทธ์ เป็นต้น โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ก�ำกับ ตดิ ตามและประเมินผล เพอื่ ปรบั ปรงุ การดำ� เนนิ งานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ และใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบการประเมนิ ภายนอกรองรบั การตรวจสอบ จากหน่วยงานกลางระดับชาติและสอื่ สารตอ่ สาธารณะ ประกอบดว้ ย - การตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งานตามแนวทางปฏบิ ตั ทิ ค่ี ณะทำ� งานตดิ ตามและประเมนิ ผล แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตกิ ำ� หนด เปน็ ระยะอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอ่ื กำ� หนดแนวทาง วธิ กี ารตดิ ตาม และประเมนิ ผล การกำ� กบั ตดิ ตามและประเมนิ ผลกระบวนการดำ� เนนิ งานและผลผลติ ทเี่ กดิ ขน้ึ รวมทง้ั ใหข้ อ้ คดิ เหน็ ข้อเสนอแนะเพ่อื เป็นแนวทางการตดิ ตามและประเมินผลการด�ำเนินงาน - การประเมินโดยกระบวนการถอดบทเรียน เพ่ือวเิ คราะหผ์ ลการด�ำเนินงานปัจจบุ นั วิเคราะห์หาประเดน็ ปญั หาส�ำหรับการพฒั นาปรบั ปรงุ การด�ำเนนิ งาน - การศกึ ษา วจิ ยั และประเมนิ ผลเฉพาะเรอ่ื ง เพอื่ คน้ หาประเดน็ การพฒั นางานทไ่ี มส่ ามารถ จัดเก็บไดจ้ ากระบบการรายงานการประเมนิ ภายใน แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 147
(2.2) การประเมนิ ภายนอก (External Evaluation) การประเมนิ ผลโดยบคุ ลากรหรอื สถาบนั หรอื หนว่ ยงานภายนอก โดยมงุ่ เนน้ การประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิ พรอ้ มวเิ คราะหป์ จั จยั เงอ่ื นไขทส่ี ง่ ผลตอ่ การบรรลเุ ปา้ หมายของยทุ ธศาสตร์ โดยใชผ้ ลการประเมนิ ภายใน เป็นส่วนหน่ึงของการประเมินภายนอก กรอบการประเมินให้เป็นไปตามที่คณะอนุกรรมการจัดท�ำแผนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตกิ ำ� หนด โดยมกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ าร เพอื่ ประโยชน์ ในการวางแผนระยะยาวทงั้ ดา้ นปฏบิ ตั กิ ารและด้านนโยบาย (3) กลไกการติดตามและประเมินผล คณะอนกุ รรมการจดั ทำ� แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ เปน็ กลไกรบั ผดิ ชอบ หลกั ดำ� เนินงานตามแนวทางการขับเคลือ่ นนโยบายและยุทธศาสตร์ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ โดยมแี นวทางปฏิบัติ ดงั น้ี - การตดิ ตามและประเมินผลภายใน ให้คณะท�ำงานติดตามและประเมนิ ผลแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตเิ ปน็ กลไกดำ� เนนิ งานตามแนวทางการตดิ ตามและประเมนิ ผล และตามวธิ กี าร รปู แบบ ทเ่ี หมาะสม โดยมอี งคป์ ระกอบ ประกอบดว้ ย บคุ ลากรของหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง และมอี ำ� นาจหนา้ ทจ่ี ดั ทำ� กรอบแนวทาง และพัฒนาระบบติดตามและประเมนิ ผล พจิ ารณาปรบั ปรงุ ทบทวนและกำ� กับติดตามความกา้ วหน้า รวมทัง้ จดั ทำ� รายงานผลการดำ� เนนิ งานเสนอตอ่ คณะอนกุ รรมการจดั ทำ� แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตเิ พอื่ พจิ ารณา เสนอต่อคณะกรรมการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาตติ อ่ ไป - การตดิ ตามและประเมนิ ผลภายนอก ใหก้ รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เปน็ กลไกดำ� เนนิ งาน ตามวธิ กี าร รปู แบบทเี่ หมาะสม โดยรบั ฟงั ความคดิ เหน็ จากผเู้ ชยี่ วชาญและผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นเรอ่ื งทศ่ี กึ ษา ผแู้ ทนหนว่ ยงาน และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพ่ือให้ได้ข้อเสนอแนะต่อกรอบการประเมินผลภายนอกและก�ำกับดูแลกระบวนการ ประเมินผลให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม สรุปวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อจัดท�ำรายงานผล การดำ� เนนิ งานเสนอตอ่ คณะอนกุ รรมการจดั ทำ� แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ และคณะกรรมการ ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ 148 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
(4) ข้ันตอนการตดิ ตามและประเมนิ ผล ประกอบดว้ ย 1. ก�ำหนดแนวทาง/ กรอบการติดตามและประเมนิ ผล 1.1 แนวทางการขบั เคลอื่ นนโยบายและยุทธศาสตร์ไปสูก่ ารปฏบิ ัติ 1.2 กำ� หนดประเด็นและตัวชวี้ ดั การประเมิน (กระบวนการ ผลผลติ ผลลัพธ์ และผลกระทบ) 1.3 แหลง่ ขอ้ มลู ฯลฯ 2. รวบรวมข้อมลู ภายใต้กรอบการติดตามและประเมินผล ท้งั ข้อมลู ปฐมภมู แิ ละขอ้ มูลทุตยิ ภมู ิ 3. วเิ คราะหข์ ้อมูลและจดั ทำ� รายงานผลการด�ำเนินงาน พรอ้ มขอ้ เสนอแนะ 4. นำ� เสนอผลการประเมนิ ดงั นี้ 4.1 กรณปี ระเมินภายใน เสนอตอ่ คณะท�ำงานตดิ ตามและประเมนิ ผลแผนการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัยแหง่ ชาติ 4.2 กรณปี ระเมินภายนอก เสนอต่อกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในฐานะฝา่ ยเลขานกุ าร 5. ปรับปรุงผลการประเมินก่อนเสนอใหค้ ณะอนกุ รรมการจดั ท�ำแผนการปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัยแหง่ ชาติ แผนภาพที่ 5-2 ขัน้ ตอนการติดตามและประเมนิ ผลแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 5.2.2 ระดับภูมภิ าค/จังหวัด/กรุงเทพมหานคร คณะทำ� งานตดิ ตามและประเมนิ ผลระดับภมู ิภาค/จังหวดั /กรงุ เทพมหานคร เปน็ กลไกดำ� เนินงาน ตามวธิ กี าร รปู แบบทเ่ี หมาะสม โดยรบั ฟงั ความคดิ เหน็ จากทกุ ภาคสว่ น ทง้ั หนว่ ยงานภาครฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และภาคประชาสงั คม โดยประสานกับกลไกประเมนิ ผลภายใน เพอ่ื รว่ มกนั ก�ำหนดเปา้ หมายตวั ช้วี ัด ขอบเขต การประเมนิ ผล โดยมุ่งเนน้ ผลสัมฤทธิ์ของงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละระดับและรายงาน ผลการด�ำเนนิ งานเสนอต่อคณะทำ� งานตดิ ตามและประเมินผลแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ สรุปความเช่ือมโยงของกลไกการติดตามและประเมินผลแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ดงั แผนภาพท่ี 5-3 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 149
คณะกรรมการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ รายงาน สาธารณชน ระดับชาติ คณะอนกุ รรมการจดั ทำ� แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ (ประสานการขับเคลื่อนและการติดตามและประเมนิ ผล) คณะท�ำงานตดิ ตามและประเมินผล การประเมินภายใน แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ การประเมินภายนอก ระดับภู ิมภาค/ ัจงห ัวด/ กทม. คณะท�ำงานตดิ ตามและประเมินผลระดับภมู ิภาค/ การประเมนิ ภายใน จังหวดั /กรุงเทพมหานคร แผนภาพท่ี 5-3 ความเชอื่ มโยงของกลไกการตดิ ตามและประเมนิ ผล แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 5.3 การวจิ ยั และพัฒนา (Research and Development: R&D) เปน็ กระบวนการศกึ ษา เรยี นรู้ คน้ หาแนวคดิ แนวทาง วธิ ปี ฏบิ ตั ิ การสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม และศกึ ษาบทเรยี น (Lesson Learnt) ของการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เป็นเหตุการณ์ส�ำคัญที่ผ่านมา เพ่ือน�ำไปประยุกต์ใช้ ในการพฒั นาเทคนคิ วธิ กี าร รปู แบบการดำ� เนนิ งานหรอื เทคโนโลยใี นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ ทง้ั แกป่ ระชาชนและหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในทกุ ภาคสว่ น รวมทงั้ การนำ� นวตั กรรมจากการคดิ คน้ หรอื พฒั นามาปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพดียิง่ ขน้ึ กว่าเดิม ใหก้ รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เปน็ หนว่ ยงานในการประสานความรว่ มมอื กบั กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม ส�ำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม ส�ำนักงานการวจิ ยั แห่งชาติ ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนา ประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือให้เกิดการมีส่วนร่วม ในการขับเคล่อื นการวจิ ัยสูก่ ารพัฒนาประเทศแบบบรู ณาการและยง่ั ยืน 150 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
5.4 การทบทวนแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พระราชบญั ญตั ปิ ้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 มาตรา 44 ก�ำหนดว่าในกรณที ข่ี อ้ เทจ็ จริง เก่ียวกับสาธารณภัยหรือการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยท่ีได้ก�ำหนดไว้ในแผนต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติน้ี เปล่ียนแปลงไปหรือแผนดังกล่าวได้ใช้ครบห้าปีแล้ว ให้เป็นหน้าที่ของผู้ซ่ึงรับผิดชอบในการจัดท�ำแผน ปรับปรุง หรอื ทบทวนแผนทอี่ ยู่ในความรบั ผดิ ชอบของตนโดยเรว็ กรณีท่ีได้ด�ำเนินการตามกระบวนการที่ก�ำหนดไว้ในแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และไดม้ กี ารตดิ ตาม ประเมนิ ผลสมั ฤทธข์ิ องแผน หรอื มกี ารวจิ ยั และพฒั นา พบขอ้ บกพรอ่ งหรอื มนี วตั กรรม การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทท่ี นั สมยั และเหมาะสม ใหพ้ จิ ารณาทบทวนปรบั ปรงุ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติได้ตามความเหมาะสม แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 151
คำ� ย่อ ภาคผนวก ก กห. สป. ค�ำยอ่ : ชอ่ื หน่วยงาน ทท. บก.ทท. หน่วยงาน นขต.บก.ทท. : กระทรวงกลาโหม นทพ. : ส�ำนักงานปลดั กระทรวงกลาโหม สนภ. : กองทพั ไทย นพค. : กองบญั ชาการกองทพั ไทย ทบ. : หน่วยขน้ึ ตรงกองบัญชาการกองทัพไทย นขต.ทบ. : หนว่ ยบญั ชาการทหารพฒั นา ทภ. : สำ� นักงานพฒั นาภาค มทบ. : หนว่ ยพัฒนาการเคล่อื นท่ี ทร. : กองทัพบก ทรภ. : หน่วยขึน้ ตรงกองทัพบก ฐท.กท. : กองทพั ภาค ฐท.สส. : มณฑลทหารบก ฐท.พง. : กองทพั เรือ กปช.จต. : ทพั เรือภาค นรข. : ฐานทพั เรอื กรุงเทพ ฉก.นย.ภต. : ฐานทพั เรอื สัตหบี ทอ. : ฐานทพั เรอื พังงา นขต.ทอ. : กองบัญชาการป้องกันชายแดนจนั ทบุรีและตราด รร.การบนิ : หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบรอ้ ยตามล�ำแม่นำ้� โขง บน. : หนว่ ยเฉพาะกจิ นาวกิ โยธนิ ภาคใต้ ศบภ.กห. : กองทพั อากาศ ศบภ.ทบ. : หน่วยขึ้นตรงกองทัพอากาศ ศบภ.ทร. : โรงเรียนการบนิ กองทัพอากาศ ศบภ.ทอ. : กองบิน ศบภ.บก.ทท : ศนู ยบ์ รรเทาสาธารณภัยกระทรวงกลาโหม ศบภ.สป. : ศนู ยบ์ รรเทาสาธารณภยั กองทพั บก : ศูนย์บรรเทาสาธารณภยั กองทัพเรอื : ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพอากาศ : ศูนยบ์ รรเทาสาธารณภัยกองบัญชาการกองทพั ไทย : ศนู ยบ์ รรเทาสาธารณภยั ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 153
คำ� ย่อ : หนว่ ยงาน นร. : สำ� นกั นายกรัฐมนตรี สมช. : สำ� นักงานสภาความม่นั คงแห่งชาติ กอ.รมน. : กองอ�ำนวยการรกั ษาความม่นั คงภายในราชอาณาจกั ร ตร. : สำ� นักงานตำ� รวจแห่งชาติ มท. : กระทรวงมหาดไทย รมว.มท. : รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย ปมท. : ปลดั กระทรวงมหาดไทย ผวจ. : ผ้วู า่ ราชการจังหวัด อปภ. : อธิบดกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย นอภ. : นายอ�ำเภอ องค์กรปฏิบตั ิ : กองอำ� นวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั กลาง กอปภ.ก. : กองอำ� นวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั กรงุ เทพมหานคร กอปภ.กทม. : กองอำ� นวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด กอปภ.จ. : กองอ�ำนวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั เทศบาลนคร/เทศบาลเมอื ง/เทศบาลต�ำบล กอปภ.ทน./ทม./ทต. : กองอำ� นวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยเมืองพทั ยา กอปภ.เมอื งพัทยา : กองอำ� นวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั สำ� นักงานเขต กอปภ.สนข. : กองอำ� นวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั อ�ำเภอ กอปภ.อ. : กองอำ� นวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยองค์การบรหิ ารสว่ นต�ำบล กอปภ.อบต. : กองบัญชาการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ บกปภ.ช. : การสนับสนนุ การปฏิบตั ิงานในภาวะฉกุ เฉนิ สปฉ. : ศนู ย์บญั ชาการณเ์ หตุการณอ์ �ำเภอ ศบก.อ. : ศนู ยบ์ ญั ชาการณ์เหตกุ ารณส์ �ำนกั งานเขต กรงุ เทพมหานคร ศบก.สนข. : ศูนยบ์ ัญชาการณเ์ หตุการณจ์ ังหวัด ศบก.จ. : ศูนยบ์ ัญชาการณเ์ หตุการณ์ส่วนหน้าจงั หวัด ศบก.จ. (สว่ นหนา้ ) : ศูนยบ์ ัญชาการณเ์ หตุการณก์ รุงเทพมหานคร ศบก.กทม. : ศนู ยบ์ ญั ชาการณ์เหตกุ ารณ์ส่วนหน้ากรงุ เทพมหานคร ศบก.กทม. (ส่วนหน้า) : ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการฉุกเฉินท้องถน่ิ ศปก.อปท. : คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยพิบัติจงั หวัด คณะกรรมการ : คณะกรรมการทรพั ยากรน้ำ� แห่งชาติ ก.ช.ภ.จ. : คณะกรรมการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ กนช. : คณะกรรมการปอ้ งกันอุบัติภัยแห่งชาติ กปภ.ช. : คณะกรรมการบริหารระบบการเตือนภยั พบิ ัติแห่งชาติ กปอ. คณะกรรมการนโยบายการรกั ษาผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล กภช. นปท. 154 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
ค�ำย่อ หน่วยงาน ผ้บู ญั ชาการและผูอ้ �ำนวยการ : ผบู้ ัญชาการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ผบ.ปภ.ช. (รมว.มท.) (รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย) ผอ.กลาง : ผู้อ�ำนวยการกลาง (อปภ.) ผอ.จว. (อธิบดกี รมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย) (ผวจ.) : ผู้อำ� นวยการจังหวดั ผอ.กทม. (ผว.กทม.) (ผูว้ า่ ราชการจังหวดั ) ผอ.อ�ำเภอ : ผู้อ�ำนวยการกรุงเทพมหานคร (นอภ.) ผช.ผอ.กทม. (ผวู้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร) (ผอ.เขต) : ผอู้ �ำนวยการอ�ำเภอ ผอ.ทอ้ งถ่ิน (นายอ�ำเภอ) : ผู้ช่วยผู้อำ� นวยการกรงุ เทพมหานคร ผอู้ �ำนวยการเขต : ผอู้ ำ� นวยการท้องถิน่ (นายกเทศมนตร/ี นายกเมอื งพทั ยา/นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล) แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 155
ภาคผนวก ข ตวั อยา่ งลกั ษณะภัยและนิยามศัพท์ ตวั อย่างลกั ษณะภยั สาธารณภัย หมายถึง อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาด สัตว์น�ำ้ การระบาดของศัตรพู ชื ตลอดจนภัยอน่ื ๆ อันมผี ลกระทบต่อสาธารณชน ไมว่ า่ เกิดจากธรรมชาติ มผี ้ทู �ำใหเ้ กดิ ขน้ึ อบุ ตั เิ หตุ หรอื เหตอุ น่ื ใด ซง่ึ กอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายแกช่ วี ติ รา่ งกายของประชาชน หรอื ความเสยี หายแกท่ รพั ยส์ นิ ของประชาชน หรือของรฐั และให้หมายความรวมถงึ ภัยทางอากาศและการก่อวนิ าศกรรมด้วย 1. ภัยจากอคั คภี ยั อคั คภี ยั หมายถงึ ภยนั ตรายอนั เกดิ จากไฟทข่ี าดการควบคมุ ดแู ล ทำ� ใหเ้ กดิ การตดิ ตอ่ ลกุ ลามไปตามบรเิ วณ ที่มีเชื้อเพลิงเกดิ การลกุ ไหม้ตอ่ เนื่อง สภาวะของไฟจะรุนแรงมากข้ึน ถ้าการลกุ ไหม้ทีม่ เี ช้ือเพลิงหนุนเนื่อง หรอื มีไอ ของเช้อื เพลงิ ถูกขบั ออกมามากความรอ้ นแรงกจ็ ะมากยิ่งข้นึ 2. ภัยจากวาตภัย 2.1 ภัยจากพายุหมุนเขตร้อน (Tropical Cyclone Storm) หมายถึง พายุท่ีก่อตัวจากหย่อม ความกดอากาศตำ่� กำ� ลงั แรง บรเิ วณใกลเ้ สน้ ศนู ยส์ ตู ร ซงึ่ มกี ระบวนการพาความรอ้ นเกดิ ขนึ้ อณุ หภมู นิ ำ้� ทะเลมากกวา่ 26 องศาเซลเซียสขึ้นไป อากาศไม่เสถียรภาพมีการลอยตัวของอากาศได้ดีและมีความชื้น ไอน้�ำ จะกล่ันตัวเป็น หยดน�้ำเล็ก ๆ ลอยขึ้นลงและจบั ตัวกนั จบั ตวั กันเป็นเมฆในขณะเดียวกนั กป็ ลดปลอ่ ยพลังงานความรอ้ นแฝงออกมา จำ� นวนมากในชนั้ บรรยากาศ นอกจากนีอ้ ากาศทอ่ี ุ่นกวา่ สิ่งแวดลอ้ มเหนอื พ้นื น�ำ้ เลื่อนลอยข้นึ ไปในบรรยากาศท�ำให้ เกดิ หยอ่ มความกดอากาศตำ�่ บรเิ วณใกลพ้ น้ื นำ�้ เกดิ ลมหมนุ พดั ทวนเขม็ นาฬกิ าเขา้ สศู่ นู ยก์ ลาง (บรเิ วณซกี โลกเหนอื ) และลมหมนุ ตามเขม็ นาฬิการเขา้ สู่ศูนยก์ ลาง (บริเวณซีกโลกใต)้ แลว้ พฒั นาตอ่ ไปเป็นพายหุ มุนเขตรอ้ น (ดีเปรสชน่ั พายุโซนร้อน และพายุไต้ฝุ่น บรเิ วณมหาสมทุ รแปซิฟิก ซงึ่ เรยี กตามแหล่งทีเ่ กดิ ต่อไป ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ ก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายของอาคารบ้านเรือน ต้นไม้ และส่ิงก่อสร้างต่าง ๆ เป็นบริเวณกว้างจากความแรงของลมตามแนว เส้นทางเดินของพายุเคล่ือนผ่าน โดยปกติจะมีความกว้าง 50 - 300 กโิ ลเมตรจากศนู ยก์ ลางพายุ ซง่ึ ขน้ึ อยกู่ บั ขนาด และความแรงของพายแุ ตล่ ะลกู โดยลมจะแรงบรเิ วณใกล้ศูนย์กลางของพายแุ ละความเสยี หายจะมมี ากที่สุด 2.2 ภยั จากคลนื่ พายซุ ดั ฝง่ั (Storm Surge) หมายถงึ ภยั ธรรมชาตทิ เี่ กดิ จากพายหุ มนุ เขตรอ้ นเคลอื่ น เขา้ หาฝงั่ ลมระดบั 10 เมตร วัดได้มากกว่า 35 น๊อต (65 กิโลเมตรตอ่ ช่วั โมง) ข้นึ ไป ความสูงของคล่ืนข้ึนกับความแรง ของลมทเ่ี กิดจากพายุหมุนเขตรอ้ น ท�ำให้เกดิ ความเสียหายต่อพน้ื ชายฝั่งทะเล ระดบั ความรนุ แรงของความเสียหาย จะขน้ึ อยกู่ ับความแรงลมของพายุ สภาพภูมิประเทศ และขนาดของชุมชน แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 157
2.3 ภัยจากพายฤุ ดูรอ้ น หมายถึง พายทุ ี่เกดิ ในช่วงทมี่ ลี ักษณะอากาศรอ้ นอบอา้ วตดิ ตอ่ กนั หลายวนั และเมอื่ มอี ากาศเยน็ จากความกดอากาศสงู ในประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจนี พดั มาปะทะกบั อากาศรอ้ น จะทำ� ให้ อากาศรอ้ นชนื้ ทเ่ี บากวา่ ลอยตวั ขน้ึ เหนอื อากาศเยน็ อยา่ งรวดเรว็ เกดิ เปน็ เมฆและพายฟุ า้ คะนอง ทม่ี ยี อดเมฆสงู มาก (เมฆคิวมูโลนิมบัส) เกิดพายุฟ้าคะนอง ลมกรรโชกแรง ฟ้าผ่า และมักมีลูกเห็บตกตามมา พายุฤดูร้อนมักเกิดขึ้น และสิ้นสุดลงในช่วงเวลาส้ัน ๆ ไม่เกินหน่ึงช่ัวโมง และครอบคลุมบริเวณพื้นที่ไม่เกิน 20 - 30 ตารางกิโลเมตร แต่จะมีลมกรรโชกแรงทเ่ี ริม่ สรา้ งความเสียหาย เมือ่ มีความรนุ แรงลมต้งั แต่ 50 กโิ ลเมตร ต่อชั่วโมงขึ้นไป 2.4 ภัยจากพายุฝนฟ้าคะนอง หมายถึง ภัยท่ีเกิดจากพายุลมแรง บางคร้ังมีฟ้าผ่า และลูกเห็บตก มักก่อตัวขึ้นในพื้นท่ีแคบ ๆ และระยะเวลาส้ัน ๆ ซ่ึงบ่อยคร้ังมีความเร็วลมเกินกว่า 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สรา้ งความเสียหายแกพ่ ชื ผลทางการเกษตร อาคารบา้ นเรอื น ต้นไม้ และสิ่งก่อสรา้ งตา่ ง ๆ 2.5 ภัยจากลูกเห็บ (Hail) หมายถึง ก้อนน�้ำลักษณะเหมือนน�้ำแข็งที่ตกลงมาจากช้ันบรรยากาศ ในรปู ของแขง็ ซงึ่ รปู รา่ งกอ้ นนำ�้ แขง็ จะมรี ปู รา่ งไมแ่ นน่ อน เกดิ จากละอองหยาดฝนซง่ึ เยน็ แบบยง่ิ ยวด (ยงั อยใู่ นสภาพ ของเหลวท่ีอุณหภูมิต่�ำกวา่ จุดเยอื กแข็ง) ในเมฆฝน ปะทะกบั วตั ถุแขง็ เช่น ผงฝุ่น หรอื ก้อนลกู เห็บ ท่ีเกาะตวั อยกู่ อ่ นแลว้ และแขง็ ตวั เกาะรอบวตั ถนุ น้ั ๆ เปน็ กอ้ นนำ�้ แขง็ ขนาดเลก็ จบั กนั เปน็ กอ้ นขนาดใหญ่ และลอยตวั ขน้ึ ลงในระยะเวลาหนงึ่ เนอ่ื งจากกระแสอากาศพดั ขน้ึ ลง เมอ่ื กอ้ นนำ�้ แขง็ เกาะตวั จนเปน็ กอ้ นใหญ่ มนี ำ�้ หนกั เกนิ กวา่ ทก่ี ระแสอากาศจะพยงุ ใหล้ อยอย่ไู ดแ้ ละตกลงมา 3. ภยั จากอทุ กภัย 3.1 ภยั จากอทุ กภยั หมายถงึ เหตกุ ารณท์ มี่ นี ำ�้ ทว่ มพน้ื ดนิ สงู กวา่ ระดบั ปกติ ซง่ึ มสี าเหตจุ าก มปี รมิ าณ น้�ำฝนมากจนท�ำให้มีปริมาณน�้ำส่วนเกินมาเติมปริมาณน�้ำผิวดินท่ีมีอยู่ตามสภาพปกติจนเกินขีดความสามารถ การระบายนำ้� ของแมน่ ำ�้ ลำ� คลอง และยงั มสี าเหตมุ าจากการกระทำ� ของมนษุ ย์ โดยการปดิ กน้ั การไหลของนำ้� ตามธรรมชาติ ทงั้ เจตนาและไมเ่ จตนา จนเปน็ อนั ตรายตอ่ ชวี ติ ทรพั ยส์ นิ ของประชาชน และสงิ่ แวดลอ้ ม สามารถจำ� แนกตามลกั ษณะ การเกิดได้ ดงั นี้ (1) นำ�้ ทว่ มขงั /นำ�้ ลน้ ตลง่ิ หมายถงึ สภาวะนำ�้ ทว่ มหรอื สภาวะนำ�้ ลน้ ตลง่ิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ เนอ่ื งจากระบบ ระบายน�้ำไม่มปี ระสทิ ธภิ าพ มีลกั ษณะค่อยเปน็ คอ่ ยไป อนั เปน็ ผลจากการเกิดฝนตกหนัก ณ บรเิ วณน้ัน ๆ ตดิ ต่อกนั เปน็ เวลาหลายวนั มกั เกดิ ขนึ้ ในบรเิ วณทรี่ าบลมุ่ รมิ แมน่ ำ�้ และบรเิ วณชมุ ชนเมอื งใหญ่ ๆ นำ้� ทว่ มขงั สว่ นใหญจ่ ะเกดิ บรเิ วณ ท้ายน้ำ� และแผ่เปน็ บรเิ วณกว้างเนื่องจากไมส่ ามารถระบายนำ้� ไดท้ ัน (2) นำ้� ทว่ มฉบั พลนั หมายถงึ สภาวะนำ�้ ทว่ มทเ่ี กดิ ขนึ้ อยา่ งฉบั พลนั ในพน้ื ทเี่ นอื่ งจากฝนตกหนกั ในบริเวณพื้นท่ีซ่ึงมีความชันมาก และมีคุณสมบัติในการกักเก็บน้�ำหรือต้านน้�ำน้อยหรืออาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น เข่ือนหรืออ่างเก็บน้�ำพังทลาย น�้ำท่วมฉับพลัน มักเกิดขึ้นหลังจากฝนตกหนัก และมักเกิดขึ้นในบริเวณที่ราบ ระหวา่ งหุบเขา ซ่งึ อาจจะไม่มฝี นตกหนักในบรเิ วณนั้นมากอ่ นเลย แตม่ ีฝนตกหนกั มากบรเิ วณตน้ นำ�้ ทอี่ ยหู่ ่างออกไป การเกดิ น้ำ� ท่วมฉับพลนั มคี วามรนุ แรงและเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร็วมาก โอกาสทจี่ ะปอ้ งกนั และหลบหนีจึงมีนอ้ ย 158 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
3.2 ภยั จากดนิ ถล่มหรือโคลนถล่ม หมายถึง ภยั ท่ีเกดิ จากปรากฏการณท์ ี่มวลดินหรือหนิ ไถลเล่อื นลง จากพน้ื ทส่ี งู สพู่ น้ื ทตี่ ำ�่ กวา่ ภายใตอ้ ทิ ธพิ ลแรงโนม้ ถว่ งของโลก และการมนี ำ้� เปน็ ตวั กลางทำ� ใหม้ วลวสั ดุ เกดิ ความไมม่ ี เสถยี รภาพ อตั ราการไถลเลอื่ นดงั กลา่ วขา้ งตน้ อาจชา้ หรอื เรว็ ขนึ้ กบั ประเภทของวสั ดุ ความลาดชนั สภาพสงิ่ แวดลอ้ ม และปรมิ าณนำ้� ฝน ในบางกรณแี ผน่ ดนิ ถลม่ อาจเกดิ จากแผน่ ดนิ ไหวหรอื ภเู ขาไฟระเบดิ การเคลอื่ นตวั ของวสั ดดุ งั กลา่ ว อาจพดั พาตน้ ไม้ บ้านเรอื น รถยนต์ ส่งิ ปลกู สร้างอื่น ๆ ช�ำรุด หรอื พงั ทลาย และยงั อาจท�ำให้ช่องเปิดของสะพาน และแมน่ ำ�้ ลำ� คลองอดุ ตนั จนเปน็ สาเหตใุ หเ้ กดิ อทุ กภยั ขน้ึ ไดใ้ นเสน้ ทาง การเคลอื่ นตวั ปรากฏการณด์ งั กลา่ วเปน็ อนั ตราย ตอ่ ชวี ิต ทรัพย์สนิ ของประชาชนและสงิ่ แวดล้อม 4. ภัยแล้ง หมายถึง ภัยท่ีเกิดจากความแห้งแล้งของลมฟ้าอากาศ อันเกิดจากการท่ีมีปริมาณฝนน้อย หรือฝนไม่ตกเป็นระยะเวลานานและครอบคลุมพ้ืนท่ีเป็นบริเวณกว้าง ท�ำให้เกิดการขาดแคลนน้�ำด่ืม น้�ำใช้ พชื พนั ธไ์ุ มต้ า่ ง ๆ ขาดนำ�้ ไมส่ ามารถเจรญิ เตบิ โตไดต้ ามปกติ เกดิ ความเสยี หายและสง่ ผลกระทบ อยา่ งกวา้ งขวางรนุ แรง ต่อประชาชนโดยภัยแล้งเกดิ จากสาเหตุ ดังนี้ (1) ฝนแลง้ หมายถงึ สภาวะทมี่ ฝี นนอ้ ยหรอื ไมม่ ฝี นเลยในชว่ งเวลาหนงึ่ ซง่ึ ตามปกตจิ ะตอ้ งมฝี น (ภาวะ ทปี่ รมิ าณฝนตกนอ้ ยกว่าปกติหรอื ไม่ตกตอ้ งตามฤดกู าล) โดยขึน้ อย่กู ับสถานทีแ่ ละฤดูกาล ณ ทีน่ ้นั ๆ (2) ฝนทิ้งชว่ ง หมายถงึ ชว่ งที่มีปริมาณฝนตกไมถ่ งึ วันละ 1 มลิ ลิเมตรตดิ ตอ่ กันเกนิ 15 วัน ในชว่ งฤดูฝน เดอื นทมี่ โี อกาสเกิดฝนทิ้งชว่ งสงู คอื เดือนมิถุนายนและกรกฎาคม 5. ภัยหนาว หมายถึง ภัยที่เกิดจากสภาพอากาศท่ีมีความหนาวจัด อุณหภูมิต่�ำกว่า 8 องศาเซลเซียส และลดลงตอ่ เนือ่ งซ่งึ ประชาชนได้รับผลกระทบอยา่ งรุนแรงและกวา้ งขวาง 6. ภยั จากโรคระบาดในมนษุ ย์ หมายถงึ ภยั จากโรคซง่ึ ปรากฏขน้ึ ในประชากรกลมุ่ หนงึ่ ในระยะเวลาหนง่ึ ในอัตราที่สูงขึ้นมากกว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยเทียบกับประวัติการเกิดโรคในอดีตโรคน้ันอาจเป็นโรคติดต่อทางสัมผัส หรอื ไมก่ ็ได้ แตส่ ่งผลตอ่ ชีวิตความเปน็ อยู่ของประชาชนทง้ั ในพ้นื ทเ่ี กิดโรคระบาดและพืน้ ที่ใกลเ้ คียง 7. ภัยจากโรคระบาดสัตว์ หมายถึง ภัยท่ีเกิดจากโรคซ่ึงปรากฏข้ึนในประชากรสัตว์เล้ียงหรือสัตว์ป่า โดยเป็นโรคติดตอ่ ท้ังในสัตว์ชนิดเดียวกัน ตา่ งชนดิ กนั รวมถงึ การติดตอ่ มาสูค่ น ในระยะเวลาหนึง่ ในอัตราทสี่ งู ขนึ้ มากกวา่ ทคี่ าดการณไ์ ว้ โดยเทยี บกบั ประวตั กิ ารเกดิ โรคในอดตี สรา้ งความเสยี หายตอ่ เศรษฐกจิ และสขุ ภาพของประชาชน 8. ภยั จากโรคระบาดสตั วน์ ำ�้ หมายถงึ ภยั ทเ่ี กดิ จากโรคซงึ่ ปรากฏขน้ึ ในประชากรสตั วน์ ำ�้ โดยเปน็ โรคตดิ ตอ่ ทงั้ ในสตั วน์ ำ�้ ชนดิ เดยี วกนั ตา่ งชนดิ กนั รวมถงึ การตดิ ตอ่ มาสคู่ น ในระยะเวลาหนง่ึ ในอตั ราทสี่ งู ขน้ึ มากกวา่ ทค่ี าดการณไ์ ว้ โดยเทยี บกบั ประวตั ิการเกิดโรคในอดตี สร้างความเสียหายตอ่ เศรษฐกจิ และสขุ ภาพ ของประชาชน 9. ภยั จากการระบาดของศตั รพู ชื หมายถงึ ภยั ทเี่ กดิ จากสง่ิ ซง่ึ เปน็ อนั ตรายแกพ่ ชื เชน่ เชอื้ โรค พชื แมลง สตั ว์ หรือพชื ทีอ่ าจก่อให้เกดิ ความเสียหายแก่พชื ส่งผลให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของพชื เชน่ ต้น ตา ตอ แขนง หนอ่ กง่ิ ใบ ราก เหงา้ หัว ดอก ผล เมล็ด เชอ้ื และสปอร์ของเห็ด ไมว่ า่ ท่ียังทำ� พนั ธุ์ได้หรือตายแลว้ และใหห้ มายความรวมถงึ ตัวห้�ำ ตัวเบียน ตัวไหม ไข่ไหม รังไหม ผ้ึง รังผึ้ง และจุลินทรีย์ จนส่งผลกระทบในวงกว้างต่อเศรษฐกิจ สังคม และประชาชน แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 159
10. ภยั จากไฟปา่ และหมอกควนั หมายถงึ ภยั ทเี่ กดิ จากไฟปา่ ไมว่ า่ จะจากสาเหตใุ ดกต็ าม เกดิ ขน้ึ ในปา่ ธรรมชาติ หรือสวนป่าก็ตาม แล้วลุกลามไปได้โดยอิสระปราศจากการควบคุม ตลอดจนส่งผลให้เกิดฝุ่น ควัน และอนุภาค แขวนลอยในบรรยากาศ ภายใตก้ ระแสลมออ่ น และอากาศไมส่ ามารถลอยตวั ขนึ้ ไปในบรรยากาศได้ ทำ� ใหเ้ กดิ อนั ตราย ตอ่ ทรพั ย์สนิ และสุขภาพของประชาชน 11. ภยั จากมลพษิ ทางอากาศประเภท PM2.5 หมายถงึ เหตกุ ารณท์ ม่ี ลพษิ ทางอากาศประเภทฝนุ่ ละออง ขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือ PM2.5 ทีม่ ีแหล่งกำ� เนดิ จากเหตกุ ารณ์ทางธรรมชาติ หรอื จากกจิ กรรมของมนษุ ย์ เกิดการสะสมในบรรยากาศ อนั เน่ืองมาจากสภาพอากาศ ท�ำให้ PM2.5 ปกคลมุ พ้นื ท่ีอยู่อาศัยของประชาชน จนมี ความเสี่ยงทจี่ ะเกิดผลกระทบต่อสขุ ภาพของประชาชนจ�ำนวนมาก 12. ภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม 12.1 ภยั จากแผน่ ดนิ ไหว หมายถงึ ภยั ธรรมชาตซิ ง่ึ เกดิ จากการปลดปลอ่ ยพลงั งานใตพ้ ภิ พ ทำ� ใหเ้ กดิ การสน่ั สะเทอื นของพนื้ ดนิ การสน่ั สะเทอื นนอี้ าจมรี ะดบั ความรนุ แรงขนั้ ตำ่� ทไ่ี มก่ อ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายใด ๆ แตบ่ างครงั้ ก็อาจมีระดับความรนุ แรงในข้ันท่ีเปน็ อนั ตรายจนก่อให้เกดิ ความเสยี หายอยา่ งใหญ่หลวงได้ 12.2 ภัยจากอาคารถลม่ หมายถึง ภัยที่เกิดจากอาคารและส่งิ ปลูกสร้าง ได้แก่ ตึก บา้ น โรงเรอื น รา้ น แพ คลงั สนิ คา้ สำ� นกั งาน ทไ่ี ดร้ บั ความเสยี หายจากการโยกไหวตวั รนุ แรงของแผน่ ดนิ ซง่ึ เปน็ ผลมาจากแผน่ ดนิ ไหว และก่อให้เกดิ ความเสยี หายหรอื พงั ทลายลงมาได้ 13. ภัยจากสึนามิ หมายถึง ภัยท่ีเกิดจากคล่ืนยักษ์ ค�ำว่า สึนามิ เป็นภาษาญี่ปุ่น แปลว่า คล่ืนท่าเรือ สามารถแบง่ ได้เปน็ 2 ประเภท ประเภทแรก คือ คลืน่ สึนามเิ ฉพาะแห่ง (Local Tsunami) มักจะเกดิ ใกล้ ๆ ชายฝง่ั และเคลอ่ื นเขา้ ถลม่ ชายฝง่ั อยา่ งทนั ทที นั ใด และประเภททสี่ อง คอื คลนื่ สนึ ามทิ เ่ี ดนิ ทางขา้ มทวปี (Distance Tsunami) มกั จะเกดิ จากแผน่ ดนิ ไหวทคี่ อ่ นขา้ งรนุ แรงและสามารถเคลอื่ นตวั ขา้ มทวปี ไปยงั ชายฝง่ั ทอี่ ยหู่ า่ งไกลหลายหมน่ื กโิ ลเมตร โดยสาเหตุของการเกดิ คลน่ื สึนามิ มหี ลายสาเหตุ เช่น แผน่ ดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ดนิ ถลม่ และอุกกาบาตตกลงสู่ มหาสมทุ ร โดยภยั จากสนึ ามกิ อ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายทง้ั ตอ่ ชวี ติ ประชาชนและสงิ่ ปลกู สรา้ งตลอดแนวพน้ื ทรี่ าบชายฝง่ั 14. ภัยจากการคมนาคม หมายถึง ภัยจากอุบัติเหตุจากการจราจรทางบก ทางน�้ำ และทางอากาศ ภัยจากระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ ภัยจากกระบวนการขนส่งสารเคมีและวัตถุอันตราย และภัยจากการรั่วไหล ของนำ�้ มันและวตั ถอุ นั ตรายในแหลง่ น้ำ� รวมถึงการเทท้ิงน�้ำมันหรอื ของเสียในแม่น้�ำหรอื ทะเล 15. ภัยทางอากาศ หมายถึง ภยั อนั เกิดจากการโจมตีทางอากาศ โดยอากาศยาน อาวุธน�ำวิถี ขปี นาวธุ หรือส่ิงใด ๆ ท่ีสามารถเคลื่อนที่หรือทรงตัวบนอากาศ และการโจมตีดังกล่าวส่งผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชน 160 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
16. ภัยจากการก่อวินาศกรรม 16.1 ภยั จากการกอ่ วนิ าศกรรม หมายถงึ ภยั ทเี่ กดิ จากการกระทำ� ใด ๆ อนั เปน็ การมงุ่ ทำ� ลายทรพั ยส์ นิ ของประชาชนหรอื ของรัฐหรือส่ิงอันเปน็ สาธารณปู โภค หรือการรบกวน ขดั ขวาง หน่วงเหนยี่ ว ระบบการปฏิบัติงานใด ๆ ตลอดจนการประทษุ รา้ ยตอ่ บคุ คลอนั เปน็ การกอ่ ใหเ้ กดิ ความปน่ั ปว่ นทางการเมอื ง การเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ โดยมงุ่ หมายทจ่ี ะกอ่ ให้เกดิ ความเสียหายตอ่ ความมนั่ คงของรัฐ 16.2 ภยั จากการกอ่ การรา้ ย หมายถงึ ภยั ทเี่ กดิ จากการกระทำ� ใด ๆ ทส่ี รา้ งความปน่ั ปว่ นใหป้ ระชาชน เกดิ ความหวาดกลวั หรอื เพอื่ ขเู่ ขญ็ หรอื บบี บงั คบั รฐั บาล หรอื องคก์ ารระหวา่ งประเทศใหก้ ระทำ� หรอื ละเวน้ กระทำ� การ อย่างหนึง่ อยา่ งใด อันกอ่ ให้เกดิ ความเสียหายตอ่ ชีวิตและทรพั ยส์ นิ ทีส่ �ำคัญ 16.3 ภยั จากการกอ่ การรา้ ยสากล หมายถงึ ภยั ทเ่ี กดิ จากการปฏบิ ตั กิ ารของบคุ คล หรอื กลมุ่ บคุ คล ที่มุ่งหวังผลตามเงื่อนไขข้อเรียกร้องทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งส่วนใหญ่จะปฏิบัติการล่วงล�้ำเขตแดน หรอื เกยี่ วพนั กบั ชาตอิ นื่ การกระทำ� นนั้ อาจเปน็ ไปโดยเอกเทศ ปราศจากการสนบั สนนุ จากรฐั ใด ๆ หรอื มรี ฐั ใดรฐั หนง่ึ สนบั สนนุ รเู้ หน็ กไ็ ด้ เมอื่ เกดิ ขน้ึ ยอ่ มมผี ลกระทบโดยตรงตอ่ ผลประโยชนข์ องชาติ พนั ธกรณรี ะหวา่ งประเทศ นโยบาย ของชาตทิ ้งั ดา้ นการเมอื งและการป้องกันประเทศ การเศรษฐกิจและสังคมจติ วทิ ยา ช่อื เสียง และเกียรตภิ ูมิของชาติ นิยามศัพท์ กลยทุ ธ์ (Strategy) หมายถงึ แผนทวั่ ๆ ไป หรอื คำ� แนะนำ� ทเ่ี ลอื กมาใชเ้ พอ่ื ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กลมุ่ เปราะบาง (Vulnerable Group) หมายถงึ กลมุ่ บคุ คลทม่ี คี วามสามารถจำ� กดั ในการเผชญิ เหตกุ ารณ์ สาธารณภัย ซึง่ ต้องการความดูแลเปน็ พิเศษ เชน่ เดก็ สตรมี ีครรภ์ ผู้สูงอายุ บคุ คลทพุ พลภาพ ผู้ปว่ ย ผพู้ ลัดถ่นิ ผ้ลู ้ีภยั คนต่างด้าว เปน็ ต้น การแกป้ ญั หาทอี่ าศยั ธรรมชาตเิ ปน็ พน้ื ฐาน (Nature-based Solution : NbS) ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ปอ้ งกนั จดั การ และฟน้ื ฟธู รรมชาติ หรอื การปรบั เปลย่ี นระบบนเิ วศอยา่ งยง่ั ยนื เพอ่ื รบั มอื กบั ความทา้ ทายทางสงั คมอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และปรบั ตวั ได้ โดยยงั คงประโยชนต์ อ่ คุณภาพชีวติ ทดี่ ีของมนษุ ยแ์ ละความหลากหลาย ทางชีวภาพอย่างต่อเน่ือง การควบคมุ พนื้ ท่ี (Area Command) หมายถงึ การกำ� กบั ดแู ลการจดั การเหตฉุ กุ เฉนิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชว่ งเวลา เดยี วกนั หลายเหตกุ ารณ์ และมอี งคก์ รระบบการบญั ชาการเหตกุ ารณห์ ลายองคก์ รแยกกนั ทำ� หนา้ ทจ่ี ดั การเหตฉุ กุ เฉนิ ท่ีเกิดขึ้นแต่ละเหตุการณ์ หรือท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแลการจัดการเหตุฉุกเฉินขนาดใหญ่หรือเหตุฉุกเฉินท่ีก�ำลังลุกลาม ขยายตัวซ่งึ มีทมี งานจัดการเหตฉุ ุกเฉินหลายทีมงานเขา้ มามีสว่ นเกี่ยวขอ้ ง แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 161
การเข้าใจและตระหนักถึงความเส่ียง (Risk - Informed) หมายถึง กระบวนการสร้างความเข้าใจ ความเสยี่ ง โดยมขี อ้ มลู ความเสย่ี งครบถว้ นและรอบดา้ น และนำ� ไปสแู่ นวทางปฏบิ ตั เิ พอื่ ลดความเสยี่ ง เชน่ การลงทนุ เพื่อการลดความเส่ียง (Risk - Informed Investment) หมายถึง การสร้างความเข้าใจความเสี่ยงด้านการลงทุน ซึ่งน�ำไปสู่การปฏิบัติเพ่ือลดความเสี่ยงโดยเน้นไปท่ีความคุ้มค่าของการลงทุน เพราะหากไม่มีการลงทุนมูลค่า ความสูญเสียและความเสียหายจะมากกวา่ มูลค่าของการลงทุน การจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ (Emergency Management) หมายถงึ การจดั ระบบและบรหิ ารจดั การทรพั ยากร และความรับผิดชอบเพือ่ เผชิญเหตกุ ารณฉ์ ุกเฉินทกุ รูปแบบ การซ่อมสร้าง (Reconstruction) หมายถึง การฟื้นฟูโครงสร้างและส่ิงก่อสร้างที่ได้รับความเสียหาย จากเหตกุ ารณส์ าธารณภัยให้กลบั มาส่สู ภาพท่สี ามารถใช้งานได้ดังเดมิ การเตรยี มความพรอ้ ม (Preparedness) หมายถงึ ความพยายามในการเตรยี มการรบั มอื กบั สาธารณภยั มงุ่ เนน้ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทท่ี ำ� ใหผ้ คู้ นมคี วามสามารถในการคาดการณ์ เผชญิ เหตุ และจดั การกบั ผลกระทบจากสาธารณภยั อยา่ งเปน็ ระบบ หากมกี ารเตรยี มความพรอ้ มไดด้ จี ะทำ� ใหส้ ามารถดำ� เนนิ การตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมทงั้ ในชว่ งกอ่ น ระหวา่ ง และหลงั การเกดิ สาธารณภยั และเพม่ิ โอกาสในการรกั ษาชวี ติ ใหป้ ลอดภยั จากเหตกุ ารณส์ าธารณภยั ไดม้ ากขน้ึ การเตอื นภยั ลว่ งหนา้ (Early Warning) หมายถงึ การใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารทเ่ี ปน็ ประโยชนแ์ ละทนั เหตกุ ารณ์ ผ่านทางหน่วยงาน/องค์กรต่าง ๆ เพื่อให้บุคคลท่ีก�ำลังเผชิญความเสี่ยงต่อการเกิดสาธารณภัยสามารถกระท�ำการ อย่างใดอยา่ งหนึง่ เพอื่ หลีกเลย่ี งหรอื ลดความเสยี่ งและพรอ้ มท่จี ะรับมอื กบั สถานการณ์ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ การบรหิ ารจดั การความเสยี่ งจากภัยพบิ ตั ิ/สาธารณภัย (Disaster Risk Management: DRM) หมายถึง กระบวนการอย่างเป็นระบบของการใช้ค�ำสั่ง ทางการบริหารองค์กรและทักษะ ความสามารถเชิงปฏิบัติการ เพื่อด�ำเนินยุทธศาสตร์ นโยบาย มาตรการ หรือกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อหลีกเล่ียง ลด หรือถ่ายโอนความเป็นไปได้ ในการเกิดภัยพิบัติ รวมท้ังการเพิม่ ศกั ยภาพในการจัดการปญั หา เพ่ือเตรียมพรอ้ มรับผลกระทบทางลบของภยั การบรหิ ารจดั การความเสยี่ งแบบธรรมาภบิ าล (Risk Governance) หมายถงึ ระบบควบคมุ และจดั การ ความเสยี่ ง รวมถงึ การตรวจสอบและประเมนิ ผลจากหนว่ ยงานภายในและหนว่ ยงานภายนอกองคก์ รทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยน�ำผลของการประเมนิ ดังกลา่ วเสนอให้ผมู้ ีอ�ำนาจตดั สนิ ใจต่อไป การบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั /ิ สาธารณภยั (Disaster Management: DM) หมายถงึ การใชก้ ลไก กระบวนการ และองค์ประกอบในการด�ำเนินงาน เพื่อจุดมุ่งหมาย ในประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ของปฏิบัติการด้านภัยพิบัติ เชน่ การปอ้ งกนั การลด ผลกระทบ การเตรยี มพรอ้ ม การเผชญิ เหตุ การชว่ ยเหลอื บรรเทาทุกข์ ตลอดจนการบรู ณะ ซอ่ มแซมและพฒั นา การบรรเทาทกุ ข์ (Relief) หมายถงึ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื เบอ้ื งตน้ ในทนั ทที เี่ กดิ สาธารณภยั เพอ่ื รกั ษาชวี ติ และตอบสนองความต้องการขนั้ พน้ื ฐานใหผ้ ูป้ ระสบภยั สามารถด�ำรงชพี อย่ไู ด้ 162 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
การบญั ชาการ (Command) หมายถงึ การทำ� หนา้ ทอี่ ำ� นวยการ สง่ั การหรอื การควบคมุ โดยอาศยั อำ� นาจ ทก่ี ำ� หนดไวอ้ ย่างชดั เจนในกฎหมาย กฎระเบยี บหรอื อ�ำนาจหน้าที่ท่ีได้รับมอบ การบญั ชาการแบบมเี อกภาพ (Single Command) หมายถงึ โครงสรา้ งการบญั ชาการพน้ื ฐาน ทผี่ บู้ ญั ชาการ เหตุการณ์จะรบั ผดิ ชอบการบรหิ ารจดั การเหตุการณท์ ั้งหมดโดยลำ� พงั การบัญชาการร่วม (Unified Command) หมายถึง การประยุกต์ใช้ระบบบัญชาการเหตุการณ์เมื่อมี หนว่ ยงานทมี่ อี ำ� นาจหนา้ ทต่ี ามกฎหมายในการจดั การเหตฉุ กุ เฉนิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ มากกวา่ หนงึ่ หนว่ ยงาน หรอื เมอื่ เหตฉุ กุ เฉนิ ที่เกิดขน้ึ ขยายตัวขา้ มขอบเขตอำ� นาจหนา้ ทีท่ างการเมอื ง หนว่ ยงานต่าง ๆ จะทำ� งานรว่ มกนั ผ่านตัวแทนของแตล่ ะ หนว่ ยงานทไี่ ดร้ บั การแตง่ ตง้ั เปน็ สมาชกิ ในหนว่ ยบญั ชาการรว่ ม มหี นา้ ทห่ี ลกั ในการกำ� หนดวตั ถปุ ระสงคแ์ ละกลยทุ ธร์ ว่ ม และจดั ท�ำแผนเผชญิ เหตทุ จ่ี ะใชร้ ว่ มกันเพียงแผนเดยี ว การบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command) หมายถึง หน่วยบัญชาการท่ีท�ำหน้าที่รับผิดชอบ การจัดการเหตุการณฉ์ กุ เฉนิ ที่เกดิ ขึ้นในภาพรวม และประกอบดว้ ยผบู้ ัญชาการเหตกุ ารณ์ และเจา้ หนา้ ทส่ี นบั สนุน ทไ่ี ดร้ บั การมอบหมาย การประเมนิ ความเสยี หายและความตอ้ งการความชว่ ยเหลอื (Damage and Needs Assessment : DANA) หมายถงึ การประเมนิ ผลกระทบจากสาธารณภยั เพอ่ื วเิ คราะหค์ วามสามารถของผปู้ ระสบภยั ในการเผชญิ สถานการณ์ ฉกุ เฉนิ ดว้ ยตนเอง รวมทงั้ ความตอ้ งการความชว่ ยเหลอื เพม่ิ เตมิ จากหนว่ ยงานภายนอก เชน่ ความชว่ ยเหลอื ดา้ นอาหาร นำ้� ดื่ม การรกั ษาพยาบาล สุขอนามยั และการก�ำจัดสิ่งปฏกิ ลู ดา้ นสุขภาวะ ที่พกั พิง อุปกรณ์ยังชพี การประเมินความเสียหายและความสูญเสีย (Damage and Loss Assessment : DALA) หมายถึง การวิเคราะห์ผลกระทบจากสาธารณภัย เป็นการประมาณการเชิงปริมาณว่าเกิดผลกระทบอะไรข้ึนจากเหตุการณ์ สาธารณภยั โดยอาศัยการเก็บขอ้ มลู ทุติยภมู จิ ากพน้ื ทปี่ ระสบภยั ขอ้ มลู จากการประเมินจะน�ำไปใช้ในการประมาณ การซ่อมสร้างสง่ิ ก่อสร้างท่ีเสยี หายไป และเพอื่ ใช้ในการวางแผนเพื่อการฟ้นื ฟูจากความสญู เสยี การประเมนิ ความเสี่ยง (Risk Assessment) หมายถงึ กระบวนการก�ำหนดลกั ษณะ ขนาด หรอื ขอบเขต ของความเสย่ี งโดยการวเิ คราะหภ์ ยั ทเ่ี กดิ ขน้ึ รวมทง้ั ประเมนิ สภาวะการเปดิ รบั ตอ่ ความเสย่ี ง ความเปราะบางในการรบั มอื ของชมุ ชนทอี่ าจเปน็ อนั ตรายและคาดการณผ์ ลกระทบตอ่ ชวี ติ ทรพั ยส์ นิ การดำ� รงชวี ติ และสงิ่ แวดลอ้ ม เปน็ การวเิ คราะห์ ความน่าจะเป็นในการเกิดผลกระทบจากภัยในพื้นที่หนึ่ง ๆ มีประโยชน์ในการวางแผนเพ่ือการจัดการความเสี่ยง ทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต การประสานงาน ณ จดุ เดยี ว (National Single Window: NSW) หมายถงึ การเชอ่ื มโยงขอ้ มลู ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ แบบไรเ้ อกสาร ระหว่างหนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ งในกระบวนการ น�ำเขา้ สง่ ออกสนิ คา้ เพ่อื อ�ำนวยความสะดวกให้แก่ ผู้ประกอบการ ในการตรวจสอบใบอนญุ าต และใบรับรองต่าง ๆ ทางอิเลก็ ทรอนกิ สก์ อ่ นการตรวจปล่อยสินคา้ ระบบนี้ จะทำ� หนา้ ทป่ี ระสานกจิ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ แบบครบวงจร ผปู้ ระกอบการสามารถรบั สง่ ขอ้ มลู ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กับองค์กรทเ่ี กี่ยวขอ้ งไดอ้ ัตโนมัติ ตลอด 24 ช่ัวโมง โดยไม่ต้องเดินทางไปติดต่อกบั หนว่ ยงานตา่ งๆ ด้วยตัวเอง แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 163
การปรบั ตวั (Adaptation) หมายถงึ การปรบั ตวั ในระบบธรรมชาตหิ รอื ระบบมนษุ ยเ์ พอ่ื ตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ทางภมู อิ ากาศหรอื ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ จากสาธารณภยั ซง่ึ จะชว่ ยลดความเสยี หายทอี่ าจเกดิ ขนึ้ หรอื ชว่ ยสรา้ งโอกาส จากสภาวะวิกฤตได้ การปรบั ตวั โดยอาศยั ระบบนิเวศ (Ecosystem-based Adaptation : EbA) การใช้ความหลากหลาย ทางชวี ภาพและบรกิ ารของระบบนิเวศเป็นสว่ นหนงึ่ ของกลยุทธ์การปรบั ตัวเพือ่ ชว่ ยใหม้ นษุ ย์สามารถปรบั ตวั ต่อภัย ทเ่ี ปน็ ผลมาจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การปอ้ งกนั (Prevention) หมายถงึ มาตรการหรอื แนวทางตา่ งๆ เพอ่ื ชว่ ยขจดั ผลกระทบเชงิ ลบ จากเหตกุ ารณ์ สาธารณภยั ทอ่ี าจเกดิ กบั บคุ คลหรอื ทรพั ยส์ นิ ใหห้ มดไปอยา่ งสนิ้ เชงิ ครอบคลมุ ถงึ มาตรการ เชงิ โครงสรา้ งและมาตรการ ที่ไม่ใชเ่ ชิงโครงสร้าง การปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น (Civil Defense) หมายถงึ การปอ้ งกนั พลเรอื นใหป้ ลอดภยั จากการโจมตที างทหาร แตป่ จั จบุ นั ครอบคลมุ ถงึ การชว่ ยใหพ้ ลเรอื นปลอดภยั จากการคกุ คามทางสาธารณภยั ดว้ ย หนา้ ทขี่ องกองกำ� ลงั ปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น (Civil Defense Force) จากเดมิ ทมี่ แี ตก่ ารฝกึ การทหาร จงึ หมายรวมถงึ การดแู ลใหป้ ระชาชนปลอดภยั จากสาธารณภยั และการปฏิบตั ิการชว่ ยเหลอื เมื่อเกิดเหตุ สาธารณภยั เช่น การชว่ ยเหลือเคลื่อนย้ายในช่วงอพยพ การช่วยกระจายถุงยังชีพ การอ�ำนวยความสะดวก ในการขนส่งอุปกรณ์และเคร่ืองมือเครื่องใช้ การช่วยซ่อมแซม กอ่ สรา้ งบ้านเรอื นทเี่ สียหายจากภยั ธรรมชาติ การเผชิญเหตุ (Response) หมายถึง มาตรการหรือการปฏิบัติการต่าง ๆ ท่ีควรเกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว และทันท่วงทีเพ่ือรักษาชีวิตและให้ความช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ขั้นพื้นฐานแก่ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อน จากเหตกุ ารณส์ าธารณภยั เชน่ การกชู้ พี กภู้ ยั การปฐมพยาบาล การแจกถงุ ยงั ชพี และสงิ่ ของบรรเทาทกุ ข์ การบญั ชาการ ในเหตุการณ์ฉุกเฉิน การประสานงานเพ่ือลำ� เลยี งผปู้ ่วย การบริหารจัดการศูนยอ์ พยพ การฝกึ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (Exercise) หมายถงึ การจำ� ลองสถานการณเ์ พอื่ ฝกึ ฝนทกั ษะ หรอื ซกั ซอ้ มกระบวนการการดำ� เนนิ งานทไี่ ดว้ างแผนไว้ เปน็ แบบฝกึ หดั เพอ่ื ใหผ้ ทู้ ม่ี บี ทบาทหนา้ ที่ และความรบั ผดิ ชอบ ในการรบั มือสถานการณฉ์ กุ เฉนิ ไดฝ้ กึ ซอ้ มข้นั ตอนปฏิบัติท่ีจ�ำเปน็ ท�ำใหม้ ที ักษะสามารถใชเ้ ครอ่ื งมือ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ซง่ึ ชว่ ยให้พรอ้ มปฏิบตั ิงานไดจ้ รงิ หากเกดิ สาธารณภยั ขึ้น การฟื้นฟู (Recovery) หมายถึง การปรับสภาพระบบสาธารณูปโภค การด�ำรงชีพ และสภาวะวิถี ความเปน็ อยขู่ องชมุ ชนทป่ี ระสบภยั ใหก้ ลบั สสู่ ภาวะปกติ หรอื พฒั นาใหด้ ยี ง่ิ ขนึ้ กวา่ เกา่ ตามความเหมาะสม โดยการนำ� เอา ปัจจัยต่าง ๆ ในการลดความเสย่ี งจากสาธารณภัยเข้ามาช่วยในการฟ้นื ฟดู ว้ ย (Build back better) หมายรวมถึง การซอ่ มสร้าง (Reconstruction) และการฟืน้ สภาพ (Rehabilitation) การฟน้ื สภาพ, การเยยี วยา (Rehabilitation) หมายถงึ การจดั การความเสยี หายหรอื ผลทเี่ กดิ จากสาธารณภยั เพื่อพลิกฟื้นสภาวะการด�ำรงชีพของชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากการเกิดสาธารณภัยให้กลับคืนสู่สภาพท่ีเป็นอยู่ ก่อนหนา้ น้ี รวมทง้ั การดูแลสภาพจติ ใจและจิตสงั คม (Psychosocial Support) ของผู้ได้รบั ผลกระทบ ตลอดจน การกระตนุ้ และชว่ ยเหลอื ให้เกิดการปรับตัวให้เข้ากบั การเปล่ยี นแปลงตามความจำ� เป็น 164 แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
การร้รู ับ ปรับตัว และฟ้นื คนื กลบั (Resilience) หมายถึง ความสามารถของระบบ ชุมชน หรือสังคมทมี่ ี ความเสย่ี งตอ่ สาธารณภยั ในการเรยี นรเู้ กยี่ วกบั สภาพความเสย่ี งภยั ของตน รวมทง้ั รจู้ กั วางมาตรการและการปฏบิ ตั ติ วั เพอ่ื ชว่ ยลดหรอื ถา่ ยโอนความเสย่ี งดงั กลา่ ว เพอื่ ลดโอกาสในการไดร้ บั ผลกระทบจากสาธารณภยั และหากประสบกบั สาธารณภัยก็สามารถฟื้นตวั จากผลของภัยได้ด้วยแนวทางและในระยะเวลาท่เี หมาะสม หมายรวมถงึ ความสามารถ ของชมุ ชนในการดแู ลรักษาโครงสร้างและกลไกพ้นื ฐานทจี่ �ำเปน็ ใหป้ ลอดภัยจากสาธารณภัยด้วย การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ (Disaster Risk Reduction: DRR) หมายถึง แนวคิดและวิธีปฏิบัติ ในการลดโอกาสที่จะได้รับผลกระทบทางลบจากสาธารณภัยผ่านความพยายามอย่างเป็นระบบท่ีจะวิเคราะห์ และบริหารจัดการปัจจัยท่ีเป็นสาเหตุและผลกระทบของสาธารณภยั เพ่อื ดำ� เนินนโยบาย มาตรการ หรือกิจกรรมตา่ ง ๆ ในการลดความล่อแหลม ลดปัจจัยท่ีท�ำให้เกิดความเปราะบาง และเพิ่มศักยภาพในการจัดการปัญหา มีเป้าหมาย ในการลดความเส่ียงท่ีมอี ยูใ่ นชมุ ชนและสงั คมในปจั จบุ นั และปอ้ งกนั ความเส่ียงทีอ่ าจเกดิ ขึน้ ในอนาคต การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยใช้ระบบนิเวศเป็นฐาน (Ecosystem-based Disaster Risk Reduction : Eco-DRR) การจัดการอย่างยัง่ ยืน การอนรุ ักษแ์ ละฟ้ืนฟรู ะบบนเิ วศ เพอ่ื สร้างบรกิ ารของระบบนเิ วศ ทจ่ี ะชว่ ยลดความเสยี่ งภยั พบิ ตั ิ โดยการลดผลกระทบจากภยั ทเ่ี กดิ ขน้ึ และการเพมิ่ ความสามารถในการตงั้ รบั ปรบั ตวั ในการด�ำรงชีวิต การลดผลกระทบ (Mitigation) หมายถงึ ปฏบิ ัตกิ ารลดผลกระทบทางลบโดยตรงของภยั ท่ีเป็นอันตราย ตอ่ สงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม เนอื่ งจากผลกระทบทางลบของภยั โดยมากไมส่ ามารถขจดั ใหห้ มดไปอยา่ งสน้ิ เชงิ แตข่ นาด และความรนุ แรงของความเสยี หายสามารถลดทอนลงได้จากการด�ำเนนิ นโยบาย และกจิ กรรมตา่ ง ๆ การวเิ คราะหค์ วามเสย่ี ง, การประเมนิ ความเสยี่ ง (Risk Assessment) หมายถงึ กระบวนการกำ� หนดลกั ษณะ ขนาด หรือขอบเขตของความเสี่ยงโดยการวิเคราะห์ภัยที่เกิดขึ้นและประเมินสภาวะ การเปิดรับต่อความเส่ียง (Exposure) ความเปราะบาง (Vulnerability) และศกั ยภาพ (Capacity) ในการรบั มอื ของชมุ ชนทอี่ าจเปน็ อนั ตราย ต่อชวี ติ และทรพั ยส์ ิน การด�ำรงชวี ติ และสิง่ แวดลอ้ ม เปน็ การวิเคราะห์ ความนา่ จะเป็นในการเกิดผลกระทบจากภยั ในพ้นื ท่ีหนึ่ง ๆ มปี ระโยชน์ในการวางแผนเพอื่ จัดการความเส่ยี งอย่างมีระบบ ทีมสนับสนุนการจัดการเหตุการณ์ (Incident Management Assistance Team: IMAT) หมายถึง การจัดรูปแบบการบัญชาการเหตุการณ์ ซึ่งประกอบด้วยทีมงานบัญชาการและทีมงานปฏิบัติการ และเจ้าหน้าท่ี ท่ีเหมาะสมอื่น ๆ ภายในโครงสร้างระบบบัญชาการณ์ ท่ีสามารถจะจัดส่งไปปฏิบัติงานหรือลงมือปฏิบัติงานได้ ตามความจำ� เป็น มีการก�ำหนดคณุ สมบัตแิ ละการรบั รองอย่างเปน็ ทางการ การสอ่ื สารความเส่ยี ง (Risk Communication) หมายถึง การตดิ ตอ่ สือ่ สาร เชือ่ มโยงแลกเปลย่ี นขอ้ มูล ขา่ วสารและความคดิ เหน็ ระหวา่ งผปู้ ระเมนิ ความเสยี่ ง (Risk Assessor) ผจู้ ดั การความเสยี่ ง (Risk Manager) ผบู้ รโิ ภค ภาคอตุ สาหกรรม สถาบนั การศึกษาและกลุ่มหรือองคก์ รอนื่ ท่ีเกีย่ วขอ้ งและสนใจ (Stake Holder) เพ่ือให้ไดม้ าซงึ่ ข้อมูลที่ถูกต้องและแม่นย�ำ อาจกล่าวได้ว่าการสื่อสารความเสี่ยงน้ันมีอยู่ในทุกกระบวนการของการวิเคราะห์ ความเสยี่ ง แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 165
การอพยพ (Evacuation) หมายถงึ การเคลอ่ื นยา้ ย การกระจาย และการนำ� พลเรอื นออกจากพน้ื ทอ่ี นั ตราย หรอื พน้ื ทที่ อี่ าจเปน็ อนั ตรายอยา่ งเปน็ ระบบตามขนั้ ตอนและมกี ารกำ� กบั ดแู ล รวมถงึ การรบั รอง และการดแู ลบคุ คล เหลา่ น้ีในสถานทป่ี ลอดภยั ด้วย ข่าวสาร (Intelligence) หมายถึง ข่าวสารที่เก่ียวกับเหตุฉุกเฉินท่ีเกิดข้ึนเป็นองค์ประกอบท่ีส�ำคัญ ของการบัญชาการเหตกุ ารณ์ เป็นภารกจิ ของสว่ นแผนงานซง่ึ มุ่งเนน้ ไปท่ีข่าวสารในเหตฉุ ุกเฉนิ ขีดความสามารถ , ศักยภาพ (Capacity) หมายถึง ความสามารถท่ีจะกระท�ำการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรอื ความสามารถทอ่ี าจจะพฒั นาตอ่ ไปให้เปน็ ประโยชนม์ ากขนึ้ คลงั สำ� รองทรพั ยากร (Stockpiling) หมายถงึ วสั ดหุ รอื เสบยี งทสี่ ะสมไวเ้ พอื่ ใชใ้ นเวลาฉกุ เฉนิ หรอื ยามเกดิ ภัยพิบตั ิ เช่น อุปกรณป์ ฐมพยาบาล อาหาร น�้ำด่มื ไฟฉาย ถงุ นอน เครอ่ื งนุ่งห่ม เคร่อื งประกอบอาหาร ความปกตใิ หม่ , ฐานวถิ ีชวี ติ ใหม่ (New Normal) หมายถงึ รูปแบบการดำ� เนนิ ชีวิตอยา่ งใหม่ทแ่ี ตกต่าง จากอดีตอันเนื่องจากมีบางสิ่งมากระทบ จนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติท่ีคนในสังคมคุ้นเคย อย่างเป็นปกติ และเคยคาดหมายลว่ งหนา้ ได้ต้องเปล่ียนแปลงไปสวู่ ิถีใหมภ่ ายใต้หลักมาตรฐานใหมท่ ไี่ ม่ค้นุ เคย ความเปราะบาง (Vulnerability) หมายถงึ ปจั จยั หรอื สภาวะใด ๆ ทที่ ำ� ใหช้ มุ ชนหรอื สงั คม ขาดความสามารถ ในการปกปอ้ งตนเอง ท�ำใหไ้ ม่สามารถรบั มือกับสาธารณภยั หรอื ไม่สามารถฟื้นฟูได้อยา่ งรวดเร็วจากความเสยี หาย อนั เกดิ จากสาธารณภยั ปจั จยั เหลา่ นมี้ อี ยใู่ นชมุ ชนหรอื สงั คมมานานกอ่ นเกดิ สาธารณภยั และอาจเปน็ ปจั จยั ทที่ ำ� ให้ ผลกระทบของภัยมคี วามรุนแรงมากขึน้ ความรว่ มมอื ระหวา่ งภาครฐั และภาคเอกชน (Public-Private Partnership: PPP) หมายถงึ การรว่ มลงทนุ ระหวา่ งภาครฐั และภาคเอกชนในกจิ การของรฐั โดยมกั เปน็ การใหเ้ อกชนรว่ มลงทนุ ในโครงการพนื้ ฐาน หรอื โครงการ ใหบ้ รกิ ารสาธารณะในระยะยาวทม่ี งุ่ เนน้ การใหบ้ รกิ ารทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพคมุ้ คา่ กบั ตน้ ทนุ มากกวา่ ภาครฐั จะดำ� เนนิ การเอง เปน็ ทางเลือกในการพฒั นาประเทศอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ซง่ึ ให้เอกชนมสี ่วนร่วม ในกจิ กรรมต่าง ๆ เช่น การกอ่ สร้าง การด�ำเนินการบ�ำรุงรักษา การจัดหาเงินทุน การให้บริการ ซ่ึงเอกชนเป็นผู้บริหารจัดการความเส่ียงของโครงการ ตามระยะเวลาและรายละเอียดของสัญญาท่ีก�ำหนดไว้ ความล่อแหลม (Exposure) หมายถึง การท่ีผู้คน อาคารบ้านเรือน ทรัพย์สิน ระบบต่าง ๆ หรือ องค์ประกอบใด ๆ มที ่ตี งั้ อยูใ่ นพ้นื ที่เส่ยี งภยั และอาจได้รับความเสยี หาย ความเสี่ยงจากภัยพิบัติ (Disaster Risk) คือ โอกาสหรือความเป็นไปได้ในการได้รับผลกระทบทางลบ จากการเกิดสาธารณภยั โดยผลกระทบสามารถเกิดข้นึ กับชวี ิต สุขภาพ การประกอบอาชีพ ทรพั ย์สนิ และบริการต่าง ๆ ในระดับบคุ คลชมุ ชน สังคม หรอื ประเทศ ความสูญเสีย (Loss) หมายถึง ความเปลี่ยนแปลงของการหมุนเวียนสินค้าและบริการ รวมถึง สภาพทางเศรษฐกิจซึ่งเป็นผลจากสาธารณภัย ความเปล่ียนแปลงนี้เกิดขึ้นตั้งแต่ช่วงระยะเวลาที่เกิดสาธารณภัย จวบจนกระทั่งมีการซ่อมแซมหรือสร้างใหม่ของทรัพย์สินท่ีเสียหาย และมีการฟื้นฟูทางเศรษฐกิจอย่างสมบูรณ์ ในบางกรณีอาจใชเ้ วลาหลายปี 166 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
ความเสยี หาย (Damage) หมายถงึ ทรพั ยส์ นิ ทางกายภาพ เชน่ อาคารและสว่ นประกอบ โครงสรา้ งพน้ื ฐาน สนิ คา้ ทเี่ กบ็ ไวใ้ นคลงั และทรพั ยากรธรรมชาติ ทถ่ี กู ทำ� ลายทง้ั หมดหรอื บางสว่ น โดยความเสยี หายอาจเกดิ ขนึ้ ระหวา่ ง หรอื ภายหลงั จากประสบเหตกุ ารณภ์ ยั ในทนั ที ความเสยี หายถกู วดั ในเชงิ กายภาพ และคดิ คำ� นวณดว้ ยมลู คา่ ทดแทน เปน็ ตัวเงนิ ผลกระทบ (Impact) หมายถงึ ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ หรอื อาจเกดิ ขน้ึ กบั ประชาชน สงั คม เศรษฐกจิ และสงิ่ แวดลอ้ ม จากการเกิดเหตกุ ารณ์ใด ๆ ผบู้ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ (Incident Commander) หมายถงึ บคุ คลทมี่ หี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบการดำ� เนนิ กจิ กรรม ท้ังหมดทเี่ ก่ียวข้องกบั เหตฉุ ุกเฉนิ ท่เี กดิ ขึ้น และรบั ผิดชอบการพัฒนากลยุทธ์ และยทุ ธวธิ ี และการสั่งใช้ และการจัดส่ง ทรัพยากร ผู้บัญชาการเหตุการณ์มีอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบโดยรวมต่อการปฏิบัติการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน และรับผิดชอบการจดั การการปฏบิ ตั ิการตอบโต้เหตฉุ ุกเฉินในสถานทีเ่ กดิ เหตทุ ัง้ หมด ผู้อ�ำนวยการ (Director) หมายถึง ผู้อ�ำนวยการกลาง ผู้อ�ำนวยการจังหวัด ผู้อ�ำนวยการอ�ำเภอ ผอู้ ำ� นวยการท้องถ่นิ และผอู้ �ำนวยการกรงุ เทพมหานคร แผนท่ีเสี่ยงภัย (Hazard Map) หมายถึง แผนท่ีแสดงพ้ืนที่ซึ่งมีความเส่ียงต่อการเกิดภัย เช่น อุทกภัย สึนามิ ภูเขาไฟ ระเบิด เป็นผลของการประเมินความเป็นไปได้ ความถี่ของการเกิดภัย ตลอดจนความรุนแรง ของภยั นั้นๆ แผนเผชญิ เหตุ (Incident Action Plan) หมายถึง แผนซ่งึ จดั ท�ำเป็นลายลักษณ์อกั ษรหรือสง่ั ดว้ ยวาจา ซงึ่ ประกอบดว้ ยวตั ถปุ ระสงคท์ วั่ ไปทส่ี ะทอ้ นหรอื แสดงถงึ กลยทุ ธใ์ นภาพรวมสำ� หรบั การจดั การเหตฉุ กุ เฉนิ อาจรวมถงึ การก�ำหนดทรัพยากรท่ีจะใช้ในการปฏิบัติงาน ภารกิจที่มอบหมาย และข้อมูลข่าวสารส�ำหรับจัดการเหตุฉุกเฉิน ระหวา่ งช่วงระยะเวลาการปฏิบัติการช่วงหน่ึงหรอื หลายช่วง ภยั (Hazard) หมายถึง เหตกุ ารณท์ ี่เกิดจากธรรมชาตหิ รือการกระท�ำของมนุษยท์ อ่ี าจน�ำมาซ่งึ ความสูญเสยี ต่อชวี ิต ทรัพยส์ นิ ตลอดจนท�ำให้เกดิ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ สงั คม และสิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติ (Disaster) หมายถึง การหยุดชะงักอย่างรุนแรงของการปฏิบัติหน้าที่ ของชุมชนหรือสังคม อนั เปน็ ผลมาจากการเกดิ ภยั ทางธรรมชาตหิ รอื เกดิ จากมนษุ ย์ ซง่ึ สง่ ผลตอ่ ชวี ติ ทรพั ยส์ นิ สงั คม เศรษฐกจิ และสงิ่ แวดลอ้ ม อย่างกว้างขวางเกินกว่า ความสามารถของชุมชนหรือสังคมท่ีได้รับผลกระทบดังกล่าวจะรับมือได้โดยใช้ทรัพยากร ท่มี ีอยู่ ภาคประชาสังคม (Civil Society) หมายถึง บุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรอิสระซึ่งไม่แสวงหาผลก�ำไร ที่มีบทบาทในการด�ำเนินกิจกรรมเพ่ือสาธารณะ มีเป้าหมายเพื่อก่อให้เกิดความเปล่ียนแปลงที่ดีด้านสังคม และสิ่งแวดลอ้ ม มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP) หมายถึง วิธีการที่ได้ก�ำหนด หรือจดั ท�ำขน้ึ เพ่ือใหผ้ ู้มหี นา้ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งปฏิบัติตามอย่างเปน็ กจิ วัตรในการท�ำงานอยา่ งใดอย่างหน่ึง แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 167
ยทุ ธวธิ ี (Tactics) หมายถงึ การใชง้ านและการกำ� กบั ดแู ลทรพั ยากรทป่ี ฏบิ ตั กิ ารตอบโตเ้ หตฉุ กุ เฉนิ เพอื่ ให้ บรรลวุ ัตถปุ ระสงคท์ ี่กำ� หนดขน้ึ ด้วยกลยทุ ธ์ ระบบเตอื นภยั ลว่ งหนา้ (Early Warning System) หมายถงึ ระบบทม่ี ศี กั ยภาพในการประมวลผลขอ้ มลู และแจ้งเตือนตามชว่ งระยะเวลา เพื่อใหบ้ คุ คล ชุมชน และหน่วยงานท่เี ส่ยี งต่อภัยมีเวลาเพียงพอ ในการเตรียมการ และรับมือไดอ้ ย่างเหมาะสม เพอ่ื ลดโอกาสการเกดิ อันตรายและความสูญเสยี ระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ์ (Incident Command System: ICS) หมายถงึ แนวทางในการบรหิ ารจดั การ เหตกุ ารณท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั ภยั ทกุ ประเภทอยา่ งมมี าตรฐานในพน้ื ทเ่ี กดิ เหตุ ตงั้ แตเ่ หตฉุ กุ เฉนิ ขนาดเลก็ ไปจนถงึ เหตฉุ กุ เฉนิ ท่ีมีความซับซ้อน โดยผู้ปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ จากหน่วยงานที่เก่ียวข้องสามารถด�ำเนินการร่วมกันได้ ภายใต้การบัญชาการแบบรวมศูนย์ (unified command) โดยปกติมีการจัดโครงสร้างระบบเพ่ือการปฏิบัติงาน ใน 5 สายงานหลัก คือ ส่วนบัญชาการ (command) ส่วนปฏิบัติการ (operation) ส่วนแผนงาน (planning) สว่ นสนบั สนนุ กำ� ลงั บำ� รงุ หรอื โลจสิ ตกิ ส(์ logistics) และสว่ นการเงนิ /การบรหิ ารจดั การ (finance/administration) ซึ่งมีความยืดหยุ่นในการปรับลดหรือขยายส่วนงานที่อาจจ�ำเป็น หรือไม่จ�ำเป็นต้องใช้งาน ข้ึนอยู่กับลักษณะ ของเหตกุ ารณ์นน้ั ๆ สว่ นสนบั สนนุ (Logistics Section) หมายถงึ สว่ นทตี่ อบสนองการสง่ กำ� ลงั บำ� รงุ ทจี่ ำ� เปน็ และตอบสนอง การร้องขอรับการสนับสนุนในด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร สวัสดิการและความมั่นคงของมนุษย์ พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และงบประมาณและการบริจาค เพื่อให้การจัดการในภาวะฉุกเฉินด�ำเนินไป อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยให้หน่วยงานที่รับผิดชอบภารกิจในแต่ละด้านร่วมกันจัดท�ำ ขอบเขต แผนงาน ภารกจิ และโครงสรา้ งภายในของส่วนฯ ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command Post) หมายถึง สถานท่ีที่จัดต้ังข้ึนในพ้ืนท่ีเพ่ือใช้ ในการดำ� เนนิ ภารกจิ หลกั ศนู ยบ์ ญั ชาการอาจจะตง้ั อยรู่ วมกนั กบั ฐานทต่ี ง้ั หรอื สถานทอ่ี น่ื ๆ ทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ เพอื่ วตั ถปุ ระสงค์ ในการจัดการเหตฉุ กุ เฉนิ ศูนยป์ ฏิบัติการฉกุ เฉิน (Emergency Operations Center: EOC) หมายถึง สถานที่ท่ใี ช้ประสานงาน ดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสารและทรพั ยากรเพอื่ สนบั สนนุ การดำ� เนนิ กจิ กรรมการจดั การเหตฉุ กุ เฉนิ (การปฏบิ ตั กิ ารในสถานที่ เกิดเหตุ) ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินอาจเป็นสถานที่ช่ัวคราวหรืออาจเป็นสถานที่ศูนย์กลางหรือสถานท่ีมั่นคงถาวรกว่า หรืออาจจัดตั้งในองค์กรในระดับสูงกว่า หรืออาจจัดตามภารกิจหลักแต่ละด้าน หรือจัดตามขอบเขตอ�ำนาจหน้าท่ี และพนื้ ท่ีรบั ผิดชอบ ศนู ยป์ ระสานขอ้ มลู ร่วม (Joint Information Center: JIC) หมายถงึ สถานที่ท่ีจัดต้งั ขน้ึ เพอื่ ทำ� หนา้ ท่ี ประสานข้อมูลข่าวสารสาธารณะท่ีเก่ียวข้องกับการด�ำเนินกิจกรรมการจัดการเหตุฉุกเฉิน ศูนย์ประสานข้อมูล ร่วมเป็นจุดกลางของการตดิ ต่อสำ� หรับสือ่ ข่าวทุกประเภท 168 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว (Temporary shelter) หมายถงึ สถานทเ่ี พอ่ื ใหผ้ ปู้ ระสบภยั ใชอ้ ยอู่ าศยั เมอ่ื ไมส่ ามารถ เขา้ ถงึ ทอี่ ยอู่ าศยั ตามปกตไิ ด้ อาจเปน็ สถานทที่ ส่ี รา้ งจากวสั ดชุ วั่ คราว เชน่ เตน็ ท์ บา้ นจากวสั ดสุ งั เคราะห์ ทพี่ กั อาศยั ชว่ั คราวชนดิ อนื่ หรอื ในสถานการณใ์ ดสถานการณห์ นง่ึ อาจเปน็ สว่ นหนงึ่ ของนโยบาย หรอื เปน็ เอกสารทจี่ ดั ทำ� ตา่ งหาก โดยมีรายละเอยี ดดา้ นบุคลากร สถานที่ ระยะเวลา และแนวทางในการปฏิบัติอย่างชดั เจน หนว่ ยงานสนบั สนนุ (Supporting Agency) หมายถงึ หนว่ ยงานทใ่ี หก้ ารสนบั สนนุ และ/หรอื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นทรพั ยากรแกห่ น่วยงานอ่ืนๆ เอกภาพในการบญั ชาการ (Unity of Command) หมายถงึ หลกั การของระบบการบญั ชาการเหตกุ ารณ์ ทก่ี ำ� หนดใหแ้ ตล่ ะบคุ คลทท่ี ำ� หนา้ ทต่ี อบโตเ้ หตฉุ กุ เฉนิ จะไดร้ บั การมอบหมายใหอ้ ยภู่ ายใตผ้ คู้ วบคมุ ดแู ลเพยี งหนงึ่ คน เท่าน้ัน แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 169
ภาคผนวก ค กรอบแผนงานภายใต้แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 : การมุ่งเนน้ การลดความเสย่ี งจากสาธารณภัย กลยทุ ธ์ / แนวทางปฏบิ ัติ มาตรการ/กรอบแผนงาน หน่วยงานรบั ผิดชอบ หลัก สนบั สนนุ กลยุทธท์ ี่ 1 : พัฒนาและส่งเสริมใหม้ ีระบบการประเมนิ ความเสย่ี งจากสาธารณภัยทกุ ระดับ (ระดบั ชาติ จงั หวดั อำ� เภอ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ) 1. แนวทางปฏิบัติในการประเมินความเส่ียงจาก - การจัดท�ำขอ้ มูลฐาน (Baseline Data) และชุดข้อมลู (Data Set) ทีจ่ ำ� เป็น - กระทรวงมหาดไทย - องคก์ รภาครัฐ สาธารณภัย ส�ำหรับการจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภัยในพน้ื ท่ี เพ่อื จัดท�ำแผนท่ี ความ - กระทรวงกลาโหม - ภาคประชาสังคม แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 171 เสี่ยง (Risk Map) - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ อาทิ โครงการการพฒั นาแนวทางการประเมนิ ความเสยี่ งจากสาธารณภยั ระยะ - กระทรวงคมนาคม เวลาดำ� เนนิ งาน ตลุ าคม 2565 – กนั ยายน 2566 - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ - การวเิ คราะหค์ วามเสี่ยงโดยสรา้ งฉากทศั น์ (Scenario - based risk assess- และสง่ิ แวดลอ้ ม ment) ที่อาจเกิดขึน้ ในอนาคต - กระทรวงดิจทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม 2. แนวทางปฏิบตั ิในการใช้ผลการประเมนิ ความเสีย่ ง - การน�ำผลการประเมินความเสี่ยงมาก�ำหนดเป็นแนวทางในการก�ำหนด - กระทรวงพลังงาน เพ่อื การวางแผน แผนงาน/โครงการในการลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั - กระทรวงศึกษาธิการ 3. แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการสร้างความรู้ความเข้าใจเร่อื ง - โครงการการประยกุ ตใ์ ช้นวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการจัดการ ความเสย่ี ง - กระทรวงสาธารณสุข การลดความเสยี่ งจากสาธารณภยั เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ จากสาธารณภัยบรรจใุ นนโยบายระดับชาติ และระดบั พืน้ ท่ี - ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ - การส่ือสารความเสี่ยงของพ้ืนท่ีให้แก่ประชาชนและทุกภาคส่วนเพ่ือเตรียม และสังคมแหง่ ชาติ ความพร้อมรบั มอื กับสาธารณภยั - ส�ำนกั งานทรพั ยากรนำ้� แห่งชาติ - การจัดท�ำ ปรับปรุง และพัฒนาคู่มือประเมินความเสี่ยงจากสาธารณภัย (Disaster Risk Assessment Guideline) ทกุ ระดบั - การจัดทำ� ปรบั ปรงุ และพฒั นาสอ่ื การเรียนร้ใู หค้ รอบคลมุ ทกุ ภาคสว่ น - การพัฒนาศักยภาพให้ทุกภาคส่วนมีความรู้และความเข้าใจความเสี่ยงจาก สาธารณภยั - การจัดหลักสูตรการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย ในการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษานอกระบบ หมายเหตุ โครงการทีส่ �ำคญั ของหน่วยงานจะนำ� เขา้ ส่รู ะบบการติดตามและประเมนิ ผลแห่งชาติ (eMENSCR) ภายหลังไดร้ บั การอนุมัติจากคณะรฐั มนตรี
172 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 กลยุทธ์ / แนวทางปฏบิ ตั ิ มาตรการ/กรอบแผนงาน หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ กลยทุ ธท์ ี่ 2 : พฒั นามาตรการลดความเสีย่ งจากสาธารณภัย หลัก สนับสนุน 1. แนวทางปฏิบัติในการหลีกเลี่ยงความเส่ียง (Risk - การจัดท�ำผังเมือง โดยค�ำนึงถึงผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม กฎ ระเบียบ - กระทรวงมหาดไทย - องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ Avoidance) มาตรฐานความปลอดภัย - กระทรวงการพัฒนาสงั คม - หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง - การยา้ ยทตี่ ง้ั ชมุ ชน หมบู่ า้ นและอาคารสถานทอ่ี อกนอกพนื้ ทเ่ี สยี่ ง ตอ่ การเกดิ และความม่ันคงของมนุษย์ สาธารณภัย - กระทรวงการคลงั - การออกแบบโครงสร้างและใช้วัสดุในการก่อสร้างท่ีมีความคงทน และ - สำ� นักงานคณะกรรมการพัฒนา ปลอดภยั ระบบราชการ - ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ 2. แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการปอ้ งกนั และลดผลกระทบ จาก - การก�ำหนดพน้ื ท่ี และจดั กลมุ่ ท่ตี ัง้ ทางเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ความเสยี่ ง (Risk Prevention and Mitigation) - การกำ� หนดมาตรฐานการกอ่ สรา้ งอาคารทต่ี า้ นทานภยั ตา่ งๆ และไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ และภูมิสารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) สาธารณภยั - การเสรมิ ระบบนเิ วศวทิ ยา โดยใชแ้ นวทางการแกป้ ญั หาทอี่ าศยั ธรรมชาตเิ ปน็ พนื้ ฐาน (Natural-based Solution) เชน่ การเสรมิ สรา้ งความแขง็ แรงของตลง่ิ โดยการปลกู ตน้ ไม้ ไมพ้ ุม่ หญ้าแฝก และป่าโกงกางปอ้ งกนั ชมุ ชนริมน้ำ� หรือริม ทะเล - การขุดลอกคคู ลอง ทอ่ ระบายน�้ำ และรกั ษาความสามารถในการระบายนำ�้ ของพ้นื ทแ่ี บบปกตแิ ละแบบฉุกเฉิน - การพฒั นาบอ่ บาดาล และบอ่ น้ำ� ตน้ื - การปรับแผนการเกษตรเพ่อื กระจายความเส่ยี ง - การสร้างความตระหนกั เพ่ือปอ้ งกันการตดิ ต่อของเชือ้ โรค และอ่ืน ๆ - การออกกฎหมายทจี่ ำ� เปน็ ในการลดความเส่ียงจากสาธารณภยั 3. แนวทางปฏิบัติในการถ่ายโอนความเส่ียง (Risk - การสร้างระบบประกนั ภัย Transfer) - การออกพันธบัตรสาธารณภยั (Catastrophe/CAT bond) 4. แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการยอมรบั ความเส่ียง (Risk Ac- - การฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทุกระดับ ต้ังแต่ระดับชาติจนถึง - กระทรวงมหาดไทย - องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ceptance) ระดับพ้นื ท่อี ย่างสมำ�่ เสมอ - กระทรวงกลาโหม - หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ โครงการการฝกึ การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แบบบรู ณาการ ระยะ - กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม เวลาด�ำเนินงาน ตุลาคม 2565 – กันยายน 2566 - กระทรวงพาณิชย์ - การจัดทำ� แผนอพยพและจดั เตรยี มพ้ืนท่ีรองรบั การอพยพ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กลยุทธ์ / แนวทางปฏบิ ตั ิ มาตรการ/กรอบแผนงาน หน่วยงานรับผิดชอบ หลัก สนบั สนนุ - การจดั เตรยี มการจดั ตงั้ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว (Temporary Shelter Manage- - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ - องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ment) และสง่ิ แวดล้อม - หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง อาทิ โครงการสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มและพฒั นาศกั ยภาพในการบรหิ ารจดั การศนู ย์ - กรมประชาสัมพันธ์ พกั พงิ ช่วั คราว ระยะเวลาดำ� เนนิ งาน ตุลาคม 2565 – กันยายน 2566 - กองทัพเรอื - การจดั ท�ำแผนบริหารความต่อเน่อื ง (Business Continuity Plan: BCP) - สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�้ำ - การพฒั นาและเชอื่ มโยงระบบการแจง้ เตอื นภยั ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ แมน่ ยำ� และ (องค์การมหาชน) น่าเชอื่ ถอื สามารถเชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ยข้อมูลร่วมกับตา่ งประเทศ - ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 173 - การเตรียมความพร้อมดา้ นทรพั ยากรสาธารณภัย และภมู ิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) กลยทุ ธ์ท่ี 3 : ส่งเสริมให้ทุกภาคสว่ นและทุกระดบั เสรมิ สรา้ งความเป็นหุน้ ส่วนในการลดความเสย่ี งจากสาธารณภัย 1. แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการกำ� หนดใหเ้ ปน็ นโยบายแหง่ รฐั - การสง่ เสรมิ บทบาทการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในฐานะหนุ้ สว่ น ในการลด - กระทรวงการคลัง - หนว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง ทสี่ ำ� คัญ ความเสยี่ งจากสาธารณภัย - กระทรวงมหาดไทย - การสนับสนุนและจัดสรรงบประมาณส�ำหรับการลดความเส่ียงจาก สาธารณภยั - การศกึ ษา วจิ ัย และรวบรวมมาตรการข้อบังคบั กฎเกณฑ์ และระเบยี บ ที่ เกี่ยวข้องกับการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยของทุกภาคส่วนเพื่อใช้ จัดการกระบวนการและวางแผนในฐานะหุ้นส่วนในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ดว้ ยการประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม (Environmental Impact Assessment : EIA) - การทบทวนและปรบั ปรงุ นโยบาย กฎหมาย และบทบาทของทกุ ภาคสว่ นใน แต่ละระดบั ในการลดความเสี่ยงจากสาธารณภยั ของประเทศ - การจัดสมชั ชาการจดั การสาธารณภยั เป็นเวทีสาธารณะระดับชาติ - การจดั ทำ� บนั ทกึ ขอ้ ตกลงระหวา่ งภาคประชาสงั คม ภาคเอกชน กบั ภาครฐั ใน การนำ� นโยบายการลดความเส่ียงจากสาธารณภัยไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
174 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 กลยทุ ธ์ / แนวทางปฏิบตั ิ มาตรการ/กรอบแผนงาน หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ สนบั สนนุ หลัก - การพัฒนาและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนต้ังแต่ระดับชาติถึงชุมชนด�ำเนิน แผนงาน โครงการ/กจิ กรรม/เวทสี าธารณะทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การลดความเสยี่ งจาก สาธารณภัย - การจดั ตง้ั กองทนุ การจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั และกองทนุ พเิ ศษเพอื่ การจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั - การก�ำหนดมาตรการการเงินการคลงั และการสง่ เสริมการลงทุน เพ่ือการลด ความเส่ียงสาธารณภยั ให้แกภ่ าคประชาสังคม - การสง่ เสรมิ ใหภ้ าคประชาสงั คม เขา้ ถงึ ระบบประกนั ความเสย่ี ง การทำ� ประกนั ภยั การให้สนิ เช่ือฉกุ เฉนิ เพือ่ การถ่ายโอนความเส่ยี งจากสาธารณภยั 2. แนวทางปฏิบัติในการร่วมเป็นหุ้นส่วนในการลด - การเสรมิ สรา้ งใหภ้ าคประชาสงั คม สถาบนั การศกึ ษา องคก์ รวจิ ยั นกั วชิ าการ - ภาคประชาสงั คม ความเส่ยี งจากสาธารณภัย และผเู้ ชย่ี วชาญใหม้ สี ว่ นรว่ มในการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั ดา้ นการเผชญิ - สถาบันทางการศึกษา องค์กรวิจัย เหตแุ ละการฟื้นฟู นกั วชิ าการ ผ้เู ช่ียวชาญ - การศึกษา พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และสร้างสรรค์นวัตกรรม ด้านการ จัดการความเสยี่ งจากสาธารณภัย
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 : การเพิ่มประสทิ ธภิ าพระบบบริหารจดั การและประยกุ ต์ใช้นวัตกรรมดา้ นสาธารณภยั กลยทุ ธ์ / แนวทางปฏบิ ัติ มาตรการ/กรอบแผนงาน หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ หลัก สนบั สนุน กลยุทธ์ที่ 1 : พฒั นาระบบสารสนเทศดา้ นสาธารณภยั 1. แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการจดั ทำ� แพลตฟอรม์ (Platform) - การจดั ทำ� ควบคมุ ก�ำกบั ดแู ล แพลตฟอรม์ สารสนเทศดา้ นการจดั การ ความ - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เสยี่ งจากสาธารณภยั เพอื่ ใหห้ นว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งพฒั นาระบบสารสนเทศเชอื่ ม - กระทรวงดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกิจ - กระทรวงคมนาคม ตอ่ และใช้ประโยชน์ และสงั คม - กระทรวงสาธารณสุข อาทิ โครงการการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เพ่ือเพิ่ม - ส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล - กระทรวงพลังงาน ประสิทธิภาพการจัดการสาธารณภยั ระยะเวลาดำ� เนนิ งาน ตุลาคม 2565 – (องคก์ ารมหาชน) - สำ� นกั งานทรพั ยากรนำ้� แหง่ ชาติ กนั ยายน 2566 - ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 175 และภมู สิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน) 2. แนวทางปฏิบัติในการจัดท�ำมาตรฐานชุดข้อมูล - การจดั ทำ� พฒั นา ปรบั ปรุงระบบฐานขอ้ มลู ของแต่ละหนว่ ยงานให้มรี ูปแบบ สาธารณภัย เป็นมาตรฐานเดียวกนั อาทิ โครงการการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพ่ือเพิ่ม ประสิทธภิ าพการจัดการสาธารณภัย ระยะเวลาด�ำเนินงาน ตุลาคม 2565 – กนั ยายน 2566 3. แนวทางปฏิบัติในการพัฒนาระบบวิเคราะห์ และ - การพฒั นาระบบวเิ คราะห์และประมวลผล ภายใตแ้ พลตฟอรม์ (Platform) ประมวลผล สารสนเทศดา้ นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั เพอื่ สนบั สนนุ ระบบ การ ตดั สนิ ใจ (Decision Support System: DSS) ในการจดั การความเสยี่ งจาก สาธารณภัย อาทิ โครงการการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเพ่ิม ประสิทธภิ าพการจดั การสาธารณภัย ระยะเวลาด�ำเนินงาน ตลุ าคม 2565 – กนั ยายน 2566 4. แนวทางปฏิบัติในการจัดท�ำระบบน�ำเสนอข้อมูล - การจดั ทำ� ระบบสบื คน้ การคดั กรอง วเิ คราะหก์ ารแสดงผล ภายใตแ้ พลตฟอรม์ และการเขา้ ถงึ ข้อมลู (Platform) สารสนเทศดา้ นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั อาทิ โครงการ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการ จดั การสาธารณภยั ระยะเวลาดำ� เนนิ งาน ตุลาคม 2565 – กนั ยายน 2566 อาทิ โครงการการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเพ่ิม ประสทิ ธิภาพการจดั การสาธารณภัย ระยะเวลาดำ� เนินงาน ตุลาคม 2565 – กันยายน 2566
176 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 กลยุทธ์ / แนวทางปฏบิ ตั ิ มาตรการ/กรอบแผนงาน หน่วยงานรับผดิ ชอบ หลัก สนับสนนุ กลยทุ ธ์ที่ 2 : พฒั นาการจดั การองคค์ วามรดู้ า้ นการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย 1. แนวทางปฏิบัติในการส่งเสริมให้มีการวิจัย และ - การส่งเสริมการผสมผสาน ต่อยอดภูมิปัญญา และการน�ำหลักปรัชญาของ - กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ - หน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง พัฒนาเทคโนโลยี เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอ่ื การวางแผนปอ้ งกนั และลดผลกระทบไดอ้ ยา่ งเหมาะสม วจิ ัยและนวตั กรรม ตามบรบิ ทของพื้นทแ่ี ละการเปลีย่ นแปลงของสถานการณภ์ ัย ในอนาคต - กระทรวงศึกษาธิการ - การจัดต้ังศูนย์วิจยั ด้านการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ของประเทศ - กระทรวงมหาดไทย - การทำ� บนั ทกึ ขอ้ ตกลงกบั สถาบนั การศกึ ษา องคก์ รวชิ าการ เพอื่ ใหเ้ กดิ การสรา้ ง และการประยุกตใ์ ชน้ วัตกรรม 2. แนวทางปฏิบตั ิในการสง่ เสริมใหบ้ คุ ลากรไดร้ บั การ - การสนบั สนุนใหบ้ ุคลากรจากทุกภาคสว่ นเขา้ ใจในบทบาทหน้าท่ี และศึกษา พัฒนาองค์ความรู้ไปสู่การเป็นผู้เช่ียวชาญด้านการ อบรม พัฒนาองค์ความรูเ้ ฉพาะดา้ น จัดการ ความเสยี่ งจากสาธารณภยั ตามมาตรฐาน อาทิ โครงการเพ่ิมทักษะและยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติให้กับบุคลากร ดา้ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทกุ ระดบั ระยะเวลาดำ� เนนิ งาน ตลุ าคม 2565 – กันยายน 2566 และโครงการเพ่มิ ประสิทธภิ าพ การปฏบิ ัตงิ านของ เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั สงั กดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ระยะเวลาดำ� เนินงาน ตุลาคม 2565 – กันยายน 2566 - การแลกเปลีย่ นบุคลากรในการปฏบิ ัติงานระหวา่ งหนว่ ยงานท้งั ใน และตา่ งประเทศ - การทดสอบและประเมินเพื่อรับรองบุคลากรให้เป็นผู้เช่ียวชาญ ด้านการ จัดการความเส่ยี งจากสาธารณภัยในระดับสากล 3. แนวทางปฏิบัติในการส่งเสริมกระบวนการจัดการ - การถา่ ยทอดองคค์ วามรสู้ สู่ าธารณะดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การจดั เวทเี สวนา ความรดู้ า้ นสาธารณภยั สมั มนา อบรม สอ่ื ออนไลน์ - การส่งเสริมการแลกเปล่ยี นประสบการณ์ สังเคราะหบ์ ทเรียน แนวปฏิบัตทิ ด่ี ี (best practice) - การบรรจหุ ลกั สตู รในภาคการศึกษา - การจัดตั้งสถาบันการดับเพลิงและบรรเทาสาธารณภัย และสถาบันป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั ของประเทศ - การกำ� หนดมาตรฐานวชิ าชพี และมาตรฐานการฝกึ อบรมเกย่ี วกบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยให้แก่หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานภาคเอกชน - การกำ� หนดมาตรฐานวชิ าชพี และมาตรฐานการฝกึ อบรมเกยี่ วกบั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยให้แก่หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน และหนว่ ยงานภาคเอกชน
กลยุทธ์ / แนวทางปฏิบัติ มาตรการ/กรอบแผนงาน หน่วยงานรับผิดชอบ หลกั สนับสนุน กลยทุ ธ์ที่ 3 : พัฒนาการสอื่ สารความเสี่ยงจากสาธารณภยั ที่มีประสทิ ธภิ าพ 1. แนวทางปฏิบัติในการพัฒนาและสร้างรูปแบบ - การพัฒนารูปแบบ สื่อประชาสัมพันธ์ ท่ีมีความรวดเร็ว ครอบคลุมทันต่อ - ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการ - หนว่ ยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง การสื่อสารความเส่ยี งจากสาธารณภัยส่สู าธารณะ สถานการณ์ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ 2. แนวทางปฏิบัติในการพัฒนาระบบเตือนภัยแบบ - การพัฒนาการระบบเตือนภยั แบบครบวงจร (End-to-End Early Warning กจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ ครบวงจร (End-to-End Early Warning System) System) ที่สามารถแจ้งเตือนภัยท่ีหลากหลายประเภทภัย (Multi-Hazard) - กระทรวงมหาดไทย ที่สามารถแจ้งเตือนภัยที่หลากหลายประเภทภัย น�ำไปสู่การแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า รวมถึงข่าวสารข้อมูลท่ีมีความแม่นย�ำ (Multi-Hazard) ตรงเป้าหมายทุกกลุ่ม อาทิ โครงการพัฒนาระบบการแจ้งเตอื นอทุ กภัยระดับ พ้ืนท่ีเพ่ือการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าที่มีประสิทธิภาพ ระยะเวลาด�ำเนินงาน แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 177 ตุลาคม 2565 – กนั ยายน 2566 กลยทุ ธท์ ่ี 4 : ส่งเสรมิ การลงทุนด้านการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั แบบมีสว่ นร่วมจากภาครฐั เอกชน และภาคประชาสังคมในระดับชาติ จงั หวัด อ�ำเภอ และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ 1. แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการสง่ เสรมิ ใหภ้ าครฐั ภาคเอกชน - การจดั สรรงบประมาณเพอื่ การบำ� รงุ รกั ษาหรอื บรู ณะระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐาน - กระทรวงการคลัง - หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้อง และภาคประชาชนมกี ารลงทนุ แบบมสี ว่ นรว่ ม ดา้ นการ สง่ิ สาธารณปู โภค สาธารณูปการที่มีอยู่เดิม และกอ่ สร้างใหม่ - กระทรวงมหาดไทย จัดการความเสี่ยงจากสาธารณภยั - กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ 2. แนวทางปฏิบัติในการเสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วน - การสนับสนุนและด�ำเนินกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการความเสี่ยง วิจยั และนวตั กรรม ระหว่างภาครัฐ เอกชน และประชาชนในการจัดการ จากสาธารณภยั ระหวา่ งภาครฐั ภาคเอกชนหรอื ชมุ ชน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรบั ผดิ ชอบ - กระทรวงศกึ ษาธิการ ความเสยี่ งจากสาธารณภยั ในทุกระดบั การมีส่วนร่วมการตัดสินใจ และผลประโยชนร์ ว่ มกนั - กระทรวงวฒั นธรรม 3. แนวทางปฏิบัติในการก�ำหนดกลไก/มาตรการ - การจัดต้ังกองทนุ การจดั การสาธารณภยั - การก�ำหนดมาตรการยกเวน้ หรอื - กระทรวงสาธารณสขุ ทางการเงินและการคลัง เพ่ือส่งเสริมการจัดการ ลดภาษสี ำ� หรบั ผปู้ ระกอบการ และประชาชนเพอ่ื จงู ใจใหต้ ระหนกั ถงึ สาธารณภยั ความเสีย่ งจากสาธารณภยั ท่อี าจจะเกดิ ขนึ้ 4. แนวทางปฏิบัติในการส่งเสริมธุรกิจประกันภัยเพ่ือ - การจดั ตงั้ งบประมาณเพ่อื สนับสนนุ ระบบประกันภยั ด้านสาธารณภยั ลดความเสยี่ งจากสาธารณภัย - การก�ำหนดมาตรการ/แนวทางเพ่ือจัดสรรงบประมาณอุดหนุนเบี้ยประกัน บางส่วนให้กบั ผ้มู สี ่วนไดส้ ว่ นเสียในพนื้ ท่เี สี่ยงจากสาธารณภัย - การจัดท�ำข้อตกลงกับบริษัทประกันภัยในระดับสากลเพ่ือรับประกัน สาธารณภัย
178 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 กลยุทธ์ / แนวทางปฏิบตั ิ มาตรการ/กรอบแผนงาน หน่วยงานรบั ผิดชอบ หลกั สนับสนนุ กลยทุ ธท์ ่ี 5 : เสรมิ สร้างการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคส่วนในการจดั การความเสีย่ งจากสาธารณภยั 1. แนวทางปฏิบัติในการพัฒนาความร่วมมือระหว่าง - การฝกึ อบรมใหค้ วามรดู้ า้ นการจดั การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แกผ่ นู้ ำ� - กระทรวงมหาดไทย - หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ภาคเี ครอื ขา่ ย ภาคประชาชน อาสาสมคั ร และอนื่ ๆ ชุมชนรวมถึงคนในชุมชน เพ่ือกระตุ้นให้ชุมชนตระหนักถึงสภาพความเสี่ยง - กระทรวงการพฒั นาสังคม ในพื้นท่ีและเข้ามามีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนทุกข้ันตอนของการจัดการ และความม่ันคงของมนุษย์ สาธารณภยั - กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ - การสร้างแนวทางการบรหิ ารจดั การสาธารณภยั ระดบั ชุมชน โดยมุ่งเนน้ การ วิจยั และนวตั กรรม วางกลไกขับเคล่ือนกิจกรรมการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยในรูปแบบ - สภากาชาดไทย คณะกรรมการ โดยมีชุมชนเป็นศูนย์กลางในการวางแผนเตรียมพร้อมรับมือ - กระทรวงศึกษาธิการ ปอ้ งกนั จดั การบรรเทาและฟื้นฟคู วามเสยี หายจากสาธารณภยั อาทิ โครงการการจดั การอทุ กภยั โดยอาศยั ชมุ ชนเปน็ ฐาน (Community – Based Flood Management : CBFM) ระยะเวลาด�ำเนินงาน ตุลาคม 2565 – กนั ยายน 2566 - การตดิ ตามความก้าวหนา้ หรอื ผลสัมฤทธิ์การดำ� เนนิ การ และนำ� ผลจาก การ ติดตามและประเมินผลมาใช้พัฒนาแนวทางการพัฒนาความร่วมมือท่ีมี ประสิทธิภาพ - การฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แบบมีสว่ นรว่ มอย่างตอ่ เน่ือง 2. แนวทางปฏิบัติในการพัฒนาศักยภาพชุมชนหรือ - การพัฒนาระบบอัจฉริยะ (Smart Community/City) โดยสรา้ งศกั ยภาพ เมืองให้มีขีดความสามารถในการจัดการความเส่ียง การจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยของชุมชนและเมือง (Community จากสาธารณภัย Based Disaster Risk Management) ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะ ภายใตก้ รอบแนวคดิ “รูร้ ับ - ปรบั ตัว - ฟืน้ เรว็ ทั่ว - อย่างยัง่ ยืน (Resilience)”
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 : การสง่ เสรมิ ความเป็นหุ้นสว่ นระหวา่ งประเทศในการจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภัย กลยุทธ์ / แนวทางปฏบิ ัติ มาตรการ/กรอบแผนงาน หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ หลกั สนบั สนนุ กลยทุ ธท์ ่ี 1 : เสริมสร้างความเป็นหนุ้ ส่วนยทุ ธศาสตรด์ า้ นการจดั การความเส่ียงจากสาธารณภัยระหว่างประเทศ แนวทางปฏิบัติในการส่งเสริมความเป็นหุ้นส่วน - การจดั ท�ำบนั ทกึ ความเข้าใจ (Memorandum of Understanding: MOU) - กระทรวงมหาดไทย - หน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั ความร่วมมือทางวิชาการด้านการลดความเสีย่ งจากสาธารณภยั - กระทรวงการต่างประเทศ ทั้งแบบทวิภาคี และพหุภาคีของประเทศไทยและ - การจัดท�ำโครงการความร่วมมือเพื่อการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจาก ประเทศหนุ้ ส่วน สาธารณภัย - การจดั ทำ� ความรว่ มมอื เพอ่ื การพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม เพอ่ื การปอ้ งกนั และลดผลกระทบ เช่น การจดั ทำ� แผนทีเ่ สี่ยงภยั การพฒั นาระบบเตือนภยั - การจดั ทำ� ความรว่ มมือดา้ นแผนการฟ้นื ฟูหลังการเกดิ สาธารณภัย - การเป็นเจ้าภาพร่วมจัดการประชุมระหว่างประเทศเพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยน แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 179 (Platform) องคค์ วามรทู้ างวิชาการ ประสบการณ์ แนวทางปฏบิ ัติทดี่ ี (Best Practice) และการฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั - การจดั ทำ� ความรว่ มมอื เพอ่ื การแลกเปลย่ี นและจดั สง่ ผเู้ ชย่ี วชาญ ไปปฏบิ ตั งิ าน กลยทุ ธ์ที่ 2 : พัฒนาระบบการประสานความช่วยเหลอื ด้านมนุษยธรรมทม่ี เี อกภาพ 1. แนวทางปฏิบัติ “การรับ” ความชว่ ยเหลือ - การจดั ทำ� มาตรฐาน แผนปฏบิ ตั กิ าร คมู่ อื และขน้ั ตอนการรบั ความชว่ ยเหลอื - กระทรวงการต่างประเทศ - หนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ ง ด้านมนุษยธรรมจากตา่ งประเทศ ดา้ นมนุษยธรรมจากต่างประเทศ ไดแ้ ก่ 1) แนวทางปฏิบตั ิของประเทศไทยใน - กระทรวงมหาดไทย การขอรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศ 2) เงื่อนไขและขั้นตอนในการรับ - กระทรวงกลาโหม และการเปดิ รบั รอ้ งขอ ปฏเิ สธ และยตุ คิ วามชว่ ยเหลอื จากตา่ งประเทศ 3) การ - กระทรวงการคลงั จดั การขอ้ มลู ดา้ นสาธารณภยั 4) การจดั การระบบการประสานความชว่ ยเหลอื ด้านมนุษยธรรม ณ จุดเดียว (National Single Window: NSW) และ 5) ข้ันตอนการอ�ำนวยความสะดวกและการดูแลความปลอดภัยให้แก่ ต่างประเทศ องค์การระหวา่ งประเทศ และองค์กรต่างประเทศอนื่ ๆ - การจดั ทำ� โครงการฝกึ การรบั ความชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมจากตา่ งประเทศ 2. แนวทางปฏบิ ตั ิ “การให้” ความชว่ ยเหลือ - การจัดท�ำมาตรฐาน แผนปฏิบัตกิ าร คู่มือและขน้ั ตอนการให้ความชว่ ยเหลอื - กระทรวงการต่างประเทศ - ภาคเอกชน ดา้ นมนษุ ยธรรมแกต่ า่ งประเทศ ด้านมนุษยธรรมแก่ต่างประเทศ ได้แก่ 1) หน้าท่ีความรับผิดชอบของ - กระทรวงมหาดไทย - มูลนิธิ ประเทศไทยในฐานะผใู้ หค้ วามชว่ ยเหลอื 2) หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของประเทศ - กระทรวงกลาโหม - หนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้อง ผู้รับความชว่ ยเหลือ 3) เงือ่ นไขและขั้นตอนในการให้และยตุ ิ ความช่วยเหลอื - กระทรวงสาธารณสขุ และ 4) บัญชีทรัพยากรส�ำหรับปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรม ส�ำหรับกรณีท่ีจะ ต้องมีการดำ� เนินการร่วมกนั ในทางปฏิบัติ - การจดั ทำ� โครงการฝกึ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรม แกต่ า่ งประเทศ
180 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 กลยทุ ธ์ / แนวทางปฏิบตั ิ มาตรการ/กรอบแผนงาน หน่วยงานรับผิดชอบ หลกั สนบั สนุน กลยุทธ์ท่ี 3 : ยกระดบั มาตรฐานการปฏบิ ัติงานด้านมนษุ ยธรรม แนวทางปฏิบัติเพื่อยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติงาน - การจัดท�ำข้นั ตอน ระเบยี บ และกฎหมายท่เี กยี่ วข้องกบั กระบวนการน�ำเข้า - กระทรวงการคลงั - กระทรวงตา่ งประเทศ ด้านมนุษยธรรม สง่ ออก และโลจสิ ตกิ ส์ เรง่ รดั การดำ� เนนิ การพฒั นาระบบเชอื่ มโยงและแลกเปลย่ี น - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงสาธารณสุข ข้อมลู ผา่ นระบบ (National Single Window: NSW) - กระทรวงกลาโหม - การจัดท�ำข้ันตอนเก่ียวข้องกับการยกเว้นภาษี การเดินทางเข้า/ออกของ บคุ ลากร การนำ� เขา้ /สง่ ออก อปุ กรณ์ สงิ่ อำ� นวยความสะดวก สง่ิ ของบรรเทาทกุ ข์ และอนื่ ๆ - การจดั ทำ� แนวทาง/แบบฟอรม์ สำ� หรบั ระบบการตดิ ตาม (Tracking) การจดั เกบ็ การจดั สรร และการแจกจา่ ยสงิ่ ของสำ� รองจา่ ยในคลงั สำ� รองทรพั ยากรทกี่ ำ� หนด ไวใ้ นแตล่ ะภาค (Stockpiling) - การจดั ทำ� ระบบขอ้ มลู สารสนเทศหลกั ของประเทศเพอื่ ใชเ้ ปน็ ชอ่ งทางในการ ประชาสัมพันธ์ สื่อสาร และตดิ ตามเกีย่ วกับการประสาน ความช่วยเหลือด้าน มนษุ ยธรรมกบั ตา่ งประเทศ และองคก์ รผใู้ ห้ ความชว่ ยเหลอื ตลอดจนประชาชน ทวั่ ไป - การจัดท�ำโครงการเพ่ือการพัฒนาศักยภาพทรัพยากรบุคคล ในด้านระบบ สารสนเทศและเทคโนโลยีรูปแบบใหม่ เช่น การจัดเก็บข้อมูลสาธารณภัย การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงลึก การใช้องค์ความรู้ด้านภูมิศาสตร์สารสนเทศ (Geographic Information System: GIS) การใชแ้ ผนทด่ี าวเทยี ม (Satellite) การควบคมุ อากาศยานไรค้ นขบั (Drone) รวมถงึ การใชป้ ญั ญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence: AI) เพ่ือน�ำมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบการ พิจารณาจัดท�ำกรอบนโยบายและแผนปฏบิ ตั กิ าร ด้านการจัดการภัยพบิ ัติ - การพัฒนาแนวทางการสนับสนุนการด�ำเนินงานของคณะกรรมการอาเซียน ดา้ นการจัดการภัยพบิ ตั ิ (ASEAN Committee on Disaster Management: ACDM) ในส่วนที่เกยี่ วข้อง
กลยุทธ์ / แนวทางปฏบิ ัติ มาตรการ/กรอบแผนงาน หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ หลกั สนบั สนนุ กลยุทธ์ท่ี 4 : สง่ เสริมความเปน็ ประเทศทีม่ ีบทบาทน�ำดา้ นการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภัย 1. แนวทางปฏบิ ตั สิ ง่ เสรมิ และพฒั นาการให้ ความชว่ ยเหลอื - การจัดท�ำมาตรฐานการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ด้านมนษุ ยธรรมตามหลักองค์การ - กระทรวงมหาดไทย - หนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง ด้านมนุษยธรรมท้ังภายในและระหว่างประเทศตาม สหประชาชาติกลมุ่ งานด้านมนุษยธรรม (Cluster Approach) ทเี่ ก่ียวขอ้ ง - ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนา มาตรฐานตามหลักสากล - การจดั ทำ� โครงการพฒั นาศักยภาพชุดค้นหาและก้ภู ยั ในเขตเมอื ง ทัง้ ภายใน ขา้ ราชการพลเรอื น และระหวา่ งประเทศ (Urban Search and Rescue: USAR) - ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนา - การจดั ทำ� แนวทางการปฏบิ ตั งิ านของทมี ปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทางการแพทยแ์ ละ ระบบราชการ สาธารณสขุ ในภาวะภยั พบิ ตั ขิ องประเทศไทย (Thailand Emergency Medical - กระทรวงสาธารณสุข แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 181 Team: Thailand EMT) ทม่ี สี มรรถนะสงู ตามมาตรฐานขององคก์ ารอนามยั โลก - กระทรวงสาธารณสขุ (World Health Organization: WHO) ในการปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั ทมี EMT ของ ประเทศต่าง ๆ - การจัดการประชุม สมั มนา ฝกึ อบรมด้านการประสานความร่วมมือระหวา่ ง พลเรอื น – ทหาร (Civil – Military Coordination) โดยสง่ เสรมิ บทบาททางทหาร ในการจดั การความเส่ียงสาธารณภัยทงั้ ในและระหวา่ งประเทศ 2. แนวทางปฏิบัติให้การสนับสนุนความเป็นหุ้นส่วน - การจดั โครงการความรว่ มมอื ทางวชิ าการ การวจิ ยั การจดั ทำ� หลกั สตู รฝกึ อบรม - หน่วยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง ทางวชิ าการ และจัดให้มีโครงการศึกษาวจิ ัย ฝกึ อบรม นานาชาติ การศึกษาดงู าน ด้านการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย และศกึ ษาดงู าน ดา้ นการพฒั นามาตรฐานการลดความเสยี่ ง จากสาธารณภยั ร่วมกับนานาชาติ
182 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 : การจัดการในภาวะฉุกเฉนิ แบบบรู ณาการ กลยุทธ์ / แนวทางปฏบิ ตั ิ มาตรการ/กรอบแผนงาน หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ หลกั สนับสนนุ กลยทุ ธท์ ่ี 1 : พฒั นามาตรฐานการจัดการในภาวะฉุกเฉนิ อยา่ งมเี อกภาพ 1. แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการแจง้ ระดบั สถานการณส์ าธารณภยั - การพฒั นาแนวทางในการแจง้ ระดบั สถานการณส์ าธารณภยั ใหห้ นว่ ยงานภาครฐั - สำ� นกั เลขาธิการนายกรฐั มนตรี - กระทรวงพลังงาน ให้หนว่ ยงานภาครัฐในการจดั การสาธารณภัย ในการจดั การสาธารณภัย - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงอุตสาหกรรม 2. แนวทางปฏิบัติในการจัดการเม่ือเกิดสาธารณภัย - การพัฒนาแนวทางในการจัดการเมื่อเกิดสาธารณภัยในทุกระดับ - กรมประชาสมั พนั ธ์ - กระทรวงสาธารณสุข ตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตามพระราชบญั ญัติปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 - กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2550 - กระทรวงกลาโหม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3. แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการจดั ตงั้ องคก์ รปฏบิ ตั กิ ารจดั การ - การพฒั นาแนวทางในการจัดต้ังองค์กรปฏิบตั ิการจดั การในภาวะฉุกเฉิน - กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ ในภาวะฉกุ เฉิน และสังคม - กองอ�ำนวยการรักษาความ 4. แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นท่ีประสบ - การพฒั นาแนวทางในการประกาศเขตพน้ื ทป่ี ระสบสาธารณภยั /ประกาศเขต มนั่ คงภายในราชอาณาจกั ร สาธารณภัย/ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพบิ ัติกรณีฉกุ เฉนิ - องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ประสบภัยพบิ ัตกิ รณีฉกุ เฉิน 5. แนวทางปฏิบัติในการตดั สนิ ใจยกระดบั การจัดการ - การพัฒนาแนวทางในการตัดสินใจยกระดับการจัดการสาธารณภัย เช่น สาธารณภยั การจัดทำ� คมู่ ือผูบ้ ัญชาการเหตุการณ์ 6. แนวทางปฏิบตั ิในการอพยพ - การพฒั นาแนวทางในการอพยพ เชน่ การจดั ทำ� คมู่ อื การอพยพ การจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของผอู้ พยพตามกลมุ่ เปราะบาง และการจดั พนื้ ทอ่ี พยพทปี่ ลอดภยั กลยทุ ธท์ ี่ 2 : พัฒนาระบบและเครอื่ งมอื สนับสนุนการเผชิญเหตุ 1. แนวทางปฏิบตั ิในการส่ือสารและโทรคมนาคม - การพฒั นาโครงสรา้ งระบบการตดิ ต่อส่ือสารและโทรคมนาคม เพือ่ สนับสนุน - กระทรวงดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ - ส�ำนกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ การจัดการในภาวะฉุกเฉิน และสังคม - กระทรวงกลาโหม - การพัฒนาระบบการแจ้งเหตุและการสนับสนุนข้อมูลด้านสาธารณภัย - กระทรวงมหาดไทย แกป่ ระชาชน อาทิ โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพระบบการรับแจ้งและรายงานเหตุด่วน สาธารณภัย ระยะเวลาด�ำเนนิ งาน ตลุ าคม 2565 – กนั ยายน 2566
กลยุทธ์ / แนวทางปฏิบตั ิ มาตรการ/กรอบแผนงาน หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ หลัก สนบั สนนุ 2. แนวทางปฏิบัติในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ - การพัฒนาระบบการจัดการข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนหรือคาดว่าจะ - กรมประชาสมั พันธ์ ข้อมูลข่าวสารในภาวะฉกุ เฉิน เกดิ ขนึ้ ให้ทกุ ภาคส่วนรบั รู้และเขา้ ใจในสถานการณ์ (Situation Awareness) - กระทรวงมหาดไทย 3. แนวทางปฏิบัติในการบัญชาการเหตุการณ์ (Inci- - การพฒั นาระบบการบญั ชาการเหตกุ ารณ์ (Incident Command System: - กระทรวงมหาดไทย - หน่วยงานท่ีเกยี่ วข้อง dent Command) ICS) มาประยุกต์ใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในการสั่งการ ควบคมุ และประสาน ความร่วมมอื ของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพ่ือให้การจัดการในภาวะฉุกเฉินเป็นไปอย่างมี ประสิทธภิ าพ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 183 4. แนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนการปฏิบัติงานใน - การพัฒนาแนวทางในการสนบั สนนุ การปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉนิ (สปฉ.) ภาวะฉกุ เฉนิ : สปฉ. (Emergency Support Function: - การจัดท�ำแผนสนับสนุนการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉินให้เป็นไปในทิศทาง ESF) เดียวกนั 5. แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการสนบั สนนุ การจดั การเหตกุ ารณ์ - การพัฒนาทักษะทมี สนบั สนนุ การจดั การเหตุการณ์ กลยทุ ธ์ท่ี 3 เพิม่ ประสทิ ธภิ าพระบบและแนวปฏิบัตใิ นการบรรเทาทุกข์ 1. แนวทางปฏบิ ัตใิ นการขอใชเ้ งินทดรองราชการ เพ่อื - การพฒั นาแนวทางในการขอใชเ้ งนิ ทดรองราชการเพอื่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั - กระทรวงการพัฒนาสงั คม - กระทรวงสาธารณสุข ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพบิ ัตกิ รณีฉกุ เฉิน พิบตั ิกรณฉี ุกเฉิน และความมัน่ คงของมนษุ ย์ - กระทรวงแรงงาน 2. แนวทางปฏิบัติในการประเมินความเสียหาย และ - การพฒั นาแนวทางในการประเมนิ ความเสยี หายและความตอ้ งการ ความชว่ ยเหลอื - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงวฒั นธรรม ความตอ้ งการความช่วยเหลอื (Damage and Need (Damage and Need Assessment: DANA) - กระทรวงศกึ ษาธิการ - ส�ำนักงานตำ� รวจแหง่ ชาติ - สภากาชาดไทย - กองอ�ำนวยการรักษาความ Assessment: DANA) มนั่ คงภายในราชอาณาจกั ร - องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 3. แนวทางปฏิบัติในการรับบรจิ าค - การพฒั นาแนวทางในการรับบริจาค 4. แนวทางปฏบิ ตั ิในการรายงานข้อมลู - การพัฒนาแนวทางในการรายงานข้อมลู 5. แนวทางปฏบิ ัติในการจดั ตงั้ ศนู ยพ์ ักพิงชัว่ คราว - การพัฒนาแนวทางในการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว เช่น การจัดท�ำคู่มือ ศูนย์พักพงิ ช่วั คราว
184 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 : การเพิม่ ประสทิ ธิภาพการฟ้ืนฟอู ย่างยั่งยืน กลยทุ ธ์ / แนวทางปฏิบตั ิ มาตรการ/กรอบแผนงาน หน่วยงานรับผิดชอบ หลกั สนับสนนุ กลยทุ ธท์ ่ี 1 : พฒั นาระบบการประเมินความเสี่ยงหลังเกดิ สาธารณภยั เพือ่ การฟ้ืนฟูท่ดี ีกว่าเดิม 1. แนวทางปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือประชาชน - การจดั ทำ� คมู่ อื หรอื แบบฟอรม์ การสำ� รวจและประเมนิ ความเสยี หายหลกั การ - กระทรวงมหาดไทย - หน่วยงานที่เกีย่ วข้อง เพือ่ การฟืน้ ฟหู ลังเกดิ สาธารณภัย เกดิ สาธารณภัย 2. แนวทางปฏบิ ัติในการจัดทำ� มาตรฐานแบบประเมิน - การจัดท�ำมาตรฐานแบบประเมนิ ความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย (PDNA) - กระทรวงสาธารณสขุ - หน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง ความตอ้ งการหลงั เกดิ สาธารณภยั (PDNA) ไดแ้ ก่ จดั ทำ� ขอ้ มลู ฐาน (Baseline Data & Information) ประเมนิ ความเสยี หาย - กระทรวงมหาดไทย และความสูญเสีย (Damage and Loss Assessment: DALA) ประเมินผลกระทบ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทต่ี ามมา (Impacts) ประเมนิ ความตอ้ งการในการฟน้ื ฟู (Needs Assessment) - กระทรวงการคลัง จัดท�ำกรอบการฟ้ืนฟู (Recovery Framework) ที่เก่ียวขอ้ ง - กระทรวงการพัฒนาสังคม อาทิ โครงการการศึกษาและพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน ดา้ นการประเมนิ และความม่ันคงของมนุษย์ ความเสียหายและความต้องการความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติของประเทศ - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และ ระยะเวลาดำ� เนินงาน ตลุ าคม 2565 – กนั ยายน 2566 ส่งิ แวดล้อม - สำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และ สังคมแหง่ ชาติ - ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ 3. แนวทางปฏิบัติในการจัดตั้งระบบและกลไกในการ - การจดั ทำ� มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (SOP) และคมู่ อื เพอ่ื ใชเ้ ปน็ กรอบแนวทาง - กระทรวงมหาดไทย - หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง ประเมินความตอ้ งการหลงั เกดิ สาธารณภยั (PDNA) ในการปฏิบัติการประเมนิ ความต้องการหลงั เกดิ สาธารณภัย แบบบรู ณาการ - กระทรวงสาธารณสุข - การจดั ทำ� รปู แบบกองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แตล่ ะระดบั - กระทรวงการคลัง เพ่ือการประสานงานแบบบูรณาการ - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - สำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และ สังคมแหง่ ชาติ
กลยุทธ์ / แนวทางปฏบิ ตั ิ มาตรการ/กรอบแผนงาน หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ หลกั สนบั สนุน กลยทุ ธท์ ่ี 2 : พัฒนาแนวทางบรหิ ารจดั การดา้ นการฟ้ืนฟู 1. แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการฟน้ื ฟสู ขุ ภาวะของผปู้ ระสบภยั - การจัดท�ำคู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติด้านการฟื้นฟูสุขภาวะของผู้ประสบภัย - กระทรวงสาธารณสขุ - องคก์ รภาครฐั ทงั้ ทางร่างกายและทางจิตใจ - ภาคประชาสังคม - หนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้อง 2. แนวทางปฏบิ ัติในการฟื้นฟสู ภาพทางสังคม - การจดั ทำ� คมู่ อื หรอื แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการฟน้ื ฟสู ภาพทางสงั คม ไดแ้ ก่ ขนั้ ตอน - กระทรวงการพฒั นาสงั คม และ การประสานการชว่ ยเหลอื ประชาชนในดา้ นต่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง ความมนั่ คงของมนุษย์ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 185 3. แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการฟน้ื ฟแู ละเสรมิ สรา้ ง ความเขม้ - การกำ� หนดแนวทางปฏบิ ตั ดิ า้ นการเงนิ การคลงั ทเ่ี หมาะสมเพอื่ เปน็ การเปดิ โอกาส - กระทรวงการคลงั แข็งทางเศรษฐกิจ ให้ผู้ประสบภัยสามารถกลับมามีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ เช่น เงินให้เปล่า เงนิ อดุ หนนุ เงนิ สมทบ เงนิ ชดเชย - การผ่อนผันด้านการเงิน การพักช�ำระหน้ี การช่วยเหลือด้านการกู้ยืม หรือ การลดหยอ่ นภาษี/ดอกเบี้ย แกผ่ ปู้ ระสบภยั - การจดั ตง้ั กองทนุ พเิ ศษเพอ่ื การจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั รวมถงึ เงนิ ทนุ ในดา้ นต่าง ๆ เชน่ การฟน้ื ฟอู าชีพ แก่ผปู้ ระสบภัย การฟื้นฟูภาคการเกษตร กองทนุ เงนิ กยู้ มื เงนิ กดู้ อกเบย้ี ตำ่� เพอื่ สง่ เสรมิ การลงทนุ ประกอบอาชพี เพอื่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ในระยะสนั้ 4. แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการฟน้ื ฟทู รพั ยากรธรรมชาติ และ - การก�ำหนดแนวทางการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมท่ีส่งผลกระทบต่อชุมชน - กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ สภาพแวดล้อม และแหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม กลยุทธท์ ่ี 3 : เสรมิ สรา้ งแนวทางการฟื้นฟูใหด้ ีกว่าและปลอดภัยกว่าเดิม (Build Back Better and Safer) 1. แนวทางปฏิบตั ใิ นการวางแผน สนับสนุนการฟื้นฟู - การก�ำหนดแนวทางการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อชุมชน - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงพาณิชย์ และการพฒั นาศกั ยภาพชุมชน และแหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติ รวมทั้งพ้ืนที่ชุมชนที่ได้รับผลกระทบ - กระทรวงสาธารณสุข - กรมโยธาธิการและผังเมอื ง จากสาธารณภัย - กระทรวงการพฒั นาสงั คม และ - องคก์ รสาธารณกศุ ล มลู นธิ ิ 2. แนวทางปฏิบัติในการวางแผนและสนับสนุนการ - การก�ำหนดแนวทางเพอ่ื การดำ� เนินงานดา้ นการฟื้นฟู โดยการมสี ่วนร่วมกับ ความม่นั คงของมนษุ ย์ - ภาคเอกชน - กระทรวงการคลัง ฟ้นื ฟบู ริการดา้ นสขุ ภาพและการบรกิ ารสังคม ชมุ ชนท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากภยั
186 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 กลยทุ ธ์ / แนวทางปฏิบัติ มาตรการ/กรอบแผนงาน หนว่ ยงานรับผิดชอบ สนบั สนุน หลัก - การก�ำหนดแนวทางให้ความช่วยเหลือทางวิชาการในการวางแผนการฟื้นฟู - กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ การระบแุ ละตดิ ตามการแกไ้ ขความขดั แยง้ และการลดความแตกตา่ ง การประสาน และสิ่งแวดล้อม ความต้องการท่ียงั ไม่ได้รับการช่วยเหลือ - กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา 3. แนวทางปฏิบัติในการวางแผนและสนับสนุนการ - การกำ� หนดแนวทางการใหค้ วามชว่ ยเหลอื การสนบั สนนุ ใหม้ กี ารบรู ณะ ซอ่ ม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฟ้ืนฟู ทีอ่ ยอู่ าศัย สร้าง และพัฒนาท่ีอยู่อาศัยถาวร ให้มีความต้านทานต่อสาธารณภัย โดยให้ - กระทรวงคมนาคม ชุมชนมสี ่วนร่วมในการวางแผนและสนบั สนนุ - กระทรวงดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจ และสังคม 4. แนวทางปฏิบัติในการวางแผนและสนับสนุนการ - การกำ� หนดแนวทางในการสนบั สนนุ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นวศิ วกรรมบรกิ าร ในสาขา - กระทรวงอุตสาหกรรม ฟื้นฟูระบบโครงสร้างพน้ื ฐาน ตา่ ง ๆ เพื่อเป็นการสนบั สนนุ การฟื้นฟูโครงสรา้ งพนื้ ฐาน รวมถึงอาคาร สถานที่ - กระทรวงวฒั นธรรม 5. แนวทางปฏิบัติในการวางแผนและสนับสนุนการ สำ� คญั โดยให้พิจารณาปจั จยั ที่เกี่ยวขอ้ งในการฟ้นื ฟู ซอ่ มสรา้ ง ได้แก่ การวาง - กองอ�ำนวยการรักษาความม่ันคง ผงั เมอื ง การวางแผนใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ และการเลอื กใชส้ งิ่ กอ่ สรา้ งตามมาตรฐาน ภายในราชอาณาจกั ร ที่ก�ำหนด - สำ� นกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ - การก�ำหนดแนวทางในการปกป้องและฟื้นฟูทรัพยากรทางธรรมชาติ ฟื้นฟูทรัพยากรทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และ สงิ่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมอยา่ งเหมาะสมและจำ� เปน็ เพอ่ื สงวน อนรุ กั ษ์ บรู ณะ วฒั นธรรม และปฏิสังขรณ์ให้ดีกว่าและปลอดภัยกว่าเดิมตามที่พ้ืนท่ีประสบภัยร้องขอ การสนับสนนุ - การกำ� หนดแนวทางสนบั สนนุ ตามแผนงานและภารกจิ ทก่ี ำ� หนดวธิ กี าร ทจ่ี ะใช้ ทรัพยากรและสมรรถนะเพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของพ้ืนท่ี 6. แนวทางปฏิบัติในการวางแผนและสนับสนุนการ - การก�ำหนดแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจ ฟ้นื ฟรู ะบบเศรษฐกจิ รวมถึงด้านเกษตรกรรม คืนสู่สภาวะทม่ี น่ั คง - การก�ำหนดแนวทางการสนับสนุนทางการเงินในการฟื้นฟูด้านอื่น ๆ เช่น การลงทนุ จากภายนอก การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน
การขับเคลอ่ื นและติดตามประเมนิ ผลแผน มาตรการ/กรอบแผนงาน หน่วยงานรับผดิ ชอบ หลกั สนับสนนุ กลยทุ ธ์ / แนวทางปฏิบัติ 1. การขับเคลอ่ื นแผนไปส่กู ารปฏบิ ัติ - การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาความเขา้ ใจเกย่ี วกบั สาระสำ� คญั ของแผน การปอ้ งกนั - กระทรวงมหาดไทย - หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ นโยบายการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 187 แห่งชาติ และยุทธศาสตรก์ ารจัดการความเสยี่ ง จากสาธารณภยั - การผลกั ดนั แนวทางปฏบิ ตั ขิ องยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การความเสย่ี ง จากสาธารณภยั ตามแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ สกู่ ารปฏบิ ตั ผิ า่ นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมภายใต้แผนปฏบิ ตั ิการระดบั หนว่ ยงาน สรู่ ะดบั พื้นท่ี - การผลักดันให้มีงบประมาณเชิงบูรณาการด้านการจัดการความเส่ียง จากสาธารณภัยของทกุ หน่วยงาน - การบูรณาการและประสานการปฏิบัติระหว่างคณะกรรมการระดับชาติ ภายใต้กลไกของกฎหมายท่ีเกีย่ วขอ้ ง - การก�ำหนดบทบาทหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคล่ือน แผนไปสู่การปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบท่ีก�ำหนดไว้ในพระราช บัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 รวมทั้งนโยบายและ กฎหมายตา่ ง ๆ - การตดิ ตามและประเมนิ ผล โดยการมสี ่วนร่วมของหนว่ ยงานต่างๆ กำ� หนด ให้จัดท�ำรายงานผลการด�ำเนินการเป็นประจ�ำทุกปี และการติดตาม และ ประเมนิ ผลการนำ� แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตไิ ปสู่ การปฏบิ ตั ิ ทกุ ระดับ - การสนบั สนนุ การศึกษาวิจยั และพัฒนาองคค์ วามรแู้ ละนวัตกรรมการจดั การ ความเส่ียงจากสาธารณภัยของประเทศ รวมท้ังการถอดบทเรียน ภายใต้ แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ
188 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 กลยุทธ์ / แนวทางปฏิบตั ิ มาตรการ/กรอบแผนงาน หน่วยงานรับผดิ ชอบ 2. การติดตามและประเมนิ ผล หลัก สนบั สนนุ การประเมนิ ผลภายใน 3. การวิจยั และพัฒนา - การติดตามผลการดำ� เนินงานตามแนวทางปฏิบตั ิทค่ี ณะทำ� งานติดตาม และ - หน่วยงานท่เี ก่ียวข้อง ประเมินผลแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาตกิ �ำหนด - การประเมินโดยกระบวนการถอดบทเรียน เพื่อวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน - กระทรวงการอุดมศึกษา ปจั จบุ นั วเิ คราะหห์ าประเดน็ ปญั หาสำ� หรบั การพฒั นาปรบั ปรงุ การดำ� เนนิ งาน วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ วิ จั ย แ ล ะ - การศกึ ษา วจิ ยั และประเมนิ ผลเฉพาะเรอ่ื ง เพอื่ คน้ หาประเดน็ การพฒั นางาน นวตั กรรม (สำ� นกั งานการวจิ ยั ท่ีไม่สามารถจดั เกบ็ ได้จากระบบการรายงานการประเมินภายใน แห่งชาติ ส�ำนักงานพัฒนา การประเมนิ ผลภายนอก เทคโนโลยีอวกาศและภูมิ - การประเมินผลโดยบคุ ลากรหรอื สถาบันหรอื หน่วยงานภายนอก โดยมงุ่ เนน้ สารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน)) การประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิ พรอ้ มวเิ คราะหป์ จั จยั เงอ่ื นไขทสี่ ง่ ผลตอ่ การบรรลเุ ปา้ หมาย - สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนา ของยุทธศาสตร์ ประเทศไทย (ทีดอี าร์ไอ) - การศกึ ษา เรยี นรู้ ค้นหาแนวคิด แนวทาง วธิ ีปฏิบตั ิ การสร้างสรรคน์ วตั กรรม - ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน และศกึ ษาบทเรยี น (Lesson Learnt) ของการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั การวิจัย ทเ่ี ปน็ เหตกุ ารณส์ ำ� คญั ทผี่ า่ นมา เพอื่ นำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาเทคนคิ วธิ กี าร - หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง รปู แบบการดำ� เนนิ งาน หรอื เทคโนโลยใี นการจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภยั - หนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้อง 4. การทบทวนแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั - โครงการทบทวนแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ ให้เป็นไป แห่งชาติ ตามพระราชบัญญตั ิป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550
ภาคผนวก ฆ สถติ ิสถานการณ์อุทกภัยของประเทศไทยตง้ั แต่ พ.ศ. 2554 - 2563 พื้นท่ปี ระสบภัย ความเสียหาย ด้านชีวติ ดา้ นทรัพยส์ นิ ดา้ นสิง่ สาธารณประโยชน์ มลู คา่ ความเสียหาย (บาท) พ.ศ. จ�ำนวนครั้ง จังห ัวด แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 189 อ�ำเภอ ่ิกงอ�ำเภอ ต�ำบล หมู่ ้บาน ราษฎรเดือดร้อน (คน) ราษฎรเ ืดอดร้อน (ครัวเ ืรอน) เ ีสย ีชวิต (คน) บาดเ ็จบ (คน) ้บาน ้ัทงห ัลง ้บานบางส่วน (หลัง) อาคารพาณิชย์(หลัง) โรงแรม/อพา ์รทเมน ์ท (แ ่หง) โรงงาน/โรงสี (แห่ง) ่บอปลา/กุ้ง (บ่อ) ป ุศสัตว์ ( ัตว) ้ืพน ่ีทการเกษตร(ไ ่ร) ถนน (สาย) สะพาน/คอฯ (แห่ง) ท�ำนบ/ฝาย/เห ืมอง (แห่ง) ัวด/โรงเรียน/สถานท่ี ราชการ (แ ่หง) ท่อระบาย �น้ำ (แห่ง) 2554 4 74 844 0 5,919 53,380 16,224,302 5,247,125 1,026 33 2,632 477,595 4,011 34 1,823 137,730 2,263,408 11,798,241 26,613 1,770 1,318 4,563 2,432 23,839,219,356 2555 3 47 328 0 1,886 12,016 2,353,027 733,281 14 0 90 16,466 4 0 8 7,765 8,437 1,036,105 5,566 370 11 145 715 716,000,844 2556 4 74 721 0 4,579 35,765 5,923,380 1,907,472 134 17 396 60,006 14 0 10 120,203 151,033 6,099,777 15,224 705 1,096 1,016 1,021 1,841,217,148 2557 4 58 440 0 2,249 15,044 1,810,748 601,796 31 8 80 10,114 102 4 6 119 23,002 1,706,254 5,145 406 41 76 475 323,578,804 2558 4 50 248 0 985 5,990 885,915 211,360 11 0 33 4,671 3 0 0 450 87 694,282 2,018 167 2 11 164 162,063,478 2559 6 64 520 0 2,943 20,840 1,128,447 423,176 17 5 768 16,100 5 0 0 8,487 5,632 566,972 3,114 204 277 71 82 271,167,957 2560 7 68 662 0 3,947 31,521 3,678,474 1,333,791 152 1 987 36,341 4 0 2 68,737 1,411,636 5,087,352 11,073 687 798 518 742 1,050,281,997 2561 5 66 433 0 2,006 13,553 1,009,289 418,338 23 8 2,632 15,447 0 0 2 3,483 15,761 714,528 4,822 423 446 132 342 542,067,800 2562 60 440 0 2,380 18,360 1,593,434 652,525 18 5 13,331 20,444 0 2 0 15,067 15,067 1,726,539 6,964 343 807 113 128 179,424,271 2563 66 515 0 2,662 18,436 3,576,314 1,375,995 33 6 0 138,072 0 29 0 38,367 1,547,178 2,243,820 9,818 0 0 00 223,003,002 รวม 224,905 38,183,330 12,904,859 1,459 83 20,949 795,256 4,143 69 400,408 346,974 5,441,241 31,673,870 90,357 5,075 4,796 6,645 6,101 29,148,024,657 ทีม่ าจากกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
สถติ ิสถานการณ์ไฟปา่ และหมอกควนั ของประเทศไทยตง้ั แต่ พ.ศ. 2556 - 2563 พ.ศ. การเกิดไฟป่า 2556 ดบั ไฟปา่ (ครั้ง) พื้นทถี่ ูกไฟไหม้ (ไร)่ 2557 2558 2,191 15,812 2559 2560 1,088 15,140 2561 2562 1,314 43,165 2563 รวม 1,708 62,584 1,120 37,717 520 17,556 1,555 63,901 3,158 63,386 12,654 319,261 ท่มี าจากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 190 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
สถิติสถานการณอ์ ัคคีภยั ของประเทศไทยต้ังแต่ พ.ศ. 2554 - 2563 พ้นื ที่ประสบภยั ความเสยี หาย พ.ศ. จ�ำนวน จงั หวดั อ�ำเภอ กิ่งอำ� เภอ ต�ำบล หมบู่ า้ น ราษฎร(คน) ราษฎร เสียชีวติ บาดเจบ็ บ้านทงั้ หลัง บ้านบาง อาคาร/ โรงแรม โรงงาน/โรงสี วัด/โรงเรียน/ ห้างสรรพสินค้า/ พืน้ ที่ มลู คา่ ความเสยี หาย ครั้ง (ครวั เรอื น) (คน) (คน) สว่ น (หลัง) พาณิชย(์ หลัง) (แห่ง) (แห่ง) สถานท่รี าชการ อาคารสงู (แหง่ ) การเกษตร (บาท) (แหง่ ) (ไร่) 2554 1,524 61 442 0 951 1,334 8,313 2,213 42 149 1,636 149 85 6 55 64 4 1,302 2,776,511,424 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 191 2555 1,644 74 573 0 1,275 1,515 13,600 3,248 30 525 2,083 649 83 9 47 53 6 1,537 1,104,665,955 2556 1,811 75 1,327 0 1,643 1,790 7,899 2,815 106 211 938 930 62 4 37 55 5 2,545 1,172,682,642 2557 763 73 385 0 670 763 5,206 1,999 26 67 719 184 54 2 19 36 6 4,677 315,473,917 2558 806 71 368 0 627 742 4,732 1,564 44 116 735 126 64 2 31 70 4 2,766 288,354,392 2559 1,123 77 425 0 754 1,026 22,166 4,275 68 182 934 160 69 6 46 81 20 6,483 2,495,619,185 2560 1,533 76 484 0 971 1,181 8,993 3,064 63 159 1,277 244 69 8 77 76 29 429 2,442,810,965 2561 1,297 75 464 0 980 1,202 4,007 1,421 29 146 811 569 85 6 69 55 53 456 323,191,742 2562 1,312 65 432 0 896 1,147 10,048 5,103 23 122 657 609 30 3 41 42 3 2,775 483,438,962 2563 70 395 0 901 1,194 5,085 1,907 34 66 1,375 0 000 173 0 2,563 844,041,103 รวม 11,813 717 5,295 0 9,668 11,894 90,049 27,609 465 1,743 11,165 3,620 601 46 422 705 130 25,533 12,246,790,287 หมายเหตุ ตง้ั แต่ พ.ศ. 2550 กรมการปกครองไดย้ กฐานะกิ่งอ�ำเภอเป็นอำ� เภอท้งั หมด ขอ้ มลู จากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254