Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้เคมี 1

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี 1

Published by pawanrat2760, 2021-09-23 16:53:05

Description: แผนการจัดการเรียนรู้เคมี 1

Search

Read the Text Version

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ กลมุ่ คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับระดับคะแนน กลุ่ม …………………… สมาชกิ ของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. คณุ ภาพการปฏบิ ัติ ลำดบั ท่ี พฤติกรรม 432 1 1 มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรับฟังกนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามกระตือรือร้น และตังใจในการทำงาน 3 มีการจดั การทดี่ ภี ายในกลุ่มมกี ารวางแผนอย่างเปน็ ระบบ 4 มีการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในกลุ่ม 5 มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน 6 มีการทำงานไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย รวม ลงชอื่ ……………………………………………………ผู้ประเมิน ….………/……………./………….. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้งั = 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั 21-24 ดีมาก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรบั ปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ลำดบั ชือ่ -นามสกุล ผูถ้ ูกประเมนิ พฤตกิ รรม รวม ต้งั ใจในการ การตอบ มคี วาม ตรงตอ่ ทำงาน คำถาม รบั ผิดชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ = 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง = 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั 10-12 ดีมาก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรงุ

บนั ทึกหลงั สอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ นักเรียนอธบิ ายการเกดิ ไอออนและการเกดิ พนั ธะไอออนกิ โดยใช้แผนภาพหรอื สญั ลกั ษณ์แบบจุด ของลวิ อสิ และอธิบายโครงสรา้ งของสารประกอบไอออนกิ ดา้ นทักษะ นักเรียนเขียนแผนภาพหรือสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสของการเกิดไอออนและการเกิดพันธะไอออนิก จากการทำกจิ กรรมไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง แม่นยำ และว่องไว ด้านคณุ ธรรม นกั เรียนมคี วามกระตอื รอื ร้นในการเรียนการสอนและเข้าเรยี นอยา่ งสมำ่ เสมอ ด้านทักษะชวี ิตเพื่อการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปญั หา/อปุ สรรค และขอ้ คน้ พบ ไม่มี ๓. ข้อเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข และผลการแกไ้ ข ไมม่ ี ลงชอื่ .....................................................ผู้สอน (................................................)



แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 3 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 พนั ธะเคมี เร่อื งสูตรเคมีและช่ือของ เวลา 2 ชว่ั โมง สารประกอบไอออนกิ รหัสวิชา ว 31221 วชิ า เคมี 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สาระเคมี เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุพันธะเคมีและสมบัติของสาร แกส๊ และสมบัตขิ องแก๊ส ประเภทและสมบตั ิของสารประกอบอนิ ทรีย์และพอลิเมอร์ รวมทัง้ การนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรียนรู้ ม.4/10 เขยี นสตู ร และเรยี กช่อื สารประกอบไอออนิก สาระการเรียนรู้ สารประกอบไอออนิกเขียนแสดงสูตรเคมีโดยให้สัญลักษณ์ธาตุที่เป็นไอออนบวกไว้ข้างหน้าตามด้วย สญั ลักษณธ์ าตุทีเ่ ปน็ ไอออนลบ โดยมตี ัวเลขแสดงอัตราสว่ นอยา่ งตำ่ ของจำนวนไอออนท่เี ปน็ องค์ประกอบ การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิกทำได้โดยเรียกชื่อไอออนบวกแล้วตามด้วยชื่อไอออนลบสำหรับ สารประกอบไอออนกิ ทีเ่ กดิ จากโลหะทีม่ เี ลขออกซเิ ดชนั ไดห้ ลายคา่ ตอ้ งระบุเลขออกซิเดชนั ของโลหะด้วย สาระสำคัญ สารประกอบไอออนิกจะประกอบไปด้วยอะตอมหรือกลุ่มอะตอมที่มีไอออนบวกและไอออนลบที่มี ประจุต่าง ๆ กัน เช่น ธาตุ Na เป็นธาตุหมู่ IA เมื่อเกิดเป็นไอออนบวกจะมีประจุเปน็ +1 และธาตุ Cl ซึ่งเปน็ ธาตุหมู่ VIIA เมื่อเกิดเป็นไอออนลบจะมีประจุเป็น -1 เป็นต้น โดยประจุของไอออนธาตุหมู่หลักจะเป็นบวก ตามจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้หรือเป็นลบตามจำนวนอิเล็กตรอนที่รับเพื่อทำให้มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนของ ไอออนเป็นไปตามกฎออกเตต ซึ่งมีผลต่ออัตราส่วนการรวมของไอออนและสตู รของสารประกอบไอออนิก ซึ่ง โครงสรา้ งของสารประกอบไอออนิกไมส่ ามารถแยกเปน็ โมเลกุลได้ เราจงึ ใช้สูตรเอมพริ คิ ลั แสดงอตั ราส่วนอย่าง ต่ำของจำนวนไอออนทีเ่ ป็นองค์ประกอบ ซงึ่ ทำให้ผลรวมของประจุเป็นกลางหรอื เทา่ กับศนู ย์ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถเขียนสตู รเอมพิรคิ ลั ของสารประกอบไอออนกิ ได้ (K)

2. สามารถหาสูตรเอมพิริคัลในสารประกอบไอออนิกจากการทำกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ และ วอ่ งไว (P) 3. มีความมุ่งมั่นตั้งใจในการเรียนรู้ ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม และมีจิตสาธารณะในการ ทำงานร่วมกับผ้อู น่ื ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ (A) คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ✓ 2. ซ่ือสตั ย์ สุจรติ ✓ 3. มวี ินยั ✓ 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง ✓ 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย ✓ 8. มีจิตสาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ✓ 1. มคี วามสามารถในการสอื่ สาร ✓ 2. มีความสามารถในการคิด ✓ 3. มคี วามสามารถในการแก้ปญั หา ✓ 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ✓ 5. มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลกั (Core Subjects) ✓ 2. ทกั ษะการเรียนรู้ และนวตั กรรม ✓ 3. ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี ✓ 4. ทักษะดา้ นชวี ิต และอาชีพ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) 1. ครูกล่าวคำทักทายนักเรียน นำเข้าสู่การศึกษาเรื่อง การอ่านชื่อของสารประกอบไอออนิก โดย ให้นักเรยี นเล่น เกมบิงโก แล้วครูตั้งคําถามว่า นักเรียนรูห้ รือไม่วา่ สูตรเคมีท่ีนักเรียนเหน็ นั้นมหี ลักการอ่านช่ือ อย่างไร

(แนวคำตอบ: ช่ือของไอออนบวกจะเรยี กตามชื่อธาตุแลว้ ลงทา้ ยด้วยคำวา่ ไอออน ส่วนไอออนลบเรยี กชื่อธาตุ โดยเปลี่ยนท้ายเสยี งเป็น ไ-ด์ แล้วลงท้ายดว้ ยคำวา่ ไอออน) ควิ อาร์โคด้ เกมบงิ โก 2. ครูทำการเปดิ วดี ีโอเรอ่ื ง การทำฝนหลวง แลว้ ครูตง้ั คำถามกับนักเรยี นในระหวา่ งดูวดี โี อวา่ นักเรยี น ทราบหรอื ไมว่ า่ ในการทำฝนหลวงนน้ั มสี ูตรของสารประกอบไอออนกิ นั้นเปน็ อยา่ งไรและสตู รน้ันเกดิ ขนึ้ ได้ อย่างไร (แนวคำตอบ : ในการทำฝนหลวงนั้นมสี ตู รเคมที เ่ี กิดขึน้ คือ NaCl และ CaCl2 เกิดขน้ึ จากอตั ราสว่ น การรวมตัวกันของไอออนบวกตามจำนวนอเิ ล็กตรอนทใ่ี หห้ รือเปน็ ลบตามจำนวนอเิ ลก็ ตรอนที่รับเพอื่ ทำใหม้ ี การจัดเรียงอเิ ล็กตรอนของไอออนเป็นไปตามกฎออกเตต หรอื ทำใหผ้ ลรวมของประจเุ ปน็ กลางหรือเท่ากับ ศูนย)์ 3. เมื่อนักเรียนทราบแล้วว่าวันนี้จะมาศึกษาเกี่ยวกับเรื่องอะไร ครูอธิบายเน้นย้ำอีกครั้งหนึ่งเพื่อความ เข้าใจที่ตรงกันว่าจากที่ครูได้ตั้งคำถามให้นักเรยี นตอบไปเมื่อสกั ครู่ วันนี้เราจะมาค้นหา สูตรเคมีของสารประกอบ ไอออนกิ ข้ันสำรวจและคน้ หา (Exploretion) 4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 3-4 คน โดยการแบ่งกลุ่มจะแบ่งจากสูตรเคมีของสารประกอบไอออนิก โดยครูผู้สอนจะแจกสัญลักษณ์ธาตุให้นักเรียนแต่ละคน เช่น นักเรียนกลุ่มที่ 1 จะเป็นสูตรเคมี KCN ซึ่งนักเรียน คนที่ 1 จะได้ธาตุ K นักเรียนคนที่ 2 จะได้ธาตุ C และนักเรียนคนท่ี 3 จะได้ธาตุ N เปน็ ตน้ เม่อื แบ่งกลมุ่ เสร็จแล้ว ให้นักเรียนรว่ มกนั ศึกษากจิ กรรมที่ 1 เรอื่ ง “ฉันคูใ่ คร” จากใบงานทคี่ รแู จกให้ 5. เมือ่ นกั เรยี นจับกลุม่ กันได้แลว้ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันศึกษาหลักการเขียนช่ือสารประกอบ ไอออนิกให้เข้าใจ จากเวลาที่ครูกำหนดให้ จากนั้นครูจะให้นักเรียนออกมาเล่นกิจกรรมที่ชื่อว่า “ฉันคู่ใคร” นักเรียนกลุ่มใดสามารถสะสมคะแนนได้มากที่สุดก็จะได้รับรางวัลไป (ซึ่งคะแนนที่ได้ จะรวมกับรูปสูตรเคมีท่ี นักเรียนไดจ้ ากการสะสมคะแนนในการตอบคำถาม) 6. เมื่อนักเรยี นแตล่ ะกล่มุ เกดิ ความเข้าใจทตี่ รงกนั แล้วให้แต่ละกลุ่มทำกิจกรรมและบันทึกคำตอบ ลงไปในใบงานทค่ี รูแจกให้ 7. จากนั้นให้แต่ละกลุ่มศึกษากิจกกรมที่ 2 โดยร่วมกันค้นหาสูตรเอมพิริคัลของสารประกอบไอ ออนิกโดย การจับคู่ไอออนบวกและไอออนลบให้เข้าชุดกัน โดยในแต่ละชุดจะต้องเป็นคู่ที่เข้าคู่กันได้พอดี จากนัน้ ครูตง้ั คำถามเพ่ือให้นักเรยี นเกิดความเข้าใจทต่ี รงกันในการทำกิจกรรม

- นักเรียนคิดว่าสารประกอบทเ่ี กดิ จาก Na+ กับ S2- มีอัตราสว่ นเป็นเท่าใด เม่อื ผลรวมของประจุ ไอออนบวกกับผลรวมของประจไุ อออนลบรวมกันแลว้ ได้เทา่ กบั ศูนย์ และบันทึกคำตอบลงไปในใบงานท่คี รู แจกให้ ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรุป (Explaination) 8. ครใู ห้นักเรียนนำเสนอข้อมูลท่ีได้จากการทำกิจกรรมท่ี 1 แล้วอภิปรายร่วมกันในประเด็น การ อ่านช่ือสารประกอบไอออนกิ ที่ไดจ้ ากการทำกิจกรรม และร่วมกนั สรปุ กจิ กรรม (แนวทางสรุป : ชื่อของไอออนบวกจะเรียกตามชื่อธาตุแล้วลงท้ายด้วยคำว่า ไอออน ส่วนไอออนลบเรียกชื่อ ธาตุโดยเปลี่ยนท้ายเสียงเป็น ไ-ด์ แล้วลงท้ายด้วยคำวา่ ไอออน ส่วนไอออนทเ่ี ป็นกลมุ่ อะตอมมีชื่อเรียกเฉพาะ โดยกลุ่มอะตอมที่เปน็ ไอออนบวกลงท้ายด้วย เอียม ส่วนกลุ่มอะตอมทีเ่ ป็นไอออนลบ จะลงท้ายเสียงด้วย ไ-ด์ ไ-ต์ หรือ เ-ต และชือ่ สารประกอบที่เกิดจากโลหะทีม่ ีเลขออกซิเดชันมากกว่า 1 ค่า ต้องระบุตัวเลขประจุหรอื เลขออกซิเดชนั ของไอออนโลหะนัน้ เปน็ เลขโรมันในวงเล็บดว้ ย) 9. ครูให้นักเรียนนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรมที่ 2 แล้วอภิปรายร่วมกันในประเด็น อัตราส่วนการรวมตวั ของไอออนในสารประกอบไอออนิก ทีไ่ ด้จากการทำกจิ กรรม และรว่ มกนั สรปุ กจิ กรรม (แนวการสรุป : ผลรวมของประจุไอออนบวกกับผลรวมของประจุไอออนลบเมื่อนํา มารวมกันแล้วได้เท่ากับ ศูนย์ เช่น สารประกอบทีเ่ กิดจาก Na+ กับ S2- จะต้องใช้กระดาษทเี่ ขยี น Na+ 2 แผ่น และกระดาษทีเ่ ขียน S2- 1 แผ่น ทําให้มีผลรวมประจุของไอออนบวกเท่ากบั +2 และผลรวมของไอออนลบเท่ากับ -2 เม่ือรวมประจุทงั้ สองจะได้เปน็ 0 ดงั นัน้ อัตราสว่ นของจํานวน Na+ ต่อ S2- เป็น 2:1 ซึ่งมสี ตู รสารประกอบเปน็ Na2S) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) 10. ครูพูดถึงการนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทางการเกษตร ที่มีการนำสารประกอบไอออนิกไปใช้ ประโยชน์ ตัวอย่างเช่น - ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ ผลิตได้จากแร่ซิลวาไนต์ มาบดให้ละเอยี ดแล้วทำใหบ้ ริสทุ ธิ์ โดยละลายแร่ ในนำ้ อณุ หภมู ปิ ระมาณ 90 ๐C เตมิ สารละลาย NaCl ทอ่ี ม่ิ ตวั ลงไป กรองแยกโคลนและตะกอนออก ระเหยนำ้ เพื่อให้สารละลายมีความเข้มข้นมากขึ้นจนทำให้ KCl ตกผลึก แยกผลึกออกแล้วอบให้แห้งจะได้ปุ๋ย KCl ตาม ต้องการ นอกจากนี้ ยังสามารถผลิตปุ๋ยชนิดนี้จากน้ำทะเล โดยการระเหยน้ำทะเลด้วยความร้อนจาก แสงอาทติ ย์เพ่อื ให้มคี วามเข้มข้นสูงขึ้น เกลอื NaCl จะตกผลึกแยกออกมากอ่ น นำสารละลายท่ไี ด้ไประเหยน้ำ ออกเพือ่ ทำใหม้ คี วามเขม้ ขน้ มากขึน้ ทำให้ KCl ตกผลกึ ออกมาและใช้เปน็ ปยุ๋ KCl ได้ ข้ันประเมนิ (Evaluation) 11. ประเมนิ นกั เรยี นจากการทำกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ี่ 1 “ฉันคใู่ คร” 12. ครูประเมินนกั เรียนโดยใช้คำถามวา่ หลกั การเรียกชอื่ ของสารประกอบไอออนกิ น้นั ทำไดอ้ ย่างไร

(แนวคำตอบ : วิธีการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกให้อ่านตามลำดับของธาตุที่เขียนในสูตร คือ เริ่ม จากธาตุแรกซงึ่ เกิดเป็นไอออนบวก (ธาตุโลหะ) แล้วตามดว้ ยธาตหุ ลังซง่ึ เป็นไอออนลบ (ธาตอุ โลหะ) 13. ครูประเมนิ นกั เรยี นโดยใช้คำถามว่า ธาตุไอออนบวก (ธาตโุ ลหะ) และธาตุไอออนลบ (ธาตุอโลหะ) มหี ลกั การเรียกช่อื อย่างไร (แนวคำตอบ : ธาตไุ อออนบวกจะเรยี กตามชอื่ ธาตุแลว้ ลงทา้ ยดว้ ยคำว่า ไอออน สว่ นธาตุไอออนลบ จะเรยี กชอ่ื ธาตโุ ดยเปล่ยี นทา้ ยเสียงเป็น ไ-ด์ (-ide) แลว้ ลงทา้ ยด้วยคำวา่ ไอออน) 14. ครปู ระเมินนักเรียนโดยใชค้ ำถามวา่ ไอออนท่ีเปน็ กลุม่ อะตอม มีหลกั การเรียกชอ่ื อย่างไร (แนวคำตอบ : จะมีชื่อเรียกเฉพาะ โดยกลุ่มอะตอมที่เป็นไอออนบวกลงท้ายด้วย -ium ส่วนกลุ่ม อะตอมทเ่ี ปน็ ไอออนลบอาจลงทา้ ยด้วย ไ-ด์ (-ide) ไ-ต์ (-ite) หรือ เ-ต (-ate) 15. ครูประเมินนักเรียนโดยใชค้ ำถามว่า การเรยี กช่ือสารประกอบท่เี กดิ จากเลขออกซเิ ดชันมากกวา่ 1 ค่ามีหลักการเรยี กชอ่ื อยา่ งไร (แนวคำตอบ : ต้องระบุตวั เลขประจุหรือเลขออกซเิ ดชันของไอออนโลหะนนั้ เป็นเลขโรมนั ในวงเลบ็ ดว้ ย) 16. ครใู หน้ ักเรียนทำแบบฝกึ หัดทา้ ยคาบ หากมีขอ้ ไหนที่นักเรียนตอบไม่ถกู ครแู ละนกั เรียนจะร่วมกนั อภิปรายให้ถกู ตอ้ ง 17. ประเมินนักเรียนจากการทำกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนการรวมตัวของไอออนใน สารประกอบไอออนิก 18. ครูประเมินนักเรียนโดยใช้คำถามว่า สูตรเคมีหรือสูตรเอมพิริคัลของสารประกอบไอออนิกนั้นทำ ได้อยา่ งไร (แนวคำตอบ : ใช้สูตรเอมพิริคัลแสดงอัตราส่วนอย่างต่ำของจำนวนไอออนที่เป็นองค์ประกอบ ซึ่งทำ ใหผ้ ลรวมของประจเุ ป็นกลางหรือเทา่ กับศนู ย์) 19. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน ในรูปแบบเกม “คิดให้ได้ ตอบให้ทัน” หากมีข้อไหนท่ี นักเรียนตอบไม่ถกู ครูและนักเรยี นจะรว่ มกนั อภิปรายให้ถกู ตอ้ ง การจัดบรรยากาศเชงิ บวก ครูกระตุ้นให้นักเรยี นแสดงความคดิ เหน็ โดยไมต่ อ้ งกงั วลวา่ ถกู หรือผดิ และชว่ ยกันปรบั ปรุงแก้ไขได้ ควรให้โอกาสนักเรียนได้นำเสนอผลการทำกจิ กรรมในช้ันเรยี น เพือ่ เป็นการแบ่งปนั ความรู้ตอ่ นกั เรยี นกล่มุ อน่ื ๆ และเกิดการอภปิ รายระหวา่ งกลุ่ม ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ

เรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 2. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 3. PowerPoint เรือ่ ง สูตรเคมีและชอ่ื ของสารประกอบไออนิก 4. วดิ ีโอเรอื่ ง การทำฝนหลวง (https://youtu.be/jJbrQhMR89U) 5. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง อัตราสว่ นการรวมตวั ของไอออนในสารประกอบไอออนิก 6. เวบ็ ไซต์ wordwall (https://wordwall.net/play/9524/448/960) 7. เกมสบ์ งิ โก (https://flippity.net/bipl.php?k=1N_1cSWuOVpuWTKlNPZKkJrd9 msVpdXTyTUcv7frCxsw) การวดั ผลประเมินผล วิธีการวดั เครอื่ งมือวดั เกณฑก์ ารวดั การผลประเมนิ ผลดา้ น - การทำแบบฝึกหัดท่ี 1 - แบบทดสอบหลังเรียน 80% ขน้ึ ไป ผา่ นเกณฑ์ 1. ดา้ นความรู้ความ เรอื่ ง สูตรเคมแี ละชอ่ื ของ เรือ่ งการเขียนสูตรเคมี เขา้ ใจ สารประกอบไอออนิก ของสารประกอบไอออนิก 80% ข้ึนไป ผา่ นเกณฑ์ - การทำแบบทดสอบหลงั - ใบแบบฝกึ หัดท่ี 1 เรือ่ ง 2. ดา้ นทกั ษะ เรยี นเรอ่ื งการเขียนสตู ร สูตรเคมแี ละชอ่ื ของสาร คณุ ภาพ พอใช้ ขนึ้ ไป กระบวนการ เคมีของสารประกอบไอ ประกอบไอออนกิ ผา่ นเกณฑ์ ออนกิ 3. ด้านลกั ษณะทพ่ี งึ - การทำกจิ กรรมการ - ใบงานการทำกิจกรรม ประสงค์ เรยี นร้ทู ่ี 1 “ฉันคใู่ คร” การเรียนรทู้ ่ี 1 “ฉันคู่ - การทำกิจกรรมการ ใคร” เรยี นรูท้ ี่ 2 เรอ่ื ง - ใบงานการทำกิจกรรม อัตราสว่ นการรวม การเรียนรู้ที่ 1 “คิดใหไ้ ด้ ตวั ของไอออนในสาร ตอบให้ทัน” ประกอบไอออนกิ สงั เกตพฤติกรรมผเู้ รยี น -แบบสงั เกตพฤติกรรม แบบกลุ่ม -สงั เกตพฤติกรรมแบบ รายบุคคล

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .....................................................ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรยี นรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ .....................................................ผตู้ รวจ(ครพู เ่ี ลย้ี ง) ................/.................../................

ใบความรู้ เรื่อง การอา่ นชอ่ื สารประกอบไอออนกิ วิธีการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกให้อ่านตามลำดับของธาตุที่เขียนในสูตร คือ เริ่มจากธาตุแรกซึ่ง เกดิ เปน็ ไอออนบวก (ธาตโุ ลหะ) แลว้ ตามดว้ ยธาตุหลงั ซง่ึ เป็นไอออนลบ (ธาตอุ โลหะ) ดงั น้ี 1. ธาตุไอออนบวก (ธาตุโลหะ) จะเรยี กตามชอ่ื ธาตุแล้วลงทา้ ยดว้ ยคำว่า ไอออน เช่น Na+ อา่ นว่า โซเดยี มไอออน Mg2+ อ่านว่า แมกนีเซยี มไอออน 2. ธาตไุ อออนลบ (ธาตอุ โลหะ) เรียกชอ่ื ธาตุโดยเปล่ียนทา้ ยเสียงเป็น ไ-ด์ (-ide) แล้วลงท้ายด้วยคำว่า ไอออน เช่น Br- อ่านวา่ โบรไมดไ์ อออน 3. ไอออนท่เี ป็นกลุ่มอะตอม จะมีชื่อเรียกเฉพาะ โดยกลุ่มอะตอมที่เป็นไอออนบวกลงท้ายด้วย -ium ส่วนกลุ่มอะตอมที่เป็น ไอออนลบอาจลงทา้ ยด้วย ไ-ด์ (-ide) ไ-ต์ (-ite) หรอื เ-ต (-ate) เชน่ NH4+ อา่ นว่า แอมโมเนยี มไอออน SO42- อา่ นวา่ ซลั เฟตไอออน CN- อา่ นวา่ ไซยาไนด์ไอออน NO2- อ่านวา่ ไนไทรตไ์ อออน 4. การเรียกช่ือสารประกอบไอออนกิ จะเรียก ไอออนบวกกอ่ นแล้วตามดว้ ยไอออนลบ โดยตดั คำว่าไอออนทงิ้ เชน่ KCN อ่านว่า โพแทสเซยี มไซยาไนด์ NH4Cl อ่านวา่ แอมโมเนยี มคลอไรด์ 5. การเรียกช่อื สารประกอบที่เกดิ จากเลขออกซิเดชันมากกว่า 1 คา่ ตอ้ งระบุตัวเลขประจุหรือเลขออกซเิ ดชนั ของไอออนโลหะนน้ั เป็นเลขโรมนั ในวงเล็บ

ใบกจิ กรรมที่ 1 “ฉนั ค่ใู คร” กลมุ่ ท่ี ................. สมาชกิ กลมุ่ 1. .................................................................... 2. .................................................................... 3. .................................................................... 4. .................................................................... คำช้แี จง ให้นักเรียนบันทึกผลการทำกิจกรรมที่ไดใ้ ห้ถกู ตอ้ ง 1.________________________ อ่านตามชอื่ ธาตแุ ลว้ ลงทา้ ยด้วย ไอออน 2.________________________ อา่ นตามชอื่ ธาตโุ ดยเปล่ยี นท้ายเสยี งเปน็ ไ-ด์ แล้วลงทา้ ยดว้ ยคำวา่ ไอออน 3.________________________ อะลมู เิ นยี มไอออน 4.________________________ โพแทสเซียมไอออน 5.________________________ โบรไมด์ไอออน 6.________________________ ไนไทรด์ไอออน 7. ________________________ อา่ นชอื่ โดยเปล่ียนคำลงทา้ ยเป็น เ-ยี ม 8. ________________________ อา่ นชอ่ื โดยเปล่ียนคำลงทา้ ยเป็นไ-ด์ ไ-ต์ หรอื เ-ต 9. ________________________ แอมโมเนยี มไอออน 10. _______________________ ไฮโดรเจนคารบ์ อเนตไอออน 11. _______________________ โซเดยี มไนไทรต์ 12. _______________________ แบเรียมฟอสเฟต 13. _______________________ คอปเปอร(์ II)ซลั ไฟด์ 14. _______________________ ไอรอ์ อน(III)ไฮดรอกไซด์ 15. _______________________ ไทเทเนียม(IV)คลอไรด์ 16. _______________________ แมงกานีส(VII)ออกไซด์ 17. _______________________ Al(OH)3 18. _______________________ Na2SO4 19. _______________________ (NH4)3PO4 20. _______________________ Mg(NO3)2 NaNO2 Mn2O7 แอมโมเนียมฟอสเฟต Al3+ NH4+ อะลมู เิ นยี มไฮดรอกไซด์ Ba3(PO4)2 Br- CuS ไอออนลบ TiCl4 กลุ่มอะตอมไอออนบวก HCO3- K+ กลุ่มอะตอมไอออนลบ N3- ไอออนบวก Fe(OH)3 โซเดียมซลั เฟต แมกนเี ซยี มไนเทรต

เฉลย กิจกรรมที่ 1 “ฉันคูใ่ คร” กลมุ่ ท่ี ................. สมาชกิ กล่มุ 1. .................................................................... 2. .................................................................... 3. .................................................................... 4. .................................................................... คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นบนั ทกึ ผลการทำกิจกรรมท่ไี ดใ้ หถ้ ูกต้อง 1._______ไอออนบวก_______ อา่ นตามชือ่ ธาตแุ ลว้ ลงทา้ ยดว้ ย ไอออน 2._______ ไอออนลบ_______ อ่านตามช่ือธาตุโดยเปลย่ี นท้ายเสียงเป็น ไ-ด์ แลว้ ลงท้ายดว้ ยคำวา่ ไอออน 3.________ Al3+ ___________ อะลูมเิ นียมไอออน 4._________ K+ ____________ โพแทสเซยี มไอออน 5.________ Br- _____________ โบรไมดไ์ อออน 6.________ N3- _____________ ไนไทรดไ์ อออน 7. _____กลมุ่ อะตอมไอออนบวก__ อ่านชอ่ื โดยเปลย่ี นคำลงทา้ ยเปน็ เ-ยี ม 8. ___กลมุ่ อะตอมไอออนลบ_____ อ่านชอื่ โดยเปลย่ี นคำลงทา้ ยเป็นไ-ด์ ไ-ต์ หรอื เ-ต 9. ________ NH4+ ___________ แอมโมเนียมไอออน 10. _______ HCO3- __________ ไฮโดรเจนคารบ์ อเนตไอออน 11. _______ NaNO2 __________ โซเดียมไนไทรต์ 12. ______ Ba3(PO4)2 _________ แบเรยี มฟอสเฟต 13. ________ CuS ___________ คอปเปอร์(II)ซัลไฟด์ 14. _______ Fe(OH)3 _________ ไอรอ์ อน(III)ไฮดรอกไซด์ 15. ________ TiCl4 ___________ ไทเทเนยี ม(IV)คลอไรด์ 16. ________ Mn2O7 _________ แมงกานสี (VII)ออกไซด์ 17. ___อะลมู เิ นยี มไฮดรอกไซด์____ Al(OH)3 18. _____โซเดียมซลั เฟต________ Na2SO4 19. __แอมโมเนียมฟอสเฟต______ (NH4)3PO4 20. ___แมกนเี ซยี มไนเทรต______ Mg(NO3)2 NaNO2 Mn2O7 แอมโมเนยี มฟอสเฟต Al3+ NH4+ อะลูมเิ นยี มไฮดรอกไซด์ Ba3(PO4)2 Br- CuS ไอออนลบ TiCl4 กลมุ่ อะตอมไอออนบวก HCO3- K+ กลมุ่ อะตอมไอออนลบ N3- ไอออนบวก Fe(OH)3 โซเดียมซลั เฟต แมกนเี ซยี มไนเทรต

แบบฝกึ หัด เรื่อง สูตรเคมแี ละชอ่ื ของสารประกอบไอออนิก 1. กําหนดใหธ้ าตุ X Y และ Z เปน็ ธาตุท่อี ยใู่ นหมู่ IA VIA และ VIIA ตามลาํ ดับ เขียนสตู รสารประกอบไอออนกิ ท่เี กดิ จากธาตตุ ่อไปน้ี 1.1 X กบั Y สูตรสารประกอบคอื X2Y เนอ่ื งจากธาตุ X อยู่หมู่ IA เกิดเปน็ X+ ธาตุ Y อยหู่ มู่ VIA เกิดเป็น Y2- 1.2 X กับ Z สูตรสารประกอบคอื XZ เนือ่ งจากธาตุ X อยู่หมู่ IA เกิดเปน็ X+ ธาตุ Z อยหู่ มู่ VIIA เกิดเป็น Z- 2. เรยี กชอื่ สารประกอบไอออนิกตอ่ ไปน้ี 2.1 NH4CN แอมโมเนยี มไซยาไนด์(ammonium cyanide) 2.2 Na2HPO4 โซเดยี มไฮโดรเจนฟอสเฟต (sodium hydrogen phosphate) 2.3 Al2(CO3)3 อะลมู เิ นียมคารบ์ อเนต (aluminium carbonate) 2.4 Ca3(PO4)2 แคลเซยี มฟอสเฟต (calcium phosphate) 2.5 Fe2O3 ไอร์ออน(III)ออกไซด(์ iron(III) oxide) 3. เขียนสตู รและชอื่ ของสารประกอบไอออนิกที่เกดิ จากไอออนบวกและไอออนลบท่กี าํ หนดให้ตอ่ ไปน้ี ข้อ ไอออนบวก ไอออนลบ สูตร ชื่อสารประกอบ 3.1 Ba2+ S2- BaS แบเรียมซัลไฟด์ (barium sulfide) 3.2 Al3+ OH- Al(OH)3 อะลูมเิ นยี มไฮดรอกไซด์ (aluminium hydroxide) 3.3 Na+ SO42- Na2SO4 โซเดยี มซัลเฟต (sodium sulfate) 3.4 Ca2+ CO32- CaCO3 แคลเซยี มคาร์บอเนต (calcium carbonate) 3.5 NH4+ PO43- (NH4)3PO4 แอมโมเนยี มฟอสเฟต (ammonium phosphate)

4. เขยี นสูตรและชอ่ื ของสารประกอบไอออนิกท่ีกําหนดให้ต่อไปนี้ 4.1 Pb2+ และ Pb4+ กบั Cl- PbCl2 เลด(II)คลอไรด์ (lead(II) chloride) PbCl4 เลด(IV)คลอไรด์ (lead(IV) chloride) 4.2 Mn2+ และ Mn4+ กบั O2- MnO แมงกานีส(II)ออกไซด์ (manganese(II) oxide) MnO2 แมงกานสี (IV)ออกไซด์ (manganese(IV) oxide) 4.3 Sn2+ และ Sn4+ กับ SO42- SnSO4 ทนิ (II)ซลั เฟต (tin(II) sulfate) Sn(SO4)2 ทนิ (IV)ซัลเฟต (tin(IV) sulfate) 5. เขยี นสูตรสารประกอบไอออนิกทกี่ าํ หนดให้ต่อไปน้ี 5.1 ลิเทียมคารบ์ อเนต (lithium carbonate) Li2CO3 5.2 ไอร์ออน(III)ไนเทรต (iron(III) nitrate) Fe(NO3)3 5.3 คอปเปอร(์ II)ซัลเฟต (copper(II) sulfate) CuSO4 5.4 อะลูมิเนียมฟอสเฟต (aluminium phosphate) AlPO4 5.5 แอมโมเนยี มไฮดรอกไซด(์ ammonium hydroxide) NH4OH

กจิ กรรมที่ 2 เรือ่ ง อตั ราส่วนการรวมตวั ของไอออนในสารประกอบไอออนกิ วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ 1. กระดาษแขง็ 2. ปากกาเมจกิ 3. กรรไกร วธิ ที าํ กจิ กรรม 1. ตดั กระดาษสีและใชป้ ากกาเมจิกเขียนไอออนของสารลงบนกระดาษท่ตี ัด โดยกาํ หนดลกั ษณะของ กระดาษและไอออนดงั ตาราง (ไอออนละ 3 ช้นิ ) 2. ใหน้ กั เรยี นทํากจิ กรรมโดยนาํ กระดาษสีทเี่ ป็นไอออนบวกและไอออนลบต่อกนั ใหเ้ กิดเปน็ รปู ส่ีเหลยี่ ม เช่น สารประกอบที่เกดิ จาก Na+ กับ S2- จะต้องใช้กระดาษที่เขยี น Na+ 2 แผ่น และกระดาษทเี่ ขยี น S2- 1 แผน่ ดงั ภาพ

ใบงานกิจกรรมที่ 1 เรอ่ื ง อัตราส่วนการรวมตวั ของไอออนในสารประกอบไอออนิก กล่มุ ท่ี ................. สมาชิกกลุ่ม 1. .................................................................... 2. .................................................................... 3. .................................................................... คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนบันทกึ ผลการทำกิจกรรมทไ่ี ด้ใหถ้ กู ตอ้ ง ขอ้ ไอออนบวก ไอออนลบ อัตราสว่ น สูตรเอมพิรคิ ลั



เฉลย กจิ กรรม 1.1 เร่ือง อัตราสว่ นการรวมตวั ของไอออนในสารประกอบไอออนกิ กลุ่มท่ี ................. สมาชกิ กลมุ่ 1. .................................................................... 2. .................................................................... 3. .................................................................... คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนบนั ทกึ ผลการทำกจิ กรรมที่ได้ใหถ้ กู ตอ้ ง ข้อ ไอออนบวก ไอออนลบ อัตราสว่ น สูตรเอมพริ คิ ลั 1 Na+ F - 1:1 NaF 2 Na+ I- 1:1 NaI 3 Ag+ F - 1:1 AgF 4 Ag+ I- 1:1 AgI 5 Cu+ F - 1:1 CuF 6 Cu+ I- 1:1 CuI 7 Li+ F - 1:1 LiF 8 Li+ I- 1:1 LiI 9 Na+ S2- 2:1 Na2S 10 Na+ O2- 2:1 Na2O 11 Ag+ S2- 2:1 Ag2S 12 Ag+ O2- 2:1 Ag2O 13 Cu+ S2- 2:1 Cu2S 14 Cu+ O2- 2:1 Cu2O 15 Li+ S2- 2:1 Li2S 16 Li+ O2- 2:1 Li2O 17 Na+ N3- 3:1 Na3N 18 Ag+ N3- 3:1 Ag3N 19 Cu+ N3- 3:1 Cu3N 20 Li+ N3- 3:1 Li3N 21 Ba2+ F - 1:2 BaF2 22 Ba2+ I- 1:2 BaI2 23 Cu2+ F - 1:2 CuF2

24 Cu2+ I- 1:2 CuI2 25 Ba2+ S2- 1:1 BaS 26 Ba2+ O2- 1:1 BaO 27 Cu2+ S2- 1:1 CuS 28 Cu2+ O2- 1:1 CuO 29 Ba2+ N3- 3:2 Ba3N2 30 Cu2+ N3- 3:2 Cu3N2 31 Al3+ F - 1:3 AlF3 32 Al3+ I- 1:3 AlI3 33 Al3+ S2- 2:3 Al2S3 34 Al3+ O2- 2:3 Al2O3 35 Al3+ N3- 1:1 AlN

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ กลมุ่ คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับระดับคะแนน กลุ่ม …………………… สมาชกิ ของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. คณุ ภาพการปฏบิ ัติ ลำดบั ท่ี พฤติกรรม 432 1 1 มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรับฟังกนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามกระตือรือร้น และตังใจในการทำงาน 3 มีการจดั การทดี่ ภี ายในกลุ่มมกี ารวางแผนอย่างเปน็ ระบบ 4 มีการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในกลุ่ม 5 มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน 6 มีการทำงานไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย รวม ลงชอื่ ……………………………………………………ผู้ประเมิน ….………/……………./………….. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้งั = 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั 21-24 ดมี าก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรับปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ลำดบั ชือ่ -นามสกุล ผูถ้ ูกประเมนิ พฤตกิ รรม รวม ต้งั ใจในการ การตอบ มคี วาม ตรงตอ่ ทำงาน คำถาม รบั ผิดชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ = 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง = 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั 10-12 ดีมาก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรงุ

บนั ทกึ หลงั สอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ นกั เรยี นเขียนสตู รเอมพริ คิ ลั ของสารประกอบไอออนิกได้ ด้านทักษะ นกั เรียนหาสตู รเอมพิริคลั ในสารประกอบไอออนิกจากการทำกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ และว่องไว ด้านคุณธรรม นกั เรยี นมีความกระตอื รอื รน้ ในการเรยี นการสอนและเขา้ เรยี นอย่างสมำ่ เสมอ ดา้ นทักษะชวี ิตเพอื่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปญั หา/อปุ สรรค และข้อคน้ พบ นกั เรยี นมีความเบอ่ื หนา่ ยตอ่ การอ่านชอ่ื สารประกอบไอออนิก เน่อื งจากมีเนอ้ื หาทย่ี าก ๓. ขอ้ เสนอแนะแนวทางแก้ไข และผลการแก้ไข หาเกมท่ชี ่วยใหเ้ ดก็ ได้รบั ความรูแ้ ละความสนุกสนาน ลงชอ่ื .....................................................ผู้สอน (................................................)



แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 4 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 พนั ธะเคมี เรือ่ งพลังงานกบั การเกิด เวลา 2 ชวั่ โมง สารประกอบไอออนกิ รหสั วชิ า ว 31221 วชิ า เคมี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สาระเคมี เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุพันธะเคมีและสมบัติของสาร แก๊สและสมบตั ิของแกส๊ ประเภทและสมบตั ิของสารประกอบอนิ ทรยี ์และพอลเิ มอร์ รวมทง้ั การนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรยี นรู้ ม.4/11 คํานวณพลังงานทเ่ี กย่ี วข้องกับปฏกิ ิรยิ าการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวฏั จักรบอรน์ -ฮาเบอร์ สาระการเรียนรู้ ปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบไอออนิกจากธาตุเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมีหลายขั้นตอน มีทั้งที่เป็น ปฏิกิริยาดดู พลังงานและคายพลังงาน ซึ่งแสดงได้ดว้ ยวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์และพลังงานของปฏิกิริยาการเกดิ สารประกอบไอออนกิ เป็นผลรวมของพลงั งานทกุ ข้นั ตอน สาระสำคญั ปฏิกิริยาเคมีนอกจากจะเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีแล้ว ยังเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง พลงั งานดว้ ย ซึ่งพลงั งานการเกดิ (Heat of Formation) ของสารประกอบไอออนิกจะหาได้จากการทดลองใน การทำปฏิกริ ยิ าระหวา่ งธาตุ เชน่ Na(s) + 1/2Cl2 (g) → NaCl(s) เปน็ ตน้ ปฏิกิริยาเคมีจะเกี่ยวข้องกับการสลายและการสร้างพนั ธะ ซึ่งการสลายพันธะจะเป็นกระบวนการดดู พลงั งาน ในขณะที่การสร้างพันธะจะเป็นการคายพลงั งาน ดงั น้นั ปฏกิ ริ ิยาทเี่ กิดจากการรวมกนั ของไอออนบวก กับไอออนลบ เกิดเป็นสารประกอบไอออนิกเป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน โดยพลังงานที่ไอออนบวกและไอออน ลบยึดติดกันเป็นโครง ผลึกนั้นเราจะเรียกว่า”พลังงานโครงผลึก”ซึ่งในทางปฏิบัติเราไม่สามารถนาไอออน บริสุทธิ์มาทำปฏิกิริยากันได้จึงต้อง เป็นค่าพลังงานที่ได้จากการคำนวณอาศัยปฏิกิริยาย่อย ๆ ตามวัฏจักร บอร์น-ฮาเบอร์โดยมีสมมติฐานว่า พลังงานรวม ในแต่ละขั้นตอนจะเท่ากับพลังงานในการเกิดสารประกอบไอ ออนิก ซึง่ ข้ันตอนของวฏั จกั รบอร์น-ฮาเบอรแ์ บง่ ออกเป็น 5 ขั้นตอน ดงั น้ี 1.พลังงานการระเหดิ (Heat of Sublimation) 2.พลังงานไอออไนเซชั่น (Ionization Energy, IE)

3.พลังงานพันธะ (Bond Energy) 4.พลงั งานสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity, EA) 5.พลังงานโครงผลกึ หรือพลงั งานแลตทซิ (Lattice Energy) จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถคํานวณพลังงานท่ีเก่ียวข้องกับปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏจักรบอร์น- ฮาเบอร์ได้ (K) 2. สามารถบอกข้ันตอนการเกดิ สารประกอบไอออนิกได้ (K) 3. สามารถใช้ทักษะเรื่องจำนวนและตัวเลขในการคำนวณพลังงานที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาการเกิด สารประกอบไอออนกิ และสามารถเขยี นแผนภาพวฏั จกั รบอรน์ -ฮาเบอรไ์ ด้อยา่ งถูกต้อง ว่องไว และแม่นยำ (P) 4. มีความมุ่งมั่นตั้งใจในการเรียนรู้ ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม และมีจิตสาธารณะในการ ทำงานร่วมกบั ผ้อู น่ื ไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ (A) คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ✓ 2. ซือ่ สัตย์ สจุ ริต ✓ 3. มีวินยั ✓ 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 5. อยอู่ ย่างพอเพียง ✓ 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย ✓ 8. มีจติ สาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ✓ 1. มคี วามสามารถในการสอ่ื สาร ✓ 2. มคี วามสามารถในการคิด ✓ 3. มีความสามารถในการแก้ปญั หา ✓ 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ✓ 5. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลัก (Core Subjects) ✓ 2. ทกั ษะการเรยี นรู้ และนวตั กรรม ✓ 3. ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ ส่อื และเทคโนโลยี ✓ 4. ทักษะด้านชวี ติ และอาชีพ

กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูกล่าวคำทักทายนักเรียน นำเข้าสู่การศกึ ษาเรือ่ ง พลังงานกับการเกดิ สารประกอบไอออนิก โดย เปดิ วีดโี อเกี่ยวกับการเกิดสารประกอบ NaCl จาก ปฏกิ ิริยาระหว่างโลหะโซเดียมกบั แกส๊ คลอรนี จากนั้นครูตั้ง คำถามกับนักเรียนว่า การเกดิ สารประกอบโซเดยี มคลอไรด์มีกระบวนการใดบ้างเขา้ มาเก่ยี วขอ้ ง (แนวคำตอบ : มกี ารเปลย่ี นสถานะของสาร มีการดูดหรือคายพลังงานจากการสรา้ งหรือสลายพนั ธะ มีการแตก ตวั เปน็ ไอออน) 2. เมื่อครูถามคำถามแก่นักเรียนเสร็จแล้ว ให้นักเรียนจำนวน 3-4 คน ยกมือตอบคำถามในแต่ละ ครั้งในข้อที่ 1 โดยถ้ามีนักเรียนคนใดตอบคำถามแล้วใกล้เคียงกับแนวทางการตอบคำถามที่ได้ตั้งเกณฑ์ไว้จะ ได้รับคะแนนสะสมเป็น รูปสารประกอบไอออนิก ซึ่งนักเรียนที่ตอบถูกจะได้รูปครั้งละ 1 รูป (1 รูป เท่ากับ 1 คะแนน) ซึง่ คะแนนในการตอบคำถามครง้ั นจ้ี ะนำไปสะสมรวมกบั คะแนนในการทำกจิ กรรมในบทพนั ธะเคมี 3. เมื่อนักเรียนทราบแล้วว่าวันนี้จะมาศึกษาเกี่ยวกับเรื่องอะไร ครูอธิบายเน้นย้ำอีกครั้งหนึ่งเพื่อ ความเข้าใจที่ตรงกันว่าจากที่ครูได้ตั้งคำถามให้นักเรียนตอบไปเมื่อสักครู่ วันนี้ครูจะพานักเรียนไปศึกษา พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก ขัน้ สำรวจและคน้ หา (Exploretion) 4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยการแบ่งกลุ่มจะแบ่งจากที่ครูผู้สอนเป็น คนแจกให้ โดยจะมีกลุ่มดังนี้ (กลุ่มที่ 1 พลังงานที่เกี่ยวข้องกับโลหะ,กลุ่มที่ 2 พลังงานที่เกี่ยวข้องกับ อโลหะ,กลุ่มที่ 3 พลังงานในการรวมตัวกันของไอออน และกลุ่มที่ 4 พลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเกิด สารประกอบไอออนิก) เมื่อแบ่งกลุ่มเสร็จแล้ว ครูจะทำการอธิบายและให้นักเรียนร่วมกันศึกษากิจกรรมที่ 1 เรอ่ื ง พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก จากใบงานท่ีครแู จกให้ 5. เมื่อนกั เรียนรวมกลุ่มกันได้แลว้ ให้นักเรียนรว่ มกันสรุปข้อมูล เกย่ี วกับการเกิดสารประกอบไอออนิกว่า มีกระบวนการใดบา้ ง วัฏจกั รบอร์น-ฮาเบอรค์ ืออะไร และเขา้ ไปทดสอบความเข้าใจในรูปแบบเกม “หาคู่ให้ฉันท”ี 6. จากนั้นให้นกั เรียนทำกิจกรรม “แต่งเติมช่องว่าง” โดยให้แตล่ ะกลุม่ นำแผ่นป้ายคำตอบใส่ลงไปใน แผ่นป้ายคำตอบที่ครูผู้สอนแจกให้ และให้นักเรียนบันทึกแผนภาพที่กลุ่มตัวเองเขียนได้ลงไปในแบบบนั ทึกผล ในใบกจิ กรรมที่ครูแจกให้ 4. เมื่อนักเรียนทำการสรุปข้อมูลได้แล้วให้บันทึกลงในแบบบันทึกที่ครูแจกให้ จากนั้นเมื่อแต่ละกลุ่ม เกิดความเขา้ ใจท่ตี รงกนั แลว้ ให้แต่ละกลมุ่ ทำกจิ กรรม ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explaination) 5. ครูให้นักเรียนนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรมที่ 1 แล้วอภิปรายร่วมกันในประเด็น พลงั งานกับการเกิดสารประกอบไอออนกิ ที่ได้จากการทำกิจกรรม และรว่ มกนั สรุปกิจกรรม

(แนวการสรุป : การศึกษาการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดสารประกอบไอออนิก ตามที่ Max Born และ Frittz Haber ผทู้ ี่ท าให้เกดิ วฏั จกั รบอร์น-ฮาเบอร์ ไดต้ ง้ั สมมติฐานไวว้ า่ การเกดิ สารประกอบไอออ นิกชนิดหนง่ึ ๆ นัน้ มี ข้นั ตอนในการเกิด ขน้ึ อยกู่ ับสมบัติของสารตัง้ ตน้ และในแตล่ ะขัน้ ตอนมีการเปลี่ยนแปลง พลังงานเกิดขนึ้ ดว้ ย ซึง่ พลังงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งน้ีสามารถจำแนกไดเ้ ป็น 4 ลกั ษณะ ดงั นี้ 1. พลังงานท่ีเก่ยี วข้องกบั โลหะ - พลงั งานการระเหิด (Heat of Sublimation) - พลงั งานการระเหย (Heat of Vaporisation) - พลงั งานไอออไนเซชนั่ (Ionization Energy, IE) 2. พลังงานทเี่ กี่ยวข้องกับอโลหะ - พลงั งานการระเหย (Heat of Vaporisation) - พลังงานพันธะ (Bond Energy) - พลงั งานสัมพรรคภาพอเิ ลก็ ตรอน (Electron Affinity, EA) 3. พลังงานในการรวมตัวกันของไอออน - พลงั งานโครงผลกึ หรอื พลังงานแลตทิซ (Lattice Energy) 4. พลงั งานท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การเกดิ สารประกอบไอออนกิ - พลังงานการเกิด (Heat of Formation) 6. ครูยกตัวอย่างการเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์โดยอธิบายทีละขั้นว่าแต่ละขั้นตอนนั้นเป็น อยา่ งไร และมีลำดับในการเกดิ สารประกอบโซเดียมคลอไรดต์ ามวัฏจกั รบอรน์ -ฮาเบอร์ ดงั ภาพ ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) 7. ครูอธิบายเพิ่มเติมจากที่ให้นักเรียนหาข้อมูลสารประกอบไอออนิกตัวอื่น ๆ ที่ไม่ใช่โซเดียม คลอไรด์น้ัน จะมีกระบวนการเกิดคล้ายกันขึ้นอยู่กับสารต้ังต้นว่าอยู่ในสภาวะใดหากสารต้ังต้นต่างสภาวะ พลังงานที่เกิดข้ึนก็จะแตกต่างไปจากสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ท่ียกตัวอย่าง

8. ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับการเขียนวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ของสารประกอบโซเดียมคลอไรด์มีการ กำหนด รปู แบบหรอื ลำดบั ตายตวั หรอื ไมอ่ ยา่ งไร (แนวคำตอบ : ไม่ตายตวั เน่ืองจากรปู แบบในการเขยี นแสดงวัฏจกั รของบอร์น-ฮารเ์ บอร์ ไมไ่ ด้กำหนด รูปแบบตายตัวความสำคัญอยู่ที่ความต่อเนื่องของขั้นตอน และแสดงพลังงานที่เกี่ยวข้องให้ตรงกัน เช่น กระบวนการ โซเดียมคลอไรด์สามารถสลับลำดับขั้นตอนได้โดยเขียนขั้นที่ 3 การสลายพันธะ Cl-Cl ก่อนขั้นท่ี 2 การให้อเิ ลก็ ตรอน ของ Na ในสถานะแก๊สกลายเป็น Na+ เรียงลำดับใหมไ่ ด้เปน็ 1 3 2 4 5 ดังนี้) ขั้นประเมนิ (Evaluation) 9. ครูประเมนิ นักเรียนจากการทำกิจกรรมการเรียนรทู้ ่ี 1 “แต่งเติมช่องวา่ ง” 10. ครปู ระเมินนกั เรยี นโดยใชค้ ำถามวา่ ปฏกิ ิริยาเคมีทเี่ กดิ ข้ึนมีการเปลี่ยนแปลงพลงั งานการเกดิ อย่างไรบ้าง (แนวคำตอบ : การสร้างพันธะเป็นกระบวนการคายความรอ้ น (Exothermic reaction) การสลาย พันธะเปน็ กระบวนการดดู ความรอ้ น (Endothermic reaction) 11. ประเมินนักเรยี นจากการทำแบบฝกึ หดั หากมขี ้อไหนที่นกั เรียนตอบไมถ่ ูก ครแู ละนกั เรยี นจะ ร่วมกันอภปิ รายใหถ้ ูกตอ้ ง การจดั บรรยากาศเชงิ บวก ครกู ระตุ้นใหน้ ักเรยี นแสดงความคดิ เหน็ โดยไมต่ ้องกังวลวา่ ถกู หรอื ผดิ และชว่ ยกนั ปรบั ปรุงแกไ้ ขได้ ควรให้โอกาสนักเรยี นไดน้ ำเสนอผลการทำกิจกรรมในชน้ั เรยี น เพอื่ เป็นการแบ่งปนั ความร้ตู อ่ นักเรยี นกลมุ่ อื่น ๆ และเกิดการอภิปรายระหวา่ งกล่มุ

สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 2. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 3. PowerPoint เรื่อง พลังงานกับการเกดิ สารประกอบไอออนกิ 4. วิดีโอเรื่อง การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (https://www.youtube.com/watch?v=S- NXaZl4pPY&t=65s) 5. เกมส์กระดาน”แตง่ เติมชอ่ งวา่ ง” 6. เว็บไซต์ wordwall (https://wordwall.net/play/9553/685/877) การวดั ผลประเมนิ ผล วิธีการวัด เครือ่ งมอื วัด เกณฑก์ ารวดั การผลประเมินผล 80% ขน้ึ ไป ผา่ นเกณฑ์ ดา้ น - กจิ กรรมที่ 1 ”แต่งเติม - ใบงานกิจกรรมที่ 2 80% ขึ้นไป ผา่ นเกณฑ์ 1. ด้านความร้คู วาม ช่องว่าง” - แบบฝึกหัดที่ 1 เร่ือง เข้าใจ คณุ ภาพ พอใช้ ขน้ึ ไป - การทำแบบฝึกหดั หลงั พลงั งานกับการเกิด ผา่ นเกณฑ์ 2. ด้านทักษะ กระบวนการ เรยี น เรอื่ ง พลงั งานกับการ สารประกอบไอออนิก 3. ดา้ นลักษณะทีพ่ งึ เกดิ สารประกอบไอออนกิ ประสงค์ - การคำนวณค่าพลังงาน - ใบงานกจิ กรรมท่ี 2 การ เกิดสารประกอบ - การทำกิจกรรม”แตง่ เตมิ ช่องวา่ ง” โดยผ้เู รียน สามารถตอบไดม้ ากกวา่ 1 รูปแบบต่อกลมุ่ สังเกตพฤติกรรมผเู้ รยี น -แบบสังเกตพฤตกิ รรม แบบกลุ่ม -สังเกตพฤตกิ รรมแบบ รายบคุ คล

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .....................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.....................................................ผูต้ รวจ(ครพู เ่ี ลี้ยง) ................/.................../................

ใบงานที่ 1 สรปุ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การเกดิ สารประกอบไอออนิก คำชีแ้ จง จงบนั ทกึ ขอ้ มูลท่สี ืบคน้ ลงในชอ่ งวา่ งท่ี กำหนด ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ใบงานท่ี 2 กิจกรรมเกมส์ ”แต่งเตมิ ช่องว่าง” เรื่อง พลงั งานกบั การเกิดสารประกอบไอออนกิ วัสดุ /อุปกรณ์ 1. กระดานแผนภาพวฏั จักรบอรน์ -ฮาเบอร์ 2. แผ่นป้ายคำตอบ วธิ ีเลน่ 1. นกั เรยี นทกุ กลุ่มไดร้ ับกระดานแผนภาพวัฏจกั รบอร์น-ฮาเบอร์ และแผ่นปา้ ยคำตอบ 2. ให้นกั เรยี นดูโจทย์บน Powerpoint แลว้ ใหน้ กั เรยี นทำการนำแผ่นป้ายคำตอบใสล่ งไปในแผ่นปา้ ย คำตอบ 3. ใหแ้ ต่ละกลุ่มตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยหลงั จากน้นั ให้นกั เรียนนำเสนอแผนภาพวฏั จกั รบอร์น-ฮา เบอร์ ของกล่มุ ตวั เอง 4. ให้นักเรยี นบันทึกแผนภาพท่ีตวั เองเขียนลงในแบบบันทึกทคี่ รแู จกให้ 6. ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มเรียงลำดับการเกิดสารประกอบตวั เดมิ ใหมอ่ กี ครัง้ และบันทกึ ผลลงในแบบ บนั ทกึ ผล

ใบงานท่ี 2 กจิ กรรมเกมส์ ”แต่งเตมิ ช่องวา่ ง” เรื่อง พลังงานกบั การเกิดสารประกอบไอออนิก กลุ่มท่.ี ............. สมาชกิ ของกลมุ่ 1....................................................... 2........................................................ 3....................................................... 4........................................................ ผลการทำกจิ กรรม

แบบฝกึ หัดท่ี 1 พลงั งานกบั การเกิดสารประกอบไอออนิก 1.ในการเกดิ สารประกอบไอออนิกจำเป็นตอ้ งอาศัยพลังงานในการเกดิ ของสารประกอบ เราจะทราบค่า พลงั งานในการเกดิ นไี้ ด้อย่างไร จงอธิบาย ตอบ ..................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. จงอธิบายวา่ ทำไมการเกิดสารประกอบไอออนกิ แต่ละข้ันตอน จึงมีการเปลย่ี นแปลงพลังงานทีเ่ กดิ ขึ้น ไมเ่ ท่ากนั ตอบ ..................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. กำหนดคา่ พลังงานท่เี กย่ี วข้อง ดังนี้ ชนิดของพลงั งาน คา่ ของพลังงาน (kJ/mol) พลงั งานแลตทิซของ CsF 759 พลังงานสมั พรรคภาพอเิ ลก็ ตรอนของ F 328 พลังงานการระเหิดของ Cs 76 พลงั งานพนั ธะของ F2 159 พลังงาน Ionization ล าดบั ที่ 1 ของ Cs 376 3.1 เขยี นสมการของปฏกิ ิริยาและสมการของปฏกิ ริ ิยาย่อยของการเกิดสารประกอบ พรอ้ มทั้งระบวุ า่ แต่ละขั้นตอนดูดพลังงานหรอื คายพลงั งาน .................................................................................................................................................................. ชนดิ ของพลงั งาน สมการของปฏิกริ ยิ า ดูดหรอื คายพลังงาน Cs(s) → Cs(g) Cs(g) → Cs+(g) + e- 1/2F2(g) → F(g) F(g) + e- → F-(g) Cs+(s) + F-(s) →CsF(s)

3.2 จงเขียนแผนภาพวฏั จักรบอรน์ -ฮาเบอร์ของการเกดิ CsF ต่อไปนี้ และคำนวณหาพลงั งานรวม คา่ พลงั งานรวม = ………………….…………………………………………………………………………………. = ………………….………………………………………………………………………………….

เฉลย กิจกรรมเกมส์ ”แต่งเตมิ ชอ่ งวา่ ง”

เฉลย แบบฝึกหัดที่ 1 พลังงานกบั การเกิดสารประกอบไอออนกิ 1.ในการเกดิ สารประกอบไอออนิกจำเป็นตอ้ งอาศัยพลงั งานในการเกิดของสารประกอบ เราจะทราบคา่ พลงั งานในการเกิดนี้ไดอ้ ยา่ งไร จงอธบิ าย ตอบ เราสามารถหาค่าพลังงานน้ีไดจ้ ากการทดลองโดยการทำปฏกิ ริ ิยากนั ระหวา่ งอะตอมของธาตุ 2. จงอธิบายวา่ ทำไมการเกิดสารประกอบไอออนิกแต่ละขน้ั ตอน จงึ มีการเปล่ียนแปลงพลงั งานท่ีเกดิ ขนึ้ ไมเ่ ท่ากนั ตอบ เน่อื งจากในการเกิดสารประกอบไอออนิกน้นั เราไมส่ ามารถนำไอออนบวกและไอออนลบทบี่ ริสทุ ธิม์ าทำ ปฏิกริ ยิ ากนั ได้ ค่าพลงั งานจึงได้จากการรวมปฏิกิรยิ าย่อย ๆ หลายขนั้ ตามวฏั จักรบอร์น-ฮาเบอร์ ซง่ึ ในการเกิด สารประกอบไอออนิกจะมีลำดบั การเกดิ ปฏกิ ิริยาเป็นขนั้ ตอนจนไดส้ ารผลิตภณั ฑซ์ ่งึ ในแต่ละข้ันตอนกไ็ ม่ได้ เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าแบบเดียวกันจงึ ทำใหก้ ารเกิดแต่ละขัน้ ตอนมกี ารเปล่ยี นแปลงพลงั งานท่ไี ม่เหมือนกนั 3. กำหนดคา่ พลังงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง ดังน้ี ชนิดของพลังงาน คา่ ของพลงั งาน (kJ/mol) พลงั งานแลตทซิ ของ CsF 759 พลงั งานสมั พรรคภาพอเิ ล็กตรอนของ F 328 พลังงานการระเหดิ ของ Cs 76 พลงั งานพนั ธะของ F2 159 พลงั งาน Ionization ล าดับที่ 1 ของ Cs 376 3.1 เขียนสมการของปฏิกิริยาและสมการของปฏกิ ิริยายอ่ ยของการเกดิ สารประกอบ พร้อมทัง้ ระบวุ า่ แต่ละขั้นตอนดดู พลังงานหรอื คายพลังงาน สมการของปฏกิ ริ ยิ าเปน็ ดงั น้ี Cs(s) + 1/2F2(g) → CsF(s) ชนิดของพลังงาน สมการของปฏกิ ิริยา ดูดหรอื คายพลังงาน พลงั งานการระเหดิ Cs(s) → Cs(g) ดูดพลังงาน พลงั งานไอออไนเซชนั Cs(g) → Cs+(g) + e- ดูดพลงั งาน พลังงานพันธะ 1/2F2(g) → F(g) ดูดพลงั งาน สัมพรรคภาพอเิ ลก็ ตรอน F(g) + e- → F-(g) คายพลงั งาน พลังงานแลตทิซ Cs+(s) + F-(s) →CsF(s) คายพลังงาน

3.2 จงเขยี นแผนภาพวฏั จักรบอร์น-ฮาเบอรข์ องการเกดิ CsF ต่อไปนี้ และคำนวณหาพลงั งานรวม พลงั งานรวม = 76 + 376 + 79.5 + (-328) + (-759) = -555.5 kJ ดงั นน้ั การเกิดสารประกอบซเี ซียมฟลอู อไรดเ์ ปน็ ปฏิกริ ยิ าคายพลงั งานและมพี ลงั งานรวมของปฏิกิรยิ าเทา่ กบั 555.5 กโิ ลจลู ต่อโมล

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ กลมุ่ คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับระดับคะแนน กลุ่ม …………………… สมาชกิ ของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. คณุ ภาพการปฏบิ ัติ ลำดบั ท่ี พฤติกรรม 432 1 1 มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรับฟังกนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามกระตือรือร้น และตังใจในการทำงาน 3 มีการจดั การทดี่ ภี ายในกลุ่มมกี ารวางแผนอย่างเปน็ ระบบ 4 มีการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในกลุ่ม 5 มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน 6 มีการทำงานไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย รวม ลงชอื่ ……………………………………………………ผู้ประเมิน ….………/……………./………….. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้งั = 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั 21-24 ดมี าก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรับปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ลำดบั ชือ่ -นามสกุล ผูถ้ ูกประเมนิ พฤตกิ รรม รวม ต้งั ใจในการ การตอบ มคี วาม ตรงตอ่ ทำงาน คำถาม รบั ผิดชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ = 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง = 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั 10-12 ดีมาก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรงุ

บันทึกหลงั สอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ นักเรียนคํานวณพลังงานท่ีเก่ียวข้องกับปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏจักรบอร์น - ฮาเบอร์ได้และบอกข้ันตอนการเกิดสารประกอบไอออนกิ ได้ ด้านทกั ษะ นักเรียนใช้ทักษะเรื่องจำนวนและตัวเลขในการคำนวณพลังงานที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาการเกิด สารประกอบไอออนกิ และสามารถเขยี นแผนภาพวฏั จกั รบอร์น-ฮาเบอร์ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง วอ่ งไว และแมน่ ยำ ด้านคณุ ธรรม นกั เรยี นมคี วามกระตอื รอื รน้ ในการเรยี นการสอนและเข้าเรยี นอย่างสม่ำเสมอ ด้านทักษะชวี ติ เพอื่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปญั หา/อปุ สรรค และขอ้ คน้ พบ ไมม่ ี ๓. ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข และผลการแกไ้ ข ไมม่ ี ลงชอ่ื .....................................................ผู้สอน (................................................)



แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 5 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3 พนั ธะเคมี เรือ่ งสมบัติของสารประกอบ เวลา 2 ชวั่ โมง ไอออนกิ รหสั วชิ า ว 31221 วชิ า เคมี 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สาระเคมี เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุพันธะเคมีและสมบัติของสาร แกส๊ และสมบัติของแกส๊ ประเภทและสมบัติของสารประกอบอนิ ทรยี ์และพอลเิ มอร์ รวมทั้งการนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรยี นรู้ ม.4/12 อธิบายสมบัติของสารประกอบไอออนิก สาระการเรยี นรู้ สารประกอบไอออนิกส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นผลึกของแข็ง เปราะ มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง ละลายน้ำแล้วแตกตัวเป็นไอออน เรียกว่า สารละลายอิเล็กโทรไลต์เมื่อเป็นของแข็ง ไม่นําไฟฟ้า แต่ถ้าทําให้ หลอมเหลวหรอื ละลายในนำ้ จะนาํ ไฟฟา้ สารละลายของสารประกอบไอออนิกแสดงสมบัติ ความเป็นกรด-เบส ต่างกัน สารละลายของ สารประกอบคลอไรด์มสี มบัตเิ ปน็ กลาง และสารละลายของสารประกอบออกไซด์มีสมบตั ิเป็นเบส สาระสำคญั สารประกอบไอออนกิ ที่ส่วนใหญ่เป็นผลึกที่แข็ง เนื่องจากการยึดเหนี่ยวที่แข็งแรงระหว่างไอออนบวก และไอออนลบ แตผ่ ลกึ ของสารประกอบไอออนกิ มคี วามเปราะ แตกหักได้งา่ ย ไม่นําไฟฟ้าเมื่อเป็นของแข็ง แต่ นาํ ไฟฟา้ ได้เมือ่ หลอมเหลวหรอื ละลายในนำ้ มจี ดุ หลอมเหลวและจดุ เดอื ดสูง ละลายน้ำแลว้ แตกตัวเป็นไอออน เรียกว่า สารละลายอิเล็กโทรไลต์ แต่ถ้าทำให้หลอมเหลวหรือละลายในน้ำจะนำไฟฟ้า สารละลายของ สารประกอบไอออนกิ แสดงสมบตั ิความเป็นกรด–เบสต่างกนั สารละลายของสารประกอบคลอไรด์มีสมบัติเป็น กลาง และสารละลายของสารประกอบออกไซดม์ สี มบตั ิเปน็ เบส จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายสมบัติของสารประกอบไอออนิกได้ (K) 2. สามารถอธิบายเก่ียวกับการเปล่ยี นแปลงพลังงานของสารประกอบไอออนิกเมื่อละลายน้ำได้ (P)

3. นักเรียนมวี นิ ัย มคี วามสนใจใฝเ่ รียนรู้ และมีความมุ่งมั่นตั้งใจในการทำงาน (A) คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ✓ 2. ซ่อื สตั ย์ สจุ รติ ✓ 3. มีวินยั ✓ 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยูอ่ ย่างพอเพียง ✓ 6. มุ่งม่นั ในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย ✓ 8. มีจิตสาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ✓ 1. มีความสามารถในการสอื่ สาร ✓ 2. มคี วามสามารถในการคิด ✓ 3. มีความสามารถในการแก้ปัญหา ✓ 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ✓ 5. มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลกั (Core Subjects) ✓ 2. ทกั ษะการเรียนรู้ และนวตั กรรม ✓ 3. ทกั ษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ✓ 4. ทักษะด้านชวี ติ และอาชพี กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) 1. ครูกล่าวคำทักทายนักเรียน นำเข้าสู่การศึกษาเรื่องสมบัติของสารประกอบไอออนิก โดยนำรูป สารประกอบไอออนิกที่พบได้ในชีวิตประจำวัน เช่น เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) โซดาไฟหรือ โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) อะลูมินาหรืออะลูมิเนียมออกไซด์ (Al2O3) และดินประสิวหรือโพแทสเซียมไน เตรต (KNO3) เป็นต้น มาให้นักเรียนพิจารณา แล้วต้ังคำถามกระตุ้นความสนใจของนักเรียนว่า “สารประกอบ ไอออนิกมสี มบตั ิเปน็ อยา่ งไร” (แนวคำตอบ : มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง เปราะและแตกหักง่าย มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง ละลายน้ำได้แตกตา่ งกนั บางชนดิ ละลายไดด้ บี างชนิดละลายไดน้ อ้ ย และบางชนดิ ไม่ละลายน้ำ เปน็ ต้น)

2. เมื่อครูถามคำถามแก่นักเรียนเสร็จแล้ว ให้นักเรียนจำนวน 3-4 คน ยกมือตอบคำถามในแต่ ละคร้ังในขอ้ ท่ี 1 โดยถา้ มีนักเรียนคนใดตอบคำถามแลว้ ใกลเ้ คยี งกับแนวทางการตอบคำถามท่ไี ดต้ ง้ั เกณฑไ์ วจ้ ะ ได้รับคะแนนสะสมเป็นรูปสารประกอบไอออนิก ซึ่งนักเรียนที่ตอบถูกจะได้รูปครั้งละ 1 รูป (1 รูป เท่ากับ 1 คะแนน) ซ่งึ คะแนนในการตอบคำถามครง้ั น้จี ะนำไปสะสมรวมกบั คะแนนในการทำกจิ กรรมในบทพนั ธะเคมี 3. เมือ่ นักเรียนทราบแล้วว่าวันนี้จะมาศึกษาเกี่ยวกับเร่ืองอะไร ครูอธิบายเน้นย้ำอีกครั้งหนึ่งเพื่อ ความเข้าใจที่ตรงกันว่าจากที่ครูได้ตั้งคำถามให้นักเรียนตอบไปเมื่อสักครู่ วันนี้ครูจะพานักเรียนไปค้นหา สมบัติของสารประกอบไอออนิก ข้นั สำรวจและค้นหา (Exploretion) 4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยการแบ่งกลุ่มจะแบ่งจากขั้นตอนแรกที่ ครูผู้สอนไดแ้ จกรูปสารประกอบไอออนิก โดยจะมีกลุ่มดังนี้ (กลุ่มที่ 1 NaCl,กลุ่มที่ 2 NaOH,กลุ่มที่ 3 Al2O3 และกลุ่มท่ี 4 KNO3) เมื่อแบ่งกลุ่มเสร็จแล้ว ครูจะทำการอธิบายและให้นักเรียนร่วมกันศึกษากิจกรรมที่ 1 เร่อื ง สมบัติของสารประกอบไอออนิก จากใบงานท่ีครูแจกให้ 5. เมื่อนักเรียนรวมกลุ่มกันได้แล้ว ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันค้นหาว่าสารประกอบไอออนิกนั้นมีสมบัติ เป็นอย่างไร จากกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก ในรูปแบบเกมส์ “สมบัติของฉันเป็น อยา่ งไร” จากนัน้ ครูจะทำการอธิบายเพอื่ ใหน้ ักเรยี นเกิดความเข้าใจทต่ี รงกันในการทำกิจกรรม 6. ครูจะพานักเรียนไปศึกษาว่าสารประกอบไอออนิกนั้นมีสมบัติเป็นอย่างไร โดยเริ่มที่ครูจะให้ นักเรียนรวมกลุ่มกันก่อน และให้ส่งตัวแทนนักเรียนออกมาจับการ์ดครั้งละ 1 ใบ/1 คน แล้วอ่านข้อความใน การ์ดนั้นว่าเป็นสมบัติของสารประกอบไอออนิกหรือไม่ ถ้าใช่ให้เอาไปแปะไว้บนกระดาน ถ้าไม่ใช่สมบัติของ สารประกอบไอออนิกให้ถือเอาไว้และวิ่งไปเตะมือคนต่อไปของกลุ่ม กลุ่มใดที่สามารถหาสมบัติของ สารประกอบไอออนิกได้มากที่สุดเป็นกลุ่มแรกและถูกต้องจะได้คะแนนเพิ่ม (ซึ่งจะสะสมแต้มเป็นรูป สารประกอบไอออนกิ ) และนำแต้มท่ีไดไ้ ปรวมคะแนนเพอ่ื แลกของรางวัลในตอนสดุ ทา้ ย 7. เมอื่ นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ เกดิ ความเข้าใจที่ตรงกนั แล้วให้แต่ละกลุ่มทำกิจกรรมและบันทึกคำตอบ ลงไปในใบงานทีค่ รูแจกให้ ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explaination) 8. ครูให้นักเรียนนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรมที่ 1 แล้วอภิปรายร่วมกันในประเด็น สมบตั ขิ องสารประกอบไอออนกิ ทีไ่ ด้จากการทำกจิ กรรม และรว่ มกันสรปุ กจิ กรรม (แนวการสรุป : สมบตั ขิ องสารประกอบไอออนิก มีดงั น)้ี 1. สารประกอบไอออนกิ มีสถานะเปน็ ของแขง็ ที่อณุ หภูมิหอ้ ง และมจี ุดเดือดและจดุ หลอมเหลว สูงเนื่องจากพันธะไอออนิกเกดิ จากแรงยดึ เหนยี่ วของประจุไฟฟา้ ซง่ึ มีความแข็งแรงสงู จึงทำใหแ้ ยกออกจากกัน ได้ยาก 2. สารประกอบไอออนิกประกอบดว้ ยไอออนบวกและไอออนลบยึดเหนย่ี วกนั อย่างแข็งแรง

เมื่อทบุ ผลกึ ของสารประกอบไอออนกิ ไอออนชนิดเดียวกนั จะเลื่อนไปอย่ตู รงกนั จึงเกิดแรงผลกั ระหว่างไอออน จึงทำใหผ้ ลกึ เปราะและแตกไดง้ า่ ย 3. สารประกอบไอออนิกเม่ือเปน็ ของแข็งจะไม่นำไฟฟ้า เนื่องจากไอออนที่เป็นองค์ประกอบ ยึดเหนี่ยวกันอย่างแข็งแรง ทำให้ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ แต่เมื่อทำให้หลอมเหลวหรือละลายน้ำ ไอออนจะ สามารถเคลอื่ นทีไ่ ด้ จงึ นำไฟฟา้ ได้ 4. สารประกอบไอออนิกมีสภาพการละลายน้ำได้แตกต่างกัน บางชนิดมีสภาพละลายได้ดี บางชนดิ มสี ภาพละลายได้ต่ำ และบางชนดิ ไมล่ ะลายในน้ำ 9. ครอู ธบิ ายเก่ียวกบั การละลายนำ้ ของสารประกอบไอออนกิ ดงั รปู ซึ่งเกี่ยวข้องกับ กระบวนการที่ไอออนบวกและไอออนลบแยกออกจากโครงผลึกเป็นกระบวนการดดู พลังงานที่มีค่า เท่ากับพลังงานแลตทิซและกระบวนการที่โมเลกุลของน้ำ ล้อมรอบไอออนแต่ละชนิดเป็น กระบวนการคายพลงั งานท่ีเรยี กว่าพลงั งานไฮเดรชนั 10. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่า ผลึกของสารประกอบไอออนิกสลายตัวออกเป็นไอออนบวกและไอออน ลบในสภาวะแก๊ส ขั้นนี้ต้องใช้พลังงานเพื่อสลายผลึก โดยพลังงานที่ใช้นี้ เรียกว่า พลังงานโครงร่างผลึก (latticesenergy; E1) ไอออนบวกและไอออนลบในสภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ำ ขั้นนี้มีการคายพลังงาน โดย พลงั งานทีค่ ายออกมา เรียกวา่ พลงั งานไฮเดรชนั (hydration energy; E2) 11. การละลายนำ้ ของสารประกอบไอออนิก อาจเปน็ การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความรอ้ น หรอื คาย ความรอ้ นกไ็ ด้ ข้ึนอยกู่ ับคา่ พลังงานแลตทซิ และพลังงานไฮเดรชนั ซงึ่ สามารถพจิ ารณาไดด้ ังนี้ ถ้า E1 > E2 จัดเป็นการเปลย่ี นแปลงประเภทดูดความร้อน ถา้ E1 < E2 จัดเป็นการเปล่ยี นแปลงประเภทคายความรอ้ น ถ้า E1 = E2 ไมม่ ีการเปลย่ี นแปลงพลังงาน ถ้า E1>> E2 แสดงให้เห็นว่าสารประกอบไอออนิกนั้นละลายน้ำได้น้อยมากจนถือว่าไม่ละลาย เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบแข็งแรงมากโมเลกุลของน้ำจึงไม่สามารถดึงให้แยก ออกจากกนั ได้ ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) 12. ครูพูดถึงสมบัติของสารประกอบไอออนิก ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ โดย การเปิดวดี ีโอ ถ่านไฟฉาย ใหน้ กั เรยี นดู

- แอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl) และซิงคค์ ลอไรด์ (ZnCl2) ซง่ึ เป็นสารประกอบไอออนกิ ที่สามารถนำ ไฟฟา้ ได้จากการแตกตวั เป็นไอออนเมอ่ื ละลายน้ำ จึงนำไปใชเ้ ป็นสารละลายอเิ ลก็ โทรไลตใ์ นถา่ นไฟฉา่ ยได้ ข้ันประเมนิ (Evaluation) 13. ประเมินนักเรยี นจากการทำกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 1 ในรูปแบบเกมส์ “สมบัติของฉันเปน็ อยา่ งไร” 14. ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบฝกึ หัดท้ายคาบ หากมขี ้อไหนท่ีนักเรยี นตอบไมถ่ กู ครูและนักเรยี นจะ ร่วมกนั อภปิ รายใหถ้ ูกต้อง การจดั บรรยากาศเชิงบวก ครูกระตนุ้ ใหน้ กั เรียนแสดงความคดิ เหน็ โดยไม่ต้องกงั วลว่าถกู หรอื ผิด และชว่ ยกันปรบั ปรงุ แกไ้ ขได้ ควรให้โอกาสนกั เรยี นไดน้ ำเสนอผลการทำกิจกรรมในช้ันเรยี น เพื่อเป็นการแบ่งปันความรตู้ ่อนกั เรยี นกลมุ่ อ่ืน ๆ และเกดิ การอภิปรายระหวา่ งกลุ่ม สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 2. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 3. PowerPoint เรือ่ ง สมบัตขิ องสารประกอบไอออนิก 4. วดิ โี อเรื่อง ถา่ นไฟฉาย (https://youtu.be/XZRJ2y1QhvM) 5. การด์ ในการทำกิจกรรม

การวดั ผลประเมนิ ผล วธิ ีการวัด เคร่อื งมอื วดั เกณฑก์ ารวดั การผลประเมนิ ผล ดา้ น - การทำแบบฝึกหัดหลงั - ใบแบบฝึกหัด เรือ่ ง 80% ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ เรยี นเร่ือง สมบตั ขิ อง สมบตั ขิ องสารประกอบ 1. ดา้ นความรูค้ วาม สารประกอบไอออนิก ไอออนิก 80% ขนึ้ ไป ผ่านเกณฑ์ เขา้ ใจ - การทำกจิ กรรมการ - ใบงานการทำกิจกรรม เรยี นรู้ท่ี 1 “สมบตั ิฉนั เปน็ คณุ ภาพ พอใช้ ขนึ้ ไป 2. ดา้ นทกั ษะ อยา่ งไร” การเรียนร้ทู ่ี 1 “สมบตั ิ ผา่ นเกณฑ์ กระบวนการ สังเกตพฤติกรรมผเู้ รยี น ฉันเปน็ อยา่ งไร” 3. ด้านลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ -แบบสงั เกตพฤติกรรม แบบกลุม่ -สังเกตพฤติกรรมแบบ รายบคุ คล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook