Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้เคมี 1

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี 1

Published by pawanrat2760, 2021-09-23 16:53:05

Description: แผนการจัดการเรียนรู้เคมี 1

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ การฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู ขัน้ ปฏบิ ัตกิ ารสอน 1 นางสาวปวันรัตน์ งามญาณ สาขาวชิ าเคมี รหสั นักศึกษา 6015891020 นกั ศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู โรงเรียนแหลงสงิ หว์ ิทยาคม “อาทรสงั ขะวัฒนะ ๔ อุปถมั ป์” จงั หวดั จันทบรุ ี สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา จนั ทบรุ ี ตราด



แบบวิเคราะหห์ ลักสตู ร มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ัด รายวิชาเคมี 1 รหสั ว 31221 จำนวน 60 ชัว่ โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 สาระ ผลการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรเู้ พ่ิมเตมิ สาระเคมี ๑. บอกและอธบิ ายขอ้ ปฏิบัติ การทำปฏบิ ตั ิการเคมีต้องคำนึงถงึ ขอ้ ๓ เขา้ ใจหลักการทำปฏิบตั ิการ เบือ้ งตน้ และปฏบิ ตั ิตนทแี่ สดงถึง ความปลอดภยั และความเปน็ มติ รตอ่ เคมี การวดั ปริมาณสาร หนว่ ยวัด ความตระหนกั ในการทำปฏบิ ตั กิ าร สิ่งแวดลอ้ ม ดงั นน้ั จึงควรศกึ ษาขอ้ และการเปลีย่ นหนว่ ยการคาํ นวณ เคมีเพือ่ ใหม้ ีความปลอดภยั ทง้ั ตอ่ ปฏิบัตขิ องการทำปฏบิ ัตกิ ารเคมีเช่น ปริมาณของสาร ความเข้มขน้ ของ ตนเอง ผอู้ ืน่ และสิ่งแวดลอ้ ม และ ความปลอดภัยในการใชอ้ ปุ กรณแ์ ละ สารละลาย รวมทง้ั การบรู ณาการ เสนอแนวทางแกไ้ ขเมื่อเกดิ สารเคมกี ารปอ้ งกนั อุบัติเหตุระหว่าง ความรู้และทักษะในการอธบิ าย อบุ ตั เิ หตุ การทดลองการกาํ จดั สารเคมี ปรากฏการณ์ในชวี ิตประจำวนั และ ๒. เลอื ก และใชอ้ ุปกรณ์หรือ อปุ กรณ์และเครอ่ื งมอื ชั่ง ตวง วดั แต่ การแก้ปญั หาทางเคมี เครื่องมอื ในการทำปฏิบตั กิ าร และ ละชนดิ มีวิธีการใชง้ านและการดูแล วัดปริมาณตา่ ง ๆ ได้อย่าง แตกต่างกนั ซงึ่ การวดั ปริมาณตา่ ง ๆ เหมาะสม ใหไ้ ด้ขอ้ มูลท่ีมคี วามเท่ียงและความ แมน่ ในระดับนัยสาํ คัญทีต่ ้องการ ๓. นาํ เสนอแผนการทดลอง ตอ้ งมีการเลอื กและใชอ้ ุปกรณ์ในการ ทดลองและเขยี นรายงานการ ทำปฏบิ ัติการอยา่ งเหมาะสม ทดลอง การทำปฏิบตั ิการเคมีตอ้ งมกี ารวาง แผนการทดลอง การทำการทดลอง การบันทกึ ข้อมูลสรปุ และวเิ คราะห์ นําเสนอขอ้ มลู และการเขียน รายงานการทดลองท่ถี ูกต้อง โดย การทำปฏิบัติการเคมีตอ้ งคำนงึ ถงึ วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ทกั ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจติ วิทยาศาสตร์

สาระ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม สาระเคมี ๔. ระบุหนว่ ยวดั ปริมาณตา่ ง ๆ การทำปฏบิ ตั ิการเคมีต้องมีการวดั ข้อที่ ๓ ของสาร และเปลี่ยนหนว่ ยวัดให้ ปรมิ าณตา่ ง ๆ ของสาร การบอก เปน็ หนว่ ยในระบบเอสไอดว้ ยการ ปรมิ าณของสารอาจระบุอยู่ในหน่วย ใช้แฟกเตอรเ์ ปลี่ยนหนว่ ย ตา่ ง ๆ ดงั นน้ั เพ่อื ใหม้ ีมาตรฐาน เดยี วกัน จึงมกี ารกำหนดหนว่ ยใน ระบบเอสไอ ให้เป็นหนว่ ยสากล ซึ่ง การเปล่ยี นหนว่ ย เพือ่ ให้เป็นหน่วย สากล สามารถทำได้ด้วยการใช้ แฟกเตอรเ์ ปล่ียนหน่วย สาระเคมี ๑. สบื คน้ ขอ้ มูลสมมตฐิ าน การ - นกั วิทยาศาสตรศ์ กึ ษาโครงสรา้ ง ขอ้ ที่ ๑ เขา้ ใจโครงสรา้ งอะตอม ทดลอง หรือผลการทดลองท่เี ป็น ของอะตอมและเสนอแบบจาํ ลอง อะตอมแบบต่าง ๆ จากการศกึ ษา การจัดเรยี งธาตใุ นตารางธาตุ สมบตั ิ ประจักษพ์ ยานในการเสนอ ของธาตพุ นั ธะเคมแี ละสมบตั ขิ อง แบบจาํ ลองอะตอมของ ข้อมลู การสังเกต การตง้ั สมมติฐาน สาร แก๊สและสมบตั ขิ องแกส๊ นักวทิ ยาศาสตร์และอธิบาย และ ผลการทดลอง ประเภทและสมบตั ิของ ววิ ฒั นาการของแบบจําลองอะตอม -แบบจาํ ลองอะตอมมวี วิ ฒั นาการ สารประกอบอนิ ทรยี ์และพอลเิ มอร์ โดยเรมิ่ จากดอลตันเสนอว่าธาตุ รวมทั้งการนําความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ประกอบดว้ ยอะตอมซง่ึ เปน็ อนุภาคขนาดเลก็ ไมส่ ามารถแบ่งแยก ได้ต่อมาทอมสนั เสนอวา่ อะตอม ประกอบดว้ ยอนภุ าคท่มี ีประจลุ บ เรยี กวา่ อเิ ลก็ ตรอน และอนภุ าค ประจุบวก รัทเทอรฟ์ อร์ดเสนอวา่ ประจุบวกที่เรยี กวา่ โปรตอน รวมตวั กนั อย่ตู รงกงึ่ กลางอะตอม เรยี กว่า นิวเคลยี ส ซงึ่ มีขนาดเล็กมาก และมีอเิ ล็กตรอนอยรู่ อบนวิ เคลียส โบรเ์ สนอวา่ อเิ ลก็ ตรอนเคล่อื นทเี่ ปน็ วงรอบนวิ เคลียสโดยแตล่ ะวงมีระดับ พลังงานเฉพาะตัว ในปจั จุบัน

สาระ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรเู้ พ่มิ เติม สาระเคมี ข้อท่ี ๑ นกั วทิ ยาศาสตร์ยอมรับวา่ อิเลก็ ตรอนมีการเคล่ือนท่รี วดเรว็ รอบนวิ เคลยี ส และไม่สามารถ ระบตุ ำแหนง่ ท่ีแนน่ อนไดจ้ งึ เสนอ แบบจาํ ลองอะตอมแบบกล่มุ หมอก ซ่ึงแสดงโอกาสการพบอเิ ล็กตรอน รอบนวิ เคลยี ส ๒.เขียนสญั ลักษณน์ ิวเคลยี รข์ อง สญั ลักษณน์ วิ เคลียรข์ องธาตุ ธาตุและระบุจำนวนโปรตอน ประกอบดว้ ยสญั ลักษณ์ธาตุ เลข นวิ ตรอน และอิเลก็ ตรอนของ อะตอมซ่งึ แสดงจำนวนโปรตอน และ อะตอมจากสญั ลักษณน์ ิวเคลยี ร์ เลขมวลซ่ึงแสดงผลรวมของจำนวน รวมท้งั บอกความหมายของ โปรตอนกบั นิวตรอน อะตอมของ ไอโซโทป ธาตชุ นดิ เดียวกันทม่ี ีจำนวนโปรตอน เทา่ กัน แตม่ จี ำนวนนวิ ตรอนตา่ งกนั เรียกว่า ไอโซโทป ๓. อธบิ าย และเขยี นการจดั เรยี ง การศกึ ษาสเปกตรัมการเปลง่ แสง อเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลังงานหลัก ของอะตอมแก๊สทำให้ทราบวา่ และระดับพลงั งานยอ่ ยเมอ่ื ทราบ อเิ ลก็ ตรอนจัดเรยี งอยรู่ อบ ๆ เลขอะตอมของธาตุ นิวเคลยี สในระดับพลังงานหลักตา่ ง ๆ และแตล่ ะระดบั พลงั งานหลกั ยัง แบง่ เปน็ ระดบั พลังงานย่อยซงึ่ มี บริเวณที่จะพบอเิ ลก็ ตรอน เรยี กวา่ ออรบ์ ทิ ลั ได้แตกตา่ งกัน และอเิ ลก็ ตรอนจะจัดเรียงในออร์ บทิ ัลใหม้ รี ะดบั พลังงานต่ำสุด ๔. ระบุหม่คู าบ ความเป็นโลหะ สำหรบั อะตอมในสถานะพน้ื อโลหะ และ กง่ึ โลหะ ของธาตุ ตารางธาตใุ นปัจจุบันจัดเรยี งธาตุ เรพรีเซนเททฟี และธาตุ ตามเลขอะตอมและสมบตั ทิ ี่ แทรนซิชนั ในตารางธาตุ คลา้ ยคลึงกันเปน็ หม่แู ละคาบ

สาระ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนร้เู พิ่มเติม สาระเคมี ๕.วิเคราะหแ์ ละบอกแนวโนม้ โดยอาจแบง่ ธาตุในตารางธาตุเป็น ข้อท่ี ๓ สมบัตขิ องธาตเุ รพรเี ซนเททฟี ตาม กลุ่มธาตุโลหะ ก่ึงโลหะ และอโลหะ หมู่และตามคาบ นอกจากนอ้ี าจแบง่ เปน็ กลุ่มธาตุ เรพรีเซนเททีฟและกลมุ่ ธาตแุ ทรนซิ ๖. บอกสมบัตขิ องธาตโุ ลหะแทรน ชันในหนว่ ยรอ้ ยละ สว่ นในลา้ นส่วน ซิชัน และเปรยี บเทยี บสมบตั ิกบั สว่ นในพนั ลา้ นสว่ น โมลารติ ีโมแลลติ ี ธาตุโลหะในกลมุ่ ธาตุ และเศษสว่ นโมล เรพรีเซนเททีฟ ธาตเุ รพรเี ซนเททีฟในหมู่เดียวกนั มี จาํ นวนเวเลนซอ์ ิเล็กตรอนเท่ากัน ๗. อธบิ ายสมบตั แิ ละคาํ นวณครงึ่ และธาตทุ ่ีอย่ใู นคาบเดยี วกัน ชวี ิตของไอโซโทปกมั มันตรงั สี มีเวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลังงานหลักเดียวกัน ธาตเุ รพรีเซน เททีฟมีสมบัติทางเคมคี ลา้ ยคลึงกนั ตามหมู่และมแี นวโนม้ สมบตั บิ าง ประการเปน็ ไปตามหม่แู ละตามคาบ เชน่ ขนาดอะตอม รศั มีไอออน พลงั งานไอออไนเซชัน อเิ ล็กโทร เนกาตวิ ิตี สมั พรรคภาพอเิ ล็กตรอน ธาตแุ ทรนซิชันเปน็ โลหะที่สว่ นใหญ่มี เวเลนซ์อเิ ล็กตรอนเท่ากับ ๒ มีขนาด อะตอมใกลเ้ คยี งกนั มจี ดุ เดอื ด จุด หลอมเหลวและความหนาแนน่ สงู เกิดปฏิกริ ยิ ากบั นา้ํ ได้ชา้ กว่าธาตุ โลหะในกลมุ่ ธาตุเรพรเี ซนเททฟี เมอื่ เกิดเป็นสารประกอบสว่ นใหญ่จะมสี ี ธาตุแตล่ ะชนิดมไี อโซโทป ซงึ่ ใน ธรรมชาตบิ างธาตุมีไอโซโทปทแ่ี ผ่ รงั สไี ด้เนอ่ื งจากนวิ เคลียส ไม่เสถยี ร เรยี กว่า ไอโซโทป กัมมันตรังสีสำหรับธาตุกัมมนั ตรงั สี เปน็ ธาตทุ ่ีทุกไอโซโทปสามารถ

สาระ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรเู้ พมิ่ เตมิ ขสา้อรทะี่ เ๑คมี แผ่รังสีไดร้ งั สที ีเ่ กดิ ขน้ึ เช่น รงั สี ๘. สืบค้นข้อมลู และยกตวั อย่าง แอลฟา รงั สบี ตี า รงั สีแกมมา โดย การนาํ ธาตมุ าใช้ประโยชนร์ วมทง้ั คร่ึงชีวิตของไอโซโทปกมั มันตรงั สี ผลกระทบตอ่ สิ่งมีชวี ติ เป็นระยะเวลาท่ีไอโซโทป และสิง่ แวดลอ้ ม กัมมนั ตรังสีสลายตวั จนเหลอื คร่ึงหนงึ่ ของปรมิ าณเดมิ ซึ่งเปน็ ๙. อธบิ ายการเกิดไอออนและการ ค่าคงทีเ่ ฉพาะของแตล่ ะไอโซโทป เกิดพนั ธะไอออนกิ โดยใช้ กมั มนั ตรังสี แผนภาพหรอื สญั ลกั ษณ์ แบบจดุ สมบัตบิ างประการของธาตแุ ตล่ ะ ของลิวอสิ ชนิด ทำใหส้ ามารถนําธาตุไปใช้ ประโยชนใ์ นด้านต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย ทง้ั น้กี ารนําธาตุ ไปใชต้ อ้ งตระหนักถึงผลกระทบที่มี ต่อสง่ิ มีชวี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม โดยเฉพาะสารกัมมันตรงั สซี ่ึงต้องมี การจัดการอย่างเหมาะสม -สารเคมีเกิดจากการยดึ เหน่ียวกนั ด้วยพนั ธะเคมีซ่ึงเกี่ยวขอ้ งกับเวเลนซ์ อิเลก็ ตรอนทแี่ สดงได้ดว้ ยสญั ลกั ษณ์ แบบจดุ ของลวิ อิส โดยการเกดิ พนั ธะเคมสี ว่ นใหญเ่ ปน็ ไปตามกฎ ออกเตต - พนั ธะไอออนิกเกิดจากการยดึ เหนยี่ วระหวา่ งประจุไฟฟ้าของ ไอออนบวกกับไอออนลบส่วนใหญ่ ไอออนบวกเกิดจากโลหะเสยี อเิ ลก็ ตรอนและไอออนลบเกดิ จาก อโลหะรับอเิ ลก็ ตรอนสารประกอบที่ เกิดจากพันธะไอออนกิ เรยี กว่า

สาระ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้เพ่ิมเติม สาระเคมี ๑๐. เขยี นสตู ร และเรียกชอ่ื สารประกอบไอออนิก สารประกอบ ข้อท่ี ๑ สารประกอบไอออนิก ไอออนกิ ไมอ่ ยู่ในรูปโมเลกลุ แต่เป็น โครงผลึกท่ปี ระกอบดว้ ยไอออนบวก ๑๑. คาํ นวณพลังงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง และไอออนลบจัดเรียงตวั ตอ่ เนอ่ื ง กับปฏกิ ิรยิ าการเกดิ สารประกอบ ไอออนิกจากวฏั จกั รบอรน์ -ฮา สารประกอบไอออนกิ เขยี นแสดง เบอร์ สตู รเคมโี ดยใหส้ ญั ลักษณธ์ าตทุ เ่ี ปน็ ไอออนบวกไว้ข้างหน้าตาม ๑๒. อธบิ ายสมบตั ิของ ด้วยสญั ลักษณธ์ าตุท่เี ปน็ ไอออนลบ สารประกอบไอออนิก โดยมตี วั เลขแสดงอตั ราสว่ นอยา่ งต่ำ ของจำนวนไอออนทเี่ ปอ็ งคป์ ระกอบ ปฏกิ ิริยาการเกิดสารประกอบไอ ออนกิ จากธาตุเกีย่ วข้องกบั ปฏิกิริยา เคมหี ลายข้นั ตอน มีท้ัง ทีเ่ ป็นปฏกิ ิรยิ าดดู พลังงานและคาย พลังงานซึ่งแสดงได้ด้วยวัฏจกั ร บอรน์ -ฮาเบอรแ์ ละพลงั งานของ ปฏกิ ริ ยิ าการเกิดสารประกอบ ไอออนกิ เปน็ ผลรวมของพลงั งานทุก ขัน้ ตอน - สารประกอบไอออนิกสว่ นใหญ่มี ลกั ษณะเปน็ ผลึกของแข็ง เปราะ มี จดุ หลอมเหลวและจุดเดอื ดสงู ละลายนำ้ แลว้ แตกตวั เปน็ ไอออน เรยี กวา่ สารละลายอเิ ลก็ โทรไลตเ์ มื่อ เปน็ ของแขง็ ไมน่ าํ ไฟฟา้ แต่ถ้าทำให้ หลอมเหลวหรือละลายในน้ำจะนาํ ไฟฟา้ - สารละลายของสารประกอบไอ ออนกิ แสดงสมบตั คิ วามเป็นกรด-เบส ต่างกนั สารละลายของ

สาระ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรเู้ พมิ่ เติม ขสาอ้ รทะี่ เ๑คมี สารประกอบคลอไรด์มสี มบตั เิ ป็น ๑๓. เขียนสมการไอออนกิ และ กลาง และสารละลายของ สมการไอออนกิ สทุ ธขิ องปฏิกริ ยิ า สารประกอบออกไซด์มีสมบตั ิ ของสารประกอบไอออนกิ เปน็ เบส ๑๔. อธิบายการเกดิ พนั ธะโคเว - ปฏกิ ิรยิ าของสารประกอบไอออนิก เลนต์แบบพนั ธะเดยี่ วพนั ธะคแู่ ละ สามารถเขยี นแสดงดว้ ยสมการไอ พนั ธะสาม ดว้ ยโครงสร้างลิวอสิ ออนกิ หรอื สมการไอออนิกสุทธิโดยที่ สมการไอออนิกแสดงสารต้ังตน้ และ ๑๕. เขยี นสตู ร และเรยี กชอื่ สาร ผลิตภณั ฑ์ทุกชนิดท่ีแตกตวั ไดใ้ นรูป โคเวเลนต์ ของไอออนสว่ นสมการไอออนิกสุทธิ แสดงเฉพาะไอออนที่ทำปฏิกริ ยิ ากัน และผลติ ภัณฑท์ เ่ี กดิ ขนึ้ - พนั ธะโคเวเลนต์เปน็ การยดึ เหน่ียว ทเ่ี กดิ ขึ้นภายในโมเลกุลจากการใช้ เวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนรว่ มกันของธาตุซ่งึ สว่ นใหญ่เป็นธาตอุ โลหะ โดยทว่ั ไป จะเปน็ ไปตามกฎออกเตต สารทีย่ ึด เหนยี่ วกันดว้ ยพันธะโคเวเลนต์ เรียกว่า สารโคเวเลนต์พันธะ โคเวเลนตเ์ กิดไดท้ ั้งพนั ธะเดีย่ ว พันธะคู่และพันธะสาม ซ่งึ สามารถ เขยี นแสดงได้ด้วยโครงสร้างลวิ อิส โดยแสดงอเิ ลก็ ตรอนครู่ ว่ มพนั ธะ ดว้ ยจุดหรอื เส้น และแสดง อเิ ลก็ ตรอนคูโ่ ดดเดย่ี วของแตล่ ะ อะตอมดว้ ยจดุ - สตู รโมเลกุลของสารโคเวเลนต์ โดยทั่วไปเขยี นแสดงดว้ ยสญั ลักษณ์ ของธาตเุ รยี งลำดบั

สาระ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้เพิ่มเติม สาระเคมี ข้อที่ ๑ ตามคา่ อเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ติ ีจากนอ้ ย ไปมากโดยมีตวั เลขแสดงจำนวน ๑๖. วิเคราะห์และเปรยี บเทียบ อะตอมของธาตุทมี่ มี ากกวา่ ๑ ความยาวพันธะและพลงั งานพันธะ อะตอมในโมเลกลุ ในสารโคเวเลนตร์ วมทั้งคํานวณ - การเรยี กช่ือสารโคเวเลนตท์ ำได้ พลงั งานท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ปฏิกิรยิ า โดยเรยี กชอื่ ธาตทุ อ่ี ยหู่ นา้ ก่อน แลว้ ของสารโคเวเลนตจ์ ากพลังงาน ตามด้วยชอ่ื ธาตุทอี่ ยู่ถดั มาโดยมคี าํ พันธะ นาํ หน้าระบุจำนวนอะตอมของธาตทุ ี่ เป็นองคป์ ระกอบ - ความยาวพนั ธะและพลังงานพนั ธะ ในสารโคเวเลนต์ข้ึนกบั ชนดิ ของ อะตอมครู่ ว่ มพันธะและชนดิ ของ พันธะ โดยพนั ธะเด่ียว พนั ธะคู่ และพนั ธะสาม มีความยาวพนั ธะ และพลงั งานพันธะแตกต่างกัน นอกจากน้ีโมเลกลุ โคเวเลนต์ บางชนดิ มีค่าความยาวพนั ธะและ พลังงานพนั ธะแตกต่างจากของ พนั ธะเด่ียว พนั ธะคูแ่ ละพันธะสาม ซึ่งสารเหล่าน้ีสามารถเขียน โครงสร้างลวิ อิสทีเ่ หมาะสมได้ มากกว่า ๑ โครงสร้าง ที่เรียกว่า โครงสรา้ งเรโซแนนซ์ - พลงั งานพันธะนาํ มาใชใ้ นการ คํานวณพลังงานของปฏิกริ ิยา ซ่ึงได้ จากผลตา่ งของพลังงานพันธะรวม ของสารตั้งตน้ กบั ผลิตภณั ฑ์

สาระ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรเู้ พ่มิ เตมิ ขสา้อรทะ่ี เ๑คมี ๑๗. คาดคะเนรูปรา่ งโมเลกุลโคเว • รปู ร่างของโมเลกลุ โคเวเลนต์อาจ เลนตโ์ ดยใชท้ ฤษฎกี ารผลัก พจิ ารณาโดยใชท้ ฤษฎีการผลกั ระหวา่ งคู่อเิ ล็กตรอนในวงเวเลนซ์ ระหว่างคอู่ เิ ลก็ ตรอนในวงเวเลนซ์ และระบุสภาพขั้วของโมเลกลุ โคเว (VSEPR) ซึ่งขึน้ อยู่กับจำนวนพันธะ เลนต์ และจำนวนอิเล็กตรอนคโู่ ดดเดี่ยว รอบอะตอมกลางโมเลกลุ โคเวเลนต์มี ๑๘. ระบชุ นิดของแรงยดึ เหนยี่ ว ทง้ั โมเลกุลมีข้วั และไม่มขี ้ัวสภาพขั้ว ระหวา่ งโมเลกุลโคเวเลนตแ์ ละ ของโมเลกุลโคเวเลนต์เปน็ ผลรวม เปรียบเทียบจดุ หลอมเหลว ปริมาณเวกเตอรส์ ภาพข้วั ของแต่ละ จดุ เดือด และการละลายน้ำของ พันธะตามรปู ร่างโมเลกลุ สารโคเวเลนต์ - แรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งโมเลกุลซงึ่ อาจเป็นแรงแผ่กระจายลอนดอน แรงระหวา่ งขวั้ และพนั ธะไฮโดรเจน มผี ลต่อจุดหลอมเหลว จดุ เดอื ด และ การละลายน้ำของสาร นอกจากนี้ สารโคเวเลนตส์ ่วนใหญย่ ังมีจดุ หลอมเหลวและจุดเดอื ดตำ่ กวา่ สารประกอบไอออนกิ เนื่องจากแรง ยดึ เหนีย่ วระหว่างโมเลกลุ มีค่าน้อยกว่าพันธะไอออนิก - สารโคเวเลนตส์ ว่ นใหญ่มจี ุด หลอมเหลวและจดุ เดอื ดตำ่ และไม่ ละลายในนำ้ สำหรับสารโคเวเลนต์ที่ ละลายนำ้ มที ้งั แตกตวั และไมแ่ ตกตวั เป็นไอออน สารละลายทไี่ ดจ้ ากสาร ทีไ่ ม่แตกตัวเป็นไอออนจะไม่นําไฟฟา้ เรียกวา่ สารละลายนอนอิเลก็ โทร ไลตส์ ว่ นสารละลายท่ีไดจ้ ากสาร ที่แตกตวั เปน็ ไอออนจะนําไฟฟ้า เรียกว่า สารละลายอเิ ล็กโทรไลต์

สาระ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรเู้ พิ่มเตมิ ขสา้อรทะี่ เ๑คมี สารละลายของสารประกอบคลอไรด์ และออกไซด์จะมีสมบัตเิ ปน็ กรด ๑๙. สืบค้นข้อมลู และอธิบาย • สารโคเวเลนตบ์ างชนิดที่มี สมบตั ขิ องสารโคเวเลนต์โครงรา่ ง โครงสรา้ งโมเลกลุ ขนาดใหญแ่ ละมี ตาขา่ ยชนดิ ตา่ ง ๆ พนั ธะโคเวเลนต์ตอ่ เนอ่ื งเปน็ โครงร่าง ตาข่าย จะมจี ดุ หลอมเหลวและ ๒๐. อธบิ ายการเกดิ พันธะโลหะ จุดเดอื ดสงู สารโคเวเลนตโ์ ครงรา่ ง และสมบตั ิของโลหะ ตาข่ายท่มี ธี าตอุ งคป์ ระกอเหมอื นกนั แต่มอี ัญรปู ตา่ งกนั จะมสี มบตั ติ า่ งกนั ๒๑. เปรียบเทียบสมบัตบิ าง เชน่ เพชร แกรไฟต์ ประการของสารประกอบไอออนกิ - พันธะโลหะเกิดจากเวเลนซ์ สารโคเวเลนตแ์ ละโลหะ สืบคน้ อิเลก็ ตรอนของทกุ อะตอมของโลหะ ข้อมลู และนําเสนอตวั อยา่ งการใช้ เคล่อื นทีอ่ ย่างอสิ ระไปท่วั ท้งั โลหะ ประโยชน์ของสารประกอบไอออ และเกดิ แรงยดึ เหนี่ยวกบั โปรตอน นกิ สารโคเวเลนตแ์ ละโลหะ ได้ ในนวิ เคลยี สทุกทิศทาง อย่างเหมาะสม - โลหะสว่ นใหญเ่ ป็นของแขง็ มผี วิ มนั วาว สามารถตีเปน็ แผ่นหรอื ดึง เป็นเส้นได้นาํ ความรอ้ นและนาํ ไฟฟ้า ได้ดมี ีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง สารประกอบไอออนกิ สารโคเวเลนต์ และโลหะมีสมบตั เิ ฉพาะตวั บาง ประการที่แตกต่างกัน เชน่ จดุ เดอื ด จุดหลอมเหลว การละลายน้ำ การ นําไฟฟา้ จึงสามารถนำมาใช้ ประโยชน์ในดา้ นต่าง ๆ ได้ตามความ เหมาะสม

คำอธบิ ายรายวิชา รายวิชาเพ่มิ เตมิ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 รหัสวิชา ว 31221 รายวชิ า เคมี 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชว่ั โมง ศกึ ษาเกีย่ วกับความปลอดภยั ในการทำงานกับสารเคมี อุบัตเิ หตจุ ากสารเคมี การปฐมพยาบาล การใช้ เครื่องแก้ววัดปริมาณสาร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แบบจำลองอะตอมและสมบัติของธาตุ รวมถงึ การเกดิ พันธะ สภาพขั้วของสาร โดยจัดการเรยี นการสอนให้นกั เรียนไดศ้ ึกษาคน้ คว้า นำความร้ทู ไ่ี ดไ้ ปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั ควบคไู่ ปกับคุณธรรมและจริยธรรม และมคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ได้แก่ การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจติ วทิ ยาศาสตรใ์ นการสบื เสาะหาความรแู้ ละการแก้ปญั หา มีความรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ พรอ้ มทง้ั ตระหนกั วา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสง่ิ แวดลอ้ มมีความเกยี่ วข้องสัมพันธ์กัน ผลการเรยี นรู้ สาระเคมขี อ้ ท่ี 3 1. บอกและอธิบายข้อปฏิบัติเบื้องต้น และปฏิบัตติ นที่แสดงถึงความตระหนักในการทำปฏิบัตกิ ารเคมี เพือ่ ให้มคี วามปลอดภัยทั้งตอ่ ตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม และเสนอแนวทางแกไ้ ขเม่อื เกิดอบุ ัตเิ หตุ 2. เลอื ก และใช้อปุ กรณ์หรือเคร่ืองมอื ในการทำปฏิบัตกิ าร และวัดปรมิ าณต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. นาํ เสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขียนรายงานการทดลอง 4. ระบุหน่วยวัดปริมาณต่าง ๆ ของสาร และเปลี่ยนหน่วยวัดให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอด้วยการใช้ แฟกเตอร์เปลยี่ นหน่วย สาระเคมีข้อท่ี 1 1. สบื ค้นข้อมลู สมมติฐาน การทดลอง หรอื ผลการทดลองทีเ่ ป็นประจักษ์พยานในการเสนอแบบจําลอง อะตอมของนักวิทยาศาสตร์และอธิบายววิ ัฒนาการของแบบจาํ ลองอะตอม 2.เขียนสญั ลักษณน์ วิ เคลยี รข์ องธาตุและระบุจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอเิ ลก็ ตรอนของอะตอมจาก สญั ลกั ษณ์นวิ เคลียร์รวมทั้งบอกความหมายของไอโซโทป 3.อธิบาย และเขยี นการจดั เรยี งอเิ ล็กตรอนในระดบั พลังงานหลักและระดบั พลงั งานย่อยเมอื่ ทราบเลข อะตอมของธาตุ 4.ระบหุ ม่คู าบ ความเป็นโลหะ อโลหะ และ กงึ่ โลหะ ของธาตเุ รพรีเซนเททฟี และธาตุแทรนซชิ ันใน ตารางธาตุ 5.วเิ คราะหแ์ ละบอกแนวโนม้ สมบัติของธาตเุ รพรีเซนเททีฟตามหมู่และตามคาบ 6.บอกสมบัติของธาตุโลหะแทรนซชิ ัน และเปรียบเทียบสมบัติกบั ธาตโุ ลหะในกลมุ่ ธาตเุ รพรเี ซนเททฟี

7.อธิบายสมบัติและคํานวณคร่งึ ชีวิตของไอโซโทปกมั มันตรงั สี 8.สบื ค้นขอ้ มลู และยกตัวอย่างการนาํ ธาตุมาใช้ประโยชนร์ วมทง้ั ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม 9.อธบิ ายการเกดิ ไอออนและการเกดิ พันธะไอออนกิ โดยใช้แผนภาพหรอื สญั ลักษณ์ แบบจดุ ของลิวอิส 10.เขียนสตู ร และเรยี กชือ่ สารประกอบไอออนิก 11.คํานวณพลังงานที่เกีย่ วขอ้ งกบั ปฏกิ ิรยิ าการเกดิ สารประกอบไอออนกิ จากวฏั จักรบอรน์ -ฮาเบอร์ 12.อธบิ ายสมบตั ิของสารประกอบไอออนิก 13.เขียนสมการไอออนกิ และสมการไอออนกิ สทุ ธขิ องปฏิกิรยิ าของสารประกอบไอออนิก 14.อธบิ ายการเกิดพนั ธะโคเวเลนต์แบบพันธะเดย่ี วพันธะคูแ่ ละพันธะสาม ด้วยโครงสรา้ งลวิ อสิ 15.เขียนสูตร และเรียกช่ือสารโคเวเลนต์ 16.วิเคราะห์และเปรียบเทียบความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์รวมทั้งคํานวณ พลังงานที่เกย่ี วขอ้ งกบั ปฏิกริ ยิ าของสารโคเวเลนต์จากพลงั งานพันธะ 17.คาดคะเนรูปร่างโมเลกลุ โคเวเลนต์โดยใช้ทฤษฎีการผลักระหว่างคอู่ เิ ล็กตรอนในวงเวเลนซ์และระบุ สภาพขัว้ ของโมเลกลุ โคเวเลนต์ 18.ระบุชนดิ ของแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งโมเลกลุ โคเวเลนต์และเปรยี บเทยี บจดุ หลอมเหลว จุดเดือด และ การละลายนำ้ ของสารโคเวเลนต์ 19.สบื ค้นข้อมูล และอธบิ ายสมบัตขิ องสารโคเวเลนต์โครงรา่ งตาข่ายชนดิ ต่าง ๆ 20.อธิบายการเกิดพันธะโลหะและสมบตั ิของโลหะ 21.เปรียบเทียบสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์และโลหะ สืบค้นข้อมูล และนําเสนอตัวอย่างการใชป้ ระโยชนข์ องสารประกอบไอออนกิ สารโคเวเลนตแ์ ละโลหะ ไดอ้ ย่างเหมาะสม รวมทั้งหมด 25 ผลการเรยี นรู้

โครงสรา้ งรายวชิ า กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาเพิ่มเตมิ จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต รหัสวชิ า ว31221 รายวิชา เคมี 1 เวลา 60 ช่ัวโมง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ลำดับ ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ เวลา การ น้ำหนักคะแนน ที่ ข้อท่ี (ชั่วโมง) สอบ ราย ชื่อภาระงาน จุดประสงค/์ ภาระงาน 1 ความปลอดภยั และทักษะใน 1-4 10 10 -รายงานการ -รายงานการทดลอง ปฏบิ ตั กิ ารเคมี ทดลอง -ใบงาน -ใบงาน -การค้นควา้ ดว้ ยตนเอง -การคน้ คว้า -สอบ ด้วยตนเอง -สอบ 2 อะตอมและสมบตั ขิ องธาตุ 1-8 25 20 -ใบงาน -ใบงาน -สอบ -สอบ -รายงานการ -รายงานการทดลอง ทดลอง สอบกลางภาค 20 สอบ 6 พนั ธะเคมี 9-21 25 20 -ใบงาน -ใบงาน -แบบฝกึ หัด -แบบฝึกหัด -สอบ -สอบ สอบปลายภาค 20 สอบ รวมคะแนน 60 90 *** รวมคะแนนเก็บภาคเรยี นท่ี ...... คะแนนเก็บ 60 คะแนนสอบกลางภาค/ปลายภาค 40 = 100 คะแนน***

การออกแบบการ รายวิชา เคมี กล่มุ สาระการเรยี น หนว่ ยท่ี 1 จำนว ท่ี ชื่อหนว่ ย ผลการ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระการเรยี นร การเรียนรู้ เรียนรู้ 1 ความ ขอ้ 1-4 1. ระบุความสารเคมจี าก เข้าใจหลกั การทำ ปลอดภยั และ สัญลกั ษณ์และขอ้ มลู บนฉลาก ปฏิบัตกิ ารเคมี การ ทกั ษะใน สารเคมี ปริมาณสาร หนว่ ยว ปฏบิ ัติการ 2. อธบิ ายขอ้ ปฏิบัติเบอื้ งต้น และการเปลย่ี นหนว่ เคมี และการปฏิบัติตนท่ีแสดงถึง การคํานวณปริมาณ ความตระหนกั ในการทำ สาร ความเข้มขน้ ขอ ปฏิบตั ิการเคมีเพอื่ ใหม้ ีความ สารละลาย รวมทั้ง ปลอดภยั ทงั้ ตอ่ ตนเองผอู้ ่นื และ การบรู ณาการความ สิ่งแวดลอ้ มและเสนอแนว และทกั ษะในการ ทางแก้ไขเมื่อเกดิ อุบตั ิเหตุ อธิบายปรากฏการณ ชีวติ ประจำวนั และก แก้ปัญหาทางเคมี *(วเิ คราะห์1หนว่ ยการเรยี นรู้ ตอ่ 1 ตาราง เชน่ ในโครงสรา้ งรายวชิ ามี 3 หน่วยการ

รจัดการเรยี นรู้ นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วน 10 ช่ัวโมง รู้ ภาระงาน การจัดการเรียนรู้ วิธีการวดั และ สอื่ /แหลง่ การ ประเมนิ ผล เรียนรู้ 1. ใบงาน 1. จดั การเรียน 1.การทำใบงาน 1.ใบงาน รวัด 2. การสอบ วัด 3. การสืบคน้ การสอนโดยการ 2.การทำ 2.ใบความรู้ วย ความรูด้ ้วยตนเอง ณของ ถาม แบบทดสอบ 3.ขอ้ สอบ อง 2. การทำงาน 3. ตรวจสมุด 4.หนงั สอื เรียน มรู้ กลมุ่ เคมี สสวท 3. การสบื คน้ หา 5.Google ความรดู้ ้วยตนเอง classroom 4. ทำใบงาน 6.การ์ดเกมส์ ณ์ใน การ รเรียนรู้ ดังน้นั ตอ้ งมี 3 ตาราง ตามหน่วยการเรียนรู้ )

การออกแบบการ รายวิชา เคมี กลุม่ สาระการเรยี น หนว่ ยที่ 2 จำนว ที่ ชอื่ หนว่ ย ผลการ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ การเรยี นรู้ เรยี นรู้ 2 อะตอมและ ข้อท่ี 1-8 สบื ค้นข้อมลู และอธิบาย เขา้ ใจโครงสรา้ งอะตอม สมบัติของ ความหมายของแบบจำลอง การจัดเรียงธาตใุ นตาร ธาตุ อะตอมพรอ้ มทั้งบอกสาเหตุ ธาตุ สมบัตขิ องธาตพุ ัน ที่ทำใหแ้ บบจำลองอะตอมมี เคมีและสมบตั ขิ องสาร การเปลยี่ นแปลง 2. อธิบาย แก๊สและสมบัตขิ องแก แบบจำลองอะตอมของดอล ประเภทและสมบตั ิขอ ตนั ทอมสันรัทเทอร์ฟอรด์ สารประกอบอินทรียแ์ โบรแ์ ละแบบกลุม่ หมอก พอลเิ มอร์ รวมทงั้ การน ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ *(วเิ คราะห์1หนว่ ยการเรียนรู้ ต่อ 1 ตาราง เชน่ ในโครงสร้างรายวชิ ามี 3 หนว่ ยการ

รจดั การเรียนรู้ นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วน 25 ชัว่ โมง ภาระงาน การจัดการเรยี นรู้ วิธีการวดั และ สือ่ /แหลง่ การ ประเมนิ ผล เรียนรู้ ม 1. แบบฝกึ หัด 1. จดั การเรยี นการ 1.วดั จากการทำ 1.ใบงาน ราง 2. การสอบ สอนโดยการถาม แบบฝกึ หัด 2.ใบความรู้ นธะ 3. ใบงาน 2. การทำงานกล่มุ 2แบบทดสอบ 3.ข้อสอบ ร 4. การสบื ค้น 3. การสบื คน้ หา 3.ประเมินใบงาน 4.หนงั สือเรยี น ก๊ส ความร้ดู ว้ ยตนเอง ความรดู้ ้วยตนเอง 4.ตรวจสมดุ เคมี สสวท อง 4. ทำใบงาน 5.Google และ classroom นาํ 6.การด์ เกมส์ รเรียนรู้ ดงั นน้ั ตอ้ งมี 3 ตาราง ตามหน่วยการเรยี นรู้ )

การออกแบบการ รายวิชา เคมี กลมุ่ สาระการเรยี น หนว่ ยที่ 3 จำนว ท่ี ชือ่ หนว่ ย ผลการ จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี การเรียนรู้ เรียนรู้ 3 พันธะเคมี ขอ้ ท่ี 9-21 1.สามารถเขยี นสญั ลักษณ์ เขา้ ใจโครงสร้างอะต แบบจดุ ของลิวอิสของธาตุ จัดเรยี งธาตใุ นตารา และไอออน และระบุไดว้ า่ สมบัติของธาตพุ นั ธะ ธาตหุ รอื ไอออนน้ัน สมบัติของสาร แกส๊ เป็นไปตามกฎออกเตต ของแก๊ส ประเภทแ 2.สามารถเขยี นสญั ลักษณ์ ของสารประกอบอนิ แบบจุดของลิวอสิ จากการทำ พอลเิ มอร์ รวมทั้งกา กจิ กรรมได้อยา่ งถกู ต้อง ความรูไ้ ปใช้ประโยช แม่นยำ และวอ่ งไว (P) *(วเิ คราะห์1หนว่ ยการเรยี นรู้ ตอ่ 1 ตาราง เชน่ ในโครงสรา้ งรายวชิ ามี 3 หน่วยการ

รจดั การเรียนรู้ นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วน 25 ชวั่ โมง ยนรู้ ภาระงาน การจดั การ วิธกี ารวัดและ สอ่ื /แหล่งการ เรยี นรู้ ประเมนิ ผล เรียนรู้ ตอม การ 1. แบบฝกึ หดั 1. จัดการเรียน 1.วดั จากการทำ 1.ใบงาน างธาตุ 2. การสอบ การสอนโดย แบบฝกึ หดั 2.ใบความรู้ ะเคมแี ละ 3. ใบงาน การถาม 2.แบบทดสอบ 3.ข้อสอบ สและสมบตั ิ 4. การสืบค้น 2. การทำงาน 3.ประเมนิ ใบงาน 4.หนังสือเรียน และสมบตั ิ ความรดู้ ว้ ย กลุ่ม 4.ตรวจสมดุ เคมี สสวท นทรีย์และ ตนเอง 3.การสบื ค้นหา 5.Google ารนํา ความรู้ด้วย classroom ชน์ ตนเอง 6.การ์ดเกมส์ 4. ทำใบงาน รเรยี นรู้ ดงั น้นั ตอ้ งมี 3 ตาราง ตามหนว่ ยการเรียนรู้ )

17 ขอ้ แนะนำในการเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ องคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ ขอ้ แนะนำการเขียน 1.หัวแผน เขยี นให้ชดั เจน กะทัดรัด เหมาะสมครอบคลุมเนอ้ื หาสาระการเรยี นรูแ้ ละเวลา ทกี่ ำหนด 2.มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้วี ดั หลักสตู รกำหนดให้สง่ิ ท่ีต้องการเกิดขึ้นกบั ผู้เรียน ใหค้ รอบคลุมเมือ่ จบหลักสตู ร ผ้เู รียนจะเรยี นรอู้ ะไร และจะปฏบิ ัตอิ ะไรได้ผา่ นการเรยี นรจู้ ากสาระการเรียนรู้ 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ กำหนดสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน โดยให้ครอบคลุมหัวข้อเรื่อง เน้น พฤติกรรมและจติ พิสยั โดยเขียนเปน็ ขอ้ ๆ เรียงตามลำดับ 2. สาระสำคญั เขียนให้กะทัดรัด เป็นหัวข้อย่อยหรือความเรียงก็ได้ แต่ต้องสอดคล้องกับช่ือ หน่วย หัวข้อเรื่อง เน้นให้รู้ว่าจะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับอะไรและเรื่องนั้นสำคัญ อยา่ งไร 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ กำหนดสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน โดยให้ครอบคลุมหัวข้อเรื่อง เน้น พฤติกรรม พุทธพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย โดยเขียนเป็นข้อ ๆ เรียง ตามลำดับ 4. สาระการเรียนรู้ กำหนดให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ เวลา ระดับความรู้ของผู้เรียน จึง เรียงลำดับอย่างเหมาะสมจากง่ายไปหายาก โดยเขียนเน้นเฉพาะประเด็นท่ี สำคัญ (รายละเอียดอยูใ่ นใบความรู้) 5.ภาระงาน ชิ้นงานที่ทำให้ทราบว่าผู้เรียนได้ความรู้ มีทักษะสอดคล้องกับจุดประสงค์ ตัวช้ีวัดตามแผนการจดั การเรียนรู้ 6.การบรู ณาการ สิ่งที่เรียนรู้ มีความรู้ ทักษะและวัดและประเมินผลควบคู่กับการจัดกิจกรรม ตามจดุ ประสงค์ 7.กิจกรรมการเรยี นรู้ ระบุกิจกรรมที่เลือกตามบทบาทของผู้สอนและผู้เรียน โดยเขียนให้ชัดเจนใน แต่ละขั้นตอนของกระบวนการจัดการเรียนรู้ และเหมาะสมกับเวลา หากมี หลายกิจกรรมต้องเป็นกิจกรรมต่อเนื่องตามลำดับที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้ ตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ทก่ี ำหนดไว้ 8. ส่อื การเรียนรู้ กำหนดให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ และ เวลา โดยทวั่ ไปจะแบ่งเป็นส่อื สิง่ พิมพ์ (เอกสาร ตำรา ใบช่วยสอน) และส่อื โสต ทศั น์ 9. การวดั ประเมินผล ต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์และกิจกรรม โดยทั่วไปแบ่งเป็นการประเมิน ภาคทฤษฎี (ประเมินด้านพุทธพิสัยและจิตพิสัย) และการประเมินภาคปฏิบัติ (ประเมินด้านทักษะพิสัย) รวมทั้งต้องกำหนดเครื่องมือที่ใช้วัดและเกณฑ์การ ประเมนิ ให้ชดั เจน 10. กจิ กรรมเสนอแนะ กำหนดใหส้ อดคล้องกับเนื้อหาและจุดประสงค์ โดยอาจเปน็ กิจกรรมท่ที ำนอก เวลาเพ่ือเสรมิ ความรูค้ วามเขา้ ใจ ทักษะและประสบการณ์ หรอื สิง่ ทต่ี อ้ งเตรียม ล่วงหนา้ 11. บนั ทึกหลังการจัดการเรยี นรู้ ระบุถึงข้อดี ข้อด้อย ปัญหาอปุ สรรคในการจัดการเรียนรู้ และแนวทางแก้ไข

18 คำกริยาเชงิ พฤติกรรมตามตัวชว้ี ัดทงั้ 3 ด้าน ผลการเรียนรู้ คำแสดงกริยาเชิงพฤติกรรม 1. ด้านพทุ ธพิ ิสัย (K) บอก เลา่ อธิบาย บรรยาย ระบุ ยกตวั อยา่ ง ฯลฯ 2. ด้านทักษะพิสัย (P) 2.1 กระบวนการคิด จำแนก จดั กลุ่ม เปรยี บเทยี บ นำไปใช้ ประยุกต์ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมิน ตัดสินใจ แกป้ ัญหา คดิ เปน็ ระบบ ฯลฯ 2.2 กระบวนการกลุ่ม ทำงานเป็นกล่มุ ทำงานเปน็ ทมี แสดงบทบาทหวั หน้า บทบาทเลขานกุ าร บทบาทสมาชิก ฯลฯ 2.3 การปฏบิ ตั ิ ทดลอง ทำกจิ กรรม ประดษิ ฐ์ สร้าง ออกแบบ คำนวณ ผลติ พฒั นา ใช้ อุปกรณ์ ใชเ้ ครือ่ งมอื ใชว้ สั ดุ ฯลฯ 2.4 กระบวนการนสอื่ สาร ฟงั พูด อ่าน เขียน ดู ฯลฯ 2.5 กระบวนการสังคม ทำงานร่วมกบั ผอู้ ่ืน มปี ฏสิ มั พนั ธก์ ับผอู้ น่ื โต้แยง้ อยา่ งมเี หตผุ ล ลดความ ขดั แย้ง ขจดั ความขดั แยง้ ยอมรบั ฟงั ฯลฯ 3. ดา้ นจติ พิสัย (A) คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 8 ขอ้ ตระหนกั ใฝ่รู้ รบั ผดิ ชอบ ตรงเวลา รกั การอา่ น มุ่งมนั่ จิตอาสา คำกรยิ าแสดงพฤตกิ รรมในจุดประสงค์การเรียนรู้ดา้ นพุทธิพสิ ยั (K)เพือ่ จดั ทำแผนฯ ความรู้ ความเขา้ ใจ การนำไปใช้ การวเิ คราะห์ การสงั เคราะห์ การประเมนิ คา่ (knowledge) (Comprehension) (application) (anylysis) (synthetic) (evaluation) บอก รวบรวม อธิบาย ประยกุ ต์ จำแนกแยกแยะ เขยี นบรรยาย วิพากษ์ วจิ ารณ์ เลา่ ประมวล ช้ี เปรยี บเทียบ ขยาย ปรบั ปรุง หาขอ้ อา้ งอิง หา อธิบาย เลา่ บอก ตดั สนิ จัดลำดบั ระบุ ความ แสดง แก้ปญั หา เหตผุ ล หา เรียบเรียง สรา้ ง จดั ประเมนิ ค่า ให้ความหมาย ความเหน็ เลอื ก จดั ทำ หลกั ฐาน ประดษิ ฐ์ แต่ง ตีค่า สรปุ จำแนก ตีความหมาย ปฏบิ ัติ แสดง ตรวจสอบ หา ดัดแปลง ปรับแก้ ทำ เปรยี บเทยี บ ให้คำนิยม ทอ่ ง คาดการณ์ สาธติ ผลติ ขอ้ สรปุ จัดกลุ่ม ใหม่ ออกแบบ จัดอันดบั เลอื ก คาดคะเน สรุป ยอ่ หาหลักการ ปฏิบัติ คดิ รเิ รมิ่ กำหนดเกณฑ์ ทำนาย บอก ระบุ ชี้ ต้งั สมมตฐิ าน ตง้ั ตดั สนิ ใจ ใจความสำคญั กะ จุดมงุ่ หมาย ทำนาย แสดงความ ประมาณ แจกแจงรายละเอยี ด คดิ เห็น ทำนายจัดหมวดหมู่ ใหเ้ หตุผล แกป้ ัญหา บอกหลักฐาน

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรื่อง ความปลอดภยั ในการทำงานกับสารเคมี เวลา 2 ชว่ั โมง รหสั วชิ า ว31221 รายวิชา เคมี 1 กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 1.5 หน่วยกจิ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... สาระเคมี เขา้ ใจหลักการทำปฏิบัตกิ ารเคมีการวัดปรมิ าณสาร หนว่ ยวัดและ การเปลีย่ นหน่วย การคำนวณ ปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทัง้ การบูรณาการความรู้และทกั ษะในการอธิบาย ปรากฏการณใ์ นชีวติ ประจำวนั และการแก้ปญั หาทางเคมี สาระ/ผลการเรยี นรู้ ม.4/1 บอกและอธบิ ายขอ้ ปฏบิ ัติเบอ้ื งตน้ และปฏบิ ัตติ น ทแ่ี สดงถึงความตระหนักในการทำปฏบิ ัตกิ าร เคมี เพ่ือใหม้ ีความปลอดภัยทัง้ ตอ่ ตนเอง ผู้อนื่ และสงิ่ แวดลอ้ ม และเสนอแนวทางแกไ้ ขเมื่อเกดิ อุบตั เิ หตุ สาระการเรียนรู้ การทำปฏบิ ัติการเคมีต้องคำนึงถงึ ความปลอดภยั และความเป็นมติ รต่อสง่ิ แวดลอ้ ม ดังนัน้ จึงควร ศกึ ษาขอ้ ปฏบิ ัตขิ องการทำปฏบิ ัติการเคมีเชน่ ความปลอดภัยในการใช้อปุ กรณ์และสารเคมีการปอ้ งกนั อุบัตเิ หตุ ระหว่างการทดลองการกําจัดสารเคมี สาระสำคญั การทดลองถือเป็นหวั ใจของการศกึ ษาค้นควา้ ทางเคมีท่ีสามารถนำไปสกู่ ารคน้ พบและความรู้ใหมท่ าง เคมี นอกจากนีย้ งั สามารถชว่ ยถ่ายทอดความรู้แก่นักเรียนใหเ้ กดิ ความรู้และความเขา้ ใจในบทเรยี นไดด้ ียิ่งข้ึน การทดลองทางเคมสี ำหรบั นกั เรียนนิยมทำในหอ้ งปฏิบตั ิการและมีความเกย่ี วขอ้ งกับสารเคมี อปุ กรณแ์ ละเครอื่ งมอื ต่าง ๆ ผู้ทำปฏิบตั กิ ารจึงตอ้ งทราบเกีย่ วกับประเภทของสารเคมที ี่ใช้วธิ ปี ฏิบตั ิการทดลอง ข้อควรปฏิบตั ิในการทำปฏบิ ตั กิ ารเคมี และการกำจดั สารเคมเี พือ่ ใหส้ ามารถทำปฏิบตั กิ ารไดอ้ ย่างปลอดภัย รวมถึงมคี วามรแู้ ละสามารถปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ เพ่อื ลดความรนุ แรงและความเสยี หายทเ่ี กิดข้นึ ได้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. ระบคุ วามเปน็ อันตรายของสารเคมีจากสญั ลักษณ์และขอ้ มลู และขอ้ มลู บนฉลากสารเคมี (K) 2.อธบิ ายขอ้ ปฏิบตั เิ บ้ืองต้นและการปฏบิ ตั ติ นท่แี สดงถึงความตระหนกั ในการทำปฏบิ ตั ิการเคมเี พอื่ ให้ มีความปลอดภยั ท้งั ตอ่ ตนเอง ผู้อื่นและส่ิงแวดล้อม และเสนอแนวทางแกไ้ ขเม่อื เกิดอุบตั เิ หตุ (K)

3. ปฏบิ ตั ิตนท่แี สดงถงึ ความตระหนักในการทำปฏิบตั กิ ารเคมเี พ่อื ให้มีความปลอดภยั ทงั้ ตอ่ ตนเอง ผอู้ ืน่ และสงิ่ แวดลอ้ ม และเสนอแนวทางแกไ้ ขเมื่อเกดิ อบุ ัตเิ หตุ (P) 4. แสดงความเป็นคนช่างสงั เกต ช่างคดิ ชา่ งสงสยั ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ✓ 2. ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต ✓ 3. มวี ินยั ✓ 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง ✓ 6. ม่งุ มั่นในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย ✓ 8. มีจิตสาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน ✓ 1. มคี วามสามารถในการสอื่ สาร ✓ 2. มคี วามสามารถในการคิด ✓ 3. มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา ✓ 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ✓ 5. มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลัก (Core Subjects) ✓ 2. ทกั ษะการเรยี นรู้ และนวตั กรรม ✓ 3. ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่อื และเทคโนโลยี ✓ 4. ทกั ษะด้านชวี ิต และอาชีพ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขั้นสร้างความสนใจ 1.ครนู ำเข้าส่บู ทเรียนเรื่อง ความปลอดภยั ในการทำงานกับสารเคมี โดยครถู ามคำถามกระตนุ้ ความคิดนักเรยี นดังนี้ การทำปฏิบัตกิ ารเคมีไดอ้ ยา่ งปลอดภยั จะตอ้ งคำนงึ ถงึ เรื่องใดบา้ ง 2.และยกตวั อยา่ งสถานการณว์ ่า “วนั หนงึ่ ครูกำลังข่รี ถมาโรงเรยี น จูๆ่ รถบรรทุกเกิดการพลกิ คว่ำ จากนน้ั เกดิ เพลงิ ไหม้บรเิ วณนน้ั และถามนกั เรียนว่า ทำไมถึงเกิดเปลวไฟได้

วันน้เี รามาดกู นั ว่าเกิดเพลงิ ไหม้ไดอ้ ย่างไร ” 3.จากนัน้ กระตนุ้ ความสนใจนกั เรยี นโดยแสดงรปู สญั ลักษณ์ความเป็นอันตราย ที่อย่ขู ้างรถบรรทุกสารเคมี ข้นั สำรวจและคน้ หา 4.ให้นักเรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน โดยใหน้ กั เรยี นจับฉลากสญั ลกั ษณค์ วามปลอดภยั โดยใครท่ีจับได้สญั ลกั ษณเ์ หมอื นกัน จะอย่กู ลุม่ เดยี วกนั 5.ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุม่ ชว่ ยกนั ทำใบกิจกรรมที่ 1 โดยหา SDS ของสาร และสญั ลกั ษณแ์ สดงความเปน็ อนั ตราย โดย กลุ่ม 1 หา กรดไฮโดรคลอรกิ กลมุ่ 2 หา โซเดยี มไฮดรอกไซด์ กลุ่ม 3 หา กรดซัลฟวิ รกิ กลมุ่ 4 หา ไดคลอโรมเี ทน กลมุ่ 5 หา เฮกเซน จากนัน้ ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ออกมานำเสนอ 6.ครใู ห้ทำกจิ กรรมดงั กลา่ วเพอื่ เขา้ ส่เู นอื้ หาเรอื่ งฉลากและสญั ลกั ษณ์แสดงความเปน็ อนั ตรายของสารเคมีในระบ บ GHS และระบบ NFPA 7.ครยู กตวั อยา่ งฉลากสารเคมี ดงั รูป 1.1 ดงั รปู ตามรายละเอยี ด ในหนงั สอื เรียน ได้แก่ แอมโมเนีย (NH3) กรดไฮโดรคลอรกิ เข้มข้น (HCl) 8.ครชู ี้ประเด็นให้นกั เรียนเหน็ ว่ารายละเอยี ดของขอ้ มลู มอี งค์ประกอบส่วนใหญ่คลา้ ยคลงึ กนั แต่ ตำแหน่งของข้อมูลตา่ ง ๆ บนฉลากอาจต่างกัน

9.ครูให้นกั เรยี นศกึ ษาเกยี่ วกบั สัญลกั ษณแ์ สดงความเปน็ อนั ตรายในระบบ GHS และยกตวั อยา่ ง ดังรูป 10.ครูชปี้ ระเดน็ ให้นกั เรยี นเหน็ วา่ รายละเอยี ดของข้อมูลมอี งคป์ ระกอบส่วนใหญค่ ล้ายคลึงกัน แตต่ ำแหนง่ ของ ข้อมลู ตา่ ง ๆ บนฉลากอาจต่างกนั 11.ครูใหน้ กั เรียนศกึ ษาเกี่ยวกับสญั ลักษณ์แสดงความเปน็ อนั ตรายในระบบ GHS และยกตัวอยา่ ง ดังรูป 1.2 12.ครใู ห้นกั เรียนพิจารณาฉลากของกรดไฮโดรคลอริกเข้มขน้ และแอมโมเนียในรูป 1.1 แลว้ ให้ตอบคำถามเพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจ ดงั น้ี - จากฉลากของกรดไฮโดรคลอรกิ และแอมโมเนีย สารเคมีท้งั สองมีอันตรายตามระบบ GHS อย่างไรบ้าง 13.ครยู กตัวอยา่ งสญั ลักษณ์ความเปน็ อันตรายในระบบ NFPA ของสารเคมี ดงั รูป 1.3 ตามรายละเอียด ในหนงั สือเรียน ได้แก่ กรดไฮโดรคลอรกิ เขม้ ขน้ และแอมโมเนยี และให้นักเรยี นตอบคำถามเพ่ือตรวจสอบ ความเขา้ ใจ ดังน้ี - จากสญั ลกั ษณค์ วามเปน็ อันตรายในระบบ NFPA ของกรดไฮโดรคลอริกและแอมโมเนยี สารเคมี ใดเปน็ อันตรายมากกวา่ กนั ในดา้ นความไวไฟ ความเปน็ อนั ตรายต่อสุขภาพ และความวอ่ งไวในการ เกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี 14.ครแู บ่งนักเรียนออกเป็น 7 กลุม่ ให้นกั เรียนทำใบงานเกีย่ วกับข้อควรปฏิบตั ใิ นการทำ ปฏิบัติการเคมี ทง้ั กอ่ นทำปฏบิ ัติการ ขณะทำปฏบิ ัตกิ าร และหลงั ทำปฏิบัติการเคมี 14.ครูตั้งคำถามว่า สารประกอบของโลหะเป็นพิษ เชน่ ตะกวั่ แคดเมยี ม ทีใ่ ช้แลว้ หรอื ท่เี หลอื ใชจ้ าก การทำปฏบิ ัตกิ ารเคมี เมอ่ื รวบรวมไว้แลว้ เทลงอา่ งนำ้ ไดห้ รือไม่ เพราะเหตใุ ด (ไมไ่ ด้ เพราะจะทำใหส้ ิ่งแวดลอ้ ม เปน็ พษิ จึงควรส่งให้บรษิ ัทรับกำจัดสารเคมี) เพอ่ื นำเข้าสเู่ รอ่ื งการกำจดั สารเคมี

15.ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษาเกีย่ วกับวธิ กี ารกำจดั สารเคมีอย่างถกู วิธี เพอื่ ใหเ้ กิดความปลอดภัยต่อส่ิงแวดลอ้ มและ สง่ิ มชี ีวิต 16. ครูให้นกั เรยี นดคู ลิปวิดโี อขา่ ว เก่ียวกบั การร่ัวไหลของสารเคมี ท่แี สดงถึงความเสยี หายที่เกดิ จากอุบตั ิเหตุ จากสารเคมี เพอ่ื นำเขา้ สเู่ รอื่ งอบุ ัตเิ หตทุ อ่ี าจเกิดข้ึนจากการใชส้ ารเคมีในห้องปฏิบัติการ https://www.youtube.com/watch?v=0tFmZ4brgew 18.ครูให้นกั เรียนแบ่งเป็น 4 กล่มุ แลว้ ศึกษาขอ้ มลู เกี่ยวกบั การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ ในกรณที ่เี กิด อบุ ตั เิ หตจุ ากสารเคมใี นแตล่ ะหัวขอ้ ได้แก่ การปฐมพยาบาลเมื่อรา่ งกายสมั ผสั สารเคมี สารเคมีเขา้ ตา สดู ดม แกส๊ พษิ และโดนความรอ้ น 19.จากนั้นให้นักเรียนนำเสนอการปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ โดยวิธีการแสดงละคร ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) 20.ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ ราย และลงข้อสรปุ รว่ มกนั แนวการสรปุ : ในการทาํ ปฏบิ ัตกิ ารเคมใี หเ้ กิดความปลอดภัยนอกจากต้องทราบขอ้ มลู ของสารเคมีท่ี ใช้ แล้วผู้ทําปฏบิ ัติการเคมตี อ้ งคํานึงถึงความปลอดภัยในการทํางานก่อนทําปฏบิ ัติการเคมีขณะทาํ ปฏบิ ัตกิ าร หลงั ทาํ ปฏบิ ัตเิ คมี และขอ้ ควรปฏบิ ตั ใิ นการใชส้ ารเคมี ซง่ึ กอ่ นทาํ ปฏิบตั กิ ารเคมมี ีขอ้ ควร ปฏบิ ัตดิ ังนี้ 21.ครูสรุปและอธบิ ายจากกิจกรรมที่ใหน้ กั เรียนดภู าพฉลากบนขวดของสารเคมี ดงั น้ี - สารเคมมี ีหลายประเภท แต่ละประเภทมสี มบัติแตกตา่ งกัน สารเคมีจึงจำเป็นตอ้ งมฉี ลากทม่ี ีขอ้ มูล เกีย่ วกับความเป็นอันตรายของสารเคมเี พอ่ื ความปลอดภยั ในการจัดเกบ็ การนำไปใช้ และการกำจดั โดยฉลาก ของสารเคมีท่ีใช้ในหอ้ งปฏิบตั ิการควรมขี ้อมลู ดังนี้ 1.1 ช่อื ผลิตภณั ฑ์ 1.2 รูปสญั ลกั ษณ์แสดงความเปน็ อันตรายของสารเคมี 1.3 คำเตอื น ข้อมูลความเป็นอนั ตราย และขอ้ ควรระวัง 1.4 ข้อมูลของบรษิ ัทผผู้ ลติ สารเคมี บนฉลากบรรจภุ ณั ฑม์ สี ญั ลักษณแ์ สดงความเป็นอันตรายทสี่ ื่อความหมายไดช้ ดั เจนเพอื่ ให้

ผใู้ ช้สงั เกตได้งา่ ย สญั ลกั ษณ์แสดงความเปน็ อันตรายมีหลายระบบ ซ่ึงในทีน่ ีจ้ ะกลา่ ว 2 ระบบ ทมี่ กี ารใช้กัน อย่างแพร่หลาย คือ ระบบ GHS ซึง่ เปน็ ระบบท่ใี ช้สากล และระบบ NFPA เป็นระบบทใ่ี ชใ้ นสหรฐั อเมริกา ซงึ่ สญั ลกั ษณ์ท้งั สองระบบน้ี สามารถพบเหน็ ได้ท่ัวไปบนบรรจภุ ัณฑ์สารเคมี 22.ครอู ธิบายจากการท่ีให้นกั เรียนศกึ ษาเกยี่ วกับสญั ลกั ษณแ์ สดงความเป็นอันตรายในระบบ GHS ดังนี้ - สญั ลกั ษณแ์ สดงความเป็นอนั ตรายในระบบ GHS จะแสดงสัญลกั ษณ์ในสเ่ี หลี่ยมกรอบสีแดง พนื้ สี ขาว ดังรปู 1.2 23.ครสู รปุ และอธิบายจากกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจเรอ่ื งฉลากของกรดไฮโดรคลอรกิ เขม้ ข้นและ แอมโมเนยี ในรูป 1.1 ดังน้ี - จากฉลากของกรดไฮโดรคลอริกและแอมโมเนยี สารเคมที ง้ั สองมอี นั ตรายตามระบบ GHS อยา่ งไรบา้ ง (กรดไฮโดรคลอรกิ เปน็ สารกดั กร่อนและเป็นอนั ตรายต่อสุขภาพ และแอมโมเนยี เปน็ สารกดั กรอ่ น สารไวไฟ และมอี นั ตรายถึงชวี ติ ) 24.ครสู รุปและอธิบายเกยี่ วกบั สัญลกั ษณแ์ สดงความเปน็ อนั ตรายในระบบ NFPA และกจิ กรรม ตรวจสอบความเข้าใจในรูป 1.3 ดังน้ี - สญั ลกั ษณ์แสดงความเป็นอนั ตรายในระบบ NFPA จะใชส้ แี ทนความเปน็ อันตรายในดา้ นต่าง ๆ ไดแ้ ก่ สแี ดง แทนความไวไฟ สนี ้ำเงินแสดงความเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ สีเหลอื งแทนความวอ่ งไวในการ เกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี โดยใสเ่ ลข 0-4 เพ่อื ระบรุ ะดับความเป็นอนั ตรายจากนอ้ ยไปมาก และชอ่ งสขี าวใชใ้ ส่อกั ษร หรอื สญั ลักษณ์ท่ีแสดงสมบตั ทิ ่ีเป็นอนั ตรายด้านอนื่ ๆ - จากสญั ลักษณ์ความเป็นอนั ตรายในระบบ NFPA ของกรดไฮโดรคลอริกและแอมโมเนยี สารเคมใี ด เป็นอันตรายมากกว่ากนั ในดา้ นความไวไฟ ความเปน็ อันตรายต่อสุขภาพ และความว่องไวในการเกิดปฏกิ ริ ยิ า เคมี (แอมโมเนยี มคี วามไวไฟมากกว่ากรดไฮโดรคลอรกิ แตก่ รดไฮโดรคลอรกิ มคี วามวอ่ งไวในการทำปฏกิ ริ ยิ า เคมีมากว่าแอมโมเนีย และสารทง้ั สองชนิดมีระดบั ความเป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพเท่ากนั ) 20. ข้อควรปฏิบตั ใิ นการทำปฏิบตั ิการเคมี กอ่ นทำปฏบิ ตั ิการ 1. ศกึ ษาขั้นตอนหรอื วธิ กี ารทำปฏบิ ัตกิ ารให้เขา้ ใจ วางแผนการทดลอง หากมขี อ้ สงสัยตอ้ ง สอบถามครูผสู้ อนกอ่ นทำการทดลอง 2. ศึกษาขอ้ มลู ของสารเคมีที่ใช้ในการทดลอง เทคนคิ การใช้เครอื่ งมอื วสั ดุอปุ กรณ์ ตลอดจนวิธกี าร ทดลองที่ถกู ตอ้ งและปลอดภยั

3. แตง่ กายใหเ้ หมาะสม เช่น สวมกางเกงหรอื กระโปรงยาว สวมรองเท้ามดิ ชิดส้นเตย้ี คนทมี่ ผี ม ยาวควรรวบผมใหเ้ รียบรอ้ ย หลกี เลยี่ งการสวมใสเ่ ครอื่ งประดบั และคอนแทรกเลนส์ ขณะทำปฏบิ ตั กิ าร ขอ้ ปฏิบัตโิ ดยทวั่ ไป 1.สวมแวน่ ตานริ ภยั สวมเสอ้ื คลมุ ปฏบิ ัตกิ าร สวมถุงมอื เมอ่ื ใชส้ ารท่ีมฤี ทธกิ์ ัดกรอ่ น หรอื เป็นอนั ตราย 2.หา้ มรบั ประทานอาหารและเครอ่ื งดื่ม 3.ไม่ทำการทดลองในห้องปฏบิ ตั กิ ารเพยี งลำพงั 4.ไม่เล่นและรบกวนผอู้ ่นื ในขณะทำปฏบิ ัติการ 5.ปฏิบตั ิตามขั้นตอนและวธิ ีการอย่างเคร่งครดั 6.ไม่ปล่อยใหอ้ ุปกรณ์ใหค้ วามรอ้ นทำงานโดยไม่มคี นดแู ล ขอ้ ปฏิบัตินารใช้สารเคมี 1.อา่ นชอ่ื สารเคมบี นฉลากใหแ้ น่ใจก่อนนำสารเคมไี ปใช้ 2.การเคล่ือนยา้ ย การแบ่ง และการถา่ ยเทสารเคมตี ้องทำด้วยความระมดั ระวัง 3.การทำปฏิกิรยิ าของสารในหลอดทดลอง ตอ้ งหันปากหลอดทดลองออกจากตวั เองและผูอ้ นื่ 4.ห้ามชิมหรือสูดดมสารเคมีโดยตรง ตอ้ งทดสอบกลน่ิ ให้ใช้มือโบกใหไ้ อของสารเข้าจมกู เลก็ น้อย 5.การเจือจางกรด ห้ามเทนำ้ ลงกรดแต่ใหเ้ ทกรดลงนำ้ 6.ไมเ่ ทสารเคมีทีเ่ หลอื จากการเทหรอื ตกั ออก กลับเข้าขวดอยา่ งเด็ดขาด 7. เมอ่ื สารเคมีหกในปรมิ าณเลก็ น้อยให้กวาดหรอื เชด็ หลงั ทำปฏบิ ัติการ 1.ทำความสะอาดอุปกรณ์ เคร่ืองแกว้ วางและเก็บในบรเิ วณท่ีจดั เตรยี มไว้ รวมทงั้ ทำความสะอาด โตะ๊ ทำปฏิบตั ิการ 2.ก่อนออกจากหอ้ งปฏิบัตกิ ารให้ถอดอปุ กรณ์ปอ้ งกนั อันตราย การกำจดั สารเคมี 1.สารเคมที ่เี ปน็ ของเหลวไมอ่ นั ตรายทล่ี ะลายนำ้ ได้และมี pH เป็นกลาง ปรมิ าณไมเ่ กนิ 1 ลติ ร สามารถเทลง อ่างน้ำและเปดิ นำ้ ตามมาก ๆ ได้ 2.สารละลายเข้มข้นบางชนดิ เชน่ กรดไฮโดรคลอริก โซเดยี มไฮดรอกไซด์ ไมค่ วรทง้ิ ลงอา่ งนำ้ หรอื ท่อ น้ำทนั ที ควรเจอื จางก่อนเทลงอ่างนำ้ ถ้ามีปริมาณมากต้องทำให้เปน็ กลางกอ่ น 3.สารเคมีทเี่ ป็นของแข็งไมอ่ นั ตราย ปริมาณไมเ่ กิน 1 กโิ ลกรมั สามารถใสใ่ นภาชนะทป่ี ิดมิดชดิ พร้อม ทั้งตดิ ฉลากช่ือใหช้ ดั เจน กอ่ นทง้ิ ในทีซ่ ง่ึ จดั เตรยี มไว้ 4.สารไวไฟ ตัวทำละลายทไ่ี มล่ ะลายน้ำ สารประกอบของโลหะเปน็ พษิ หรือสารที่ทำปฏกิ ิริยากบั น้ำ หา้ มท้งิ ลงอ่างน้ำ ให้ท้ิงไวใ้ นภาชนะที่ทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการจดั เตรยี มไวใ้ ห้

ข้นั ขยายความรู้ (elaboration) ครยู กตวั อยา่ งของใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ที่มี ฉลากความเปน็ อนั ตรายใหน้ กั เรียนดู ขนั้ ประเมนิ (evaluation) 1.ครูใหน้ กั เรยี นทำใบงานที่ 1 เร่ือง ขอ้ ควรปฏบิ ัตใิ นการทำปฏิบตั กิ ารเคมี 2.ครปู ระเมนิ ผลของนักเรียน ดงั นี้ สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี น สังเกตจากการรายงานหรอื จากผลที่ได้ ทำกิจกรรมของนักเรยี น การตอบคำถามในช้นั เรยี น การจัดบรรยากาศเชิงบวก ครูกระตุ้นให้นกั เรยี นแสดงความคดิ เหน็ โดยไมต่ ้องกงั วลว่าถูกหรอื ผิด และช่วยกนั ปรบั ปรุงแกไ้ ขได้ ควรใหโ้ อกาสนกั เรียนไดน้ ำเสนอผลการทำกิจกรรมในชัน้ เรยี น เพ่ือเปน็ การแบ่งปันความรตู้ ่อนักเรยี นกลุ่มอื่น ๆ และเกิดการอภปิ รายระหวา่ งกลุ่ม สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 1. รูปหรือขวดสารเคมีทม่ี สี ัญลักษณ์และข้อมลู ในฉลากสารเคมี 2. หนงั สอื แบบเรียนรายวชิ าเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร์ เคมเี ล่ม 1 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๔ ของสถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวดั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 3. ค่มู ือครรู ายวชิ าเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์ เคมเี ล่ม 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๔ ของสถาบันสง่ เสริมการสอน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชว้ี ัด กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 4. สื่อจากอินเทอรเ์ นต็ เพอื่ ใชใ้ นการสืบคน้ ขอ้ มลู เพิ่มเติม

การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) เกณฑ์การวดั วิธกี ารวัดผลและการประเมนิ ผล เครือ่ งมือวัดและประเมนิ ผล -ใบงานท่ี 1 เรือ่ ง ข้อควรระวงั ใน -คำตอบในใบงานที่ 1 เรอ่ื งขอ้ ควร หอ้ งปฏิบัตกิ าร ระวังในหอ้ งปฏิบัติการ 80% ข้ึนไป ผ่านเกณฑ์ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ ม (A) เกณฑ์การวดั วธิ กี ารวดั ผลและการประเมนิ ผล เคร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผล สังเกตพฤติกรรม การเขา้ เรยี น การ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ระดบั คุณภาพ พอใช้ ผา่ น ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและการส่งงานของ ประสงค์ รายบุคคล เกณฑ์ นักเรียน ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) เกณฑก์ ารวดั วธิ กี ารวดั ผลและการประเมนิ ผล เครื่องมือวัดและประเมนิ ผล สังเกตพฤตกิ รรมการรว่ มทำกจิ กรรมใน แบบประเมินพฤตกิ รรมการรว่ มทำ ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ ผา่ น ห้องเรียน การ กจิ กรรมในหอ้ งเรียน รายกลมุ่ เกณฑ์

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.....................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ................/.................../................ ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.....................................................ผู้ตรวจ(ครพู เ่ี ล้ียง) ................/.................../................

ใบงานท่ี 1 เรอื่ งข้อควรระวงั ในหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ขอ้ ควรระวังก่อนทำปฏบิ ตั กิ าร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..……………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..……………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ขอ้ ควรระวังขณะปฏบิ ัตกิ าร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ข้อควรระวงั หลงั ทำปฏบิ ตั ิการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

เฉลยใบงานที่ 1 เรอื่ งขอ้ ควรระวังในห้องปฏบิ ตั ิการ ขอ้ ควรระวังกอ่ นทำปฏบิ ัติการ 1. ศกึ ษาขนั้ ตอนหรือวธิ กี ารทำปฏบิ ตั กิ ารให้เขา้ ใจ วางแผนการทดลอง หากมีขอ้ สงสัยตอ้ ง สอบถามครูผสู้ อนกอ่ นทำการทดลอง 2. ศึกษาขอ้ มูลของสารเคมที ีใ่ ช้ในการทดลอง เทคนิคการใชเ้ ครอ่ื งมือ วสั ดุอปุ กรณ์ ตลอดจนวิธีการ ทดลองท่ีถูกตอ้ งและปลอดภยั 3. แตง่ กายใหเ้ หมาะสม เช่น สวมกางเกงหรอื กระโปรงยาว สวมรองเทา้ มดิ ชิดส้นเตยี้ คนทมี่ ผี ม ยาวควรรวบผมใหเ้ รยี บรอ้ ย หลกี เลย่ี งการสวมใส่เครอ่ื งประดบั และคอนแทรกเลนส์ ข้อควรระวังขณะทำปฏบิ ตั กิ าร ขอ้ ปฏิบตั ิโดยทัว่ ไป 1.สวมแวน่ ตานริ ภยั สวมเสอ้ื คลุมปฏบิ ตั ิการ สวมถุงมอื เมอ่ื ใชส้ ารท่มี ีฤทธ์ิกดั กรอ่ น หรอื เปน็ อันตราย 2.หา้ มรบั ประทานอาหารและเครอ่ื งดม่ื 3.ไม่ทำการทดลองในห้องปฏบิ ัตกิ ารเพียงลำพงั 4.ไมเ่ ลน่ และรบกวนผอู้ ื่นในขณะทำปฏิบัติการ 5.ปฏิบตั ิตามขั้นตอนและวธิ ีการอยา่ งเครง่ ครัด 6.ไม่ปล่อยใหอ้ ปุ กรณ์ใหค้ วามรอ้ นทำงานโดยไมม่ ีคนดูแล ขอ้ ปฏบิ ตั นิ ารใช้สารเคมี 1.อ่านชอื่ สารเคมบี นฉลากใหแ้ นใ่ จกอ่ นนำสารเคมีไปใช้ 2.การเคล่ือนยา้ ย การแบง่ และการถ่ายเทสารเคมตี ้องทำด้วยความระมดั ระวัง 3.การทำปฏิกริ ยิ าของสารในหลอดทดลอง ตอ้ งหันปากหลอดทดลองออกจากตวั เองและผอู้ นื่ 4.ห้ามชมิ หรือสดู ดมสารเคมีโดยตรง ตอ้ งทดสอบกลิ่นให้ใช้มือโบกให้ไอของสารเข้าจมกู เล็กน้อย 5.การเจอื จางกรด หา้ มเทนำ้ ลงกรดแตใ่ ห้เทกรดลงนำ้ 6.ไม่เทสารเคมที เี่ หลอื จากการเทหรอื ตกั ออก กลับเขา้ ขวดอยา่ งเด็ดขาด 7. เมอ่ื สารเคมหี กในปริมาณเลก็ นอ้ ยให้กวาดหรอื เช็ด ข้อควรระวงั หลงั ทำปฏบิ ัตกิ าร 1.ทำความสะอาดอุปกรณ์ เคร่อื งแกว้ วางและเกบ็ ในบรเิ วณทจ่ี ัดเตรยี มไว้ รวมท้ังทำความสะอาด โต๊ะทำปฏบิ ตั ิการ 2.ก่อนออกจากหอ้ งปฏิบัติการให้ถอดอุปกรณป์ อ้ งกนั อนั ตราย

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ กลมุ่ คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับระดับคะแนน กลุ่ม …………………… สมาชกิ ของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. คณุ ภาพการปฏบิ ัติ ลำดบั ท่ี พฤติกรรม 432 1 1 มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรับฟังกนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามกระตือรือร้น และตังใจในการทำงาน 3 มีการจดั การทดี่ ภี ายในกลุ่มมกี ารวางแผนอย่างเปน็ ระบบ 4 มีการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในกลุ่ม 5 มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน 6 มีการทำงานไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย รวม ลงชอื่ ……………………………………………………ผู้ประเมิน ….………/……………./………….. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครง้ั = 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั 21-24 ดีมาก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรบั ปรงุ

แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ลำดบั ชอ่ื -นามสกุล ผู้ถกู ประเมนิ พฤติกรรม รวม ตัง้ ใจในการ การตอบ มีความ ตรงต่อ ทำงาน คำถาม รบั ผดิ ชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ = 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง = 2 คะแนนปฏบิ ัติ หรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยครงั้ = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับ 10-12 ดมี าก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรงุ

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ นกั เรยี นสามารถระบคุ วามเปน็ อนั ตรายของสารจากสารเคมไี ด้ นักเรียนอธบิ ายขอ้ ควรปฏิบตั ใิ นการทดลองเคมีได้ ดา้ นทักษะ - ด้านคุณธรรม นักเรยี นแสดงความใฝ่เรยี นรู้ มีความสงสยั ด้านทักษะชวี ติ เพือ่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปญั หา/อปุ สรรค และขอ้ คน้ พบ ไม่มี ๓. ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข และผลการแก้ไข ไมม่ ี ลงชอ่ื .....................................................ผู้สอน (................................................)



แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความปลอดภยั เร่ือง การวัดปรมิ าณสาร เวลา 2 ชว่ั โมง และทักษะในปฏบิ ตั กิ ารเคมี รหัสวชิ า ว 31221 วชิ า เคมี 1 กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกจิ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... สาระเคมี เข้าใจหลักการทำปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การคํานวณปริมาณ ของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการความรู้และทักษะในการอธิบายปรากฏการณ์ใน ชีวติ ประจำวนั และการแกป้ ญั หาทางเคมี สาระ/ผลการเรยี นรู้ ม.4/2 เลอื กและใช้อุปกรณ์หรือเครอื่ งมอื ในการทำปฏบิ ตั กิ าร และวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม สาระการเรยี นรู้ อุปกรณ์และเครื่องมอื ชั่ง ตวง วดั แตล่ ะชนิดมีวิธกี ารใช้งานและการดูแลแตกตา่ งกนั ซึง่ การ วัดปริมาณต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่มีความเที่ยงและความแม่นในระดับนัยสําคัญที่ต้องการ ต้องมีการเลือกและใช้ อุปกรณ์ในการทำปฏิบัตกิ ารอยา่ งเหมาะสม สาระสำคัญ ในปฏบิ ัตกิ ารเคมีจำเปน็ ต้องมกี ารชง่ั ตวง และวดั ปริมาณสารซึ่งการชั่ง ตวง วดั มีความคลาดเคลอ่ื นที่เกิด จากอุปกรณ์ที่ใช้หรือผู้ทำปฏิบัติการที่จะส่งผลให้ผลการทดลองที่ได้มีความมากกว่าหรือน้อยกว่าค่าจริง ความ น่าเชื่อถือของข้อมูลสามารถพิจารณาได้ 2 ส่วนด้วยกันคือ ความเที่ยง (precision) และความแม่น (accuracy) ของข้อมูลโดยความเที่ยงคือ ความใกล้เคียงของข้าวที่ได้จากการวัดส่วนความแม่นคือความใกล้เคียงของค่าเฉล่ีย จากการวดั ซำ้ เทยี บกับคา่ จรงิ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกวธิ กี ารใชอ้ ปุ กรณห์ รือเครอ่ื งมือในการทำปฏิบัติการ และวดั ปริมาณต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (K) 2. อา่ นค่าปรมิ าณจากการวดั โดยแสดงเลขนัยสำคญั ทีถ่ กู ตอ้ ง (K)

3. เลือกและใช้อุปกรณ์หรือเครือ่ งมอื ในการทำปฏิบัตกิ าร และวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม (P) 4. แสดงความเป็นคนช่างสังเกต ช่างคดิ ช่างสงสยั ใฝ่เรยี นรู้ และมุง่ ม่นั ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ✓ 2. ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ ✓ 3. มีวินัย ✓ 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 5. อย่อู ย่างพอเพยี ง ✓ 6. มุ่งม่ันในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย ✓ 8. มีจติ สาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ✓ 1. มีความสามารถในการสอ่ื สาร ✓ 2. มคี วามสามารถในการคดิ ✓ 3. มีความสามารถในการแก้ปัญหา ✓ 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ✓ 5. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลัก (Core Subjects) ✓ 2. ทักษะการเรยี นรู้ และนวตั กรรม ✓ 3. ทักษะดา้ นสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี ✓ 4. ทกั ษะด้านชวี ติ และอาชีพ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ สรา้ งความสนใจ (engagement) 1. ครูให้นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนใน Google form 2.. ครูใหน้ กั เรยี นเล่นเกมส์ คขู่ องฉนั คอื ใคร (วธี ีการเล่น : ให้นักเรยี นจับฉลากจากนนั้ ใหน้ กั เรียนตามหาคู่ ของตนเอง ตัวอยา่ งคู่ฉลาก เช่น

กระบอกตวง เม่ือนกั เรยี นหาคู่ได้ครบแลว้ ครูให้นักเรียนช่วยกนั แบง่ ประเภทอุปกรณ์ในฉลาก วา่ อปุ กรณใ์ ด ทเี่ ป็นอปุ กรณใ์ ช้ สำหรบั วดั ปรมิ าตร และไมใ่ ชอ่ ุปกรณว์ ัดปรมิ าตร ขนั้ สำรวจและคน้ หา (exploration) 1. ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน เพือ่ ทำกิจกรรม 2.ครูอธิบายวา่ “ในการวดั ปรมิ าณสารต่างๆ สามารถเกดิ ความคลาดเคลอื่ นทอ่ี าจเกิดจากอปุ กรณ์หรอื จากผู้ทำการปฏบิ ัติ ทส่ี ่งผลใหผ้ ลการทดลองท่ไี ด้มคี า่ มากกว่าหรือนอ้ ยกวา่ ค่าจริง โดยความน่าเชอื่ ถอื ของขอ้ มูล สามารถพจิ ารณาได้ 2 สว่ น คือ พิจารณาจากความเท่ียงและความ จากนน้ั ครูต้งั คำถามกับนักเรียนว่า ความเทย่ี ง และความแม่นแตกตา่ งกันอยา่ งไร พร้อมกบั แสดงภาพใน Power Point 4. ครใู ห้นักเรยี นดอู ปุ กรณ์ท่ีใชว้ ัดปริมาตร ได้แก่ บีกเกอร์ ขวดรปู กรวย กระบอกตวง ปเิ ปตต์ ทข่ี นาด ตา่ ง ๆ พรอ้ มใช้คำถามนำ ดงั นี้ ครูถามนกั เรยี นวา่ ระหวา่ งอุปกรณ์วัดปรมิ าตร อุปกรณใ์ ดมคี วามแม่นมากกวา่ กัน ดูได้จากอะไร 5.จากน้ันครูให้นกั เรียนทำกิจกรรม 1.1 เพื่อฝกึ ทักษะการใชอ้ ปุ กรณว์ ดั ปริมาตร และอุปกรณ์วัดมวล จากน้นั นำเสนอขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากกิจกรรม 6. ครตู ง้ั คำถามจากกิจกรรม 1.1 ดงั น้ี - อปุ กรณ์ชนิดใดทีใ่ ช้วดั ปริมาตรได้ใกล้เคียงค่าจรงิ และมีความแม่นมากทีส่ ุด? 7. ครูให้นกั เรยี นพจิ ารณารูปร่างของกระบอกตวงและปิเปตต์ แล้วต้ังคำถามเพอ่ื นำอภปิ รายว่า

- เพราะเหตุใดกระบอกตวงมคี า่ ความคลาดเคลื่อนมากกวา่ ปิเปตต?์ 8. ครูใหน้ ักเรียนพจิ ารณารูป 1.15 จากนน้ั ตงั้ คำถามว่า - อุณหภมู ทิ อี่ ่านได้จากเทอรโ์ มมิเตอรท์ ้ังสองค่ามีคา่ เทา่ ใด ? ซึ่งคำตอบท่ไี ด้อาจตอบวา่ 26.22 และ 26.0 องศาเซลเซียส ตามลำดบั เพื่อนำเข้าสเู่ ร่อื งเลขนัยสำคัญ 9.จากนั้นจะเปดิ power point โดยจะมรี ูปของอุปกรณ์ เพอ่ื จะให้ดเู รอ่ื งของสเกลปรมิ าตรของแตล่ ะ อปุ กรณ์ โดยจะอธิบายความหมายของเลขนัยสำคญั การปัดตัวเลข การบวกลบ คณู หาร ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ (explanation) 1. ครใู หท้ กุ กลุม่ ออกมานำเสนอผลการทดลอง การคำนวณ และการสรปุ ผลของกลุ่มตนเองว่าระหวา่ ง กระบอกตวงกับปิเปตต์ อะไรมคี วามแมน่ มากกว่ากัน พร้อมท้ังใหเ้ หตุผลประกอบ 2. ครูสรุปผลการทดลองอกี ครง้ั วา่ ระหวา่ งกระบอกตวงกับปเิ ปตต์ อะไรมีความแมน่ มากกวา่ กนั (แนว ทางการสรุป : ปิเปตตเ์ ปน็ อุปกรณท์ วี่ ดั ปรมิ าตรไดใ้ กลเ้ คียงคา่ จริงมากกว่ากระบอกตวง หรอื กล่าวไดว้ า่ การใช้ปเิ ปตตม์ ีความแมน่ มากกวา่ กระบอกตวง) 2. ครูสรปุ และอภปิ รายจากกจิ กรรมการทดลอง ดงั น้ี - การวดั ปริมาตรของน้ำดว้ ยปเิ ปตต์ ขนาด 25 ml 3 ครงั้ พบวา่ มวลเฉล่ยี ของนำ้ ท่ีวดั ไดเ้ ทา่ กับ 24.88 กรมั เมือ่ นำค่ามวลเฉลี่ยทไ่ี ดไ้ ปคำนวณหาปริมาตรของน้ำจากความหนาแนน่ ณ อณุ หภมู ทิ ่ที ำการวดั พบวา่ ปรมิ าตรของนำ้ เทา่ กบั 24.87 ml การวดั ปรมิ าตรของนำ้ ดว้ ยกระบอกตวงขนาด 25 ml 3 คร้ัง พบวา่ มวลเฉล่ียของนำ้ ทว่ี ดั ได้ เท่ากบั 24.30 กรัม เมอื่ นำค่ามวลเฉลยี่ ที่ไดไ้ ปคำนวณหาปรมิ าตรของนำ้ จากความหนาแนน่ ณ อุณหภมู ิที่ทำการ วัด พบวา่ ปรมิ าตรของน้ำเทา่ กบั 24.34 ml ดงั นั้น ปริมาตรของนำ้ ท่วี ดั ดว้ ยปเิ ปตตต์ า่ งจากคา่ จริง 0.13 ml สว่ น กระบอกตวงตา่ งจากคา่ จรงิ 0.66 ml เมอื่ เปรยี บเทียบการวัดปริมาตรน้ำโดยใชป้ เิ ปตต์และกระบอกตวง พบว่า ปริมาตรน้ำที่ได้จาก การใช้ปิเปตตใ์ กล้เคียงค่าจรงิ มากกวา่ คา่ ปริมาตรของนำ้ ทวี่ ดั ด้วยกระบอกตวง 3. ครอู ธิบายเกี่ยวกบั อุปกรณว์ ดั ปริมาตร ดงั นี้ - อุปกรณ์วดั ปริมาตรสารเคมที ่เี ป็นของเหลวทใี่ ช้ในหอ้ งปฏิบัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตร์มีหลายชนิด แตล่ ะ ชนดิ มีขีดและตวั เลขแสดงปรมิ าตรท่ไี ด้รบั การตรวจสอบมาตรฐานและกำหนดความคลาดเคลอ่ื นท่ียอมรับได้ บาง ชนดิ มีความคลาดเคลอื่ นนอ้ ย บางชนดิ มคี วามคลาดเคลอื่ นมาก ในการเลอื กใชต้ อ้ งคำนึงถึงความเหมาะสมกับ ปริมาตรและระดับความแมน่ ท่ีตอ้ งการ ซ่งึ อปุ กรณท์ ี่ไม่สามารถบอกปริมาตรไดแ้ ม่นมากพอสำหรับการทดลองใน ปฏิบตั กิ าร เช่น บกี เกอร์ ขวดรูปกรวย กระบอกตวง สว่ นอุปกรณ์ที่สามารถวดั ปรมิ าตรของของเหลวได้แมน่ เช่น ปเิ ปตต์ บวิ เรต ขวดกำหนดปริมาตร

4. ครอู ธิบายจากการให้นกั เรยี นพิจารณารปู รา่ งของกระบอกตวงและปเิ ปตต์ ว่าเพราะเหตใุ ดกระบอก ตวงมีค่าความคลาดเคลอื่ นมากกว่าปิเปตต์ ดังน้ี - ปเิ ปตตม์ ีพนื้ ที่หนา้ ตดั บรเิ วณท่ผี ิวของของเหลวน้อยกวา่ กระบอกตวง ทำใหค้ วามผิดพลาด ของระดบั ของเหลวทีถ่ า่ ยเทมคี ่านอ้ ยกว่าของกระบอกตวง ซึ่งการอ่านปริมาตรจากอปุ กรณว์ ัดปรมิ าตรเป็นการอ่าน คา่ จากความสงู ของของเหลว เมอ่ื พิจารณาจากสูตรคำนวณปรมิ าตรทรงกระบอก คือ ปริมาตร=พื้นท่ีหนา้ ตัด×สูง จะพบว่า หากพ้ืนทหี่ น้าตัดมคี า่ น้อย ความสูงทอี่ า่ นได้จะมคี า่ มาก ทำใหค้ วามผดิ พลาดจากการอ่านค่าความสูงนอ้ ย กว่า 5. ครสู รปุ และอธบิ ายเรื่องเลขนัยสำคัญ ในหวั ขอ้ หลักการนบั ของเลขนัยสำคญั การปัดเศษ และเลข นยั สำคญั ของผลลพั ธ์ท่ไี ด้จากการคำนวณ ขน้ั ขยายความรู้ (elaboration) 1. ครูอธบิ ายเก่ียวกบั การอา่ นคา่ ปรมิ าตรของของเหลวทอ่ี ยู่ในบีกเกอร์ และกระบอกตวง ดังนี้ - การอ่านคา่ ปริมาตรของของเหลวต้องให้สายตาอยู่ในระดบั เดยี วกบั ระดับสว่ นโค้งของของเหลว โดยถ้า ส่วนโค้งของของเหลวมลี ักษณะเวา้ ใหอ้ ่านปรมิ าตรทจ่ี ดุ ตำ่ สุดของสว่ นโค้งน้นั แต่ถา้ สว่ นโค้งของของเหลวมี ลกั ษณะนูน ใหอ้ า่ นปริมาตรท่ีจดุ สูงสดุ ของสว่ นโค้งนน้ั การอ่านค่าปรมิ าตรของของเหลวให้อา่ นตามขดี บอก ปรมิ าตรและประมาณค่าทศนยิ มตำแหนง่ สุดทา้ ย 2. ครูใหค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ ว่า ปเิ ปตต์เปน็ อุปกรณว์ ัดปรมิ าตรทีส่ อบเทยี บ (calibrate) โดยการวัดปริมาตร ของของเหลวทถี่ า่ ยเทออกจากปิเปตต์ ขณะทก่ี ระบอกตวงเปน็ อปุ กรณว์ ัดปริมาตรท่สี อบเทียบโดยการ วดั ปริมาตรของของเหลวที่เตมิ ลงในกระบอกตวงดังนนั้ เม่อื ถา่ ยเทของเหลวออกจากกระบอกตวงจะมี ของเหลวบางส่วนติดค้างอย่ใู นกระบอกตวงทำใหป้ ริมาตรของของเหลวทีถ่ ่ายเทออกมานอ้ ยกว่าท่วี ัดได้ และชใี้ หเ้ หน็ สญั ลกั ษณท์ ี่ปรากฏบนอุปกรณ์ 3. ครูให้ความรู้เพ่ิมเตมิ วา่ อปุ กรณ์แต่ละชนดิ มคี วามละเอียดไมเ่ ทา่ กนั โดยช้ใี หเ้ หน็ ตวั เลขท่ปี รากฏบน อปุ กรณ์ทน่ี ำมาให้นักเรยี นดู เช่น คา่ ความคลาดเคล่อื นของกระบอกตวงและปิเปตตข์ นาด 25 mL เท่ากับ ± 0.40 และ ± 0.10 ตามลำดบั ขนั้ ประเมนิ (evaluation) 1. ครูประเมนิ ผลของนกั เรยี น ดงั น้ี สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี น สงั เกตจากการรายงานหรอื จากผลท่ีได้ทำ กจิ กรรมของนักเรียน การตอบคำถามในช้นั เรียน การตอบคำถามในใบงาน และประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์โดย ใช้แบบประเมินตามสภาพจรงิ 2. ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี นใน Google ฟอร์ม การจัดบรรยากาศเชงิ บวก

ครูกระตุ้นให้นกั เรยี นแสดงความคิดเหน็ โดยไมต่ อ้ งกังวลว่าถูกหรอื ผิด และช่วยกันปรบั ปรุงแก้ไขได้ ควรให้โอกาสนักเรียนไดน้ ำเสนอผลการทำกิจกรรมในชั้นเรยี น เพอ่ื เปน็ การแบ่งปนั ความรตู้ อ่ นกั เรยี นกลุ่มอน่ื ๆ และ เกดิ การอภปิ รายระหวา่ งกลุ่ม สอ่ื /แหล่ง การเรยี นรู้ 1. อปุ กรณว์ ดั ปรมิ าตร เช่น บกี เกอร์ ขวดรูปกรวย กระบอกตวง ปเิ ปตต์ ขวดกำหนดปรมิ าตร 2. อุปกรณว์ ัดมวล เช่น เคร่อื งช่ังไฟฟา้ 3. อุปกรณว์ ดั อณุ หภมู ิ (เทอรโ์ มมิเตอร์) 4. หนังสือแบบเรียนรายวชิ าเพ่มิ เติมวทิ ยาศาสตร์ เคมีเลม่ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ ของสถาบนั สง่ เสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชวี้ ัด กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 5. คูม่ อื ครรู ายวชิ าเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการสอน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชวี้ ัด กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 6. สอื่ จากอินเทอรเ์ นต็ เพ่ือใชใ้ นการสืบคน้ ขอ้ มลู เพ่ิมเติม 7. ใบความรู้ในการทำปฏบิ ตั กิ ารทดลอง 8.การ์ดเกมส์ คขู่ องฉนั คือใคร การวดั ผลประเมินผล วธิ กี ารวดั เคร่ืองมอื วดั เกณฑ์การวดั การผลประเมนิ ผลดา้ น -การตอบคำถาม -แบบบนั ทึกกิจกรรม 1. ดา้ นความรู้ความเข้าใจ อภิปรายรว่ มกัน และทำ ปฏบิ ตั ิการทดลองเรอื่ ง แบบบันทกึ กจิ กรรม การวดั ปรมิ าตรโดยใช้ 80% ข้นึ ไป ผ่านเกณฑ์ ปฏิบัตกิ ารทดลองเรอื่ ง อปุ กรณ์ชนิดตา่ งๆ และ การวัดปรมิ าตรโดยใช้ การวัดมวลโดยใช้ อปุ กรณ์ชนิดตา่ งๆ และ เครือ่ งชงั่

การวัดมวลโดยใชเ้ ครอื่ ง -แบบทดสอบกอ่ นเรียน ชัง่ เรอื่ งการวดั ปริมาตร -แบบทดสอบกอ่ นเรียน -แบบทดสอบหลังเรียน เรือ่ งการวัดปรมิ าตร เรื่อง การวัดปริมาตร -การทำแบบทดสอบหลัง เรียนเรอื่ ง การวัด ปริมาตร 2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ -สงั เกตพฤติกรรมการ -แบบประเมิน คณุ ภาพ พอใช้ ขน้ึ ไป 3. ด้านลกั ษณะทพ่ี งึ รว่ มทำกจิ กรรมใน พฤตกิ รรมการรว่ มทำ ผา่ นเกณฑ์ ประสงค์ ห้องเรียน กิจกรรมในห้องเรียน -การอา่ นค่าปรมิ าณจาก การวดั โดยแสดงเลข --แบบบนั ทึกกจิ กรรม นัยสำคัญทถี่ ูกตอ้ ง ปฏบิ ัตกิ ารทดลองเรอ่ื ง -การออกแบบแผนการ การวัดปรมิ าตรโดยใช้ ทดลอง อปุ กรณช์ นดิ ตา่ งๆ และ -การทำปฏบิ ตั กิ าร การวัดมวลโดยใช้ ทดลองเรอ่ื ง การวดั เครื่องช่งั ปรมิ าตรโดยใชอ้ ปุ กรณ์ ชนดิ ตา่ งๆ และการวัด มวลโดยใชเ้ ครอ่ื งชั่ง ไดอ้ ย่างเป็นระบบ ถกู ตอ้ ง และปลอดภัย สงั เกตพฤตกิ รรม การ แบบประเมนิ คณุ ภาพ พอใช้ ขึ้นไป เขา้ เรยี น การปฏบิ ตั ิ คณุ ลักษณะอันพงึ ผ่านเกณฑ์ กิจกรรมและการสง่ งาน ประสงค์ ของนักเรียน

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ..... ......................................................................................................................................................................... ลงช่ือ.....................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ..... ......................................................................................................................................................................... ลงช่อื .....................................................ผู้ตรวจ(ครพู ่ีเล้ียง) ................/.................../................

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรอื่ งการวดั ปริมาณสาร คำชแี้ จง : ให้นักเรยี นทำแบบทดสอบตอ่ ไปใน Google Form ……….1. หลอดหยดเปน็ อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการถ่ายบเทสารปรมิ าณน้อย ๆ ……….2. บกี เกอรเ์ ปน็ อุปกรณว์ ัดปรมิ าตรทม่ี ีความแม่นสงู ……….3. ปเิ ปตตท์ ีใ่ ชก้ นั ท่ัวไปมี 2 แบบ คอื แบบปริมาตร และแบบใช้ตวง ……….4. ความแมน่ คือ ความใกลเ้ คียงกันของค่าทไี่ ดจ้ ากการวดั ซ้ำ สว่ นความเท่ยี ง คือ ความใกล้เคยี งของค่าเฉล่ยี จากการวัดซ้ำเทียบกับคา่ จรงิ ……….5. 0.0120 มีเลขนยั สำคญั 4 ตวั ……….6. 3.7893 ถ้าตอ้ งการเลขนัยสำคญั 2 ตวั ปัดเปน็ 3.8 ……….7. 31.5 – 12.35 + 27.27 มีผลลพั ธท์ ่ีปดั ได้เปน็ 46.42 ……….8. 2.297 × 6.51 มผี ลลพั ธ์ที่ปัดได้เปน็ 14.84 ……….9.ปเิ ปตต์เป็นอปุ กรณว์ ดั ปรมิ าตรท่ีสอบเทยี บโดยการวัดปริมาตรของเหลวทีเ่ ตมิ ลงในปิเปตต์ ……….10.กระบอกตวง 25 mL ใหค้ วามผิดพลาดของระดบั ของเหลวที่ถ่ายเทมีค่ามากกวา่ ของปเิ ปตต์ 25 mL เพราะมพี น้ื ทหี่ นา้ ตัดบรเิ วณทผ่ี วิ ของของเหลวนอ้ ยกว่า ……….11.ตอ้ งการน้ำปรมิ าตร 20.00 mL สามารถใชบ้ ิวเรตต์ในการวัดปรมิ าตรน้ำไดแ้ มน่ ……….12.ความเทีย่ งตรง (precision) คือ ความใกลเ้ คียงของค่าเฉล่ยี จากการวัดซ้ำเทยี บกับคา่ จริง ……….13.ข้อมลู ทนี่ ่าเชอ่ื ถอื คอื ขอ้ มูลที่มีการกระจายตวั นอ้ ยและมคี ่าเฉลี่ยใกลเ้ คียงกบั คา่ จรงิ ……….14.ต้องการน้ำปริมาตร 150.00 mL สามารถใช้กระบอกตวงในการวัดปริมาตรนำ้ ไดแ้ ม่น ……….15.ความเทีย่ งและความแม่นของขอ้ มูลขึน้ อยกู่ บั ทกั ษะของผ้ทู ดลอง และอุปกรณท์ ี่ใช้ในการทำปฏิบตั ิการ

แบบทดสอบหลงั เรยี น เรื่องการวดั ปรมิ าณสาร คำชี้แจง : ให้นกั เรียนทำแบบทดสอบตอ่ ไปใน Google Form ……….1. หลอดหยดเป็นอุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการถ่ายบเทสารปรมิ าณน้อย ๆ ……….2. บกี เกอรเ์ ปน็ อุปกรณว์ ดั ปริมาตรทีม่ ีความแม่นสูง ……….3. ปิเปตต์ทใี่ ช้กันทัว่ ไปมี 2 แบบ คอื แบบปรมิ าตร และแบบใช้ตวง ……….4. ความแมน่ คือ ความใกล้เคียงกันของคา่ ที่ได้จากการวดั ซ้ำ สว่ นความเทย่ี ง คือ ความใกลเ้ คยี งของค่าเฉล่ยี จากการวัดซำ้ เทียบกบั ค่าจรงิ ……….5. 0.0120 มเี ลขนัยสำคญั 4 ตัว ……….6. 3.7893 ถ้าตอ้ งการเลขนัยสำคัญ 2 ตวั ปัดเป็น 3.8 ……….7. 31.5 – 12.35 + 27.27 มีผลลพั ธ์ท่ีปดั ไดเ้ ปน็ 46.42 ……….8. 2.297 × 6.51 มีผลลัพธท์ ่ีปัดได้เป็น 14.84 ……….9.ปิเปตต์เป็นอุปกรณว์ ดั ปรมิ าตรทีส่ อบเทยี บโดยการวัดปริมาตรของเหลวทีเ่ ติมลงในปิเปตต์ ……….10.กระบอกตวง 25 mL ให้ความผิดพลาดของระดับของเหลวที่ถ่ายเทมีค่ามากกวา่ ของปเิ ปตต์ 25 mL เพราะมพี ้ืนท่หี น้าตัดบริเวณทผี่ วิ ของของเหลวนอ้ ยกว่า ……….11.ต้องการนำ้ ปริมาตร 20.00 mL สามารถใช้บิวเรตต์ในการวัดปรมิ าตรน้ำได้แมน่ ……….12.ความเท่ียงตรง (precision) คอื ความใกล้เคียงของค่าเฉล่ยี จากการวัดซ้ำเทยี บกบั คา่ จริง ……….13.ข้อมูลท่นี า่ เชอื่ ถือคอื ขอ้ มูลท่ีมีการกระจายตัวนอ้ ยและมคี ่าเฉลี่ยใกลเ้ คียงกับคา่ จรงิ ……….14.ต้องการน้ำปริมาตร 150.00 mL สามารถใช้กระบอกตวงในการวัดปริมาตรนำ้ ได้แม่น ……….15.ความเท่ียงและความแม่นของขอ้ มลู ขน้ึ อยู่กับทกั ษะของผ้ทู ดลอง และอุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการทำปฏิบตั ิการ

เฉลยแบบทดสอบ เรอ่ื งการวดั ปรมิ าณสาร คำชีแ้ จง : ใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบต่อไปใน Google Form ……✓….1. หลอดหยดเปน็ อปุ กรณ์ท่ีใช้ในการถา่ ยบเทสารปริมาณนอ้ ย ๆ ……….2. บีกเกอรเ์ ปน็ อุปกรณว์ ัดปริมาตรทม่ี ีความแม่นสูง ……✓….3. ปิเปตตท์ ีใ่ ช้กันทว่ั ไปมี 2 แบบ คอื แบบปรมิ าตร และแบบใชต้ วง ……….4. ความแมน่ คอื ความใกล้เคยี งกันของค่าท่ีไดจ้ ากการวดั ซ้ำ ส่วนความเท่ียง คอื ความใกล้เคยี งของ คา่ เฉล่ียจากการวดั ซำ้ เทียบกับค่าจรงิ ……….5. 0.0120 มีเลขนยั สำคัญ 4 ตวั ……✓….6. 3.7893 ถ้าต้องการเลขนยั สำคัญ 2 ตัว ปัดเปน็ 3.8 ……….7. 31.5 – 12.35 + 27.27 มีผลลพั ธ์ทป่ี ดั ไดเ้ ป็น 46.42 ……….8. 2.297 × 6.51 มีผลลพั ธ์ทีป่ ัดได้เป็น 14.84 ……….9.ปเิ ปตต์เป็นอปุ กรณว์ ัดปริมาตรท่สี อบเทยี บโดยการวัดปรมิ าตรของเหลวทเี่ ตมิ ลงในปิเปตต์ ……….10.กระบอกตวง 25 mL ใหค้ วามผดิ พลาดของระดบั ของเหลวทีถ่ า่ ยเทมคี า่ มากกวา่ ของปิเปตต์ 25 mL เพราะมีพื้นทหี่ นา้ ตัดบริเวณทผ่ี วิ ของของเหลวนอ้ ยกว่า ……✓….11.ต้องการนำ้ ปรมิ าตร 20.00 mL สามารถใชบ้ วิ เรตตใ์ นการวดั ปริมาตรน้ำได้แมน่ ……….12.ความเทย่ี งตรง (precision) คือ ความใกล้เคียงของคา่ เฉลี่ยจากการวดั ซ้ำเทยี บกบั ค่าจรงิ ……✓….13.ขอ้ มลู ท่ีน่าเชอ่ื ถอื คอื ข้อมูลท่ีมกี ารกระจายตวั นอ้ ยและมคี า่ เฉลย่ี ใกล้เคยี งกับคา่ จรงิ ……….14.ต้องการน้ำปริมาตร 150.00 mL สามารถใชก้ ระบอกตวงในการวดั ปริมาตรนำ้ ได้แมน่ ……✓….15.ความเท่ยี งและความแมน่ ของข้อมูลข้ึนอยกู่ ับทักษะของผู้ทดลอง และอปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการทำ ปฏิบตั ิการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook