Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้เคมี 1

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี 1

Published by pawanrat2760, 2021-09-23 16:53:05

Description: แผนการจัดการเรียนรู้เคมี 1

Search

Read the Text Version

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.....................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ .....................................................ผ้ตู รวจ(ครพู ่เี ลี้ยง) ................/.................../................

ชือ่ -สกลุ ...............................................................ชนั้ .........เลขที่........... ใบกจิ กรรม เรอื่ งการจดั เรียงอิเล็กตรอน ระดบั พลงั งานหลักเปน็ อย่างไร ................................................................................................................................................................... ระดับพลงั งานย่อยเป็นอย่างไร ................................................................................................................................................................... ออบทิ ัล คอื ................................................................................................................................................................... กฎของฮนุ ด์ (Hund's Rule) คือ ................................................................................................................................................................... หลกั การกีดกนั ของเพาลี (Pauli Exclusion Principle) คอื ................................................................................................................................................................... หลักอาฟบาว (Aufbau principle) คอื ................................................................................................................................................................... จงจดั เรยี งอเิ ล็กตรอนของธาตุตอ่ ไปน้ี พรอ้ มทัง้ ระบหุ มู่ และคาบ Na =................................................................................................................................................. Li =................................................................................................................................................. Cl =................................................................................................................................................. Ar =................................................................................................................................................. P =................................................................................................................................................. O =................................................................................................................................................. C =.................................................................................................................................................

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ กลมุ่ คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับระดับคะแนน กลุ่ม …………………… สมาชกิ ของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. คณุ ภาพการปฏบิ ัติ ลำดบั ท่ี พฤติกรรม 432 1 1 มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรับฟังกนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามกระตือรือร้น และตังใจในการทำงาน 3 มีการจดั การทดี่ ภี ายในกลุ่มมกี ารวางแผนอย่างเปน็ ระบบ 4 มีการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในกลุ่ม 5 มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน 6 มีการทำงานไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย รวม ลงชอื่ ……………………………………………………ผู้ประเมิน ….………/……………./………….. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้งั = 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั 21-24 ดมี าก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรับปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ลำดบั ชือ่ -นามสกุล ผูถ้ ูกประเมนิ พฤตกิ รรม รวม ต้งั ใจในการ การตอบ มคี วาม ตรงตอ่ ทำงาน คำถาม รบั ผิดชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ = 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง = 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั 10-12 ดีมาก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรงุ

บนั ทกึ หลงั สอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ นกั เรยี นอธบิ ายจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนในอะตอมเมอ่ื ทราบเลขอะตอมของธาตุ พร้อมทง้ั ระบหุ มู่ คาบ ของ ธาตไุ ด้ ด้านทักษะ นกั เรยี นเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของระดับพลังงานหลัก ระดับพลังงายยอ่ ยได้ ดา้ นคณุ ธรรม นกั เรียนช่างคิด ช่างสงสัย ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ ม่นั ในการเสาะแสวงหาความรู้ ด้านทกั ษะชวี ิตเพื่อการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปญั หา/อปุ สรรค และขอ้ คน้ พบ ไมม่ ี ๓. ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข และผลการแก้ไข ไม่มี ลงชอ่ื .....................................................ผู้สอน (................................................)



แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 6 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 อะตอมและ เร่อื งตารางธาตแุ ละสมบตั ิของ เวลา 2 ชวั่ โมง สมบัตขิ องธาตุ ธาตหุ มหู่ ลกั รหัสวิชา ว 31221 วิชา เคมี 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สาระเคมี เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุพันธะเคมีและสมบัติของสาร แก๊สและสมบัตขิ องแกส๊ ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรียแ์ ละพอลเิ มอร์ รวมทั้งการนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรยี นรู้ ม.4/4 ระบหุ มูค่ าบ ความเปน็ โลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ของธาตเุ รพรีเซนเททีฟและธาตแุ ทรนซชิ นั ในตารางธาตุ สาระการเรยี นรู้ ตารางธาตุในปัจจุบันจัดเรียงธาตุตามเลขอะตอมและสมบัติที่คล้ายคลึงกันเป็นหมู่และคาบโดยอาจ แบ่งธาตใุ นตารางธาตุเปน็ กลุ่มธาตุโลหะกึ่งโลหะและอโลหะนอกจากนอ้ี าจแบง่ เป็นกลมุ่ ธาตุเรพรีเซนเททฟี และ กลมุ่ ธาตุแทรนซชิ นั สาระสำคญั ตารางธาตุ คือ การจัดเรียงธาตุเคมีในรูปแบบของตารางตามเลขอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอน และ สมบัติทางเคมีที่ซ้ำกัน โดยจะใช้แนวโน้มพิริออดิกเป็นโครงสร้างพื้นฐานของตาราง แถวแนวนอนทั้ง 7 ของ ตารางเรียกว่า \"คาบ\" โดยปกติโลหะอยู่ฝั่งซ้ายและอโลหะอยู่ฝั่งขวา ส่วนแถวแนวตั้ งเรียกว่า \"หมู่\" ประกอบด้วยธาตุที่มีสมบัติทางเคมีคล้ายคลึงกัน มี 6 หมู่ที่ได้รับการตั้งชื่อที่ยอมรับกันทั่วไปและเลขหมู่ เช่น ธาตหุ มู่ 17 มีชอ่ื วา่ แฮโลเจน และธาตหุ มู่ 18 มชี อื่ ว่า แกส๊ มีตระกูล ตารางธาตยุ ังมอี าณาเขตรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า อยา่ งง่าย 4 รูปท่ีเรยี กวา่ \"บลอ็ ก\" ซ่ึงเก่ยี วข้องกับการเติมออรบ์ ิทัลเชิงอะตอมที่แตกตา่ งกัน

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นกั เรียนสามารถอธบิ ายแนวคดิ ของนักวทิ ยาศาสตรใ์ นยคุ ต่าง ๆ เก่ยี วกับการจดั ธาตเุ ป็นหมวดหมู่จนได้ เปน็ ตารางธาตุ พรอ้ มระบปุ ญั หาของการจดั กล่มุ ธาตไุ ด้ (K) 2. นกั เรียนสามารถวเิ คราะหแ์ ละเปรียบเทยี บขนาดอะตอม รศั มีไอออน พลงั งานไอออไนเซชัน อเิ ล็กโทร เนกาติวติ ี สมั พรรคภาพอเิ ลก็ ตรอน จากแนวโนม้ สมบตั ติ า่ ง ๆ ของธาตตุ ามหม่แู ละคาบได้ (P) 3.นกั เรียนมีความกระตอื รอื รน้ ในการเรยี น ไม่เลน่ ขณะทำการทดลองและขณะเรยี น (A) คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ✓ 2. ซ่อื สัตย์ สจุ ริต ✓ 3. มีวนิ ยั ✓ 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง ✓ 6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย ✓ 8. มีจติ สาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ✓ 1. มีความสามารถในการสอื่ สาร ✓ 2. มคี วามสามารถในการคดิ ✓ 3. มีความสามารถในการแก้ปัญหา ✓ 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ ✓ 5. มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลัก (Core Subjects) ✓ 2. ทักษะการเรยี นรู้ และนวัตกรรม ✓ 3. ทกั ษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ✓ 4. ทกั ษะด้านชวี ติ และอาชพี

กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขน้ั สรา้ งความสนใจ (engagement) 1.ครูนักเรียนว่าถ้ามี สมุด หนังสือ ดินสอ ปากกาเมจิก ปากกาลูกลื่น สีน้ำ สีไม้ ที่อยู่บนโต๊ะให้อยู่ ดว้ ยกัน จะจัดอยา่ งไร โดยครไู ม่บอกถึงประเภท หรือเกณฑใ์ นการจัดสงิ่ ของใด ๆ เพอ่ื ให้นกั เรยี นได้ชว่ ยกันจัด เมื่อนักเรียนจัดสิ่งของเสร็จ ครูถามถึงหลักเกณฑ์ในการจัดสิ่งของของนักเรียนวา่ “นักเรียนใช้หลักเกณฑ์อะไร ในการจัดสิง่ ของพวกน้ี” (แนวคำตอบ ประเภทด้วยเดยี วเช่น สมดุ กอ็ ยู่กบั สมุด หนังสือกอ็ ยู่กับหนังสือ เป็นตน้ ) 2.ครบู อกกบั นักเรยี นว่า “เหน็ ไหมว่าการทน่ี ักเรียนสามารถจัดสิ่งของให้อยู่ด้วยกันได้ นักเรียนจะต้อง ใช้หลกั เกณฑต์ ่าง ๆ เข้ามา ธาตใุ นตารางธาตุกเ็ ช่นเดยี ว” ขน้ั ที่ 2 ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) 3.ครูให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์แต่ละคนที่ใช้จัดธาตุเป็นหมวดหมู่จาก หนังสือเรยี นเคมี ม.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอื่ ง อะตอมและสมบตั ขิ องธาตุหน้า 79-82 หรอื ศึกษาจาก อินเตอร์เน็ต พร้อมสรุปแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ลงในใบงาน เรื่อง วิวัฒนาการของการสร้างตารางธาตุ ( แนวการสรปุ : เดอเบอไรเนอร์ จัดธาตุเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ธาตุตามสมบัติที่คล้ายกัน และพบว่าธาตุกลางจะมี มวลอะตอมเป็นค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของอีกสองธาตุดังตาราง 2.8 นิวแลนด์ จัดกลุ่มธาตุตามมวลอะตอม จากน้อยไปมากและพบวา่ ธาตุที่ 8 จะมสี มบัติเหมอื นกบั ธาตุท่ี 1 เสมอ (ท้ังน้ีไมร่ วม H กบั แก๊สมีสกลุ ) ไมเออร์ ดิมิทรี และเมนเดเลเอฟ จัดเรียงธาตเุ ป็นกลุ่มตามมวลอะตอมจากน้อยไปมากและสมบัติทีค่ ล้ายกนั เป็นชว่ ง ๆ รวมทั้งเว้นช่องว่างไว้ โดยคิดว่าน่าจะเป็นตําแหน่งของธาตุที่ยังไม่มีการค้นพบ ประกอบการนําเสนอ โ มสลีย์ จัดเรียงธาตุเป็นกลุ่มตามเลขอะตอม เนื่องจากสมบตั ิต่าง ๆ ของธาตุมีความสัมพันธ์กับประจุบวกในนิวเคลยี ส หรอื เลขอะตอม ) ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) 4.ครใู หค้ วามรเู้ พ่ิมเตมิ เกีย่ วกับตารางธาตุยคุ ต่าง ๆ -โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ นักเคมีคนแรกท่ีพยายามจัดธาตุเป็นกลุ่มๆ ละ 3 ธาตุ ตามสมบัติท่ี คล้ายคลึงกัน เรียกว่า ชุดสาม (Triad) และพบว่า ธาตุกลางจะมีมวลอะตอมเป็นค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของ อีกสองธาตทุ ีเ่ หลอื ตวั อยา่ งธาตุชุดสามของเดอเบอไรเนอร์ ดังน้ี

แตก่ ฎน้ใี ช้ไดก้ บั ธาตุบางหมเู่ ท่านนั้ จึงไมเ่ ป็นทีย่ อมรบั กัน -จอห์น อเล็กซานเดอร์ รีนา นิวแลนด์ส นักเคมีชาวอังกฤษพบว่าถ้านําธาตุมาเรียงตามมวล อะตอมจากน้อยไปมากแล้ว จะพบว่าธาตุที่ 8 จะมีสมบัติทางเคมีและกายภาพคล้ายธาตุที่ 1 และจะเกิดขึ้น ทกุ ๆ ช่วงของธาตทุ ี่ 8 เรยี กการจัดนีว้ า่ Law of Octaves กฎนีไ้ มเ่ ป็นท่ยี อมรับ เนอ่ื งจากไมส่ ามารถอธิบายได้ ว่ามวลอะตอมกับสมบัติทีค่ ล้ายกันของธาตุนัน้ มคี วามสัมพันธ์กันอย่างไร และกฎนีใ้ ช้ได้ถึงแคลเซียม (Ca) ที่มี มวลอะตอม 40 เท่านั้น เช่น ธาตุที่ 8 คือ โซเดียม (Na) จะมีสมบัติคล้ายกับธาตุที่ 1 คือลิเทียม (Li ) และถ้า นบั ต่อไปจากโซเดยี ม (Na) ไปอกี 8 ธาตุ ก็คอื โปแตสเซยี ม (K) ดงั น้ัน Li , Na , K จะอยู่ในกลุม่ เดียวกัน -ดิมิทรี อิวาโนวิช เมนเดเลเอฟ นักเคมีชาวรัสเซียได้เสนอกฎที่เรียกว่า กฎพิริออดิก ซึ่งเป็น กฎทสี่ ําคญั ทางเคมีเกย่ี วกับการจดั ตารางธาตุ กฏพิรอิ อดิก กลา่ วว่าถ้าจดั เรียงธาตตุ ามมวลอะตอมของธาตุต่าง ๆ จากน้อยไปมากธาตุที่มีสมบัติคล้ายกันจะปรากฎซ้ํากันและอยู่ตรงกันเป็นช่วง ๆ จากกฎพิริออดิกเมนเดเล เอฟจึงจัดตารางธาตุขึ้นเรยี กวา่ ตารางพิรอิ อดิกของเมนเดเลเอฟ -เมนเดเลเอฟได้นําธาตุมาเรียงกันตามมวลอะตอมโดยเว้นที่ว่างสําหรับธาตุที่ยังไม่พบใน ขณะนัน้ แตค่ าดว่าน่าจะมธี าตุที่มีสมบตั ติ ามตําแหนง่ น้นั อยู่ ต่อมาภายหลังได้มกี ารคน้ พบธาตมุ ากขึ้นกพ็ บว่าถ้า ยึดหลักการเรียงตามมวลอะตอมของเมนเดเลเอฟอย่างเคร่งครัดจะไม่สามารถทําให้ธาตุบางชนิดที่มีสมบัติ คล้ายกันอยูใ่ นหมู่เดียวกันได้จึงต้องสลับทีข่ องธาตุบางตัว แต่เมนเดเลเอฟก็ไม่สามารถอธิบายไดว้ ่าเพราะเหตุ ใดจึงต้องจัดเรยี งธาตุเช่นนั้น นกั วิทยาศาสตรร์ นุ่ ต่อมาจึงเกิดแนวความคิดว่า ตําแหนง่ ของธาตุในตารางธาตุไม่ นา่ จะขึ้นอยู่กับมวลอะตอมของธาตุ แตน่ า่ จะขนึ้ กบั สมบัตอิ น่ื ท่มี ีความสัมพนั ธ์กบั มวลอะตอม -เฮนรี่ กวิน เจฟฟรีส์ โมสลีย์พบว่าการเรียงธาตุตามเลขอะตอม (จำนวนโปรตอนหรือ อิเล็กตรอน)จะสอดคล้องกับกฎพิริออดิกโดยไม่ต้องสลับที่ธาตุกันเหมือนการเรียงตามมวลอะตอม และได้ นำมาใช้การจัดตารางธาตุในปัจจบุ นั

5.ปัจจุบันนักเคมีพบว่า สมบัติต่าง ๆ ของธาตุมีความสัมพันธ์กับการจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนใน อะตอมของธาตุนน้ั ๆ นน่ั คือ ถา้ เรียงธาตุตามเลขอะตอมจากนอ้ ยไปหามาก จะปรากฏธาตุทีม่ ีสมบตั คิ ล้ายคลึง กันซ้ำกันเป็นช่วงตามการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุเหล่านั้น ปัจจุบันจึงจัดเรียงธาตุในตารางธาตุตามเลข อะตอม ตารางธาตุที่นิยมใช้ในปัจจุบันปรับปรุงมาจากตารางธาตุของเมนเดเลเอฟ แต่เรียงธาตุตามลำดับเลข อะตอมจากซ้ายไปขวาโดยจัดธาตุออกเปน็ หมแู่ ละเปน็ คาบ ขนั้ ที่ 4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) 6.เมื่อนักเรียนได้ทราบถึงแนวคิดต่าง ๆ ของนักวิทยาศาสตร์ที่ได้ใช้สมบัติที่คล้ายกันของธาตุในการ จัดเรียงธาตุลงตารางแล้ว ครูอธิบายถงึ สมบัตดิ า้ นต่าง ๆ รวมถงึ แนวโนม้ ของธาตใุ นตารางธาตุ ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้ -ขนาดของอะตอม จะบอกเป็นรศั มีอะตอม ซึง่ มี 3 แบบ คอื รัศมีโคเวเลนต์ รศั มแี วนเดอรว์ าลส์ และ รัศมโี ลหะ -รศั มไี อออน เป็นระยะหา่ งระหวา่ งนวิ เคลยี สของไอออนคหู่ น่ึง ๆ -พลังงานไอออไนเซชนั (IE) เปน็ พลังงานที่น้อยท่สี ุดท่ใี ชใ้ นการดึงอิเล็กตรอนให้หลุดออกจากอะตอม ในสภาวะแกส๊ -อิเล็กโทรเนกาติวิตี (EN) เป็นค่าความสามารถของอะตอมในการดึงดูดอิเล็กตรอนเพื่อให้เกิด สารประกอบ -สัมพรรคภาพอเิ ล็กตรอน (EA) เปน็ พลงั งานทีอ่ ะตอมในสถานะแก๊สคายออกมาเมือ่ ไดร้ ับอเิ ลก็ ตอน

7.ซึ่งสามารถสรปุ แนวโน้มได้ดังนี้ (ใหน้ ักเรียนสรุปแนวโน้มลงในใบความรู้ สมบตั ิของธาตุตามหมู่และ ตามคาบ) IE, EN, EA ขนาดไอออน ขนาดอะตอม 8.ครใู หน้ กั เรยี นใบงานเรอื่ ง ตารางธาตแุ ละสมบตั ิของธาตหุ มู่หลกั 9.จากนั้นครูให้นักเรียนเล่น Kahoot ที่ครูสร้างไว้ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนและเก็บ คะแนน ข้ันท่ี 5 ข้นั ประเมนิ (Evaluation) 10.ครูประเมินโดยใหน้ กั เรียนเลน่ เกม Kahoot เพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรียน 11.ให้นักเรยี นอธิบายแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ในยุคต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดธาตเุ ปน็ หมวดหม่จู นได้ เป็นตารางธาตุ พร้อมระบปุ ัญหาของการจัดกล่มุ ธาตุได้ (แนวคำตอบ เดอเบอไรเนอร์ จดั ธาตุเป็นกลุม่ ๆ ละ 3 ธาตุตามสมบัตทิ ี่คล้ายกัน และพบว่าธาตุกลางจะมีมวล อะตอมเป็นค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของอีกสองธาตุดังตาราง 2.8 นิวแลนด์ จัดกลุ่มธาตุตามมวลอะตอมจาก น้อยไปมากและพบว่าธาตุท่ี 8 จะมีสมบัติเหมือนกับธาตุที่ 1 เสมอ (ทั้งนี้ไม่รวม H กับ แก๊สมีสกุล) ไมเออร์ ดิ มิทรี และเมนเดเลเอฟ จัดเรียงธาตุเป็นกลุ่มตามมวลอะตอมจากน้อยไปมากและสมบัติที่คล้ายกันเป็นช่วง ๆ รวมทั้งเว้นช่องวา่ งไว้ โดยคดิ ว่านา่ จะเป็นตาํ แหนง่ ของธาตุทีย่ งั ไม่มีการคน้ พบ โมสลยี ์ จดั เรยี งธาตเุ ป็นกลมุ่ ตาม เลขอะตอม เนอ่ื งจากสมบัตติ ่าง ๆ ของธาตุมคี วามสัมพันธ์กบั ประจบุ วกในนิวเคลยี สหรอื เลขอะตอม) 12.ครูประเมินโดยสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุม่ และแบบรายบคุ คล การจดั บรรยากาศเชงิ บวก ครูกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคดิ เหน็ โดยไมต่ อ้ งกงั วลว่าถูกหรือผิด และชว่ ยกนั ปรบั ปรุงแก้ไขได้ ควรให้โอกาสนักเรยี นได้นำเสนอผลการทำกิจกรรมในชัน้ เรยี น เพอ่ื เป็นการแบ่งปนั ความรู้ตอ่ นกั เรียนกลมุ่ อื่นๆ และเกิดการอภิปรายระหวา่ งกลมุ่

สื่อ/แหล่ง การเรยี นรู้ 1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 2. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 3. สือ่ จากอินเทอรเ์ นต็ เพอื่ ใช้ในการสืบค้นขอ้ มลู เพ่มิ เติม 4. ใบงาน เรอื่ งตารางธาตแุ ละสมบัติของธาตุหม่หู ลัก การวดั ผลประเมนิ ผล วธิ ีการวดั เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ ารวดั การผลประเมินผลดา้ น 1. ด้านความรคู้ วามเขา้ ใจ คำตอบแบบทดสอบ แบบทดสอบเรอื่ ง 80% ขนึ้ ไป ผา่ นเกณฑ์ เรอื่ งตารางธาตุและ ตารางธาตแุ ละสมบตั ิ สมบัติของธาตหุ มู่หลัก ของธาตหุ มูห่ ลกั 2. ดา้ นทักษะกระบวนการ นักเรียนสามารถ -แบบสังเกตพฤติกรรม คุณภาพ พอใช้ ขึ้นไป วเิ คราะหแ์ ละ แบบกล่มุ ผา่ นเกณฑ์ เปรียบเทยี บขนาด อะตอม รศั มไี อออน -สังเกตพฤตกิ รรมแบบ พลงั งานไอออไนเซชนั รายบุคคล อเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ิตี สมั พรรคภาพอเิ ล็กตรอน จากแนวโนม้ สมบัติตา่ ง ๆ ของธาตุตามหม่แู ละ คาบได้ 3. ด้านลกั ษณะทีพ่ งึ สังเกตพฤติกรรมผเู้ รียน -แบบสงั เกตพฤติกรรม คณุ ภาพ พอใช้ ขึ้นไป ประสงค์ แบบกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ -สังเกตพฤตกิ รรมแบบ รายบุคคล

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .....................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.....................................................ผูต้ รวจ(ครพู เ่ี ลี้ยง) ................/.................../................

ชื่อ-สกลุ ...........................................................ชนั้ ........เลขท่ี............... ใบงานเรอื่ ง ตารางธาตแุ ละสมบตั ิของธาตหุ มหู่ ลกั 1. จงเรียงขนาดอะตอมจากเล็กไปใหญ่ของธาตุตอ่ ไปน้ี ( Na Al S Cl Mg) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จงเรียงลำดบั พลงั งาน IE สงู ไปต่ำของธาตตุ อ่ ไปน้ี ( K Ga Ca Cl ) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จงเรยี งลำดบั พลังงาน EA ต่ำไปสงู ของธาตตุ ่อไปน้ี ( Na Al Cl) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. จงเรียงลำดับพลงั งาน EN สูงไปต่ำของธาตตุ อ่ ไปนี้ ( Cl Li B C ) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ กลมุ่ คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับระดับคะแนน กลุ่ม …………………… สมาชกิ ของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. คณุ ภาพการปฏบิ ัติ ลำดบั ท่ี พฤติกรรม 432 1 1 มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรับฟังกนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามกระตือรือร้น และตังใจในการทำงาน 3 มีการจดั การทดี่ ภี ายในกลุ่มมกี ารวางแผนอย่างเปน็ ระบบ 4 มีการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในกลุ่ม 5 มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน 6 มีการทำงานไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย รวม ลงชอื่ ……………………………………………………ผู้ประเมิน ….………/……………./………….. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้งั = 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั 21-24 ดีมาก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรบั ปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ลำดบั ชือ่ -นามสกุล ผูถ้ ูกประเมนิ พฤตกิ รรม รวม ต้งั ใจในการ การตอบ มคี วาม ตรงตอ่ ทำงาน คำถาม รบั ผิดชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ = 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง = 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั 10-12 ดีมาก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรงุ

บันทกึ หลงั สอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ นักเรยี นอธบิ ายแนวคดิ ของนักวิทยาศาสตรใ์ นยุคต่าง ๆ เกี่ยวกับการจดั ธาตเุ ป็นหมวดหมู่จนได้ เป็นตารางธาตุ พร้อมระบปุ ญั หาของการจัดกลมุ่ ธาตุได้ ด้านทกั ษะ นกั เรยี นวิเคราะหแ์ ละเปรียบเทยี บขนาดอะตอม รัศมีไอออน พลงั งานไอออไนเซชัน อเิ ล็กโทร เนกาตวิ ติ ี สัมพรรคภาพอเิ ล็กตรอน จากแนวโนม้ สมบัตติ า่ ง ๆ ของธาตุตามหม่แู ละคาบได้ ด้านคณุ ธรรม นักเรียนช่างคดิ ชา่ งสงสยั ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ ม่ันในการเสาะแสวงหาความรู้ ดา้ นทักษะชวี ติ เพอื่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปัญหา/อปุ สรรค และข้อคน้ พบ ไมม่ ี ๓. ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข และผลการแก้ไข ไมม่ ี ลงชอ่ื .....................................................ผ้สู อน (................................................)



แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 7 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 อะตอมและ เร่อื งสมบัติของธาตหุ มหู่ ลัก เวลา 1 ชว่ั โมง สมบัติของธาตุ ขนาดอะตอม ขนาดไอออน รหัสวิชา ว 31221 วิชา เคมี 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สาระเคมี เขา้ ใจโครงสรา้ งอะตอม การจดั เรยี งธาตใุ นตารางธาตุ สมบัตขิ องธาตพุ ันธะเคมแี ละสมบัตขิ องสาร แก๊สและสมบตั ิของแกส๊ ประเภทและสมบัตขิ อง สารประกอบอินทรีย์และพอลเิ มอร์ รวมท้ังการนาํ ความรไู้ ปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรยี นรู้ ม.4/5 วิเคราะห์และบอกแนวโน้มสมบัติของธาตเุ รพรีเซนเททฟี ตามหมู่และตามคาบ สาระการเรยี นรู้ ธาตุเรพรีเซนเททีฟในหมู่เดียวกันมีจํานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน และธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกัน มี เวเลนซ์อิเล็กตรอนในระดบั พลังงานหลักเดียวกันธาตุเรพรีเซนเททีฟมีสมบัติทางเคมีคล้ายคลึงกัน ตามหมู่และมี แนวโน้มสมบัติบางประการเป็นไป ตามหมู่และตามคาบ เช่น ขนาดอะตอม รัศมีไอออน พลังงานไอออไนเซชัน อเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ิตี สัมพรรคภาพอิเลก็ ตรอน สาระสำคญั ตามแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก อิเล็กตรอนที่อยู่รอบนิวเคลียสจะเคลื่อนที่ตลอดเวลาด้วย ความเร็วสูงและไม่ สามารถบอกตำแหนง่ ที่แน่นอนรวมทั้งไม่สามารถกำหนดขอบเขตท่ีแน่นอนของ อเิ ลก็ ตรอน ได้ นอกจากนี้อะตอมโดยทั่วไปไม่อยู่เป็นอะตอมเด่ียวแต่จะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อะตอมไว้ด้วยกัน จึงเป็น เรื่องยากที่จะวัดขนาดของอะตอมที่อยู่ในภาวะอิสระหรือเป็นอะตอม เดี่ยวในทางปฏิบัติจึงบอกขนาดอะตอม ด้วยรศั มีอะตอม ซึ่งมีค่าเท่ากับครึ่งหนึ่งของระยะหว่างนิวเคลยี สของอะตอมท้ังสองทีม่ ีแรง ยึดเหนี่ยวระหว่าง อะตอมไวด้ ว้ ยกนั หรือทอ่ี ย่ชู ดิ กันรัศมีอะตอมมีหลายแบบซึ่ง ขน้ึ อยู่กับชนดิ ของแรงที่ยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอะตอม

ขนาดไอออน (Ionic Radius) ไอออน คือ อะตอมหรือกลุม่ อะตอมท่มี ปี ระจุไฟฟ้า ซึ่งจะมปี ระจุ ไฟฟ้า บวกหรือลบเท่านั้น โดยแบ่งไอออน ออกเป็น 2 ประเภท คือ ไอออนบวก เกิดจากที่อะตอมหรือกลุ่มอะตอม เกิดการสูญเสีย อิเล็กตรอน จึงทาให้มีจานวนโปรตอนมากกวา่ อิเล็กตรอน จึงแสดงประจุ บวกออกมา ไอออน ลบ คือ เกิดจากอะตอมหรือกลมุ่ อะตอมไดร้ บั อิเลก็ ตรอน จากอะตอมอน่ื จงึ ทาใหม้ ีจานวนอเิ ลก็ ตรอนมากกว่า โปรตอน จึงแสดง ประจุลบออกมา สิ่งที่ใช้พิจารณาขนาดของไอออน คือ รัศมีไอออน ซึ่งเป็นระยะห่าง ระหวา่ งนวิ เคลียสของไอออนบวกและไอออนลบ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.นกั เรียนสามารถอธบิ ายแนวโนม้ ของขนาดอะตอมและขนาดไอออนได้ (K) 2.นักเรยี นสามารถเปรยี บเทยี บของขนาดอะตอมกับขนาดไอออนได้ (K) 3.นักเรียนมคี วามกระตอื รอื รน้ ในการเรยี นและเขา้ เรยี นอยา่ งสมำ่ เสมอ (A) 4.นักเรียนสามารถเขียนขนาดของไอออนลบและไอออนบวกได้ (P) คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ✓ 2. ซือ่ สตั ย์ สจุ ริต ✓ 3. มวี ินัย ✓ 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง ✓ 6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 7. รักความเปน็ ไทย ✓ 8. มีจิตสาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น ✓ 1. มคี วามสามารถในการสอ่ื สาร ✓ 2. มีความสามารถในการคดิ ✓ 3. มคี วามสามารถในการแก้ปญั หา ✓ 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ✓ 5. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลกั (Core Subjects) ✓ 2. ทักษะการเรยี นรู้ และนวัตกรรม ✓ 3. ทักษะดา้ นสารสนเทศ ส่อื และเทคโนโลยี ✓ 4. ทักษะด้านชวี ิต และอาชีพ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขน้ั สร้างความสนใจ (engagement) 1.ครูกล่าวทักทายนกั เรียน จากนนั้ ใหน้ กั เรียนดลู ูกบอลที่มีขนาดตา่ งกนั 2.แล้วตั้งคำถามกับนักเรียนว่าลูกบอลลูกไหนมีขนาดใหญ่มากกว่ากัน จากนั้นนำลูกบอลใส่กล่องทีม่ องไม่ เหน็ แลว้ บอกใหน้ กั เรียนหยิบลกู บอลท่เี ล็กกว่าออกมา (แนวคำตอบ : นกั เรียนจะหยบิ ลกู บอลทเ่ี ล็กกว่าออกมา) 3.แล้วอธิบายกับนักเรียนว่าตอนแรกครูให้นักเรียนสังเกตด้วยตาไม่ให้นกั เรียนสัมผัส นักเรียนตอบได้ ว่าลูกบอลลูกไหนใหญ่กว่ากัน ต่อมาครูให้นักเรียนจับลกู บอลโดยการสัมผัส แต่มองไม่เหน็ นักเรียนยังตอบได้ ว่าลูกไหนใหญ่กว่ากัน แต่ถ้าเป็นสิ่งที่เรามองไม่เห็นและสัมผัสไม่ได้ อย่างอะตอมนักเรียนจะรู้ได้อย่างไร ว่า อะตอมมีขนาดเท่าไหร่ ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) 4.ครูตั้งคำถามกับนักเรียนว่าจำนวนระดับชั้นพลังงานมีผลต่อขนาดอะตอมหรือไม่ (แนวคำตอบ : มี ผลต่อขนาดอะตอมของธาตุ โดยอะตอมที่มีจำนวนระดับพลังงานหลักมากจะเสมือนมีฉากหลายชั้นมากำบัง ทำให้แรงดึงดูดโปรตอนกับเวเลนซอ์ ิเล็กตรอนลดลงอะตอมจะมีขนาดเพิ่มขึ้น ถ้าอยู่ในระดับพลังงานเดยี วกัน จำนวนโปรตอนท่ีเพิ่มขึน้ ที่เพ่มิ ขนึ้ จะดงึ ดดู เวเลนซ์อิเล็กตรอนไดม้ ากขึน้ อะตอมจะมขี นาดเล็กลง) 5.จากนั้นครูให้ความรู้เรื่องของขนาดอะตอม ซึ่งบอกเป็นค่ารัศมีอะตอม มีค่าเท่ากับครึ่งหนึ่งของ ระยะหา่ งระหวา่ งนวิ เคลยี สของอะตอมทง้ั สองอะตอมท่อี ยู่ชดิ กนั

6.จากน้ันใหน้ ักเรียนพิจารณาขนาดอะตอมของธาตใุ นหมเู่ ดยี วกนั และธาตุในคาบเดยี วกัน โดย พิจารณา จากรศั มอี ะตอมของธาตุบางชนิดตามตาราง ดังน้ี 7.หลังจากที่พิจารณาขนาดของอะตอมแล้ว ครูกล่าวถึงไอออน ว่าคืออะตอมซึ่งมีจำนวนโปรตอน เทา่ กับอิเล็กตรอน เมอื่ รบั อิเล็กตรอนเพ่ิมเข้ามาหรือเสยี อเิ ลก็ ตรอนออกไปอะตอมจะกลายเป็นไอออน โดยการ บอกขนาดไอออนทำได้เช่นเดียวกับการบอกขนาดของอะตอม คือจะบอกเป็นค่ารัศมีไอออน ซึ่งจะพิจารณา จากระยะระหว่างนิวเคลียสของไอออนคู่หนึ่ง ๆ ที่ยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกันในโครงผลึก ตัวอย่างเช่น Mg2+ กับ O2- ในสารประกอบ MgO ดงั รูป

8.ละพจิ ารณาแนวโน้มของรัศมีไอออนตามหมู่ ของธาตุบางชนดิ ตามตาราง ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) 9.เมื่อพิจารณาขนาดของอะตอมตามหมู่ตามคาบแล้ว ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ (เมื่อพิจารณาขนาดอะตอมของธาตุในคาบเดียวกันพบว่า ขนาดอะตอมมีแนวโน้มลดลงเมื่อเลขอะตอม เพิ่มขึ้น อธิบายได้ว่า เนื่องจากธาตุในคาบเดียวกันมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานเดียวกัน แต่มี จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสแตกต่างกัน ธาตุที่มีจำนวนโปรตอนมากจะดึงดูดเวเลนซ์อิเล็กตรอนด้วยแรงท่ี มากกว่าธาตุที่มีจำนวนโปรตอน เวเลนซ์อิเล็กตรอนจึงเข้าใกล้นิวเคีลยสมากกว่าทำให้อะตอมมีขนาดเล็กลง ส่วนธาตุในหมู่เดียวกัน เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้นจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสและจำนวนระดับพลังงานที่มี อิเล็กตรอนเพิ่มขึ้นด้วย อิเล็กตรอนที่อยู่ชั้นในจึงคล้ายเป็นฉากกั้นแรงดึงดูดระหว่างโปรตอนในนิวเคลียสกับ เวเลนซ์อิเล็กตรอน ทำให้แรงดึงดูดต่อเวเลนซ์อิเล็กตรอนมีน้อย เป็นผลให้ธาตุในหมู่เดียวกันมีขนาดอะตอม ใหญข่ ึ้นตามเลขอะตอม) 10.และเมื่อพิจารณาขนาดไอออน เมื่อโลหะทำปฏิกิริยากับอะโลหะอะตอมของโลหะจะเสียเวเลนซ์ อิเลก็ ตรอนกลายเปน็ ไอออนบวก จำนวนอิเล็กตรอนในอะตอมจงึ ลดลง ทำใหแ้ รงผลักระหวา่ งอเิ ลก็ ตรอนลดลง หรือ แรงดึงดูดระหว่างประจุนิวเคลียสกับอิเลก็ ตรอนจะเพิ่มมากขึ้น ไอออนบวกจึงมีขนาดเล็กลงกว่าอะตอม เดมิ ส่วนอะตอมของอโลหะสว่ นใหญจ่ ะรบั อิเลก็ ตรอนเพิ่มเขา้ มาและเกดเปน็ ไอออนลบ เนื่องจากมกี ารเพิ่มขึ้น

ของจำนวนอิเล็กตรอน ขอบเขตของกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนจะขยายออกไปจากเดิม ไอออนลบจึงมีขนาดใหญ่ กว่าอะตอมเดิม และเมื่อพิจารณาแนวโน้มของรัศมีอะตอมและรัศมีไอออนตามหมู่ ส่วนใหญ่จะมีแนวโน้มมี ขนาดเพ่มิ ขึ้นจากบนลงล่างเชน่ เดียวกบั ขนาดอะตอม ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 11.ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่า โดยการตั้งคำถามกับนักเรียนว่า เมื่อธาตุเกิดเป็นไอออน อิเล็กตรอนใน ระดับพลงั งานใดทเี่ ปลย่ี นแปลงขนาดของไอออนต่างจากขนาดของอะตอมเดมิ หรอื ไม่ และเฉลยคำตอบวา่ การ เกิดไอออนเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงจำนวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานชั้นนอกสุด หรือเวเลนซ์ อเิ ลก็ ตรอน โดยที่ไอออนบวกจะมขี นาดเลก็ กวา่ อะตอมเดิม ส่วนไอออนลบมขี นาดใหญกวา่ อะตอมเดมิ ขนั้ ประเมนิ (Evaluation) 12.นกั เรยี นทำแบบฝกึ หัดหลงั เรยี น เรือ่ ง ขนาดอะตอมและขนาดไอออน 13.นกั เรียนเข้าเรยี นตรงเวลา สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 2. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 3. ส่อื จากอนิ เทอรเ์ น็ตเพื่อใชใ้ นการสบื คน้ ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ 4. ลูกบอล 2 ขนาด 5. กลอ่ ง 6. Power point เรอ่ื ง ขนาดอะตอมและขนาดไอออน

การวดั ผลประเมินผล การผลประเมินผลดา้ น วธิ ีการวัด เคร่อื งมอื วัด เกณฑก์ ารวดั 1. ดา้ นความรคู้ วามเข้าใจ - คำตอบแบบทดสอบ แบบทดสอบหลงั เรียน หลังเรยี น เรอ่ื ง ขนาดอะตอมแล 80% ข้ึนไป ผา่ นเกณฑ์ ขนาดไอออน -การอภปิ รายร่วมกนั 2. ด้านทักษะกระบวนการ - คำตอบแบบทดสอบ แบบทดสอบหลังเรียน คุณภาพ พอใช้ ข้นึ ไป หลังเรยี น เร่ือง ขนาดอะตอมแล ผ่านเกณฑ์ ขนาดไอออน 3. ด้านลกั ษณะท่ีพงึ สงั เกตพฤตกิ รรมผเู้ รยี น -แบบสงั เกตพฤตกิ รรม คุณภาพ พอใช้ ขนึ้ ไป ประสงค์ แบบกลุม่ ผ่านเกณฑ์ -สงั เกตพฤตกิ รรมแบบ รายบคุ คล

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื .....................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.....................................................ผตู้ รวจ(ครพู ี่เลี้ยง) ................/.................../................

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล คำช้ีแจง ผูส้ อนสังเกตพฤติกรรมของผเู้ รียน โดยทำเครอื่ งหมาย ลงในชอ่ ง การแสดงความ มีความกระตือรน้ มีความรับผิดชอบ รวม ลำดับที่ ชอ่ื คดิ เหน็ และต้งั ใจทำงาน ในการทำงาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ = 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้ัง = 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง = 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยครัง้ = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั 21-24 ดมี าก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรับปรงุ

แบบทดสอบหลงั เรียน 1.เม่ือโลหะทำปฏกิ ิรยิ ากบั อโลหะ ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง ? 1.อะตอมของโลหะจะเสยี เวเลนซอเิ ลก็ ตรอน 2.อะตอมของโลหะจะเสยี เวเลนซ์อเิ ล็กตรอน 3.เมือ่ อะตอมกลายเปน็ ไอออนบวกจะมีขนาดใหญ่ 4.เมื่ออะตอมกลายเป็นไอออนลบจะเล็กลง 2.ขอ้ ใดเรยี งขนาดอะตอมจากน้อยไปมากไดถ้ กู ตอ้ ง 1.O < Cl < Kr < Rn 2.C < N < Br < K 3.Cl < S < K< Na < Mg 4.Mg2+ < Al3+ < Na+ < F- < O2- 3.ในตารางธาตปุ จั จุบนั ถอื วา่ ธาตใุ ดมีขนาดอะตอมใหญท่ ี่สุด และธาตใุ ดขนาดเลก็ ทส่ี ดุ 1.Cs ขนาดใหญท่ ่สี ุด และ F ขนาดเลก็ สดุ 2.F ขนาดใหญท่ ส่ี ุด และ Cs ขนาดเล็กสดุ 3.Rb ขนาดใหญ่ทส่ี ุด และ O ขนาดเล็กสดุ 4.O ขนาดใหญท่ ี่สดุ และ Rb ขนาดเล็กสุด 4.อธิบายแนวโนม้ ขนาดของอะตอมตามคาบ วา่ มแี นวโนม้ ใหญ่ขน้ึ หรอื เล็กลง เพราะอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 5.เขยี นขนาดไอออนของสารประกอบ NaCl 6. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ ง 2.ไอออนบวก ยิ่งประจุบวกมากขนึ้ ขนาดจะใหญข่ ึ้น 1.ไอออนบวก ยิ่งประจุบวกมากขึ้นขนาดจะเล็กลงมาก 4.ไม่มีข้อถกู 3.ไอออนลบ ยง่ิ ประจุลบมากขึ้น ขนาดจะเล็กลงมาก

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น 1.เม่ือโลหะทำปฏิกริ ยิ ากบั อโลหะ ขอ้ ใดถูกตอ้ ง ? 1.อะตอมของโลหะจะเสยี เวเลนซอเิ ล็กตรอน 2.อะตอมของโลหะจะเสยี เวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอน 3.เมอื่ อะตอมกลายเป็นไอออนบวกจะมขี นาดใหญ่ 4.เมื่ออะตอมกลายเปน็ ไอออนลบจะเล็กลง 2.ขอ้ ใดเรยี งขนาดอะตอมจากนอ้ ยไปมากไดถ้ กู ตอ้ ง 1.O < Cl < Kr < Rn 2.C < N < Br < K 3.Cl < S < K< Na < Mg 4.Mg2+ < Al3+ < Na+ < F- < O2- 3.ในตารางธาตปุ จั จบุ นั ถอื วา่ ธาตใุ ดมขี นาดอะตอมใหญท่ ีส่ ุด และธาตใุ ดขนาดเล็กทสี่ ดุ 1.Cs ขนาดใหญท่ ่สี ุด และ F ขนาดเลก็ สุด 2.F ขนาดใหญ่ท่สี ุด และ Cs ขนาดเล็กสุด 3.Rb ขนาดใหญท่ ่ีสุด และ O ขนาดเลก็ สุด 4.O ขนาดใหญ่ทีส่ ุด และ Rb ขนาดเลก็ สดุ 4.อธบิ ายแนวโนม้ ขนาดของอะตอมตามคาบ วา่ มแี นวโนม้ ใหญข่ ้ึนหรอื เล็กลง เพราะอะไร พิจารณาขนาดอะตอมในคาบเดียวกัน พบว่า อะตอมมีแนวโน้มลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น อธิบาย ได้ว่าเนื่องจากธาตุในคาบเดียวกันมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานเดียวกัน แต่มีจำนวนโปรตอนใน นิวเคลียสต่างกัน ธาตุที่มีจำนวนโปรตอนมากจะดึงดูดเวเลนซ์อิเล็กตรอนด้วยแรงที่มากกว่าธาตุที่มีจำนวน โปรตอนนอ้ ย เวเลนซ์อเิ ล็กตรอนจงึ เขา้ ใกล้นิวเคลยี สไดม้ ากกวา่ ทำใหอ้ ะตอมมขี าดเล็กลง 5.เขียนขนาดไอออนของสารประกอบ NaCl 6. ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ ง 2.ไอออนบวก ยง่ิ ประจบุ วกมากขึ้นขนาดจะใหญ่ขึ้น 1.ไอออนบวก ย่งิ ประจบุ วกมากข้นึ ขนาดจะเลก็ ลงมาก 4.ไม่มขี อ้ ถกู 3.ไอออนลบ ย่ิงประจุลบมากขนึ้ ขนาดจะเลก็ ลงมาก

บนั ทึกหลังสอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ นักเรียนอธิบายแนวโน้มของขนาดอะตอมและขนาดไอออนได้และเปรียบเทียบของขนาดอะตอมกับ ขนาดไอออนได้ ด้านทักษะ นกั เรียนเขยี นขนาดของไอออนลบและไอออนบวกได้ ด้านคุณธรรม นกั เรียนชา่ งคิด ช่างสงสัย ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ มนั่ ในการเสาะแสวงหาความรู้ ดา้ นทักษะชวี ิตเพือ่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปัญหา/อปุ สรรค และขอ้ คน้ พบ ไมม่ ี ๓. ขอ้ เสนอแนะแนวทางแก้ไข และผลการแก้ไข ไม่มี ลงชอ่ื .....................................................ผสู้ อน (................................................)



แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 8 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 อะตอมและ เรือ่ งสมบัตขิ องธาตหุ มหู่ ลัก เวลา 2 ชวั่ โมง สมบตั ิของธาตุ พลังงานไอออไนเซชัน สมั พรรค ภาพอเิ ลก็ ตรอน อเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ิตี รหสั วชิ า ว 31221 วชิ า เคมี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 1.5 หน่วยกติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สาระเคมี เข้าใจโครงสรา้ งอะตอม การจดั เรยี งธาตใุ นตารางธาตุ สมบัติของธาตพุ นั ธะเคมแี ละสมบตั ิของสาร แกส๊ และสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัตขิ อง สารประกอบอนิ ทรียแ์ ละพอลเิ มอร์ รวมทง้ั การนําความรไู้ ปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรียนรู้ ม.4/5 วเิ คราะห์และบอกแนวโนม้ สมบัติของธาตเุ รพรเี ซนเททีฟตามหมู่และตามคาบ สาระการเรยี นรู้ ธาตุเรพรีเซนเททีฟในหมู่เดียวกันมีจํานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน และธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกันมี เวเลนซ์อิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักเดียวกันธาตุเรพรีเซนเททีฟมีสมบัติทางเคมีคล้ายคลึงกัน ตามหมู่และมี แนวโน้มสมบัติบางประการเป็นไป ตามหมู่และตามคาบ เช่น ขนาดอะตอม รัศมีไอออน พลังงานไอออไนเซชัน อิเลก็ โทรเนกาติวิตี สมั พรรคภาพอิเลก็ ตรอน สาระสำคญั พลังงานไอออไนเซชัน คือค่าพลังงาน ที่ใช้ในการดึงให้อิเล็กตรอนวงนอกสุด (เวเลนซ์อิเล็กตรอน) หลุดออกจากอะตอมหรือโมเลกุลที่อยู่ในสถานะก๊าซปริมาณพลังงานที่น้อยที่สุดที่สามารถทำให้อะตอมหรือ โมเลกุลปลดปล่อยอิเล็กตรอน ค่าพลังงานไอออไนเซชันจะบ่งบอกว่าอะตอมหรือไอออนนั้นสามารถเสีย อิเล็กตรอนได้ง่ายหรือยาก หรือในอีกมุมหนึ่งเป็นการบ่งบอกระดับพลังงานของอิเล็กตรอนวงนอกสุดของ อะตอมหรือไอออนนั้นว่ามีความเสถียรมากเพียงใด โดยทั่วไปค่าพลังงานไอออไนเซชันจะมีค่าเพิ่มขึ้นเม่ือ พยายามที่จะทำให้อิเล็กตรอนตัวต่อไปถูกปลดปล่อยออกมา เนื่องจากการผลักกันของประจุอิเล็กตรอนมีค่า ลดลงและการกำบงั ของอิเล็กตรอนช้นั วงในมีค่าลดลง ซ่งึ ทำให้แรงดงึ ดดู ระหวา่ งนิวเคลียสและอิเล็กตรอนมีค่า

มาขนึ้ อยา่ งไรก็ตามคา่ ทเ่ี พ่ิมขึน้ อาจไม่เพมิ่ เท่าทคี่ วรจะเปน็ ในกรณที เี่ มอื่ ปลดปลอ่ ยอิเล็กตรอนตัวน้ันแล้วส่งผล ให้เกิดการบรรจุเต็มหรือการบรรจุคร่ึงในระดับชน้ั พลงั งาน เนอื่ งจากทงั้ สองกรณีมเี สถยี รภาพเปน็ พเิ ศษ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 นกั เรียนสามารถบอกความแตกตา่ งของ พลังงานไอออไนเซชัน สมั พรรคภาพอิเล็กตรอน และ อิเลก็ โทรเนกาติวิตีได้ (K) 2 นักเรียนสามารถเขียนกราฟแสดงแนวโน้มค่า พลังงานไอออไนเซชัน สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน และอเิ ลก็ โทรเนกาติวติ ไี ด้ (P) 3 นักเรียนมคี วามสนใจในเรือ่ งทีเ่ รยี นและการทำงานเป็นกล่มุ (A) คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ✓ 2. ซ่ือสัตย์ สุจรติ ✓ 3. มวี ินัย ✓ 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง ✓ 6. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย ✓ 8. มีจติ สาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน ✓ 1. มคี วามสามารถในการสอ่ื สาร ✓ 2. มีความสามารถในการคดิ ✓ 3. มีความสามารถในการแก้ปญั หา ✓ 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ✓ 5. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลัก (Core Subjects) ✓ 2. ทักษะการเรียนรู้ และนวัตกรรม ✓ 3. ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี ✓ 4. ทักษะด้านชวี ติ และอาชพี กระบวนการจดั การเรยี นรู้

ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement) 1.ครูตั้งคำถามกับนักเรียนว่า ในการทดลองการศึกษาเส้นสเปกตรัมที่ผ่านมา ขณะสังเกตเห็น สเปกตรมั ของธาตุ ธาตุนนั้ อยใู่ นสถานะใด และอิเลก็ ตรอนของธาตนุ ้นั ดูดหรอื คายพลงั งาน (แนวคำตอบ : ธาตุ อยใู่ นสถาะแกส๊ และเปน็ การคายพลังงานของอเิ ลก็ ตรอน) ข้ันที่ 2 ข้ันสำรวจและคน้ หา (Exploration) 2.จากนั้นครูตั้งคำถามต่ออีกว่า การทำให้อิเล็กตรอนเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานกับการทำให้ อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอม การกระทำใด ใช้พลังงานมากกว่ากัน โดยให้นักเรียนอภิปรายร่วมกัน (แนว คำตอบ : เส้นสเปกตรัมเกิดจากอิเล็กตรอนคายพลังงานออกมาเมื่อเปลี่ยนจากสภาวะกระตุ้นไปสู่สภาวะพ้ืน แตอ่ ิเลก็ ตรอนไมไ่ ดห้ ลดุ ออกจากอะตอม ดงั น้ันการทำใหอ้ ิเล็กตรอนหลดุ ออกจากอะตอมในสถานะแก๊สต้องใช้ พลังงานสงู กว่าการท่อี เิ ล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงาน) 3.จากน้นั ครใู ห้ความร้เู รอ่ื งพลังงานไอออไนเซชนั หรอื คา่ IE ว่า เปน็ พลังงานปรมิ าณน้อยทสี่ ดุ ที่ทำให้ อิเล็กตรอนหลดุ ออกจากอะตอมในสถานะแก๊ส ถ้ามคี า่ นอ้ ยแสดงว่าทำให้เป็นไอออนบวกได้งาย แต่ถ้ามคี า่ มาก แสดงว่าทำให้เป็นไอออนบวกได้ยาก จากนั้นอธิบายกับนักเรียนเพิ่มเติมว่า ค่า IE1 คือพลังงานไอออไนเซชัน ลำดับที่ 1 คือพลังงานที่ทำให้อิเล็กตรอนตัวแรกหลุดออกจากอะตอม และให้นักเรียนพิจารณาและร่วมกัน อภิปรายพลังงานไอออไนเซชันของคารบ์ อน C(g) → C+(g) + e- = IE1 = 1086 KJ/mol C+(g) → C2+(g) + e- = IE2 = 2353 KJ/mol C2+(g) → C3+(g) + e- = IE3 = 4621KJ/mol C3+(g) → C4+(g) + e- = IE4 = 6223 KJ/mol C4+(g) → C5+(g) + e- = IE5 = 37831 KJ/mol C5+(g) → C6+(g) + e- = IE6 = 42277 KJ/mol 4.โดยตอ้ งพจิ ารณาให้ไดข้ ้อสรุปดงั น้ี พลังงานไออไนเซชันของคาร์บอนมีคา่ ไมเ่ ท่ากนั และค่าเพง่ิ ขน้ึ ตามลำดบั ท่ีของพลงั งานไออไนเซชัน จากนน้ั ตัง้ คำถามชวนคดิ ให้นกั เรียน ว่า

5.ให้นักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายเพอื่ ทำนายแนวโนม้ ของคา่ พลงั งานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ของธาตุตาม คาบและตามหมู่ ครูทบทวนว่าค่าพลังงาน IE เป็นพลังงานที่น้อยที่สุดท่ีทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอม ในสถานะแกส๊ เกิดเป็นไอออนบวกซ่งึ เปน็ การเปลี่ยนแปลงแบบดดู พลังงานจากนน้ั ถามคำถามวา่ ถา้ อะตอมของ ธาตุมีการรับอิเล็กตรอนจะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานอย่างไรเพื่อนำเข้าสู่หัวข้อสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน จากนั้นครูให้ความรู้เรื่องสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนว่าเป็นพลังงานที่คายออกเมื่ออะตอมในสถานะแก๊สได้รับ อิเล็กตรอน 1 อิเล็กตรอนอะตอมท่ีสามารถรับอิเล็กตรอนไดด้ ีจะมีสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนสูงกว่าอะตอมท่ีรับ อิเล็กตรอนได้ยากครูอาจให้นักเรียนเปรียบเทียบสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนกับพลังงานไอออไนเซชันของธาตุ เหมือนและต่างกันอย่างไร (แนวคำตอบ : ทั้งสองค่าใช้อธิบายอะตอมในสถานะแก๊สเหมือนกัน แต่ที่ต่างกัน คอื สัมพรรคภาพอิเลก็ ตรอนเปน็ การคายพลังงานออกมาส่วนพลงั งานไอออไนเซชนั เป็นการดดู พลังงาน) 6.และให้นักเรียนศึกษาแนวโน้มของค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน ให้ได้สรุปว่า ตามคาบ ธาตุโลหะมี แนวโน้มรบั อเิ ลก็ ตรอนยาก สว่ นธาตใุ นหมู่ 4A 5A 6A 7A มแี นวโนม้ ในการรับอิเล็กตรอนสงู ขึ้น 7.ครูทบทวนเรื่องธาตุและสารประกอบโดยยกตัวอย่างเช่น Na HCI จากนั้นให้นักเรียนบอกความ แตกต่างระหว่างธาตุและสารประกอบแล้วให้ความรู้เพิ่มเติมว่าสารประกอบบางชนิดเช่น HCI มีการใช้ อิเล็กตรอนร่วมกันแล้วถามนักเรียนว่าอิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกันอยู่ตำแหน่งใดของโมเลกุล (อยู่ใกล้ H หรือ CI) เพ่ือนำเขา้ สเู่ รื่องอเิ ลก็ โทรเนกาติวติ ี 8.ครูใหค้ วามหมายของค่าอเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ีตวี ่าเปน็ ความสามารถของอะตอมในการดงึ ดูดอิเล็กตรอน ที่ใช้ร่วมกันในโมเลกุลของสารจากนั้นให้นักเรียนร่วมกันสรุปแนวโน้มค่าอิเล็กโ ทรเนกาติวิตีของธาตุในตาราง ธาตซุ ึง่ ควรได้วา่ ธาตุในคาบเดยี วกันมีคา่ เพิ่มขน้ึ เมือ่ เลขอะตอมเพมิ่ ขึ้นเน่อื งจากขนาดของอะตอมเล็กลงธาตุใน หมเู่ ดียวกนั สว่ นใหญ่มคี า่ ลดลงเนื่องจากขนาดของอะตอมใหญ่ข้นึ 9.จากนั้นครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวาดภาพกราฟแนวโน้มของค่า พลงั งานไอออไนเซชัน สมั พรรคภาพอิเล็กตรอน และอิเล็กโทรเนกาติวิตี กลุม่ ละ 1 ค่า แล้วออกมานำเสนอ

ข้นั ที่ 3 ขัน้ อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) 10.จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผล จากการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม และควรสรุปได้ว่าค่า พลังงานไอออไนเซชัน สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน และอิเล็กโทรเนกาติวิตี มีแนวโน้มไปในทิศทางดียวกันตาม ตารางธาตุคือ จากซ้ายไปกว่าและจากลา่ งขึ้นบน ขัน้ ที่ 4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) 11.ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันตอบคำถามความรู้เพิ่มเตมิ ในแอพพลเิ คชนั Quizziz ข้นั ท่ี 5 ข้ันประเมนิ (Evaluation) 12.นักเรยี นนำเสนอคา่ พลังงานไอออไนเซชัน สัมพรรคภาพอเิ ลก็ ตรอน และอิเล็กโทรเนกาตวิ ติ ี สอ่ื /แหล่ง การเรยี นรู้ 1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 2. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 3. สือ่ จากอินเทอร์เน็ตเพอ่ื ใช้ในการสบื คน้ ขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ 4. Quizziz เร่อื ง พลงั งานไอออไนเซชนั สมั พรรคภาพอเิ ล็กตรอน อิเลก็ โทรเนกาติวิตี 5. Power point เรอ่ื ง พลงั งานไอออไนเซชนั สัมพรรคภาพอเิ ลก็ ตรอน อเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ิตี

การวดั ผลประเมนิ ผล วิธีการวดั เคร่ืองมอื วดั เกณฑ์การวดั การผลประเมนิ ผลดา้ น คำตอบในแบบทดสอบ แบบทดสอบเรอ่ื ง 80% ขน้ึ ไป ผ่านเกณฑ์ 1. ดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจ เรอ่ื ง พลงั งานไอออไนเซ พลงั งานไอออไนเซชนั ชนั สมั พรรคภาพ สัมพรรคภาพ อิเลก็ ตรอน และ อเิ ลก็ ตรอน และ อเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ติ ี อิเลก็ โทรเนกาติวิตี แอพพลิเคชนั Quiziz 2. ด้านทกั ษะกระบวนการ การนำเสนอผลงาน -กราฟแสดงแนวโนม้ เรื่อง พลังงานไอออไนเซ ค่า พลังงานไอออไนเซ คณุ ภาพ พอใช้ ขึ้นไป ชนั สมั พรรคภาพ ชัน สัมพรรคภาพ ผา่ นเกณฑ์ อเิ ล็กตรอน และ อิเลก็ ตรอน และ อิเล็กโทรเนกาติวิตี อเิ ล็กโทรเนกาตวิ ิตี 3. ดา้ นลักษณะท่ีพงึ สังเกตพฤติกรรมผเู้ รียน -แบบสังเกตพฤติกรรม คณุ ภาพ พอใช้ ขึ้นไป ประสงค์ แบบกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ -สงั เกตพฤตกิ รรมแบบ รายบุคคล

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื .....................................................ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรยี นรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื .....................................................ผูต้ รวจ(ครพู เ่ี ล้ียง) ................/.................../................

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ กลมุ่ คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับระดับคะแนน กลุ่ม …………………… สมาชกิ ของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. คณุ ภาพการปฏบิ ัติ ลำดบั ท่ี พฤติกรรม 432 1 1 มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรับฟังกนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามกระตือรือร้น และตังใจในการทำงาน 3 มีการจดั การทดี่ ภี ายในกลุ่มมกี ารวางแผนอย่างเปน็ ระบบ 4 มีการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในกลุ่ม 5 มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน 6 มีการทำงานไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย รวม ลงชอื่ ……………………………………………………ผู้ประเมิน ….………/……………./………….. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้งั = 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั 21-24 ดมี าก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรับปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ลำดบั ชือ่ -นามสกุล ผูถ้ ูกประเมนิ พฤตกิ รรม รวม ต้งั ใจในการ การตอบ มคี วาม ตรงตอ่ ทำงาน คำถาม รบั ผิดชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ = 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง = 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั 10-12 ดีมาก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรงุ

แบบทดสอบเรอื่ ง พลงั งานไอออไนเซชัน สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน อเิ ล็กโทรเนกาตวิ ติ ี 1.ธาตซุ ง่ึ มเี ลขอะตอมตอ่ ไปนี้ ข้อใดมคี า่ IE1 เรียงตามลำดับจากนอ้ ยไปหามาก 1) 8, 9, 10, 11, 12 2) 12, 11, 10, 9, 8 3) 11, 12, 8, 9, 10 4)10, 9, 8, 12, 11 2. พลังงานไอออไนเซชัน หมายถงึ ขอ้ ใด 1.เป็นพลังงานทนี่ อ้ ยท่ีสุดทีใ่ ช้ดึงอเิ ลก็ ตรอนจำนวน 1 อนภุ าค 2.เป็นพลังงานทมี่ ากทสี่ ุดทใ่ี ชด้ ึงอิเล็กตรอนจำนวน 1 อนภุ าค 3.เปน็ พลังงานที่นอ้ ยทส่ี ุดทใี่ ช้ดงึ อเิ ลก็ ตรอนจำนวน 2 อนภุ าค 4.เป็นพลงั งานท่ีมากทส่ี ดุ ที่ใชด้ งึ อิเล็กตรอนจำนวน 2 อนภุ าค 3. คา่ อิเล็กโทรเนกาตวิ ิตี ขอ้ ใดถูกต้อง 1.ความสามารถในการดงึ คายอิเล็กตรอนในพันธะออกจากตัวเอง 2.ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนในพนั ธะเข้ามาหาตวั เอง 3.พลังงานท่อี ะตอมในสถานะแก๊สคายออกมาเมื่อไดร้ บั อเิ ลก็ ตรอน 4.พลังงานทีอ่ ะตอมในสถานะแกส๊ ดูดเข้ามาเม่อื ไดร้ บั อิเลก็ ตรอน 4. ค่าสมั พรรคภาพอิเล็กตรอน ธาตใุ ดมคี ่าเยอะทีส่ ุด 1.F 2.O 3.P 4.Na 4.Li (ลเิ ทยี ม) 5. ธาตใุ นหมู่เดียวกัน ค่าอิเล็กโทรเนกาตวิ ติ ี ข้อใดมคี า่ มากท่สี ดุ 1.Fr (แฟรนเซยี ม) 2.Na (โซเดียม) 3.K (โพแทสเซยี ม)

เฉลยแบบทดสอบเรอ่ื ง พลงั งานไอออไนเซชัน สมั พรรคภาพอเิ ลก็ ตรอน อเิ ลก็ โทรเนกาติวติ ี 1.ธาตุซ่งึ มเี ลขอะตอมต่อไปนี้ ข้อใดมีคา่ IE1 เรยี งตามลำดบั จากนอ้ ยไปหามาก 1) 8, 9, 10, 11, 12 2) 12, 11, 10, 9, 8 3) 11, 12, 8, 9, 10 4)10, 9, 8, 12, 11 2. พลังงานไอออไนเซชนั หมายถึงขอ้ ใด 1.เปน็ พลงั งานทนี่ ้อยทสี่ ดุ ทใี่ ช้ดึงอเิ ลก็ ตรอนจำนวน 1 อนภุ าค 2.เปน็ พลงั งานท่มี ากท่สี ดุ ที่ใชด้ ึงอเิ ลก็ ตรอนจำนวน 1 อนภุ าค 3.เปน็ พลงั งานทน่ี อ้ ยท่ีสดุ ทใ่ี ชด้ งึ อเิ ลก็ ตรอนจำนวน 2 อนภุ าค 4.เป็นพลงั งานท่มี ากทส่ี ุดที่ใชด้ ึงอิเลก็ ตรอนจำนวน 2 อนภุ าค 3. คา่ อิเลก็ โทรเนกาตวิ ติ ี ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง 1.ความสามารถในการดึงคายอิเล็กตรอนในพันธะออกจากตัวเอง 2.ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนในพันธะเขา้ มาหาตัวเอง 3.พลังงานท่ีอะตอมในสถานะแก๊สคายออกมาเมือ่ ไดร้ ับอเิ ลก็ ตรอน 4.พลังงานทีอ่ ะตอมในสถานะแก๊สดูดเข้ามาเม่ือได้รบั อเิ ล็กตรอน 4. คา่ สัมพรรคภาพอเิ ล็กตรอน ธาตใุ ดมคี ่าเยอะทส่ี ดุ 1.F 2.O 3.P 4.Na 4.Li (ลิเทียม) 5. ธาตใุ นหมู่เดียวกนั ค่าอิเล็กโทรเนกาตวิ ติ ี ขอ้ ใดมคี า่ มากท่ีสดุ 1.Fr (แฟรนเซียม) 2.Na (โซเดียม) 3.K (โพแทสเซยี ม)

บนั ทึกหลงั สอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ นักเรยี นบอกความแตกต่างของ พลงั งานไอออไนเซชนั สมั พรรคภาพอิเล็กตรอน และ อเิ ล็กโทรเนกาติวิตไี ด้ ด้านทักษะ นกั เรียนเขียนกราฟแสดงแนวโนม้ คา่ พลังงานไอออไนเซชนั สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน และอิเลก็ โทรเน กาติวติ ไี ด้ ดา้ นคณุ ธรรม นกั เรยี นมคี วามสนใจในเร่อื งที่เรียนและการทำงานเปน็ กลมุ่ ด้านทักษะชวี ติ เพือ่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปญั หา/อปุ สรรค และขอ้ คน้ พบ ไมส่ ามารถใหน้ ักเรยี นเขียนกราฟแนวโนม้ โดยการทำงานเป็นกลุม่ ได้ ๓. ขอ้ เสนอแนะแนวทางแก้ไข และผลการแก้ไข ให้นักเรยี นเขียนกราฟแนวโนม้ โดยทำเปน็ งานเด่ียว ลงชอ่ื .....................................................ผ้สู อน (................................................)



แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 9 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 อะตอมและ เรื่องสมบัตขิ องธาตแุ ทรนซชิ ัน เวลา 1 ชวั่ โมง สมบัตขิ องธาตุ รหัสวชิ า ว 31221 วชิ า เคมี 1 กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… สาระเคมี เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุพันธะเคมีและสมบัติของสาร แกส๊ และสมบตั ขิ องแก๊ส ประเภทและสมบตั ขิ อง สารประกอบอนิ ทรียแ์ ละพอลิเมอร์ รวมทั้งการนาํ ความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรยี นรู้ ม.4/6 บอกสมบตั ิของธาตุโลหะแทรนซิชนั และเปรยี บเทียบสมบัติกับธาตุโลหะในกลุ่มธาตุ เรพรเี ซนเททีฟ สาระการเรียนรู้ ธาตแุ ทรนซชิ นั เป็นโลหะทีส่ ่วนใหญม่ ีเวเลนซอ์ ิเล็กตรอนเท่ากับ 2 มขี นาดอะตอมใกลเ้ คยี งกัน มีจุดเดือด จดุ หลอมเหลวและความหนาแน่นสูง เกิดปฏกิ ริ ยิ ากับนำ้ ได้ชา้ กว่าธาตุโลหะในกลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ เมื่อเกิด เป็นสารประกอบส่วนใหญ่จะมสี ี สาระสำคญั ธาตุแทรนซิชัน สามารถทำปฏิกิรยิ าเกิดสารประกอบต่าง ๆ ได้หลายชนิด เนื่องจากธาตุแทรนซชิ ันมี ค่าเลขออกซิเดชันหลายค่า และให้สีของสารประกอบแตกต่างกัน เช่น MnO2 มีสีดำ ,KMnO4 มีสีม่วงแดง และ K2MnO4 มีสีเขียว และโดยทั่วไปธาตุแทรนซิชันสามารถเกดิ สารประกอบเชิงซ้อน และไอออนเชิงซอ้ น ไดง้ ่าย และ 1.ธาตุแทรนซิชันทกุ ธาตุเปน็ โลหะ มีจดุ เดือดและจุดหลอมเหลวสงู เพราะมีพันธะโลหะ 2.ความหนาแน่นมแี นวโน้มเพม่ิ ขึน้ เม่อื เลขอะตอมเพมิ่ ขนึ้ 3.มีอเิ ลก็ ตรอนวงนอกสดุ (valence e-) เท่ากับ 2 ยกเว้น Cr และ Cu เทา่ กบั 1 4.อเิ ลก็ ตรอนถัดจากวงนอกสดุ เขา้ มาหน่งึ ระดบั พลงั งาน ไม่ครบ 18 ยกเวน้ Cu และ Zn 5.มีเลขออกซิเดชนั ไดม้ ากกวา่ 1 คา่ ยกเว้นหมู่ 2B (Zn , Cd) เป็น +2 คา่ เดียว และหมู่ 3B (Sc) 0 เปน็ +3 คา่ เดยี ว

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.นักเรยี นสามารถเปรยี บเทียบสีของสารประกอบโลหะหมหู่ ลกั กบั โลหะทรานซิชนั ได้ (K) 2.นักเรียนสามารถทำกิจกรรมสีของสารประกอบไดอ้ ย่างถกู ต้อง (P) 3.นักเรียนมคี วามสนใจในเร่ืองที่เรยี นและการทำงานเปน็ กลุ่ม (A) คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ✓ 2. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต ✓ 3. มีวนิ ัย ✓ 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง ✓ 6. มงุ่ มั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย ✓ 8. มจี ติ สาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน ✓ 1. มีความสามารถในการสอ่ื สาร ✓ 2. มีความสามารถในการคิด ✓ 3. มีความสามารถในการแก้ปัญหา ✓ 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ✓ 5. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลกั (Core Subjects) ✓ 2. ทักษะการเรียนรู้ และนวัตกรรม ✓ 3. ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี ✓ 4. ทักษะดา้ นชวี ติ และอาชพี

กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) 1.ครกู ล่าวทกั ทายนักเรยี น ครูให้นกั เรยี นดสู ารประกอบ 2 ชนิด คอื NaOH (โซเดียมไฮดรอกไซด)์ และ KMnO4 (โพแทสเซยี มเปอร์แมงกาเนต) 2.แลว้ ให้นักเรยี นบอกความแตกต่างของสารประกอบ 2 ชนดิ นี้ (แนวคำตอบ : มีสีแตกต่างกัน NaOH มสี ีใส KMnO4 มีสีม่วง) 3.แลว้ ครูตง้ั คำถามกบั นกั เรียนว่า เพราะอะไร ทำไมสารประกอบถงึ มสี ีตา่ งกัน ขัน้ สำรวจและคน้ หา (Exploration) 4.ครูทบทวนความรใู้ ห้นกั เรยี นเกีย่ วกับสมบตั ิบางประการของธาตหุ มหู่ ลกั และพดู ถึงวา่ ต่อไปเราจะ ศกึ ษาเกย่ี วกับธาตุอีกกลมุ่ หนง่ึ คอื ธาตุแทรนซิชนั (นักเคมีจัดธาตุแทรนซิชนั ไว้ในกลุ่มของธาตุทเี่ ปน็ โลหะ แต่ ไม่ไดอ้ ยูใ่ นกลมุ่ เดยี วกับธาตุโลหะ หมู่ 1 และหมู่ 2 ของธาตุหมู่หลกั ) 5.ครจู งึ ต้งั คำถามกับนกั เรยี นว่า เพราะเหตใุ ด จึงจัดธาตโุ ลหะแทรนซิชนั ไวอ้ ีกกลุม่ หน่งึ จากน้ันพดู ถึง เกี่ยวกบั สมบัติบางประการของธาตุแทรนซชิ นั (เปรยี บเทยี บกับโลหะหมู่หลกั ในคาบที่ 4 คือ K และ Ca โดยเปรยี บเทยี บกับจุดเดือด จดุ หลอมเหลว ความ หนาแน่น พลงั งานไอออไนเซชันลำดับท่ี 1 และอิเล็กโทรเนกาตวิ ติ ี หลังจากทีค่ รพู ดู ถงึ สมบตั บิ างประการของ ธาตแุ ลว้ จะพดู ถงึ การจัดเรียงอิเลก็ ตรอน เพ่อื ทีจ่ ะเปรยี บเทยี บขนาดอะตอมของโลหะแทรนซชิ นั ) 6.จากนน้ั ครูจะให้นักเรยี นทำกจิ กรรมเรอ่ื งสีของสารประกอบ โดยกิจกรรมนใ้ี ชเ้ วลาประมาณ 30 นาที ซ่งึ ครูจะทำการแบ่งนักเรยี นออกเป็นกลมุ่ กลมุ่ ละ 3 คน และรบั บัตรภาพ 1 ชดุ ต่อ 1 กลุ่ม (1 ชดุ มี 10 ใบ)

ตวั อย่างบัตรภาพ 7.โดยครูจะอธิบายขั้นตอนการทำกจิ กรรมและแจกใบกจิ กรรม (ให้นักเรยี นจำแนกสารท้ัง 10 ชนดิ วา่ สารใดเป็นสารประกอบโลหะหมูห่ ลักและสารใดเปน็ สารประกอบโลหะแทรนซชิ ัน และสังเกตเปรยี บเทยี บสี ของสารประกอบโลหะ แลว้ บนั ทึกในใบกิจกรรมทค่ี รูแจกให้) ขนั้ ท่ี 3 ขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) 8.หลงั จากนักเรยี นทำกิจกรรม ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภปิ ราย โดยครูอภิปรายโดยใชค้ ำถามชวนคดิ ว่า นักเรียนคดิ วา่ KMnO4 K2CrO4 และ Na2CoCl4 เปน็ สารประกอบท่ีมีสหี รอื ไม่ เพราะเหตุใด (แนวคำตอบ : สารประกอบทง้ั 3 ชนดิ นี้มีสีโดย KMnO4 มสี มี ว่ ง K2CrO4 มสี เี หลือง และ Na2CoCl4 มสี ีนำ้ เงนิ การที่ สารประกอบทงั้ หมดมสี ี เนอ่ื งจากมธี าตแุ ทรนซชิ นั เป็นองคป์ ระกอบ) 9.และสรปุ กิจกรรมสขี องสารประกอบ (โดยใหม้ ีแนวการสรปุ ดงั น้ี สขี องสารประกอบโลหะเปน็ สมบตั ิ ทางกายภาพทส่ี ามารถมองเห็นไดด้ ว้ ยตาเปลา่ และ สารประกอบโลหะหมหู่ ลกั สว่ นใหญเ่ ป็นสขี าว สว่ น สารประกอบโลหะแทรนซิชันสว่ นใหญจ่ ะมีส)ี ขัน้ ท่ี 4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) 10.ครูอธิบายเพ่มิ เตมิ เกี่ยวกบั สีของสารประกอบ (โดยมแี นวการอธบิ ายดังนี้ สารประกอบของธาตุแท รนซชิ นั เมอ่ื เกดิ เป็นสารประกอบแล้วสว่ นใหญ่จะมสี ี เน่ืองจากอเิ ลก็ ตรอนในระดบั d-orbital ดูดกลืนแสงที่ตา มองเห็น และแสงที่ไม่ดูดกลืนจะสะท้อนเข้าสู่ตา ทำให้เห็นสารประกอบของธาตุแทรนซิชันเป็นสีนั้น ซึ่งมีสี แตกต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ชนิดของธาตุแทรนซิชัน เลขออกซิเดชัน ชนิดและจำนวนของสารที่ สรา้ งพันธะกบั ธาตุแทรนซิชนั ) ขน้ั ท่ี 5 ข้ันประเมนิ (Evaluation) 11.ครปู ระเมนิ นักเรยี นจากคำถามชวนคดิ ทอ่ี ภปิ รายรว่ มกนั

12.ครูประเมินนักเรยี นจากการสังเกตพฤตกิ รรมในการทำงานเป็นกลมุ่ 13.ครูประเมนิ นกั เรยี นจากใบกิจกรรม การจัดบรรยากาศเชงิ บวก ครกู ระตนุ้ ให้นกั เรียนแสดงความคิดเห็น โดยไมต่ ้องกังวลวา่ ถูกหรอื ผิด และช่วยกนั ปรบั ปรงุ แก้ไขได้ ควรให้โอกาสนกั เรียนไดน้ ำเสนอผลการทำกิจกรรมในชั้นเรยี น เพ่ือเปน็ การแบง่ ปันความรูต้ อ่ นกั เรยี นกลุ่มอื่น ๆ และเกิดการอภปิ รายระหวา่ งกลุ่ม สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 2. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 3. สอ่ื จากอินเทอรเ์ นต็ เพ่อื ใชใ้ นการสบื คน้ ขอ้ มูลเพิม่ เตมิ 4. ชุดบัตรภาพสีของสารประกอบ 5. KMnO4 , NaOH การวัดผลประเมินผล การผลประเมินผลดา้ น วธิ ีการวัด เครอื่ งมือวัด เกณฑ์การวดั 80% ข้นึ ไป ผ่านเกณฑ์ 1. ด้านความร้คู วามเข้าใจ -อภปิ รายผลการทดลอง -ใบกจิ กรรมสีของ คณุ ภาพ พอใช้ ขนึ้ ไป -การตอบคำถามท้าย สารประกอบ ผา่ นเกณฑ์ กิจกรรม 2. ด้านทักษะกระบวนการ -การทำกจิ กรรมสีของ -ใบกิจกรรมสีของ สารประกอบ สารประกอบ -การสงั เกตพฤติกรรม รายกลุ่มในการทำ กจิ กรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook