Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore INFINITY-KMbyPIN

INFINITY-KMbyPIN

Published by bbanabee, 2020-05-22 00:08:04

Description: INFINITY-KMbyPIN

Search

Read the Text Version

สารบญั 1. นางเบญญาภา อินทะจกั ร โรงเรียนพุทธิโศภน หนา้ 2. นางสาวเมธาวดี วงศส์ นุ ทร โรงเรยี นคาเทีย่ งอนุสรณ์ 1 7 3. นางทรายแก้ว คันธา โรงเรยี นบ้านล้านตอง 12 4. นายสมศกั ย์ ไชยวงศ์ โรงเรยี นบา้ นลวงเหนือ 16 22 5. วา่ ทร่ี ้อยตรีหญิงฐติ ิชญา หนูแปง โรงเรียนวัดห้วยทราย 26 34 6. นายนิรตุ ต์ ศริ ภสั สร์ โรงเรียนชุมชนวดั ท่าเดื่อ 36 41 7. นางอมลรศั มิ์ โสภา โรงเรยี นวัดปา่ ตัน 43 8. นางกฤษณา คาสิทธิ โรงเรยี นบ้านแม่เหยี ะสามคั คี 9. นางสาวจิตติพร สวุ รรณชาติ โรงเรียนวดั ห้วยทราย 10. นางปรารถนาดี มณวี งั โรงเรียนชมุ ชนวดั ทา่ เด่ือ

11. นางรัตนา จอมทัน โรงเรยี นบา้ นกอสะเลียม หน้า โรงเรยี นวัดเสาหิน 12. นางยุคลธร จติ ตวิ งค์ โรงเรียนวัดห้วยแกว้ 49 13. นางสาวจันทพร พลอินตา โรงเรยี นเจา้ พ่อหลวงอุปถมั ภ์ 1 56 14. นายนัท สะสะรมย์ โรงเรียนบ้านแช่ชา้ ง(เทพนานกุ ลู ) 68 15. นางศศธิ ร สินลา โรงเรยี นบา้ นท่าหลกุ สันทราย 81 16. นางสาวสายอรุณ กติ ิยะ โรงเรียนชุมชนวัดท่าเดอ่ื 87 17. นางสาวอรุณณี ประกอบศรี โรงเรียนวัดสันโค้ง 91 18. นางคณติ ชนก คาเขียว โรงเรียนวดั ห้วยแก้ว 98 19. นางสาวนิภาวรรณ แก้วตา โรงเรยี นวัดทรายมูลรัตนศกึ ษา 104 20. นางสารวย ไชยสาร โรงเรียนวัดขะจาว 111 21. นางเพญ็ พรรณ ยุวพัฒน 116 123

1 การถอดรหสั “INFINITY KM” นางเบญญาภา อนิ ทะจกั ร์ ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนพทุ ธโิ ศภน สพป.เชยี งใหมเ่ ขต 1 ปที เ่ี กษยี ณอายุราชการ 2577 1.ขอ้ มลู เกย่ี วกบั งานที่รับผดิ ชอบ - สอนระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 นกั เรยี น จานวน 187 คน - ครปู ระจาชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6/3 - หัวหน้าสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ 2.ผลงานความภาคภมู ิใจหรอื งานทีป่ ระสบผลสาเรจ็ ในชีวติ ดา้ นนักเรยี น - ผลสมั ฤทธิผ์ ูเ้ รียนในแต่ละปกี ารศกึ ษา - ผลการทดสอบระดับชาติ ( O – NET) - นกั เรยี นไดร้ ับรางวัลจากการแขง่ ขนั ทกั ษะภาษาอังกฤษในระดบั ตา่ ง ๆ

2 ด้านครู - ได้รับรางวลั เกยี รตบิ ัตรจากการนานกั เรียนเขา้ แข่งขนั ทักษะในระดบั ต่าง ๆ - ผ่านการสอบวดั ความร้ภู าษาอังกฤษ TKT Module 1-3 จัดโดย มหาวิทยาลยั เคมบรจิ จ์ และการสอบ CEFR จัดโดยสพฐ.ร่วมกบั บรทิ ิช เคาท์ซิล - Master Teacher ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษ ปี 2552 - ไดร้ บั การคดั เลือกจาก สพฐ. ให้ไปอบรมด้านเทคนิคการสอนภาษาอังกฤษ จาก มหาวิทยาลัยแอดิเลด ประเทศออสเตรเลยี (The University of Adelaide Australia) ปกี ารศึกษา 2552 - ได้รับรางวัลหนึ่งแสนครูดี ปี 2556 - จดั การเรยี นการสอน ทาสื่อนวัตกรรมเรอ่ื ง ASEAN STUDY และเป็นตวั แทนของ สพป.เชียงใหม่ เขต 1 นาเสนอรางวัล OBEC AWARD ด้านนวัตกรรม ท่ี จ.แพร่ ในปกี ารศึกษา 2557 2.1 วิธีดาเนนิ งานเกดิ ผลสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย - ศึกษาข้อมูลผู้เรียนรายบุคคลในแต่ละปีการศึกษา - วางแผนพัฒนาผเู้ รยี นจากข้อมูล โดยใชน้ วัตกรรม แนวทางทหี่ ลากหลาย จากการ วิเคราะห์ วจิ ยั ในช้นั เรยี น ศกึ ษาและเลอื กใช้ Best Practice ในการนามาตอ่ ยอด พฒั นาผ้เู รียน

3 - สรา้ งแรงจูงใจให้ผ้เู รียนตระหนักเห็นความสาคญั ของการเรยี นภาษาองั กฤษ เพราะการ สร้างแรงบนั ดาลใจใหก้ ับผูเ้ รียนย่อมทาให้ผเู้ รียนมใี จท่ีจะบันดาลแรงในการเรียนรู้ เห็น ประโยชนข์ องการเรยี นรู้ เรียนอย่างมีความหวัง - จัดกิจกรรมในชนั้ เรียนโดยเน้นการพัฒนาทกั ษะท้งั 4 ได้แก่ การฟงั การพูด การอ่าน และการเขียน โดยใช้กิจกรรมทห่ี ลากหลาย เนน้ การฝกึ ปฏิบตั ิ เพราะการสอนทกั ษะ ทางภาษามคี วามจาเปน็ ต้องฝึกซา้ ๆ(Practice makes perfect) ใชก้ ิจกรรมในรูปแบบ Active Learning การฝกึ ใช้ภาษาตามสถานการณเ์ พ่ือให้ผ้เู รยี นค้นุ ชิน มคี วามม่ันใจ ในการใช้ภาษาอังกฤษโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการฝกึ ใช้สถานการณ์ท่เี ก่ียวขอ้ งใน ชวี ติ ประจาวัน ส้นั ๆง่ายๆ ท่ีคาดวา่ นักเรยี นจะสามารถนาไปใช้ได้อยา่ งอตั โนมัตแิ ละ เปน็ ธรรมชาตใิ นชวี ติ ประจาวนั เนน้ การเรียนแล้วสามารถนาไปประยกุ ต์ใชไ้ ด้ ใช้ กจิ กรรมการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญทง้ั กิจกรรมเดย่ี ว (Individual)คู่(Pair Work) กลมุ่ (Group Work) และกิจกรรมรวมท้งั ชัน้ (Whole Class) เพอ่ื ให้ผ้เู รียนไดเ้ รียนรู้ และฝกึ ปฏบิ ัตอิ ยา่ งหลากหลาย ท้ังนี้การเนน้ ทอ่ งจาคาศัพท์ยงั คงมคี วามสาคัญอยา่ ง ยิง่ ในการเรยี นภาษา หากนกั เรยี นมีคลงั คาศพั ทใ์ นสมองทีมปี ริมาณมากย่อมสามารถ ดงึ คาศัพทม์ าใช้ในการเรียนร้แู ละใช้อย่างมีประสทิ ธิภาพในการฟงั การพดู การอ่าน และการเขยี น ดังนั้นครจู ึงจาเป็นตอ้ งสอนเทคนคิ การท่องศัพท์และหานวัตกรรมให้ นักเรยี นไดฝ้ ึกท่อง เชน่ Rhymes, Chained words, Poems เป็นต้น รวมถึงการใช้ สือ่ เทคโนโลยี และนวตั กรรมทหี่ ลากลายในการจัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงส่ือ

4 ออนไลน์ มลั ตมิ ีเดยี ซง่ึ มปี ระโยชน์ตอย่างย่งิ ต่อการรบั ร้แู ละเรยี นรู้ของผ้เู รียนและการให้ โอกาสนักเรยี นไดเ้ รยี นร้จู ากเจ้าของภาษา ไดฝ้ ึกใช้ภาษากบั ครูชาวต่างชาติ จะส่งเสริมให้ ผู้เรียนเกิดความมน่ั ใจ ไดใ้ ช้ทักษะการฟงั การโต้ตอบ การใช้ภาษาอังกฤษใน ชีวติ ประจาวันตามสถานการณ์ - การวดั และประเมินผลโดยเน้นการวดั และประเมินผลตามสภาพจรงิ ดว้ ยวธิ ีการที่ หลากหลาย - การจัดทาวจิ ยั ในชนั้ เรยี นทกุ ภาคเรยี น / การจัดทานวัตกรรม / การศึกษา Best Practice 2.2 ปจั จัยทีเ่ ออื้ ใหป้ ระสบผลสาเร็จ 1. ผู้เรยี นมคี วามพรอ้ ม มีความรูพ้ ้ืนฐาน มแี รงจูงใจในการเรยี น 2. ครูผสู้ อนมคี วามรู้ แม่นยาในเน้อื หาทีส่ อน มเี ทคนิคการสอนและใช้กจิ กรรมที่ หลากหลาย 3. โรงเรียนสนับสนนุ สง่ เสริมในการพฒั นาผเู้ รียน มีความพร้อมด้านอาคาร สถานท่ี ส่ือ โสตรวมถงึ แหล่งเรียนรูท้ ัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียน 4. ผูป้ กครองมีส่วนร่วมในการดูแล 5. โรงเรยี นมีครูผูส้ อนชาวต่างชาติท่ีสอนในโรงเรยี นทาใหน้ กั เรียนมีโอกาสใช้ ภาษาอังกฤษในสถานการณจ์ ริง

5 2.3 ปัญหา อุปสรรค จุดท่คี วรพฒั นา /ขอ้ เสนอแนะ - ควรจดั กจิ กรรมเสริมทักษะภาษาอังกฤษ ในรปู แบบต่าง ๆ ในระดับโรงเรยี น เช่น English Camp, Field Trip การศกึ ษาแหล่งเรยี นร้เู กีย่ วกับภาษาอังกฤษ ซ่งึ ผู้เรียนจะเกิดประสบการณต์ รงและและเกดิ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นรูภ้ าษาองั กฤษ ความภาคภูมใิ จ การนาเสนอภาษาอังกฤษของนกั เรียน

6 การจดั กิจกรรมวันอาเซยี น ASEAN DAY การนาเสนอผลงานโรงเรียนตน้ แบบอาเซียน จังหวดั เชยี งใหม่ ป2ี 558 หนังสือสง่ เสรมิ การอ่านภาษาองั กฤษ ชุด Let’s Learn about ASEAN ระดบั ประถมศึกษา ปที ี่ 1 - 6

7 การถอดรหัส “INFINITY KM” นางสาวเมธาวดี วงศ์สนุ ทร ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นคาเทย่ี งอนุสรณ์ ปีทีเ่ กษยี ณอายุราชการ 2593 1. ขอ้ มลู เก่ยี วกบั งานท่ีรบั ผิดชอบ - ครสู อนรายวชิ าภาษาองั กฤษพื้นฐาน ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3-4 - ครสู อนรายวชิ าภาษาองั กฤษ เพิ่มเตมิ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3-4 - รองหวั หนา้ กล่มุ งานวิชาการ - ครผู สู้ อนยุวกาชาด 2. ผลงานความภาคภูมิใจ หรืองานทป่ี ระสบผลสาเร็จในชวี ติ สง่ นกั เรยี นเข้ารว่ มแข่งขันทกั ษะภาษาอังกฤษ ระดบั ศึกษาธิการภาค 15 ในรายการ การแขง่ ขนั กล่าวสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ แบบฉบั พลัน (Impromptu Speech) ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-3 เม่อื วันท่ี 2 สงิ หาคม พ.ศ. 2559 ณ โรงแรมคุ้มภูคา เชียงใหม่ เด็กชายสุธี แลเฌอร์ นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นคาเทีย่ งอนุสรณ์ ไดร้ บั รางวลั ชนะเลิศอันดับท่ี 1

8 2.1 วธิ ดี าเนินงานเกดิ ผลสาเร็จตามเป้าหมาย ใช้การสอนภาษาองั กฤษ แบบ CLT การสอนภาษาแบบส่อื สาร (Communicative Language Teaching - CLT) คอื แนวคดิ ซึ่งเช่อื มระหว่างความรูท้ างภาษา (linguistic knowledge) ทกั ษะ ทางภาษา (language skill) และความสามารถในการสอ่ื สาร (communicative ability) เพื่อใหผ้ ู้เรียนสามารถเรียนรูโ้ ครงสรา้ งภาษาเพ่ือสือ่ สาร (Canale & Swain, 1980 ; Widdowson, 1978). คเนล และสเวน (1980) และเซวกิ นอน (Savignon, 1982) ไดแ้ ยกองคป์ ระกอบของความสามารถในการสอ่ื สาร ไว้ 4 องคป์ ระกอบ ดังน้ี 1. ความสามารถทางด้านไวยากรณ์หรอื โครงสรา้ ง (Grammatical competence) หมายถึงความร้ทู างดา้ นภาษา ได้แก่ ความรู้เก่ยี วกบั คาศพั ท์ โครงสร้างของคา ประโยค ตลอดจนการสะกดและการออกเสยี ง 2. ความสามารถดา้ นสังคม (Sociolinguistic competence) หมายถึงการ ใชค้ า และโครงสร้างประโยคได้เหมาะสมตามบรบิ ทของสงั คม เช่น การขอโทษ การขอบคณุ การถามทศิ ทางและขอ้ มูลต่าง ๆ และการใช้ประโยคคาส่ัง เป็นต้น 3. ความสามารถในการใชโ้ ครงสร้างภาษาเพอ่ื สื่อความหมายด้านการพูด และเขียน(discourse competence) หมายถึง ความสามารถในการเชอื่ มระหวา่ ง

9 โครงสร้างภาษา(grammatical form) กบั ความหมาย (meaning) ในการ พดู และเขยี นตามรปู แบบ และสถานการณท์ ่ีแตกต่างกัน 4. ความสามารถในการใช้กลวิธใี นการสือ่ ความหมาย (Strategic competence) หมายถงึ การใชเ้ ทคนคิ เพอื่ ใหก้ ารติดต่อสอ่ื สารประสบความสาเร็จ โดยเฉพาะการส่อื สารด้านการพดู ถ้าผพู้ ูดมกี ลวธิ ีในการท่จี ะไมท่ าให้การสนทนา นนั้ นนั้ หยดุ ลงกลางคนั เช่นการใชภ้ าษาท่าทาง (body language) การขยาย ความโดยใช้คาศพั ทอ์ ่นื แทนคาที่ผูพ้ ูดนึกไม่ออก เปน็ ต้น บทบาทของผเู้ รียน (Learner roles) บรีนและแคนดรนิ (อ้างใน Richards & Rodgers, 1995) อธิบายบทบาทของ ผู้เรยี นตามแนว CLT ผู้เรียนคอื ผ้ปู รกึ ษา (negotiator) การเรยี นรเู้ กิดจากการ ปรึกษาหารือในกลุม่ ผู้เรยี น โดยผ้สู อนจดั กิจกรรม ใหผ้ เู้ รียนได้มีโอกาสทางานรว่ มกนั เปน็ กลุ่มเล็ก ๆ จดุ มงุ่ หมายหลกั ในการทา กจิ กรรมกลุ่มคอื ม่งุ ให้ผู้เรียนชว่ ยเหลอื ซึ่งกัน และกัน รจู้ ักการให้พอ ๆ กบั การรับ

10 บทบาทของครู (Teacher roles) ครมู บี ทบาททส่ี าคัญ 3 บทบาท คือผ้ดู าเนินการ (organizer, facilitator)เตรยี ม และดาเนนิ การจดั กจิ กรรม ผู้แนะนาหรือแนะแนว (guide) ข้นั ตอนและกิจกรรมตา่ ง ๆ และเป็นผวู้ จิ ัยและผู้เรียน (researcher, learner) เรยี นรพู้ ฤตกิ รรมการเรียนของนกั เรียน แต่ละคน นอกจากนัน้ ครูอาจมีบทบาทอื่น ๆ เชน่ ผู้ใหค้ าปรึกษา (counselor) ผจู้ ัดการ กระบวนการกลมุ่ (group process manager) ครูตามแนวการสอนแบบCLT เป็นครทู ี่ เปน็ ศูนย์กลางน้อยท่ีสดุ (less teacher centered) น่ันคือครมู หี นา้ ทด่ี าเนนิ การจดั กจิ กรรมเพ่ือการสอ่ื สารและในชว่ งทน่ี กั เรียนทากิจกรรมครจู ะกระตนุ้ ใหก้ าลงั ใจช่วยเหลอื ใหผ้ ้เู รียนสามารถใช้ภาษาเพอ่ื การสือ่ สารให้ได้ความหมายและถกู ต้องตามหลกั ไวยากรณ์ อนั เปน็ การเชอ่ื มชอ่ งว่างระหว่างความสามารถทางไวยากรณ์ (grammar competence) และความสามารถทางด้านสอ่ื สาร (communicative competence) ของ ผูเ้ รียน 2.2 ปัจจัยทีเ่ อื้อใหป้ ระสบผลสาเร็จคอื - ผู้บรหิ ารใหก้ ารสนบั สนนุ สง่ เสรมิ - นกั เรียนมคี วามสนใจ และใฝเ่ รยี นรู้ - ครไู ดร้ บั การพฒั นาทางดา้ นเทคนิคการจัดการเรียนการสอน

11 3. หลกั ฐานความภาคภูมใิ จ

12 การถอดรหสั “INFINITY KM” นางทรายแก้ว คันธา ตาแหนง่ .........ครูคศ.3...........................โรงเรียน.....วัดลา้ นตอง......... ปที ่เี กษียณอายรุ าชการ พ.ศ.........2566...... 1. ขอ้ มูลเก่ียวกบั งานที่รบั ผิดชอบ ครปู ระจาชนั้ ประถมศึกษาปีท่ ี่ 3 สอนกลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ

13 2. ผลงานความภาคภูมใิ จ หรืองานท่ปี ระสบผลสาเร็จในชีวติ 2.1 วธิ ีดาเนินงานเกดิ ผลสาเรจ็ ตามเป้าหมาย 1. วเิ คราะห์ผู้เรียน รู้จักเดก็ เปน็ รายบุคคล 2. จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามมาตรฐานและตวั ชี้วัด (ใชก้ ารสอนแบบ BBL) 3. กระตุ้นเดก็ (แรงจงู ใจ)ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4. มีการใช้สอื่ การสอนทีห่ ลากหลาย/นวัตกรรม/แบบฝึกที่นา่ สนใจ 5. ทบทวนบทเรยี นโดยวเิ คราะห์ขอ้ สอบยอ้ นหลงั หลายๆปี เพือ่ ดูจุดเด่นและจุดด้อย 6. กิจกรรมสง่ เสริมเด็กเกง่ และซ่อมเสริมเด็กเรียนรชู้ ้า 7. กิจกรรมเพอ่ื นชว่ ยเพ่อื น 8. เนน้ การประเมนิ ผลตามสภาพจริง โดยใช้วิธกี ารทีห่ ลากหลาย

14 2.2 ปัจจัยทเ่ี อ้ือให้ประสบผลสาเร็จคอื 1. มีระบบดแู ลนักเรยี นทเ่ี ขม้ แขง็ 2. มสี อื่ การสอนทหี่ ลากหลาย 3. เด็กมพี ื้นฐานความรทู้ ีด่ จี ากชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 และ 2 2.3 ปญั หา อุปสรรค จดุ ที่ควรพฒั นา/ ขอ้ เสนอแนะ 1. เด็กเรยี นรู้ชา้ มจี านวนมาก ทาให้มีปัญหาในการจดั กจิ กรรม โรงเรยี น ควรจดั หอ้ งเรียนพิเศษสาหรบั เด็กเหลา่ น้ี 2. เดก็ ทีไ่ มใ่ ช่สัญชาตไิ ทยมีมากควรให้เดก็ ผา่ นการเรยี นตงั้ แต่ระดบั อนบุ าล 3. หลักฐานความภาคภมู ใิ จ เช่น โล่ เกยี รติบตั ร ฯลฯ

15 4. รปู ภาพประกอบผลการดาเนินงาน

16 การถอดรหสั “INFINITY KM” นายสมศกั ย์ ไชยวงศ์ ตาแหน่ง ผอู้ านวยการ โรงเรียนบา้ นลวงเหนอื ปที เ่ี กษียณอายุราชการ ปี 2560 1. ข้อมลู เก่ยี วกับงานที่รับผดิ ชอบ งานทร่ี ับผิดชอบ คอื การบรหิ ารจัดการศกึ ษาในโรงเรียนบ้านลวงเหนือ ทัง้ 6 งาน ได้แก่ งานวชิ าการ งานบรหิ ารท่วั ไป งานกจิ การนักเรียน งานบุคลากร งานการเงนิ และ พัสดุ งานอาคารสถานท่ี 2. ผลงานความภาคภมู ิใจ หรืองานทปี่ ระสบผลสาเร็จในชีวติ เป็นงานทีไ่ ดก้ าหนด และเน้นไวใ้ นวิสัยทศั น์ของโรงเรยี น ไดแ้ ก่ งานดา้ นสง่ เสรมิ ศลิ ปวัฒนธรรมไทล้ือ งานดา้ น คณุ ธรรม งานดา้ นเศรษฐกจิ พอเพียง

17 2.1 วธิ ีดาเนินงานเกิดผลสาเร็จตามเป้าหมาย ต้งั แตเ่ ปน็ ผู้บริหารมาได้ 30 กว่าปีมานี้ ผมได้ใช้วิธกี ารดาเนินการบรหิ ารบคุ ลากรทงั้ ใน และนอกโรงเรยี น โดยวธิ กี ารประชมุ เป็นสว่ นใหญ่ เพราะการประชุม เปน็ การชแี้ จง แนะนา ระดมความคดิ รว่ มกนั เสนอปญั หา หาจุดทีเ่ หมาะในการดาเนนิ การในองค์กร รว่ มกันวางแผน รว่ มกนั วิเคราะหป์ ัญหา การหาทางแก้ไขปัญหา หาวิธีการทเี่ หมาะสมที่ เป็นไปได้มากท่ีสุดในการรว่ มกนั ขบั เคลอ่ื นการดาเนินการกิจกรรม/โครงการต่างๆให้ สาเรจ็ ลลุ ่วงตามเป้าหมายท่ีไดร้ ว่ มกนั กาหนดไว้ 2.2 ปจั จยั ท่เี ออื้ ให้ประสบผลสาเร็จ คอื การทางานเป็นทมี อยา่ งไรกต็ าม ในการทางานเป็นทีม อาจมปี ญั หาขัดแย้ง โต้เถียง หรอื ความเห็นไม่ ตรงกันบา้ ง แต่จดุ ประสงคข์ องทกุ คนในทมี คอื การนาทมี ไปสู่ความสาเร็จทตี่ ง้ั ไว้ เราไม่ ควรมที ัศนะต่อเพ่ือนร่วมทมี ทกุ คน เพราะทุกคนจะมีบคุ ลิกภาพทแี่ ตกต่างกนั ไป จงึ ควร พจิ ารณาให้ต่างทศั นะกันไป บางคนก็อาจมบี คุ ลิกท่คี ล้ายคลงึ กนั หรืออาจมเี พียง บางอย่างท่ีสอดคล้องกนั จึงจาเป็นต้องมาร่วมเปน็ สมาชิกของทมี

18 อย่างไรแลว้ ส่งิ ท่ขี าดไมไ่ ด้ คอื ความสามคั คี เพราะ \"ความสามัคคี ทาให้เกดิ ความสาเร็จ\" การร่วมกันทางานของบุคคลทีม่ ากกวา่ 1 คน โดยท่ที ุกคนน้นั จะต้องมเี ปา้ หมายเดยี วกนั จะ ทา ทุกคนตอ้ งยอมรับร่วมกัน มกี ารวางแผนการทางานร่วมกัน การทางานเปน็ ทมี มี ความสาคญั ในทกุ องค์กรการทางาน เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการเพิม่ ประสทิ ธิภาพและ ประสทิ ธผิ ลของการบริหารงาน การทางานภายในองค์กรกม็ หี ลายทีมงาน รว่ มมือช่วย ผลกั ดนั ใหง้ านไปถงึ จดุ หมายตรงตามเป้าหมายท่ีองค์กรตง้ั ไว้ ปจั จัยสู่ความสาเร็จในการ ทางานเป็นทมี ได้แก่ 1. 1. มีความเปน็ หนง่ึ เดยี วกัน ในองคก์ รทุกๆคนจะถูกดึงเข้ามาในทิศทางเดยี วกนั เพือ่ ให้บรรลุความสาเร็จในงาน 2. สรา้ งบรรยากาศของการทางานมีความเป็นกันเอง อบอุ่น ถอื เป็นสิ่งทีช่ ว่ ยให้ สมาชกิ ในทมี มคี วามกระตอื รือรน้ และสรา้ งสรรค์ ทกุ คนช่วยกันทางานอยา่ งจริงจงั จริงใจ ไม่มีร่องรอยทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถึงความเบ่ือหน่าย หรือเซง็ ในการทางาน 3. ความไว้วางใจซ่ึงกันและกัน เป็นหัวใจสาคัญของการทางานเปน็ ทมี ซอ่ื สตั ย์ สอ่ื สาร กันอย่างเปิดเผย ไม่มลี ับลมคมใน หรือนินทาวา่ ร้ายกัน จะช่วยให้การทางานเปน็ ไป อย่างราบรน่ื มปี ระสทิ ธภิ าพในการทางาน

19 4. มกี ารมอบหมายงานอย่างชดั เจน เป็นการกระจายงานให้ทกุ คนมหี น้าทร่ี บั ผดิ ชอบ รว่ มกัน ตามกาลงั ความรู้ ความสามารถ ความถนดั ความชอบของแตล่ ะบคุ คล 5. บทบาทของสมาชกิ แต่ละคน เชน่ ยอมรบั นบั ถอื กนั ปฏิบตั ติ ามมติ เรียนรู้ เข้าใจ เปิดใจ แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ อานวยความสะดวก ใหก้ าลังใจ 6. วิธกี ารทางาน ต้องมกี ารสอ่ื ความชัดเจนเหมาะสม การตดั สินใจร่วมกนั ภาวะผู้นา ของทกุ คนในทมี กาหนดกตกิ าหรือกฎเกณฑต์ า่ งๆท่จี ะเอื้อต่อการทางานรว่ มกนั ให้ บรรลุเป้าหมาย 7. การมีส่วนรว่ มในการประเมินผลการทางานของทีม ตอ้ งมกี ารประเมินผลการ ทางานเป็นระยะ ในรูปแบบเปน็ ทางการ และไม่เปน็ ทางการ ทุกคนมสี ่วนร่วมในการ ประเมนิ ผลงาน ทาใหท้ กุ คนไดท้ ราบความก้าวหนา้ ปัญหา อปุ สรรคท่เี กิดขึน้ ปรับปรุงแกไ้ ขร่วมกนั และรับทราบวา่ งานบรรลเุ ป้าหมายและมคี ุณภาพเพียงใด 8. พฒั นาทมี งานใหเ้ ขม้ แข็ง ด้วยการพัฒนาศักยภาพทมี งาน สรา้ งแรงจงู ใจทางบวก ทกุ คนมคี วามสมั พนั ธ์ทดี่ ีต่อกัน เกดิ ความมงุ่ มน่ั ท่ีจะทางานใหส้ าเรจ็ เมอ่ื สาเรจ็ แลว้ มี การให้รางวลั แก่ทุกคนอยา่ งยุตธิ รรม 2.3 ปัญหา อปุ สรรค จดุ ที่ควรพฒั นา/ ขอ้ เสนอแนะ ความรับผดิ ชอบในการทางานเป็นกล่มุ ไมว่ ่าจะเป็นเร่ืองของเวลา หนา้ ทท่ี ี่ไดร้ บั ความไม่เข้าใจกันของเพ่ือนๆในที่ประชมุ ซึ่งในบางคร้ัง ไม่มกี ารรบั ฟังความคิดเห็นซึง่ กัน และกันให้ชดั เจนกอ่ นที่จะค้าน และในการกระจายงานไมค่ อ่ ยดเี ทา่ ท่คี วร

20 3. หลักฐานความภาคภมู ใิ จ เชน่ โล่ เกียรตบิ ัตร

21 4. รปู ภาพประกอบผลการดาเนินงาน

22 การถอดรหสั “INFINITY KM” ว่าทีร่ อ้ ยตรีหญิงฐิติชญา หนูแปง ตาแหน่ง ครชู านาญการ โรงเรียน วดั ห้วยทราย ปที เ่ี กษียณอายรุ าชการ ๒๕๘๒ ๑. ขอ้ มลู เกี่ยวกบั งานทรี่ บั ผิดชอบ - ครผู ู้สอนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา ชน้ั ป.๑ – ม.๓ - รบั ผดิ ชอบการสอนรายวิชาคณติ ศาสตรร์ ะดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ และรายวชิ า ประวัตศิ าสตรร์ ะดับชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ - ปฏิบัติตาแหน่งครฝู า่ ยปกครอง - ปฏิบัตติ าแหนง่ ครูสภานักเรยี นและระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น ๒. ผลงานความภาคภูมิใจ หรอื งานท่ปี ระสบผลสาเร็จในชวี ิต ๒.๑ วธิ ีดาเนนิ งานเกดิ ผลสาเร็จตามเป้าหมาย - รางวัลระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ปีการศึกษา ๒๕๕๙ - รางวลั โรงเรยี นต้นแบบจัดการปัญหาเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลล์ บุหร่ีและอบุ ตั ิเหตุ ระดบั อาเภอ ตามโครงการ ๑ อาเภอ ๑ ตาบลต้นแบบ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙

23 - รางวลั MOE AWARD ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗ ระดับดเี ดน่ ประเภทบคุ คล สาขาการ ปอ้ งกันและแกไ้ ข - รางวลั MOE AWARD ปกี ารศึกษา ๒๕๕๗ ระดบั ดีเด่น ประเภทสถานศกึ ษา ปญั หา ยาเสพติดในสถานศกึ ษา - รางวลั ผลการปฏบิ ตั งิ านของสภานกั เรียนในโรงเรยี น ระดับเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙ ระดับดี - รางวลั โรงเรียนตน้ แบบในการแก้ไขปญั หาการดมื่ เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอลล์ การบรโิ ภค และยาสบู - รางวลั ครผู รู้ ับผิดชอบการสร้างภมู คิ ุ้มกนั และป้องกันยาเสพตดิ ดีเดน่ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๖ ๒.๒ ปัจจยั ทเ่ี อือ้ ใหป้ ระสบผลสาเร็จคือ - ผู้บรหิ ารให้การสนับสนนุ และส่งเสริมกจิ กรรมท่ีไดร้ ับผิดชอบ - คณะครใู นโรงเรียนคอยให้ความช่วยเหลอื ในการดาเนินกิจกรรมและรว่ มปฏิบัติกจิ กรรม ไปด้วยกัน - นกั เรยี นเปน็ กลุ่มทนี่ ากิจกรรมตา่ งๆไปใช้ในการปฏบิ ัติพร้อมกันภายในโรงเรียน ทาให้

24 - ภาคเี ครือขา่ ย ดีผ่านการบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ ม ได้แก่ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลแมท่ า สถานตี ารวจภธู รแมอ่ อน โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลแม่ทา ครูพระสอนศีลธรรม ผปู้ กครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา คอยให้ความร่วมมอื ท้ังดา้ นการสนบั สนนุ และ ทางด้านงบประมาณและด้านวิทยากร ในการใหค้ วามรู้ และในส่วนผู้ปกครองและ คณะกรรมการสถานศกึ ษาน้ันมกี ารให้การสนบั สนนุ ในการปฏิบตั ิทุกกจิ กรรมของโรงเรียน เพ่ือให้ประสบผลสาเรจ็ และบรรลผุ ลตามจดประสงค์และเป้าหมายท่ไี ด้กาหนดไว้ โดยการ ทากิจกรรมจะผ่านการบรหิ ารงาน PDCA ของโรงเรียน ซ่ึงมีการวางแผนงานตาม วตั ถปุ ระสงค์และนามาปฏบิ ัติตามขัน้ ตอนในแผนงานทีไ่ ดเ้ ขยี นไว้อยา่ งเปน็ ระบบและมี ความต่อเนื่อง และมกี ารตรวจสอบผลทเ่ี กิดขน้ึ มีการแกไ้ ข ปรับปรงุ และนามาวางแผน ใหมเ่ พือ่ นาไปปฏิบตั ิอยา่ งตอ่ เนื่องจนเกิดความเคยชนิ และบรรลุผลสาเร็จ ๒.๓ ปัญหา อปุ สรรค จดุ ทค่ี วรพฒั นา/ ขอ้ เสนอแนะ - งบประมาณ - การจัดกจิ กรรมควรเป็นการจัดท่ีสอดคลอ้ งกบั นกั เรยี นที่มคี วามหลากหลาย เพ่อื สรา้ ง ประสบการณช์ วี ติ และทักษะชีวิตใหก้ บั ผู้เรียนและเพื่อให้เกดิ การเรียนรทู้ คี่ งทนและสามารถ นาไปใชไ้ ดจ้ ริงในชีวติ ประจาวันอย่างยง่ั ยืน

25 รปู ภาพและผลงานในการทากิจกรรม รปู ภาพการทากจิ กรรมเยาวชนวัยใส โดยเปน็ การรว่ มในระบบจากผู้บรหิ าร นกั เรียน ผ้ปู กครองและภาคเี ครอื ข่ายทุกภาคสว่ น

26 การถอดรหสั “INFINITY KM” ข้อมลู พื้นฐาน ชือ่ -สกลุ : นายนริ ตุ ต์ ศริ ภัสสร์ เกิดวนั ท่ี ๒๘ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ อายุ ๖๐ ปี รวมเวลาปฏบิ ตั ริ าชการ ๓๙ ปี ทอี่ ยู่ : บา้ นเลขที่ 6 หมู่บ้านร่มเยน็ เพลส ถนนรม่ เยน็ ซอย ๓ ตาบลป่าตนั อาเภอเมอื งเชยี งใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่ (50300) เบอร์โทรศพั ท์ : 093-285 5699 และ 095-676 9216 e-mail : [email protected] Line-ID : sira@kr ตาแหน่งและความรับผิดชอบในปจั จุบนั ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ อันดับ คศ.๓ โรงเรียนชมุ ชนวดั ท่าเดื่อ อ.เชยี งใหม่ จ.เชยี งใหม่ สังกดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 1 หน้าที่ความรบั ผดิ ชอบในปัจจบุ ัน ปฏิบตั ิหนา้ ที่ผรู้ ับผดิ ชอบและหวั หน้างานกจิ กรรมนอ้ ม นาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สอนและผลติ ผลิตภัณฑท์ เี่ ปน็ ทง้ั ผลติ ภณั ฑ์ท่ีเกดิ จาก การเรยี นรสู้ าระการงานอาชีพและเทคโนโลยี การเรยี นรู้ในกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น “ชุมนุมคนรักพอ่ อย่อู ย่าง

27 พอเพยี ง”รวมท้งั กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ “พืน้ บา้ นล้านนาปรัชญาพอเพียง” ใชเ้ ป็นสินค้าหลกั ของบรษิ ทั สรา้ งการดี ชอ่ื บรษิ ัท“ท่าเดือ่ พอเพยี ง เคยี งคู่นาฏลีลา นาพา เยาวชนสุจรติ ”ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่หัวหนา้ วชิ าการสายมธั ยมศึกษา ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่หี ัวหนา้ สาระ การเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี (กอท.) ทาหน้าทค่ี รผู ู้สอน ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ – ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ และทาหนา้ ท่ีครทู ป่ี รกึ ษาประจาชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ปฏิบัติหน้าท่ีคณะกรรมการบริหารและดาเนินการตามโครงการ เสริมสรา้ งคุณธรรมจริยธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา “ป้องกันการทุจรติ ” โรงเรียนสจุ รติ รับผิดชอบกิจกรรม “บรษิ ทั สร้างการดี” ตามโครงการโรงเรยี นสจุ ริต เป็นคณะกรรมการประเมนิ ITA (Integrity and Transparency Assessment) ตาม โครงการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ ของ สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 1 สานกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ผลงานที่ภาคภูมใิ จ หรอื ประสบความสาเรจ็ ในชีวิต ๑. รางวลั ประกาศเกยี รตคิ ณุ ครบู ุคลากรตน้ แบบการปฏิรูปกระบวนการเรยี นรู้ จากสานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ประจาปี ๒๕๔๔

28 ๒.รางวัลประกาศเกยี รติคุณเชิดชูเกียรติต้นแบบคนดีศรเี ชยี งใหม่เทดิ ไท้ ๖๐ ปี ในหลวง ฯประจาปี ๒๕๕๐ จากสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ จังหวัดเชยี งใหม่ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย(์ ๑๘ มนี าคม ๒๕๕๐) ๓.รางวลั ประกาศเกียรตคิ ณุ เครอ่ื งหมายเชิดชเู กยี รติ หนึง่ แสนครดู ี ประจาปี ๒๕๕๕ จากคุรสุ ภา(๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๕) ๔.รางวลั ประกาศเกียรติคุณครูดีเดน่ ดา้ นการจัดกจิ กรรมเศรษฐกจิ พอเพยี ง จากสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหมเ่ ขต ๑ วันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ๕.รางวัลประกาศเกยี รติบัตรครผู มู้ ผี ลงานการปฏบิ ัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practices) ปีการศึกษา ๒๕๕๖ จากสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต ๑ ๖. รางวลั ประกาศเกียรตคิ ุณครผู สู้ อนดเี ดน่ กล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยีประจาปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ จากสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ประถมศกึ ษาเชยี งใหมเ่ ขต ๑ (๑๖ มกราคม ๒๕๕๙)

29 สิ่งที่ต้องการจะบอก-ฝาก “คติเตือนใจ” “พึงชนะผนู้ ้อยด้วยการให้ พึงชนะผใู้ หญ่ดว้ ยความออ่ นโยน” ........................................................ 1) วธิ ดี าเนินงาน/ ขั้นตอนการดาเนนิ งานใหเ้ กดิ ผลสาเร็จตามเป้าหมาย สาหรับหลักในการทางานของข้าพเจ้าตลอดชีวิตความเป็นครูที่ได้ทาและส่งผลให้เกิดผล สาเร็จตามเปา้ หมายนนั้ ตามหลักความเป็นจริงงานทกุ อย่างท่ีข้าพเจ้าได้ทาและดาเนินมา ทั้งท่ีประสบความสาเร็จและไม่สาเร็จน้ัน มักจะเร่ิมมาจากความไม่รู้ไม่เคยมาก่อน แต่ก็มี ความจาเป็นต้องทา อาจมาจากการลองผิดลองถูกบ้าง มาจากประสบการณเ์ ดมิ บ้าง มา จากการศึกษาเรียนรู้เพ่ิมเติมด้วยวิธีการต่างๆบ้าง ผนวกไปกับจิตสานึกในหน้าที่ รวมไป ถึงความรกั และศรัทธาในอาชีพ รักและเมตตาเด็กทุกคน ทาให้มุ่งมั่นพฒั นาตนเองให้เปน็ ผู้ท่ีต้องแสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการในอันที่จะนามาใช้ให้เหมาะสมกับการประกอบ อาชีพครอู ยู่เสมอ จึงได้รวบรวมเอาหลักการต่างๆท่ีได้สั่งสมมา และได้ประเมินได้วิเคราะห์ ได้ ทดลองใช้แล้วได้ผลดี ทาให้ตัวเรา ผู้เรียน สถานศึกษา เพ่ือนร่วมงาน ชุมชนหรือ ท้องถนิ่ สงั คม ประเทศชาติ ตลอดจนพลโลกทอ่ี ยูร่ ่วมกนั ได้รับผลจากการดาเนินงานของ เราแลว้ มีความสุข มีความพงึ พอใจ มเี ส้นพัฒนาทม่ี ุ่งไปสู่เปา้ หมาย แล้วจงึ ยึดมาเป็นหลัก ในการดาเนนิ งานเพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลสาเรจ็ ตามเป้าหมายพอสรปุ ได้ดงั น้ี

30 ๑. หลักคาสอนขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าในฐานะที่เป็นพุทธศาสนิกชนคนหน่ึงท่ี ตระหนักในหน้าที่และบทบาทของความเป็นครู จึงได้ศึกษาหลักธรรมคาสอนถงึ จะไมถ่ อ่ แท้ลึกซึ้งเทียบเท่าพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติในศาสนาและได้นาเอามาใช้ในชีวิตประจาวัน อาธิ อริยสัจส่ี หรือความจริงอันประเสริฐ ท่ีพระพุทธองค์ทรงตรัสรู้ ประกอบด้วย ทุกข์ (ปัญหา) สมุทัย(เหตุที่ทาให้เกดิ ปญั หา) นิโรธ(หนทางหรอื วธิ กี ารนามาใชแ้ ก้ปญั หา) มรรค (ข้ันตอนการลงมือแก้ปัญหาโดยนาเอาวิธีการที่ได้เลือกแล้ววิเคราะห์แล้วว่าดีเหมาะสมไป ดาเนินการแก้ปัญหา) เป็นหลักธรรมท่ีทันสมัยเป็นหลักพ้ืนฐานทเ่ี ป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน กับหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่พิสูจน์ได้ตลอดเวลา เป็นความจริงที่ไม่มีวันตายเป็นหลัก ของเหตแุ ละผล ฯลฯ ๒. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขององค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์จักรี ทรงพระราชทานให้กับพสกนิกรชาวไทย ทุกคน ไว้เป็นหลักในการดาเนินชีวิตประจาวันซึ่งได้ทรงเน้นให้คนเรารู้จักใช้ชีวิตอย่าง พอดีพอเพียงในทุกๆเรื่องไม่ใช่แต่เฉพาะเรื่องของเศรษฐกิจการใช้จ่ายเงินเท่านั้น ไม่ว่าจะ เป็นเร่ืองใดๆก็สามารถนาเอาหลักปรัชญาพอเพียงนี้ไปใช้ได้เสมอ เช่น การกิน การ พักผ่อน การออกกาลังกาย การทางาน การพูด การสนทนา การร้องราทาเพลง ฯลฯ เพียงแต่ได้ทรงเน้นในเรื่องของการใช้จ่ายเป็นหลักสาคัญ เพราะเป็นหลักที่สอดรับตรงกับ หลักธรรมคาสอนของพระพุทธองค์ในเร่ืองของทางสายกลาง (มัชฌิมา ปฏิปทา) ความ พอดี ไมม่ ากเกินไป ไมน่ อ้ ยเกินไป สามหว่ งที่สอดและคล้องกนั มคี วามหมายว่าตอ้ งทาไป

31 พร้อมๆกันอย่างมีสติ อีกสองเงอ่ื นไขกส็ อนใหร้ ู้ไว้เสมอวา่ การไดเ้ กิดมาเปน็ คนไม่ว่า จะทางานใด ต้องการรู้เร่ืองใดๆ ก็ตามต้องใฝ่เรียนใฝ่รู้พัฒนาตนเองอยู่เสมอ ควบคู่กับ การประพฤตติ นเปน็ คนดี เพราะการเปน็ ผูม้ ีภมู ธิ รรมย่อมหมายถึงการเปน็ คนดีซ่ึงสามารถ ทาได้ท้งั ทางกาย วาจา และใจ และพึงทาให้เกิดเป็นปกตินสิ ยั ๓. หลักของจิตครองกาย จิตเป็นนายกายเปน็ บา่ ว จติ สะอาดกายสะอาดตาม ข้อน้ี เป็นหลักเดียวกันกับการสร้างเจตคตทิ ีดีก่อนการลงมือปฏบิ ัติสิ่งใดๆก็ตามเราต้องสร้างเจต คติที่ดีงาม ท่ีเป็นทางบวกเสมอ โดยเฉพาะการมีเจตคติที่ดีตอ่ การประกอบอาชีพ ต่อการ พฒั นาตน พฒั นางาน พัฒนาเยาวชน สังคมและประเทศชาติ ๔. หลักของการนาไปปฏิบัติจริงให้เป็นท่ีประจักษ์ หรือหลักของการปฏิบัติจริงให้ เห็นเป็นรูปธรรม คนเราหากมีความรู้ส่ิงใดๆก็ตามหากไม่นามาปฏิบัติก็ไม่เกิดผล โดยเฉ พาผู้ท่ีประกอบอาชีพครู ปฏิบัติแล้วเม่ือเกิดผลดีก็ควรทาต่อเน่ืองและมีการถ่ายทอด และ ขยายผลไปสู่ผเู้ รียนร่นุ ต่อๆไป ขยายผลไปสผู่ ้สู นใจคนอื่นๆกลมุ่ อน่ื ๆ ๕. หลักของความเช่ือที่ว่ามนุษย์ทุกคนย่อมพัฒนาการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ แม้วา่ จะมีความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เพราะคนเราย่อมมคี วามแตกตา่ งกันไปไมว่ า่ จะเป็น ฐานะความเป็นอยู่ รูปร่างหน้าตา สติปัญญา ความสามารถ ความชอบความสนใจ ความถนดั ฯลฯ

32 ปจั จัยที่เอื้อใหป้ ระสบผลสาเร็จ การมีเจตคตทิ ดี กี ลา่ วคอื มคี วามรกั ความศรทั ธาในอาชีพ รักและเมตาตอ่ ศิษยท์ กุ คน มี ความ ภาคภมู ใิ จในอาชีพครู คิดบวกคิดดีต่อการประกอบอาชพี ตอ่ ผบู้ งั คับบัญชา ต่อ เพื่อนรว่ มงาน การร้จู กั ใหเ้ กยี รตแิ ละรักษามารยาททีด่ ตี อ่ กนั มีความรบั ผิดชอบและมี ความม่งุ มน่ั ในการทางานให้สาเรจ็ ไมย่ อ่ ทอ้ มคี วามสขุ และเพลิดเพลนิ ในการทางานแมจ้ ะ พบกบั ปัญหาและอปุ สรรคกไ็ มย่ ่อทอ้ ตอ้ งเป็นผเู้ สยี สละใหเ้ ป็น มีความจรงิ ใจไม่หวังผล ใดๆแอบแฝง ปฏิบัตติ นเสมอต้นเสมอปลายได้อะไรดๆี ก็ขอบคุณไมไ่ ด้ก็ปล่อยวาง รวมถงึ การระวงั รักษาสุขภาพจิตและกายใหแ้ ข็งแรงอยู่เสมอ ปัญหา อุปสรรค จดุ ท่คี วรพัฒนา/ ข้อเสนอแนะ ปัญหา อปุ สรรค ครูมภี าระงานเยอะ โครงสร้างเวลาในหลกั สูตรและกจิ กรรมไม่สมดลุ กนั ทาใหบ้ าง กจิ กรรมไมไ่ ด้ทา งบประมาณไม่พอเพียง ปัญหาความประพฤติของนักเรยี น จดุ ท่ีควรพฒั นา/ขอ้ เสนอแนะ ๑.ปรบั โครงสร้างเวลาของหลกั สตู รโดยนาไปจัดในกจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ ๒.ลดภาระงานทซี่ ้าซ้อน ระจางานปังบคุ ลากรท่านอ่นื ๓.แกไ้ ขพฤตกิ รรมเด็กโดยการใช้ความรกั และสติ ศกึ ษาปัญหาสว่ นตัว

33 สิ่งที่ต้องการจะบอก-ฝาก/ข้อคดิ /คติเตือนใจ/คานยิ ม/ฯลฯ “พึงชนะผ้นู ้อยด้วยการให้ พึงชนะผ้ใู หญด่ ้วยความอ่อนโยน” “เราเรียนรู้ที่จะให้ ใหค้ นอื่นไม่ใชเ่ พราะเรามีเหลือมากมายแตเ่ รียนรทู้ ่จี ะให้เพราะรู้ดวี ่า…การ ไมม่ ีมันเปน็ อยา่ งไร?” “คืนที่ท้องฟา้ มืดท่สี ุดเราจะเหน็ ดาวไดช้ ดั ที่สุดและวันใดทีเ่ ราทุกขท์ ่สี ุดเราจะได้เหน็ วา่ ….ใคร รกั เราทส่ี ุด” “อา่ นหนงั สอื ออกสาคัญอา่ นเหตกุ ารณอ์ อกสาคัญกวา่ อา่ นคนอื่นออกสาคัญยงิ่ อ่านตนเองออก สาคัญทีส่ ุด” “ความสาเร็จเมื่อมองจากท่ไี กลๆจะมีชื่อว่า ความฝนั ...เมอ่ื เดนิ เขา้ ไปใกล้ จะเปลี่ยนชื่อเป็น เปา้ หมาย...และเมอื่ มาอยู่ในมอื เรา จะเรยี กว่า ความสขุ ” “ร้จู ักให้ รจู้ ักรับ ร้จู ักปรบั ร้จู กั อภัย รู้จักแบ่ง รู้จกั ได้ รูจ้ ักแข็ง รจู้ ักคลาย ชวี ติ จะเบาสบายและมคี วามสุข” “อยา่ อาลยั อาวรณใ์ นอดีตทผ่ี า่ นไปแล้ว อยา่ เป็นกงั วลในอนาคตท่ียังมาไม่ถึง จงมสี ติอยกู่ บั ปัจจุบันทาปจั จบุ นั ใหด้ ีท่สี ดุ ”

34 การถอดรหสั “INFINITY KM” นางอมลรัศมิ์ โสภา ตาแหนง่ ครูชานาญพเิ ศษ โรงเรยี นวัดป่าตนั อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวดั เชยี งใหม่ ปที ่เี กษยี ณอายุราชการ ปีพ.ศ. 2560 1. ขอ้ มลู เกยี่ วกบั งานที่รบั ผิดชอบ - รกั ษาการในตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา - หัวหนา้ งานบรหิ ารทัว่ ไป - หัวหนา้ เจา้ หน้าที่พสั ดุ - หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯการงานอาชพี และเทคโนโลยี - งานสถติ ิขอ้ มลู ของโรงเรยี น - งานวดั ผลประเมินผล - งานโครงการอาหารกลางวนั - สหกรณ์ร้านค้า - งานจดั ระบบควบคุมภายในหนว่ ยงาน - งานการศกึ ษาพิเศษเรียนร่วม - งานทุนการศึกษานักเรียน - หัวหนา้ งานจดั การศึกษากอ่ นประถมศึกษา

35 2. ผลงานทีภ่ าคภูมใิ จ หรืองานทป่ี ระสบผลสาเรจ็ ในชีวติ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนนกั เรยี น ซึ่งไดร้ บั มอบหมายให้สอนในกลุ่ม สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยรี ะดบั อนุบาล –ประถมศึกษาปที ี่ 6 2.1. วิธกี ารดาเนินงานเกดิ ผลสาเร็จตามเปา้ หมาย - ปฏิสัมพันธ์ท่ดี ีระหว่างครูกบั ศษิ ย์ - วิธกี ารสอนให้เขา้ ใจไม่ใช่ท่องจา - การสรา้ งแรงบัลดาลใจถึงความสาเร็จ 2.2. ปจั จัยท่เี อ้ือให้ประสบผลสาเร็จ คือ -เตรยี มการสอน -การพฒั นาองคค์ วามรู้เพอื่ ใช้ในการสอน/การออกแบบหลกั สตู ร| -การทางานรว่ มกบั ลูกศษิ ย์แบบตวั ต่อตวั รายบคุ คล -แลกเปล่ยี นเรียนรกู้ ับเพ่อื นครเู พอ่ื พฒั นาการสอน -จัดกจิ กรรมพเิ ศษตา่ งๆนอกเหนอื จากการเรยี นรใู้ นชนั้ เรียน 2.3. ปัญหา อปุ สรรค จดุ ทค่ี วรพฒั นา /ข้อเสนอแนะ - การพัฒนาปรับปรงุ วิธกี ารสอนของครใู ห้หลากหลาย โดยใช้ส่อื การสอน เทคนคิ วธิ กี ารการสอน เพิม่ ทกั ษะอาชีพ พัฒนาทางดา้ นการจัดการเรียนรคู้ ดิ วเิ คราะห์มากกวา่

36 การถอดรหัส INFINITY KM 1.ประวัติส่วนตวั นางกฤษณา คาสทิ ธิ ตาแหน่ง ครู คศ.3 วิทยฐานะชานาญการพิเศษ โรงเรยี นบา้ นแมเ่ หียะสามคั คี สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 วุฒิการศึกษาปริญญาโทสาขาวชิ าประถมศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ปรญิ ญาตรี วิชาเอกการแนะแนว วชิ าโทภาษาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ วิทยาเขตพษิ ณโุ ลก ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ ครูผสู้ อนกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4-6 งานในหน้าท่ีพิเศษ หวั หนา้ งานวชิ าการโรงเรยี นบ้านแมเ่ หียะสามัคคี เกษียณอายุราชการ 2567 2. ผลงานท่ีภาคภมู ใิ จ 2.1 ครูผู้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยที่สามารถ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ปีการศึกษา 2559 และมีค่าเฉลี่ย สงู กว่าระดับประเทศ 2.2 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (()-NET) สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้น ป.6 พัฒนาสูงข้นึ ส่ีปซี อ้ น ตั้งแตป่ กี ารศึกษา 2556-2559 สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา ประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 1

37 2.3 งานวิชาการโรงเรียนบ้านแม่เหียะสามัคคี มีผลคะแนนการทดสอบระดับชาติ ข้ันพ้ืนฐาน (()-NET) เฉลี่ยรวม 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้เกินมาตรฐานร้อยละ 56.41 ช้ัน ป.6 ปีการศึกษา 2559 สูงเป็นลาดับที่ 3 ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 ตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ช้นั ป.6 คา่ เฉลี่ย ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา หมายเหตุ (Mean) 2557 2558 2559 โรงเรยี น 50.00 53.75 67.27 ค่าเฉล่ียโรงเรียนสูง ประเทศ 44.88 49.33 52.98 กว่าระดับประเทศและ + ผลการพฒั นา + + 14.29 มี ค่ าพั ฒนาข้ึ นทุ กปี 4.42 การศึกษา 5.12 ผ้บู รหิ าร 3. วิธกี ารดาเนินงาน ทใี่ ช้ คอื 3.1 ศึกษาขอ้ มลู วเิ คราะห์ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรายบุคคลหาจุดเด่น/จดุ ดอ้ ยทีค่ วร พัฒนา 3.2 กาหนดเป้าหมายยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มข้ึนร้อยละ 3 ทา MOU กับ 3.3 จัดกระบวนการเรยี นรหู้ ลากหลายเน้นกระบวนการ Active Learning นวตั กรรมเดน่

38 - การจัดการเรยี นรูบ้ ูรณาการสาระการเรยี นรู้โดยใช้วรรณคดเี ป็นฐานใช้ส่ือเทคโนโลยีทัง้ DLITและสื่ออื่นๆจาก Internet ใช้เทคนิคการสอนหลากหลายกระตุ้นให้ผู้เรียนสรุปองค์ ความรู้ร่วมกับครู ผลประเมินผลตามสภาพที่แท้จริงร่วมกันสะท้อนผลให้ผู้เรียนทราบเพ่ือ ปรับปรงุ แกไ้ ขตนเอง - ไม่ยึดหนังสือเรียนเล่มใดเล่มหน่ึงใช้หลากหลายทั้งของกระทรวงศึกษาธิการและ สานักพิมพ์ต่างๆ สาระการเรียนรู้จากอินเทอร์เนตจากมาตรฐานการเรียนรู้ตัวช้ีวัดและ แบบทดสอบของ สทศ. 4. ปัจจยั ท่ีเอ้อื ให้ประสบผลสาเร็จ มีความศรัทธาในวิชาชีพครู มุ่งม่ันไม่ย่อท้อและพัฒนาตนอยู่เสมอ ผู้บริหารให้ อิสระในการจัดการเรียนรู้ ความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจของเพ่ือนครู และสาคัญที่สุดคือ การสร้างสัมพันธภาพระหว่างครูกับผู้เรียนเชิงบวกจะทาให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น สนใจในการเรียนรมู้ ากที่สุด 5. ปญั หาอุปสรรค /จุดทีค่ วรพัฒนา/ ขอ้ เสนอแนะ ตอ้ งพัฒนาตนเองให้ก้าวทนั จดุ เน้นนโยบายการจดั การการศกึ ษาและโครงสร้าง หลักสูตรที่มกี ารเปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา เพื่อให้เข้าใจแนวทางปฏิบัติสามารถนามาใช้ จัดกระบวนการเรียนรไู้ ดถ้ ูกตอ้ ง

39 6. หลักฐานความภาคภูมใิ จ โล่รางวลั และเกียรติบตั รครผู ้สู อนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ทสี่ ามารถยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนระดบั ชาติ(O-NET)สูงข้นึ

40 7. รูปภาพประกอบผลการดาเนินงาน เทคนคิ การจดั การเรยี นร้แู ละผลสาเร็จทเ่ี กดิ จากการพฒั นาผเู้ รียน เปรียบเทยี บผลการพฒั นาโอเนต ปี 57-59กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ปี 2559 ภาษาไทย คะแนนเฉล่ยี สูงกว่าระดบั ประเทศ 80 67.27 57.6355.459.55 67.27 53.37 56.98 14.29 % 51.88 52.98 5053.8 60.00 60 43.846.36 40 25.6 40.00 โรงเรีย 20.00 น 20 0 0.00 แผนภมู แิ สดงผลการทดสอบระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ช้นั ป.6

41 การถอดรหัส “INFINITY KM” นางสาวจิตติพร สุวรรณชาติ ตาแหน่ง ครู คศ.๑ โรงเรยี น วัดห้วยทราย ปีทเ่ี กษยี ณอายรุ าชการ ๒๕๘๘ ๑. ขอ้ มลู เกีย่ วกับงานท่ีรับผดิ ชอบ - ครูผสู้ อนกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ วิชาภาษาอังกฤษ ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปี ท่ี ๔ และ มัธยมศึกษาป่ที ี่ ๑ – ๓ - ปฏบิ ตั ิตาแหนง่ ครูประจาชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ - ปฏิบัตติ าแหนง่ เจา้ หน้าท่บี ญั ชี และเลขานุการผูอ้ านวยการ ๒. ผลงานความภาคภูมใิ จ หรอื งานทปี่ ระสบผลสาเรจ็ ในชวี ิต - รางวัลผลการปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ วชิ าภาษาอังกฤษ ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๕๗ - เป็นผจู้ ัดการเรยี นการสอนกล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ วชิ าภาษาองั กฤษ ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ โดยมีคะแนนผลสมั ฤทธิ์ทางดา้ นการสอบ ONET สงู กวา่ ระดบั ประเทศ ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙

42 ๒.๑ วิธดี าเนนิ งานเกดิ ผลสาเร็จตามเป้าหมาย - เนน้ การทอ่ งคาศัพท์ ทพ่ี บในชวี ติ ประจาวนั อย่างสมา่ เสมอ และเน้นคาศัพท์ทมี่ า จากขอ้ สอบ ONET ในแตล่ ะปี - เน้นการทากจิ กรรม โดยมกี ารใชร้ ะบบ DLIT และ เทคโนโลยีเสรมิ เชน่ KAHOOT Application โดยทาเป็นประจาจนนักเรยี นเกดิ ความเคยชนิ และใช้ ภาษาอังกฤษได้ครบทง้ั ๔ ทกั ษะ คอื ทักษะการพดู (Speaking Skill) ทกั ษะ การฟงั (Listening Skill) ทกั ษะการอ่าน (Reading Skill) และทกั ษะการเขยี น (Writing Skill) ๒.๒ ปจั จยั ท่ีเอื้อใหป้ ระสบผลสาเร็จ - ผู้บริหารให้การสนบั สนุนการใช้ เทคโนโลยใี หมๆ่ ในการจดั การเรยี นการสอน รวมถึงการไปอบรมที่เนน้ ไปทางการพัฒนาการใช้ เทคโนโลยี อย่างสมา่ เสมอ - ผู้ปกครองให้ความรว่ มมือในการเตรียมอปุ กรณเ์ ทคโนโลยตี ่างๆให้กับนกั เรยี นใน การทากจิ กรรม - นักเรยี นใหค้ วามสนใจในการทากจิ กรรม จนเกดิ การเรยี นรทู้ ม่ี ีประสทิ ธิภาพ ๒.๓ ปญั หา อปุ สรรค จดุ ท่คี วรพฒั นา/ ขอ้ เสนอแนะ - งบประมาณในการจัดการส่อื DLTV

43 การถอดรหัส INFINITY KM ปีการศกึ ษา 2560 วนั ท่ี 8 กนั ยายน 2560 ณ โรงแรมฮอลเิ ดยก์ ารเ์ ดน อ.เมอื งเชยี งใหม่ จ.เชียงใหม่ สังกดั สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 1 ----------------------------------------------------------------------- ขอ้ มลู พนื้ ฐาน ชอื่ นางปรารถนาดี นามสกลุ มณวี งั ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ โรงเรยี น ชมุ ชนวัดทา่ เดอื่ อาเภอ เมือง เชียงใหม่ จังหวดั เชียงใหม่ สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 1 วัน เดือน ปีเกิด วันที่ 6 เดอื น มนี าคม พ.ศ. 2506 อายุ 54 ปี สถานที่อยู่ บ้านเลขที่127 บา้ นปา่ ขอ่ ยใต้ หมทู่ ี่ 2 ตาบลสนั ผีเสื้อ อาเภอ เมอื งเชยี งใหม่ จังหวัด เชยี งใหม่ 50300 Tel. 091 - 0769241 E – mail : [email protected]

44 ประวัตกิ ารศกึ ษา พ.ศ. 2528 วฒุ ปิ ริญญาตรี ศกึ ษาศาสตรบัณฑติ (ศษ.บ.) วิชาเอก ภาษาองั กฤษ วิชาโท เทคโนโลยที างการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2535 วฒุ ิปริญญาโท ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต (ศษ.ม.) สาขาวิชา ประถมศกึ ษา มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ตาแหนง่ และความรับผดิ ชอบในปจั จุบัน ตาแหน่ง ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนชมุ ชนวัดท่าเด่อื อาเภอ เมอื งเชียงใหม่ จังหวัด เชยี งใหม่ หนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบในปจั จุบัน หัวหนา้ กลุ่มงานวิชาการของโรงเรียน หวั หน้ากลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)ปฏบิ ตั ิหน้าท่หี ัวหนา้ โครงการเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจรติ ” โรงเรียนสจุ ริต รบั ผดิ ชอบกิจกรรม “บรษิ ทั สรา้ งการดี” ตามโครงการโรงเรียนสุจริต คณะกรรมการ ประเมิน ITA (Integrity and Transparency Assessment) ตามโครงการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครของสานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 1 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

45 ผลงานที่ภาคภมู ิใจ หรอื ประสบความสาเร็จในชีวิต เป็นหวั หน้าโครงการโรงเรยี นสจุ รติ ต้นแบบของสานกั งานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่เขต 1 สามารถดาเนินกจิ กรรมจนเปน็ ทีร่ ู้จกั ของบุคคล ท่วั ไป โรงเรยี นสามารถเปน็ แหล่งเรียนรใู้ นเรอ่ื งคุณธรรมจรยิ ธรรม และโรงเรยี นยังไดร้ ับ รางวลั รกั ชาตถิ กู ทาง 2 ปีซ้อนจากสานกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ นอกจากนีก้ ิจกรรมบรษิ ัทสร้างการดี “ทา่ เดือ่ พอเพียง เคยี งคูน่ าฏลีลา นาพาเยาวชนสุจรติ ” ตามโครงการโรงเรยี นสจุ ริต ได้เป็นตวั แทนระดบั ภาคเหนือไป แลกเปลยี่ นเรียนร้ใู นระดับประเทศ ณ โรงแรมเอวานา บางนา กรงุ เทพมหานคร เม่ือ วันท่ี 2 – 5 กนั ยายน 2560 1) วิธีดาเนินงาน/ ข้ันตอนการดาเนนิ งานใหเ้ กดิ ผลสาเรจ็ ตามเป้าหมาย ใชก้ ระบวนการ PDCA ในการดาเนินงาน Plan (วางแผน) มกี ารวางแผนการดาเนนิ งานโครงการโรงเรียนสจุ รติ โดยบรรจุลงใน แผนปฏบิ ตั ิการของโรงเรียนเปน็ โครงการตอ่ เนอื่ งทกุ ปี มกี ารกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ท่ี ชัดเจน จัดอนั ดับความสาคญั ของกจิ กรรมแตล่ ะกจิ กรรม กาหนดระยะเวลาการ ดาเนินงาน กาหนดผู้รบั ผิดชอบหรือผูด้ าเนนิ การและกาหนดงบประมาณทจี่ ะใช้

46 Do (ปฏบิ ัติตามแผน) มกี ารดาเนนิ งานตามแผนท่ีวางไว้ โดยมีการกาหนดข้นั ตอนหรอื วธิ กี าร ดาเนนิ การ มผี ู้รบั ผิดชอบชัดเจน มีการประสานงานกับผู้ทเี่ กีย่ วข้อง สามารถดาเนนิ การ ตามระยะเวลาและงบประมาณทก่ี าหนดไว้ Check (ตรวจสอบการปฏบิ ัติตามแผน) มกี ารตรวจสอบว่า มีการกาหนดวธิ หี รือรูปแบบการประเมนิ หรอื ไม่ มี รปู แบบของการประเมินเหมาะสมหรอื ไม่ ผลของการประเมนิ ตรงกับวัตถุประสงค์ทวี่ างไว้ หรือไม่ มีปัญหาหรอื จดุ อ่อนทพี่ บในการดาเนนิ การอะไรบา้ ง มขี อ้ ดีหรอื จุดแขง็ ของการ ดาเนนิ การอย่างไร Act (ปรบั ปรงุ แก้ไข) นาผลการประเมนิ มาพฒั นางานโดยวเิ คราะหว์ ่ามีกจิ กรรม หรือขน้ั ตอนการ ปฏิบัตงิ านใดท่ีควรปรับปรุง หรือพฒั นาส่งิ ท่ีดีอยู่แล้วให้ดยี ่งิ ข้ึนอีก และสรา้ งรูปแบบการ ดาเนินการใหม่ทีเ่ หมาะสมสาหรับการดาเนนิ งานในปตี อ่ ไป

47 ปจั จยั ทเ่ี อื้อใหป้ ระสบผลสาเรจ็ การวางแผนทดี่ ีและความเขา้ ใจในรายละเอยี ดของโครงการของคณะครู ความสามารถในการทางานเป็นทีม ความสามัคคแี ละความร่วมมอื ของคณะครทู ุกคนใน โรงเรียน การสื่อสารที่ดีและ การแก้ปญั หาอย่างมีประสิทธิภาพ สิ่งสาคญั คือการไดร้ ับ การสนับสนนุ อย่างต่อเนื่องจากผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและความร่วมมอื ของทุกคนที่ เกีย่ วขอ้ งทั้งคณะครู นกั เรยี น ผู้ปกครองและกรรมการสถานศกึ ษา ตลอดจนการได้รับ ความช่วยเหลือจากหน่วยงานอืน่ เชน่ เทศบาลตาบลสันผเี ส้ือใหเ้ วทใี นการทากจิ กรรม การจาหน่ายสนิ ค้า การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย จ.เชียงใหม่ สนับสนุน งบประมาณในการผลิตสนิ คา้ และอดุ หนนุ สินคา้ ของบริษทั สร้างการดขี องโรงเรยี น และ มวี ิทยากรบุคคลภายนอกมาให้ความรู้และสนับสนุนวสั ดอุ ุปกรณ์ เชน่ เสื้อผ้าในการแสดง การทาผมแต่งหนา้ แตง่ ตัวก่อนการแสดง เป็นต้น 3) ปญั หา อุปสรรค จดุ ท่คี วรพฒั นา/ ขอ้ เสนอแนะปัญหา อุปสรรค งบประมาณและเวลาในการดาเนินงานไม่พอเพียงครแู ละนกั เรยี นมกี ิจกรรมอน่ื มาก ทาใหบ้ างกจิ กรรมไม่สามารถดาเนนิ การได้ จดุ ท่ีควรพฒั นา/ ขอ้ เสนอแนะ ลดกจิ กรรมท่ไี มจ่ าเป็นลง และของบประมาณสนับสนนุ จากที่อ่ืน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook