Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้เคมี 1

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี 1

Published by pawanrat2760, 2021-09-23 16:53:05

Description: แผนการจัดการเรียนรู้เคมี 1

Search

Read the Text Version

แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ลำดบั ชื่อ-นามสกุล ผถู้ ูกประเมิน พฤตกิ รรม รวม ต้ังใจในการ การตอบ มีความ ตรงตอ่ ทำงาน คำถาม รบั ผดิ ชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง = 2 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยคร้ัง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับ 10-12 ดมี าก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรับปรงุ

บันทึกหลงั สอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ นกั เรยี นอธิบายแบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสนั ด้านทักษะ นกั เรียนสบื คน้ ข้อมูลความหมายของแบบจำลองอะตอมและสร้างแบบจำลองอะตอมจากสง่ิ ท่ีมองไม่ เห็น ดา้ นคณุ ธรรม นกั เรียนใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ ม่ันในการเสาะแสวงหาความรู้ ด้านทกั ษะชวี ติ เพอื่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปญั หา/อปุ สรรค และข้อคน้ พบ นกั เรียนไมส่ ามารถทำกิจกรรมกระป๋องปริศนาได้ ๓. ขอ้ เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข และผลการแกไ้ ข ครูอธิบายผลและวิธีการทำกจิ กรรมให้นกั เรยี น ลงชอื่ .....................................................ผสู้ อน (................................................)



แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 อะตอมและ เรอื่ งแบบจำลองอะตอมของ เวลา 1 ชวั่ โมง สมบตั ขิ องธาตุ รัทเทอรฟ์ อร์ด รหสั วชิ า ว 31221 วิชา เคมี 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… สาระเคมี เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุพันธะเคมีและสมบัติของสาร แก๊สและสมบัตขิ องแก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรยี แ์ ละพอลเิ มอร์ รวมทั้งการนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรียนรู้ ม.4/1 สบื คน้ ขอ้ มูลสมมติฐาน การทดลอง หรอื ผลการทดลองทเ่ี ปน็ ประจักษพ์ ยานในการเสนอ แบบจําลองอะตอมของนักวิทยาศาสตรแ์ ละอธิบายววิ ฒั นาการของแบบจาํ ลองอะตอม สาระการเรยี นรู้ นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโครงสร้างของอะตอมและเสนอแบบจําลองอะตอมแบบต่าง ๆ จากการศึกษา ข้อมลู การสงั เกต การต้ังสมมตฐิ านและ ผลการทดลอง แบบจาํ ลองอะตอมมวี วิ ัฒนาการ โดยเริม่ จาก ดอลตนั เสนอว่าธาตปุ ระกอบด้วยอะตอมซึ่งเป็นอนุภาค ขนาดเล็กไม่สามารถแบ่งแยกได้ต่อมาทอมสันเสนอว่าอะตอมประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกว่า อิเล็กตรอน และอนุภาคประจุบวก รัทเทอร์ฟอร์ดเสนอว่าประจุบวกที่เรียกว่า โปรตอน รวมตัวกันอยู่ตรง กึ่งกลางอะตอม เรียกว่า นิวเคลียส ซึ่งมีขนาดเล็กมากและมีอิเล็กตรอนอยู่รอบนิวเคลียส โบร์เสนอว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นวงรอบนิวเคลียสโดยแต่ละวงมีระดับพลังงานเฉพาะตัว ในปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ ยอมรับว่าอิเล็กตรอนมีการเคลื่อนที่รวดเร็วรอบนิวเคลียส และไม่สามารถระบุตำแหน่งที่แน่นอนได้จึงเสนอ แบบจําลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก ซ่งึ แสดงโอกาสการพบอิเลก็ ตรอนรอบนวิ เคลียส

สาระสำคญั สาเหตทุ ค่ี น้ พบนิวตรอน 1. เนื่องจากมวลของอะตอมต่าง มักเป็น 2 เท่า หรือมากกว่า 2 เท่าของมวลโปรตรอนรวม รัทเทอร์ฟอร์ดสันนิษฐานว่า น่าจะมีอนุภาคอีกชนิดหนึ่งอยู่ในนิวเคลียส และอนุภาคนี้ต้องมีมวลใกล้เคียงกัน กับมวลของโปรตรอนมาก และตอ้ งเป็นกลางทางไฟฟ้า 2. ทอมสนั ศกึ ษาหามวลของอนุภาคบวกของ Ne ปรากฎว่า อนุภาคบวกนี้มีมวล 2 เทา่ ผลการทดลอง นี้สนับสนุนว่าจะต้องมีอนุภาคอีกชนิดหนึ่งอยู่ในนิวเคลียสเชดวิก ได้ยิงอนุภาคแอลฟาไปยัง Be ปรากฎว่าได้ อนภุ าคชนดิ น่งึ ออกมาซ่งึ มีมวลใกล้เคยี งกบั มวลของโปรตรอนและไมม่ ีประจุไฟฟ้า เรยี กอนภุ าคน้วี า่ \"นวิ ตรอน\" อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมกันอยู่ตรงกลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็ก แต่มีมวลมาก และมีประจเุ ปน็ บวก สว่ นอเิ ล็กตรอนซึ่งมีประจเุ ปน็ ลบ และมีมวลนอ้ ยมาก จะวงิ่ อยู่รอบนวิ เคลยี สเปน็ บรเิ วณกว้าง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายแบบจำลองอะตอมของรทั เทอรฟ์ อรด์ (K) 2. สืบคน้ ข้อมูลความหมายของแบบจำลองอะตอมของรทั เทอรฟ์ อร์ด (P) 3. นักเรยี นสามารถแสดงบทบาทสมมติในการแสดงเปน็ ผใู้ หค้ วามรู้ได้ (P) 4. แสดงความเปน็ คนช่างสงั เกต ช่างคดิ ช่างสงสัย ใฝเ่ รียนรู้ และม่งุ มนั่ ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ✓ 2. ซือ่ สตั ย์ สุจริต ✓ 3. มีวินัย ✓ 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ✓ 6. มุ่งม่ันในการทำงาน 7. รกั ความเป็นไทย ✓ 8. มีจิตสาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ✓ 1. มคี วามสามารถในการสอ่ื สาร ✓ 2. มีความสามารถในการคิด ✓ 3. มีความสามารถในการแกป้ ัญหา

✓ 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ ✓ 5. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลกั (Core Subjects) ✓ 2. ทักษะการเรียนรู้ และนวัตกรรม ✓ 3. ทักษะดา้ นสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี ✓ 4. ทักษะด้านชวี ติ และอาชีพ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขั้นสรา้ งความสนใจ (engagement) 1.ครูกระตุ้นความสนใจนักเรียนด้วยคำถามว่า ถ้ายิงปืนผ่านเป้ายิงที่เป็นกระดาษ และที่เป็นเพรท เหล็กจะเกิดอะไรข้ึน (แนวคำตอบคอื : เมอื่ ยงิ ปืนใส่เป้าท่เี ป็นกระดาษลกู กระสนุ จะทะลผุ า่ นกระดาษไป แต่ถ้า ยิงใส่เข้าเพรทเหลก็ จะเกดิ การกระเด็นออกของลูกกระสุน) ข้นั สำรวจและคน้ หา (exploration) 2.ครแู บ่งกลมุ่ นกั เรยี นออกเป็นกลุ่มกลุ่มละ 5-6 คน โดยสุม่ จากการใช้แอพพลิเคชนั ส่มุ จากเวบ็ ออนไลน์ ครใู หน้ กั เรียนทำกจิ กรรมท่ี 2.2 การทดลองของรัทเทอร์ฟอรด์ วธิ กี ารทำกจิ กรรม -สืบคน้ ข้อมูล สมมติฐาน และทดลองของรัทเทอร์ฟอรด์ ในการศึกษาโครงสร้างอะตอม -จดั ทำโปสเตอรน์ ำเสนอขอ้ มูลการสืบค้น จากนนั้ นำไปตดิ แสดงในบริเวณท่ีกำหนด -วางแผนการทำงานกบั สมาชิกในกลมุ่ โดย (อาจจะสลับบทบาททุก ๆ 5 นาที) บทบาทที่ 1 อย่ปู ระจำโปสเตอรเ์ พ่อื อธิบายข้อมลู ให้กบั สมาชกิ กลุ่มอื่น บทบาทที่ 2 ชมการนำเสนอของกลุ่มอนื่ พร้อมแลกเปล่ียนข้อมลู -ร่วมกนั สรุปองค์ความรูท้ ีไ่ ดจ้ ากการทำกจิ กรรม

ขัน้ ที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 3.ในปี พ.ศ. 2454 เออรเ์ นสต์ รทั เทอรฟ์ อร์ด (Ernest Rutherford) ได้พสิ จู น์แบบจำลองอะตอมของ ทอมสนั โดยการยิงอนุภาคแอลฟาไปยงั แผ่นทองคำบาง ๆ และใชฉ้ ากเรอื งแสงทเี่ คลอื บด้วยซงิ ค์ซัลไฟด์ (ZnS) โค้งเป็นวงล้อมรอบแผ่นทองคำ พบว่า ส่วนใหญ่การเรืองแสงบนฉากที่อยู่บริเวณด้านหลังของแผ่นทองคำมี บางครั้งที่เกิดการเรืองแสงบริเวณด้านขา้ ง และนอ้ ยครั้งมากทมี่ กี ารเรอื งแสงบริเวณด้านหน้า รทั เทอร์ฟอร์ดจึง ได้เสนอแบบจำลองอะตอมขน้ึ ใหม่ ดงั นี้ ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 4.ครูให้ความรูน้ ักเรียนเกี่ยวกับ รังสีแอลฟา เป็นนิวเคลียสของอะตอมฮีเลียม มีโปรตอนและนิวตรอน อย่างละ 2 อนุภาค มปี ระจไุ ฟฟา้ +2 มีเลขมวล 4 มอี ำนาจทะทะลวงตำ่ มาก 5.ครใู หค้ วามรู้เกี่ยวกับลักษณะของทองคำ ทองคำ เรยี กโดยย่อว่า “ทอง” เป็นธาตลุ ำดับที่ 79 มีสัญลักษณ์ Au ทองคำเป็นโลหะแข็งสเี หลือง เกดิ เป็นธาตอุ ิสระในธรรมชาติ ไม่ว่องไวต่อปฏิกิริยา และสามารถทนทาน ตอ่ การขึ้นสนมิ ไดด้ ี คุณสมบตั ิสำคญั ของทองคำอีกประการหนึ่งคือ ทองคำเป็นโลหะทีอ่ อ่ นและเหนียว ทองคำ หนัก 1 ออนซ์ สามารถทำให้เป็นเส้นได้ยาวถึง 50 ไมล์ และสามารถตีแผ่ทองคำให้เป็นแผ่นบางขนาด 0.00005 นวิ้ ได้ 6.จากนั้นครูใหน้ ักเรียนเล่น quizizz ท่คี รูสร้างไว้ เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี นและเกบ็ คะแนน ขัน้ ที่ 5 ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) 7.ครูประเมินโดยให้นกั เรียนเลน่ เกม Quizizz เพอื่ ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี น 8.ครูประเมนิ โดยใช้คำถามวา่ การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดว่าสนบั สนุนหรอื ขัดแยง้ กบั แนวคิดของทอมสนั (แนวคำตอบ : ขดั แย้ง เพราะ ประจบุ วกไม่ได้กระจายตวั ทั่วอะตอม แต่ประจบุ วกอยู่ตรงกลางอะตอม) 9.ครูประเมินโดยสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ และแบบรายบคุ คล

การจดั บรรยากาศเชิงบวก ครกู ระตุน้ ให้นักเรียนแสดงความคดิ เหน็ โดยไม่ต้องกงั วลว่าถูกหรือผิด และชว่ ยกันปรบั ปรงุ แกไ้ ขได้ ควรให้โอกาสนกั เรยี นไดน้ ำเสนอผลการทำกิจกรรมในช้ันเรยี น เพือ่ เปน็ การแบ่งปันความรู้ต่อนกั เรยี นกลุม่ อืน่ ๆ และเกดิ การอภปิ รายระหวา่ งกลมุ่ สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 2. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 3. สือ่ จากอินเทอร์เน็ตเพื่อใช้ในการสืบค้นขอ้ มูลเพิม่ เตมิ 4. แอพพลิเคชนั Quizziz

การวดั ผลประเมนิ ผล วิธีการวัด เครอื่ งมอื วดั เกณฑ์การวดั การผลประเมนิ ผลดา้ น 1. ดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจ คำตอบในแบบทดสอบ แบบทดสอบเรอื่ ง เร่ืองแบบจำลองอะตอม แบบจำลองอะตอม ของรทั เทอร์ฟอรด์ ของรัทเทอร์ฟอร์ด ใน 80% ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ Quizziz 2. ด้านทักษะกระบวนการ สบื คน้ ขอ้ มูลความหมาย -แบบสงั เกตพฤติกรรม ของแบบจำลองอะตอม แบบกลุ่ม คุณภาพ พอใช้ ขน้ึ ไป ของรทั เทอรฟ์ อร์ดได้ -สังเกตพฤติกรรมแบบ ผา่ นเกณฑ์ ถกู ตอ้ งนกั เรยี นสามารถ รายบุคคล แสดงบทบาทสมมตใิ น การแสดงเปน็ ผใู้ ห้ ความรไู้ ด้ 3. ด้านลักษณะที่พงึ สงั เกตพฤตกิ รรมผเู้ รยี น -แบบสงั เกตพฤติกรรม คุณภาพ พอใช้ ขึ้นไป ประสงค์ แบบกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ -สังเกตพฤติกรรมแบบ รายบคุ คล

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.....................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ .....................................................ผตู้ รวจ(ครพู เ่ี ลย้ี ง) ................/.................../................

ใบกจิ กรรม 2.2 การทดลองของรัทเทอรฟ์ อรด์ วตั ถปุ ระสงค์การทดลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. วัสดแุ ละอปุ กรณ์ .............................................................................................................................................................................. วิธีการทำกิจกรรม 1. สบื ค้นขอ้ มลู สมมตฐิ าน และทดลองของรัทเทอรฟ์ อรด์ ในการศึกษาโครงสรา้ งอะตอม 2. จัดทำโปสเตอร์นำเสนอขอ้ มูลการสืบคน้ จากนน้ั นำไปติดแสดงในบรเิ วณท่ีกำหยด 3. วางแผนการทำงานกบั สมาชกิ ในกลุ่มโดย (อาจจะสลบั บทบาทุก ๆ 5 นาที) บทบาทท่ี 1 อย่ปู ระจำโปสเตอร์เพอ่ื อธบิ ายขอ้ มลู ใหก้ ับสมาชกิ กลมุ่ อน่ื บทบาทที่ 2 ชมการนำเสนอของกลุม่ อ่ืนพร้อมแลกเปล่ยี นขอ้ มูล 4. รว่ มกันสรปุ องค์ความรทู้ ่ีได้จากการทำกิจกรรม คำถามทา้ ยกจิ กรรม 1. รงั สแี อลฟาคืออะไร ................................................................................................................................................................ 2. สมมตฐิ านและการทดลองของรทั เทอรฟ์ อร์ดเป็นอยา่ งไร (วาดภาพประกอบ) ................................................................................................................................................................ 3. เพราะเหตุใดในการทดลองของรทั เทอร์ฟอรด์ ตอ้ งทำแผ่นทองคำใหเ้ ปน็ บาง ๆ ................................................................................................................................................................

ชือ่ -สกุล...........................................................ชนั้ ........เลขท.่ี .............. สรุปเนอ้ื หา แบบจำลองของ_______________________________(กล่มุ 1) ลกั ษณะของแบบจำลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แบบจำลองของ_______________________________(กลุ่ม 2) ลักษณะของแบบจำลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ชือ่ -สกุล...........................................................ชน้ั ........เลขท.ี่ .............. สรุปเนอื้ หา แบบจำลองของ_______________________________(กลุม่ 3) ลกั ษณะของแบบจำลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แบบจำลองของ_______________________________(กล่มุ 4) ลักษณะของแบบจำลอง .............................................................................................................................................................................. .........................................................................................................................................................................

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ กลมุ่ คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับระดับคะแนน กลุ่ม …………………… สมาชกิ ของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. คณุ ภาพการปฏบิ ัติ ลำดบั ท่ี พฤติกรรม 432 1 1 มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรับฟังกนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามกระตือรือร้น และตังใจในการทำงาน 3 มีการจดั การทดี่ ภี ายในกลุ่มมกี ารวางแผนอย่างเปน็ ระบบ 4 มีการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในกลุ่ม 5 มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน 6 มีการทำงานไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย รวม ลงชอื่ ……………………………………………………ผู้ประเมิน ….………/……………./………….. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้งั = 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั 21-24 ดมี าก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรับปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ลำดบั ชือ่ -นามสกุล ผูถ้ ูกประเมนิ พฤตกิ รรม รวม ต้งั ใจในการ การตอบ มคี วาม ตรงตอ่ ทำงาน คำถาม รบั ผิดชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ = 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง = 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั 10-12 ดีมาก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรงุ

บนั ทกึ หลงั สอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ นักเรยี นอธบิ ายแบบจำลองอะตอมของรทั เทอรฟ์ อรด์ ดา้ นทกั ษะ นกั เรยี นสืบค้นข้อมลู ความหมายของแบบจำลองอะตอมของรทั เทอรฟ์ อรด์ และสามารถแสดงบทบาท สมมตใิ นการแสดงเปน็ ผใู้ ห้ความรู้ได้ ดา้ นคณุ ธรรม นกั เรยี นใฝเ่ รยี นรู้ และม่งุ ม่นั ในการเสาะแสวงหาความรู้ ด้านทักษะชวี ิตเพ่อื การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปัญหา/อปุ สรรค และขอ้ คน้ พบ ไม่มี ๓. ขอ้ เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข และผลการแก้ไข ไม่มี ลงชอ่ื .....................................................ผ้สู อน (................................................)



แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 อะตอมและ เร่ืองแบบจำลองอะตอมของโบร์ เวลา 2 ชว่ั โมง สมบัตขิ องธาตุ และกลุม่ หมอก รหสั วิชา ว 31221 วิชา เคมี 1 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… สาระเคมี เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุพันธะเคมีและสมบัติของสาร แก๊สและสมบตั ิของแก๊ส ประเภทและสมบตั ขิ องสารประกอบอนิ ทรีย์และพอลิเมอร์ รวมท้ังการนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรยี นรู้ ม.4/1 สืบค้นข้อมูลสมมติฐาน การทดลอง หรือ ผลการทดลองที่เป็นประจักษ์พยานในการเสนอ แบบจําลองอะตอมของนักวทิ ยาศาสตร์และอธบิ ายววิ ฒั นาการของแบบจาํ ลองอะตอม สาระการเรยี นรู้ นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโครงสร้างของอะตอมและเสนอแบบจําลองอะตอมแบบต่าง ๆ จากการศึกษา ข้อมลู การสังเกต การตง้ั สมมติฐานและ ผลการทดลอง แบบจาํ ลองอะตอมมีววิ ัฒนาการ โดยเร่ิมจาก ดอลตันเสนอวา่ ธาตปุ ระกอบดว้ ยอะตอมซ่ึงเป็นอนุภาค ขนาดเล็กไม่สามารถแบ่งแยกได้ต่อมาทอมสันเสนอว่าอะตอมประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกว่า อิเล็กตรอน และอนุภาคประจุบวก รัทเทอร์ฟอร์ดเสนอว่าประจุบวกที่เรียกว่า โปรตอน รวมตัวกันอยู่ตรง กึ่งกลางอะตอม เรียกว่า นิวเคลียส ซึ่งมีขนาดเล็กมากและมีอิเล็กตรอนอยู่รอบนิวเคลียส โบร์เสนอว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นวงรอบนิวเคลียสโดยแต่ละวงมีระดับพลังงานเฉพาะตัว ในปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ ยอมรับว่าอิเล็กตรอนมีการเคลื่อนที่รวดเร็วรอบนิวเคลียส และไม่สามารถระบุตำแหน่งที่แน่นอนได้จึงเสนอ แบบจําลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก ซงึ่ แสดงโอกาสการพบอิเลก็ ตรอนรอบนิวเคลียส

สาระสำคญั 1.สรุปแบบจำลองอะตอมของโบร์ -อิเลก็ ตรอนจะอยเู่ ปน็ ชนั้ ๆ แตล่ ะชั้นเรียกวา่ “ ระดับพลงั งาน ” -แต่ละระดับพลงั งานจะมีอเิ ลก็ ตรอนบรรจุได้ดงั น้ี จำนวนอเิ ล็กตรอน = 2n2 -อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานนอกสุดเรียกว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน ( Valence electron ) จะเป็นอิเล็กตรอนที เกิดปฏกิ ิรยิ าตา่ ง ๆ ได้ -อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานวงใน อยู่ใกล้นิวเคลียสจะเสถียรมาก เพราะประจุบวกจากนิวเคลียสดึงดูด เอาไว้อย่างดี ส่วนอิเล็กตรอนระดับพลังงานวงนอกจะไม่เสถียรเพราะนิวเคลียสส่งแรงไปดึงดูดได้น้อยมาก จึง ทำให้อเิ ล็กตรอนเหล่านหี้ ลุดออกจากอะตอมไดง้ า่ ย -ระดบั พลงั งานวงในจะอยหู่ ่างกันมาก สว่ นระดับพลงั งานวงนอกจะอยชู่ ดิ กนั มาก -การเปลย่ี นระดับพลงั งานของอเิ ลก็ ตรอน ไม่จำเปน็ ต้องเปลีย่ นในระดับถดั กนั อาจเปล่ยี นขา้ มระดับพลงั งานก็ได้ 2.แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก แบบจำลองอะตอมของโบร์ ใชอ้ ธบิ ายเก่ียวกับเส้นสเปกตรัมของธาตุ ไฮโดรเจนได้ดี แตไ่ ม่สามารถอธิบายเส้นสเปกตรัมของอะตอมท่ีมหี ลายอเิ ล็กตรอนได้ จึงได้มกี ารศึกษาเพิ่มเติม โดย ใช้ความรู้ทางกลศาสตร์ควันตัม สร้างสมการเพื่อคำนวณหาโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ จึง สามารถอธบิ ายเส้นสเปกตรมั ของธาตุไดถ้ ูกต้องกว่าอะตอมของโบร์ ลักษณะสำคญั ของแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่ม หมอกอธิบายได้ดังน้ี -อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสอย่างรวดเร็วตลอดเวลาด้วยความเร็วสูง ด้วยรัศมีไม่แน่นอนจึงไม่ สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้บอกได้แต่เพียงโอกาสที่จะพบอิ เล็กตรอนในบริเวณต่างๆ ปรากฏการณ์แบบนี้นีเ้ รยี กว่ากลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน บริเวณที่มีกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนหนาแน่น จะมีโอกาสพบ อิเล็กตรอนมากกวา่ บริเวณทเ่ี ป็นหมอกจาง -การเคล่ือนที่ของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสอาจเป็นรูปทรงกลมหรือรูปอ่นื ๆ ข้ึนอยู่กับระดับพลังงานของ อเิ ลก็ ตรอน แต่ผลรวมของกลมุ่ หมอกของอิเลก็ ตรอนทุกระดับพลังงานจะเป็นรูปทรงกลม จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.อธบิ ายแบบจำลองอะตอมของโบรแ์ ละกลุม่ หมอก (K) 2.ทำการทดลองเร่ืองสเปกตรัมของธาตุได(้ P) 3.แสดงความเปน็ คนช่างสงั เกต ชา่ งคดิ ช่างสงสยั ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมน่ั ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A)

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ✓ 2. ซ่อื สตั ย์ สจุ รติ ✓ 3. มีวินัย ✓ 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ✓ 6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 7. รกั ความเป็นไทย ✓ 8. มีจิตสาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ✓ 1. มคี วามสามารถในการสอื่ สาร ✓ 2. มีความสามารถในการคดิ ✓ 3. มีความสามารถในการแก้ปญั หา ✓ 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ✓ 5. มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลกั (Core Subjects) ✓ 2. ทักษะการเรยี นรู้ และนวตั กรรม ✓ 3. ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ ส่อื และเทคโนโลยี ✓ 4. ทกั ษะดา้ นชวี ิต และอาชพี กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ข้ันสร้างความสนใจ (engagement) 1.ครูใหน้ ักเรยี นดภู าพพลุ แลว้ ต้ังคำถามกระตุ้นนกั เรยี นวา่ นกั เรียนคดิ วา่ ทำไมพลุ ถงึ มีสตี า่ งกนั

2.จากนนั้ อธบิ ายกับนกั เรียนว่า การทพี่ ลมุ สี ีตา่ งกนั นัน้ เนอื่ งจากองคป์ ระกอบในพลแุ ตล่ ะสี มธี าตุท่ี ต่างกัน หมายความว่า ธาตุ แต่ละตัวให้สีได้ต่างกัน และนีลส์ โบร์ ได้ทำการศึกษาเรื่องสเปกตรัมของธาตุ ๆ และพบวา่ ธาตแุ ต่ละตวั ใหส้ สี เปกตรมั ที่แตกต่างกนั ข้ันสำรวจและคน้ หา (Exploration) 3.ครูแบ่งกลุ่มนักออกเป็น 4 กลมุ่ โดยใช้แอพพลเิ คชน่ั ในการสุม่ ชอ่ื 4.ครใู ห้นักเรยี นทำกจิ กรรที่ 2.3 การทดลองการศึกษาเสน้ สเปกตรมั ของธาตุ วธิ กี ารทดลอง - ใช้แผน่ เกรตตงิ สอ่ งดูแสงอาทติ ย์ (ห้ามดดู วงอาทติ ย์โดยตรง) สงั เกตส่ิงที่ปรากฏแล้วส่องดู แสงอาทิตย์จากหลอดฟลอู อเรสเซนต์ เปรียบเทยี บสีท่ีสงั เกตไดจ้ ากการดแู สงท้ังสองแหล่ง - เตรยี มอปุ กรณส์ ำหรับศึกษาสเปกตรัมของธาตุโดยใชช้ ุดศกึ ษาสเปกตรมั ดงั รูป - ใช้แผ่นเกรตตงิ สอ่ งดูทห่ี ลอดบรรจุแกส๊ ไฮโดรเจนขณะทีก่ ำลงั เรอื งแสง สงั เกตเส้น สเปกตรมั ที่ปรากฏ บันทกึ ผลการสังเกต - ทำการทดลองเช่นเดียวกบั ข้อที่ 3 แต่เปลย่ี นหลอดบรรจแุ กส๊ ไฮโดรเจนเปน็ หลอดบรรจุ แกส๊ ฮีเลียม แกส๊ นอี อน และไอปรอท สังเกตสเปกตรัมที่ปรากฏ ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) 5.แบบจำลองอะตอมของโบร์ ในปี พ.ศ. 2456 นีลส์ โบร์ (Niels Henrik David Bohr) นกั วทิ ยาศาสตร์ ชาวเดนมาร์ก ได้เสนอทฤษฎีอะตอมที่อธิบายได้โดยปรากฎการณ์การเกิดเส้นของแสงที่เรียกว่า สเปกตรัม (spectrum) และไดน้ ำความรู้เรือ่ งสเปกตรัมมาสรา้ งแบบจำลองอะตอมขึน้ มาใหม่ โดยสรปุ ได้ว่า -อะตอมประกอบดว้ ยนิวเคลียสอยูต่ รงกลางของอะตอม โดยมีอิเลก็ ตรอนเคล่ือนท่อี ยู่โดยรอบอะตอม เปน็ ระดับพลังงานท่ีมคี ่าพลังงานเฉพาะ คล้ายกับวงโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทิตย์ -แต่ละระดับชั้นพลังงานจะมีพลังงานไม่เท่ากัน โดยระดับชั้นพลังงานที่อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุดจะมี พลังงานต่ำท่ีสุด คอื n = 1 และช้นั ถดั ๆ ไปเปน็ n = 2, 3, 4, … ซึง่ จะมีพลังงานสูงขนึ้ เรอ่ื ย ๆ ตามลำดบั

6.และจากนั้นครูอธิบายว่า แบบจำลองอะตอมของโบร์ ใช้อธิบายเกี่ยวกับเส้นสเปกตรัมของธาตุ ไฮโดรเจนไดด้ ี แตไ่ มส่ ามารถอธิบายเสน้ สเปกตรมั ของอะตอมทีม่ ีหลายอิเลก็ ตรอนได้ จงึ ไดม้ กี ารศึกษาเพิ่มเติม โดยใช้ความรู้ทางกลศาสตร์ควันตัม สร้างสมการเพื่อคำนวณหาโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน ต่างๆ จึงสามารถอธิบายเส้นสเปกตรัมของธาตุได้ถูกต้องกว่าอะตอมของโบร์ ลักษณะสำคัญของแบบจำลอง อะตอมแบบกลมุ่ หมอกอธบิ ายได้ดงั น้ี -อิเล็กตรอนเคล่ือนท่ีรอบนิวเคลียสอย่างรวดเร็วตลอดเวลาดว้ ยความเร็วสูง ด้วยรัศมีไม่แน่นอนจงึ ไม่ สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้บอกได้แต่เพียงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในบริเวณต่างๆ ปรากฏการณ์แบบน้ีนีเ้ รียกว่ากลุ่มหมอกของอเิ ล็กตรอน บริเวณท่ีมกี ลุ่มหมอกอเิ ลก็ ตรอนหนาแน่น จะมโี อกาส พบอเิ ล็กตรอนมากกวา่ บรเิ วณทเี่ ป็นหมอกจาง -การเคล่ือนท่ขี องอิเล็กตรอนรอบนวิ เคลียสอาจเป็นรปู ทรงกลมหรือรูปอนื่ ๆ ข้ึนอยู่กับระดับพลังงาน ของอิเลก็ ตรอน แต่ผลรวมของกลมุ่ หมอกของอิเล็กตรอนทกุ ระดับพลงั งานจะเปน็ รูปทรงกลม ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 7.ครูให้ความรู้เกี่ยวกับการสเปตรัมของธาตุสเปกตรัมเกิดจาก อะตอมทีไ่ ดร้ ับพลังงานจำนวนหน่ึง ทำ ให้อิเล็กตรอนมีพลังงานสูงขึ้น อิเลกตรอนจะเคล่ือนท่ีจากสถานะพื้น ไปยังสถานะกระตุ้น ทำให้อิเลค็ ตรอนไม่ เสถียร จึงตกกลับมาในสถานะพลังงานต่ำ และคายพลังงานออกมาในรูปของ พลังงานแสง ถ้าแสงเหล่านี้แยก ออกจากกันชดั เจน จะปรากฏเป็นเสน้ สเปกตรมั -สถานะพืน้ (ground state) หมายถึงอะตอมทีอ่ ิเล็กตรอนซึ่งเคลื่อนที่อยูร่ อบนิวเคลียสมีพลังงานเฉพาะตัวอยู่ในระดับพลังงานต่ำ อะตอม ในสถานะพน้ื จะมคี วามเสถยี รเน่อื งจากมพี ลังงานตำ่ -สถานะกระตุ้น (excited state) หมายถึงอะตอมที่ได้รับพลังงานเพิ่มขึ้น ทำให้อิเล็กตรอนถูกกระตุ้นให้อยู่ในระดับพลังงานสูงขึ้น ที่สถานะ กระตุ้นอะตอมจะไมเ่ สถียร เนอ่ื งจากมพี ลังงานสูง ข้นั ประเมนิ (Evaluation) 8.ครปู ระเมนิ โดยใหน้ ักเรียนเล่นเกม Crossword

9.ครปู ระเมินโดยใชค้ ำถามว่า ลกั ษณะแบบจำลองอะตอมของโบร์มีลักษณะเป็นอย่างไร (แนวคำตอบ : เปน็ ทรงกลม ประกอบด้วยนิวเคลยี สอยู่กลางอะตอม โดยอเิ ลก็ ตรอนเคลอ่ื นที่อยโู่ ดยรอบอะตอม เปน็ ระดบั ชัน้ พลังงาน) 10.สเปตรมั ของธาตุเกิดจากอะไร (แนวคำตอบ : อะตอมทไ่ี ดร้ ับพลังงานจำนวนหน่ึง ทำให้อเิ ลก็ ตรอนมีพลังงานสงู ขน้ึ อเิ ลกตรอนจะเคล่อื นทีจ่ าก สถานะพื้น ไปยังสถานะกระตุ้น ทำให้อิเล็คตรอนไม่เสถียร จึงตกกลับมาในสถานะพลังงานต่ำ และคาย พลงั งานออกมาในรูปของ พลงั งานแสง) 11.ครูประเมินโดยสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ และแบบรายบุคคล การจัดบรรยากาศเชิงบวก ครกู ระตุ้นให้นกั เรียนแสดงความคิดเห็น โดยไม่ตอ้ งกงั วลว่าถูกหรือผดิ และช่วยกนั ปรบั ปรุงแก้ไขได้ ควรใหโ้ อกาสนักเรียนไดน้ ำเสนอผลการทำกิจกรรมในชั้นเรยี น เพื่อเปน็ การแบ่งปนั ความร้ตู ่อนักเรียนกลุม่ อื่นๆ และเกิดการอภิปรายระหวา่ งกลุม่ สอ่ื /แหล่ง การเรยี นรู้ 1.หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

2.คมู่ ือครูรายวิชาเพิ่มเตมิ วทิ ยาศาสตร์ เคมเี ล่ม 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๔ ของสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 3.ส่อื จากอินเทอร์เน็ตเพือ่ ใชใ้ นการสบื ค้นข้อมลู เพิ่มเติม 4.เกมส์ Crossword 5.ใบกิจกรรม 2.3 การทดลองการศึกษาเส้นสเปกตรมั ของธาตุ การวดั ผลประเมินผล การผลประเมนิ ผลดา้ น วธิ กี ารวัด เครือ่ งมอื วัด เกณฑ์การวดั 1. ดา้ นความรคู้ วามเข้าใจ คำตอบในใบงานการ ใบงานการทดลอง 80% ขึน้ ไป ผา่ นเกณฑ์ ทดลองศกึ ษาเส้น ศึกษาเสน้ สเปกตรัม สเปกตรัมของธาตตุ ่างๆ ของธาตุตา่ งๆ 2. ดา้ นทักษะกระบวนการ การทำการทดลองได้ -แบบสังเกตพฤตกิ รรม อยา่ งถูกตอ้ งและ ปลอดภัย แบบกลมุ่ คุณภาพ พอใช้ ข้ึนไป -สังเกตพฤติกรรมแบบ ผ่านเกณฑ์ รายบคุ คล 3. ดา้ นลักษณะท่พี งึ สังเกตพฤติกรรมผเู้ รียน -แบบสงั เกตพฤตกิ รรม คณุ ภาพ พอใช้ ข้ึนไป ประสงค์ แบบกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ -สังเกตพฤตกิ รรมแบบ รายบคุ คล

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื .....................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.....................................................ผตู้ รวจ(ครพู ่ีเลี้ยง) ................/.................../................

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ กลมุ่ คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับระดับคะแนน กลุ่ม …………………… สมาชกิ ของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. คณุ ภาพการปฏบิ ัติ ลำดบั ท่ี พฤติกรรม 432 1 1 มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรับฟังกนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามกระตือรือร้น และตังใจในการทำงาน 3 มีการจดั การทดี่ ภี ายในกลุ่มมกี ารวางแผนอย่างเปน็ ระบบ 4 มีการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในกลุ่ม 5 มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน 6 มีการทำงานไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย รวม ลงชอื่ ……………………………………………………ผู้ประเมิน ….………/……………./………….. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้งั = 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั 21-24 ดมี าก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรับปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ลำดบั ชือ่ -นามสกุล ผูถ้ ูกประเมนิ พฤตกิ รรม รวม ต้งั ใจในการ การตอบ มคี วาม ตรงตอ่ ทำงาน คำถาม รบั ผิดชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ = 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง = 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั 10-12 ดีมาก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรงุ

ใบกจิ กรรม 2.3 การทดลองการศกึ ษาเส้นสเปกตรมั ของธาตุ วตั ถุประสงค์การทดลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. วัสดุและอปุ กรณ์ .............................................................................................................................................................................. วธิ กี ารทดลอง 1. ใช้แผน่ เกรตตงิ สอ่ งดแู สงอาทติ ย์ (ห้ามดดู วงอาทติ ย์โดยตรง) สงั เกตสิง่ ทปี่ รากฏแล้วส่องดแู สงอาทิตย์ จากหลอดฟลอู อเรสเซนต์ เปรยี บเทยี บสที สี่ ังเกตได้จากการดแู สงทัง้ สองแหลง่ 2. เตรียมอุปกรณส์ ำหรับศกึ ษาสเปกตรัมของธาตุโดยใชช้ ดุ ศึกษาสเปกตรมั ดงั รูป 3. ใช้แผ่นเกรตตงิ สอ่ งดูท่หี ลอดบรรจแุ กส๊ ไฮโดรเจนขณะทกี่ ำลังเรอื งแสง สงั เกตเสน้ สเปกตรมั ที่ปรากฏ บนั ทึกผลการสงั เกต 4. ทำการทดลองเช่นเดยี วกับขอ้ ท่ี 3 แต่เปลีย่ นหลอดบรรจแุ ก๊สไฮโดรเจนเปน็ หลอดบรรจแุ ก๊สฮเี ลยี ม แก๊สนอี อน และไอปรอท สงั เกตสเปกตรมั ทป่ี รากฏ

บันทึกผลการทดลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. คำถามทา้ ยการทดลอง 1. สเปกตรัมทมี่ องเห็นจากการใช้แผ่นเกรตติงส่องดแู สงอาทติ ยก์ บั แสงไฟจากหลอดฟลอู อเรสเซนต์ เหมือนกนั หรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร ................................................................................................................................................................ 2. เสน้ สเปกตรมั ของแกส๊ ไฮโดรเจน แก๊สฮเี ลยี ม แกส๊ นอี อน และไอปรอทแตกต่างกนั หรอื ไม่อยา่ งไร ................................................................................................................................................................

บนั ทกึ หลงั สอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ นกั เรียนอธิบายแบบจำลองอะตอมของโบรแ์ ละกลมุ่ หมอก ดา้ นทกั ษะ นักเรยี นทำการทดลองเรอ่ื งสเปกตรัมของธาตุไดถ้ ูกตอ้ ง ดา้ นคณุ ธรรม นกั เรียนใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มนั่ ในการเสาะแสวงหาความรู้ ด้านทกั ษะชวี ติ เพือ่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปญั หา/อปุ สรรค และข้อคน้ พบ เนื่องจากปญั หาการเรียนออนไลน์ นักเรยี นไมส่ ามารถทำการทดลองได้ ๓. ขอ้ เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข และผลการแกไ้ ข ให้นกั เรียนดคู ลปิ วดิ โี อและดรู งูปภาพผลการทดลองและวเิ คราะหผ์ ลการทดลองรว่ มกัน ลงชอ่ื .....................................................ผู้สอน (................................................)



แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 อะตอมและ เร่ืองอนภุ าคในอะตอมและ เวลา 2 ชว่ั โมง สมบตั ขิ องธาตุ ไอโซโทป รหัสวิชา ว 31221 วชิ า เคมี 1 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สาระเคมี เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุพันธะเคมีและสมบัติของสาร แกส๊ และสมบัติของแกส๊ ประเภทและสมบัตขิ องสารประกอบอนิ ทรยี แ์ ละพอลเิ มอร์ รวมทัง้ การนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรียนรู้ ม.4/2 เขยี นสัญลกั ษณ์นวิ เคลียร์ของธาตุและระบุจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอเิ ลก็ ตรอนของ อะตอมจากสญั ลักษณน์ วิ เคลยี ร์รวมท้งั บอกความหมายของไอโซโทป สาระการเรยี นรู้ สญั ลกั ษณ์นวิ เคลยี รข์ องธาตุ ประกอบดว้ ยสญั ลักษณธ์ าตุ เลขอะตอมซ่งึ แสดงจำนวนโปรตอน และ เลขมวลซ่ึงแสดงผลรวมของจำนวนโปรตอนกับนวิ ตรอน อะตอมของธาตชุ นิดเดียวกนั ท่ีมีจำนวนโปรตอน เท่ากนั แตม่ ีจำนวนนิวตรอนต่างกนั เรยี กว่า ไอโซโทป สาระสำคญั ไอโซโทป เปน็ ความแตกตา่ งขององค์ประกอบทางเคมีทเ่ี ฉพาะเจาะจงของธาตุนนั้ ซึ่งจะแตกต่างกันใน จำนวนของนิวตรอน นั่นคืออะตอมทั้งหลายของธาตุชนิดเดียวกัน จะมีจำนวนโปรตอนหรือเลขอะตอมเท่ากัน แต่มีจำนวนนิวตรอนต่างกัน ส่งผลให้เลขมวล(โปรตอน+นิวตรอน)ตา่ งกันด้วย และเรียกเป็นไอโซโทปของธาตุ น้นั ๆ ไอโซโทปของธาตตุ า่ ง ๆ จะมคี ุณสมบตั ิทางเคมฟี ิสกิ ส์เหมอื นกัน ยกเว้นสมบัตขิ องนวิ เคลยี สที่เกี่ยวกับ มวลอะตอมไม่เหมือนกัน เชน่ ยเู รเนยี ม มี 2 ไอโซโทป คือ ยูเรเนยี ม-235 เป็นไอโซโทปทแ่ี ผร่ ังสี และยูเรเนยี ม- 238 เป็นไอโซโทปที่ไมแ่ ผ่รงั สี

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรยี นสามารถเขยี นและแปลความหมายสญั ลกั ษณ์นวิ เคลียร์ของธาตไุ ด้(K) 2. นกั เรียนสามารถอธบิ ายและยกตวั อย่างไอโซโทปของธาตุได้ (K) 3. นักเรียนสามารถเปรียบเทยี บความแตกต่างระหวา่ งไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์ ได้ (P) 4. นักเรยี นช่างคดิ ชา่ งสงสัย ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมัน่ ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ✓ 2. ซอ่ื สตั ย์ สุจริต ✓ 3. มวี นิ ัย ✓ 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ✓ 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย ✓ 8. มจี ติ สาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ✓ 1. มคี วามสามารถในการสอ่ื สาร ✓ 2. มีความสามารถในการคิด ✓ 3. มีความสามารถในการแกป้ ญั หา ✓ 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ ✓ 5. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลกั (Core Subjects) ✓ 2. ทักษะการเรียนรู้ และนวตั กรรม ✓ 3. ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี ✓ 4. ทกั ษะดา้ นชวี ิต และอาชพี กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขน้ั สร้างความสนใจ (engagement) 1.ครพู ูดวา่ ในหัวขอ้ ท่ีแล้วนักเรียนได้ทราบแลว้ วา่ ทอมสนั ได้คน้ พบอเิ ล็กตรอนและค่าประจตุ ่อมวล ใน หวั ขอ้ น้ีนกั เรยี นจะได้เรยี นรู้เกย่ี วกับอนุภาคชนิดอนื่ ท่ีเป็นองค์ประกอบของอะตอม

ขน้ั ท่ี 2 ขัน้ สำรวจและค้นหา (Exploration) 2.ครูใหน้ ักเรียนสบื คน้ ขอ้ มลู เกีย่ วกับการทดลองของมลิ ลิแกน ในหนังสือหนา้ เรียน เคมี ม.4 เล่ม 1 หนา้ 67 หรือสืบคน้ ขอ้ มูลจากอเิ ทอรเ์ นต็ พรอ้ มทั้งเขยี นลงในใบกิจกรรม (แนวคำตอบ : ในปี พ.ศ. 2451 รอเบริ ์ด แอนดรูส์ มลิ ลิแกน นกั วทิ ยาศาสตรช์ าวอเมรกิ นั ไดท้ ำการทดลอง การหาค่าประจขุ องอเิ ลก็ ตรอนโดยอาศยั การสังเกตหุ ยดน้ำมันในสนามไฟฟ้า เม่อื ละอองนำ้ มนั ร่วงผา่ นรบู น ข้วั ไฟฟา้ บวกกระทบรังสีจะมปี ระจุไฟฟา้ เกดิ ข้ึน ทำให้ละละอองนำ้ มันบางหยดเคลอื่ นทีเ่ ข้าหาขว้ั ไฟฟา้ บวก บางหยดเข้าหาขวั้ ไฟฟา้ ลบ และบางหยดลอยนิง่ อยรู่ ะหว่างสนามไฟฟ้า ขนาดของหยดน้ำมันทล่ี อยน่งิ อยู่ ระหวา่ งสนามไฟฟ้าสามารถสงั เกตไุ ดจ้ ากกล้องจลุ ทรรศน์และนำมาคำนวณหามวลของหยดน้ำมันที่ทราบความ หนาแน่นของน้ำมนั และจากความสัมพนั ธข์ องนำ้ หนักของหยดน้ำมันท่ีลอยนง่ิ เท่ากบั แรงท่เี กดิ จากสนามไฟฟ้า ทำให้สามารถคำนวณค่าประจุไฟฟา้ บนหยดนำ้ มนั ได้ ซึ่งพบว่าประจไุ ฟฟา้ บนหยดนำ้ มนั มีค่าเป็นจำนวนเท่า ของ 1.60x10-19 คูลอมบ์ มิลลแิ กนจึงสรุปว่าประจุของอิเลก็ ตรอนมคี า่ เทา่ กับ 1.60x10-19 คลู อมบ์ เม่อื นำมาใช้คำนวณรว่ มกับคา่ ประจตุ ่อมวลทีร่ ายงานไวโ้ ดยทอมสนั จะไดม้ วลของอิเล็กตรอนเท่ากบั 9.11x10-28 กรมั ) ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) 3.ครูอธิบายเพิม่ เตมิ ตอ่ ไปอกี ว่า ในปี พ.ศ. 2429 ออยแกน โกลด์ชไตน์ ไดท้ ำการดดั แปลงหลอดรงั สี แคโทดโดยการสลับตำแหนง่ ของแคโทดและแอโนด ซง่ึ เมอื่ ผา่ นกระแสไฟฟ้าเข้าไปพบว่า ฉากเกิดการเรอื งแสง แสดงวา่ มรี งั สีออกจากแอโนด ซ่ึงโกลชไตนเ์ รยี งรังสชี นดิ นวี้ า่ รังสแี คแนล หรือรงั สีแอโนด ซ่งึ มีประจุบวก โกลชไตนไ์ ดท้ ำการทดลองกบั แก๊สหลายชนอดพบว่ารังสแี อโนดมคี า่ ประจตุ ่อมวล (e/m) ไมค่ งที่จนกระทง่ั กลุ่ม นกั วิจัยนำทีมโดยรัทเทอรฟ์ อร์ดและทอมสนั ไดท้ ำการศึกษาหลอดในลักษณะเดียวกนั ทีบ่ รรจแุ ก๊สไฮโดรเจน ทำ ใหไ้ ด้ขอ้ สรุปวา่ อนุภาคบวกมคี ่าประจุเทา่ กับอิเล็กตรอนประมาณ 1840 เท่า เรียกอนภุ าคนี้วา่ โปรตอน 4.ครูอธิบายตอ่ ว่า ในปี พ.ศ. 2475 เจมส์แชดวิก ได้ทดลองยิงอนภุ าคแอลฟาไปยังอะตอมของธาตตุ า่ ง ๆ และทดสอบผลการทดลองดว้ ยเครื่องมือทีม่ ีความเที่ยงสูงทำใหท้ ราบว่าในนิวเคลยี สมอี นภุ าคที่เป็นกลางทาง

ไฟฟ้าและเรียกอนุภาคนี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีมวลใกล้เคียงกับโปรตรอน การค้นพบนิวตรอนช่วยอธิบาย และสนนั สนุนข้อมลู เกย่ี วกบั มวลของอะตอม ซง่ึ พบวา่ มีคา่ มากกวา่ มวลรวมของโปรตอน ตารางขอ้ มลู บางประการของอิเลก็ ตรอน โปรตรอน และนิวตรอน อนุภาค สญั ลักษณ์ ประจุไฟฟา้ ชนิดประจุ มวล (คลู อมบ์) -1 9.11x10-28 +1 1.673x10-24 อเิ ล็กตรอน e 1.62x10-19 0 1.675x10-24 โปรตอน p 1.62x10-19 นวิ ตรอน n 0 ขนั้ ที่ 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) 5.ครูอธิบายร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับ เลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป อะตอมประกอบด้วย โปรตรอนและนวิ ตรอนรวมกันเป็นนวิ เคลียสของอะตอม และมอี ิเลก็ ตรอนซง่ึ มจี ำนวนเท่ากับจำนวนโปรตรอน เคลื่อนที่อยู่รอบนิวเคลียส อะตอมของธาตุแต่ละชนิดมีจำนวนโปรตอนเฉพาะตัวไม่ซ้ำธาตุอื่น ตัวเลขที่แสดง จำนวนโปรตรอนนี้ เรียกว่า เลขอะตอม และเนื่องจากมวลของอิเล็กตรอนมีค่าน้อยมาก ดังนั้นมวลอะตอม ส่ววนใหญ่จึงเป็นมวลของนิวเคลียสที่ประกอบด้วยโปรตรอนและนิวตรอน เรียกผลรวมของจำนงนโปนตรอน และนิวตรอนว่า เลขมวล เช่น คาร์บอนมี 6 โปรตรอนจึงมีเลขอะตอมเท่ากับ 6 โดยอาจมี 6 หรือ 7 นิวตรอน จงึ มีเลขมวลเป็น 12 หรือ 13 ตามลำดบั 6.สัญลักษณ์ที่เขียนแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะของธาตุ เลขอะตอม และเลขมวลของอะตอม เรยี กวา่ สญั ลกั ษณน์ ิวเคลียร์ วิธเี ขยี นแบบสากล ใหเ้ ขยี นเลขอะตอมไวด้ ้านลา่ งซ้าย และเลขมวลไวบ้ นซ้ายของ สญั ลกั ษณ์ 7.ไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์ โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี - -ไอโซโทป (Isotope) ธาตุชนิดเดียวกนั มีโปรตอนเท่ากัน แตเ่ ลขมวลตา่ งกนั เชน่ 11H 12H 31H -ไอโซโทน (Isotone) ธาตตุ า่ งชนดิ กนั มนี ิวตรอนเทา่ กัน เชน่ 1200Ne 199F -ไอโซบาร์ (Isobar) ธาตุตา่ งชนดิ กัน มเี ลขมวลเทา่ กัน เชน่ 4200Ca 1480Ar -ไอโซอเิ ล็กโทรนิก (Isoelectronic) ธาตุต่างชนิดกัน มอี ิเล็กตรอนเท่ากัน เชน่ 1200N 199F

ขนั้ ที่ 5 ขั้นประเมนิ (Evaluation) 8.ครปู ระเมินโดยใหน้ ักเรยี นเล่นเกม Quizizz เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน 9.ครูประเมนิ โดยถามนกั เรียนวา่ 19 F อนั ไหนคอื มีเลขอะตอม และเลขมวล เท่าใด 9 (แนวคำตอบ : มเี ลขมวล เทา่ กบั 19 เลขอะตอม 9) 10.ครูประเมินโดยถามนักเรียนว่า ธาตุ C มีเลขมวล 12 เลขอะตอมเท่ากับ 6 สามารถเขียนเป็น สัญลกั ษณ์นิวเคลียรไ์ ดอ้ ยา่ งไร (แนวคำตอบ : 12 C ) 6 11.ครูประเมนิ โดยใชค้ ำถามวา่ ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ และไอโซอเิ ลก็ โทรนกิ คอื อะไร (แนวคำตอบ : ไอโซโทป คือ มีโปรตอนเท่ากัน ไอโซโทน คือ มีนิวตรอนเท่ากัน ไอโซบาร์ คือ มีเลข มวลเทา่ กนั ไอโซอเิ ล็กโทรนิก คือ ธาตุตา่ งชนดิ กนั มีอิเล็กตรอนเท่ากัน ) การจัดบรรยากาศเชิงบวก ครูกระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นแสดงความคดิ เหน็ โดยไม่ตอ้ งกงั วลวา่ ถกู หรือผดิ และชว่ ยกันปรบั ปรุงแกไ้ ขได้ ควรใหโ้ อกาสนักเรยี นไดน้ ำเสนอผลการทำกจิ กรรมในชัน้ เรยี น เพ่ือเป็นการแบ่งปันความรู้ตอ่ นกั เรยี นกล่มุ อ่ืนๆ และเกดิ การอภปิ รายระหวา่ งกลุ่ม สื่อ/แหล่ง การเรยี นรู้ 1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 2. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 3. สอ่ื จากอนิ เทอร์เน็ตเพือ่ ใช้ในการสืบคน้ ขอ้ มูลเพ่ิมเติม 4. ใบงาน เรอ่ื งแบบจำลองอะตอมกลุ่มหมอก

การวดั ผลประเมินผล การผลประเมินผลดา้ น วิธกี ารวดั เครื่องมือวดั เกณฑ์การวดั 1. ด้านความรคู้ วามเขา้ ใจ -คำตอบในแบบทดสอบ แบบทดสอบเรอื่ ง เร่ืองอนภุ าคในอะตอม อนภุ าคในอะตอมและ 80% ขนึ้ ไป ผา่ นเกณฑ์ และไอโซโทป ไอโซโทป -นกั เรียนสามารถตอบ คำถามได้ 2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ นกั เรียนสามารถ -แบบสังเกตพฤติกรรม เปรียบเทยี บความ แบบกลุ่ม คุณภาพ พอใช้ ขึน้ ไป แตกตา่ งระหว่างไอโซโท -สงั เกตพฤติกรรมแบบ ผ่านเกณฑ์ ไอโซโทน และไอโซบาร์ รายบุคคล ได้ 3. ดา้ นลักษณะทพี่ งึ สงั เกตพฤตกิ รรมผเู้ รียน -แบบสงั เกตพฤติกรรม คณุ ภาพ พอใช้ ขึ้นไป ประสงค์ แบบกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ -สังเกตพฤติกรรมแบบ รายบคุ คล

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .....................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.....................................................ผูต้ รวจ(ครพู เ่ี ลี้ยง) ................/.................../................

ชอ่ื -สกุล...........................................................ช้นั ........เลขท.ี่ .............. ใบกิจกรรม การทดลองของมิลลิแกน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... การทดลองของออยแกน โกลชไตน์ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... การทดลองของเจมส์ แชดวกิ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ตารางขอ้ มลู บางประการของอเิ ลก็ ตรอน โปรตรอน และนิวตรอน อนภุ าค สัญลักษณ์ ประจุไฟฟา้ ชนดิ ประจุ มวล (คูลอมบ์) อิเล็กตรอน โปรตอน นิวตรอน

ไอโซโทป เป็นอยา่ งไร _______________________________ ยกตัวอย่างไอโซโทป (3 ตวั อยา่ ง) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ไอโซโทน เปน็ อย่างไร _______________________________ ยกตัวอย่างไอโซโทน (3 ตัวอย่าง) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ไอโซบาร์ เปน็ อยา่ งไร _______________________________ ยกตวั อย่างไอโซบาร์ (3 ตัวอยา่ ง) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ไอโซอเิ ล็กโทนกิ เป็นอย่างไร _______________________________ ยกตัวอยา่ งไอโซอเิ ล็กโทนิก (3 ตัวอย่าง) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ กลมุ่ คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับระดับคะแนน กลุ่ม …………………… สมาชกิ ของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. คณุ ภาพการปฏบิ ัติ ลำดบั ท่ี พฤติกรรม 432 1 1 มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรับฟังกนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามกระตือรือร้น และตังใจในการทำงาน 3 มีการจดั การทดี่ ภี ายในกลุ่มมกี ารวางแผนอย่างเปน็ ระบบ 4 มีการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในกลุ่ม 5 มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน 6 มีการทำงานไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย รวม ลงชอื่ ……………………………………………………ผู้ประเมิน ….………/……………./………….. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้งั = 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั 21-24 ดมี าก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรับปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ลำดบั ชือ่ -นามสกุล ผูถ้ ูกประเมนิ พฤตกิ รรม รวม ต้งั ใจในการ การตอบ มคี วาม ตรงตอ่ ทำงาน คำถาม รบั ผิดชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ = 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง = 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั 10-12 ดีมาก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรงุ

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ นกั เรยี นเขยี นและแปลความหมายสัญลักษณน์ วิ เคลยี รข์ องธาตไุ ด้และอธบิ ายและยกตัวอยา่ งไอโซโทป ของธาตุได้ ด้านทกั ษะ นักเรยี นเปรยี บเทียบความแตกต่างระหว่างไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์ ได้ ด้านคุณธรรม นักเรยี นช่างคดิ ช่างสงสยั ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมัน่ ในการเสาะแสวงหาความรู้ ด้านทักษะชวี ิตเพ่อื การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปัญหา/อปุ สรรค และขอ้ คน้ พบ ไม่มี ๓. ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข และผลการแกไ้ ข ไม่มี ลงชอ่ื .....................................................ผู้สอน (................................................)



แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 อะตอมและ เรอื่ งการจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอน เวลา 2 ชวั่ โมง สมบัติของธาตุ ในอะตอม รหสั วิชา ว 31221 วชิ า เคมี 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สาระเคมี เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุพันธะเคมีและสมบัติของสาร แกส๊ และสมบัตขิ องแก๊ส ประเภทและสมบัตขิ องสารประกอบอนิ ทรยี ์และพอลเิ มอร์ รวมท้งั การนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรยี นรู้ ม.4/3 อธบิ าย และเขียนการจดั เรียงอเิ ล็กตรอนในระดบั พลงั งานหลักและระดบั พลงั งานยอ่ ย เมือ่ ทราบเลขอะตอมของธาตุ สาระการเรยี นรู้ การศึกษาสเปกตรัมการเปล่งแสงของอะตอมแก๊สทำให้ทราบว่า อิเล็กตรอนจัดเรียงอยู่รอบ ๆ นิวเคลียสในระดับพลังงานหลกั ต่าง ๆ และแต่ละระดับพลังงานหลักยังแบ่งเป็นระดับพลังงานยอ่ ยซ่ึงมบี ริเวณ ที่จะพบอเิ ลก็ ตรอนเรยี กว่า ออร์บิทัล ได้แตกต่างกนั และอิเล็กตรอนจะจัดเรียงในออรบ์ ิทัลให้มีระดับพลังงาน ตำ่ ทีส่ ดุ สำหรับอะตอมในสถานะพน้ื สาระสำคญั สามารถอธิบายการจดั เรียงตัวของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลยี ส ไดว้ ่าอเิ ล็กตรอนจดั เรียงตัวเป็นออร์บิทัล (orbital) ในระดับพลงั งานย่อย s , p , d , f แต่ละออร์บิทัล จะบรรจุอเิ ล็กตรอนเป็นคู่ ดังนี้ s – orbital มี 1 ออรบ์ ทิ ัล หรือ 2 อเิ ล็กตรอน p – orbital มี 3 ออรบ์ ิทัล หรอื 6 อิเลก็ ตรอน d – orbital มี 5 ออรบ์ ิทัล หรอื 10 อเิ ล็กตรอน f – orbital มี 7 ออรบ์ ทิ ัล หรอื 14 อิเลก็ ตรอน แต่ละออร์บิทัลจะมรี ปู รา่ งลกั ษณะแตกต่างกนั ข้นึ อยู่กบั การเคลอ่ื นท่ขี องอิเล็กตรอนในออร์บิทัล และ ระดบั พลังงานของอิเล็กตรอนในออร์บทิ ลั นนั้ ๆ เช่น

s – orbital มีลกั ษณะเป็นทรงกลม p – orbital มีลกั ษณะเป็นกรวยคลา้ ยหยดนำ้ ลักษณะแตกต่างกัน 3 แบบ ตามจำนวนอเิ ลก็ ตรอนใน 3 ออร์บทิ ลั คอื Px , Py , Pz d – orbital มีลักษณะและรูปทรงของกลุ่มหมอก แตกต่างกัน 5 แบบ ตามจำนวนอิเล็กตรอนใน 5 ออร์บิทลั คอื dx2-y2 , dz2 , dxy , dyz , dxz จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมเมื่อทราบเลขอะตอมของธาตุ พร้อมทั้งระบุ หมู่ คาบ ของธาตไุ ด้ (K) 2. นกั เรยี นสามารถเปรยี บเทียบความแตกต่างของระดับพลงั งานหลัก ระดับพลังงายยอ่ ยได้ (P) 3. นักเรียนมคี วามกระตือรือร้นในการเรียน ไม่เลน่ ขณะเรยี น (A) คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ✓ 2. ซือ่ สัตย์ สุจรติ ✓ 3. มีวนิ ยั ✓ 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง ✓ 6. มุง่ มั่นในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย ✓ 8. มีจติ สาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ✓ 1. มคี วามสามารถในการสอ่ื สาร ✓ 2. มคี วามสามารถในการคิด ✓ 3. มคี วามสามารถในการแกป้ ัญหา ✓ 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ✓ 5. มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลกั (Core Subjects) ✓ 2. ทกั ษะการเรียนรู้ และนวัตกรรม ✓ 3. ทกั ษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ✓ 4. ทกั ษะด้านชวี ิต และอาชีพ

กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขน้ั สรา้ งความสนใจ (engagement) 1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนว่า “สวัสดีครับนักเรียนวันนี้เป็นอย่างไรกันบ้างเอ่ย” จากนั้นทบทวน เนื้อหาที่เรียน โดยถามนักเรียนว่า แบบจำลองอะตอมของโบร์ต่างจาก แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด อยา่ งไร แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด แบบจำลองอะตอมของโบร์ (แนวคำตอบ : อเิ ลก็ ตรอนเคลอ่ื นท่เี ปน็ วงคล้ายวงโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทิตย์ แตล่ ะวงมีพลงั งาน เฉพาะตัว) 2.โดยวันน้เี ราจะมาเรยี นเราจะมาเรยี นในเร่อื งของการจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนในกันตอมกัน ขนั้ สำรวจและคน้ หา (Exploration) 3.ครใู หน้ กั เรียนศกึ ษาเร่อื งการจดั เรียงอเิ ล็กตรอนในอะตอมในหนังสอื เรยี น เคมี ม.4 เลม่ 1 หนา้ 71-78 หรือสืบค้นข้อมูลทางอนิ เทอรเ์ น็ต พร้อมทั้งทำใบกจิ กรรมท่ีครแู จกให้ ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) 4.การจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนในอะตอม ระดับพลงั งานหลัก และระดับพลงั งานยอ่ ย นกั เรยี นทราบมาแล้ว ว่าโบร์เสนอแบบจำลองโดยให้ข้อมูลเกี่ยวกับเส้นสเปกตรัมของไฮโดรเจนซึ่งแสดงให้เห็นว่าอะตอมของ ไฮโดรเจนมีพลังงานหลายระดับและความแตกต่างระหว่างพลังงานของแต่ละระดับที่อยู่ถัดไปไม่เท่ากัน โดย ความแตกต่างของพลังงานจะมีค่าน้อยลง เมื่อมีระดบั พลังงานสูงข้ึน 5.การอธบิ ายเกี่ยวกับเส้นสเปกตรัมของโบร์ได้จุดประกายให้นักวิทยาศาสตร์หลายคนเกิดความสนใจ และศึกษาเกี่ยวกับเส้นสเปกตรัมมากขึ้น และพบว่าเส้รสเปกตรัมของไฮโดรเจนที่เปล่งประกาแสงออกมาและ มองเห็นเป็น 1 เส้นนั้นแท้จริงแล้วประกอบด้วยเส้นสเปกตรัมมากกว่า 1 เส้น ซ่ึงนำไปสู่ข้อสรุปที่ว่า เส้น

สเปกตรัมที่เกิดขึ้น นอกจากเป็นการคายพลังงานของอิเล็กตรอนจากระดับพลังงานหลัก ซึ่งแทนด้วย n แล้ว ยงั เปน็ การคายพลังงานของอิเลก็ ตรอนจาก ระดบั พลังงานย่อย ของแตล่ ะระดบั พลังงานอกี ด้วย -ระดบั พลงั งานหลักท่ี 1 (n=1) มี 1 ระดับพลงั งานยอ่ ย คอื s -ระดบั พลงั งานหลกั ท่ี 2 (n=2) มี 1 ระดบั พลงั งานยอ่ ย คอื s p -ระดับพลงั งานหลักท่ี 3 (n=3) มี 1 ระดับพลังงานยอ่ ย คอื s p d -ระดับพลงั งานหลักท่ี 4 (n=4) มี 1 ระดับพลงั งานยอ่ ย คอื s p d f 6.ออรบ์ ิทลั โอกาสทีจ่ ะพบอเิ ลก็ ตรอนซงึ่ มีรปู รา่ งและอาณาเขตและรปู รา่ งใน 3 มติ ิแตกตา่ งกัน บริเวณรอบนิวเคลยี สซึง่ จะมโี อกาสทจี่ ะพบอเิ ลก็ ตรอนและมพี ลงั งานเฉพาะ จากการศกึ ษาพบว่าจำนวนออร์ บทิ ัลในแตล่ ะระดับพลงั งานยอ่ ยมีค่าแตกต่างกันซง่ึ สามารถสรปุ ได้ดังน้ี -ระดบั พลงั งานยอ่ ย s มี 1 ออรบ์ ิทลั -ระดับพลงั งานยอ่ ย p มี 3 ออร์บทิ ัล -ระดับพลงั งานยอ่ ย d มี 5 ออรบ์ ทิ ัล -ระดบั พลงั งานยอ่ ย f มี 7 ออร์บทิ ลั ตาราง แสดงจำนวนอเิ ลก็ ตรอนสูงสดุ ในระดบั พลังงานย่อยและระดับพลงั งานหลัก ระดบั พลงั งานหลกั ระดับพลังงานยอ่ ย จำนวนอเิ ลก็ ตรอนสงู สุดใน จำนวนอเิ ล็กตรอนสงู สดุ ใน ระดบั พลังงานย่อย ระดบั พลังงานย่อย 2 n=1 s 2 8 n=2 s 2 18 p6 32 n=3 s 2 p6 d 10 n=4 s 2 p6 d 10 f 14

ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) 7.ครูอธิบายร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม 2 แบบ ได้แก่ 1.การจัดเรียง อเิ ลก็ ตรอนแบบหลัก (Principle energy หรอื shell) 2.การจัดเรยี งอิเล็กตรอนแบบยอ่ ย (Energy sublevel หรือ subshell) ซ่ึงการจดั เรียงอิเล็กตรอนแบบหลักจะมรี ะดบั พลงั งานจะมจี ำนวนอิเลก็ ตรอนไมเ่ กนิ 2n2 เม่ือ n คือ ระดับชั้นพลังงานและ ในการจัดเรียงอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนชัน้ นอกสุดที่เรียกว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน ต้องไมเ่ กิน 8 อเิ ลก็ ตรอน 8.การจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนแบบย่อยมีหลักการจัดเรยี งอเิ ลก็ ตรอน ไดแ้ ก่ -กฎของฮนุ ด์ (Hund's Rule) คือ การบรรจอุ เิ ล็กตรอนลงในแตล่ ะออรบ์ ทิ ัลทีม่ ีระดบั พลงั งาน เท่ากนั จะตอ้ งบรรจุอิเล็กตรอนให้อยูใ่ นลักษณะเดีย่ วให้มากที่สุดเท่า -หลักการกดี กนั ของเพาลี (Pauli Exclusion Principle) คือ การจัดเรียงอเิ ล็กตรอนลงในแต่ ละออร์บิทัลนั้น สามารถจัดเรียงลงได้มากที่สุดเพียง 2 อิเล็กตรอนเท่านั้น และทั้ง 2 อิเล็กตรอนจะต้องมีทิศ ทางการหมุนรอบตัวเองแตกต่างกนั -หลักอาฟบาว (Aufbau principle) คือ การบรรจุอิเล็กตรอนลงในแต่ละออร์บิทัลจะต้อง บรรจลุ งในออรบ์ ทิ ลั ที่มีพลงั งานต่ำท่สี ดุ ก่อน แลว้ จึงบรรจอุ ิเล็กตรอนลงในออรบ์ ทิ ลั ถัดไปทมี ีพลังงานสูงข้นึ 9.จากนน้ั ครใู หน้ ักเรียนเล่น Kahoot ทีค่ รูสร้างไว้ เพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นและเก็บคะแนน ข้นั ประเมนิ (Evaluation) 10.ครูประเมินโดยให้นกั เรียนเลน่ เกม Kahoot เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรยี น 11.ครปู ระเมินโดยใช้คำถามว่า Na สามารถจดั เรยี งอเิ ล็กตรอนได้อย่างไร อย่หู มใู่ ด คาบใด (แนวคำตอบ : 1s2 2s2 2p3 3s1 ดังนนั้ จงึ อยู่ หมู่ 1 คาบ 3) 12.ระดบั พลังานหลักของ Na มีก่ีช้ัน (แนวคำตอบ : n = 3 ด้ังนัน้ มีระดับพลงั งานหลัก 3 ชั้น) 13.ครปู ระเมินโดยสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม และแบบรายบุคคล

การจัดบรรยากาศเชิงบวก ครูกระตุ้นใหน้ ักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยไม่ตอ้ งกงั วลว่าถกู หรือผดิ และช่วยกนั ปรบั ปรุงแก้ไขได้ ควรให้โอกาสนักเรียนไดน้ ำเสนอผลการทำกิจกรรมในชั้นเรยี น เพื่อเป็นการแบง่ ปนั ความรู้ต่อนักเรียนกลุ่มอนื่ ๆ และเกิดการอภปิ รายระหวา่ งกลุ่ม ส่ือ/แหล่ง การเรยี นรู้ 1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 2. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 3. ส่ือจากอนิ เทอรเ์ น็ตเพอ่ื ใชใ้ นการสบื ค้นขอ้ มลู เพม่ิ เติม 4. ใบงาน เรอื่ งการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม การวดั ผลประเมนิ ผล การผลประเมนิ ผลดา้ น วิธกี ารวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การวดั 1. ด้านความรคู้ วามเข้าใจ -คำตอบแบบทดสอบ แบบทดสอบเรอื่ งการ เร่อื งการจดั เรียง จัดเรียงอเิ ล็กตรอนใน 80% ขนึ้ ไป ผ่านเกณฑ์ อเิ ลก็ ตรอนในอะตอม อะตอม 2. ดา้ นทักษะกระบวนการ นกั เรยี นสามารถ -แบบสงั เกตพฤตกิ รรม เปรยี บเทียบความ แบบกล่มุ คณุ ภาพ พอใช้ ขึ้นไป แตกต่างของระดับ -สังเกตพฤตกิ รรมแบบ ผา่ นเกณฑ์ พลงั งานหลกั ระดับพลงั รายบุคคล งายยอ่ ยได้ 3. ดา้ นลกั ษณะท่พี งึ สังเกตพฤตกิ รรมผเู้ รยี น -แบบสังเกตพฤตกิ รรม คุณภาพ พอใช้ ขึน้ ไป ประสงค์ แบบกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ -สังเกตพฤติกรรมแบบ รายบคุ คล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook