Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทสรุปผู้บริหาร ผลการประเมินความพึงพอใจ 2561

บทสรุปผู้บริหาร ผลการประเมินความพึงพอใจ 2561

Published by Worawan Kokong, 2019-10-16 22:57:58

Description: บทสรุปผู้บริหาร ผลการประเมินความพึงพอใจ 2561

Search

Read the Text Version

บทสรปุ สำหรบั ผ้บู ริหำร รำยงำนผลกำรประเมินควำมพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ประจำปี 2561 สำนักบรหิ ำรวชิ ำกำร จุฬำลงกรณม์ หำวิทยำลยั

สำรบญั หนา้ บทที่ 1 บทนำ 1 1.1 หลกั การและเหตผุ ล 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา 1 1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา 1 1.3.1 ขอบเขตด้านเนอ้ื หาทสี่ อบถามผใู้ ชบ้ ัณฑติ 1 1.3.2 ขอบเขตด้านระดับการวเิ คราะห์ 2 1.4 รายละเอยี ดผลการประเมนิ ความพึงพอใจ 2 1.5 ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากการศกึ ษา 2 บทท่ี 2 วิธีกำรวเิ ครำะห์ผลกำรประเมนิ ควำมพึงพอใจ 3 2.1 จานวนบัณฑิตท่ีสาเร็จการศกึ ษาในปกี ารศึกษาทป่ี ระเมิน จานวนบณั ฑิตทีไ่ ด้รบั ผลการประเมินตอบกลับ 3 และรอ้ ยละของแบบสอบถามท่ีไดร้ ับตอบกลบั 3 2.2 คา่ เฉลยี่ ของคะแนนความพึงพอใจ ในหัวข้อที่ 1 – 22 4 2.3 ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานของคะแนนความพึงพอใจ ในหัวข้อที่ 1 – 22 5 2.4 ระดบั ความพึงพอใจในแต่ละหวั ขอ้ 2.5 คาอธิบายผลการประเมนิ 7 8 บทที่ 3 ผลกำรประเมินควำมพึงพอใจ 12 สรุปภาพรวมผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผ้ใู ช้บณั ฑติ แบบแยกตามส่วนงาน สรุปภาพรวมผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผ้ใู ช้บณั ฑติ แบบแยกตามหลกั สูตร 24 สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผูใ้ ช้บัณฑติ ที่สาเร็จการศกึ ษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 29 สว่ นท่ี 1 สรุปผลกำรประเมินควำมพงึ พอใจในระดับ มหำวทิ ยำลัย 34 สว่ นที่ 2 สรุปผลกำรประเมินควำมพงึ พอใจในระดบั กลุ่มสำขำวิชำ 37 40 กล่มุ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชวี ภาพ 43 กลมุ่ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์กายภาพ กลมุ่ สาขาวิชาสังคมศาสตร์ 45 กลมุ่ สาขาวชิ ามนษุ ยศาสตร์ 48 กลุ่มสาขาวชิ าสหสาขาวิชา 53 สว่ นท่ี 3 สรปุ ผลกำรประเมินควำมพึงพอใจในระดับ คณะ/วทิ ยำลัย/สถำบนั 55 คณะจติ วิทยา 60 คณะทนั ตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์

สำรบัญ หนา้ สว่ นที่ 3 สรุปผลกำรประเมินควำมพึงพอใจในระดับ คณะ/วิทยำลัย/สถำบัน (ต่อ) 63 คณะสหเวชศาสตร์ 66 คณะสตั วแพทยศาสตร์ 70 คณะวทิ ยาศาสตร์การกีฬา 73 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตร์สาธารณสุข 75 คณะวิทยาศาสตร์ 78 คณะวศิ วกรรมศาสตร์ 81 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 84 วิทยาลยั ปโิ ตรเลยี มและปิโตรเคมี 86 คณะครศุ าสตร์ 89 คณะนิตศิ าสตร์ 92 คณะนิเทศศาสตร์ 95 คณะพาณชิ ยศาสตรแ์ ละการบญั ชี 98 คณะรัฐศาสตร์ 101 คณะเศรษฐศาสตร์ 104 วิทยาลยั ประชากรศาสตร์ 106 สถาบันบณั ฑิตบรหิ ารธุรกจิ ศศนิ ทร์ 107 สานักวิชาทรพั ยากรการเกษตร 108 คณะศิลปกรรมศาสตร์ 111 คณะอกั ษรศาสตร์ 114 บัณฑติ วทิ ยาลัย 117 รำยกำรอ้ำงอิง ภำคผนวก แบบประเมนิ ควำมพงึ พอใจของผใู้ ช้บัณฑิต 121 125 แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผใู้ ช้บณั ฑิต ระดับปริญญาตรี 129 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใชบ้ ัณฑิต ระดบั ปริญญาโท 133 แบบประเมินความพงึ พอใจของผใู้ ช้บณั ฑิต ระดับปริญญาเอก 139 Form for the Assessment of Employers’ Satisfaction Bachelor’s Degree 145 Form for the Assessment of Employers’ Satisfaction Master’s Degree Form for the Assessment of Employers’ Satisfaction Ph.D.

บทท่ี 1 บทนำ 1.1 หลักกำรและเหตุผล ตามท่จี ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัยได้กาหนดยุทธศาสตรแ์ ละพันธกจิ การดาเนินงานและการพัฒนาเพ่ือสร้างและ นาองค์ความรู้ถ่ายทอดไปสู่การพัฒนาประเทศ ด้วยความยึดม่ันในพันธกิจต่าง ๆ ท่ีเน้นให้ความสาคัญต่อการพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานทางวิชาการของมหาวิทยาลยั กลไกการดาเนินภารกจิ ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย ทั้งการคดั เลือก นิสิตการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการบริการทางวิชาการ ซ่ึงเป็นสิ่งสะท้อนความมุ่งมั่นของ มหาวิทยาลัยที่จะรักษาคุณภาพผลผลิตที่สาคัญของมหาวิทยาลัย ท้ังบัณฑิต หลักสูตร งานวิจัย และงานบริการ วิชาการ เพื่อเป็นการสรา้ งความเชื่อม่ันให้แกผ่ ู้ใช้ผลผลติ ของมหาวิทยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้กาหนดคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ไว้หลายด้าน ซึ่งสอดคล้องกับความ ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ดังน้ันจึงมีความจาเป็นต้องมีการประเมินระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ท่ีมีต่อ คุณลกั ษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ในด้านต่าง ๆ ทไ่ี ด้กาหนดไว้ เพื่อใหห้ ลักสูตรได้ทราบถงึ จุดแขง็ และจุดอ่อนท่ีควร จะนาไปปรบั ปรุงหลักสตู รและวิธกี ารเรยี นการสอนตอ่ ไป สานักบริหารวิชาการจึงได้มอบหมายให้แต่ละส่วนงานนาแบบประเมินท่ีได้รับการพัฒนาข้ึนไปใช้สอบถาม ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาหรับบัณฑิตท่ี สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2560 เพื่อนาข้อมูลท่ีได้มาดาเนินการวิเคราะห์และประมวลผลความพึงพอใจของผู้ใช้ บัณฑิต พร้อมทั้งจัดทารายงานผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อ นาเสนอรายงานต่อผู้บริหารมหาวิทยาลัย ส่วนงาน และหลักสูตร สาหรับใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา และป รับปรุง หลกั สตู รต่อไป 1.2 วตั ถุประสงคข์ องกำรศึกษำ เพื่อวิเคราะห์ผลและนาเสนอรายงานผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยในคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาหรับบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาในปี การศกึ ษา 2560 1.3 ขอบเขตของกำรศึกษำ 1.3.1 ขอบเขตดา้ นเนอ้ื หาทีส่ อบถามผูใ้ ชบ้ ัณฑิต สานักบริหารวิชาการได้กาหนดให้ทุกส่วนงานสอบถามผู้ใช้บัณฑิตถึงระดับความพึงพอใจต่อคุณลักษณะ บัณฑติ ท่พี งึ ประสงคใ์ นดา้ นต่าง ๆ ดังน้ี ข้อ 1 – 19 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ในด้านต่าง ๆ ของ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ขอ้ 20 ระดบั ความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ ัณฑิตในภาพรวม ข้อ 21 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่จะคัดเลือกบัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษาจากจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั เขา้ ทางานในหน่วยงานในอนาคต ข้อ 22ก ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในด้านความรู้ความสามารถของบัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัยเปรยี บเทียบกบั บัณฑิตจากสถาบันการศกึ ษาอืน่ ในประเทศท่ปี ฏิบตั ิงานในหนว่ ยงาน ข้อ 22ข ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในด้านความรู้ความสามารถของบัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั เปรียบเทยี บกับบณั ฑิตจากสถาบันการศกึ ษาอ่ืนในต่างประเทศที่ปฏบิ ตั ิงานในหน่วยงาน

ทั้งน้แี บบประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใช้บณั ฑิตจากจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั แสดงไว้ในภาคผนวก 1.3.2 ขอบเขตดา้ นระดบั การวิเคราะห์ ในการวิเคราะหร์ ะดับความพงึ พอใจของผู้ใชบ้ ัณฑิต จะแบ่งระดบั ของการวเิ คราะห์ผล ดังตอ่ ไปน้ี 1) ระดับมหาวิทยาลัย วิเคราะห์แยกในระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกาศนียบัตร ปริญญาโท ประกาศนยี บัตรช้ันสูง และปริญญาเอก โดยในแต่ละระดบั การศึกษาจะแสดงผลค่าเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจของทุก หลักสตู รภายในระดับการศกึ ษาเดียวกัน 2) ระดับกลุ่มสาขาวิชา แสดงผลการวิเคราะห์แยกตามกล่มุ สาขา โดยในแต่ละกลุ่มสาขาจะวิเคราะห์ผลแยก ตามระดับการศึกษา 3) ระดับส่วนงาน (คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน) แสดงผลการวเิ คราะห์แยกตามส่วนงาน โดยในแต่ละสว่ นงานจะ วเิ คราะหผ์ ลแยกตามระดับการศึกษา 4) ระดับหลักสูตร แสดงผลการวิเคราะหท์ กุ หลักสตู รท่ีได้รับผลตอบกลับ 1.4 รำยละเอียดผลกำรประเมนิ ควำมพึงพอใจ ผลการวเิ คราะหแ์ ละประเมินความพงึ พอใจ จะแบง่ ออกเปน็ 2 รูปแบบ ดังต่อไปนี้ รูปแบบท่ี 1 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในภาพรวม จะแสดงผลสรปุ ใน 2 สว่ นย่อย คือ 1) สรุปภาพรวมผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตแบบแยกตามส่วนงาน และ 2) สรุปภาพรวมผลการ ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตแบบแยกตามหลักสูตร โดยในทั้ง 2 ส่วนจะแสดงจานวนบัณฑิตท่ีสาเร็จ การศึกษา จานวนแบบสอบถามท่ีได้รับตอบกลับ ร้อยละของแบบสอบถามที่ได้รับตอบกลับ คะแนนเฉลี่ยความพึง พอใจในภาพรวม คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนน และระดบั ความพงึ พอใจเทียบกับเกณฑ์ รูปแบบท่ี 2 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในรายละเอียด จะเสนอผลการวิเคราะห์ในแต่ ละระดับการวเิ คราะห์ดังกล่าวในหัวขอ้ 1.3.2 โดยมรี ายละเอียดของผลการวเิ คราะห์ ดงั ต่อไปนี้ 1) จานวนบณั ฑิตทส่ี าเรจ็ การศึกษาในปี 2560 และจานวนบณั ฑติ ทีไ่ ดร้ ับผลการประเมินตอบกลับ 2) ค่าเฉลีย่ ของคะแนนความพึงพอใจ ในหวั ขอ้ ท่ี 1 – 22 3) คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความพงึ พอใจ ในหวั ขอ้ ที่ 1 – 22 4) ระดับความพงึ พอใจ ในหัวข้อที่ 1 – 22 โดยพจิ ารณาตามเกณฑ์ระดบั ความพึงพอใจ ดงั จะกลา่ วในบทที่ 2 ซ่ึงเป็นเกณฑ์ที่ใชอ้ ยใู่ นมหาวทิ ยาลัย 5) คาอธิบายผลการประเมิน โดยสรุปว่าผู้ใช้บัณฑิตให้คะแนนความพึงพอใจต่อคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึง ประสงค์ในภาพรวมอยู่ในระดบั ใด คุณลกั ษณะบัณฑติ ที่พงึ ประสงค์ทไี่ ดร้ ับค่าเฉลี่ยความพงึ พอใจสูงท่สี ุด 3 อันดับแรก และคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ท่ีได้รับค่าเฉล่ียความพึงพอใจต่าที่สุด 3 อันดับแรก ซึ่งจะสะท้อนถึงคุณลักษณะ บัณฑิตท่ีควรได้รับโอกาสในการปรับปรุงเป็นลาดับต้น ๆ นอกจากนั้นในคาอธิบายจะกล่าวถึงระดับความประสงค์ที่ ผู้ใช้บัณฑิตจะคัดเลือกบณั ฑิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัยเข้าทางานในหน่วยงานในอนาคต และผลการเปรียบเทียบ ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในด้านความรู้ความสามารถของบัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปรียบเทยี บ กับบัณฑติ จากสถาบนั การศกึ ษาอืน่ ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศทีป่ ฏิบตั งิ านในหน่วยงาน 1.5 ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จำกกำรศกึ ษำ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ทราบถึงคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ในเร่ืองใดที่เปน็ จุดแข็ง และจุดอ่อนของ บัณฑิต โดยสามารถนาไปเป็นข้อมูลในการปรับปรุงหลักสูตร และวิธีการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึง พอใจในคณุ ลักษณะบณั ฑิตที่พึงประสงค์ของจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัยมากยิง่ ข้นึ 2

บทท่ี 2 วธิ กี ำรวิเครำะห์ผลกำรประเมินควำมพงึ พอใจ ในบทน้ี จะกล่าวถงึ รายละเอียดของวธิ กี ารวิเคราะหผ์ ลการประเมินในแตล่ ะสว่ น ดงั นี้ 2.1 จำนวนบณั ฑติ ท่สี ำเร็จกำรศึกษำในปกี ำรศกึ ษำท่ีประเมิน จำนวนบัณฑติ ท่ีได้รับผลกำรประเมนิ ตอบกลับ และ รอ้ ยละของแบบสอบถำมทไี่ ด้รับตอบกลบั รายชื่อ และจานวนบัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษาที่ประเมินของแต่ละหลักสูตร จะใช้ข้อมูลจาก สานักงานการทะเบียน และแบบสอบถามท่ีได้รับตอบกลับ จะใช้ข้อมูลท่ีได้รับจากแตล่ ะสว่ นงาน โดยในการวิเคราะห์ ข้อมูล จะใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลบณั ฑิตที่สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษาท่ีประเมิน ของสานักงานการทะเบียนเท่านนั้ หากบางส่วนงานได้สอบถามผู้ใชบ้ ัณฑิตถึงระดับความพึงพอใจที่มีต่อบัณฑิตท่ีสาเรจ็ การศึกษาในปีการศึกษาอ่ืน หรือ ดาเนินการสอบถามแตไ่ ม่ไดเ้ ขียนช่ือบัณฑิตลงในแบบสอบถาม จะไม่นาผลประเมนิ มาวเิ คราะห์รว่ มกบั ผลประเมินของ บณั ฑติ ท่สี าเร็จการศกึ ษาในปกี ารศึกษาทีป่ ระเมนิ ร้อยละของแบบสอบถามที่ได้รับตอบกลับได้จะถูกคานวณจากสัดส่วนของจานวนบัณฑิตท่ีได้รับผลการ ประเมินตอบกลับต่อจานวนบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษาที่ประเมิน หากบางหลักสูตรได้รายงานจานวน บัณฑิตที่ศึกษาต่อ หรือทาธุรกิจส่วนตัวมายังสานักบริหารวิชาการ ร้อยละของแบบสอบถามท่ีได้รับตอบกลับจะถูก คานวณจากสัดส่วนของจานวนบัณฑิตที่ได้รับผลการประเมินตอบกลับต่อจานวนบัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษาในปี การศึกษาท่ีประเมนิ หักด้วยจานวนบัณฑิตท่ศี ึกษาตอ่ หรือทาธุรกจิ ส่วนตัว 2.2 คำ่ เฉลยี่ ของคะแนนควำมพงึ พอใจ ในหวั ขอ้ ที่ 1 – 22 ในการคานวณค่าเฉล่ยี ของคะแนนความพงึ พอใจในแตล่ ะหัวข้อ จะใช้สตู รดังตอ่ ไปนี้ ������ = ∑������������=1 ������������ (1) โดยท่ี ������ ������ ������������ หมายถึง ค่าเฉลย่ี ของคะแนนความพึงพอใจในหวั ขอ้ ใด ๆ ������ หมายถงึ คะแนนความพึงพอใจของบณั ฑิตแตล่ ะคนในหัวข้อนน้ั หมายถงึ ขนาดตัวอยา่ ง หรือจานวนบัณฑิตท่ีไดร้ บั ผลการประเมนิ ตอบกลบั หากในบางกรณที ี่มีผู้ตอบแบบสอบถาม 1 คน และไม่ได้ใหค้ ะแนนความพึงพอใจในภาพรวม (หวั ข้อท่ี 20) จะ แสดงคา่ เฉลี่ยความพงึ พอใจในภาพรวมจากคา่ เฉล่ยี ของหวั ขอ้ ที่ 1 – 19 2.3 ค่ำเบย่ี งเบนมำตรฐำนของคะแนนควำมพึงพอใจ ในหวั ข้อท่ี 1 – 22 ในการคานวณค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานของคะแนนความพึงพอใจในแต่ละหัวข้อ จะใช้สูตรดงั ตอ่ ไปนี้ ������ = √∑������������=1(������������−������)2 (2) โดยท่ี ������ ������−1 หมายถึง คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐานของคะแนนความพงึ พอใจในหวั ขอ้ ใด ๆ

2.4 ระดบั ควำมพึงพอใจในแต่ละหวั ขอ้ จะแสดงค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจในแต่ละหัวข้อ สาหรับหัวข้อที่ 1 – 20 จะใช้เกณฑ์ในการพิจารณา ระดับความพึงพอใจ ดังแสดงในตารางที่ 1 ซ่ึงเป็นเกณฑ์ท่ีใช้อยู่ในมหาวิทยาลัย ส่วนในหัวข้อที่ 21 และ 22 ได้ใช้ เกณฑ์การพิจารณาในตารางที่ 2 และ 3 ตามลาดับ ในการแปลความหมายของระดบั ความพงึ พอใจ ตำรำงท่ี 1 เกณฑ์กำรพิจำรณำระดับควำมพึงพอใจในคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ในด้ำนต่ำง ๆ และใน ภำพรวม ค่ำเฉลีย่ ระดับควำมพึงพอใจ กำรแปลควำมหมำย 4.50 – 5.00 มากท่ีสุด 3.50 – 4.49 มาก 2.50 – 3.49 ปานกลาง 1.50 – 2.49 นอ้ ย 1.00 – 1.49 นอ้ ยที่สุด ตำรำงที่ 2 เกณฑ์กำรพิจำรณำระดับควำมพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่จะคัดเลือกบัณฑิตที่สำเร็จกำรศึกษำจำก จุฬำลงกรณม์ หำวทิ ยำลัยเขำ้ ทำงำนในหน่วยงำนในอนำคต ค่ำเฉลี่ยระดบั ควำมพึงพอใจ กำรแปลควำมหมำย 4.50 – 5.00 มากท่ีสดุ 3.50 – 4.49 มาก 2.50 – 3.49 ปานกลาง 1.50 – 2.49 น้อย 1.00 – 1.49 น้อยทีส่ ดุ ตำรำงท่ี 3 เกณฑ์กำรพิจำรณำระดับควำมพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในด้ำนควำมรู้ควำมสำมำรถของบัณฑิตจำก จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลยั เปรียบเทียบกบั บณั ฑิตจำกสถำบนั กำรศึกษำอนื่ ทีป่ ฏิบตั ิงำนในหนว่ ยงำน ค่ำเฉล่ียระดบั ควำมพึงพอใจ กำรแปลควำมหมำย 4.50 – 5.00 มากกวา่ อยา่ งชัดเจน 3.50 – 4.49 มากกว่า 2.50 – 3.49 เท่าเทยี มกัน 1.50 – 2.49 น้อยกว่า 1.00 – 1.49 น้อยกวา่ อย่างชัดเจน 4

2.5 คำอธบิ ำยผลกำรประเมนิ รายละเอยี ดของวธิ กี ารวิเคราะห์ ประกอบไปดว้ ย 1) คา่ เฉล่ยี คะแนนความพงึ พอใจในภาพรวม (หวั ข้อท่ี 20) ซ่งึ ไดก้ ล่าวถงึ วธิ ีการคานวณไปแล้วขา้ งตน้ 2) ระดับความพึงพอใจในภาพรวม ซึ่งเป็นระดับความพึงพอใจที่สอดคล้องกับค่าเฉลี่ยของคะแนนความพึง พอใจในภาพรวม โดยอา้ งองิ เกณฑ์การพิจารณาระดบั ความพึงพอใจในตารางท่ี 1 3) ชว่ งความเชือ่ มนั่ ของคา่ เฉลย่ี คะแนนความพงึ พอใจของผ้สู าเรจ็ การศึกษาทงั้ หมด ในแต่ละระดับการวิเคราะห์หากได้รับจานวนแบบสอบถามตอบกลับมาเท่ากับจานวนผู้สาเร็จ การศึกษาทงั้ หมด จะสามารถใชค้ ่าเฉลี่ยความพึงพอใจจากกลุ่มตวั อยา่ งในการแสดงคา่ เฉลยี่ ความพึงพอใจของผู้สาเร็จ การศึกษาทุกคนได้โดยไม่มีความคลาดเคล่ือน แต่ในกรณีที่จานวนแบบสอบถามที่ได้รับตอบกลับมีน้อยกว่าจานวน ผู้สาเร็จการศึกษาท้ังหมด ค่าเฉล่ียที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างจะมีความคลาดเคลื่อนไปจากค่าเฉล่ียความพึงพอใจของ ผ้สู าเรจ็ การศึกษาทุกคน ดงั น้นั ตามหลักการทางสถิติ จะใช้ข้อมูลจากกลุ่มตวั อย่างประมาณคา่ เฉล่ียความพึงพอใจของ ผู้สาเร็จการศึกษาทุกคนแบบเป็นช่วง วิธีการคานวณช่วงความเช่ือมั่นน้ีสามารถแสดงได้ดังสมการที่ 3 (กัลยา วานิชย์ บญั ชา, 2539) โดยความกวา้ งของช่วงความเชื่อม่ันนี้จะข้ึนกับระดบั ความเชื่อมั่นที่ต้องการ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ฐานข้อมูล ขนาดตัวอย่าง และขนาดประชากร ซึ่งในที่นี้คือจานวนผู้สาเร็จการศึกษาท้ังหมดในระดับการวิเคราะห์ท่ี กาลังพิจารณา ซ่ึงในท่ีน้ีจะแสดงช่วงความเชื่อมั่นของค่าเฉล่ียความพึงพอใจของผู้สาเร็จการศึกษาทั้งหมด ท่ีระดับ ความเชื่อม่นั 95% (α = 0.05) ชว่ งความเชือ่ มนั่ ของคา่ เฉลยี่ ประชากร คือ ������ ± ������1−���2��� ������√1 − 1 (3) ������ ������ โดยท่ี ������ หมายถึง ค่าเฉลีย่ ท่ีไดจ้ ากกลุ่มตวั อย่าง ������1−���2��� หมายถงึ ค่าปกตมิ าตรฐานท่ีได้จากตารางการแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน ท่รี ะดบั ความเชอื่ ม่ัน (1-α)% ������ หมายถงึ คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานของประชากร ������ หมายถงึ ขนาดตัวอย่าง หรอื จานวนบณั ฑติ ทีไ่ ดร้ บั ผลการประเมนิ ตอบกลบั ������ หมายถึง ขนาดประชากร หรือจานวนบัณฑิตท่ีสาเรจ็ การศึกษาในปกี ารศึกษา ในการประมาณการค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานของประชากร ได้แบง่ เป็น 2 กรณี คอื ก. หากขนาดตวั อย่างทีไ่ ดร้ ับตอบกลบั มคี ่าตง้ั แต่ 7 ขน้ึ ไป จะประมาณการคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานของ ประชากรจากค่าเบยี่ งเบนมาตรฐานของตวั อยา่ ง ซ่งึ คานวณได้จากสตู รในสมการที่ 2 ข. หากขนาดตัวอย่างท่ีได้รับตอบกลับมีค่าอยู่ระหว่าง 1 ถึง 6 จะประมาณค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน ของประชากรจากค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานที่คานวณจากสูตรในสมการที่ 4 ซึ่งอ้างอิงจากสูตรการประมาณการค่าความ แปรปรวนของประชากรในสมการที่ 5 (กัลยา วานชิ ย์บญั ชา, 2539) 5

s = 1 (������������������ − ������������������) (4) 6 s2 = 1 (������������������ − ������������������)2 (5) 36 โดยที่ ������ หมายถงึ คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานของประชากร ������2 หมายถงึ ค่าความแปรปรวนของประชากร ������������������ หมายถึง ขอ้ มูลทมี่ ีคา่ สงู ทีส่ ุด ในทนี่ ค้ี ือ ค่าคะแนนความพึงพอใจสงู สุด (5) ������������������ หมายถึง ขอ้ มลู ทีม่ ีคา่ ตา่ ท่สี ุด ในทีน่ ีค้ ือ ค่าคะแนนความพงึ พอใจต่าสดุ (1) 4) คุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ท่ีได้รับค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงที่สุด 3 อันดับแรก ซึ่งจะสะท้อนให้เห็น ถงึ คณุ ลกั ษณะของบัณฑิตทค่ี วรส่งเสริมพัฒนาให้ดีย่ิงขึ้น และคณุ ลกั ษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ที่ไดร้ บั ค่าเฉลีย่ ความพึง พอใจต่าท่ีสุด 3 อันดับแรก ซึ่งจะสะท้อนให้เห็นถึงคุณลักษณะของบัณฑิตทคี่ วรได้รบั โอกาสในการปรับปรุงเป็นลาดบั ต้น ๆ โดยจานวนผตู้ อบแบบสอบถามควรจะมจี านวนมากกวา่ 7 คนขึ้นไป 5) ระดับความประสงค์ท่ีผู้ใช้บัณฑิตจะคัดเลือกบัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเข้าทางานในหน่วยงาน ในอนาคต จะแสดงผลการประเมนิ โดยอา้ งอิงเกณฑ์การพจิ ารณาในตารางท่ี 2 6) ผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในด้านความรู้ความสามารถของบัณฑิตจาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปรียบเทียบกับบัณฑิตจากสถาบันการศึกษาอื่นทั้งในประเทศและต่างประเทศที่ปฏิบัติงาน ในหนว่ ยงาน จะแสดงผลการเปรยี บเทยี บโดยอา้ งอิงเกณฑก์ ารพจิ ารณาในตารางท่ี 3 6

บทท่ี 3 ผลกำรประเมินควำมพงึ พอใจ ในบทน้ี จะแสดงผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในคุณลักษณะ บัณฑติ ทพี่ งึ ประสงค์ของจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย สาหรับบัณฑิตทสี่ าเร็จการศกึ ษาในปีการศกึ ษาน้ี ดังต่อไปนี้ 3.1 สรปุ ผลกำรประเมนิ ควำมพึงพอใจของผใู้ ช้บณั ฑติ แบบแยกตำมสว่ นงำน (คณะ/วทิ ยำลยั /สถำบัน) แสดงจานวนบัณฑิตท่ีสาเรจ็ การศึกษา จานวนแบบสอบถามทตี่ อบกลับ ร้อยละของแบบสอบถามที่ตอบกลับ ค่าเฉล่ียความพึงพอใจในภาพรวม ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความพึงพอใจในภาพรวม และระดับความพึง พอใจในภาพรวม ในระดับมหาวทิ ยาลยั ในระดับกลมุ่ สาขาวชิ า และในระดบั คณะ/วทิ ยาลัย/สถาบนั 3.2 สรุปผลกำรประเมนิ ควำมพงึ พอใจของผใู้ ช้บัณฑิต แบบแยกตำมหลกั สตู ร แสดงผลสรปุ ของแตล่ ะหลักสตู รในลักษณะเดียวกบั รายงานแบบตามสว่ นงาน โดยจะไมไ่ ด้แสดงข้อมลู ของผู้ท่ี ไม่ได้สาเรจ็ การศึกษาในปกี ารศึกษาน้ี 3.3 สรุปผลกำรประเมินควำมพงึ พอใจของผใู้ ชบ้ ัณฑติ โดยละเอียด แสดงรายละเอยี ดของผลการวิเคราะห์ และคาอธิบายผลการวเิ คราะห์ โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนท่ี 1 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ในระดับมหาวทิ ยาลัย ส่วนท่ี 2 สรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจ ในระดับกล่มุ สาขาวิชา สว่ นท่ี 3 สรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจ ในระดบั คณะ/วิทยาลยั /สถาบนั โดยจะสรุปผลเฉพาะในระดับการศึกษาหรอื หลกั สตู รที่ไดร้ บั แบบสอบถามตอบกลับจากผู้ใชบ้ ณั ฑิตเทา่ น้ัน

สรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ใช้บณั ฑติ ท่ีสาเรจ็ การศึกษาในปกี ารศึกษา 2560 แบบแยกตามส่วนงาน ส่วนงาน จานวนบณั ฑติ จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบน ระดับ ที่สาเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพึงพอใจ มาตรฐาน ความพึงพอใจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การศึกษา ท่ีได้รับตอบกลับ ท่ีได้รับตอบกลับ ในภาพรวม ระดับปริญญาตรี 0.65 มาก ระดับประกาศนียบัตร (ข้อ 20) 0.65 มาก ระดับปรญิ ญาโท 0.47 มาก ระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง 9,418 2,364 25.10 4.30 0.64 มาก ระดับปริญญาเอก 0.63 มาก กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 5,654 1,339 23.68 4.19 0.53 มากท่ีสุด ระดับปรญิ ญาตรี 0.65 มาก ระดับประกาศนียบัตร 53 27 50.94 4.16 0.65 มาก ระดับปรญิ ญาโท 0.47 มาก ระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง 3,045 697 22.89 4.42 0.65 มาก ระดับปริญญาเอก 0.63 มาก คณะจิตวิทยา 241 133 55.19 4.43 0.51 มากที่สุด 0.72 มาก ระดับปริญญาตรี 425 168 39.53 4.60 0.68 มาก ระดับปริญญาโท 0.79 มาก ระดับปรญิ ญาเอก 1,857 829 44.64 4.26 1.41 มาก คณะทนั ตแพทยศาสตร์ 0.77 มาก ระดับปรญิ ญาตรี 1,065 423 39.72 4.13 0.81 มาก ระดับประกาศนียบตั ร 0.58 มากที่สุด ระดับปรญิ ญาโท 53 27 50.94 4.16 0.63 มาก ระดับประกาศนียบตั รชั้นสูง 0.53 มากท่ีสุด ระดับปริญญาเอก 411 196 47.69 4.32 0.45 มากที่สุด คณะพยาบาลศาสตร์ 0.73 มาก ระดับปรญิ ญาโท 241 133 55.19 4.43 0.72 มาก ระดับปริญญาเอก 0.00 มากที่สุด คณะแพทยศาสตร์ 87 50 57.47 4.68 0.64 มาก ระดับปรญิ ญาตรี 0.60 มาก ระดับประกาศนียบตั ร 139 35 25.18 4.29 0.69 มาก ระดับปริญญาโท 0.62 มาก ระดับประกาศนียบตั รช้ันสูง 116 25 21.55 4.28 0.64 มาก ระดับปรญิ ญาเอก 0.51 มากที่สุด คณะเภสัชศาสตร์ 21 8 38.10 4.43 0.59 มาก ระดับปรญิ ญาตรี 0.63 มาก ระดับปรญิ ญาโท 2 2 100.00 4.00 0.54 มาก ระดับปรญิ ญาเอก 0.52 มาก คณะสหเวชศาสตร์ 233 108 46.35 4.23 0.68 มาก ระดับปริญญาตรี 0.70 มาก ระดับปริญญาโท 126 76 60.32 4.11 0.49 มากท่ีสุด ระดับปรญิ ญาเอก 0.00 มากท่ีสุด 18 3 16.67 4.67 46 16 34.78 4.40 38 8 21.05 4.50 5 5 100.00 4.80 86 55 63.95 4.09 83 54 65.06 4.07 3 1 33.33 5.00 680 336 49.41 4.29 315 130 41.27 4.07 15 9 60.00 4.14 124 60 48.39 4.44 203 125 61.58 4.43 23 12 52.17 4.58 185 77 41.62 4.21 148 52 35.14 4.19 29 19 65.52 4.21 8 6 75.00 4.33 187 65 34.76 4.42 163 56 34.36 4.36 18 7 38.89 4.71 6 2 33.33 5.00 8

สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ัณฑติ ท่สี าเร็จการศกึ ษาในปีการศึกษา 2560 แบบแยกตามส่วนงาน ส่วนงาน จานวนบัณฑติ จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉล่ีย ค่าเบี่ยงเบน ระดับ ท่ีสาเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพึงพอใจ มาตรฐาน ความพึงพอใจ คณะสัตวแพทยศาสตร์ การศึกษา ท่ีได้รับตอบกลับ ที่ได้รับตอบกลับ ในภาพรวม ระดับปริญญาตรี 0.47 มาก ระดับประกาศนียบตั ร (ข้อ 20) 0.44 มาก ระดับปริญญาโท 0.26 มาก ระดับปริญญาเอก 153 101 66.01 4.14 0.50 มาก 0.52 มากท่ีสุด คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา 97 62 63.92 4.03 0.69 มาก ระดับปรญิ ญาตรี 0.62 มาก ระดับปรญิ ญาโท 20 15 75.00 4.07 0.69 มาก ระดับปริญญาเอก 0.00 มากท่ีสุด 22 14 63.64 4.36 0.45 มากที่สุด วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 0.53 มากท่ีสุด ระดับปริญญาโท 14 10 71.43 4.60 0.00 มากที่สุด ระดับปริญญาเอก 0.66 มาก 142 40 28.17 4.30 0.67 มาก กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 0.62 มาก ระดับปริญญาตรี 100 22 22.00 4.00 0.60 มาก ระดับปรญิ ญาโท 0.60 มาก ระดับปริญญาเอก 35 11 31.43 4.45 0.60 มาก คณะวิทยาศาสตร์ 0.56 มากที่สุด 7 7 100.00 5.00 0.51 มากที่สุด ระดับปรญิ ญาตรี 0.72 มาก ระดับปรญิ ญาโท 52 12 23.08 4.75 0.73 มาก ระดับปรญิ ญาเอก 0.71 มาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ 33 7 21.21 4.57 0.72 มาก ระดับปรญิ ญาตรี 0.65 มาก ระดับปรญิ ญาโท 19 5 26.32 5.00 0.67 มาก ระดับปรญิ ญาเอก 0.51 มาก คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ 2,786 644 23.12 4.29 0.00 มากที่สุด ระดับปรญิ ญาตรี 0.50 มาก ระดับปรญิ ญาโท 1,928 422 21.89 4.22 0.50 มาก ระดับปริญญาเอก 0.52 มาก วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี 719 186 25.87 4.43 0.64 มาก ระดับปริญญาโท 0.62 มาก ระดับปรญิ ญาเอก 139 36 25.90 4.42 0.63 มาก กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ 0.40 มากท่ีสุด ระดับปรญิ ญาตรี 919 242 26.33 4.33 0.66 มาก ระดับปริญญาโท 0.59 มาก ระดับปรญิ ญาเอก 636 156 24.53 4.21 0.62 มากที่สุด คณะครุศาสตร์ 0.41 มากท่ีสุด ระดับปรญิ ญาตรี 208 69 33.17 4.55 ระดับปริญญาโท ระดับปรญิ ญาเอก 75 17 22.67 4.59 1,343 284 21.15 4.29 953 194 20.36 4.26 350 78 22.29 4.38 40 12 30.00 4.17 430 96 22.33 4.21 339 72 21.24 4.13 88 23 26.14 4.43 3 1 33.33 5.00 94 22 23.40 4.18 73 16 21.92 4.13 21 6 28.57 4.33 3,811 638 16.74 4.31 2,111 365 17.29 4.16 1,609 242 15.04 4.46 91 31 34.07 4.81 616 133 21.59 4.32 350 74 21.14 4.05 205 44 21.46 4.60 61 15 24.59 4.80 9

สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใชบ้ ัณฑติ ท่สี าเร็จการศกึ ษาในปีการศึกษา 2560 แบบแยกตามส่วนงาน ส่วนงาน จานวนบัณฑติ จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน ระดับ ที่สาเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพึงพอใจ มาตรฐาน ความพงึ พอใจ คณะนติ ิศาสตร์ การศึกษา ท่ีได้รับตอบกลับ ท่ีได้รับตอบกลับ ในภาพรวม ระดับปริญญาตรี 0.61 มาก ระดับปริญญาโท (ข้อ 20) 0.59 มาก ระดับปรญิ ญาเอก 0.65 มาก 469 109 23.24 4.40 0.00 มากที่สุด คณะนเิ ทศศาสตร์ 0.60 มาก ระดับปรญิ ญาตรี 319 70 21.94 4.36 0.57 มาก ระดับปริญญาโท 0.59 มากที่สุด ระดับปริญญาเอก 146 36 24.66 4.42 0.00 มากที่สุด 0.74 มาก คณะพาณิชยศาสตร์และการบญั ชี 4 3 75.00 5.00 0.79 มาก ระดับปริญญาตรี 0.71 มาก ระดับปรญิ ญาโท 296 78 26.35 4.28 0.00 มากที่สุด ระดับปรญิ ญาเอก 0.60 มาก 224 52 23.21 4.15 0.53 มาก คณะรัฐศาสตร์ 0.66 มาก ระดับปริญญาตรี 68 25 36.76 4.52 0.58 มากท่ีสุด ระดับปรญิ ญาโท 0.67 มาก ระดับปรญิ ญาเอก 4 1 25.00 5.00 0.70 มาก 0.57 มากท่ีสุด คณะเศรษฐศาสตร์ 1,388 46 3.31 4.35 0.50 มากท่ีสุด ระดับปริญญาตรี 0.50 มากท่ีสุด ระดับปริญญาโท 685 20 2.92 4.25 0.00 มาก ระดับปริญญาเอก 0.00 มากท่ีสุด 698 25 3.58 4.40 0.55 มากท่ีสุด วิทยาลัยประชากรศาสตร์ 0.55 มากท่ีสุด ระดับปริญญาโท 5 1 20.00 5.00 - ระดับปริญญาเอก - มาก 461 99 21.48 4.19 0.60 มาก สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ 0.60 มาก ระดับปรญิ ญาโท 234 49 20.94 4.08 0.64 มาก ระดับปรญิ ญาเอก 0.63 มากท่ีสุด 220 46 20.91 4.28 0.72 มากที่สุด สานกั วิชาทรัพยากรการเกษตร 0.50 มากท่ีสุด ระดับปรญิ ญาตรี 7 4 57.14 4.50 0.45 มากที่สุด 0.45 มากท่ีสุด กลุ่มสาขาวิชามนษุ ยศาสตร์ 396 139 35.10 4.32 0.20 มากที่สุด ระดับปรญิ ญาตรี 0.51 ระดับปริญญาโท 259 75 28.96 4.12 ระดับปริญญาเอก คณะศิลปกรรมศาสตร์ 133 60 45.11 4.53 ระดับปริญญาตรี 4 4 100.00 4.75 ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก 7 4 57.14 4.75 2 1 50.00 4.00 5 3 60.00 5.00 138 5 3.62 4.60 137 5 3.65 4.60 1 0 0.00 - 40 25 62.50 4.12 40 25 62.50 4.12 727 212 29.16 4.48 550 129 23.45 4.43 128 45 35.16 4.56 49 38 77.55 4.56 234 99 42.31 4.73 165 48 29.09 4.73 42 24 57.14 4.96 27 27 100.00 4.52 10

สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ัณฑติ ทีส่ าเรจ็ การศกึ ษาในปกี ารศึกษา 2560 แบบแยกตามส่วนงาน ส่วนงาน จานวนบณั ฑติ จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบน ระดับ ท่ีสาเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพงึ พอใจ มาตรฐาน ความพึงพอใจ คณะอักษรศาสตร์ การศึกษา ท่ีได้รับตอบกลับ ที่ได้รับตอบกลับ ในภาพรวม ระดับปรญิ ญาตรี 0.69 มาก ระดับปรญิ ญาโท (ข้อ 20) 0.66 มาก ระดับปริญญาเอก 0.83 มาก 493 113 22.92 4.25 0.50 มากท่ีสุด กลุ่มสาขาวิชาสหสาขาวิชา 0.63 มาก ระดับปรญิ ญาโท 385 81 21.04 4.25 0.69 มาก ระดับปรญิ ญาเอก 0.51 มาก บัณฑติ วิทยาลัย 86 21 24.42 4.10 0.63 มาก 0.69 มาก ระดับปริญญาโท 22 11 50.00 4.67 0.51 มาก ระดับปริญญาเอก 237 41 17.30 4.41 178 28 15.73 4.43 59 13 22.03 4.38 237 41 17.30 4.41 178 28 15.73 4.43 59 13 22.03 4.38 11

สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใชบ้ ัณฑติ ที่สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2560 แบบแยกตามหลักสูตร ส่วนงาน จานวนบณั ฑติ จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉลี่ย คา่ เบย่ี งเบน ระดับ ทส่ี าเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพึงพอใจ มาตรฐาน ความพึงพอใจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การศึกษา ที่ไดร้ ับตอบกลับ ทไ่ี ดร้ ับตอบกลับ ในภาพรวม กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชวี ภาพ 0.65 มาก คณะจิตวิทยา (ขอ้ 20) 0.65 มาก 0.72 มาก หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา 9,418 2,364 25.10 4.30 0.68 มาก หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์จิตวิทยา 0.63 มาก หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา 1,857 829 44.64 4.26 0.79 มาก หลกั สูตรศิลปศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา 1.41 มาก คณะทันตแพทยศาสตร์ 139 35 25.18 4.29 0.77 มาก หลกั สูตรทนั ตแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทนั ตแพทยศาสตร์ 0.81 มาก หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การแพทย์) 94 19 20.21 4.37 สาขาวิชาวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ หลักสูตรประกาศนียบตั รบัณฑิตทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทยค์ ลินิก 22 6 27.27 4.00 สาขาวิชาทันตกรรมประดิษฐ์ หลักสูตรประกาศนยี บตั รบัณฑิตทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์คลินิก 21 8 38.10 4.43 สาขาวิชาศลั ยศาสตรช์ ่องปากและแม็กซลิ โลเฟเชียล หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาช่องปาก 2 2 100.00 4.00 หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปริทนั ตศาสตร์ หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมสาหรับเดก็ 233 108 46.35 4.23 หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล 125 76 60.80 4.11 หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาทันตกรรมบดเคย้ี วและความเจ็บปวดช่องปากและใบหน้า 1 0 0.00 - - - หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทนั ตกรรมหตั ถการ หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตรช์ ่องปาก 10 2 20.00 5.00 0.00 มากที่สุด หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทนั ตกรรมประดษิ ฐ์ หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาเอ็นโดดอนต์ 8 1 12.50 4.00 0.00 มาก หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาทันตกรรมบูรณะเพ่ือความสวยงามและทันตกรรมรากเทยี ม 3 0 0.00 - - - หลักสูตรประกาศนียบตั รบัณฑิตช้ันสูงทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทยค์ ลินิก 1 0 0.00 - - - สาขาวิชาทนั ตกรรมจัดฟัน 10 5 50.00 4.40 0.55 มาก หลกั สูตรประกาศนยี บตั รบณั ฑิตช้ันสงู ทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทยค์ ลินกิ สาขาวิชาปริทันตวิทยา 7 2 28.57 4.00 0.00 มาก หลักสตู รประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสงู ทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์คลินิก สาขาวิชาทนั ตกรรมประดษิ ฐ์ 4 3 75.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด หลักสูตรประกาศนียบตั รบณั ฑิตช้ันสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทยค์ ลนิ ิก สาขาวิชาทันตกรรมหตั ถการ 1 0 0.00 - - - หลกั สตู รประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสงู ทางวิทยาศาสตร์การแพทยค์ ลินิก สาขาวิชาวิทยาเอ็นโดดอนต์ 4 3 75.00 4.67 0.58 มากท่ีสุด หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาทันตกรรมประดษิ ฐ์ หลักสตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาทนั ตสาธารณสขุ 4 1 25.00 4.00 0.00 มาก คณะพยาบาลศาสตร์ หลกั สูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ 1 1 100.00 4.00 0.00 มาก หลกั สูตรพยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ 11 1 9.09 3.00 0.00 ปานกลาง หลักสตู รแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแพทยศาสตร์ หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต (วิทยาศาสตร์การแพทย์) 6 1 16.67 4.00 0.00 มาก สาขาวิชาวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ 5 3 60.00 4.67 0.58 มากที่สุด 17 1 5.88 4.00 0.00 มาก 5 2 40.00 4.50 0.71 มากที่สุด 5 1 20.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด 4 4 100.00 4.75 0.50 มากที่สุด 1 1 100.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด 86 55 63.95 4.09 0.73 มาก 83 54 65.06 4.07 0.72 มาก 3 1 33.33 5.00 0.00 มากท่ีสุด 680 336 49.41 4.29 0.64 มาก 312 130 41.67 4.07 0.60 มาก 2 0 0.00 - - - 12

สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใช้บัณฑติ ทสี่ าเร็จการศึกษาในปีการศกึ ษา 2560 แบบแยกตามหลักสูตร ส่วนงาน จานวนบัณฑิต จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉล่ีย คา่ เบย่ี งเบน ระดับ ท่สี าเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพึงพอใจ มาตรฐาน ความพงึ พอใจ หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การแพทย์) การศกึ ษา ท่ไี ด้รับตอบกลับ ทไี่ ด้รับตอบกลับ ในภาพรวม - - หลกั สตู รประกาศนียบัตรบณั ฑิต สาขาวิชาสขุ ภาพจิต (ขอ้ 20) 0.69 มาก 0.50 มากที่สุด หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาอายรุ ศาสตร์ 1 0 0.00 - 0.00 มากท่ีสุด 0.81 มาก หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสขุ ภาพ 15 9 60.00 4.14 0.58 มาก 0.45 มาก หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต 38 26 68.42 4.58 0.45 มากท่ีสุด 0.00 มากที่สุด หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาฉายาเวชศาสตร์ 1 1 100.00 5.00 หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาชีวเคมีทางการแพทย์ 28 17 60.71 4.18 หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเวชศาสตรก์ ารกีฬา 6 3 50.00 4.33 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ 5 5 100.00 4.20 หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต 5 5 100.00 4.80 สาขาวิชาการวิจัยและการจัดการดา้ นสุขภาพ หลักสตู รประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูงทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์คลนิ ิก 30 1 3.33 5.00 สาขาวิชารังสีวิทยา หลกั สตู รประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทยค์ ลนิ กิ 11 2 18.18 4.00 0.00 มาก สาขาวิชากุมารเวชศาสตร์ หลกั สูตรประกาศนียบัตรบณั ฑิตช้ันสงู ทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทยค์ ลนิ ิก 25 11 44.00 4.27 0.47 มาก สาขาวิชาจักษุวิทยา หลักสูตรประกาศนยี บัตรบณั ฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลนิ ิก 19 15 78.95 4.73 0.46 มากท่ีสุด สาขาวิชานิตเิ วชศาสตร์ หลกั สูตรประกาศนียบตั รบณั ฑิตช้ันสงู ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก 10 6 60.00 4.50 0.55 มากที่สุด สาขาวิชาเวชศาสตร์ฟ้นื ฟู หลกั สตู รประกาศนียบตั รบณั ฑิตช้ันสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก 2 2 100.00 5.00 0.00 มากที่สุด สาขาวิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บัตรบณั ฑิตช้ันสงู ทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทยค์ ลนิ ิก 7 4 57.14 4.50 0.58 มากที่สุด สาขาวิชาพยาธิวิทยากายวิภาค หลกั สูตรประกาศนยี บตั รบณั ฑิตช้ันสงู ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลนิ ิก 6 3 50.00 4.00 1.00 มาก สาขาวิชาจิตเวชศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลนิ ิก 7 7 100.00 4.29 0.76 มาก สาขาวิชาวิสัญญีวิทยา หลักสูตรประกาศนยี บัตรบณั ฑิตช้ันสงู ทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทยค์ ลนิ กิ 7 6 85.71 4.17 0.75 มาก สาขาวิชาศัลยศาสตรต์ กแตง่ หลักสูตรประกาศนยี บตั รบัณฑิตชั้นสงู ทางวิทยาศาสตร์การแพทยค์ ลนิ ิก 16 0 0.00 - - - สาขาวิชาศัลยศาสตร์ทรวงอก หลกั สูตรประกาศนียบตั รบณั ฑิตชั้นสงู ทางวิทยาศาสตร์การแพทยค์ ลินกิ 5 0 0.00 - - - สาขาวิชาศลั ยศาสตรย์ โู รวิทยา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทยค์ ลนิ ิก 4 0 0.00 - - - สาขาวิชาสตู ศิ าสตร์-นรเี วชวิทยา หลกั สตู รประกาศนียบัตรบณั ฑิตช้ันสูงทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทยค์ ลนิ ิก 4 4 100.00 4.50 0.58 มากท่ีสุด สาขาวิชาอายุรศาสตร์ หลักสูตรประกาศนยี บตั รบณั ฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์คลนิ ิก 9 9 100.00 4.56 0.53 มากท่ีสุด สาขาวิชาศลั ยศาสตร์ลาไสใ้ หญ่และทวารหนกั หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูงทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทยค์ ลนิ กิ 54 40 74.07 4.31 0.77 มาก สาขาวิชาออร์โธปิดกิ ส์ หลักสูตรประกาศนยี บัตรบณั ฑิตชั้นสงู ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินกิ 2 0 0.00 - - - สาขาวิชาตจวิทยา หลักสตู รประกาศนียบตั รบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลนิ ิก 7 5 71.43 4.60 0.55 มากที่สุด สาขาวิชาศลั ยศาสตร์เฉพาะทาง 3 3 100.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด หลักสูตรวิทยาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาอายุรศาสตร์ 16 10 62.50 4.40 0.52 มาก 2 2 100.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด 13

สรุปผลการประเมินความพงึ พอใจของผู้ใช้บัณฑติ ที่สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2560 แบบแยกตามหลักสูตร ส่วนงาน จานวนบัณฑติ จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉลี่ย คา่ เบยี่ งเบน ระดับ ทสี่ าเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพึงพอใจ มาตรฐาน ความพึงพอใจ หลกั สูตรวิทยาศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต การศกึ ษา ทีไ่ ดร้ ับตอบกลับ ทไี่ ดร้ ับตอบกลับ ในภาพรวม สาขาวิชาการวิจัยและการจัดการด้านสขุ ภาพ หลักสูตรวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ (ข้อ 20) หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์และชีวเทคโนโลยี หลักสตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีทางการแพทย์ 8 2 25.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด คณะเภสัชศาสตร์ หลกั สตู รเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสชั กรรม 9 7 77.78 4.43 0.53 มาก หลกั สตู รเภสัชศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาเภสชั ศาสตร์ 3 0 0.00 - - - หลกั สูตรเภสชั ศาสตรมหาบณั ฑิต 1 1 100.00 4.00 0.00 มาก สาขาวิชาอาหารเคมีและโภชนศาสตรท์ างการแพทย์ 185 77 41.62 4.21 0.59 มาก หลกั สูตรเภสัชศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเภสชั อุตสาหกรรม 81 35 43.21 4.26 0.66 มาก หลกั สูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชเวท 67 17 25.37 4.06 0.56 มาก หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสชั ศาสตร์สังคมและบริหาร หลกั สูตรเภสชั ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสชั กรรม 3 2 66.67 4.00 0.00 มาก หลกั สูตรเภสชั ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสชั วิทยาและพิษวิทยา หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินกิ 3 2 66.67 4.00 0.00 มาก หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาชีวเวชเคมี หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสชั กรรม 3 2 66.67 4.50 0.71 มากที่สุด หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรเ์ คร่ืองสาอาง 1 1 100.00 4.00 0.00 มาก 1 0 0.00 - - - 3 1 33.33 5.00 0.00 มากที่สุด 10 9 90.00 4.11 0.60 มาก 1 1 100.00 4.00 0.00 มาก 1 0 0.00 - - - 3 1 33.33 5.00 0.00 มากท่ีสุด หลักสูตรวิทยาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาเภสชั เคมีและผลิตภณั ฑ์ธรรมชาติ 1 1 100.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด หลักสตู รวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชศาสตรส์ ังคมและบรหิ าร 3 3 100.00 4.00 0.00 มาก หลักสตู รเภสชั ศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบรบิ าลทางเภสัชกรรม 1 1 100.00 4.00 0.00 มาก หลกั สตู รวิทยาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาเภสชั เวท 1 0 0.00 - - - หลกั สตู รเภสัชศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาเภสชั กรรม 1 1 100.00 5.00 0.00 มากที่สุด หลกั สตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยเี ภสชั กรรม 1 0 0.00 - - - คณะสหเวชศาสตร์ 187 65 34.76 4.42 0.68 มาก หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโภชนาการและการกาหนดอาหาร 35 11 31.43 4.18 0.40 มาก หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต (กายภาพบาบัด) สาขาวิชากายภาพบาบดั 45 13 28.89 4.46 0.66 มาก หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต (เทคนคิ การแพทย์) สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ 83 32 38.55 4.38 0.79 มาก หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต 4 0 0.00 - -- สาขาวิชาชีวเคมีคลนิ ิกและอณทู างการแพทย์ หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 5 0 0.00 - -- 5 4 80.00 4.50 0.58 มากท่ีสุด หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบาบัด 1 0 0.00 - -- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์โลหิตวิทยาคลนิ กิ 3 3 100.00 5.00 หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุล 0.00 มากที่สุด ทางจุลชีววิทยาทางการแพทย์และวิทยาภมู ิคมุ้ กนั 1 0 0.00 - หลักสตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ 1 0 0.00 - -- -- หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบาบัด 4 2 50.00 5.00 หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต 0.00 มากท่ีสุด สาขาวิชาชีวเคมีคลนิ กิ และอณูทางการแพทย์ 153 101 66.01 4.14 คณะสัตวแพทยศาสตร์ 97 62 63.92 4.03 0.47 มาก 20 15 75.00 4.07 0.44 มาก หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาสตั วแพทยศาสตร์ 6 4 66.67 4.50 0.26 มาก 0.58 มากที่สุด หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตรก์ ารสัตวแพทย์คลินกิ หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศลั ยศาสตรท์ างสัตวแพทย์ 14

สรุปผลการประเมินความพงึ พอใจของผู้ใช้บัณฑิตทีส่ าเร็จการศึกษาในปีการศกึ ษา 2560 แบบแยกตามหลักสูตร ส่วนงาน จานวนบณั ฑิต จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉลี่ย ค่าเบยี่ งเบน ระดับ ทสี่ าเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพงึ พอใจ มาตรฐาน ความพงึ พอใจ หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสรรี วิทยาการสตั ว์ การศึกษา ทไ่ี ดร้ ับตอบกลับ ทีไ่ ด้รับตอบกลับ ในภาพรวม หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาการสืบพันธุ์สตั ว์ 0.00 มาก หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ (ขอ้ 20) 0.58 มากที่สุด หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอายรุ ศาสตร์สัตวแพทย์ 0.58 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาสัตวแพทยสาธารณสขุ 2 1 50.00 4.00 0.00 มาก หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปรบั ปรุงพันธุ์สตั ว์ 0.00 มาก หลักสูตรวิทยาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ 3 3 100.00 4.67 มาก หลกั สตู รวิทยาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาอายรุ ศาสตรส์ ัตวแพทย์ - - หลกั สตู รวิทยาศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาสรรี วิทยาการสัตว์ 4 3 75.00 4.33 0.00 มากท่ีสุด หลกั สูตรวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาชีวศาสตรท์ างสตั วแพทย์ 0.58 มาก คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา 3 2 66.67 4.00 0.71 มากที่สุด หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต (วิทยาศาสตร์การกฬี า) 0.00 มาก สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา 3 1 33.33 4.00 0.69 มาก หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกฬี าและการออกกาลงั กาย 1 0 0.00 - หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา หลักสตู รวิทยาศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรก์ ารกีฬา 8 4 50.00 5.00 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรส์ าธารณสขุ 3 3 100.00 4.33 หลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สาธารณสขุ 2 2 100.00 4.50 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 1 100.00 4.00 คณะวิทยาศาสตร์ หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ 142 40 28.17 4.30 หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาพฤกษศาสตร์ หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยกุ ต์ 3 0 0.00 - - - หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมี หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา 97 22 22.68 4.00 0.62 มาก หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสัตววิทยา หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ 35 11 31.43 4.45 0.69 มาก หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาธรณวี ิทยา หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 7 7 100.00 5.00 0.00 มากที่สุด หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาเคมีวิศวกรรม หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ 52 12 23.08 4.75 0.45 มากท่ีสุด หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาชีววิทยา หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาพันธุศาสตร์ 2 0 0.00 - - - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรส์ งิ่ แวดลอ้ ม 31 7 22.58 4.57 0.53 มากท่ีสุด หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ 4 0 0.00 - - - หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาหาร หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ 15 5 33.33 5.00 0.00 มากที่สุด หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคมี หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพันธุศาสตร์ 2,786 644 23.12 4.29 0.66 มาก 919 242 26.33 4.33 0.60 มาก 27 5 18.52 4.00 0.00 มาก 10 3 30.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด 33 7 21.21 4.57 0.53 มากที่สุด 40 14 35.00 3.83 1.03 มาก 38 7 18.42 4.14 0.69 มาก 5 2 40.00 4.00 0.00 มาก 39 3 7.69 4.00 0.00 มาก 50 13 26.00 4.00 0.00 มาก 55 8 14.55 4.50 0.53 มากท่ีสุด 49 12 24.49 4.42 0.51 มาก 30 2 6.67 3.50 0.71 มาก 29 22 75.86 4.09 0.81 มาก 4 0 0.00 - - - 18 3 16.67 4.67 0.58 มากท่ีสุด 28 9 32.14 4.22 0.44 มาก 86 19 22.09 4.32 0.48 มาก 36 6 16.67 4.17 0.41 มาก 59 21 35.59 4.24 0.44 มาก 15 1 6.67 4.00 0.00 มาก 29 7 24.14 4.57 0.53 มากท่ีสุด 2 1 50.00 5.00 0.00 มากที่สุด 15

สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทีส่ าเร็จการศกึ ษาในปีการศกึ ษา 2560 แบบแยกตามหลักสูตร ส่วนงาน จานวนบัณฑิต จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉลี่ย คา่ เบย่ี งเบน ระดบั ที่สาเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพงึ พอใจ มาตรฐาน ความพงึ พอใจ หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสัตววิทยา การศึกษา ทไ่ี ด้รับตอบกลับ ทไี่ ดร้ ับตอบกลับ ในภาพรวม หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา 0.58 มาก หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาหาร (ข้อ 20) - - หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต มากที่สุด สาขาวิชาปิโตรเคมีและวิทยาศาสตรพ์ อลิเมอร์ 6 3 50.00 4.33 0.58 หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยที างภาพ หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโลกศาสตร์ 1 0 0.00 - หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกลุ หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต 11 4 36.36 4.50 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที างอาหาร หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ 24 12 50.00 4.33 0.78 มาก หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสกิ ส์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต 4 4 100.00 4.50 0.58 มากที่สุด สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพฤกษศาสตร์ 3 1 33.33 5.00 0.00 มากที่สุด หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรพ์ อลเิ มอร์ประยุกตแ์ ละเทคโนโลยีสิง่ ทอ 6 1 16.67 5.00 0.00 มากท่ีสุด หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยเี ซรามิก หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต 2 0 0.00 - - - สาขาวิชาคณติ ศาสตรป์ ระยุกต์และวิทยาการคณนา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคมีเทคนิค 15 5 33.33 4.80 0.45 มากท่ีสุด หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเชื้อเพลงิ หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยเี ย่ือและกระดาษ 9 2 22.22 5.00 0.00 มากที่สุด หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีจุลินทรีย์ 8 4 50.00 4.25 0.50 มาก หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาธรณศี าสตรป์ ิโตรเลยี ม หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 6 3 50.00 4.67 0.58 มากที่สุด หลักสตู รวิทยาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมี 11 3 27.27 4.67 0.58 มากที่สุด หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกลุ หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาปิโตรเคมี 5 2 40.00 4.00 0.00 มาก หลกั สตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา หลกั สตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 7 1 14.29 4.00 0.00 มาก หลกั สูตรวิทยาศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 1 16.67 5.00 0.00 มากที่สุด หลกั สตู รวิทยาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรช์ ีวภาพ หลกั สตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยชี ีวภาพ 5 3 60.00 4.67 0.58 มากท่ีสุด หลักสตู รวิทยาศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางภาพ 2 1 50.00 4.00 0.00 มาก หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพฤกษศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสัตววิทยา 6 4 66.67 4.75 0.50 มากท่ีสุด หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรป์ ระยุกต์และวิทยาการคณนา 15 3 20.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด หลักสตู รวิทยาศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา หลักสตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาเคมีเทคนคิ 10 3 30.00 4.67 0.58 มากท่ีสุด หลกั สตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาเคมี หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล 3 0 0.00 - - - 1 0 0.00 - - - 1 0 0.00 - - - 6 1 16.67 4.00 0.00 มาก 2 0 0.00 - - - 1 0 0.00 - - - 4 0 0.00 - - - 2 0 0.00 - - - 10 0 0.00 - - - 10 7 70.00 4.57 0.53 มากที่สุด 1 1 100.00 5.00 0.00 มากที่สุด 1 0 0.00 - - - 2 1 50.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด 2 1 50.00 5.00 0.00 มากที่สุด 2 0 0.00 - - - 4 1 25.00 4.00 0.00 มาก 12 0 0.00 - - - 1 0 0.00 - - - 16

สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ัณฑติ ทีส่ าเร็จการศึกษาในปีการศกึ ษา 2560 แบบแยกตามหลักสูตร ส่วนงาน จานวนบัณฑติ จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉลี่ย ค่าเบย่ี งเบน ระดบั ทีส่ าเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพงึ พอใจ มาตรฐาน ความพึงพอใจ หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ การศึกษา ที่ได้รับตอบกลับ ทไี่ ด้รับตอบกลับ ในภาพรวม หลักสตู รวิทยาศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาหาร 0.55 มากท่ีสุด คณะวิศวกรรมศาสตร์ (ข้อ 20) - - หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์ มาก หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต 8 5 62.50 4.60 0.72 มาก สาขาวิชาวิศวกรรมการออกแบบและการผลติ ยานยนต์ 0.50 หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมนาโน 2 0 0.00 - หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสารสนเทศและการส่ือสาร 1,343 284 21.15 4.29 หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา 23 4 17.39 3.75 หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิง่ แวดลอ้ ม 43 10 23.26 3.90 0.74 มาก หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเรือ หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 47 8 17.02 4.00 0.76 มาก หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมปิโตรเลียม หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 47 8 17.02 4.13 0.99 มาก หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมทรัพยากรธรณี 83 17 20.48 4.29 0.77 มาก หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโลหการและวัสดุ หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอากาศยาน 111 20 18.02 4.42 0.61 มาก หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสารวจ หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมนวิ เคลยี ร์ 81 15 18.52 4.27 0.46 มาก หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมแหลง่ น้า 41 3 7.32 3.67 0.58 มาก หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต 7 1 14.29 4.00 0.00 มาก สาขาวิชาวิศวกรรมทรัพยากรธรณแี ละปโิ ตรเลยี ม หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา 88 19 21.59 4.05 0.78 มาก หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการจัดการทางวิศวกรรม 22 10 45.45 4.30 0.67 มาก หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมส่งิ แวดล้อม หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโลหการและวัสดุ 124 32 25.81 4.75 0.57 มากท่ีสุด หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวเวช หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวเวช 130 28 21.54 4.15 0.60 มาก หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 7 1 14.29 3.00 0.00 ปานกลาง หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสารวจ หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรค์ อมพิวเตอร์ 38 7 18.42 4.57 0.79 มากท่ีสุด หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีนวิ เคลียร์ หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชานวิ เคลียรเ์ ทคโนโลยี 33 5 15.15 3.60 1.14 มาก หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต 28 6 21.43 4.17 0.75 มาก สาขาวิชาวิศวกรรมและเทคโนโลยกี ารปอ้ งกนั ประเทศ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมนิวเคลยี ร์ 1 0 0.00 - - - หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 17 8 47.06 4.75 0.46 มากที่สุด 1 0 0.00 - - - 19 6 31.58 4.33 0.52 มาก 5 1 20.00 5.00 0.00 มากที่สุด 27 10 37.04 4.10 1.20 มาก 41 10 24.39 4.60 0.52 มากที่สุด 11 2 18.18 3.50 0.71 มาก 22 8 36.36 4.13 0.64 มาก 7 2 28.57 4.50 0.71 มากที่สุด 5 0 0.00 - - - 1 0 0.00 - - - 80 7 8.75 4.57 0.53 มากที่สุด 62 14 22.58 4.14 0.53 มาก 8 1 12.50 4.00 0.00 มาก 19 3 15.79 5.00 0.00 มากที่สุด 3 1 33.33 5.00 0.00 มากท่ีสุด 1 1 100.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด 17 3 17.65 4.33 1.15 มาก 3 1 33.33 5.00 0.00 มากที่สุด 2 0 0.00 - - - 5 0 0.00 - - - 17

สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ัณฑติ ทสี่ าเร็จการศกึ ษาในปีการศึกษา 2560 แบบแยกตามหลักสูตร ส่วนงาน จานวนบัณฑิต จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉล่ีย ค่าเบย่ี งเบน ระดบั ทส่ี าเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพงึ พอใจ มาตรฐาน ความพงึ พอใจ หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสงิ่ แวดลอ้ ม การศึกษา ท่ไี ด้รับตอบกลับ ทไี่ ด้รับตอบกลับ ในภาพรวม หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา 0.71 มากที่สุด หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (ขอ้ 20) 0.71 มาก หลกั สตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวเวช 0.00 มาก หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี 5 2 40.00 4.50 0.00 มาก หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 0.89 มาก คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ 10 2 20.00 3.50 0.00 มาก หลกั สูตรภมู ิสถาปตั ยกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม 0.65 มาก หลกั สตู รสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน 3 1 33.33 4.00 0.83 มาก หลกั สตู รสถาปตั ยกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย 0.75 มาก หลักสูตรการวางผงั เมืองบณั ฑิต สาขาวิชาสถาปตั ยกรรมผังเมือง 1 1 100.00 4.00 0.71 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบสถาปตั ยกรรม 0.84 มากท่ีสุด หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาสถาปตั ยกรรม 12 5 41.67 4.40 0.56 มาก หลักสูตรการออกแบบอุตสาหกรรมบัณฑิต 0.43 มาก สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม 2 1 50.00 4.00 มาก หลักสตู รศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศลิ ป์ หลักสตู รเคหพัฒนศาสตรมหาบณั ฑิต 430 96 22.33 4.21 สาขาวิชาการพัฒนาที่อยู่อาศยั และอสังหาริมทรัพย์ หลกั สตู รการวางแผนภาคและเมืองมหาบณั ฑิต 42 11 26.19 4.09 สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง หลกั สตู รสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม 39 11 28.21 4.18 หลกั สตู รภูมิสถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภมู ิสถาปัตยกรรม หลกั สูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบณั ฑิต 6 2 33.33 4.50 สาขาวิชาการวางแผนภาคและเมือง หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม 23 5 21.74 4.20 หลกั สูตรสถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 83 15 18.07 4.20 หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาสถาปตั ยกรรม วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี 63 17 26.98 4.06 หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีปโิ ตรเลียม 38 7 18.42 4.00 0.58 มาก หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี หลกั สตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์พอลเิ มอร์ 45 4 8.89 4.00 1.41 มาก หลกั สูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี กลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ 23 7 30.43 4.86 0.38 มากท่ีสุด คณะครุศาสตร์ หลักสูตรครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศกึ ษา 1 1 100.00 4.00 0.00 มาก หลักสตู รครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 28 10 35.71 4.40 0.52 มาก หลกั สูตรครุศาสตรบัณฑิต 13 3 23.08 4.00 0.00 มาก สาขาวิชาจิตวิทยาการปรกึ ษา การแนะแนวและการศึกษาพิเศษ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศกึ ษา 6 1 16.67 4.00 0.00 มาก หลักสตู รครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวิชาธุรกจิ ศึกษา หลักสูตรครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาประถมศกึ ษา 9 1 11.11 4.00 0.00 มาก หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชามัธยมศึกษา หลักสตู รครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวิชาศลิ ปศึกษา 8 0 0.00 - - - 3 1 33.33 5.00 0.00 มากที่สุด 94 22 23.40 4.18 0.50 มาก 34 12 35.29 4.17 0.58 มาก 24 4 16.67 4.00 0.00 มาก 15 0 0.00 - - - 16 5 31.25 4.40 0.55 มาก 5 1 20.00 4.00 0.00 มาก 3,811 638 16.74 4.31 0.64 มาก 616 133 21.59 4.32 0.66 มาก 12 3 25.00 4.00 1.00 มาก 23 7 30.43 4.29 0.49 มาก 19 8 42.11 3.88 0.64 มาก 16 3 18.75 4.00 0.00 มาก 30 6 20.00 3.83 0.41 มาก 20 3 15.00 4.00 1.00 มาก 18 4 22.22 4.25 0.50 มาก 149 30 20.13 4.03 0.61 มาก 28 6 21.43 4.50 0.55 มากที่สุด 18

สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใชบ้ ัณฑิตทส่ี าเร็จการศกึ ษาในปีการศึกษา 2560 แบบแยกตามหลักสูตร ส่วนงาน จานวนบณั ฑติ จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉลี่ย ค่าเบยี่ งเบน ระดับ ที่สาเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพึงพอใจ มาตรฐาน ความพึงพอใจ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขศกึ ษาและพลศึกษา การศึกษา ทีไ่ ด้รับตอบกลับ ทไ่ี ด้รับตอบกลับ ในภาพรวม หลกั สตู รครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถิตกิ ารศึกษา 0.50 มาก หลักสตู รครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (ข้อ 20) 0.00 ปานกลาง หลักสูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาดนตรศี ึกษา 0.71 มากท่ีสุด หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยการศกึ ษา 35 4 11.43 3.75 0.00 มากที่สุด หลกั สูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศกึ ษา 0.00 มากท่ีสุด หลกั สูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา 2 1 50.00 3.00 หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา - - หลักสูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑิต 9 2 22.22 4.50 0.00 มากท่ีสุด สาขาวิชานเิ ทศการศกึ ษาและพัฒนาหลกั สูตร 0.00 มากที่สุด หลักสตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยแี ละสื่อสารการศกึ ษา 10 2 20.00 5.00 หลกั สตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา หลักสูตรครศุ าสตรมหาบัณฑิต 3 1 33.33 5.00 สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ หลกั สตู รครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์ 1 0 0.00 - หลกั สตู รครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวัย หลกั สตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรยี น 8 1 12.50 5.00 หลักสูตรครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการศกึ ษาคณติ ศาสตร์ หลักสูตรครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศกึ ษา 34 5 14.71 5.00 หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาศลิ ปศกึ ษา 27 6 22.22 4.83 0.41 มากที่สุด หลักสูตรครศุ าสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา หลักสตู รครศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน 10 3 30.00 4.33 0.58 มาก หลักสตู รครศุ าสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรยี น หลกั สูตรครุศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศกึ ษา 4 1 25.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด หลักสูตรครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาสุขศกึ ษาและพลศึกษา หลกั สูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา 20 2 10.00 5.00 0.00 มากที่สุด หลกั สตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา หลกั สูตรครศุ าสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสือ่ สารการศกึ ษา 7 1 14.29 4.00 0.00 มาก หลกั สูตรครศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลกั สูตรครุศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาศิลปศกึ ษา 20 9 45.00 4.22 0.67 มาก คณะนติ ศิ าสตร์ หลกั สตู รนติ ศิ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ 1 0 0.00 - - - หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานติ ิศาสตร์ หลกั สตู รนิติศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชากฎหมายธุรกจิ 6 1 16.67 5.00 0.00 มากท่ีสุด หลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชากฎหมายเศรษฐกิจ หลักสูตรนติ ิศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายการเงินและภาษีอากร 15 5 33.33 5.00 0.00 มากที่สุด หลักสตู รนิติศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชานติ ศิ าสตร์ คณะนเิ ทศศาสตร์ 20 2 10.00 5.00 0.00 มากที่สุด หลกั สูตรนเิ ทศศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการโฆษณา หลกั สูตรนเิ ทศศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการกระจายเสยี ง 8 2 25.00 3.50 0.71 มาก หลกั สูตรนเิ ทศศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ หลกั สตู รนิเทศศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง 3 1 33.33 5.00 0.00 มากที่สุด หลักสตู รนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวาทวิทยา หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวารสารสนเทศ 8 0 0.00 - - - 4 0 0.00 - - - 7 3 42.86 5.00 0.00 มากท่ีสุด 2 0 0.00 - - - 5 1 20.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด 18 6 33.33 4.50 0.55 มากที่สุด 11 2 18.18 5.00 0.00 มากที่สุด 2 2 100.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด 1 0 0.00 - - - 469 109 23.24 4.40 0.61 มาก 319 70 21.94 4.36 0.59 มาก 51 14 27.45 4.50 0.65 มากที่สุด 6 1 16.67 5.00 0.00 มากที่สุด 56 15 26.79 4.60 0.51 มากท่ีสุด 33 6 18.18 3.67 0.52 มาก 4 3 75.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด 296 78 26.35 4.28 0.60 มาก 38 8 21.05 4.13 0.64 มาก 23 9 39.13 4.00 0.50 มาก 35 7 20.00 3.71 0.76 มาก 18 7 38.89 4.14 0.38 มาก 5 1 20.00 4.00 0.00 มาก 18 6 33.33 4.33 0.52 มาก 19

สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษาในปีการศกึ ษา 2560 แบบแยกตามหลักสูตร ส่วนงาน จานวนบัณฑิต จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉล่ีย คา่ เบย่ี งเบน ระดับ ท่ีสาเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพงึ พอใจ มาตรฐาน ความพึงพอใจ หลกั สูตรนเิ ทศศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาส่ือสารการแสดง การศึกษา ทีไ่ ดร้ ับตอบกลับ ทไ่ี ดร้ ับตอบกลับ ในภาพรวม หลักสตู รนเิ ทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการสอ่ื สาร 0.00 มาก หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานเิ ทศศาสตร์ (ขอ้ 20) 0.52 มากท่ีสุด หลกั สูตรนเิ ทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการสื่อสารเชิงกลยทุ ธ์ 0.59 มากที่สุด หลกั สตู รนเิ ทศศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ 9 4 44.44 4.00 คณะพาณิชยศาสตร์และการบญั ชี - - หลกั สูตรบริหารธุรกจิ บัณฑิต 78 10 12.82 4.60 0.00 มากที่สุด สาขาวิชาการจัดการเพ่อื เปน็ ผูป้ ระกอบการธุรกิจ 0.74 หลกั สตู รบริหารธุรกิจบณั ฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสตกิ สร์ ะหว่างประเทศ 62 25 40.32 4.52 มาก หลักสตู รบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด - หลกั สูตรบริหารธุรกจิ บัณฑิต สาขาวิชาการธนาคารและการเงิน 6 0 0.00 - - หลกั สูตรบรหิ ารธุรกิจบณั ฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางการจัดการ 0.00 หลักสตู รบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี 4 1 25.00 5.00 0.63 มากที่สุด หลักสตู รสถิติศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาสถิตปิ ระยกุ ต์ 1.00 มาก หลกั สตู รสถิตศิ าสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถิตคิ ณติ ศาสตร์ 1,388 46 3.31 4.35 มาก หลกั สูตรสถิตศิ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาประกนั ภยั - - หลกั สูตรสถิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ ธุรกจิ 4 0 0.00 - 0.00 หลักสตู รบรหิ ารธุรกจิ บัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี 0.00 มากท่ีสุด หลกั สูตรบริหารธุรกจิ บณั ฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกจิ ระหว่างประเทศ 32 1 3.13 5.00 0.00 มาก หลกั สตู รบัญชีมหาบัณฑิต 61 6 9.84 4.00 0.00 หลักสตู รบญั ชีมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบญั ชี 132 3 2.27 4.00 ปานกลาง หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประกนั ภยั 5 0 0.00 - - ปานกลาง หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกจิ 222 3 1.35 5.00 0.00 หลกั สูตรการจัดการมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ 16 2 12.50 4.00 0.00 - หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาซอฟตแ์ วรด์ า้ นธุรกิจ 12 1 8.33 3.00 0.00 มากที่สุด หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด 30 1 3.33 3.00 มากที่สุด หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการกากับดแู ลกจิ การ 33 0 0.00 - - หลกั สตู รบริหารธุรกจิ มหาบณั ฑิต สาขาวิชาบรหิ ารธุรกิจ 53 1 1.89 5.00 - มาก หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาสถิติ 85 2 2.35 5.00 0.49 - หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการเงนิ 53 2 3.77 4.00 0.71 - หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการเงิน 1 0 0.00 - - มากท่ีสุด หลักสตู รศิลปศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาการบัญชี 23 0 0.00 - 0.00 มากที่สุด หลกั สูตรบรหิ ารธุรกิจดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาการตลาด 62 7 11.29 4.71 0.00 - หลักสตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาการเงินเชิงปรมิ าณ 46 2 4.35 4.50 0.45 มากที่สุด คณะรัฐศาสตร์ 13 0 0.00 - 0.71 มาก หลักสูตรรฐั ศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการปกครอง 57 1 1.75 5.00 1.00 มากที่สุด หลกั สูตรรัฐศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาความสมั พันธ์ระหว่างประเทศ 46 2 4.35 4.00 - มากที่สุด หลกั สูตรรฐั ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ 323 5 1.55 4.80 0.00 มาก หลกั สูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 3 2 66.67 4.50 - - หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ 63 4 6.35 3.50 - มากที่สุด หลกั สูตรรฐั ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง 8 0 0.00 - 0.60 - หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาระหว่างประเทศ 2 1 50.00 5.00 0.75 - หลกั สูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความสมั พันธ์ระหว่างประเทศ 1 0 0.00 - 0.49 มาก 2 0 0.00 - 0.51 มาก 461 99 21.48 4.19 0.35 มาก 58 6 10.34 4.17 0.72 มาก 65 12 18.46 4.33 0.71 มาก 56 23 41.07 3.91 - มาก 55 8 14.55 4.13 0.50 มากที่สุด 134 28 20.90 4.32 - 5 2 40.00 4.50 มาก 20 0 0.00 - 40 9 22.50 4.00 20

สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทีส่ าเร็จการศกึ ษาในปีการศกึ ษา 2560 แบบแยกตามหลักสูตร ส่วนงาน จานวนบัณฑิต จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉลี่ย คา่ เบย่ี งเบน ระดบั ที่สาเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพงึ พอใจ มาตรฐาน ความพึงพอใจ หลกั สตู รรัฐศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการเมืองและการจัดการปกครอง การศึกษา ทไ่ี ดร้ ับตอบกลับ ที่ได้รับตอบกลับ ในภาพรวม หลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม 0.55 มาก หลกั สตู รรัฐศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชารฐั ศาสตร์ (ขอ้ 20) 0.71 มากท่ีสุด คณะเศรษฐศาสตร์ 0.58 มากที่สุด หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ 17 5 29.41 4.40 0.67 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ 0.58 มาก หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต 4 2 50.00 4.50 0.71 มาก สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และการเงินระหว่างประเทศ มาก หลักสูตรศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต 7 4 57.14 4.50 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกจิ และการจัดการ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตรก์ ารเมือง 396 139 35.10 4.32 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ หลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต 121 24 19.83 4.42 สาขาวิชาเศรษฐศาสตรแ์ รงงานและการจัดการทรพั ยากรมนุษย์ หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 138 51 36.96 3.98 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สาธารณสขุ และการจัดการบรกิ ารสุขภาพ หลักสูตรเศรษฐศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ 5 3 60.00 4.67 0.58 มากที่สุด วิทยาลัยประชากรศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ 60 37 61.67 4.54 0.56 มากที่สุด หลกั สูตรศิลปศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์ สถาบนั บณั ฑิตบริหารธุรกิจศศนิ ทร์ 26 9 34.62 4.56 0.53 มากที่สุด วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการจัดการทรพั ยากรมนุษย์ (หลกั สูตรนานาชาติ) 14 4 28.57 4.50 0.58 มากท่ีสุด บรหิ ารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (หลกั สตู รนานาชาติ) บรหิ ารธุรกจิ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ (หลักสตู รนานาชาติ) 18 5 27.78 4.60 0.55 มากท่ีสุด บริหารธุรกิจดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาบรหิ ารธุรกิจ สานกั วิชาทรัพยากรการเกษตร 10 2 20.00 4.00 1.41 มาก หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร 4 4 100.00 4.75 0.50 มากท่ีสุด กลุ่มสาขาวิชามนษุ ยศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ 7 4 57.14 4.75 0.50 มากท่ีสุด หลักสูตรศลิ ปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดรุ ิยางคศิลป์ หลักสตู รศลิ ปกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาทศั นศลิ ป์ 2 1 50.00 4.00 0.00 มาก หลกั สูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏยศิลป์ หลักสตู รศิลปกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชานฤมิตศิลป์ 5 3 60.00 5.00 0.00 มากท่ีสุด หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานาฏยศลิ ป์ไทย หลักสตู รศิลปกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชานฤมิตศิลป์ 138 5 3.62 4.60 0.55 มากท่ีสุด หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาดรุ ิยางคศิลป์ตะวันตก หลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดรุ ยิ างคไ์ ทย 2 0 0.00 - - - หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต คณะอกั ษรศาสตร์ 89 5 5.62 4.60 0.55 มากท่ีสุด หลักสูตรอักษรศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ 46 0 0.00 - - - หลกั สตู รอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรชั ญา 1 0 0.00 - - - หลักสูตรอักษรศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาเยอรมัน 40 25 62.50 4.12 0.60 มาก หลกั สูตรอักษรศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย หลกั สูตรอักษรศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาจีน 40 25 62.50 4.12 0.60 มาก 727 212 29.16 0.00 0.64 น้อยท่ีสุด 234 99 42.31 4.73 0.45 มากท่ีสุด 33 6 18.18 5.00 0.00 มากท่ีสุด 34 6 17.65 4.50 0.55 มากที่สุด 43 11 25.58 4.73 0.47 มากที่สุด 55 25 45.45 4.72 0.46 มากที่สุด 6 2 33.33 5.00 0.00 มากที่สุด 12 7 58.33 5.00 0.00 มากที่สุด 13 4 30.77 5.00 0.00 มากท่ีสุด 11 11 100.00 4.91 0.30 มากท่ีสุด 27 27 100.00 4.52 0.51 มากท่ีสุด 493 113 22.92 4.25 0.69 มาก 18 1 5.56 5.00 0.00 มากท่ีสุด 14 1 7.14 4.00 0.00 มาก 17 6 35.29 3.83 0.75 มาก 19 13 68.42 4.23 0.73 มาก 27 9 33.33 3.89 0.60 มาก 21

สรุปผลการประเมินความพงึ พอใจของผู้ใช้บัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2560 แบบแยกตามหลักสูตร ส่วนงาน จานวนบัณฑติ จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉลี่ย ค่าเบยี่ งเบน ระดบั ทสี่ าเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพงึ พอใจ มาตรฐาน ความพึงพอใจ หลกั สูตรอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญ่ีปุน่ การศึกษา ทไ่ี ด้รับตอบกลับ ทไ่ี ดร้ ับตอบกลับ ในภาพรวม หลกั สตู รอักษรศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีและสนั สกฤต 0.67 มาก หลกั สูตรอักษรศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาฝร่ังเศส (ข้อ 20) - - หลักสตู รอักษรศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาสเปน มากท่ีสุด หลักสตู รอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 29 10 34.48 4.30 0.71 มากท่ีสุด หลักสูตรอักษรศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอิตาเลยี น 0.43 มาก หลักสตู รอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตรแ์ ละภูมิสารสนเทศ 2 0 0.00 - 0.00 มาก หลักสูตรอักษรศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาศิลปการละคร 0.00 มาก หลักสตู รอักษรศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาสารนิเทศศกึ ษา 9 2 22.22 4.50 0.52 - หลกั สูตรอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรม มาก หลกั สูตรอักษรศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาจีน 24 14 58.33 4.79 - มากที่สุด หลกั สูตรอักษรศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวรรณคดีเปรยี บเทยี บ 0.82 - หลักสตู รอักษรศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการแปลและการลา่ ม 74 6 8.11 4.00 0.00 มากที่สุด หลักสตู รอักษรศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภมู ิศาสตรแ์ ละภมู ิสารสนเทศ มาก หลกั สูตรอักษรศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย 8 2 25.00 4.00 - - หลกั สตู รอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ 0.00 มาก หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาปรัชญา 22 6 27.27 4.33 0.00 มากท่ีสุด หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ - หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบณั ฑิต 20 0 0.00 - - - สาขาวิชาบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารนิเทศศาสตร์ 1.10 หลกั สตู รอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัตศิ าสตร์ 18 10 55.56 4.00 0.00 หลกั สตู รอักษรศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาศลิ ปการละคร หลกั สูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเยอรมัน 84 1 1.19 5.00 - หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาสเปน - หลกั สตู รอักษรศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย 1 0 0.00 - หลกั สตู รอักษรศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา หลกั สูตรอักษรศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาไทยศกึ ษา 4 1 25.00 5.00 หลักสตู รอักษรศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ หลักสตู รอักษรศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน 32 4 12.50 4.00 หลกั สูตรอักษรศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีและวรรณคดเี ปรยี บเทยี บ 3 0 0.00 - หลักสูตรอักษรศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลี-สนั สกฤต และพุทธศาสนศ์ ึกษา 8 5 62.50 3.80 กลุ่มสาขาวิชาสหสาขาวิชา บัณฑติ วิทยาลัย 4 1 25.00 5.00 หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรส์ ่ิงแวดล้อม หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ 2 0 0.00 - หลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใตศ้ ึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต 5 0 0.00 - สาขาวิชาการจัดการสารอันตรายและส่ิงแวดลอ้ ม หลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการจัดการทางวัฒนธรรม 7 4 57.14 4.00 0.82 มาก หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเภสัชวิทยา หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต 7 2 28.57 3.00 0.00 ปานกลาง สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกสแ์ ละโซ่อุปทาน หลกั สูตรศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนามนษุ ยแ์ ละสงั คม 9 4 44.44 4.75 0.50 มากท่ีสุด หลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเกาหลศี ึกษา 1 0 0.00 - - - 3 0 0.00 - - - 7 5 71.43 4.75 0.50 มากท่ีสุด 3 0 0.00 - - - 1 0 0.00 - - - 7 4 57.14 5.00 0.00 มากท่ีสุด 1 1 100.00 4.00 0.00 มาก 1 1 100.00 4.00 0.00 มาก 2 0 0.00 - - - 237 41 17.30 4.41 0.63 มาก 237 41 17.30 4.41 0.63 มาก 10 2 20.00 4.50 0.71 มากที่สุด 6 5 83.33 4.20 1.10 มาก 9 0 0.00 - - - 6 2 33.33 4.00 0.00 มาก 25 5 20.00 4.80 0.45 มากที่สุด 1 1 100.00 4.00 0.00 มาก 41 0 0.00 - - - 9 3 33.33 4.00 1.00 มาก 7 2 28.57 4.50 0.71 มากท่ีสุด 22

สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ัณฑิตทสี่ าเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2560 แบบแยกตามหลักสูตร ส่วนงาน จานวนบณั ฑิต จานวน ร้อยละของ คะแนนเฉล่ีย ค่าเบยี่ งเบน ระดับ ท่ีสาเร็จ แบบสอบถาม แบบสอบถาม ความพึงพอใจ มาตรฐาน ความพงึ พอใจ หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต การศกึ ษา ที่ไดร้ ับตอบกลับ ทไี่ ด้รับตอบกลับ ในภาพรวม สาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยแี ละการจัดการนวัตกรรม - - หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ข้อ 20) สาขาวิชาสิ่งแวดลอ้ ม การพัฒนา และความยั่งยนื - - หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเปน็ ภาษานานาชาติ 16 0 0.00 - - - หลักสูตรศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชายุโรปศึกษา 0.00 มากที่สุด หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสรีรวิทยา 2 0 0.00 - - - หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 0.45 มากที่สุด สาขาวิชาเทคโนโลยแี ละการจัดการพลงั งาน 7 0 0.00 - 0.00 มาก หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารกจิ การทางทะเล 6 1 16.67 5.00 0.45 มาก หลักสูตรวิทยาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการส่ิงแวดลอ้ ม 2 0 0.00 - - - หลักสตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต 0.00 มากท่ีสุด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์นาโนและเทคโนโลยี 25 5 20.00 4.80 0.00 มากที่สุด หลกั สูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สง่ิ แวดล้อม 0.00 มาก หลกั สูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาทนั ตชีววัสดุศาสตร์ 6 2 33.33 4.00 - - หลกั สูตรวิทยาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาทางการแพทย์ 11 5 45.45 4.20 หลักสูตรวิทยาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต - - สาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยแี ละการจัดการนวัตกรรม 5 0 0.00 - 0.71 มากท่ีสุด หลักสูตรศลิ ปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสิง่ แวดล้อม การพัฒนา และความยงั่ ยนื 4 1 25.00 5.00 - - หลกั สูตรศิลปศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ 1 1 100.00 5.00 0.00 มาก หลักสตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต 5 1 20.00 4.00 0.00 มาก สาขาวิชาการจัดการโลจิสตกิ ส์และโซอ่ ุปทาน 0.00 มากที่สุด หลักสูตรวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาการจัดการด้านโลจิสติกส์ 13 0 0.00 - หลักสตู รวิทยาศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์ หลกั สูตรวิทยาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวเวช 4 0 0.00 - 8 2 25.00 4.50 1 0 0.00 - 2 1 50.00 4.00 4 1 25.00 4.00 1 1 100.00 5.00 23

สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผ้ใู ช้บัณฑติ ท่สี าํ เรจ็ การศกึ ษาในปกี ารศกึ ษา 2560 จากจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ระดับปรญิ ญาตรี จาํ นวนผ้สู ําเรจ็ การศึกษา 5,654 คน ไดร้ บั แบบสอบถามตอบกลับ จํานวน 1,339 คน คิดเป็น 23.68% ขอ้ คุณลกั ษณะบัณฑิตท่ีพงึ ประสงค์  SD ระดบั คําอธิบาย ความพงึ พอใจ 1 มคี วามรู้ ลักษณะ ร้รู อบ 2 มคี วามรู้ ลักษณะ รูล้ กึ 4.08 0.69 มาก ผู้ใช้บณั ฑติ ให้คะแนนความพึงพอใจตอ่ บณั ฑติ ใน 3 มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 4.01 0.71 ภาพรวมทค่ี า่ เฉลีย่ เทา่ กบั 4.19 ซึ่งเมื่อพิจารณา 4 มีจรรยาบรรณ 4.31 0.66 5 สามารถคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ 4.32 0.66 มาก เปรียบเทียบกบั เกณฑ์ในการพิจารณาระดับความพึง 6 สามารถคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์ มาก พอใจพบว่าผใู้ ชบ้ ัณฑิตมีความพงึ พอใจตอ่ บัณฑติ ใน 7 มีทกั ษะในการคิดแก้ปัญหา 8 มที ักษะทางวิชาชีพ ภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก 9 มีทกั ษะการสอ่ื สาร ด้านการใช้ภาษาไทย มาก 10 มที ักษะการส่อื สาร ด้านการใชภ้ าษาองั กฤษ 11 มีทักษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4.11 0.70 มาก จากขนาดตวั อย่างทไ่ี ดร้ บั ตอบกลับสามารถประมาณ 12 มีทกั ษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ 4.01 0.72 การคา่ เฉลีย่ ความพึงพอใจของผสู้ าํ เร็จการศึกษา 13 มที กั ษะการบรหิ ารจดั การ 4.02 0.71 14 ใฝร่ ู้ 4.07 0.71 มาก ทง้ั หมดได้ในชว่ ง 4.16 - 4.23 โดยมรี ะดับความพึง 15 ร้จู ักวิธีการเรยี นรู้ มาก พอใจตอ่ คุณลักษณะบณั ฑติ ท่ีพึงประสงค์ในดา้ นตา่ ง ๆ ดังแสดงในตาราง มาก 4.19 0.67 มาก ผู้ใช้บณั ฑติ มคี วามพึงพอใจมากท่ีสุดเป็น 3 อันดบั 3.99 0.73 แรกต่อคุณลักษณะบัณฑิตทีพ่ งึ ประสงคใ์ นดา้ นตอ่ ไปน้ี 4.17 0.71 มาก 1. มจี รรยาบรรณ 3.90 0.72 3.98 0.71 มาก 2. มีคุณธรรมและจริยธรรม 4.21 0.72 3. ใฝร่ ู้ 4.19 0.68 มาก และมคี วามพงึ พอใจน้อยที่สดุ เปน็ 3 อนั ดบั แรกตอ่ มาก คุณลกั ษณะบณั ฑิตท่ีพงึ ประสงคใ์ นด้านต่อไปน้ี 1. มีภาวะผนู้ าํ มาก 2. มีทกั ษะทางคณิตศาสตรแ์ ละสถิติ มาก 3. มที กั ษะการบริหารจัดการ 16 มภี าวะผนู้ ํา 3.90 0.75 มาก ผู้ใชบ้ ัณฑิตมีความประสงค์ทจ่ี ะคดั เลือกบณั ฑติ จฬุ าฯ 17 มสี ขุ ภาวะ 4.14 0.70 18 มจี ิตอาสาและสาํ นกึ สาธารณะ 4.19 0.72 มาก เข้าทาํ งานในอนาคตอยใู่ นเกณฑม์ าก 19 ดาํ รงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภิวตั น์ 4.06 0.71 และมีความเหน็ ว่าบัณฑิตจุฬาฯ ท่ปี ฏิบัติงานใน 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.19 0.65 มาก หน่วยงานมคี วามรูค้ วามสามารถมากกวา่ เม่อื เทยี บ มาก กับบณั ฑติ จากสถาบันการศึกษาอื่นในประเทศไทย และมีความรคู้ วามสามารถมากกว่าเม่ือเทียบกับ มาก บณั ฑิตจากสถาบันการศึกษาอน่ื ต่างประเทศ 21 ประสงค์จะรับบัณฑติ จฬุ าฯ เข้าทํางานในอนาคต 4.22 0.65 มาก 22ก เปรยี บเทียบกับสถาบันการศกึ ษาอนื่ ในประเทศ 4.19 0.65 มากกวา่ 22ข เปรยี บเทยี บกบั สถาบนั การศกึ ษาอื่นในต่างประเทศ 3.86 0.74 มากกวา่ 24

สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ัณฑิตท่ีสาํ เร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2560 จากจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ระดับประกาศนียบตั ร จาํ นวนผูส้ ําเร็จการศึกษา 53 คน ได้รบั แบบสอบถามตอบกลับ จํานวน 27 คน คิดเปน็ 50.94% ขอ้ คุณลักษณะบณั ฑิตทีพ่ งึ ประสงค์  SD ระดบั คาํ อธบิ าย ความพึงพอใจ 1 มีความรู้ ลักษณะ รรู้ อบ 2 มีความรู้ ลักษณะ รู้ลึก 4.19 0.56 มาก ผใู้ ช้บัณฑติ ใหค้ ะแนนความพึงพอใจตอ่ บัณฑิตใน 3 มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม 4.15 0.60 ภาพรวมที่คา่ เฉลี่ยเทา่ กับ 4.16 ซงึ่ เม่ือพจิ ารณา 4 มจี รรยาบรรณ 5 สามารถคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ มาก เปรยี บเทยี บกบั เกณฑใ์ นการพิจารณาระดับความพึง 6 สามารถคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์ 7 มีทกั ษะในการคิดแก้ปัญหา 4.37 0.49 มาก พอใจพบวา่ ผใู้ ช้บณั ฑติ มคี วามพงึ พอใจต่อบณั ฑิตใน 8 มที ักษะทางวชิ าชพี 4.44 0.58 ภาพรวมอยใู่ นระดับมาก 9 มีทักษะการส่อื สาร ด้านการใชภ้ าษาไทย 10 มที ักษะการสื่อสาร ดา้ นการใช้ภาษาอังกฤษ มาก 11 มีทักษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 มที ักษะทางคณิตศาสตรแ์ ละสถิติ 4.37 0.56 มาก จากขนาดตัวอยา่ งท่ไี ด้รับตอบกลับสามารถประมาณ 13 มที กั ษะการบริหารจดั การ 4.30 0.72 การคา่ เฉลย่ี ความพงึ พอใจของผสู้ าํ เรจ็ การศึกษา 14 ใฝ่รู้ 4.26 0.66 15 รู้จักวิธีการเรียนรู้ 4.37 0.63 มาก ท้งั หมดได้ในช่วง 4.04 - 4.28 โดยมรี ะดับความพึง มาก พอใจตอ่ คุณลักษณะบัณฑิตทีพ่ ึงประสงคใ์ นดา้ นต่าง ๆ ดังแสดงในตาราง มาก 4.19 0.62 มาก ผู้ใชบ้ ัณฑติ มีความพึงพอใจมากที่สดุ เปน็ 3 อนั ดับ 3.96 0.59 แรกต่อคณุ ลักษณะบัณฑิตทีพ่ ึงประสงคใ์ นด้านตอ่ ไปน้ี 4.30 0.67 มาก 1. มีจรรยาบรรณ 3.81 0.62 4.19 0.68 มาก 2. รู้จักวธิ กี ารเรียนรู้ 4.37 0.49 3. มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 4.44 0.58 มาก และมคี วามพึงพอใจน้อยที่สุดเป็น 3 อันดบั แรกตอ่ มาก คุณลักษณะบณั ฑิตท่พี ึงประสงค์ในด้านต่อไปนี้ 1. มีทักษะทางคณิตศาสตรแ์ ละสถติ ิ มาก 2. มีทักษะการสือ่ สาร ดา้ นการใชภ้ าษาองั กฤษ มาก 3. มคี วามรู้ ลกั ษณะ ร้ลู ึก 16 มีภาวะผูน้ ํา 4.19 0.62 มาก ผใู้ ช้บณั ฑติ มคี วามประสงคท์ ี่จะคดั เลือกบณั ฑติ จุฬาฯ 17 มีสุขภาวะ 4.33 0.62 18 มจี ติ อาสาและสํานกึ สาธารณะ 4.33 0.62 มาก เขา้ ทาํ งานในอนาคตอยู่ในเกณฑ์มาก 19 ดาํ รงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภวิ ตั น์ 4.30 0.54 และมคี วามเห็นวา่ บณั ฑติ จฬุ าฯ ท่ีปฏบิ ัติงานใน 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.16 0.47 มาก หนว่ ยงานมีความรู้ความสามารถมากกว่าเมือ่ เทยี บ มาก กบั บณั ฑติ จากสถาบนั การศึกษาอ่ืนในประเทศไทย และมคี วามรคู้ วามสามารถมากกว่าเมื่อเทียบกับ มาก บณั ฑิตจากสถาบันการศึกษาอื่นตา่ งประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรับบณั ฑติ จุฬาฯ เข้าทาํ งานในอนาคต 4.27 0.45 มาก 22ก เปรยี บเทยี บกับสถาบนั การศึกษาอืน่ ในประเทศ 4.15 0.37 มากกว่า 22ข เปรยี บเทยี บกบั สถาบนั การศึกษาอ่นื ในตา่ งประเทศ 4.00 0.51 มากกวา่ 25

สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผใู้ ช้บณั ฑติ ท่สี าํ เรจ็ การศกึ ษาในปกี ารศกึ ษา 2560 จากจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ระดบั ปริญญาโท จํานวนผสู้ าํ เร็จการศึกษา 3,045 คน ไดร้ บั แบบสอบถามตอบกลับ จาํ นวน 697 คน คดิ เปน็ 22.89% ขอ้ คุณลกั ษณะบัณฑติ ทพ่ี งึ ประสงค์  SD ระดบั คาํ อธิบาย ความพงึ พอใจ 1 มคี วามรู้ ลกั ษณะ ร้รู อบ 2 มคี วามรู้ ลกั ษณะ รู้ลึก 4.28 0.63 มาก ผใู้ ช้บณั ฑิตใหค้ ะแนนความพึงพอใจต่อบณั ฑติ ใน 3 มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 4.21 0.68 ภาพรวมท่ีคา่ เฉลย่ี เท่ากับ 4.42 ซ่ึงเม่ือพิจารณา 4 มีจรรยาบรรณ 5 สามารถคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ มาก เปรยี บเทียบกับเกณฑใ์ นการพิจารณาระดับความพงึ 6 สามารถคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ 7 มที ักษะในการคิดแกป้ ญั หา 4.51 0.64 มากที่สดุ พอใจพบวา่ ผใู้ ช้บัณฑิตมคี วามพึงพอใจต่อบณั ฑติ ใน 8 มีทักษะทางวชิ าชีพ 4.52 0.63 ภาพรวมอยู่ในระดบั มาก 9 มีทักษะการสือ่ สาร ด้านการใชภ้ าษาไทย 10 มีทกั ษะการสื่อสาร ด้านการใช้ภาษาองั กฤษ มากทีส่ ุด 11 มที ักษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 มที ักษะทางคณติ ศาสตร์และสถิติ 4.31 0.68 มาก จากขนาดตัวอยา่ งทไ่ี ดร้ บั ตอบกลบั สามารถประมาณ 13 มีทักษะการบรหิ ารจดั การ 4.20 0.70 การค่าเฉล่ียความพึงพอใจของผสู้ าํ เรจ็ การศึกษา 14 ใฝร่ ู้ 4.21 0.71 15 ร้จู กั วธิ กี ารเรยี นรู้ 4.32 0.67 มาก ทงั้ หมดไดใ้ นช่วง 4.38 - 4.46 โดยมีระดบั ความพงึ มาก พอใจต่อคณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ท่พี ึงประสงคใ์ นด้านต่าง ๆ ดังแสดงในตาราง มาก 4.34 0.68 มาก ผใู้ ช้บัณฑติ มคี วามพงึ พอใจมากท่สี ดุ เป็น 3 อันดบั 4.06 0.76 แรกต่อคณุ ลักษณะบัณฑติ ทพ่ี ึงประสงคใ์ นด้านตอ่ ไปนี้ 4.27 0.66 มาก 1. มีจรรยาบรรณ 4.04 0.70 4.21 0.71 มาก 2. มีคณุ ธรรมและจริยธรรม 4.43 0.66 3. ใฝ่รู้ 4.39 0.64 มาก และมคี วามพึงพอใจน้อยทีส่ ุดเปน็ 3 อันดบั แรกต่อ มาก คุณลกั ษณะบณั ฑิตทีพ่ ึงประสงคใ์ นดา้ นตอ่ ไปน้ี 1. มที ักษะทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ิ มาก 2. มีทักษะการสื่อสาร ดา้ นการใช้ภาษาองั กฤษ มาก 3. มีภาวะผู้นาํ 16 มภี าวะผนู้ าํ 4.15 0.75 มาก ผ้ใู ชบ้ ัณฑิตมีความประสงค์ท่ีจะคดั เลือกบัณฑิตจฬุ าฯ 17 มีสขุ ภาวะ 4.34 0.68 18 มีจิตอาสาและสํานกึ สาธารณะ 4.41 0.70 มาก เข้าทํางานในอนาคตอยใู่ นเกณฑ์มาก 19 ดาํ รงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภิวัตน์ 4.30 0.70 และมคี วามเหน็ วา่ บัณฑติ จุฬาฯ ที่ปฏิบัติงานใน 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.42 0.64 มาก หนว่ ยงานมีความรู้ความสามารถมากกวา่ เมื่อเทียบ มาก กับบัณฑิตจากสถาบนั การศึกษาอน่ื ในประเทศไทย และมคี วามรู้ความสามารถมากกว่าเมอ่ื เทยี บกบั มาก บัณฑติ จากสถาบนั การศกึ ษาอนื่ ตา่ งประเทศ 21 ประสงค์จะรบั บัณฑติ จฬุ าฯ เขา้ ทาํ งานในอนาคต 4.47 0.62 มาก 22ก เปรียบเทียบกบั สถาบนั การศกึ ษาอืน่ ในประเทศ 4.41 0.63 มากกว่า 22ข เปรียบเทยี บกบั สถาบนั การศกึ ษาอืน่ ในตา่ งประเทศ 4.08 0.72 มากกว่า 26

สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ใช้บณั ฑิตท่ีสําเรจ็ การศึกษาในปีการศึกษา 2560 จากจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ระดับประกาศนยี บตั รชัน้ สูง จํานวนผู้สาํ เรจ็ การศกึ ษา 241 คน ไดร้ บั แบบสอบถามตอบกลับ จาํ นวน 133 คน คิดเป็น 55.19% ขอ้ คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ที่พงึ ประสงค์  SD ระดบั คําอธิบาย ความพึงพอใจ 1 มคี วามรู้ ลักษณะ รรู้ อบ 2 มคี วามรู้ ลกั ษณะ รลู้ กึ 4.28 0.59 มาก ผ้ใู ช้บัณฑติ ใหค้ ะแนนความพงึ พอใจต่อบณั ฑิตใน 3 มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม 4.32 0.62 ภาพรวมทค่ี ่าเฉลี่ยเท่ากบั 4.43 ซึ่งเมอ่ื พิจารณา 4 มจี รรยาบรรณ 5 สามารถคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ มาก เปรียบเทียบกบั เกณฑใ์ นการพจิ ารณาระดับความพึง 6 สามารถคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์ 7 มีทักษะในการคิดแก้ปญั หา 4.44 0.66 มาก พอใจพบว่าผ้ใู ช้บณั ฑิตมคี วามพงึ พอใจต่อบัณฑติ ใน 8 มีทักษะทางวิชาชีพ 4.47 0.63 ภาพรวมอย่ใู นระดับมาก 9 มีทกั ษะการส่อื สาร ดา้ นการใชภ้ าษาไทย 10 มีทกั ษะการสื่อสาร ดา้ นการใชภ้ าษาองั กฤษ มาก 11 มที ักษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 มีทักษะทางคณติ ศาสตร์และสถติ ิ 4.35 0.62 มาก จากขนาดตัวอยา่ งท่ีได้รับตอบกลบั สามารถประมาณ 13 มที กั ษะการบรหิ ารจดั การ 4.21 0.64 การค่าเฉลีย่ ความพงึ พอใจของผสู้ ําเร็จการศึกษา 14 ใฝร่ ู้ 4.25 0.60 15 รู้จกั วธิ กี ารเรียนรู้ 4.35 0.62 มาก ทงั้ หมดได้ในช่วง 4.36 - 4.50 โดยมีระดับความพงึ มาก พอใจตอ่ คณุ ลักษณะบณั ฑิตที่พงึ ประสงคใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ ดงั แสดงในตาราง มาก 4.38 0.63 มาก ผใู้ ช้บณั ฑติ มคี วามพึงพอใจมากท่ีสดุ เปน็ 3 อนั ดับ 4.09 0.64 แรกตอ่ คุณลักษณะบัณฑติ ท่พี งึ ประสงคใ์ นดา้ นต่อไปน้ี 4.28 0.58 มาก 1. มจี รรยาบรรณ 4.03 0.62 4.14 0.67 มาก 2. ใฝร่ ู้ 4.45 0.62 3. มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม 4.43 0.62 มาก และมคี วามพึงพอใจน้อยทีส่ ุดเป็น 3 อนั ดับแรกต่อ มาก คุณลกั ษณะบณั ฑติ ทีพ่ งึ ประสงค์ในดา้ นตอ่ ไปนี้ 1. มที ักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ มาก 2. มีทักษะการสือ่ สาร ด้านการใชภ้ าษาองั กฤษ มาก 3. มีภาวะผู้นํา 16 มภี าวะผู้นํา 4.14 0.66 มาก ผู้ใช้บณั ฑิตมคี วามประสงคท์ จี่ ะคัดเลอื กบณั ฑิตจฬุ าฯ 17 มสี ขุ ภาวะ 4.31 0.63 18 มีจติ อาสาและสํานกึ สาธารณะ 4.34 0.66 มาก เข้าทาํ งานในอนาคตอยูใ่ นเกณฑม์ าก 19 ดํารงความเป็นไทยในกระแสโลกาภวิ ัตน์ 4.26 0.64 และมีความเห็นว่าบณั ฑิตจุฬาฯ ทีป่ ฏิบตั งิ านใน 20 ความพงึ พอใจในภาพรวม 4.43 0.63 มาก หนว่ ยงานมคี วามรคู้ วามสามารถมากกว่าเมอ่ื เทยี บ มาก กบั บัณฑิตจากสถาบันการศึกษาอืน่ ในประเทศไทย และมคี วามรู้ความสามารถมากกวา่ เมื่อเทยี บกบั มาก บัณฑติ จากสถาบนั การศกึ ษาอน่ื ตา่ งประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรับบณั ฑติ จฬุ าฯ เขา้ ทํางานในอนาคต 4.46 0.60 มาก 22ก เปรียบเทียบกบั สถาบนั การศกึ ษาอ่ืนในประเทศ 4.33 0.59 มากกว่า 22ข เปรียบเทยี บกับสถาบนั การศึกษาอ่ืนในต่างประเทศ 4.10 0.70 มากกว่า 27

สรุปผลการประเมินความพงึ พอใจของผูใ้ ชบ้ ัณฑติ ทส่ี าํ เรจ็ การศึกษาในปกี ารศกึ ษา 2560 จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ระดบั ปริญญาเอก จาํ นวนผสู้ ําเรจ็ การศึกษา 425 คน ได้รับแบบสอบถามตอบกลบั จาํ นวน 168 คน คิดเป็น 39.53% ข้อ คุณลกั ษณะบัณฑติ ทีพ่ ึงประสงค์  SD ระดับ คําอธิบาย ความพึงพอใจ 1 มีความรู้ ลกั ษณะ รรู้ อบ 2 มคี วามรู้ ลักษณะ รลู้ กึ 4.45 0.62 มาก ผใู้ ชบ้ ัณฑติ ให้คะแนนความพึงพอใจต่อบัณฑติ ใน 3 มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม 4.45 0.61 ภาพรวมทคี่ ่าเฉลีย่ เทา่ กับ 4.60 ซงึ่ เมือ่ พจิ ารณา 4 มีจรรยาบรรณ 5 สามารถคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ มาก เปรียบเทียบกบั เกณฑ์ในการพิจารณาระดบั ความพึง 6 สามารถคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ 7 มที ักษะในการคดิ แกป้ ญั หา 4.67 0.54 มากทส่ี ุด พอใจพบวา่ ผ้ใู ชบ้ ัณฑติ มคี วามพงึ พอใจตอ่ บณั ฑติ ใน 8 มีทักษะทางวชิ าชีพ 4.60 0.56 ภาพรวมอยใู่ นระดบั มากท่ีสุด 9 มที ักษะการสอื่ สาร ด้านการใชภ้ าษาไทย 10 มที กั ษะการสอื่ สาร ด้านการใชภ้ าษาองั กฤษ มากทีส่ ุด 11 มที ักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 มีทกั ษะทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถิติ 4.54 0.62 มากท่สี ดุ จากขนาดตวั อย่างทไี่ ดร้ ับตอบกลับสามารถประมาณ 13 มีทักษะการบริหารจัดการ 4.33 0.62 มาก การคา่ เฉลย่ี ความพงึ พอใจของผ้สู าํ เรจ็ การศกึ ษา 14 ใฝ่รู้ 4.46 0.62 มาก ท้งั หมดไดใ้ นชว่ ง 4.53 - 4.66 โดยมรี ะดบั ความพึง 15 รู้จักวธิ ีการเรียนรู้ 4.56 0.58 พอใจต่อคณุ ลักษณะบัณฑิตทพี่ ึงประสงค์ในด้านต่าง ๆ มากที่สดุ ดงั แสดงในตาราง 4.49 0.77 มาก ผู้ใชบ้ ณั ฑติ มีความพึงพอใจมากทีส่ ดุ เป็น 3 อันดบั 4.32 0.68 มาก แรกต่อคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพงึ ประสงคใ์ นด้านต่อไปนี้ 4.43 0.62 มาก 1. มีคุณธรรมและจริยธรรม 4.34 0.69 มาก 2. มจี รรยาบรรณ 4.38 0.66 มาก 3. มที ักษะทางวชิ าชีพ 4.51 0.57 มากทีส่ ุด และมคี วามพึงพอใจนอ้ ยทส่ี ุดเปน็ 3 อันดับแรกตอ่ 4.50 0.60 มากที่สุด คุณลักษณะบณั ฑิตทีพ่ งึ ประสงค์ในด้านต่อไปนี้ 1. มีทักษะการสื่อสาร ด้านการใช้ภาษาอังกฤษ 2. สามารถคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ 3. มที กั ษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ 16 มีภาวะผู้นํา 4.40 0.65 มาก ผใู้ ชบ้ ณั ฑติ มคี วามประสงคท์ ่ีจะคัดเลอื กบัณฑิตจุฬาฯ 17 มีสุขภาวะ 4.40 0.63 มาก เข้าทํางานในอนาคตอยใู่ นเกณฑม์ ากที่สดุ 18 มจี ติ อาสาและสํานกึ สาธารณะ 4.49 0.67 มาก และมคี วามเห็นวา่ บัณฑติ จฬุ าฯ ที่ปฏบิ ัติงานใน 19 ดาํ รงความเป็นไทยในกระแสโลกาภวิ ัตน์ 4.39 0.63 มาก หนว่ ยงานมีความรคู้ วามสามารถมากกว่ามากเมือ่ 20 ความพงึ พอใจในภาพรวม 4.60 0.53 มากทสี่ ุด เทยี บกับบัณฑิตจากสถาบันการศึกษาอืน่ ในประเทศ 21 ประสงค์จะรบั บัณฑติ จุฬาฯ เขา้ ทํางานในอนาคต 4.56 0.61 มากที่สดุ ไทย และมคี วามรคู้ วามสามารถมากกว่าเม่อื เทียบกบั บณั ฑติ จากสถาบันการศกึ ษาอ่ืนตา่ งประเทศ 22ก เปรียบเทียบกับสถาบนั การศึกษาอื่นในประเทศ 4.57 0.60 มากกว่ามาก 22ข เปรยี บเทยี บกับสถาบนั การศึกษาอน่ื ในต่างประเทศ 4.33 0.68 มากกว่า 28

สรุปผลการประเมินความพงึ พอใจของผใู้ ชบ้ ัณฑิตทส่ี ําเร็จการศกึ ษาในปีการศึกษา 2560 กลมุ่ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ระดับปริญญาตรี จํานวนผู้สาํ เร็จการศึกษา 1,065 คน ไดร้ ับแบบสอบถามตอบกลับ จาํ นวน 423 คน คิดเป็น 39.72% ขอ้ คุณลักษณะบัณฑติ ที่พงึ ประสงค์  SD ระดบั คาํ อธบิ าย ความพงึ พอใจ 1 มคี วามรู้ ลกั ษณะ รู้รอบ 2 มคี วามรู้ ลักษณะ รู้ลกึ 4.13 0.72 มาก ผใู้ ชบ้ ัณฑิตให้คะแนนความพงึ พอใจตอ่ บัณฑติ ใน 3 มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม 3.95 0.72 ภาพรวมที่คา่ เฉลย่ี เทา่ กบั 4.13 ซ่งึ เมื่อพิจารณา 4 มีจรรยาบรรณ 5 สามารถคดิ อย่างมีวิจารณญาณ มาก เปรียบเทยี บกับเกณฑใ์ นการพิจารณาระดบั ความพงึ 6 สามารถคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ 7 มีทักษะในการคิดแกป้ ัญหา 4.25 0.67 มาก พอใจพบว่าผใู้ ช้บณั ฑิตมคี วามพึงพอใจต่อบณั ฑิตใน 8 มีทักษะทางวชิ าชีพ 4.32 0.65 ภาพรวมอยู่ในระดบั มาก 9 มที ักษะการส่อื สาร ด้านการใชภ้ าษาไทย 10 มที ักษะการสื่อสาร ดา้ นการใช้ภาษาอังกฤษ มาก 11 มที ักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 มีทักษะทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถิติ 4.02 0.69 มาก จากขนาดตัวอย่างทไ่ี ด้รับตอบกลบั สามารถประมาณ 13 มีทกั ษะการบรหิ ารจดั การ 3.91 0.72 การคา่ เฉลีย่ ความพงึ พอใจของผูส้ าํ เรจ็ การศึกษา 14 ใฝ่รู้ 3.94 0.71 15 รู้จักวธิ ีการเรยี นรู้ 4.06 0.72 มาก ทง้ั หมดไดใ้ นช่วง 4.08 - 4.18 โดยมรี ะดบั ความพึง มาก พอใจตอ่ คณุ ลกั ษณะบัณฑิตท่พี งึ ประสงคใ์ นดา้ นต่าง ๆ ดงั แสดงในตาราง มาก 4.20 0.61 มาก ผใู้ ชบ้ ัณฑติ มีความพงึ พอใจมากท่ีสุดเปน็ 3 อันดบั 3.98 0.71 แรกต่อคณุ ลักษณะบัณฑิตทพ่ี งึ ประสงค์ในด้านตอ่ ไปน้ี 4.10 0.67 มาก 1. มีจรรยาบรรณ 3.88 0.68 3.95 0.73 มาก 2. มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม 4.07 0.72 3. มีทกั ษะการสอ่ื สาร ด้านการใชภ้ าษาไทย 4.09 0.66 มาก และมีความพึงพอใจน้อยทส่ี ดุ เปน็ 3 อนั ดบั แรกต่อ มาก คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ในด้านต่อไปนี้ 1. มีภาวะผู้นาํ มาก 2. มที ักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ มาก 3. สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 16 มภี าวะผู้นาํ 3.81 0.79 มาก ผูใ้ ช้บัณฑติ มคี วามประสงค์ทจี่ ะคัดเลอื กบัณฑิตจุฬาฯ 17 มีสุขภาวะ 4.09 0.68 18 มจี ิตอาสาและสาํ นกึ สาธารณะ 4.12 0.72 มาก เข้าทํางานในอนาคตอยใู่ นเกณฑ์มาก 19 ดํารงความเป็นไทยในกระแสโลกาภวิ ัตน์ 3.99 0.68 และมคี วามเหน็ วา่ บัณฑติ จฬุ าฯ ทปี่ ฏบิ ตั งิ านใน 20 ความพงึ พอใจในภาพรวม 4.13 0.65 มาก หนว่ ยงานมีความร้คู วามสามารถมากกว่าเมื่อเทยี บ มาก กับบณั ฑติ จากสถาบนั การศกึ ษาอื่นในประเทศไทย และมคี วามรคู้ วามสามารถมากกวา่ เม่อื เทียบกบั มาก บัณฑิตจากสถาบันการศกึ ษาอ่นื ตา่ งประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรบั บณั ฑิตจุฬาฯ เขา้ ทาํ งานในอนาคต 4.13 0.66 มาก 22ก เปรยี บเทยี บกบั สถาบนั การศกึ ษาอื่นในประเทศ 4.12 0.65 มากกวา่ 22ข เปรยี บเทยี บกบั สถาบันการศกึ ษาอื่นในตา่ งประเทศ 3.96 0.66 มากกว่า 29

สรปุ ผลการประเมินความพงึ พอใจของผู้ใช้บณั ฑติ ทีส่ าํ เร็จการศกึ ษาในปกี ารศึกษา 2560 กลมุ่ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรช์ วี ภาพ ระดับประกาศนยี บตั ร จํานวนผ้สู าํ เร็จการศึกษา 53 คน ได้รบั แบบสอบถามตอบกลับ จํานวน 27 คน คดิ เปน็ 50.94% ข้อ คณุ ลกั ษณะบณั ฑิตทพี่ งึ ประสงค์  SD ระดบั คําอธบิ าย ความพงึ พอใจ 1 มคี วามรู้ ลกั ษณะ รรู้ อบ 2 มคี วามรู้ ลกั ษณะ รลู้ ึก 4.16 0.56 มาก ผใู้ ช้บัณฑติ ให้คะแนนความพึงพอใจตอ่ บัณฑติ ใน 3 มีคณุ ธรรมและจริยธรรม 4.15 0.60 ภาพรวมที่ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.16 ซ่ึงเม่อื พิจารณา 4 มจี รรยาบรรณ 5 สามารถคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ มาก เปรียบเทียบกับเกณฑ์ในการพิจารณาระดบั ความพึง 6 สามารถคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ 7 มีทักษะในการคิดแก้ปัญหา 4.37 0.49 มาก พอใจพบวา่ ผู้ใช้บณั ฑิตมคี วามพึงพอใจตอ่ บณั ฑติ ใน 8 มที ักษะทางวิชาชีพ 4.44 0.58 ภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก 9 มีทกั ษะการสื่อสาร ด้านการใชภ้ าษาไทย 10 มที ักษะการส่อื สาร ดา้ นการใชภ้ าษาองั กฤษ มาก 11 มที ักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 มที ักษะทางคณิตศาสตรแ์ ละสถิติ 4.37 0.56 มาก จากขนาดตัวอย่างทีไ่ ดร้ บั ตอบกลับสามารถประมาณ 13 มีทักษะการบริหารจัดการ 4.30 0.72 การค่าเฉลี่ยความพงึ พอใจของผู้สาํ เร็จการศึกษา 14 ใฝ่รู้ 4.26 0.66 15 รูจ้ ักวธิ กี ารเรยี นรู้ 4.37 0.63 มาก ทัง้ หมดได้ในชว่ ง 4.04 - 4.28 โดยมีระดับความพงึ มาก พอใจต่อคุณลกั ษณะบัณฑติ ทพ่ี ึงประสงคใ์ นด้านต่าง ๆ ดังแสดงในตาราง มาก 4.19 0.62 มาก ผู้ใชบ้ ัณฑติ มีความพึงพอใจมากที่สดุ เปน็ 3 อันดบั 3.96 0.59 แรกตอ่ คณุ ลักษณะบณั ฑติ ที่พึงประสงค์ในด้านต่อไปนี้ 4.30 0.67 มาก 1. มจี รรยาบรรณ 3.81 0.62 4.19 0.68 มาก 2. รูจ้ กั วธิ กี ารเรยี นรู้ 4.37 0.49 3. มีคุณธรรมและจรยิ ธรรม 4.44 0.58 มาก และมคี วามพึงพอใจน้อยท่สี ดุ เปน็ 3 อนั ดับแรกต่อ มาก คุณลกั ษณะบัณฑิตทพ่ี ึงประสงคใ์ นดา้ นต่อไปน้ี 1. มที ักษะทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถิติ มาก 2. มีทักษะการสอ่ื สาร ด้านการใช้ภาษาองั กฤษ มาก 3. มคี วามรู้ ลกั ษณะ รู้ลกึ 16 มภี าวะผูน้ ํา 4.19 0.62 มาก ผ้ใู ชบ้ ัณฑิตมีความประสงค์ทจ่ี ะคดั เลือกบณั ฑิตจุฬาฯ 17 มสี ขุ ภาวะ 4.33 0.62 18 มจี ิตอาสาและสํานกึ สาธารณะ 4.33 0.62 มาก เข้าทํางานในอนาคตอยใู่ นเกณฑม์ าก 19 ดํารงความเป็นไทยในกระแสโลกาภวิ ัตน์ 4.30 0.54 และมคี วามเหน็ วา่ บณั ฑติ จฬุ าฯ ท่ปี ฏบิ ัตงิ านใน 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.16 0.47 มาก หนว่ ยงานมีความรู้ความสามารถมากกวา่ เม่อื เทียบ มาก กับบณั ฑติ จากสถาบนั การศึกษาอน่ื ในประเทศไทย และมคี วามรู้ความสามารถมากกวา่ เมื่อเทยี บกับ มาก บัณฑติ จากสถาบนั การศึกษาอื่นตา่ งประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรบั บณั ฑติ จุฬาฯ เขา้ ทํางานในอนาคต 4.27 0.45 มาก 22ก เปรยี บเทยี บกับสถาบนั การศึกษาอน่ื ในประเทศ 4.15 0.37 มากกวา่ 22ข เปรยี บเทยี บกบั สถาบันการศกึ ษาอื่นในต่างประเทศ 4.00 0.51 มากกว่า 30

สรปุ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผ้ใู ชบ้ ณั ฑิตทสี่ าํ เรจ็ การศกึ ษาในปีการศึกษา 2560 กลุม่ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ ระดับปริญญาโท จํานวนผู้สําเรจ็ การศกึ ษา 411 คน ไดร้ บั แบบสอบถามตอบกลบั จาํ นวน 196 คน คิดเปน็ 47.69% ข้อ คุณลักษณะบัณฑติ ท่ีพึงประสงค์  SD ระดบั คําอธิบาย ความพึงพอใจ 1 มคี วามรู้ ลักษณะ รู้รอบ 2 มีความรู้ ลกั ษณะ รลู้ กึ 4.32 0.58 มาก ผ้ใู ชบ้ ัณฑติ ใหค้ ะแนนความพึงพอใจต่อบณั ฑิตใน 3 มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 4.17 0.71 ภาพรวมทคี่ า่ เฉลย่ี เทา่ กับ 4.32 ซง่ึ เมอ่ื พิจารณา 4 มจี รรยาบรรณ 5 สามารถคดิ อย่างมีวิจารณญาณ มาก เปรียบเทยี บกับเกณฑใ์ นการพจิ ารณาระดบั ความพึง 6 สามารถคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ 7 มที กั ษะในการคิดแก้ปัญหา 4.42 0.68 มาก พอใจพบว่าผใู้ ชบ้ ัณฑิตมีความพึงพอใจต่อบัณฑติ ใน 8 มีทักษะทางวิชาชพี 4.46 0.64 ภาพรวมอย่ใู นระดับมาก 9 มีทักษะการส่อื สาร ด้านการใชภ้ าษาไทย 10 มีทักษะการสอ่ื สาร ด้านการใชภ้ าษาองั กฤษ มาก 11 มีทกั ษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 มีทักษะทางคณติ ศาสตร์และสถิติ 4.19 0.69 มาก จากขนาดตวั อยา่ งที่ได้รับตอบกลับสามารถประมาณ 13 มที ักษะการบรหิ ารจัดการ 4.11 0.69 การค่าเฉล่ียความพึงพอใจของผู้สําเร็จการศึกษา 14 ใฝร่ ู้ 4.06 0.73 15 รูจ้ ักวธิ ีการเรียนรู้ 4.29 0.69 มาก ทัง้ หมดได้ในชว่ ง 4.26 - 4.39 โดยมีระดบั ความพงึ มาก พอใจต่อคุณลกั ษณะบณั ฑิตที่พึงประสงค์ในด้านตา่ ง ๆ ดงั แสดงในตาราง มาก 4.28 0.73 มาก ผใู้ ชบ้ ณั ฑติ มคี วามพงึ พอใจมากทส่ี ุดเป็น 3 อันดับ 3.93 0.78 แรกต่อคุณลักษณะบณั ฑติ ท่ีพงึ ประสงคใ์ นด้านตอ่ ไปน้ี 4.18 0.67 มาก 1. มีจรรยาบรรณ 3.95 0.65 4.01 0.74 มาก 2. มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม 4.26 0.68 3. มีความรู้ ลักษณะ รูร้ อบ 4.23 0.67 มาก และมคี วามพึงพอใจน้อยทีส่ ุดเปน็ 3 อันดบั แรกต่อ มาก คุณลักษณะบณั ฑิตท่ีพึงประสงค์ในด้านตอ่ ไปนี้ 1. มีทกั ษะการสอื่ สาร ดา้ นการใชภ้ าษาองั กฤษ มาก 2. มที ักษะทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถิติ มาก 3. มภี าวะผูน้ าํ 16 มีภาวะผ้นู ํา 3.97 0.77 มาก ผู้ใช้บัณฑิตมีความประสงค์ทีจ่ ะคดั เลือกบณั ฑิตจฬุ าฯ 17 มสี ุขภาวะ 4.21 0.71 18 มีจิตอาสาและสาํ นึกสาธารณะ 4.31 0.72 มาก เขา้ ทํางานในอนาคตอยใู่ นเกณฑ์มาก 19 ดาํ รงความเป็นไทยในกระแสโลกาภิวัตน์ 4.12 0.68 และมีความเห็นว่าบณั ฑติ จุฬาฯ ทป่ี ฏิบัตงิ านใน 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.32 0.65 มาก หน่วยงานมคี วามรู้ความสามารถมากกวา่ เม่อื เทียบ มาก กับบณั ฑติ จากสถาบันการศึกษาอน่ื ในประเทศไทย และมคี วามร้คู วามสามารถมากกว่าเมอ่ื เทียบกบั มาก บัณฑติ จากสถาบนั การศึกษาอ่นื ตา่ งประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรบั บณั ฑิตจุฬาฯ เขา้ ทาํ งานในอนาคต 4.35 0.64 มาก 22ก เปรียบเทยี บกบั สถาบันการศกึ ษาอน่ื ในประเทศ 4.25 0.64 มากกว่า 22ข เปรยี บเทียบกับสถาบันการศึกษาอืน่ ในต่างประเทศ 3.96 0.73 มากกว่า 31

สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจของผ้ใู ชบ้ ณั ฑติ ทส่ี าํ เร็จการศึกษาในปกี ารศกึ ษา 2560 กลุม่ สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ชวี ภาพ ระดบั ประกาศนียบตั รช้ันสงู จาํ นวนผูส้ ําเรจ็ การศกึ ษา 241 คน ได้รบั แบบสอบถามตอบกลับ จํานวน 133 คน คดิ เปน็ 55.19% ขอ้ คุณลกั ษณะบัณฑิตท่พี งึ ประสงค์  SD ระดับ คําอธิบาย ความพึงพอใจ 1 มีความรู้ ลกั ษณะ รู้รอบ 2 มีความรู้ ลกั ษณะ ร้ลู กึ 4.43 0.59 มาก ผ้ใู ช้บณั ฑติ ให้คะแนนความพึงพอใจตอ่ บัณฑิตใน 3 มีคุณธรรมและจรยิ ธรรม 4.32 0.62 ภาพรวมท่ีค่าเฉล่ียเท่ากบั 4.43 ซึง่ เม่อื พิจารณา 4 มจี รรยาบรรณ 5 สามารถคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ มาก เปรียบเทียบกบั เกณฑ์ในการพิจารณาระดับความพึง 6 สามารถคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ 7 มีทกั ษะในการคดิ แก้ปญั หา 4.44 0.66 มาก พอใจพบวา่ ผู้ใช้บณั ฑิตมคี วามพงึ พอใจตอ่ บัณฑติ ใน 8 มีทักษะทางวิชาชีพ 4.47 0.63 ภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก 9 มที กั ษะการสือ่ สาร ด้านการใช้ภาษาไทย 10 มที กั ษะการส่ือสาร ด้านการใชภ้ าษาอังกฤษ มาก 11 มที ักษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 มที ักษะทางคณิตศาสตรแ์ ละสถิติ 4.35 0.62 มาก จากขนาดตวั อย่างทไ่ี ด้รบั ตอบกลบั สามารถประมาณ 13 มีทักษะการบริหารจดั การ 4.21 0.64 การคา่ เฉล่ียความพงึ พอใจของผูส้ าํ เร็จการศกึ ษา 14 ใฝ่รู้ 4.25 0.60 15 ร้จู กั วิธีการเรยี นรู้ 4.35 0.62 มาก ทัง้ หมดไดใ้ นช่วง 4.36 - 4.50 โดยมรี ะดบั ความพึง มาก พอใจต่อคุณลักษณะบัณฑติ ทพี่ งึ ประสงค์ในด้านตา่ ง ๆ ดังแสดงในตาราง มาก 4.38 0.63 มาก ผ้ใู ชบ้ ัณฑิตมคี วามพึงพอใจมากท่สี ุดเปน็ 3 อันดับ 4.09 0.64 แรกตอ่ คณุ ลกั ษณะบัณฑติ ที่พงึ ประสงคใ์ นดา้ นต่อไปนี้ 4.28 0.58 มาก 1. มีจรรยาบรรณ 4.03 0.62 4.14 0.67 มาก 2. ใฝ่รู้ 4.45 0.62 3. มีคณุ ธรรมและจริยธรรม 4.43 0.62 มาก และมคี วามพึงพอใจนอ้ ยท่ีสุดเปน็ 3 อนั ดับแรกต่อ มาก คุณลักษณะบณั ฑิตที่พึงประสงคใ์ นด้านตอ่ ไปนี้ 1. มที กั ษะทางคณติ ศาสตร์และสถิติ มาก 2. มีทักษะการส่อื สาร ดา้ นการใช้ภาษาองั กฤษ มาก 3. มีภาวะผนู้ าํ 16 มภี าวะผู้นาํ 4.14 0.66 มาก ผู้ใช้บัณฑิตมคี วามประสงค์ท่จี ะคดั เลอื กบัณฑิตจฬุ าฯ 17 มสี ุขภาวะ 4.31 0.63 18 มจี ติ อาสาและสํานึกสาธารณะ 4.34 0.66 มาก เขา้ ทาํ งานในอนาคตอยใู่ นเกณฑ์มาก 19 ดํารงความเป็นไทยในกระแสโลกาภิวัตน์ 4.26 0.64 และมคี วามเห็นว่าบัณฑิตจุฬาฯ ท่ปี ฏิบัตงิ านใน 20 ความพงึ พอใจในภาพรวม 4.43 0.63 มาก หน่วยงานมคี วามรคู้ วามสามารถมากกวา่ เมอ่ื เทยี บ มาก กับบัณฑติ จากสถาบนั การศึกษาอื่นในประเทศไทย และมคี วามรู้ความสามารถมากกวา่ เม่ือเทียบกับ มาก บัณฑิตจากสถาบันการศกึ ษาอ่นื ต่างประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรับบัณฑิตจฬุ าฯ เข้าทาํ งานในอนาคต 4.46 0.60 มาก 22ก เปรียบเทยี บกบั สถาบันการศกึ ษาอื่นในประเทศ 4.33 0.59 มากกว่า 22ข เปรียบเทยี บกบั สถาบนั การศกึ ษาอนื่ ในต่างประเทศ 4.10 0.70 มากกวา่ 32

สรปุ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใชบ้ ณั ฑิตท่ีสําเรจ็ การศึกษาในปีการศกึ ษา 2560 กลุม่ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ระดบั ปรญิ ญาเอก จาํ นวนผูส้ าํ เร็จการศึกษา 87 คน ได้รบั แบบสอบถามตอบกลบั จํานวน 50 คน คิดเปน็ 57.47% ขอ้ คณุ ลกั ษณะบัณฑติ ทีพ่ งึ ประสงค์  SD ระดับ คําอธิบาย ความพึงพอใจ 1 มีความรู้ ลกั ษณะ รู้รอบ 2 มีความรู้ ลกั ษณะ รลู้ ึก 4.68 0.54 มากทส่ี ดุ ผ้ใู ชบ้ ณั ฑิตใหค้ ะแนนความพึงพอใจต่อบณั ฑิตใน 3 มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 4.54 0.54 มากท่ีสดุ ภาพรวมท่คี า่ เฉลยี่ เทา่ กบั 4.68 ซึ่งเมอ่ื พิจารณา 4 มีจรรยาบรรณ เปรยี บเทยี บกับเกณฑใ์ นการพิจารณาระดบั ความพงึ 5 สามารถคดิ อย่างมีวิจารณญาณ 6 สามารถคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ 4.70 0.51 มากท่ีสดุ พอใจพบว่าผ้ใู ชบ้ ัณฑติ มีความพงึ พอใจตอ่ บัณฑติ ใน 7 มีทกั ษะในการคดิ แกป้ ัญหา 4.66 0.48 ภาพรวมอย่ใู นระดับมากทีส่ ุด 8 มีทักษะทางวิชาชพี 9 มที กั ษะการสือ่ สาร ดา้ นการใชภ้ าษาไทย มากที่สดุ 10 มีทักษะการส่อื สาร ด้านการใช้ภาษาอังกฤษ 11 มที ักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.48 0.68 มาก จากขนาดตัวอย่างที่ไดร้ ับตอบกลบั สามารถประมาณ 12 มีทักษะทางคณิตศาสตร์และสถติ ิ 4.42 0.57 มาก การคา่ เฉลยี่ ความพึงพอใจของผูส้ าํ เรจ็ การศกึ ษา 13 มีทกั ษะการบรหิ ารจดั การ 4.44 0.54 มาก ท้งั หมดไดใ้ นชว่ ง 4.59 - 4.77 โดยมีระดบั ความพึง 14 ใฝ่รู้ 4.60 0.57 มากที่สดุ พอใจต่อคุณลักษณะบัณฑติ ท่พี ึงประสงคใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ 15 รจู้ กั วิธีการเรียนรู้ ดังแสดงในตาราง 4.62 0.60 มากท่สี ุด ผใู้ ชบ้ ัณฑติ มีความพึงพอใจมากท่ีสดุ เปน็ 3 อนั ดบั 4.44 0.58 มาก แรกตอ่ คุณลักษณะบณั ฑิตที่พึงประสงคใ์ นดา้ นต่อไปนี้ 4.46 0.61 มาก 1. มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 4.40 0.61 มาก 2. มคี วามรู้ ลกั ษณะ รูร้ อบ 4.40 0.61 มาก 3. มีจรรยาบรรณ 4.40 0.57 มาก และมีความพงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ดุ เป็น 3 อันดับแรกต่อ 4.50 0.51 คณุ ลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ในด้านต่อไปนี้ มากทส่ี ดุ 1. มีภาวะผ้นู ํา 2. ดาํ รงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภวิ ัตน์ 3. มที กั ษะทางคณติ ศาสตร์และสถิติ 16 มภี าวะผู้นํา 4.33 0.59 มาก ผูใ้ ชบ้ ัณฑิตมคี วามประสงค์ทจี่ ะคัดเลือกบัณฑิตจุฬาฯ 17 มสี ุขภาวะ 4.42 0.64 มาก เข้าทํางานในอนาคตอยู่ในเกณฑ์มากที่สดุ 18 มีจิตอาสาและสํานึกสาธารณะ 4.48 0.61 มาก และมีความเหน็ วา่ บัณฑติ จฬุ าฯ ทปี่ ฏบิ ัติงานใน 19 ดาํ รงความเป็นไทยในกระแสโลกาภวิ ตั น์ 4.36 0.63 มาก หน่วยงานมคี วามรูค้ วามสามารถมากกว่ามากเมอ่ื 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.68 0.51 มากท่สี ดุ เทียบกับบัณฑติ จากสถาบนั การศึกษาอื่นในประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรบั บัณฑติ จุฬาฯ เข้าทํางานในอนาคต 4.66 0.56 มากทีส่ ดุ ไทย และมคี วามรู้ความสามารถมากกวา่ เมือ่ เทียบกบั บัณฑิตจากสถาบันการศกึ ษาอ่นื ต่างประเทศ 22ก เปรียบเทียบกบั สถาบันการศึกษาอน่ื ในประเทศ 4.68 0.51 มากกวา่ มาก 22ข เปรยี บเทยี บกบั สถาบนั การศกึ ษาอนื่ ในตา่ งประเทศ 4.46 0.60 มากกวา่ 33

สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใชบ้ ณั ฑติ ท่ีสาํ เรจ็ การศกึ ษาในปกี ารศกึ ษา 2560 กลุม่ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ระดับปริญญาตรี จํานวนผู้สําเรจ็ การศกึ ษา 1,928 คน ไดร้ บั แบบสอบถามตอบกลบั จํานวน 422 คน คิดเป็น 21.89% ข้อ คุณลักษณะบณั ฑิตท่ีพงึ ประสงค์  SD ระดบั คาํ อธบิ าย ความพงึ พอใจ 1 มคี วามรู้ ลกั ษณะ รู้รอบ 2 มคี วามรู้ ลักษณะ รลู้ กึ 4.22 0.67 มาก ผูใ้ ชบ้ ณั ฑติ ใหค้ ะแนนความพึงพอใจต่อบณั ฑติ ใน 3 มีคณุ ธรรมและจริยธรรม 3.91 0.70 ภาพรวมทคี่ า่ เฉลยี่ เทา่ กบั 4.22 ซึ่งเมื่อพจิ ารณา 4 มีจรรยาบรรณ 5 สามารถคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ มาก เปรยี บเทียบกบั เกณฑ์ในการพจิ ารณาระดบั ความพึง 6 สามารถคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ 7 มที ักษะในการคดิ แก้ปญั หา 4.34 0.66 มาก พอใจพบว่าผูใ้ ช้บณั ฑิตมีความพงึ พอใจต่อบัณฑิตใน 8 มีทักษะทางวชิ าชีพ 4.33 0.66 ภาพรวมอยใู่ นระดับมาก 9 มที กั ษะการส่อื สาร ด้านการใช้ภาษาไทย 10 มที ักษะการสื่อสาร ด้านการใช้ภาษาอังกฤษ มาก 11 มที กั ษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 มีทกั ษะทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถิติ 4.15 0.70 มาก จากขนาดตัวอย่างที่ได้รบั ตอบกลับสามารถประมาณ 13 มีทกั ษะการบรหิ ารจัดการ 4.01 0.73 การคา่ เฉลี่ยความพึงพอใจของผูส้ าํ เร็จการศกึ ษา 14 ใฝ่รู้ 4.04 0.72 15 รูจ้ ักวิธีการเรียนรู้ 4.06 0.71 มาก ทั้งหมดไดใ้ นช่วง 4.16 - 4.27 โดยมีระดับความพงึ มาก พอใจต่อคณุ ลกั ษณะบณั ฑิตทพี่ ึงประสงคใ์ นด้านตา่ ง ๆ ดังแสดงในตาราง มาก 4.13 0.65 มาก ผใู้ ชบ้ ณั ฑิตมคี วามพงึ พอใจมากทสี่ ดุ เปน็ 3 อนั ดับ 3.90 0.72 แรกตอ่ คุณลักษณะบณั ฑิตทพี่ งึ ประสงค์ในดา้ นตอ่ ไปนี้ 4.27 0.70 มาก 1. มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 4.03 0.68 3.97 0.72 มาก 2. ใฝ่รู้ 4.33 0.72 3. มีจรรยาบรรณ 4.29 0.71 มาก และมีความพงึ พอใจนอ้ ยที่สดุ เปน็ 3 อนั ดบั แรกตอ่ มาก คณุ ลักษณะบณั ฑติ ทพี่ งึ ประสงคใ์ นดา้ นตอ่ ไปนี้ 1. มีภาวะผนู้ าํ มาก 2. มีทักษะการสอ่ื สาร ดา้ นการใชภ้ าษาองั กฤษ มาก 3. มีความรู้ ลักษณะ ร้ลู ึก 16 มภี าวะผนู้ าํ 3.85 0.73 มาก ผู้ใชบ้ ณั ฑติ มคี วามประสงคท์ ี่จะคดั เลอื กบัณฑิตจฬุ าฯ 17 มสี ขุ ภาวะ 4.13 0.70 18 มจี ิตอาสาและสาํ นกึ สาธารณะ 4.20 0.75 มาก เข้าทํางานในอนาคตอยใู่ นเกณฑม์ าก 19 ดํารงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภวิ ตั น์ 4.00 0.72 และมีความเห็นวา่ บณั ฑติ จุฬาฯ ท่ีปฏบิ ัติงานใน 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.22 0.67 มาก หน่วยงานมคี วามรู้ความสามารถมากกว่าเม่อื เทียบ มาก กับบัณฑิตจากสถาบันการศึกษาอ่นื ในประเทศไทย และมคี วามร้คู วามสามารถมากกว่าเมื่อเทยี บกับ มาก บัณฑิตจากสถาบันการศกึ ษาอน่ื ตา่ งประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรบั บณั ฑิตจุฬาฯ เข้าทาํ งานในอนาคต 4.29 0.65 มาก 22ก เปรยี บเทยี บกบั สถาบันการศกึ ษาอนื่ ในประเทศ 4.24 0.63 มากกว่า 22ข เปรยี บเทยี บกับสถาบนั การศึกษาอ่ืนในตา่ งประเทศ 3.80 0.71 มากกวา่ 34

สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณั ฑติ ที่สําเร็จการศกึ ษาในปกี ารศึกษา 2560 กลมุ่ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ระดบั ปริญญาโท จาํ นวนผสู้ ําเรจ็ การศึกษา 719 คน ไดร้ ับแบบสอบถามตอบกลับ จํานวน 186 คน คิดเป็น 25.87% ขอ้ คณุ ลักษณะบัณฑิตท่พี งึ ประสงค์  SD ระดบั คําอธิบาย ความพึงพอใจ 1 มีความรู้ ลักษณะ รูร้ อบ 2 มีความรู้ ลกั ษณะ รู้ลึก 4.43 0.60 มาก ผ้ใู ชบ้ ัณฑิตใหค้ ะแนนความพงึ พอใจต่อบัณฑติ ใน 3 มีคณุ ธรรมและจริยธรรม 4.16 0.65 ภาพรวมที่คา่ เฉลย่ี เท่ากับ 4.43 ซง่ึ เม่อื พจิ ารณา 4 มีจรรยาบรรณ 5 สามารถคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ มาก เปรยี บเทียบกับเกณฑ์ในการพจิ ารณาระดับความพงึ 6 สามารถคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ 7 มีทกั ษะในการคิดแก้ปัญหา 4.44 0.65 มาก พอใจพบวา่ ผู้ใช้บณั ฑิตมคี วามพงึ พอใจตอ่ บัณฑติ ใน 8 มีทกั ษะทางวชิ าชีพ 4.42 0.66 ภาพรวมอยู่ในระดบั มาก 9 มที กั ษะการสอื่ สาร ด้านการใช้ภาษาไทย 10 มีทักษะการสอ่ื สาร ดา้ นการใช้ภาษาองั กฤษ มาก 11 มที กั ษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 มที กั ษะทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ิ 4.32 0.64 มาก จากขนาดตวั อยา่ งที่ไดร้ ับตอบกลับสามารถประมาณ 13 มที ักษะการบรหิ ารจัดการ 4.23 0.63 การคา่ เฉลย่ี ความพึงพอใจของผู้สาํ เรจ็ การศกึ ษา 14 ใฝร่ ู้ 4.21 0.60 15 รู้จกั วธิ กี ารเรยี นรู้ 4.27 0.60 มาก ทง้ั หมดไดใ้ นชว่ ง 4.35 - 4.51 โดยมีระดับความพึง มาก พอใจต่อคณุ ลักษณะบณั ฑิตท่ีพึงประสงค์ในด้านตา่ ง ๆ ดงั แสดงในตาราง มาก 4.25 0.63 มาก ผใู้ ช้บณั ฑิตมคี วามพงึ พอใจมากท่ีสดุ เป็น 3 อันดับ 4.04 0.72 แรกตอ่ คุณลกั ษณะบัณฑติ ท่ีพงึ ประสงค์ในด้านต่อไปน้ี 4.38 0.60 มาก 1. ใฝร่ ู้ 4.16 0.61 4.19 0.66 มาก 2. รจู้ ักวธิ ีการเรยี นรู้ 4.49 0.62 3. มีคณุ ธรรมและจริยธรรม 4.48 0.60 มาก และมคี วามพึงพอใจน้อยทีส่ ุดเป็น 3 อนั ดบั แรกตอ่ มาก คณุ ลกั ษณะบัณฑิตทีพ่ ึงประสงคใ์ นดา้ นตอ่ ไปน้ี 1. มที ักษะการสื่อสาร ดา้ นการใชภ้ าษาองั กฤษ มาก 2. มภี าวะผู้นาํ มาก 3. มคี วามรู้ ลักษณะ ร้ลู กึ 16 มภี าวะผ้นู าํ 4.15 0.71 มาก ผู้ใช้บณั ฑติ มคี วามประสงค์ทีจ่ ะคดั เลอื กบัณฑิตจุฬาฯ 17 มีสุขภาวะ 4.35 0.58 18 มจี ิตอาสาและสาํ นกึ สาธารณะ 4.41 0.67 มาก เข้าทาํ งานในอนาคตอยใู่ นเกณฑม์ าก 19 ดาํ รงความเป็นไทยในกระแสโลกาภวิ ัตน์ 4.30 0.68 และมคี วามเหน็ ว่าบณั ฑิตจฬุ าฯ ที่ปฏบิ ัตงิ านใน 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.43 0.62 มาก หนว่ ยงานมคี วามรูค้ วามสามารถมากกว่าเม่ือเทียบ มาก กบั บณั ฑติ จากสถาบนั การศึกษาอ่นื ในประเทศไทย และมคี วามรูค้ วามสามารถมากกว่าเมือ่ เทียบกบั มาก บณั ฑิตจากสถาบันการศกึ ษาอืน่ ต่างประเทศ 21 ประสงค์จะรบั บณั ฑิตจุฬาฯ เข้าทาํ งานในอนาคต 4.42 0.59 มาก 22ก เปรยี บเทียบกบั สถาบันการศกึ ษาอื่นในประเทศ 4.37 0.56 มากกว่า 22ข เปรยี บเทียบกับสถาบันการศึกษาอนื่ ในต่างประเทศ 3.89 0.66 มากกวา่ 35

สรปุ ผลการประเมินความพงึ พอใจของผใู้ ช้บณั ฑติ ทีส่ าํ เรจ็ การศกึ ษาในปกี ารศึกษา 2560 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ระดบั ปรญิ ญาเอก จาํ นวนผูส้ าํ เร็จการศกึ ษา 139 คน ได้รับแบบสอบถามตอบกลับ จํานวน 36 คน คดิ เปน็ 25.90% ข้อ คณุ ลักษณะบณั ฑิตทีพ่ ึงประสงค์  SD ระดับ คําอธบิ าย ความพึงพอใจ 1 มคี วามรู้ ลกั ษณะ ร้รู อบ 2 มีความรู้ ลกั ษณะ รลู้ ึก 4.42 0.62 มาก ผ้ใู ช้บัณฑติ ใหค้ ะแนนความพึงพอใจต่อบัณฑติ ใน 3 มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 4.28 0.61 ภาพรวมทค่ี ่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.42 ซึง่ เมอื่ พจิ ารณา 4 มจี รรยาบรรณ 5 สามารถคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ มาก เปรียบเทยี บกับเกณฑ์ในการพจิ ารณาระดับความพึง 6 สามารถคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ 7 มที ักษะในการคิดแก้ปญั หา 4.56 0.61 มากท่สี ุด พอใจพบวา่ ผ้ใู ช้บณั ฑติ มีความพึงพอใจต่อบัณฑติ ใน 8 มีทักษะทางวิชาชีพ 4.42 0.60 ภาพรวมอยู่ในระดบั มาก 9 มีทกั ษะการสือ่ สาร ด้านการใชภ้ าษาไทย 10 มีทักษะการสื่อสาร ด้านการใช้ภาษาองั กฤษ มาก 11 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 มีทักษะทางคณิตศาสตรแ์ ละสถติ ิ 4.36 0.64 มาก จากขนาดตวั อย่างทไี่ ดร้ ับตอบกลบั สามารถประมาณ 13 มที ักษะการบรหิ ารจดั การ 4.03 0.66 การคา่ เฉลย่ี ความพึงพอใจของผู้สําเร็จการศึกษา 14 ใฝ่รู้ 4.31 0.71 15 ร้จู ักวธิ ีการเรียนรู้ 4.25 0.60 มาก ท้งั หมดไดใ้ นช่วง 4.25 - 4.59 โดยมรี ะดบั ความพึง มาก พอใจต่อคุณลักษณะบัณฑติ ท่พี ึงประสงค์ในด้านตา่ ง ๆ ดังแสดงในตาราง มาก 4.31 0.86 มาก ผู้ใชบ้ ณั ฑติ มีความพงึ พอใจมากทสี่ ดุ เป็น 3 อันดับ 4.19 0.62 แรกตอ่ คุณลักษณะบัณฑติ ที่พงึ ประสงค์ในดา้ นต่อไปน้ี 4.33 0.63 มาก 1. มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม 4.36 0.68 4.00 0.72 มาก 2. มคี วามรู้ ลักษณะ รู้รอบ 4.42 0.60 3. มีจรรยาบรรณ 4.28 0.70 มาก และมคี วามพงึ พอใจนอ้ ยทส่ี ดุ เปน็ 3 อนั ดบั แรกตอ่ มาก คุณลักษณะบณั ฑิตทีพ่ ึงประสงคใ์ นดา้ นตอ่ ไปนี้ 1. มีทกั ษะการบริหารจัดการ มาก 2. สามารถคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์ มาก 3. ดาํ รงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภวิ ัตน์ 16 มภี าวะผ้นู ํา 4.25 0.73 มาก ผู้ใชบ้ ณั ฑิตมีความประสงคท์ ่จี ะคดั เลอื กบัณฑิตจุฬาฯ 17 มสี ขุ ภาวะ 4.19 0.75 18 มีจิตอาสาและสํานกึ สาธารณะ 4.39 0.77 มาก เข้าทํางานในอนาคตอยู่ในเกณฑม์ าก 19 ดาํ รงความเป็นไทยในกระแสโลกาภิวัตน์ 4.17 0.65 และมคี วามเห็นวา่ บณั ฑิตจฬุ าฯ ทป่ี ฏิบัติงานใน 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.42 0.60 มาก หนว่ ยงานมีความร้คู วามสามารถมากกวา่ เมื่อเทียบ มาก กับบัณฑติ จากสถาบันการศกึ ษาอน่ื ในประเทศไทย และมคี วามร้คู วามสามารถมากกว่าเมอื่ เทยี บกับ มาก บัณฑิตจากสถาบันการศกึ ษาอ่นื ต่างประเทศ 21 ประสงค์จะรบั บัณฑติ จุฬาฯ เข้าทํางานในอนาคต 4.40 0.69 มาก 22ก เปรียบเทียบกับสถาบันการศึกษาอ่นื ในประเทศ 4.29 0.67 มากกวา่ 22ข เปรียบเทยี บกับสถาบันการศึกษาอ่ืนในต่างประเทศ 4.06 0.80 มากกวา่ 36

สรปุ ผลการประเมินความพงึ พอใจของผใู้ ชบ้ ณั ฑติ ทส่ี าํ เร็จการศกึ ษาในปกี ารศึกษา 2560 กลมุ่ สาขาวชิ าสังคมศาสตร์ ระดบั ปรญิ ญาตรี จํานวนผูส้ ําเร็จการศกึ ษา 2,111 คน ได้รบั แบบสอบถามตอบกลับ จาํ นวน 365 คน คดิ เปน็ 17.29% ข้อ คณุ ลกั ษณะบณั ฑิตทีพ่ ึงประสงค์  SD ระดบั คําอธบิ าย ความพึงพอใจ 1 มคี วามรู้ ลักษณะ รู้รอบ 2 มีความรู้ ลกั ษณะ รู้ลกึ 4.16 0.65 มาก ผู้ใช้บณั ฑติ ให้คะแนนความพงึ พอใจต่อบณั ฑิตใน 3 มคี ุณธรรมและจริยธรรม 4.04 0.66 ภาพรวมท่ีค่าเฉลี่ยเท่ากบั 4.16 ซง่ึ เมื่อพิจารณา 4 มจี รรยาบรรณ 5 สามารถคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ มาก เปรียบเทยี บกับเกณฑ์ในการพจิ ารณาระดบั ความพึง 6 สามารถคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ 7 มีทกั ษะในการคิดแก้ปัญหา 4.27 0.64 มาก พอใจพบว่าผูใ้ ช้บณั ฑติ มคี วามพงึ พอใจต่อบัณฑติ ใน 8 มที กั ษะทางวิชาชพี 4.23 0.68 ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 9 มที ักษะการสอ่ื สาร ด้านการใชภ้ าษาไทย 10 มที ักษะการสอื่ สาร ดา้ นการใชภ้ าษาองั กฤษ มาก 11 มีทักษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 มีทกั ษะทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ิ 4.06 0.68 มาก จากขนาดตวั อย่างทีไ่ ด้รบั ตอบกลับสามารถประมาณ 13 มีทักษะการบรหิ ารจดั การ 4.03 0.71 การคา่ เฉลี่ยความพงึ พอใจของผูส้ าํ เรจ็ การศกึ ษา 14 ใฝ่รู้ 4.02 0.65 15 รจู้ ักวิธกี ารเรยี นรู้ 4.05 0.67 มาก ทั้งหมดไดใ้ นชว่ ง 4.10 - 4.22 โดยมีระดับความพงึ มาก พอใจตอ่ คุณลักษณะบณั ฑติ ท่พี งึ ประสงค์ในดา้ นต่าง ๆ ดงั แสดงในตาราง มาก 4.17 0.73 มาก ผู้ใชบ้ ัณฑิตมีความพึงพอใจมากท่ีสุดเป็น 3 อันดับ 3.93 0.74 แรกต่อคณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ท่ีพงึ ประสงคใ์ นด้านต่อไปนี้ 4.17 0.71 มาก 1. มีคณุ ธรรมและจริยธรรม 3.87 0.75 3.95 0.66 มาก 2. มจี รรยาบรรณ 4.13 0.69 3. มจี ิตอาสาและสาํ นึกสาธารณะ 4.12 0.64 มาก และมคี วามพงึ พอใจน้อยทีส่ ุดเปน็ 3 อันดบั แรกตอ่ มาก คณุ ลกั ษณะบัณฑติ ท่พี งึ ประสงค์ในดา้ นต่อไปนี้ 1. มีทักษะทางคณติ ศาสตร์และสถติ ิ มาก 2. มที ักษะการสอื่ สาร ดา้ นการใชภ้ าษาองั กฤษ มาก 3. มภี าวะผนู้ าํ 16 มภี าวะผูน้ ํา 3.95 0.69 มาก ผูใ้ ช้บณั ฑิตมีความประสงคท์ ีจ่ ะคัดเลอื กบณั ฑิตจุฬาฯ 17 มีสขุ ภาวะ 4.13 0.72 18 มีจิตอาสาและสํานึกสาธารณะ 4.18 0.68 มาก เข้าทํางานในอนาคตอยใู่ นเกณฑ์มาก 19 ดํารงความเป็นไทยในกระแสโลกาภวิ ัตน์ 4.08 0.70 และมคี วามเหน็ วา่ บัณฑิตจุฬาฯ ทปี่ ฏบิ ัติงานใน 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.16 0.62 มาก หนว่ ยงานมคี วามรคู้ วามสามารถมากกวา่ เมือ่ เทียบ มาก กับบัณฑิตจากสถาบนั การศึกษาอน่ื ในประเทศไทย และมีความรคู้ วามสามารถมากกว่าเมอ่ื เทยี บกับ มาก บณั ฑติ จากสถาบันการศกึ ษาอ่ืนต่างประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรับบัณฑิตจุฬาฯ เขา้ ทํางานในอนาคต 4.16 0.64 มาก 22ก เปรยี บเทียบกบั สถาบนั การศกึ ษาอนื่ ในประเทศ 4.10 0.65 มากกว่า 22ข เปรยี บเทียบกบั สถาบันการศกึ ษาอน่ื ในตา่ งประเทศ 3.67 0.75 มากกว่า 37

สรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผ้ใู ช้บณั ฑติ ทส่ี าํ เรจ็ การศึกษาในปกี ารศึกษา 2560 กลุม่ สาขาวชิ าสังคมศาสตร์ ระดบั ปรญิ ญาโท จํานวนผู้สาํ เรจ็ การศกึ ษา 1,609 คน ไดร้ บั แบบสอบถามตอบกลบั จํานวน 242 คน คิดเป็น 15.04% ขอ้ คณุ ลกั ษณะบณั ฑิตท่พี ึงประสงค์  SD ระดบั คําอธบิ าย ความพึงพอใจ 1 มคี วามรู้ ลกั ษณะ รู้รอบ 2 มคี วามรู้ ลักษณะ รลู้ ึก 4.46 0.64 มาก ผู้ใชบ้ ณั ฑติ ใหค้ ะแนนความพึงพอใจต่อบัณฑิตใน 3 มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 4.22 0.65 ภาพรวมท่ีค่าเฉล่ียเท่ากบั 4.46 ซ่ึงเมอื่ พจิ ารณา 4 มจี รรยาบรรณ 5 สามารถคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ มาก เปรยี บเทียบกับเกณฑใ์ นการพจิ ารณาระดับความพงึ 6 สามารถคดิ ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ 7 มที ักษะในการคิดแก้ปญั หา 4.59 0.61 มากท่ีสุด พอใจพบว่าผใู้ ช้บณั ฑติ มีความพึงพอใจตอ่ บัณฑติ ใน 8 มีทกั ษะทางวชิ าชีพ 4.59 0.61 ภาพรวมอยู่ในระดบั มาก 9 มที กั ษะการสอื่ สาร ดา้ นการใช้ภาษาไทย 10 มที กั ษะการส่ือสาร ดา้ นการใชภ้ าษาองั กฤษ มากทสี่ ุด 11 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 มที ักษะทางคณติ ศาสตร์และสถติ ิ 4.36 0.67 มาก จากขนาดตวั อยา่ งที่ไดร้ ับตอบกลับสามารถประมาณ 13 มีทกั ษะการบรหิ ารจดั การ 4.23 0.72 การค่าเฉลย่ี ความพงึ พอใจของผ้สู ําเร็จการศึกษา 14 ใฝร่ ู้ 4.29 0.74 15 รจู้ ักวิธกี ารเรยี นรู้ 4.32 0.70 มาก ทัง้ หมดไดใ้ นช่วง 4.39 - 4.54 โดยมรี ะดับความพึง มาก พอใจตอ่ คุณลักษณะบัณฑติ ทพ่ี งึ ประสงคใ์ นด้านต่าง ๆ ดังแสดงในตาราง มาก 4.38 0.65 มาก ผใู้ ช้บัณฑิตมีความพึงพอใจมากท่สี ดุ เป็น 3 อันดับ 4.09 0.73 มาก แรกต่อคณุ ลักษณะบัณฑติ ที่พงึ ประสงคใ์ นด้านต่อไปน้ี 4.29 0.66 มาก 1. มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 4.07 0.74 มาก 2. มจี รรยาบรรณ 4.33 0.67 มาก 3. ใฝ่รู้ 4.52 0.66 มากทส่ี ดุ และมีความพึงพอใจน้อยทสี่ ุดเป็น 3 อนั ดับแรกต่อ 4.42 0.61 มาก คุณลักษณะบัณฑติ ท่ีพึงประสงค์ในดา้ นต่อไปน้ี 1. มีทักษะทางคณิตศาสตรแ์ ละสถิติ 2. มีทักษะการสื่อสาร ดา้ นการใชภ้ าษาอังกฤษ 3. มคี วามรู้ ลกั ษณะ รู้ลกึ 16 มีภาวะผนู้ าํ 4.24 0.72 มาก ผใู้ ชบ้ ณั ฑิตมคี วามประสงคท์ จ่ี ะคัดเลือกบณั ฑิตจุฬาฯ 17 มสี ุขภาวะ 4.41 0.70 18 มจี ิตอาสาและสํานึกสาธารณะ 4.43 0.71 มาก เข้าทํางานในอนาคตอย่ใู นเกณฑม์ ากทีส่ ดุ 19 ดาํ รงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภวิ ตั น์ 4.39 0.70 และมคี วามเห็นวา่ บณั ฑติ จุฬาฯ ทป่ี ฏบิ ัติงานใน 20 ความพงึ พอใจในภาพรวม 4.46 0.63 มาก หนว่ ยงานมคี วามร้คู วามสามารถมากกว่าเมื่อเทยี บ มาก กบั บณั ฑิตจากสถาบนั การศึกษาอื่นในประเทศไทย และมคี วามร้คู วามสามารถมากกวา่ เม่ือเทียบกับ มาก บัณฑิตจากสถาบนั การศึกษาอน่ื ตา่ งประเทศ 21 ประสงค์จะรบั บณั ฑิตจฬุ าฯ เข้าทํางานในอนาคต 4.58 0.62 มากท่ีสุด 22ก เปรียบเทยี บกบั สถาบนั การศึกษาอน่ื ในประเทศ 4.50 0.66 มากกวา่ 22ข เปรยี บเทียบกับสถาบนั การศึกษาอน่ื ในต่างประเทศ 4.24 0.70 มากกวา่ 38

สรปุ ผลการประเมินความพงึ พอใจของผูใ้ ชบ้ ณั ฑิตทส่ี าํ เร็จการศึกษาในปกี ารศกึ ษา 2560 กลุ่มสาขาวชิ าสังคมศาสตร์ ระดบั ปริญญาเอก จาํ นวนผ้สู ําเร็จการศึกษา 91 คน ไดร้ ับแบบสอบถามตอบกลับ จํานวน 31 คน คดิ เปน็ 34.07% ขอ้ คณุ ลกั ษณะบณั ฑิตทพี่ งึ ประสงค์  SD ระดบั คําอธิบาย ความพึงพอใจ 1 มีความรู้ ลกั ษณะ รู้รอบ 2 มคี วามรู้ ลักษณะ รลู้ กึ 4.81 0.72 มากที่สดุ ผใู้ ช้บัณฑติ ใหค้ ะแนนความพงึ พอใจต่อบณั ฑติ ใน 3 มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 4.42 0.67 มาก ภาพรวมทคี่ ่าเฉลยี่ เทา่ กบั 4.81 ซงึ่ เมือ่ พิจารณา 4 มีจรรยาบรรณ เปรยี บเทียบกบั เกณฑ์ในการพจิ ารณาระดับความพงึ 5 สามารถคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ 6 สามารถคดิ ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ 4.84 0.45 มากทีส่ ุด พอใจพบวา่ ผ้ใู ช้บณั ฑติ มคี วามพึงพอใจตอ่ บัณฑิตใน 7 มที กั ษะในการคดิ แกป้ ญั หา 4.71 0.59 ภาพรวมอยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ 8 มีทักษะทางวชิ าชพี 9 มีทกั ษะการสอ่ื สาร ด้านการใชภ้ าษาไทย มากท่ีสุด 10 มที ักษะการสื่อสาร ด้านการใช้ภาษาองั กฤษ 11 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.74 0.51 มากทส่ี ดุ จากขนาดตัวอยา่ งทีไ่ ด้รับตอบกลบั สามารถประมาณ 12 มีทักษะทางคณิตศาสตร์และสถติ ิ 4.52 0.57 มากทส่ี ุด การคา่ เฉลีย่ ความพึงพอใจของผู้สาํ เร็จการศกึ ษา 13 มีทกั ษะการบริหารจดั การ 4.74 0.51 มากทสี่ ุด ทัง้ หมดได้ในชว่ ง 4.69 - 4.92 โดยมรี ะดบั ความพงึ 14 ใฝร่ ู้ 4.73 0.45 มากที่สดุ พอใจต่อคณุ ลักษณะบัณฑิตทพี่ ึงประสงค์ในดา้ นต่าง ๆ 15 รูจ้ ักวธิ ีการเรียนรู้ ดังแสดงในตาราง 4.45 0.99 มาก ผใู้ ชบ้ ัณฑติ มีความพงึ พอใจมากที่สุดเปน็ 3 อนั ดบั 4.10 0.70 มาก แรกตอ่ คุณลักษณะบัณฑติ ทีพ่ ึงประสงค์ในด้านตอ่ ไปน้ี 4.48 0.63 มาก 1. ใฝร่ ู้ 4.40 0.72 มาก 2. รจู้ ักวธิ ีการเรยี นรู้ 4.68 0.54 มากท่สี ดุ 3. มีคุณธรรมและจริยธรรม 4.87 0.34 มากทส่ี ุด และมคี วามพงึ พอใจนอ้ ยท่สี ดุ เป็น 3 อนั ดับแรกต่อ 4.87 0.34 มากท่ีสุด คณุ ลักษณะบณั ฑติ ที่พึงประสงคใ์ นดา้ นต่อไปน้ี 1. มีทักษะการสอื่ สาร ด้านการใชภ้ าษาอังกฤษ 2. มีทกั ษะทางคณิตศาสตรแ์ ละสถิติ 3. มีความรู้ ลักษณะ รูล้ ึก 16 มีภาวะผ้นู ํา 4.68 0.48 มากทีส่ ดุ ผู้ใชบ้ ณั ฑติ มคี วามประสงคท์ จ่ี ะคัดเลอื กบณั ฑติ จุฬาฯ 17 มสี ุขภาวะ 4.48 0.57 มาก เข้าทํางานในอนาคตอยูใ่ นเกณฑ์มากทสี่ ดุ 18 มจี ิตอาสาและสาํ นึกสาธารณะ 4.65 0.61 และมีความเหน็ วา่ บณั ฑติ จุฬาฯ ทป่ี ฏบิ ัตงิ านใน 19 ดํารงความเป็นไทยในกระแสโลกาภวิ ัตน์ 4.48 0.68 มากทีส่ ุด หนว่ ยงานมคี วามรูค้ วามสามารถมากกวา่ มากเม่อื 20 ความพงึ พอใจในภาพรวม 4.81 0.40 มาก เทียบกับบัณฑิตจากสถาบนั การศึกษาอ่ืนในประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรับบัณฑติ จฬุ าฯ เขา้ ทาํ งานในอนาคต 4.71 0.46 ไทย มากทีส่ ุด และมีความร้คู วามสามารถมากกวา่ มากเม่ือเทยี บกบั มากทีส่ ดุ บัณฑิตจากสถาบันการศกึ ษาอืน่ ต่างประเทศ 22ก เปรียบเทียบกบั สถาบันการศกึ ษาอน่ื ในประเทศ 4.74 0.51 มากกว่ามาก 22ข เปรียบเทยี บกบั สถาบันการศกึ ษาอน่ื ในต่างประเทศ 4.55 0.62 มากกวา่ มาก 39

สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผ้ใู ชบ้ ัณฑติ ท่ีสาํ เรจ็ การศกึ ษาในปีการศึกษา 2560 กล่มุ สาขาวชิ ามนุษยศาสตร์ ระดับปริญญาตรี จํานวนผูส้ ําเรจ็ การศกึ ษา 550 คน ได้รบั แบบสอบถามตอบกลับ จํานวน 129 คน คดิ เป็น 23.45% ขอ้ คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ทพี่ งึ ประสงค์  SD ระดบั คําอธิบาย ความพงึ พอใจ 1 มคี วามรู้ ลักษณะ รรู้ อบ 2 มคี วามรู้ ลกั ษณะ รูล้ ึก 4.43 0.67 มาก ผใู้ ชบ้ ณั ฑติ ใหค้ ะแนนความพึงพอใจต่อบัณฑิตใน 3 มีคณุ ธรรมและจริยธรรม 4.45 0.70 ภาพรวมทคี่ ่าเฉลี่ยเทา่ กบั 4.43 ซงึ่ เมือ่ พจิ ารณา 4 มีจรรยาบรรณ 5 สามารถคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ มาก เปรยี บเทยี บกับเกณฑใ์ นการพิจารณาระดบั ความพึง 6 สามารถคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ 7 มที ักษะในการคิดแกป้ ญั หา 4.58 0.61 มากทสี่ ดุ พอใจพบวา่ ผใู้ ช้บัณฑิตมคี วามพงึ พอใจตอ่ บณั ฑิตใน 8 มีทักษะทางวิชาชีพ 4.55 0.64 ภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก 9 มีทักษะการส่ือสาร ด้านการใช้ภาษาไทย 10 มที ักษะการสือ่ สาร ดา้ นการใชภ้ าษาอังกฤษ มากท่ีสดุ 11 มที กั ษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 มที ักษะทางคณิตศาสตร์และสถติ ิ 4.38 0.71 มาก จากขนาดตวั อยา่ งทไ่ี ดร้ บั ตอบกลบั สามารถประมาณ 13 มที กั ษะการบริหารจดั การ 4.30 0.70 การค่าเฉล่ยี ความพงึ พอใจของผสู้ าํ เร็จการศกึ ษา 14 ใฝ่รู้ 4.23 0.73 15 ร้จู กั วิธกี ารเรียนรู้ 4.21 0.82 มาก ทง้ั หมดได้ในช่วง 4.33 - 4.52 โดยมีระดบั ความพึง มาก พอใจตอ่ คุณลกั ษณะบัณฑติ ที่พงึ ประสงคใ์ นด้านตา่ ง ๆ ดงั แสดงในตาราง มาก 4.43 0.69 มาก ผ้ใู ช้บณั ฑิตมีความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ เป็น 3 อนั ดบั 4.51 0.61 มากทีส่ ดุ แรกตอ่ คุณลักษณะบัณฑติ ทีพ่ ึงประสงค์ในดา้ นต่อไปนี้ 4.08 0.86 1. มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม 3.58 0.86 มาก 2. มีจรรยาบรรณ 4.20 0.75 มาก 3. มที กั ษะการส่อื สาร ด้านการใช้ภาษาอังกฤษ 4.50 0.64 มาก และมคี วามพงึ พอใจน้อยที่สุดเป็น 3 อันดบั แรกต่อ 4.41 0.64 มาก คณุ ลกั ษณะบัณฑติ ทพ่ี งึ ประสงค์ในดา้ นต่อไปน้ี มาก 1. มที กั ษะทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถิติ 2. มีทักษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3. มีทกั ษะการบรหิ ารจดั การ 16 มีภาวะผู้นาํ 4.21 0.79 มาก ผ้ใู ช้บณั ฑติ มีความประสงคท์ ีจ่ ะคดั เลือกบัณฑิตจฬุ าฯ 17 มีสุขภาวะ 4.37 0.72 18 มจี ติ อาสาและสาํ นกึ สาธารณะ 4.39 0.69 มาก เข้าทํางานในอนาคตอย่ใู นเกณฑม์ าก 19 ดาํ รงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภิวตั น์ 4.46 0.65 และมีความเหน็ วา่ บัณฑิตจุฬาฯ ที่ปฏิบตั ิงานใน 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.43 0.63 21 ประสงคจ์ ะรับบณั ฑิตจฬุ าฯ เขา้ ทํางานในอนาคต 4.45 0.64 มาก หนว่ ยงานมคี วามรคู้ วามสามารถมากกวา่ มากเม่ือ มาก เทยี บกับบณั ฑติ จากสถาบนั การศกึ ษาอ่นื ในประเทศ ไทย มาก และมคี วามรูค้ วามสามารถมากกวา่ เมื่อเทียบกับ มาก บัณฑติ จากสถาบนั การศกึ ษาอนื่ ต่างประเทศ 22ก เปรียบเทยี บกับสถาบนั การศึกษาอื่นในประเทศ 4.50 0.63 มากกวา่ มาก 22ข เปรยี บเทียบกับสถาบันการศกึ ษาอ่ืนในตา่ งประเทศ 4.43 0.71 มากกว่า 40

สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ ณั ฑติ ทสี่ ําเรจ็ การศกึ ษาในปกี ารศกึ ษา 2560 กล่มุ สาขาวชิ ามนษุ ยศาสตร์ ระดับปริญญาโท จํานวนผสู้ ําเร็จการศกึ ษา 128 คน ไดร้ บั แบบสอบถามตอบกลับ จํานวน 45 คน คดิ เป็น 35.16% ขอ้ คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ทพ่ี งึ ประสงค์  SD ระดับ คาํ อธิบาย ความพงึ พอใจ 1 มีความรู้ ลกั ษณะ รู้รอบ 2 มีความรู้ ลักษณะ รลู้ กึ 4.56 0.69 มากท่สี ดุ ผ้ใู ชบ้ ัณฑติ ให้คะแนนความพึงพอใจตอ่ บัณฑติ ใน 3 มีคณุ ธรรมและจริยธรรม 4.53 0.66 มากทส่ี ดุ ภาพรวมที่คา่ เฉล่ียเทา่ กับ 4.56 ซ่ึงเมอ่ื พิจารณา 4 มีจรรยาบรรณ เปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์ในการพิจารณาระดบั ความพงึ 5 สามารถคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ 6 สามารถคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ 4.76 0.48 มากที่สุด พอใจพบว่าผ้ใู ช้บณั ฑิตมีความพึงพอใจตอ่ บณั ฑติ ใน 7 มที ักษะในการคดิ แก้ปญั หา 4.69 0.60 ภาพรวมอยูใ่ นระดบั มากทส่ี ดุ 8 มที กั ษะทางวิชาชีพ 9 มีทักษะการสือ่ สาร ดา้ นการใช้ภาษาไทย มากท่สี ดุ 10 มีทักษะการสอื่ สาร ดา้ นการใช้ภาษาองั กฤษ 11 มีทักษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4.44 0.72 มาก จากขนาดตัวอยา่ งท่ีไดร้ บั ตอบกลบั สามารถประมาณ 12 มีทกั ษะทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ิ 4.33 0.88 มาก การค่าเฉลีย่ ความพงึ พอใจของผ้สู าํ เร็จการศึกษา 13 มีทักษะการบรหิ ารจดั การ 4.38 0.75 มาก ทง้ั หมดไดใ้ นชว่ ง 4.39 - 4.73 โดยมรี ะดบั ความพงึ 14 ใฝร่ ู้ 4.73 0.58 มากท่ีสุด พอใจต่อคุณลักษณะบัณฑิตท่พี ึงประสงคใ์ นด้านตา่ ง ๆ 15 ร้จู ักวิธีการเรียนรู้ ดงั แสดงในตาราง 4.58 0.69 มากที่สดุ ผู้ใชบ้ ณั ฑติ มีความพึงพอใจมากท่สี ดุ เปน็ 3 อันดบั 4.49 0.84 มาก แรกตอ่ คุณลกั ษณะบณั ฑิตที่พงึ ประสงค์ในดา้ นต่อไปน้ี 4.14 0.88 มาก 1. มีคุณธรรมและจริยธรรม 3.69 0.89 มาก 2. มที กั ษะทางวิชาชพี 4.33 0.74 มาก 3. มจี รรยาบรรณ 4.53 0.66 และมีความพึงพอใจนอ้ ยทีส่ ดุ เป็น 3 อนั ดับแรกต่อ 4.60 0.72 มากท่ีสดุ คุณลกั ษณะบณั ฑิตทีพ่ งึ ประสงค์ในดา้ นต่อไปน้ี มากท่สี ุด 1. มีทักษะทางคณิตศาสตรแ์ ละสถิติ 2. มที ักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. สามารถคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ 16 มีภาวะผูน้ ํา 4.40 0.81 มาก ผู้ใชบ้ ณั ฑติ มีความประสงค์ทีจ่ ะคดั เลอื กบัณฑิตจุฬาฯ 17 มสี ขุ ภาวะ 4.58 0.69 มากท่สี ุด เข้าทํางานในอนาคตอยู่ในเกณฑม์ ากที่สุด 18 มีจิตอาสาและสํานึกสาธารณะ 4.62 0.72 มากท่สี ดุ และมคี วามเห็นวา่ บัณฑติ จุฬาฯ ทปี่ ฏบิ ตั งิ านใน 19 ดํารงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภิวัตน์ 4.64 0.65 มากทีส่ ดุ หนว่ ยงานมคี วามร้คู วามสามารถมากกว่ามากเมอ่ื 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.56 0.72 มากท่สี ุด เทยี บกบั บณั ฑติ จากสถาบันการศกึ ษาอ่นื ในประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรับบัณฑิตจฬุ าฯ เข้าทํางานในอนาคต 4.56 0.62 มากทสี่ ุด ไทย และมคี วามรคู้ วามสามารถมากกวา่ เม่ือเทียบกบั บณั ฑติ จากสถาบันการศกึ ษาอืน่ ต่างประเทศ 22ก เปรยี บเทยี บกบั สถาบนั การศึกษาอ่ืนในประเทศ 4.71 0.51 มากกว่ามาก 22ข เปรยี บเทยี บกบั สถาบันการศึกษาอืน่ ในตา่ งประเทศ 4.49 0.61 มากกว่า 41

สรปุ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผูใ้ ช้บณั ฑิตท่ีสําเรจ็ การศกึ ษาในปีการศึกษา 2560 กลมุ่ สาขาวชิ ามนุษยศาสตร์ ระดับปรญิ ญาเอก จํานวนผสู้ ําเรจ็ การศึกษา 49 คน ได้รับแบบสอบถามตอบกลับ จาํ นวน 38 คน คิดเป็น 77.55% ข้อ คณุ ลกั ษณะบณั ฑิตทพ่ี ึงประสงค์  SD ระดับ คําอธบิ าย ความพึงพอใจ 1 มคี วามรู้ ลกั ษณะ ร้รู อบ 2 มคี วามรู้ ลักษณะ ร้ลู ึก 4.56 0.63 มากทีส่ ุด ผู้ใชบ้ ัณฑติ ให้คะแนนความพงึ พอใจต่อบัณฑติ ใน 3 มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม 4.61 0.64 มากทส่ี ุด ภาพรวมที่คา่ เฉล่ียเทา่ กบั 4.56 ซึง่ เม่อื พจิ ารณา 4 มีจรรยาบรรณ เปรียบเทียบกับเกณฑใ์ นการพิจารณาระดบั ความพงึ 5 สามารถคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ 6 สามารถคิดริเริม่ สรา้ งสรรค์ 4.66 0.58 มากทส่ี ุด พอใจพบว่าผใู้ ชบ้ ณั ฑิตมีความพึงพอใจต่อบัณฑิตใน 7 มที กั ษะในการคดิ แก้ปญั หา 4.71 0.52 ภาพรวมอย่ใู นระดบั มากท่สี ุด 8 มที ักษะทางวิชาชพี 9 มีทกั ษะการสอื่ สาร ด้านการใชภ้ าษาไทย มากทส่ี ุด 10 มีทักษะการสื่อสาร ดา้ นการใชภ้ าษาอังกฤษ 11 มีทกั ษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4.66 0.58 มากท่ีสดุ จากขนาดตัวอยา่ งทไี่ ด้รบั ตอบกลบั สามารถประมาณ 12 มที กั ษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ 4.34 0.63 มาก การคา่ เฉลย่ี ความพึงพอใจของผสู้ ําเรจ็ การศึกษา 13 มที ักษะการบรหิ ารจดั การ 4.45 0.65 มาก ทงั้ หมดไดใ้ นช่วง 4.48 - 4.63 โดยมรี ะดับความพึง 14 ใฝร่ ู้ 4.68 0.53 พอใจต่อคุณลกั ษณะบัณฑติ ที่พงึ ประสงค์ในด้านตา่ ง ๆ 15 รู้จักวธิ ีการเรยี นรู้ มากทสี่ ดุ ดังแสดงในตาราง 4.45 0.72 มาก ผใู้ ชบ้ ัณฑิตมีความพึงพอใจมากท่สี ดุ เปน็ 3 อนั ดบั 4.32 0.81 มาก แรกตอ่ คุณลักษณะบัณฑิตท่พี ึงประสงค์ในดา้ นตอ่ ไปนี้ 4.50 0.60 มากที่สดุ 1. มจี รรยาบรรณ 4.29 0.80 มาก 2. มที กั ษะทางวิชาชพี 4.58 0.60 มากทส่ี ุด 3. มีคณุ ธรรมและจริยธรรม 4.50 0.60 มากทส่ี ุด และมีความพึงพอใจนอ้ ยทส่ี ดุ เปน็ 3 อนั ดับแรกตอ่ 4.46 0.65 มาก คุณลักษณะบัณฑิตท่ีพงึ ประสงค์ในด้านต่อไปน้ี 1. มีทกั ษะทางคณิตศาสตร์และสถติ ิ 2. มที ักษะการส่ือสาร ด้านการใช้ภาษาอังกฤษ 3. สามารถคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์ 16 มภี าวะผูน้ ํา 4.50 0.69 มากทสี่ ดุ ผ้ใู ชบ้ ัณฑติ มีความประสงคท์ ่ีจะคัดเลือกบณั ฑิตจุฬาฯ 17 มีสุขภาวะ 4.58 0.55 มากที่สุด เขา้ ทาํ งานในอนาคตอยู่ในเกณฑ์มากท่สี ุด 18 มจี ิตอาสาและสาํ นกึ สาธารณะ 4.58 0.68 มากทีส่ ดุ และมคี วามเหน็ วา่ บณั ฑิตจุฬาฯ ท่ปี ฏิบตั ิงานใน 19 ดํารงความเป็นไทยในกระแสโลกาภิวตั น์ 4.65 0.48 มากทสี่ ดุ หน่วยงานมคี วามร้คู วามสามารถมากกว่ามากเมอ่ื 20 ความพงึ พอใจในภาพรวม 4.56 0.50 มากทสี่ ดุ เทียบกับบณั ฑิตจากสถาบนั การศึกษาอน่ื ในประเทศ 21 ประสงค์จะรบั บัณฑติ จุฬาฯ เข้าทํางานในอนาคต 4.58 0.68 มากทส่ี ุด ไทย และมีความรูค้ วามสามารถมากกว่าเม่อื เทียบกับ บณั ฑติ จากสถาบนั การศกึ ษาอนื่ ต่างประเทศ 22ก เปรยี บเทียบกบั สถาบนั การศกึ ษาอืน่ ในประเทศ 4.61 0.64 มากกว่ามาก 22ข เปรียบเทียบกับสถาบนั การศกึ ษาอ่นื ในตา่ งประเทศ 4.30 0.66 มากกวา่ 42

สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผ้ใู ช้บัณฑิตทสี่ าํ เร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2560 กล่มุ สาขาวชิ าสหสาขาวิชา ระดับปรญิ ญาโท จํานวนผู้สําเรจ็ การศกึ ษา 178 คน ได้รบั แบบสอบถามตอบกลับ จํานวน 28 คน คดิ เป็น 15.73% ข้อ คณุ ลักษณะบณั ฑติ ท่พี ึงประสงค์  SD ระดบั คําอธบิ าย ความพงึ พอใจ 1 มคี วามรู้ ลักษณะ รรู้ อบ 2 มคี วามรู้ ลกั ษณะ รลู้ กึ 4.43 0.76 มาก ผู้ใชบ้ ัณฑติ ให้คะแนนความพึงพอใจต่อบณั ฑิตใน 3 มีคุณธรรมและจริยธรรม 4.18 0.82 ภาพรวมทีค่ า่ เฉลี่ยเท่ากบั 4.43 ซ่ึงเม่อื พจิ ารณา 4 มจี รรยาบรรณ 5 สามารถคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ มาก เปรียบเทียบกับเกณฑ์ในการพิจารณาระดับความพงึ 6 สามารถคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ 7 มที ักษะในการคิดแกป้ ัญหา 4.57 0.57 มากทสี่ ุด พอใจพบวา่ ผูใ้ ช้บัณฑิตมีความพึงพอใจต่อบณั ฑิตใน 8 มีทกั ษะทางวชิ าชีพ 4.57 0.57 ภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก 9 มีทกั ษะการสือ่ สาร ด้านการใชภ้ าษาไทย 10 มีทักษะการส่ือสาร ด้านการใชภ้ าษาองั กฤษ มากทสี่ ดุ 11 มีทกั ษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 มที กั ษะทางคณิตศาสตรแ์ ละสถิติ 4.36 0.78 มาก จากขนาดตัวอยา่ งที่ได้รบั ตอบกลับสามารถประมาณ 13 มีทกั ษะการบริหารจดั การ 4.18 0.72 การคา่ เฉล่ียความพึงพอใจของผู้สาํ เรจ็ การศึกษา 14 ใฝร่ ู้ 4.36 0.83 15 ร้จู กั วิธกี ารเรียนรู้ 4.21 0.79 มาก ท้ังหมดไดใ้ นชว่ ง 4.19 - 4.66 โดยมีระดบั ความพึง มาก พอใจตอ่ คณุ ลกั ษณะบณั ฑิตที่พึงประสงคใ์ นด้านต่าง ๆ ดังแสดงในตาราง มาก 4.46 0.69 มาก ผใู้ ช้บณั ฑิตมีความพึงพอใจมากทสี่ ดุ เปน็ 3 อนั ดับ 4.11 0.83 แรกตอ่ คุณลกั ษณะบัณฑิตทพ่ี งึ ประสงคใ์ นด้านต่อไปน้ี 4.07 0.66 มาก 1. มีคุณธรรมและจริยธรรม 3.96 0.79 4.43 0.74 มาก 2. มจี รรยาบรรณ 4.32 0.67 3. มีจิตอาสาและสาํ นกึ สาธารณะ 4.36 0.68 มาก และมีความพึงพอใจนอ้ ยที่สดุ เปน็ 3 อนั ดับแรกต่อ มาก คณุ ลักษณะบณั ฑิตทพ่ี งึ ประสงคใ์ นด้านตอ่ ไปนี้ 1. มีทกั ษะทางคณิตศาสตรแ์ ละสถติ ิ มาก 2. มที ักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มาก 3. มีทกั ษะการสือ่ สาร ด้านการใช้ภาษาอังกฤษ 16 มภี าวะผนู้ าํ 4.29 0.76 มาก ผใู้ ช้บณั ฑติ มีความประสงค์ท่ีจะคดั เลอื กบณั ฑิตจุฬาฯ 17 มสี ุขภาวะ 4.25 0.70 มาก เข้าทาํ งานในอนาคตอยใู่ นเกณฑม์ ากท่สี ดุ 18 มจี ติ อาสาและสาํ นึกสาธารณะ 4.50 0.64 มากท่ีสดุ และมคี วามเหน็ ว่าบณั ฑิตจฬุ าฯ ทีป่ ฏิบัตงิ านใน 19 ดํารงความเป็นไทยในกระแสโลกาภวิ ัตน์ 4.21 0.69 มาก หน่วยงานมีความร้คู วามสามารถมากกว่ามากเม่ือ 20 ความพงึ พอใจในภาพรวม 4.43 0.69 มาก เทยี บกบั บณั ฑิตจากสถาบนั การศึกษาอนื่ ในประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรับบัณฑิตจฬุ าฯ เข้าทํางานในอนาคต 4.50 0.64 มากที่สดุ ไทย และมคี วามรคู้ วามสามารถมากกวา่ เมอ่ื เทียบกับ บณั ฑติ จากสถาบันการศึกษาอ่ืนตา่ งประเทศ 22ก เปรยี บเทยี บกบั สถาบนั การศกึ ษาอ่ืนในประเทศ 4.54 0.69 มากกวา่ มาก 22ข เปรยี บเทยี บกบั สถาบนั การศึกษาอนื่ ในตา่ งประเทศ 4.00 0.80 มากกว่า 43

สรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผใู้ ช้บณั ฑติ ท่ีสําเร็จการศกึ ษาในปีการศกึ ษา 2560 กลุ่มสาขาวิชาสหสาขาวชิ า ระดับปริญญาเอก จํานวนผูส้ าํ เรจ็ การศึกษา 59 คน ไดร้ ับแบบสอบถามตอบกลับ จํานวน 13 คน คิดเปน็ 22.03% ขอ้ คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ท่ีพึงประสงค์  SD ระดับ คําอธบิ าย ความพงึ พอใจ 1 มคี วามรู้ ลักษณะ รูร้ อบ 2 มีความรู้ ลกั ษณะ ร้ลู กึ 4.38 0.44 มาก ผใู้ ชบ้ ัณฑติ ให้คะแนนความพึงพอใจตอ่ บณั ฑิตใน 3 มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 4.23 0.44 ภาพรวมทีค่ า่ เฉล่ียเท่ากับ 4.38 ซ่ึงเม่อื พจิ ารณา 4 มีจรรยาบรรณ 5 สามารถคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ มาก เปรียบเทยี บกับเกณฑ์ในการพิจารณาระดบั ความพึง 6 สามารถคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ 7 มที กั ษะในการคดิ แก้ปัญหา 4.46 0.52 มาก พอใจพบวา่ ผู้ใชบ้ ัณฑิตมคี วามพึงพอใจต่อบัณฑติ ใน 8 มที กั ษะทางวชิ าชพี 4.23 0.60 ภาพรวมอยู่ในระดบั มาก 9 มที กั ษะการส่อื สาร ดา้ นการใชภ้ าษาไทย 10 มีทักษะการสื่อสาร ดา้ นการใชภ้ าษาองั กฤษ มาก 11 มีทกั ษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 มีทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ 4.38 0.51 มาก จากขนาดตัวอย่างทไี่ ด้รบั ตอบกลับสามารถประมาณ 13 มที กั ษะการบรหิ ารจดั การ 4.25 0.62 การค่าเฉลยี่ ความพึงพอใจของผู้สําเร็จการศกึ ษา 14 ใฝ่รู้ 4.31 0.63 15 รู้จกั วธิ กี ารเรยี นรู้ 4.46 0.66 มาก ทงั้ หมดได้ในช่วง 4.14 - 4.63 โดยมรี ะดบั ความพงึ มาก พอใจตอ่ คณุ ลักษณะบณั ฑติ ท่พี งึ ประสงค์ในดา้ นต่าง ๆ ดังแสดงในตาราง มาก 4.69 0.48 มากทสี่ ุด ผู้ใชบ้ ัณฑติ มคี วามพึงพอใจมากท่สี ุดเปน็ 3 อันดบั 4.69 0.48 มากทสี่ ุด แรกตอ่ คณุ ลกั ษณะบัณฑติ ที่พึงประสงคใ์ นดา้ นตอ่ ไปนี้ 4.31 0.63 1. มีทักษะการสอ่ื สาร ด้านการใชภ้ าษาไทย 4.08 0.64 มาก 2. มที ักษะการส่ือสาร ด้านการใช้ภาษาองั กฤษ 4.08 0.64 มาก 3. มีคุณธรรมและจรยิ ธรรม 4.31 0.48 มาก และมคี วามพงึ พอใจนอ้ ยที่สดุ เป็น 3 อันดับแรกตอ่ 4.33 0.65 มาก คุณลกั ษณะบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ในดา้ นตอ่ ไปน้ี มาก 1. มีทักษะทางคณิตศาสตร์และสถติ ิ 2. มีทักษะการบรหิ ารจัดการ 3. มีภาวะผูน้ าํ 16 มภี าวะผู้นํา 4.08 0.64 มาก ผู้ใช้บณั ฑติ มีความประสงคท์ จ่ี ะคดั เลือกบณั ฑติ จุฬาฯ 17 มสี ุขภาวะ 4.23 0.44 18 มจี ิตอาสาและสํานกึ สาธารณะ 4.23 0.60 มาก เขา้ ทํางานในอนาคตอยใู่ นเกณฑ์มาก 19 ดํารงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภิวตั น์ 4.15 0.55 และมีความเห็นว่าบณั ฑติ จฬุ าฯ ที่ปฏิบตั งิ านใน 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.38 0.51 มาก หน่วยงานมคี วามรู้ความสามารถมากกว่าเมอ่ื เทยี บ มาก กับบณั ฑติ จากสถาบันการศกึ ษาอ่นื ในประเทศไทย และมคี วามรูค้ วามสามารถมากกว่าเมื่อเทยี บกับ มาก บณั ฑติ จากสถาบันการศกึ ษาอน่ื ต่างประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรับบัณฑติ จุฬาฯ เข้าทาํ งานในอนาคต 4.15 0.38 มาก 22ก เปรียบเทยี บกับสถาบันการศึกษาอื่นในประเทศ 4.46 0.52 มากกวา่ 22ข เปรียบเทียบกับสถาบันการศึกษาอ่นื ในตา่ งประเทศ 4.09 0.54 มากกว่า 44

สรุปผลการประเมินความพงึ พอใจของผ้ใู ช้บัณฑติ ทีส่ าํ เรจ็ การศึกษาในปีการศกึ ษา 2560 คณะจติ วิทยา ระดบั ปริญญาตรี จาํ นวนผู้สาํ เร็จการศึกษา 116 คน ไดร้ บั แบบสอบถามตอบกลบั จาํ นวน 25 คน คิดเป็น 21.55% ขอ้ คณุ ลักษณะบัณฑิตทพี่ ึงประสงค์  SD ระดับ คําอธบิ าย ความพงึ พอใจ 1 มีความรู้ ลกั ษณะ รู้รอบ 2 มีความรู้ ลักษณะ รูล้ ึก 4.00 0.65 มาก ผใู้ ช้บัณฑิตให้คะแนนความพงึ พอใจตอ่ บัณฑิตใน 3 มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 3.76 0.88 ภาพรวมทค่ี ่าเฉล่ียเท่ากับ 4.28 ซึง่ เม่อื พจิ ารณา 4 มจี รรยาบรรณ 5 สามารถคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ มาก เปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์ในการพิจารณาระดับความพึง 6 สามารถคิดริเริม่ สร้างสรรค์ 7 มีทักษะในการคดิ แก้ปัญหา 4.52 0.65 มากท่ีสดุ พอใจพบว่าผ้ใู ชบ้ ัณฑติ มีความพึงพอใจตอ่ บัณฑิตใน 8 มที กั ษะทางวิชาชพี 4.48 0.77 ภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก 9 มีทักษะการสอื่ สาร ด้านการใช้ภาษาไทย 10 มีทกั ษะการสื่อสาร ดา้ นการใชภ้ าษาองั กฤษ มาก 11 มที กั ษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 มีทักษะทางคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ิ 4.28 0.61 มาก จากขนาดตวั อย่างทไ่ี ดร้ บั ตอบกลบั สามารถประมาณ 13 มที กั ษะการบริหารจัดการ 4.04 0.84 การคา่ เฉลย่ี ความพึงพอใจของผูส้ าํ เรจ็ การศึกษา 14 ใฝร่ ู้ 3.96 0.73 15 ร้จู ักวิธกี ารเรียนรู้ 3.88 0.67 มาก ทัง้ หมดไดใ้ นชว่ ง 4.04 - 4.52 โดยมีระดบั ความพึง มาก พอใจตอ่ คณุ ลักษณะบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ในด้านตา่ ง ๆ ดังแสดงในตาราง มาก 4.36 0.70 มาก ผูใ้ ชบ้ ัณฑิตมีความพึงพอใจมากทีส่ ดุ เป็น 3 อันดับ 3.80 1.00 แรกตอ่ คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ที่พงึ ประสงค์ในดา้ นตอ่ ไปน้ี 4.20 0.82 มาก 1. มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม 3.88 1.03 4.24 0.66 มาก 2. มีจรรยาบรรณ 4.20 0.82 3. มจี ติ อาสาและสํานึกสาธารณะ 4.20 0.82 มาก และมคี วามพงึ พอใจนอ้ ยทส่ี ดุ เปน็ 3 อันดบั แรกตอ่ มาก คุณลักษณะบณั ฑติ ท่พี ึงประสงคใ์ นด้านตอ่ ไปนี้ 1. มีความรู้ ลกั ษณะ รูล้ ึก มาก 2. มที กั ษะการส่ือสาร ดา้ นการใช้ภาษาองั กฤษ มาก 3. มที ักษะทางคณิตศาสตร์และสถติ ิ 16 มีภาวะผู้นํา 3.96 0.98 มาก ผู้ใชบ้ ัณฑติ มีความประสงค์ทจ่ี ะคัดเลือกบณั ฑิตจฬุ าฯ 17 มสี ุขภาวะ 4.28 0.68 18 มจี ิตอาสาและสํานึกสาธารณะ 4.44 0.58 มาก เขา้ ทํางานในอนาคตอยู่ในเกณฑ์มาก 19 ดาํ รงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภิวัตน์ 4.12 0.60 และมคี วามเหน็ วา่ บัณฑติ จุฬาฯ ท่ีปฏบิ ัติงานใน 20 ความพึงพอใจในภาพรวม 4.28 0.68 มาก หนว่ ยงานมีความร้คู วามสามารถมากกวา่ เม่ือเทียบ มาก กบั บณั ฑติ จากสถาบันการศกึ ษาอน่ื ในประเทศไทย และมคี วามรคู้ วามสามารถมากกวา่ เม่ือเทยี บกบั มาก บัณฑติ จากสถาบนั การศึกษาอน่ื ต่างประเทศ 21 ประสงค์จะรับบัณฑติ จฬุ าฯ เข้าทาํ งานในอนาคต 4.42 0.65 มาก 22ก เปรียบเทยี บกบั สถาบันการศึกษาอ่ืนในประเทศ 4.40 0.58 มากกวา่ 22ข เปรยี บเทยี บกบั สถาบนั การศึกษาอ่นื ในต่างประเทศ 3.90 0.85 มากกว่า 45

สรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ณั ฑิตทส่ี าํ เร็จการศึกษาในปกี ารศกึ ษา 2560 คณะจิตวทิ ยา ระดบั ปรญิ ญาโท จํานวนผู้สําเร็จการศึกษา 21 คน ได้รับแบบสอบถามตอบกลับ จาํ นวน 8 คน คิดเปน็ 38.10% ขอ้ คุณลกั ษณะบณั ฑิตท่ีพงึ ประสงค์  SD ระดับ คาํ อธบิ าย ความพึงพอใจ 1 มคี วามรู้ ลกั ษณะ รรู้ อบ 2 มีความรู้ ลกั ษณะ รลู้ กึ 4.38 0.74 มาก ผใู้ ชบ้ ัณฑติ ใหค้ ะแนนความพงึ พอใจตอ่ บณั ฑติ ใน 3 มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม 4.25 0.71 ภาพรวมทีค่ า่ เฉลี่ยเท่ากบั 4.43 ซึ่งเม่ือพิจารณา 4 มจี รรยาบรรณ 5 สามารถคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ มาก เปรียบเทียบกับเกณฑใ์ นการพิจารณาระดบั ความพงึ 6 สามารถคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์ 7 มที กั ษะในการคดิ แก้ปญั หา 4.50 1.07 มากทสี่ ุด พอใจพบว่าผ้ใู ชบ้ ณั ฑิตมีความพึงพอใจต่อบัณฑิตใน 8 มที กั ษะทางวิชาชีพ 4.63 0.74 ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก 9 มที กั ษะการสอ่ื สาร ด้านการใชภ้ าษาไทย 10 มที ักษะการส่ือสาร ดา้ นการใช้ภาษาองั กฤษ มากทสี่ ุด 11 มที กั ษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 มที กั ษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ 4.38 0.74 มาก จากขนาดตวั อยา่ งทไ่ี ดร้ บั ตอบกลบั สามารถประมาณ 13 มีทกั ษะการบรหิ ารจดั การ 4.50 0.76 มากทส่ี ุด การคา่ เฉลี่ยความพงึ พอใจของผู้สําเรจ็ การศกึ ษา 14 ใฝ่รู้ 4.38 1.06 ท้งั หมดไดใ้ นช่วง 4.0 - 4.86 โดยมรี ะดบั ความพึง 15 รู้จกั วิธีการเรียนรู้ 4.25 0.71 มาก พอใจต่อคุณลกั ษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ในดา้ นตา่ ง ๆ มาก ดังแสดงในตาราง 4.71 0.49 มากท่ีสุด ผใู้ ช้บณั ฑิตมีความพงึ พอใจมากทีส่ ุดเป็น 3 อันดับ 4.63 0.52 มากท่ีสดุ แรกต่อคณุ ลักษณะบณั ฑิตทีพ่ ึงประสงค์ในด้านต่อไปน้ี 4.13 0.64 1. มีทักษะการสือ่ สาร ดา้ นการใชภ้ าษาไทย 4.00 0.00 มาก 2. มีจรรยาบรรณ 4.13 0.99 มาก 3. มที กั ษะการส่ือสาร ดา้ นการใช้ภาษาองั กฤษ 4.63 0.52 มาก และมคี วามพงึ พอใจน้อยทส่ี ดุ เปน็ 3 อนั ดับแรกตอ่ 4.50 0.53 มากท่สี ุด คุณลกั ษณะบัณฑติ ที่พึงประสงค์ในด้านตอ่ ไปนี้ มากทีส่ ุด 1. มีทกั ษะทางคณติ ศาสตร์และสถิติ 2. มที กั ษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. มีทักษะการบรหิ ารจัดการ 16 มีภาวะผู้นํา 4.25 0.71 มาก ผ้ใู ชบ้ ัณฑติ มีความประสงคท์ จ่ี ะคดั เลือกบณั ฑิตจุฬาฯ 17 มีสุขภาวะ 4.25 1.04 18 มีจติ อาสาและสํานกึ สาธารณะ 4.25 0.89 มาก เขา้ ทาํ งานในอนาคตอยูใ่ นเกณฑ์มาก 19 ดํารงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภวิ ตั น์ 4.38 0.74 และมีความเหน็ วา่ บณั ฑิตจุฬาฯ ท่ปี ฏิบัติงานใน 20 ความพงึ พอใจในภาพรวม 4.43 0.79 มาก หนว่ ยงานมีความรู้ความสามารถมากกวา่ เม่อื เทียบ มาก กบั บัณฑติ จากสถาบนั การศกึ ษาอืน่ ในประเทศไทย และมีความรู้ความสามารถมากกว่าเมอื่ เทยี บกับ มาก บณั ฑิตจากสถาบนั การศึกษาอน่ื ตา่ งประเทศ 21 ประสงคจ์ ะรับบณั ฑติ จฬุ าฯ เข้าทาํ งานในอนาคต 4.38 0.92 มาก 22ก เปรยี บเทยี บกบั สถาบันการศกึ ษาอน่ื ในประเทศ 4.38 0.74 มากกวา่ 22ข เปรียบเทียบกับสถาบันการศกึ ษาอื่นในตา่ งประเทศ 4.00 0.82 มากกวา่ 46

สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ ณั ฑติ ทีส่ าํ เรจ็ การศกึ ษาในปีการศึกษา 2560 คณะจิตวทิ ยา ระดบั ปรญิ ญาเอก จํานวนผสู้ ําเรจ็ การศึกษา 2 คน ได้รบั แบบสอบถามตอบกลบั จํานวน 2 คน คดิ เป็น 100.0% ข้อ คุณลกั ษณะบณั ฑติ ทพี่ ึงประสงค์  SD ระดบั คําอธบิ าย ความพงึ พอใจ 1 มีความรู้ ลกั ษณะ รรู้ อบ 2 มีความรู้ ลักษณะ รูล้ ึก 3.50 0.71 มาก ผู้ใช้บณั ฑิตให้คะแนนความพงึ พอใจต่อบณั ฑิตใน 3 มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม 4.00 1.41 ภาพรวมทค่ี า่ เฉลีย่ เทา่ กับ 4.0 ซ่งึ เมอื่ พจิ ารณา 4 มจี รรยาบรรณ 5 สามารถคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ มาก เปรยี บเทยี บกับเกณฑใ์ นการพิจารณาระดับความพงึ 6 สามารถคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ 7 มที ักษะในการคดิ แก้ปญั หา 4.00 1.41 มาก พอใจพบวา่ ผใู้ ช้บณั ฑิตมคี วามพงึ พอใจตอ่ บัณฑติ ใน 8 มีทักษะทางวชิ าชพี 4.50 0.71 ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก 9 มีทักษะการสอื่ สาร ด้านการใช้ภาษาไทย 10 มที ักษะการสอ่ื สาร ด้านการใช้ภาษาอังกฤษ มากทส่ี ดุ 11 มีทกั ษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 มที กั ษะทางคณติ ศาสตร์และสถติ ิ 4.50 0.71 มากท่ีสุด จากขนาดตวั อย่างที่ได้รับตอบกลบั สามารถประมาณ 13 มที กั ษะการบรหิ ารจัดการ 3.50 0.71 มาก การค่าเฉล่ยี ความพงึ พอใจของผสู้ ําเร็จการศึกษา 4.00 0.00 มาก ทงั้ หมดได้ในช่วง 4.0 - 4.0 โดยมีระดบั ความพึงพอใจ 4.00 1.41 มาก ตอ่ คณุ ลักษณะบัณฑิตท่ีพงึ ประสงค์ในดา้ นตา่ ง ๆ ดงั แสดงในตาราง 4.50 0.71 มากที่สดุ ผใู้ ชบ้ ณั ฑิตมีความประสงค์ทจี่ ะคัดเลือกบณั ฑติ จุฬาฯ 3.50 0.71 มาก เข้าทํางานในอนาคตอยใู่ นเกณฑม์ าก 4.00 1.41 มาก และมีความเห็นว่าบณั ฑิตจุฬาฯ ที่ปฏบิ ัตงิ านใน 4.00 1.41 มาก หนว่ ยงานมคี วามรคู้ วามสามารถมากกว่าเมื่อเทยี บ 4.00 0.00 มาก กับบัณฑติ จากสถาบันการศึกษาอื่นในประเทศไทย และมคี วามรู้ความสามารถมากกว่าเมือ่ เทยี บกบั บัณฑติ จากสถาบนั การศกึ ษาอนื่ ต่างประเทศ 14 ใฝร่ ู้ 4.50 0.71 มากท่สี ุด 15 รจู้ กั วิธกี ารเรียนรู้ 4.00 0.00 มาก 16 มีภาวะผูน้ ํา 3.50 0.71 มาก 17 มีสขุ ภาวะ 4.00 1.41 มาก 18 มีจติ อาสาและสาํ นึกสาธารณะ 4.00 1.41 มาก 19 ดาํ รงความเปน็ ไทยในกระแสโลกาภวิ ตั น์ 4.00 1.41 มาก 20 ความพงึ พอใจในภาพรวม 4.00 1.41 มาก 21 ประสงคจ์ ะรบั บัณฑิตจุฬาฯ เขา้ ทาํ งานในอนาคต 4.00 1.41 มาก 22ก เปรยี บเทียบกบั สถาบนั การศกึ ษาอนื่ ในประเทศ 4.00 1.41 มากกว่า 22ข เปรยี บเทียบกบั สถาบันการศกึ ษาอน่ื ในต่างประเทศ 3.50 0.71 มากกวา่ 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook