Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชาชีพครู

สาขาวิชาชีพครู

Description: หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรประกาศนียบัตรบัณฑติ วิชาชพี ครู (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2562) คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หลกั สตู รประกาศนียบตั รบัณฑติ วิชาชพี ครู (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก คำนำ หลักสูตรประกำศนยี บัตรบัณฑิตวิชำชีพครู (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) ฉบับน้ีได้ดำเนินกำรตำม ตำมประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เร่ือง เกณฑ์มำตรฐำนหลักสูตร ระดับอุดมศึกษำ พ.ศ. 2558 กรอบ มำตรฐำนคุณวุฒิระดับอุดมศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2552 (TQF) ข้อบังคับมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคล ธญั บุรี ว่ำด้วยกำรศึกษำระดับบัณฑิตศึกษำ พ.ศ. 2559 และมำตรฐำนวิชำชีพครู พ.ศ. 2561 โดยหลกั สูตรนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นครูมืออำชีพที่มีควำมรู้อย่ำงกว้ำงขวำง ลึกซึ้ง มีทักษะวิชำชีพครู สำมำรถ คดิ วเิ ครำะห์ สรำ้ งสรรค์ แกป้ ัญหำ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยำบรรณวชิ ำชีพครู รำยละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) ฉบับนี้ประกอบด้วย 8 หมวด ได้แก่ หมวดที่ 1 ขอมูลท่ัวไป หมวดที่ 2 ขอมูลเฉพำะของหลักสูตร หมวดที่ 3 ระบบกำรจัดกำรศึกษำ กำรดำเนินกำร และโครงสรำงของ หลักสูตร หมวดที่ 4 ผลกำรเรียนรูกลยุทธกำรสอนและประเมินผล หมวดท่ี 5 หลักเกณฑในกำรประเมินผล นักศึกษำ หมวดที่ 6 กำรพัฒนำคณำจำรยและบุคลำกร หมวดที่ 7 กำรประกันคุณภำพหลักสูตร และหมวดที่ 8 กำรประเมนิ และปรับปรงุ กำรดำเนินกำรของหลักสูตร กำรปรับปรุงหลักสูตรประกำศนียบัตรบัณฑิตวิชำชีพครู ได้ใช้ข้อมูลสำรสนเทศจำกคณะกรรมกำร บริหำรหลักสูตร ผู้ใช้บัณฑิต และผู้ทรงคุณวุฒิภำยนอกท่ีให้คำแนะนำต่ำงๆ จนหลักสูตรมีควำมสมบูรณ์ยิ่งข้ึน คณะครุศำสตร์อุตสำหกรรม มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี ขอขอบคุณคณะกรรมกำรผู้จัดทำ หลักสูตร ผู้ทรงคุณวุฒิภำยนอก และผู้ท่ีเกี่ยวข้องทกุ ท่ำนที่มีส่วนในกำรปรับปรงุ หลักสูตรฉบับน้ีจนสำเรจ็ ด้วย ควำมเรียบรอ้ ยเปน็ อยำ่ งดี คณะครุศำสตร์อุตสำหกรรมเชื่อม่ันวำ่ หลักสตู รประกำศนยี บัตรบัณฑติ สำขำวชิ ำชีพ ครูทม่ี คี ุณภำพและมำตรฐำน จะสง่ ผลใหเ้ กิดกำรพัฒนำวชิ ำชพี ครูไดอ้ ย่ำงต่อเนอ่ื ง คณะครุศำสตร์อุตสำหกรรม มหำวิทยำลยั เทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี

ข สารบัญ คำนำ หน้า สำรบญั ก หมวดท่ี ข 1 ข้อมูลทั่วไป 1 2 ข้อมูลเฉพำะหลักสตู ร 7 3 ระบบกำรจัดกำรศึกษำ กำรดำเนินกำร และโครงสร้ำงหลักสูตร 9 4 ผลกำรเรยี นรู้ กลยุทธก์ ำรสอนและกำรประเมนิ ผล 30 5 หลักเกณฑใ์ นกำรประเมิลผลนักศกึ ษำ 42 6 กำรพฒั นำคณำจำรย์ 45 7 กำรประกันคุณภำพหลกั สูตร 47 8 กำรประเมนิ และปรับปรงุ กำรดำเนนิ กำรของหลกั สูตร 54 62 ควำมคำดหวังของผลลัพธ์กำรเรียนรูเ้ ม่อื สิ้นสุดปีกำรศกึ ษำ 63 ภาคผนวก 64 ก คำสั่งแตง่ ต้ังคณะกรรมกำรจดั ทำพฒั นำหลักสตู รประกำศนียบตั รบัณฑติ 67 สำขำวชิ ำชีพครู (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 113 ข ประวตั ิ ผลงำนวิชำกำร และประสบกำรณ์สอนของผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตร อำจำรยป์ ระจำหลักสตู ร อำจำรย์ประจำ อำจำรย์พเิ ศษ 136 ค - ขอ้ บงั คับมหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยีรำชมงคลธัญบรุ ี วำ่ ดว้ ยกำรศกึ ษำระดบั 139 บัณฑติ ศึกษำ พ.ศ. 2559 - ข้อบังคบั มหำวทิ ยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี ว่ำด้วยกำรศึกษำระดับ 141 บัณฑิตศึกษำ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 - ขอ้ บังคบั มหำวิทยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลธัญบุรี วำ่ ดว้ ยกำรศกึ ษำระดับ บณั ฑิตศึกษำ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2561 ง ประกำศมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธญั บุรี เรอื่ ง เกณฑ์กำรวดั และประเมนิ ผล กำรศกึ ษำระดับบัณฑิตศึกษำ พ.ศ.2559

หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี ครู หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 ชอ่ื สถาบันอุดมศึกษา มหำวทิ ยำลัยเทคโนโลยรี ำชมงคลธัญบุรี คณะ/ภาควชิ า/สาขาวชิ า คณะครุศำสตร์อุตสำหกรรม ภำควชิ ำกำรศกึ ษำ หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสตู ร ภำษำไทย: หลักสตู รประกำศนยี บัตรบัณฑิตวชิ ำชีพครู ภำษำองั กฤษ: Graduate Diploma Program in Teaching Profession 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชอ่ื เตม็ (ไทย): ประกำศนียบัตรบณั ฑติ (วชิ ำชีพคร)ู ช่อื ยอ่ (ไทย): ป.บัณฑิต (วชิ ำชีพครู) ชอ่ื เตม็ (องั กฤษ): Graduate Diploma (Teaching Profession) ชอ่ื ยอ่ (อังกฤษ): Grad. Dip. (Teaching Profession) 3. วชิ าเอก - 4. จานวนหน่วยกิตทเ่ี รยี นตลอดหลักสตู ร 35 หนว่ ยกิต 5. รูปแบบของหลักสตู ร 5.1 รปู แบบ หลักสูตรระดบั ประกำศนยี บัตรบณั ฑิตวิชำชพี ครู จัดกำรศึกษำในระบบทวิภำค และเปน็ ไปตำม ประกำศของคุรุสภำ ทัง้ น้ีจะใช้เวลำศกึ ษำไม่เกนิ 3 ปีกำรศึกษำ 5.2 ภาษาทใี่ ช้ ภำษำไทย 5.3 การรับเขา้ ศกึ ษา รบั นักศึกษำไทย และนักศึกษำตำ่ งประเทศท่สี ำมำรถใชภ้ ำษำไทยได้ 5.4 ความรว่ มมือกบั สถาบนั อ่นื เปน็ หลกั สตู รเฉพำะของสถำบนั โดยเฉพำะ

2 5.5 การใหป้ ริญญาแก่ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา ให้ปรญิ ญำเพียงสำขำวิชำเดยี ว 6. สถานภาพของหลักสตู รและการพิจารณาอนมุ ตั /ิ เห็นชอบหลักสูตร  หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2559  หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ.2562 สภำวิชำกำร เหน็ ชอบในกำรนำเสนอหลกั สตู รต่อสภำมหำวิทยำลัยฯ ในกำรประชมุ คร้งั ที่ 9/2562 วนั ที่ 5 กนั ยำยน 2562 สภำมหำวิทยำลยั อนมุ ัติหลักสตู ร ในกำรประชมุ คร้ังท่ี 9/2562 วนั ท่ี 25 กนั ยำยน 2562 เปิดสอน ภำคกำรศึกษำท่ี 2 ปกี ำรศึกษำ 2562 7. ความพร้อมในการเผยแพรห่ ลกั สูตรคณุ ภาพและมาตรฐาน หลักสูตรจะได้รับกำรเผยแพร่ว่ำเป็นหลักสูตรท่ีมีคุณภำพและมำตรฐำนตำมกรอบมำตรฐำนคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษำ พ.ศ. 2552 ในปกี ำรศกึ ษำ 2564 8. อาชีพทีส่ ามารถประกอบไดห้ ลังสาเรจ็ การศึกษา 8.1 ครูผสู้ อนในสถำนศึกษำระดบั ปฐมวยั ระดับกำรศึกษำขนั้ พืน้ ฐำน และระดบั อำชวี ศึกษำ 9. ช่ือ เลขประจาตัวประชาชนตาแหนง่ และคณุ วฒุ ิการศกึ ษาของอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสตู ร ลาดับ ช่ือ – นามสกลุ ตาแหน่ง คณุ วฒุ ิ- สาขาวชิ า ปีที่ สาเร็จจาก วชิ าการ จบ 1 นำงรสรนิ อำจำรย์ ค.ด. (หลกั สตู รและกำรสอน) 2555 จฬุ ำลงกรณม์ หำวทิ ยำลยั เจิมไธสง* ศษ.ม. (หลกั สตู รและกำรนเิ ทศ) 2541 มหำวิทยำลยั ศิลปำกร ศษ.บ. (กำรประถมศึกษำ) 2537 มหำวิทยำลยั ขอนแก่น (เกยี รตินยิ ม อันดบั 2) 2 นำงสำวประนอม ผ้ชู ่วย ค.ด. (กำรวดั และประเมนิ ผล 2555 จฬุ ำลงกรณม์ หำวิทยำลัย พันธไ์ สว ศำสตรำจำรย์ กำรศึกษำ) กศ.ม. (กำรวัดผลกำรศกึ ษำ) 2530 มหำวทิ ยำลยั ศรีนครินทร วโิ รฒประสำนมติ ร กศ.บ. (คณติ ศำสตร)์ 2528 มหำวทิ ยำลยั ศรีนครินทร วโิ รฒประสำนมติ ร 3 นำยสุรตั น์ อำจำรย์ ปร.ด. (กำรวิจยั และพัฒนำทำง 2559 มหำวิทยำลยั รำชภฏั ขวญั บุญจันทร์ กำรศึกษำ) พิบลู สงครำม กศ.ม. (กำรวัดผลกำรศกึ ษำ) 2531 มหำวทิ ยำลยั ศรนี ครนิ ทร วโิ รฒ ประสำนมติ ร ศษ.บ. (บรหิ ำรกำรศึกษำ) 2527 มหำวิทยำลยั สุโขทัย ธรรมำธริ ำช

3 ลาดับ ช่ือ – นามสกลุ ตาแหน่ง คุณวฒุ ิ- สาขาวชิ า ปที ่ี สาเร็จจาก 4 นำยมหำชำติ วชิ าการ จบ อนิ ทโชติ อำจำรย์ ศษ.ด. (เทคโนโลยีกำรศกึ ษำ) ศษ.ม. (เทคโนโลยีกำรศึกษำ) 2557 มหำวทิ ยำลยั เกษตรศำสตร์ 5 นำงสำวลนิ ัฐฎำ อำจำรย์ ศษ.บ. (เทคโนโลยีและสอ่ื สำร กญุ ชรนิ ทร์ 2546 มหำวิทยำลยั เกษตรศำสตร์ กำรศึกษำ) Ph.D. (Guidance and 2544 สถำบนั เทคโนโลยรี ำช Counseling) มงคล M.A. (Guidance and 2559 University Science of Counseling) วท.บ. (เทคโนโลยีกำรผลติ พชื ) Malaysia (USM) 2554 University Science of Malaysia (USM) 2546 มหำวทิ ยำลยั วลัยลกั ษณ์ หมำยเหตุ * ประธำนหลักสูตร 10. สถานทีจ่ ัดการเรียนการสอน คณะครศุ ำสตร์อุตสำหกรรม มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธญั บรุ ี 11. สถานการณภ์ ายนอกหรือการพฒั นาทีจ่ าเป็นตอ้ งนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสตู ร 11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจของโลกในปัจจุบันได้มีกำรปรับเปล่ียนจำกเศรษฐกิจที่เน้นกำรผลิตด้ำนอุตสำหกรรม มำเป็นเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยควำมรู้ (Knowledge-based Economy) และขณะน้ีประเทศไทยกำลัง พัฒนำเศรษฐกิจของประเทศไปสู่เศรษฐกิจยุค 4.0 เป็นเศรษฐกิจใหม่ (New Engines of Growth) ที่มีรำยได้สูง มีกำรปรับเปล่ียนโครงสร้ำงเศรษฐกิจ ไปสู่ “Value–Based Economy” หรือ “เศรษฐกิจท่ี ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” โดยมีฐำนคิดหลัก คือ เปลี่ยนจำกกำรผลิตสินค้ำ “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้ำ เชิง “นวัตกรรม” โดยเปลี่ยนจำกกำรขับเคล่ือนประเทศด้วยภำคอุตสำหกรรม ไปสู่กำรขับเคล่ือนด้วย เทคโนโลยี ควำมคิดสร้ำงสรรค์ และนวัตกรรม และเปลี่ยนจำกกำรเน้นภำคกำรผลิตสินค้ำ ไปสู่กำรเน้น ภำคบริกำรมำกขึ้นเพ่ือให้เกิดควำม “มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” และสำมำรถรับมือกับโอกำสและภัยคุกคำม ในรูปแบบใหม่ ๆ กำรแข่งขันที่มีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงเร็ว รุนแรงในศตวรรษท่ี 21 ทั้งน้ีเพ่ือให้บุคลำกร ของประเทศมีควำมรู้เท่ำทันกับกำรเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึน มีควำมสมดุลและเกิดควำมย่ังยืน ในกำรพัฒนำ ดังกล่ำว จำเป็นต้องพัฒนำไปท่ีตัวบุคคลให้เป็นคนท่ีมีคุณภำพ และมีศักยภำพในกำรใช้ควำมรู้ กำรศึกษำ นับเป็นเป็นกลไกท่ีสำคัญที่จะขับเคล่ือนกำรพัฒนำประเทศได้ ดังน้ันกำรศึกษำจึงจำเป็นต้องเตรียม ควำมพร้อมให้ผู้เรียนมีควำมรู้ ทักษะ สมรรถนะ ควำมเชี่ยวชำญ และมีคุณลักษณะท่ีเท่ำทั นต่อ กำรเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน เพ่ือให้ผู้เรียนสำมำรถดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่ำงมีควำมสุข อีกท้ัง

4 มีขีดควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั ในยคุ ศตวรรษท่ี 21 ด้วยเหตุผลดังกล่ำวหลักสูตรประกำศนียบัตรบัณฑิตวิชำชีพครู ในฐำนะหน่วยงำนท่ีทำหน้ำท่ี ผลิตบุคลกรผู้สอนเพือ่ ออกไปถำ่ ยทอดควำมรู้ ทักษะ และพัฒนำผู้เรยี นเพื่อให้เปน็ กำลงั สำคัญของชำติต่อไป จึงมีส่วนสำคัญอย่ำงย่ิงท่ีจะพัฒนำมำตรฐำนวิชำชีพครูให้มีควำมเข้มแข็ง โดยผลิตบัณฑิตที่มีควำมรอบรู้ใน ด้ำนวิชำชีพครู มีทักษะ สมรรถนะ และควำมเชี่ยวชำญด้ำนเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้ำนกำรจัดกำรเรียน กำรสอน สำมำรถจัดกำรเรียนกำรสอนให้เกิดกำรบูรณำกำรและมุ่งเน้นกำรลงมือปฏิบัติ (Hand on) พร้อม ทั้งกำรส่ งเสริมควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้ของผู้ เรียนให้ รู้เท่ำทันควำมเปลี่ ยนแปลงของเศรษฐกิจโล ก และมีคุณลักษณะทต่ี รงตอ่ ควำมต้องกำรของสังคมและประเทศตอ่ ไป 11.2 สถานการณห์ รือการพฒั นาทางสงั คมและวัฒนธรรม จำกควำมเจริญก้ำวหน้ำทำงวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยีและกำรสื่อสำรอย่ำงรวดเร็วในปัจจุบัน ส่งผลให้สภำพทำงสังคมและวัฒนธรรมเปล่ียนแปลงไปจำกเดิมมำก ทั้งวิถีชีวิตควำมเป็นอยู่ กำรใช้ภำษำ คำ่ นิยม และขนบธรรมเนียมประเพณี กำรเรียนรู้ผ่ำนอินเทอร์เน็ตทำไดอ้ ย่ำงรวดเร็ว ทำให้เกิดกำรเช่ือมโยง ควำมรู้ กำรเลียนแบบ และเกิดเป็นสังคมและวัฒนธรรมในรูปแบบใหม่ที่อำศัยเทคโนโลยีและส่ือดิจิตอล เป็นตัวขับเคล่ือน สังคมและวัฒนธรรมที่มีควำมเป็นปัจเจกบุคคลมำกข้ึนก่อให้เกิดกำรเรียนรู้แบบก้ำว กระโดด และเกิดควำมหลำกหลำย สิ่งต่ำงๆเหล่ำนี้กำลังส่งผลให้สังคมและวัฒนธรรมของไทยและ อีกหลำยประเทศในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปอย่ำงรวดเร็ว จำกอดีตกำรศึกษำเรียนรู้ต้องอำศัยกำรถ่ำยทอด จำกครูผู้สอนและตำรำเรียนเป็นหลัก แต่ในปัจจุบันผู้เรียนสำมำรถศึกษำเรียนรู้ได้ด้วยตนเองจำกส่ือต่ำงๆ ทม่ี ีอยมู่ ำกมำย ทำให้เกดิ กำรกำรเรียนรแู้ บบใหม่ ประกอบด้วยมีกำรติดต่อสือ่ สำรกบั โลกภำยนอกได้มำกข้ึน จึงทำให้เกิดกำรพัฒนำในทำงด้ำนกำรศึกษำเป็นอย่ำงมำกและกว้ำงยิ่งข้ึน ซึ่งปัจจัยสำคัญประกำรหน่ึง ที่จะช่วยขับเคลอ่ื นและพฒั นำกำรศึกษำให้มีคณุ ภำพ น่ันคอื ครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำที่มีคุณภำพ พระรำชบัญญัติสภำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ พ.ศ.2546 จึงได้กำหนดให้วิชำชีพครู เป็นวิชำชีพควบคุม โดยมีคุรุสภำเป็นผู้กำหนดมำตรฐำนวิชำชีพ นโยบำยและแผนพัฒนำวิชำชีพ ดังน้ัน ผู้ท่ีต้องกำรประกอบวิชำชีพครูในสถำนศึกษำระดับกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำนทั้งของภำครัฐและเอกชน จะต้อง เป็นผู้สำเร็จกำรศึกษำระดับปริญญำตรีทำงกำรศึกษำ และผ่ำนกำรปฏิบัติกำรสอนในสถำนศึกษำเป็นเวลำ ไม่น้อยกว่ำ 1 ปี สำหรับผู้สำเร็จกำรศึกษำระดับปริญญำตรีในสำขำอ่ืนๆ นอกเหนือจำกสำขำกำรศึกษำที่ ประสงค์จะเป็นครูสำมำรถเข้ำสู่วิชำชีพครูได้ โดยกำรสอบหรือศึกษำต่อทำงกำรศึกษำ ดังน้ันหลักสูตร ประกำศนียบัตรบัณฑิตวิชำชีพครู คณะครุศำสตร์อุตสำหกรรมจึงเป็นแนวทำงหน่ึงในกำรพัฒนำคุณภำพ ของครูท่ีจะสนองควำมต้องกำรของสังคมในภำพรวม ซึ่งสอดคล้องกับพระรำชบัญญัติมหำวิทยำลัย เทคโนโลยีรำชมงคล พ.ศ. 2548 มำตรำ 7 ที่กล่ำวถึง กำรผลิตบัณฑิตด้ำนวิชำชีพและเทคโนโลยี ส่งเสริมวิชำกำรและวิชำชีพช้ันสูงที่เน้นกำรปฏิบัติ ทำกำรสอน ทำกำรวิจัย ผลิตครูวิชำชีพ รวมท้ัง

5 กำรปลกู ฝังค่ำนยิ มทีด่ ใี ห้กบั บณั ฑติ ทกุ ด้ำนตำมมำตรฐำนคุณวุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษำ 12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเก่ียวข้องกับพันธกิจของ มหาวทิ ยาลยั 12.1 การพัฒนาหลกั สูตร หลักสูตรประกำศนียบัตรบัณฑิตวิชำชีพครู เป็นหลักสูตรที่พัฒนำข้ึนเพ่ือตอบสนองควำม ต้องกำรของหน่วยงำนสถำนศึกษำทั้งภำครัฐและเอกชนท่ีต้องกำรบุคลำกร ทำงกำรศึกษำที่มีคุณภำพ ทั้งนี้สืบเน่ืองจำกแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ตลอดจน ข้อกำหนดของพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ แก้ไขเพ่ิมเติมฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2553 ท่เี นน้ พัฒนำระบบกำร จัด ก ำรศึ ก ษ ำเพ่ื อ ย ก ระ ดั บ คุ ณ ภ ำพ ก ำรศึ ก ษ ำใน ส ถ ำ บั น อุ ด ม ศึ ก ษ ำทุ ก แ ห่ งให้ มี คุ ณ ภ ำพ และมำตรฐำนท่ีสำมำรถเทียบเคียงกันได้ รวมถึงคุรุสภำได้กำหนดมำตรฐำนวิชำชีพครูสำหรับให้ มหำวิทยำลัยนำไปใช้เป็นแนวทำงในกำรพัฒนำหลักสูตรเพื่อผลิตครูที่มีคุณภำพ สอดคล้องกับปรัชญำ ของหลักสูตรประกำศนยี บัตรบณั ฑติ วชิ ำชพี ครู ท่ีม่งุ ผลิตบัณฑติ ใหเ้ ป็นครมู อื อำชีพทม่ี คี วำมรูอ้ ยำ่ งกวำ้ งขวำง ลกึ ซึง้ มที กั ษะวิชำชพี ครู สำมำรถคิดวิเครำะห์ สร้ำงสรรค์ แก้ปัญหำ มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยำบรรณ วชิ ำชพี ครู ซ่งึ จะเป็นส่วนหนึ่งทจ่ี ะช่วยพฒั นำวิชำชีพครูให้คุณภำพ ท้งั นี้ทำงหลักสูตรประกำศนียบตั รบัณฑิต วิชำชีพครู คณะครุศำสตร์อุตสำหกรรมได้มุ่งเน้นกำรผลิตครูที่มีคุณภำพมีควำมรอบรู้ในด้ำนวิชำชีพครู มีทักษะ สมรรถนะ ควำมสำมำรถและควำมเชี่ยวชำญด้ำนเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้ำนกำรจัดกำรเรียน กำรสอน ให้สำมำรถจัดกำรเรียนกำรสอนที่เกิดกำรบูรณำกำรและมุ่งเน้นกำรลงมือปฏิบัติ (Hands on) พร้อมท้ังกำรส่งเสริมควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้ของผู้เรียนให้รู้เท่ำทันควำมเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก และมคี ณุ ลักษณะทตี่ รงตอ่ ควำมต้องกำรของสังคมและประเทศต่อไป 12.2 ความเก่ียวข้องกับพันธกจิ ของมหาวิทยาลัย คณะครุศำสตร์อุตสำหกรรม มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี ได้ปรับปรุงหลักสูตร ประกำศนียบัตรบัณฑิต สำขำวิชำชีพครู โดยมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้เป็นครูมืออำชีพท่ีมีควำมรู้ อย่ำงกว้ำงขวำง ลึกซ้ึง มีทักษะ สมรรถนะตรงตำมมำตรฐำนวิชำชีพครู สำมำรถคิดวิเครำะห์ สร้ำงสรรค์ และแก้ปัญหำ จัดกำรเรียนกำรสอนท่ีเกิดกำรบูรณำกำร และมุ่งเน้นกำรลงมือปฏิบัติ (Hands on) มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยำบรรณวิชำชีพครูตำมที่คุรุสภำกำหนด รวมถึงกำรให้บริกำรทำงวิชำกำร ท่เี ก่ียวข้องกบั วิชำชีพครูแก่สังคม โดยเน้นพัฒนำครูวชิ ำชีพ ได้แก่ ดำ้ นอุตสำหกรรมศำสตร์ คหกรรมศำสตร์ ศิลปกรรมศำสตร์ เกษตรศำสตร์ ทั้งในระดับอำชีวศึกษำและกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน ซ่ึงสอดคล้องกับนโยบำย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของมหำวิทยำลัยฯ ท่ีมุ่งสู่ควำมเป็นเลิศในด้ำนวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี และกำรวิจัย รวมทง้ั กำรผลติ บณั ฑิตนักปฏบิ ตั ิทมี่ ีคุณภำพ

6 13. ความสมั พันธ์กบั หลักสูตรอ่ืนทเี่ ปิดสอนในคณะ/สาขาวชิ าอืน่ ของมหาวิทยาลยั 13.1 กลุ่มวิชา/รายวชิ าในหลักสูตรทีเ่ ปิดสอนโดยคณะ/สาขาวชิ า/หลกั สตู รอ่ืน ไม่มี 13.2 กลุ่มวชิ า/ รายวชิ าในหลกั สูตรที่เปิดสอนใหภ้ าควิชา/หลักสตู รอื่นต้องมาเรียน ไม่มี 13.3 การบริหารจดั การ ไมม่ ี

7 หมวดที่ 2 ข้อมลู เฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสาคญั และวัตถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร 1.1 ปรัชญา หลักสูตรประกำศนียบัตรบัณฑิตวิชำชีพครู เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นครูมืออำชีพท่ีมี ควำมรู้อย่ำงกว้ำงขวำง ลึกซ้ึง มีทักษะวิชำชีพครู สำมำรถคิดวิเครำะห์ สร้ำงสรรค์ แก้ปัญหำ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยำบรรณวิชำชพี ครู 1.2 วัตถุประสงค์ เพือ่ ผลิตบัณฑติ ในระดบั ประกำศนยี บัตรบัณฑิตวชิ ำชีพครู ทม่ี ีคุณลกั ษณะดังนี้ 1.2.1 มีควำมรู้ในวิชำชีพครูอย่ำงกว้ำงขวำง ลึกซ้ึง สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ปฏิบัติงำน วิชำชพี ครูได้อยำ่ งมีประสทิ ธิภำพและประสิทธผิ ล 1.2.2 มีทักษะวิชำชีพครู โดยสำมำรถจัดกำรเรียนรู้ในรูปแบบที่หลำกหลำย และประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสำรสนเทศในกำรจัดกำรเรยี นรู้ 1.2.3 มีควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์ สร้ำงสรรค์ แสวงหำแนวทำงในกำรแก้ปัญหำ รวมท้ัง พฒั นำวชิ ำชพี ครูและติดตำมควำมกำ้ วหน้ำของศำสตร์ทำงกำรศึกษำและศำสตร์ทีเ่ กย่ี วข้อง 1.2.4 มคี ุณธรรม จริยธรรม จรรยำบรรณวชิ ำชีพครู 2. แผนพัฒนาปรับปรุง หลักสูตรประกำศนยี บตั รบัณฑิตวิชำชีพครู มีแผนกำรพัฒนำปรับปรงุ ดังนี้ แผนการพฒั นา/เปลย่ี นแปลง กลยุทธ์ หลกั ฐาน/ตัวบง่ ชี้ - พัฒนำหลักสตู รประกำศนยี บัตร - พั ฒ น ำ ห ลั ก สู ต ร ค รู ให้ มี - เอกสำรหลักสตู รฉบับหลักสูตร บัณฑิตวชิ ำชีพครูให้มีมำตรฐำน มำตรฐำนตำมเกณฑ์มำตรฐำน ไม่ต่ำกว่ำเกณฑม์ ำตรฐำน หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษำ หลกั สูตรระดับบณั ฑติ ศึกษำ พ.ศ. 2558 และสอดคล้องกับ พ.ศ. 2558 และสอดคล้องกับ มำตรฐำนควำมรู้วิชำชีพครู มำตรฐำนควำมรวู้ ิชำชพี ครู ฐำนสมรรถนะของครุ ุสภำ ฐำนสมรรถนะ ของคุรุสภำ - ประชุม/สมั มนำผ้รู บั ผิดชอบ - รำยงำนกำรประชุม/สมั มนำ หลักสตู ร และอำจำรยป์ ระจำ หลกั สูตร

8 แผนการพัฒนา/เปล่ยี นแปลง กลยทุ ธ์ หลักฐาน/ตัวบ่งชี้ - ปรบั ปรงุ หลักสตู รให้สอดคลอ้ ง - พฒั นำหลกั สูตรโดยให้ - เอกสำรหลักสูตรฉบบั ปรับปรุง กับกำรพัฒนำ เศรษฐกจิ สงั คม สอดคล้องกับกำรพัฒนำ และวฒั นธรรม เศรษฐกจิ สังคม และวฒั นธรรม - พฒั นำผู้เรยี น - เชญิ ผู้เช่ยี วชำญหรอื ผทู้ รง - ผลกำรประเมนิ กำรสอนของ คณุ วฒุ ิจำกภำยนอกมำให้ ผเู้ ช่ียวชำญหรอื ผูท้ รงคณุ วุฒิ ควำมรู้ ในดำ้ นวิชำชพี ครู - พัฒนำศักยภำพของอำจำรย์ - สง่ เสรมิ และเปิดโอกำสให้ - จำนวนเอกสำรแสดงกำรเข้ำ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ ำพ อำจำรย์เขำ้ รว่ มประชุมและ รว่ มประชุมและสมั มนำทำง สมั มนำทำงวิชำกำร วิชำกำร - สง่ เสริมให้อำจำรย์นำควำมรู้ - จำนวนงำนท่ีใหบ้ รกิ ำรทำง ด้ำนวชิ ำชพี ครใู ห้ บริกำรทำง วชิ ำกำรแก่สังคมของอำจำรย์ วิชำกำรแก่สงั คม - กำรประเมินหลกั สตู ร - สง่ เสริมกำรทำวจิ ัยของอำจำรย์ - เอกสำรแสดงกำรเข้ำร่วม เพอ่ื สร้ำงควำมรู้และนวตั กรรม ประชุมและสัมมนำทำงวชิ ำกำร ใหม่ ควำมสำมำรถในกำรดแู ล - ผลงำนวิจัยที่เผยแพรห่ รือได้รบั นกั ศกึ ษำ ควำมพึงพอใจของ กำรตีพิมพใ์ นวำรสำรวชิ ำกำร ผู้ใช้บัณฑติ และนกั ศึกษำ จำนวนนกั ศึกษำทสี่ ำเรจ็ กำรศึกษำ ผลกำรสำรวจควำม คดิ เห็นของผใู้ ช้บณั ฑิตและ นักศึกษำ

9 หมวดท่ี 3 ระบบการจดั การศึกษา การดาเนนิ การ และโครงสรา้ งหลกั สตู ร 1. ระบบการจดั การศึกษา 1.1 ระบบ กำรจัดกำรศึกษำเป็นระบบทวิภำค ในปีกำรศึกษำหน่ึงจะแบ่งออกเป็นสองภำคกำรศึกษำซึ่งเป็น ภำคกำรศึกษำบังคับ มีระยะเวลำศึกษำไม่น้อยกว่ำสิบห้ำสัปดำห์ต่อหน่ึงภำคกำรศึกษำ ท้ังน้ีไม่รวมเวลำ สำหรับกำรสอบดว้ ย และข้อกำหนดต่ำงๆ เป็นไปตำมขอ้ บังคับมหำวทิ ยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี ว่ำด้วย กำรศึกษำระดับบัณฑิตศึกษำ พ.ศ. 2559 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยใช้กำรศึกษำแบบทวิภำคต่อปีกำรศึกษำ (ภำคผนวก ค) 1.2 การจัดการศกึ ษาภาคฤดรู อ้ น ไม่มี 1.3 การเทยี บเคยี งหน่วยกิตในระบบทวภิ าค ไมม่ ี 2. การดาเนนิ การหลักสตู ร 2.1 วัน-เวลาในดาเนินการเรยี นการสอน ภำคกำรศึกษำที่ 1 เดือนมิถนุ ำยน – กันยำยน ภำคกำรศึกษำท่ี 2 เดือนพฤศจิกำยน – กมุ ภำพนั ธ์ 2.2 คณุ สมบตั ิของผู้เขา้ ศึกษา 2.2.1 สำเร็จกำรศึกษำระดับปริญญำตรีหรือเทียบเท่ำทุกสำขำจำกสถำบันกำรศึกษำที่ ก.พ. และ สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรอดุ มศึกษำให้กำรรบั รอง 2.2.2 มีคุณสมบัติอ่ืนๆ ตำมข้อบังคับมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี ว่ำด้วยกำรศึกษำ ระดับบัณฑิตศึกษำ พ.ศ. 2559 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม หรือตำมประกำศมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคล ธัญบุรที ีจ่ ะประกำศใหท้ รำบเปน็ ปีๆ ไป 2.2.3 มคี ณุ สมบัติครบถ้วนตำมเง่อื นไขท่ีคุรุสภำจะประกำศใหท้ รำบเปน็ ปๆี ไป 2.3 ปัญหาของนกั ศกึ ษาแรกเขา้ 2.3.1 กำรบริหำรเวลำและกำรปรบั ตัวในด้ำนกำรเรียน 2.4 กลยทุ ธใ์ นการดาเนินการเพอ่ื แก้ไขปัญหา/ข้อจากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3 2.4.1 จัดปฐมนเิ ทศนักศึกษำใหม่ เพ่ือแนะนำหลกั สตู รและกำรวำงแผนกำรเรียน 2.4.2 แตง่ ตั้งอำจำรยท์ ี่ปรกึ ษำใหแ้ ก่นักศึกษำทุกคน ใหท้ ำหน้ำทีใ่ ห้คำแนะนำปรึกษำแก่นักศึกษำ อย่ำงสมำ่ เสมอและต่อเน่ือง รวมถึงกำรติดตำมผลกำรเรยี นตลอดระยะเวลำของกำรศกึ ษำ

10 2.5 แผนการรบั นกั ศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี จานวนนักศกึ ษา จานวนนักศึกษาแตล่ ะปีการศกึ ษา 2566 2562 2563 2564 2565 180 180 ชั้นปีท่ี 1 180 180 180 180 360 180 ชน้ั ปีที่ 2 - 180 180 180 2566 รวม 180 360 360 360 900,000 6,120,000 คาดว่าจะสาเร็จการศกึ ษา - 180 180 180 7,020,000 2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรบั (หนว่ ย:บาท) รายละเอียดรายรับ ปีงบประมาณ 2562 2563 2564 2565 คำ่ บำรงุ กำรศึกษำ 450,000 900,000 900,000 900,000 คำ่ ลงทะเบียน 2,790,000 6,120,000 6,120,000 6,120,000 เงนิ อุดหนุนจำกรัฐบำล รวมรายรบั 3,240,000 7,020,000 7,020,000 7,020,000 2.6.2 งบประมาณรายจา่ ย (หน่วย:บาท) หมวดเงิน ปีงบประมาณ 2562 2563 2564 2565 2566 ก. งบดำเนนิ กำร 1. คำ่ ใช้จ่ำยบุคลำกร 159,600 167,580 175,960 184,760 194,000 2. คำ่ ใชจ้ ำ่ ยดำเนนิ งำน (ไมร่ วม 3) 1,114,200 1,510,200 1,625,220 1,751,750 1,890,900 3. ทุนกำรศกึ ษำ ----- 4. รำยจำ่ ยระดับมหำวทิ ยำลยั 187,920 407,160 407,160 407,160 407,160 (รวม ก) 1,461,720 2,084,940 2,208,340 2,343,670 2,492,060 ข. งบลงทนุ ----- คำ่ ครุภัณฑ์ 270,000 315,000 360,000 405,000 450,000 (รวม ข) 270,000 315,000 360,000 405,000 450,000 รวม (ก) + (ข) 1,731,720 2,399,940 2,568,340 2,748,670 2,942,060 จำนวนนกั ศึกษำ 180 คน 360 คน 360 คน 360 คน 360 คน ค่าใช้จ่ายต่อหัวนกั ศกึ ษา 9,920.67 6,666.50 7,134.28 7,635.19 8,172.39 *หมำยเหตุ จำนวนนักศกึ ษำหลักสูตรปรบั ปรงุ คำ่ ใช้จ่ำยตอ่ หัวนักศกึ ษำเฉลีย่ = 7,905.81 บำทต่อปี

11 2.7 ระบบการศกึ ษา ระบบกำรศึกษำเป็นแบบชั้นเรียน และเปน็ ไปตำมข้อบังคับมหำวิทยำลัยเทคโนโลยรี ำชมงคลธัญบุรี ว่ำด้วยกำรศึกษำระดบั บณั ฑิตศกึ ษำ พ.ศ. 2559 และท่แี ก้ไขเพิ่มเติม (ภำคผนวก ค) 2.8 การเทียบโอนหนว่ ยกติ รายวชิ า และการลงทะเบียนเรยี นข้ามสถาบนั อดุ มศึกษา ไมม่ ี 3. หลกั สูตรและอาจารยผ์ สู้ อน 35 หนว่ ยกิต 3.1 หลักสูตร 29 หน่วยกติ 3.1.1 จานวนหน่วยกติ รวมตลอดหลกั สตู ร 35 หน่วยกติ 6 หน่วยกิต 3.1.2 โครงสร้างหลักสตู ร 1. หมวดวิชาบังคับ 1) วชิ ำบงั คับ 2) วิชำปฏบิ ตั กิ ำรสอน

12 3.1.3 รายวชิ า ความหมายของตัวเลขรหัสรายวชิ า กำรกำหนดรหัสรำยวชิ ำในหลักสูตร ประกอบด้วยตวั เลขท้ังหมด 8 ตวั ซ่งึ จำแนกตำมแผนภูมติ อ่ ไปน้ี คณะ ภำควชิ ำ/สำขำวิชำ สำขำวิชำ(ตำมชอื่ ทร่ี ะบุในหลักสตู ร) แขนงวิชำ/กลมุ่ วชิ ำ ปีที่ควรศกึ ษำ ลำดับวชิ ำในหมวดวชิ ำ/กลมุ่ วชิ ำ X X–X X X –X X X 12 3 4 5 6 7 8 1. ตำแหนง่ ที่ 1-2 หมำยถงึ คณะ ภำควชิ ำ/สำขำวิชำ 2. ตำแหนง่ ท่ี 3 หมำยถงึ สำขำวชิ ำ (ตำมชื่อที่ระบใุ นหลักสตู ร) แขนงวชิ ำ/กล่มุ วชิ ำ 3. ตำแหนง่ ท่ี 4 หมำยถงึ ปที ่คี วรศกึ ษำ ลำดบั วชิ ำในหมวดวิชำ/กลุม่ วิชำ 4. ตำแหน่งที่ 5 หมำยถึง 5. ตำแหนง่ ท่ี 6 หมำยถึง 6. ตำแหนง่ ท่ี 7-8 หมำยถึง ความหมายของรหสั การจัดชั่วโมงเรียน หน่วยกติ ช่วั โมงเรียนทฤษฎี ชว่ั โมงเรยี นปฏบิ ัติ ช่ัวโมงกำรศกึ ษำนอกเวลำ X (X- X- X)

13 1. หมวดวิชาบังคับ 35 หน่วยกติ 3(2-2-5) 1.1 วิชาบงั คับ 29 หน่วยกติ โดยศึกษาจากรายวิชาตอ่ ไปนี้ 2(1-2-3) 02-111-602 จิตวทิ ยำกำรศึกษำและกำรแนะแนวสำหรบั ครู 2(1-2-3) Educational Psychology and Guidance for Teachers 3(2-2-5) 02-121-609 หลกั และทฤษฎกี ำรจดั กำรศกึ ษำ 3(2-2-5) Principles and Theories of Educational Management 3(2-2-5) 02-121-610 กำรประกนั คุณภำพกำรศกึ ษำ 3(2-2-5) Educational Quality Assurance 02-131-604 กำรวัดผลประเมนิ ผลกำรเรียนรู้ 1(0-6-3) Learning Measurement and Evaluation 1(0-3-1) 02-132-605 วจิ ัยกำรศกึ ษำเพื่อพัฒนำกำรเรยี นรู้ 3(2-2-5) Educational Research for Learning Development 2(1-2-3) 02-141-608 นวัตกรรมกำรพฒั นำหลักสตู ร 3(2-2-5) Innovations for Curriculum Development 02-142-601 นวตั กรรมกำรจัดกำรเรียนรู้และกำรจัดกำรช้นั เรียน Innovations for Learning Management and Classroom Management 02-142-602 กำรฝกึ ปฏิบัตวิ ชิ ำชีพระหวำ่ งเรียน Practicum 02-142-605 กำรบรู ณำกำรเพ่ือพัฒนำนวัตกรรมกำรจัดกำรเรยี นรู้ Integration for Learning Management Innovation 02-143-604 จติ วิญญำณควำมเป็นครมู ืออำชีพ Conscious Mind of Professional Teachers 02-143-605 กำรใช้ภำษำและวฒั นธรรมสำหรับครู Uses of Languages and Culture for Teachers 02-311-602 สือ่ และเทคโนโลยีเพอื่ กำรเรยี นรู้ Media and Technology for Learning ,

14 วชิ าปฏิบตั ิการสอน 6 หนว่ ยกติ โดยศึกษาจากรายวิชาต่อไปน้ี 3(0-17-3) 3(0-17-3) 5.5 02-142-603 กำรปฏิบัติกำรสอน 1 Professional Teaching Experience 1 02-142-604 กำรปฏบิ ัติกำรสอน 2 Professional Teaching Experience 2 3.1.4 แผนการศกึ ษา หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏิบัติ ศกึ ษาด้วยตนเอง ปที ี่ 1 /ภาคการศึกษาท่ี 1 32 25 02-111-602 จติ วิทยำกำรศึกษำและกำรแนะแนว 21 23 สำหรับครู 32 25 32 25 02-121-609 หลกั และทฤษฎกี ำรจัดกำรศึกษำ 10 63 02-131-604 กำรวดั ผลประเมินผลกำรเรยี นรู้ 12 7 14 21 02-141-608 นวตั กรรมกำรพัฒนำหลักสูตร 02-142-602 กำรฝกึ ปฏิบัติวิชำชพี ระหวำ่ งเรียน รวม ปที ี่ 1 /ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง 02-121-610 กำรประกันคณุ ภำพกำรศึกษำ 21 23 02-132-605 วจิ ยั กำรศกึ ษำเพ่ือพฒั นำกำรเรยี นรู้ 32 25 02-142-601 นวัตกรรมกำรจดั กำรเรียนร้แู ละกำร 32 25 จัดกำรชัน้ เรยี น 322 5 02-311-602 ส่อื และเทคโนโลยีเพ่อื กำรเรียนรู้ 3 0 17 3 02-142-603 กำรปฏิบัตกิ ำรสอน 1 14 7 25 21 รวม ปที ่ี 2 /ภาคการศกึ ษาที่ 1 , ปฏบิ ตั ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง 02-143-605 กำรใช้ภำษำและวัฒนธรรมสำหรบั ครู 23 02-143-604 จิตวิญญำณควำมเปน็ ครูมืออำชีพ หนว่ ยกติ ทฤษฎี 25 02-142-605 กำรบรู ณำกำรเพ่ือพฒั นำนวัตกรรม 21 31 32 กำรจัดกำรเรยี นรู้ 10 17 3 02-142-604 กำรปฏิบตั ิกำรสอน 2 24 12 30 รวม 93

15 3.1.5 คาอธบิ ายรายวิชา 02-111-602 จิตวิทยาการศกึ ษาและการแนะแนวสาหรบั ครู 3(2-2-5) Educational Psychology and Guidance for Teachers แนวคิด ทฤษฎีและหลักกำรเก่ียวกับจิตวิทยำพ้ืนฐำน จิตวิทยำพัฒนำกำรของผู้เรียน ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษำ จิตวิทยำกำรศึกษำ ควำมแตกต่ำงระหว่ำง บุคคล กำรจูงใจผู้เรียน กำรผลิตนวัตกรรมทำงกำรศึกษำเพื่อใช้ในกำรเรียนกำรสอนใน ทุกระดับ บุคลิกภำพ อำรมณ์ สุขภำพจิตและกำรปรับตัว เชำวน์ปัญญำ และควำมถนัด ตำมธรรมชำติ จิตวิทยำกำรเรียนรู้ กำรปรับพฤติกรรมในชน้ั เรียน จิตวิทยำกำรแนะแนว กำรจัดบริกำรแนะแนว กำรฝึกทักษะกำรให้คำปรึกษำในสถำนศึกษำ รวมทั้งกำรนำ ควำมรู้ทำงจิตวิทยำไปปรับใช้เพ่ือควำมเข้ำใจผูเ้ รียนและสนับสนุนให้ผเู้ รียน เรียนรู้อย่ำง เตม็ ศักยภำพ ตลอดจนใหก้ ำรช่วยเหลือผเู้ รยี นใหม้ คี ุณภำพชีวิตทด่ี ขี ึ้น Concepts, theories and principles basic of psychology, developmental psychology of the learners staring from preschool to university, educational psychology, individual differences, learners motivation, production of educational innovations using in all levels of learning and teaching, personality emotional personal adaptive, intelligence and aptitude adaptive naturally, psychology of learning, behavior modification in the classes, psychology guidance, guidance services, counseling practices in educational places, applied the psychological knowledge to be best understanding and supporting the learners to learn with full of their potential, helping the learners to have a better quality of life 02-121-609 หลักและทฤษฎกี ารจัดการศกึ ษา 2(1-2-3) Principles and Theories of Educational Management แนวคิด ทฤษฎีทำงกำรศึกษำ ปรัชญำกำรศึกษำ ประวัติกำรศึกษำ กำรจัดกำรศึกษำของ ไทยและต่ำงประเทศ นโยบำย วิสัยทัศน์ แผนพัฒนำกำรศึกษำของไทย แนวคิด กลวิธี กำรจัดกำรศึกษำเพ่ือเสริมสร้ำงกำรพัฒนำท่ีย่ังยืน กำรวิเครำะห์เกี่ยวกับกำรศึกษำเพื่อ เสริมสร้ำงมำตรฐำนที่เป็นสำกลและยั่งยืน และกำรประยุกต์ใช้เพ่ือพัฒนำสถำนศึกษำ กำรบริหำรกำรศึกษำ ควำมเป็นผู้นำ กำรสร้ำงเครือข่ำยควำมร่วมมือกับผู้ปกครองและ ชุมชน เพื่อสนับสนุนกำรเรียนร้ทู ่ีมีคุณภำพของผู้เรียน ศึกษำเข้ำถึงบริบทของชุมชน กำร ปฏิบัติงำนรว่ มกับผอู้ ื่นอย่ำงสร้ำงสรรค์ กำรมีส่วนร่วมในกิจกรรมกำรพัฒนำวิชำชพี และ สำมำรถอยูร่ ่วมกนั บนพ้นื ฐำนควำมแตกต่ำงทำงวฒั นธรรม

16 Concepts, theories of educational, educational philosophy, educational history, educational management of Thailand and foreign countries, policies, visions, educational development plan of Thailand, concepts, educational management strategies for enhancing sustainable development, educational analysis for enhancing the world class and sustainable standard, application to school development. Educational Administration, leadership, build networking collaboration with parents and communities to support the learning of the quality of learners. Study the context of the community, work with others creatively, participation in professional development activities and can live together on the basis of cultural differences 02-121-610 การประกันคณุ ภาพการศึกษา 2(1-2-3) Educational Quality Assurance หลักกำร แนวคิด ทฤษฎี และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับกำรบริหำรจัดกำรคุณภำพกำรศึกษำ ควำมสำคัญของกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ ควำมเป็นมำของกำรประกันคุณภำพ กำรศึกษำ ระบบประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยในและภำยนอกสถำนศึกษำ กำรประกัน คุณภำพสู่มำตรฐำนกำรศึกษำ กำรตรวจสอบและกำรประเมินกำรประกันคุณภำพ กำรนำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำมำใช้ เพ่ือกำรพัฒนำคุณภำพสถำนศึกษำ และ กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ กำรจัดกิจกรรมประเมินคุณภำพกำรจัดกำรเรียนรู้ และ กำรนำผลมำใช้พัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรเรียนรู้ กำรออกแบบ กำรดำเนินกำรเกี่ยวกับ กำรประกันคณุ ภำพกำรศกึ ษำ Principles, concepts, theories, and regulation of administrative management about educational quality; the importance of educational quality assurance, the history of educational quality assurance, the inside and outside educational institute quality assurance system, quality assurance through educational standard, checking and assessing of quality assurance, the result of quality assurance will be implied to develop the quality of educational institute and learning management process; activities for assessing the quality of learning management and apply the result to develop the quality of learning management. Operation and designing on quality assurance in education

17 02-131-604 การวัดผลประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Learning Measurement and Evaluation หลักกำร แนวคิดและแนวปฏิบัติในกำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ กำรออกแบบกำร วัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ สถิติสำหรับกำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ กำร ประยุกต์ใช้เทคนิคและเครื่องมือในกำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้เพื่อพัฒนำผู้เรียน เป็นรำยบุคคล สำมำรถรำยงำนผลกำรพัฒนำคุณภำพผู้เรียนอย่ำงเป็นระบบ ปฏิบัติกำรวัดและประเมินผลผู้เรียน กำรสร้ำงและตรวจสอบคุณภำพเคร่ืองมือวัดและ ประเมนิ ผลกำรเรียนรู้ กำรนำผลกำรวัดและกำรประเมนิ ไปใช้ในกำรพัฒนำผู้เรียน Principles and guidelines on measurement and assessment of learning, measurement and assessment designs of learning, statistics for measurement and assessment of learning, application of techniques and instruments to develop learner individually, report learner’s outcome on quality development systematically, practice on measurement and assessment of learning, construction and examination of instrument for measurement and assessment; implement the instrument to develop learners 02-132-605 วจิ ยั การศึกษาเพื่อพฒั นาการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Educational Research for Learning Development หลักกำร แนวคิดในกำรวิจัย กระบวนกำรวิจัย สถิติเพื่อกำรวิจัย กำรวิจัยในชั้นเรียน และวำงแผนกำรวิจัยเพื่อพัฒนำกำรเรียนรู้ กำรใช้ผลกำรวิจัยในกำรจัดกำรเรียนรู้ ฝึก ปฏิบัติกำรวิจัยเพ่ือแก้ปัญหำและพัฒนำผู้เรียนเป็นรำยบุคคล วิจัยสร้ำงนวัตกรรมและ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์ต่อกำรเรียนรู้ของผู้เรียน รำยงำนผลกำร พัฒนำคุณภำพผู้เรียนได้อย่ำงเป็นระบบ กำรเสนอโครงกำรเพ่ือทำวิจัย และ จรรยำบรรณนกั วจิ ัย Principles and concepts of research, research processes, statistics for research, classroom research, research planning for learning development, implementation of research findings for learning management, research practice for problem– solving and learner’s development individually, research for innovation and application of digital technology to maximize learner’s benefits, report learner’s outcome systematically, research proposal, completion and ethics

18 02-141-608 นวัตกรรมการพฒั นาหลักสตู ร 3(2-2-5) 02-142-601 Innovations for Curriculum Development แนวคิด หลักกำร ทฤษฎีหลักสูตร และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดทำหลักสูตร กำร ออกแบบหลักสตู ร ระบบหลกั สูตร กำรวิเครำะห์หลักสูตร กระบวนกำรสร้ำงและพัฒนำ นวตั กรรมหลักสูตรในสถำนศึกษำ กำรออกแบบและพัฒนำหลกั สูตรดว้ ยวิธีกำรใหม่ๆ ท่ี ส่งเสริมทักษะสำคัญสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 กำรนำหลักสูตรไปใช้ กำรทำหน่วย กำรเรียนรู้และโครงกำรสอน กำรประเมินหลักสูตร ปัญหำและแนวโน้มในกำรพัฒนำ หลักสตู ร Concepts, principles, curriculum theories, theories related to curriculum preparation, curriculum Design, curriculum system, curriculum analysis, curriculum innovation construction and development process for educational institutions, new methods for curriculum design and construction courses to support learners’ skills of the 21st century, curriculum implementation, instructional Learning unit and teaching project, curriculum evaluation, problems and trends in curriculum development นวตั กรรมการจดั การเรียนรูแ้ ละการจดั การชั้นเรียน 3(2-2-5) Innovations for Learning Management and Classroom Management ควำมรู้พื้นฐำนเก่ียวกับหลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนรู้ ทฤษฎีและรูปแบบกำรจัดกำร เรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเครำะห์ คิดสร้ำงสรรค์ และแก้ปัญหำได้ กำรบูรณำสำระ กำรเรียนรู้ กำรบูรณำกำรสอน และกำรบรูณำกำรกำรเรียนรู้แบบเรียนรวม กำรสร้ำง บรรยำกำศและสิ่งแวดล้อมเพ่ือกำรเรยี นรู้ กำรจัดกำรช้นั เรียน กำรพัฒนำศูนย์กำรเรียน ในสถำนศึกษำ วิธีสอน รูปแบบกำรเรียนรู้ เทคนิคกำรสอน ทักษะกำรสอน วิทยำกำร จดั กำรเรียนรู้ และกำรสร้ำงสรรค์นวตั กรรมเพ่ือพัฒนำกำรเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 กำรวำงแผนกำรจัดกำรเรียนรู้และนำไปใช้จัดกำรเรียนรู้ โดยบรูณำกำรวิทยำกำร เรยี นรเู้ พ่อื พฒั นำผเู้ รยี นใหม้ ีปญั ญำ รูค้ ิด และมคี วำมเปน็ นวตั กรให้เกิดผลจรงิ Principles and concepts of curriculum and learning management, theories and models of learning management to motivate learner to think, analyze, create and solve problems, integrate learning content, pedagogy and holistic learning, atmosphere and environment for learning, classroom management, development of learning center on sites, teaching

19 techniques, teaching skills, learning sciences and innovation creation for learner’s development in 21st century, planning for learning management, implementation and bringing into practice of intellectualization, consideration and invention 02-142-602 การฝกึ ปฏบิ ัตวิ ชิ าชพี ระหวา่ งเรียน 1(0-6-3) 02-142-605 Practicum กำรปฏิบัติหน้ำที่ครู กำรสังเกตกำรจัดกำรเรียนรู้ กำรจัดทำแผนกำรเรียนรู้ท่ีผู้เรียนสรำ้ งองค์ ควำมรู้ด้วยตนเอง และเพ่ือจุดประสงค์กำรสอนที่หลำกหลำย กำรออกแบบทดสอบหรือ เคร่ืองมือวัดผล กำรตรวจข้อสอบ กำรให้คะแนน และกำรตัดสินผลกำรเรียน กำรสอบ ภำคปฏิบัติ กำรให้คะแนน และกำรตัดสินผลกำรเรียน กำรทดลองสอนและปฏิบัติกำรสอนใน รำยวิชำท่ีได้รับมอบหมำยในสถำนกำรณ์จริง กำรวิจัยเพ่ือแก้ปัญหำผู้เรียน กำรปฏิบัติงำน อน่ื ๆ และกำรพัฒนำควำมเป็นครมู ืออำชพี Teacher conduct, observations of learning management, learning management planning to enhance the learners’ ability in creating their own knowledge, professional teaching in assigned subjects, designing tests or assessment tools, measurement and evaluation, performance test and scoring, research for solving student problems and performing assigned tasks other than teaching as professional teachers การบรู ณาการเพ่อื พฒั นานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 1(0-3-1) Integration for Learning Management Innovation กำรวำงแผนและกำรจัดกำรเรียนรู้สำขำเฉพำะ โดยกำรบูรณำกำรควำมรู้ในศำสตร์ควำม เป็นครู ควำมรู้ในเนื้อหำวิชำเฉพำะ เทคโนโลยีดิจิทัล กำรบูรณำกำรเนื้อหำเฉพำะกับ วธิ ีสอน ผู้เรียน และบริบท ในกำรออกแบบหน่วยกำรเรียนรู้ และแผนกำรเรยี นรู้ กำรจัด กิจกรรมกำรเรียนรู้ โดยพัฒนำสื่อ นวัตกรรม เทคนิค และกลยุทธ์กำรเรียนรู้ท่ีเหมำะสม กับผู้เรียน กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ เพื่อพัฒนำทักษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 Design and construction of specific learning management by implementing teacher’s sciences, specific context and digital technology, implementing specific context to pedagogy, learner and context, learning unit design, instructional plan and learning activities by development innovation, appropriate technique and strategies for learner, learning assessment and measurement for 21 century learner

20 02-143-604 จิตวญิ ญาณความเป็นครูมอื อาชพี 3(2-2-5) Conscious Mind of Professional Teachers ควำมหมำยของจิตวิญญำณควำมเป็นครูและคุณลักษณะของครูที่มีจิตวิญญำณควำม เปน็ ครู หนำ้ ทแ่ี ละภำรกิจของวชิ ำชพี ครู ลกั ษณะของครูมอื อำชีพ หลกั ธรรมำภิบำลและ จรรยำบรรณวิชำชีพครู คุณลักษณะครูดีท่ีสอดคล้องกับวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรม สำกล กำรมีจิตสำธำรณะ กฎหมำยที่เกี่ยวข้องและมำตรฐำนวิชำชีพครู กำรพัฒนำ ควำมก้ำวหน้ำในวิชำชีพครู กำรใช้จิตวิทยำในกำรพัฒนำปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้เรียน บทบำทครูในกำรพัฒนำผู้เรียนให้มีควำมสำมำรถในกำรพัฒนำตนเองได้ตำมศักยภำพ ปฏิบตั งิ ำนร่วมกับผ้อู ่ืนอยำ่ งสรำ้ งสรรค์ และมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมกำรพัฒนำวิชำชพี Meaning of the conscious mind for teacher, development of teaching profession. Functions and tasks of teachers, characteristics of professional teachers. The principles of good governance and code of ethics of the teaching profession. The characteristics of good teachers according to Thai and international culture and the public consciousness. Laws related to teachers and the teaching profession and the teaching profession standard. The development of teaching professional progression. Using psychology for the teacher and learner good interaction, the role of teacher to development learners’ potential, self-sacrifice, cooperative working and participate in teaching profession activities creatively 02-143-605 การใช้ภาษาและวฒั นธรรมสาหรบั ครู 2(1-2-3) Uses of Languages and Culture for Teachers ควำมหมำย ควำมสำคัญของภำษำและวัฒนธรรม ภำษำกับกำรสืบทอดทำงวัฒนธรรม ภำษำและวัฒนธรรมไทยเพื่อควำมเป็นครู ภำษำอังกฤษเพื่อพัฒนำวิชำชีพครู กำรฝึก ทกั ษะกำรฟงั กำรพูด กำรอำ่ น กำรเขียนภำษำไทย ภำษำอังกฤษ เพือ่ กำรสื่อควำมหมำย อย่ำงถูกต้อง กำรใช้ภำษำและวัฒนธรรมเพ่ือกำรอยู่ร่วมกันอย่ำงสันติสุข และบูรณำกำร ทกั ษะทำงภำษำเข้ำกับศำสตร์อ่ืนเพ่ือเพ่ิมพูน ยกระดับทกั ษะกำรใช้ภำษำเพือ่ กำรสื่อสำร อยำ่ งครูมอื อำชีพ

21 Definitions and importance of languages and culture; languages and cultural inheritance, languages and Thai culture for being a teacher, English for teaching profession development, practice of Thai and English skills, listening, speaking, reading, and writing for appropriate communication, uses of languages and culture for peaceful living in society, integration of language into other science of studies to enhance and elevate communication skills professionally 02-311-602 ส่ือและเทคโนโลยเี พือ่ การเรียนรู้ 3(2-2-5) Media and Technology for Learning หลักกำร แนวคิด ทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับกำรออกแบบส่ือกำรเรียนรู้ ประเภทและ ควำมสำคัญของส่ือกำรเรียนรู้ กำรสร้ำงแรงบันดำลใจในกำรพัฒนำนวัตกรรมสำหรับ กำรจัดกำรเรียนรู้ กำรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีประเภทวัสดุ อุปกรณ์ วิธีกำร และ เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือสนับสนุนกำรจัดกำรเรียนรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อกำรเรียนรู้ของ ผ้เู รยี น ฝกึ ปฏิบตั ิกำรในกำรออกแบบและผลิตสือ่ กำรเรียนรู้ Principles, concepts, theories about learning media design, type and importance of learning media, inspiration creation of developing innovation for learning management, application of material, equipment, method and digital technology to maximize learner’s learning, practice of design and production on learning media 02-142-603 การปฏบิ ัตกิ ารสอน 1 3(0-17-3) Professional Teaching Experience 1 กำรบูรณำกำรควำมรู้มำใช้ในกำรปฏิบัติกำรสอนในสำขำวิชำเฉพำะ กำรจดั ทำโครงกำร สอนและวำงแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กำรวำงแผนพัฒนำผู้เรียนท้ังทำงด้ำนสติปัญญำ และคณุ ลักษณะ กำรวำงแผนวิจัยเพื่อพฒั นำผู้เรียน กำรให้ควำมร่วมมือกบั สถำนศึกษำ ในกำรปฏิบัติภำระงำนครู กำรปฏิบัติงำนอืน่ ที่ไดร้ ับมอบหมำย กำรสร้ำงชุมชนแห่งกำร เรยี นรทู้ ำงวชิ ำชีพ กำรจัดทำรำยงำนจำกประสบกำรณก์ ำรปฏิบตั วิ ชิ ำชีพในสถำนศึกษำ

22 Integrating knowledge into practice in specific disciplines in assigned subjects, course syllabus preparation and learning management planning, planning for the student’s intelligence and character development; research planning for student development; cooperation with educational institutions in the work of teachers, working in the other tasks assigned , creating a professional learning community, a report from professional practice in school 02-142-604 การปฏิบตั กิ ารสอน 2 3(0-17-3) Professional Teaching Experience 2 กำรบูรณำกำรควำมรู้มำใช้ในกำรปฏิบัติกำรสอนในสำขำวิชำเฉพำะ โดยใช้เทคนิคและ กลวิธีที่หลำกหลำย กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ กำรประเมิน ปรับปรุงและ พัฒนำกำรจัดกำรเรียนรู้ให้เหมำะสมกับผู้เรียน กำรบันทึกและรำยงำนผลกำรจัดกำร เรยี นรู้และพัฒนำผูเ้ รยี น กำรทำวจิ ัยในช้ันเรียนเพอื่ พัฒนำผเู้ รียน รำยงำนผลกำรวิจัยใน ช้ันเรียน กำรแลกเปล่ียนเรียนรู้หรือแบ่งปันควำมรู้ในกำรสัมมนำกำรศึกษำกำร ปฏิบัติงำนอ่ืนท่ีได้รับมอบหมำย กำรสร้ำงชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ กำรจัดทำ รำยงำนจำกประสบกำรณ์กำรปฏิบัติวิชำชีพในสถำนศึกษำ และกำรพัฒนำควำมเป็น ครูมอื อำชีพ Integrating knowledge into practice in specific disciplines in assigned subjects with several teaching techniques and strategies, measurement and evaluation of learning, evaluation, improvement and development of learning management to suit with learners, recording and reporting of learning outcomes and learners development, classroom research to develop learners, report the results of classroom research, exchanging or sharing knowledge by means of educational seminars, performing assigned tasks other than teaching, creating a professional learning community, a report from professional practice in school and professional teacher development

23 3.2 ชื่อ สกุล เลขประจาตวั ประชาชน ตาแหนง่ และคณุ วุฒิของอาจารย์ 3.2.1 อาจารยป์ ระจาหลกั สูตร ลาดับ ช่ือ – นามสกลุ ตาแหนง่ คณุ วฒุ ิ/สาขาวิชา สาเรจ็ จาก ภาระงานสอน ชม./ 1 นำงรสรนิ วิชาการ ปที ่ีจบ สัปดาห์/ปีการศกึ ษา เจิมไธสง* จฬุ ำลงกรณม์ หำวิทยำลยั อำจำรย์ ค.ด. (หลักสูตรและ กำรสอน) มหำวิทยำลยั ศิลปำกร 2562 2563 2564 2 นำงสำวประนอม มหำวิทยำลยั ขอนแก่น พนั ธ์ไสว ศษ.ม. (หลกั สตู รและกำรนเิ ทศ) 2555 6 6 9 2541 3 นำยสุรัตน์ ศษ.บ. (กำรประถมศกึ ษำ) 2537 ขวัญบุญจันทร์ (เกยี รตินิยมอนั ดบั 2) 4 นำยมหำชำติ อินทโชติ ผู้ชว่ ย ค.ด. (กำรวดั และประเมนิ ผล จุฬำลงกรณม์ หำวิทยำลยั 2555 6 6 6 5 นำงสำวลนิ ัฐฎำ ศำสตรำจำรย์ กำรศกึ ษำ) กญุ ชรินทร์ กศ.ม. (กำรวัดผลกำรศกึ ษำ) มหำวิทยำลยั ศรีนครนิ ทร 2530 วิโรฒ ประสำนมิตร กศ.บ. (คณิตศำสตร)์ มหำวทิ ยำลยั ศรีนครนิ ทร 2528 วิโรฒ ประสำนมติ ร อำจำรย์ ปร.ด. (กำรวจิ ยั และพฒั นำทำง มหำวิทยำลยั รำชภฏั 2559 3 3 3 กำรศกึ ษำ) พิบลู สงครำม กศ.ม. (กำรวดั ผลกำรศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลยั ศรีนครนิ ทร 2531 วโิ รฒ ประสำนมิตร ศษ.บ. (บรหิ ำรกำรศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลัยสโุ ขทัย 2527 ธรรมำธิรำช อำจำรย์ ศษ.ด. (เทคโนโลยีกำรศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลยั เกษตรศำสตร์ 2557 6 6 6 อำจำรย์ ศษ.ม. (เทคโนโลยีกำรศกึ ษำ) ศษ.บ. (เทคโนโลยีและสอื่ สำร มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ 2546 กำรศกึ ษำ) สถำบนั เทคโนโลยีรำช 2544 Ph.D. (Guidance and มงคล Counseling) M.A. (Guidance and University Science of 2559 3 3 3 Counseling) Malaysia (USM) วท.บ. (เทคโนโลยกี ำรผลติ พืช) University Science of 2554 Malaysia (USM) มหำวิทยำลัยวลัยลกั ษณ์ 2546 หมำยเหตุ * ประธำนหลกั สตู ร 3.2.2 อาจารย์ประจา ลาดบั ชอ่ื – นามสกุล ตาแหนง่ คณุ วุฒิ/สาขาวิชา สาเรจ็ จาก ภาระงานสอน ชม./ วิชาการ ปีท่จี บ สปั ดาห/์ ปกี ารศกึ ษา 1 นำงรสริน จฬุ ำลงกรณม์ หำวทิ ยำลยั เจมิ ไธสง อำจำรย์ ค.ด. (หลกั สูตรและกำรสอน) มหำวทิ ยำลัยศิลปำกร 2562 2563 2564 ศษ.ม (หลกั สตู รและกำรนเิ ทศ) มหำวทิ ยำลยั ขอนแกน่ ศษ.บ. (กำรประถมศกึ ษำ) 2555 6 6 9 2541 (เกยี รตนิ ิยมอันดับ 2) 2537

24 ลาดับ ช่ือ – นามสกุล ตาแหนง่ คุณวฒุ /ิ สาขาวชิ า สาเร็จจาก ปที ่ี ภาระงานสอน ชม./ วิชาการ จฬุ ำลงกรณม์ หำวทิ ยำลัย จบ สัปดาห/์ ปีการศึกษา 2562 2563 2564 2 นำงสำวประนอม ผชู้ ว่ ย ค.ด. (กำรวัดและประเมนิ ผล 2555 6 6 6 พนั ธ์ไสว ศำสตรำจำรย์ กำรศกึ ษำ) กศ.ม. (กำรวัดผลกำรศกึ ษำ) มหำวิทยำลยั ศรีนครินทร 2530 วิโรฒ ประสำนมิตร กศ.บ. (คณิตศำสตร)์ มหำวิทยำลัยศรีนครนิ ทร 2528 วโิ รฒ ประสำนมิตร 3 นำยสรุ ัตน์ อำจำรย์ ปร.ด. (กำรวจิ ยั และพฒั นำทำง มหำวทิ ยำลัยรำชภัฏ 2559 6 6 6 ขวัญบุญจนั ทร์ กำรศกึ ษำ) พิบลู สงครำม กศ.ม. (กำรวัดผลกำรศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลัยศรนี ครนิ ทร 2531 วิโรฒ ประสำนมติ ร ศษ.บ. (บริหำรกำรศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลัยสโุ ขทัย 2527 ธรรมำธิรำช 4 นำยมหำชำติ อำจำรย์ ศษ.ด. (เทคโนโลยกี ำรศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลยั เกษตรศำสตร์ 2557 3 3 3 อนิ ทโชติ ศษ.ม. (เทคโนโลยกี ำรศกึ ษำ) มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ 2546 ศษ.บ. (เทคโนโลยีและสอื่ สำร สถำบันเทคโนโลยีรำช 2544 กำรศกึ ษำ) มงคล 5 นำงสำววัชรำภรณ์ อำจำรย์ ค.ด. (กำรวัดและประเมนิ ผล จุฬำลงกรณม์ หำวทิ ยำลัย 2559 6 6 6 เขอื่ นวัง กำรศกึ ษำ) ค.ม. (กำรวจิ ัยกำรศกึ ษำ) จุฬำลงกรณม์ หำวทิ ยำลัย 2550 กศ.บ. (กำรประถมศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลยั บรู พำ 2544 6 วำ่ ทร่ี อ้ ยตรีสทุ ธิพร ผู้ช่วย ศษ.ด. (หลักสูตรและกำรสอน) มหำวิทยำลัยขอนแก่น 2545 6 6 9 บุญส่ง ศำสตรำจำรย์ ศษ.ม. (กำรสอนสงั คมศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลยั เกษตรศำสตร์ 2533 ศษ.บ. (สังคมศึกษำ) มหำวทิ ยำลยั ศิลปำกร 2525 7 นำงสำวรนิ รดี อำจำรย์ ค.ด. (หลักสูตรและกำรสอน) จุฬำลงกรณม์ หำวิทยำลยั 2555 6 6 9 ปำปะใน ค.ม. (นเิ ทศกำรศกึ ษำ จุฬำลงกรณม์ หำวิทยำลยั 2546 และพัฒนำหลักสตู ร) ค.บ. (วิทยำศำสตรท์ วั่ ไป) มหำวิทยำลัยรำชภัฏ 2541 พระนคร 8 นำยพรภิรมย์ อำจำรย์ ปร.ด. (หลักสตู รและกำรสอน) มหำวิทยำลยั ศลิ ปำกร 2553 6 9 9 หลงทรัพย์ อำจำรย์ ศษ.ม. (กำรวดั และประเมนิ ผล มหำวทิ ยำลยั รำมคำแหง 2547 9 นำงสำยพนิ กำรศกึ ษำ) สหี รกั ษ์ พย.บ. (พยำบำลศำสตร์) มหำวทิ ยำลยั มหิดล 2542 ค.ด. (หลกั สตู รและกำรสอน) ค.ม. (จติ วิทยำกำรศกึ ษำ) จฬุ ำลงกรณม์ หำวทิ ยำลยั 2552 3 3 3 จฬุ ำลงกรณม์ หำวทิ ยำลยั 2537 วท.บ. (สขุ ศึกษำ) มหำวทิ ยำลัยศรนี ครินทร 2531 วโิ รฒ (พลศกึ ษำ) 10. นำยภูรพิ ันธ์ อำจำรย์ ศษ.ม. (กำรสอนภำษำอังกฤษใน มหำวิทยำลัยศิลปำกร 2540 6 6 6 เลิศโอภำส ฐำนะภำษำตำ่ งประเทศ) ศศ.บ. (ภำษำองั กฤษ) มหำวิทยำลัยรำมคำแหง 2530

25 ลาดับ ชื่อ – นามสกลุ ตาแหนง่ คณุ วุฒิ/สาขาวชิ า สาเร็จจาก ปีท่ี ภาระงานสอน ชม./ 11 นำยณัฏฐพงศ์ วิชาการ จบ สปั ดาห์/ปีการศึกษา 256 2553 2564 ชทู ัย ผ้ชู ่วย ศศ.ม. (จิตวทิ ยำกำรศึกษำและ มหำวิทยำลยั เกษตรศำสตร์ 2526 3 3 3 12 นำงสำววไิ ลวรรณ ศรสี งครำม ศำสตรำจำรย์ กำรแนะแนว) 13 นำงสำวลนิ ฐั ฎำ ค.บ. (ภำษำอังกฤษ) วิทยำลัยครบู ำ้ นสมเด็จ 2522 กุญชรนิ ทร์ เจ้ำพระยำ รอง ค.ด. (วธิ ีวิทยำกำรวจิ ยั กำรศกึ ษำ) จุฬำลงกรณม์ หำวิทยำลัย 2555 3 3 3 ศำสตรำจำรย์ กศ.ม. (จิตวิทยำพฒั นำกำร) มหำวิทยำลัยศรนี ครนิ ทร วโิ รฒ ประสำนมิตร 2539 วท.บ. (จติ วิทยำ) มหำวิทยำลยั ศรีนครินทร (เกยี รตนิ ิยมอันดบั 2) วโิ รฒ ประสำนมติ ร 2532 อำจำรย์ Ph.D. (Guidance and University Science of 2559 3 3 3 Counseling) Malaysia (USM) M.A. (Guidance and University Science of 2554 Counseling) Malaysia (USM) วท.บ. (เทคโนโลยกี ำรผลติ พืช) มหำวทิ ยำลยั วลัยลกั ษณ์ 2546 14 นำงสิริลกั ษณ์ ผู้ช่วย ค.อ.ด. (วิจยั และพัฒนำหลกั สตู ร) สถำบันเทคโนโลยีพระจอม 2544 3 3 3 หำญวฒั นำนกุ ลู ศำสตรำจำรย์ เกลำ้ พระนครเหนอื ค.ม. (วจิ ยั กำรศกึ ษำ) จุฬำลงกรณม์ หำวิทยำลัย 2527 วท.บ. (กำรสอนคณิตศำสตร)์ มหำวิทยำลยั เชยี งใหม่ 2524 15 นำงสุกญั ญำ อำจำรย์ ค.ด. (กำรวดั และประเมนิ ผล จฬุ ำลงกรณม์ หำวิทยำลัย 2561 3 3 3 บุญศรี กำรศกึ ษำ) ค.ม. (กำรวัดและประเมนิ ผล จฬุ ำลงกรณม์ หำวิทยำลัย 2546 กำรศกึ ษำ) ค.บ. (กำรสอนวทิ ยำศำสตรท์ ัว่ ไป จฬุ ำลงกรณม์ หำวิทยำลัย 2543 และชวี วิทยำ) 16 นำยชัยอนันต์ อำจำย์ ศษ.ด. (กำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร์ 2559 3 3 3 ม่นั คง ค.ม. (กำรบริหำรกำรศกึ ษำ) สถำบันรำชภัฏพิบลู สงครำม 2545 ค.บ. (กำรประถมศึกษำ) สถำบันรำชภฏั พิบูลสงครำม 2542 17 นำงสำวตอ้ งลกั ษณ์ ผชู้ ่วย ปร.ด. (กำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำ) มหำวิทยำลัยสยำม 2554 3 3 3 บุญธรรม ศำสตรำจำรย์ กศ.ม. (กำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำ) มหำวิทยำลัยนเรศวร 2547 ค.บ. (กำรสอนวทิ ยำศำสตร์- จฬุ ำลงกรณม์ หำวทิ ยำลัย 2541 คณิตศำสตร์) 18 นำงพมิ ลพรรณ ผู้ช่วย ปร.ด. (บรหิ ำรกำรศกึ ษำและภำวะ มหำวทิ ยำลัยเซนตจ์ อหน์ 2555 3 3 3 เพชรสมบตั ิ ศำสตรำจำรย์ ผู้นำ) ศษ.ม. (กำรวัดและประเมนิ ผล มหำวิทยำลัยสโุ ขทยั 2551 กำรศกึ ษำ) ธรรมำธิรำช ศษ.บ. (คณิตศำสตร์) มหำวิทยำลยั รำมคำแหง 2545

26 ลาดบั ชือ่ – นามสกลุ ตาแหนง่ คณุ วฒุ ิ/สาขาวชิ า สาเรจ็ จาก ปีท่ี ภาระงานสอน ชม./ วิชาการ จบ สปั ดาห/์ ปีการศกึ ษา 2562 2553 2564 19 นำยนิรุตต์ิ อำจำรย์ ปร.ด. (เทคโนโลยีสำรสนเทศ) สถำบนั เทคโนโลยพี ระจอม 2558 1.5 1.5 1.5 พองำม เกลำ้ พระนครเหนือ วท.ม. (เทคโนโลยีสำรสนเทศ) สถำบันเทคโนโลยพี ระจอม 2546 เกลำ้ พระนครเหนือ ค.อ.บ. (วิศวกรรมคอมพวิ เตอร์) สถำบนั เทคโนโลยีรำชมงคล 2541 20 นำยเทยี มยศ อำจำรย์ ศษ.ด. (เทคโนโลยกี ำรศกึ ษำ) มหำวิทยำลยั เกษตรศำสตร์ 2554 1.5 1.5 1.5 ปะสำวะโน ศษ.ม. (เทคโนโลยีกำรศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลัยขอนแกน่ 2545 นศ.บ. (นิเทศศำสตร)์ มหำวิทยำลัยสุโขทยั 2540 ธรรมำธริ ำช 21 นำงธัญญำภรณ์ อำจำรย์ ปร.ด. (เทคโนโลยสี ำรสนเทศ) สถำบันเทคโนโลยีพระจอม 2558 1.5 1.5 1.5 บุญยัง เกล้ำพระนครเหนือ วท.ม. (เทคโนโลยีสำรสนเทศ) สถำบนั เทคโนโลยพี ระจอม 2546 เกล้ำพระนครเหนือ วท.บ. (วทิ ยำกำรคอมพวิ เตอร)์ สถำบันรำชภัฎ 2542 นครศรธี รรมรำช 22 นำงสำวศิรพิ ร อำจำรย์ ปร.ด. (นวตั กรรมกำรเรยี นรู้ มหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยี 2560 1.5 1.5 1.5 มิขำ และเทคโนโลยี พระจอมเกลำ้ ธนบรุ ี วท.ม. (กำรศกึ ษำวทิ ยำศำสตร์) สถำบันเทคโนโลยพี ระจอม 2545 เกล้ำเจ้ำคณุ ทหำร ลำดกระบงั ค.อ. (อิเลก็ ทรำนิกสแ์ ละ สถำบันเทคโนโลยีพระจอม 2541 คอมพวิ เตอร์) เกล้ำเจำ้ คณุ ทหำร ลำดกระบัง 23 นำยเอกรฐั ผูช้ ่วย ปร.ด. (เทคโนโลยสี ำรสนเทศ) สถำบันเทคโนโลยพี ระจอม 2558 1.5 1.5 1.5 หลอ่ พเิ ชียร ศำสตรำจำรย์ เกลำ้ พระนครเหนอื วศ.ม. (วิศวกรรมสำรสนเทศ) สถำบันเทคโนโลยีพระจอม 2548 เกล้ำเจ้ำคณุ ทหำรลำดกระบงั วศ.บ. (วิศวกรรมสำรสนเทศ) สถำบันเทคโนโลยีพระจอม 2544 เกลำ้ เจ้ำคณุ ทหำรลำดกระบัง 24 นำงสำวเยำว อำจำรย์ ศษ.ด. (เทคโนโลยกี ำรศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลยั เกษตรศำสตร์ 2554 1.5 1.5 1.5 ลกั ษณ์ กศ.ม. (เทคโนโลยีกำรศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลยั ศรนี ครนิ ทร 2546 พพิ ฒั น์จำเรญิ กลุ วิโรฒ ประสำนมติ ร ศษ.บ. (เทคโนโลยีกำรศกึ ษำ) มหำวิทยำลัยบรู พำ 2540 25 นำงสำวกลั ยำณี อำจำรย์ ศษ.ด. (เทคโนโลยกี ำรศกึ ษำ) มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ 2554 1.5 1.5 1.5 เจรญิ ช่ำง นชุ มี ศษ.ม. (เทคโนโลยกี ำรศกึ ษำ) มหำวิทยำลยั เกษตรศำสตร์ 2545 กศ.บ. (เทคโนโลยีทำงกำรศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลัยทกั ษิณ 2543

27 ลาดับ ชอื่ – นามสกุล ตาแหน่ง คุณวุฒ/ิ สาขาวิชา สาเรจ็ จาก ภาระงานสอน ชม./ 26 นำงสำวธดิ ำรตั น์ วิชาการ ปีที่ สัปดาห์/ปกี ารศึกษา อำจำรย์ ปร.ด. เทคโนโลยีเทคนิคศกึ ษำ มหำวิทยำลยั เทคโนโลยีพระ จบ 2562 2553 2564 กลุ ณัฐรวงศ์ จอมเกล้ำพระนครเหนือ 2557 1.5 1.5 1.5 อำจำรย์ ค.อ.ม. (คอมพวิ เตอรแ์ ละ มหำวทิ ยำลัยเทคโนโลยพี ระ 27 นำงสำวปำรฉิ ตั ร เทคโนโลยสี ำรสนเทศ) จอมเกลำ้ ธนบรุ ี 2549 พยงุ ศรี สถำบันเทคโนโลยรี ำชมงคล บธ.บ. (ระบบสำรสนเทศ) มหำวทิ ยำลัยศรนี ครนิ ทร 2546 ศศ.ม. (ภำษำไทย) วโิ รฒ 2554 6 6 6 สถำบันรำชภัฏจนั ทรเกษม ศศ.บ. (ภำษำไทย) 2547 3.2.3 อาจารยพ์ ิเศษ ตาแหน่ง สถานทีท่ างาน รองศำสตรำจำรย์ คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลยั นเรศวร ลาดับ ชือ่ -สกลุ ผชู้ ่วยศำสตรำจำรย์ คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลยั ทกั ษิณ 1 รศ.ดร.มนสชิ สิทธสิ มบรู ณ์ รองศำสตรำจำรย์ ข้ำรำชกำรบำนำญ 2 ผศ.ดร.เรวดี กระโหมวงศ์ รองศำสตรำจำรย์ ข้ำรำชกำรบำนำญ 3 รศ.ดร.ทวิ ตั ถ์ มณีโชติ รองศำสตรำจำรย์ ขำ้ รำชกำรบำนำญ 4 รศ.ดร.สุทธวิ รรณ พริ ะศักด์ิโสภณ 4 รศ.ดร.โกศล มีคุณ 4. องคป์ ระกอบเก่ยี วกบั ประสบการณ์ภาคสนาม การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา หลกั สตู รประกำศนียบตั รบัณฑติ วชิ ำชพี ครู กำหนดประสบกำรณ์ภำคสนำมเป็นกำรปฏิบตั ิกำรสอน และปฏบิ ัติหน้ำท่ตี ำมภำระงำนวิชำชีพครูในสถำนศึกษำเป็นเวลำ 3 ภำคกำรศึกษำปกติ ประกอบด้วยรำยวิชำ ดงั นี้ 1) กำรฝึกประสบกำรณว์ ิชำชีพระหวำ่ งเรียน 2) กำรปฏิบตั กิ ำรสอน 1 และ 3) กำรปฏิบัติกำรสอน 2 4.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณภ์ าคสนาม นักศกึ ษาสามารถ สังเกตกำรณ์กำรจัดกำรเรียนรู้ กำรจัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ปฏิบัติกำรสอนในสถำนศึกษำ และปฏบิ ตั ิหนำ้ ทตี่ ำมภำระงำนวชิ ำชพี ครู 4.2 ช่วงเวลา มีกำรฝึกประสบกำรณ์วิชำชีพระหว่ำงเรียน 1 ภำคกำรศึกษำในภำคกำรศึกษำท่ี 1 กำรฝึก ประสบกำรณ์วิชำชีพครู 1 ปีกำรศึกษำ หรือ 2 ภำคกำรศึกษำในสถำนศึกษำ ต้ังแต่ภำคกำรศึกษำที่ 2 ถึง ภำคกำรศกึ ษำที่ 3 ของหลักสูตร

28 4.3 การจดั เวลาและตารางสอน กำรฝึกประสบกำรณ์วิชำชีพระหว่ำงเรียน 1 ภำคกำรศึกษำ และกำรฝึกปฏิบัติกำรสอนใน สถำนศึกษำ 1 ปีกำรศึกษำ หรือ 2 ภำคกำรศึกษำ โดยมีช่ัวโมงสอนไม่น้อยกว่ำสัปดำห์ละ 8 ชั่วโมง เป็น เวลำไม่น้อยกว่ำ 15 สัปดำห์ รวมเวลำไม่น้อยกว่ำ 120 ช่ัวโมงต่อภำคกำรศึกษำ มชี ั่วโมงกำรปฏิบัติงำนใน สถำนศึกษำ เช่น เตรียมกำรสอน ตรวจงำน และปฏิบัติงำนอื่นที่ได้รับมอบหมำยในวิชำชีพครูไม่น้อยกว่ำ ภำคกำรศึกษำละ 120 ช่ัวโมง ตำมมำตรฐำนครุ สุ ภำ 5. ข้อกาหนดเกย่ี วกับการทาโครงงานหรอื งานวิจัย 5.1 คาอธบิ ายโดยย่อ งำนวจิ ัยทเ่ี กี่ยวกับปัญหำทีเ่ กดิ ในชัน้ เรียน หรืองำนวิจยั เพื่อพัฒนำกำรเรยี นรู้ของผู้เรียน หรอื งำนวิจัย พฒั นำพฤตกิ รรมผูเ้ รียน 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ 1) สำมำรถจัดทำโครงร่ำงกำรวิจัยกำรวิจัยเพ่ือแก้ปัญหำที่เกิดในช้ันเรียน หรืองำนวิจัยเพ่ือพัฒนำ กำรเรียนรู้ หรอื พัฒนำพฤติกรรมผ้เู รียน 2) สร้ำงองคค์ วำมรเู้ พือ่ พัฒนำกำรจดั กำรเรียนรู้ด้วยกำรวจิ ัย 3) สำมำรถแกไ้ ขปญั หำเกิดในช้นั เรียนด้วยกำรวิจยั 4) สำมำรถใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศในกำรสบื คน้ และวิเครำะห์ขอ้ มูล 5) สำมำรถจัดทำรำยงำนกำรวิจัยเพื่อแก้ปญั หำที่เกิดในช้ันเรียน หรอื งำนวิจัยเพื่อพัฒนำกำรเรียน กำรสอนหรอื พฒั นำพฤติกรรมผู้เรียน 5.3 ช่วงเวลา ภำคกำรศึกษำท่ี 1 และ 2 5.4 จานวนหน่วยกติ ไม่มี 5.5 การเตรียมการ 1) อำจำรย์ท่ีปรึกษำให้คำแนะนำนักศึกษำเรื่องกระบวนกำรวิจัย สถิติท่ีใช้ในงำนวิจัยและกำรใช้ เทคโนโลยีในกำรวิเครำะหข์ อ้ มูล โดยใหน้ ักศึกษำเป็นผู้เลือกหัวข้อวจิ ัยทนี่ ักศึกษำสนใจ 2) อำจำรย์ท่ปี รึกษำจัดตำรำงเวลำกำรใหค้ ำปรึกษำและกำรติดตำมกำรทำงำนของนักศึกษำ 5.6 กระบวนการประเมนิ ผล 1) ประเมนิ คุณภำพงำนวจิ ัย โดยอำจำรย์พีเ่ ลี้ยงและอำจำรย์ที่ปรกึ ษำ 2) ประเมินควำมกำ้ วหนำ้ ในระหว่ำงกำรทำวจิ ัย โดยอำจำรย์พเี่ ลยี้ งและอำจำรยท์ ีป่ รึกษำ

29 3) ผสู้ อนและผูเ้ รียนประเมินผลกำรเรยี นรู้รว่ มกัน 4) ประเมินผลกำรทำงำนของนักศกึ ษำในภำพรวมจำกกำรตดิ ตำมกำรทำงำน ผลงำนท่ีเกิดในแต่ ละขน้ั ตอนและรำยงำน โดยอำจำรย์ทป่ี รกึ ษำ

30 หมวดท่ี 4 ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธก์ ารสอน และการประเมนิ ผล 1. การพฒั นาคุณลกั ษณะพิเศษของนักศกึ ษา กลยทุ ธ์หรือกจิ กรรมของนกั ศึกษา คณุ ลักษณะพเิ ศษ - มกี ำรฝึกวเิ ครำะห์หลักกำร ทฤษฏี และแนวคิด 1. เป็นผนู้ ำด้ำนวิชำชพี ครูที่มีควำมรบั ผดิ ชอบต่อ ที่เก่ียวข้องกับวชิ ำชีพครูในมมุ มองท่ีหลำกหลำย สังคม - มีกจิ กรรมเสริมสร้ำงเจตคติท่ีดีต่อวชิ ำชพี ครู - มกี จิ กรรมเสริมสรำ้ งจิตสำนึกในกำรเปน็ 2. มที ักษะวิชำชีพครูอย่ำงมืออำชีพ นักวิชำกำรทร่ี บั ผิดชอบต่อสงั คม 3. มบี ุคลกิ ภำพทีเ่ หมำะสมและเป็นแบบอยำ่ งท่ีดี - มีกำรฝึกปฏิบตั ิกำรเพ่ือเสรมิ สร้ำงทักษะวชิ ำชีพครู ทั้งจำกสถำนกำรณ์จำลองและสถำนกำรณจ์ รงิ ด้วยรูปแบบกำรเรียนกำรสอนที่หลำกหลำย - มกี ิจกรรมกำรสอนและกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพอ่ื พัฒนำบคุ ลิกภำพควำมเปน็ ครู 2. การพัฒนาผลการเรยี นรู้ในแต่ละดา้ น 2.1 คุณธรรม จรยิ ธรรม 2.1.1 ผลการเรียนรดู้ า้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 1) แสดงออกซ่ึงควำมรัก ศรัทธำและภูมิใจในวิชำชีพครู และจิตวิญญำณควำมเป็นครู และปฏบิ ัติตนตำมจรรยำบรรณวชิ ำชพี ครู 2) มีจิตอำสำ จิตสำธำรณะ อดทนอดกล้ัน มีควำมเสียสละ รับผิดชอบและซ่ือสัตย์ต่อ งำนท่ีได้รับมอบหมำยท้ังด้ำนวิชำกำรและวิชำชีพ และสำมำรถพัฒนำตนเองอย่ำง ต่อเน่ือง ประพฤติตนเป็นแบบอย่ำงท่ีดีแก่ศิษย์ ครอบครัว สังคมและประเทศชำติ เสริมสรำ้ งกำรพัฒนำท่ียั่งยืน 3) มีค่ำนิยมและคุณลักษณะเป็นประชำธิปไตย คือ กำรเคำรพสิทธิ และให้เกียรติคนอ่ืน มีควำมสำมัคคีและทำงำนร่วมกับผู้อ่ืนได้ ใช้เหตุผลและปัญญำในกำรดำเนินชีวิตและ กำรตดั สนิ ใจ 4) มคี วำมกล้ำหำญและแสดงออกทำงคุณธรรมจริยธรรม สำมำรถวินิจฉัย จัดกำรและคิด แก้ปัญหำทำงคุณธรรมจริยธรรมด้วยควำมถูกต้องเหมำะสมกับสังคม กำรทำงำนและ สภำพแวดล้อม โดยอำศัยหลักกำร เหตุผลและใช้ดุลยพินิจทำงค่ำนิยม บรรทัดฐำน

31 ทำงสังคม ควำมรู้สึกของผู้อ่ืนและประโยชน์ของสังคมส่วนรวม ต่อต้ำนกำรทุจริต คอรัปช่ันและควำมไม่ถูกต้อง มีจิตสำนึกในกำรธำรงควำมโปร่งใสของสังคมและ ประเทศชำติ 2.1.2 กลยุทธก์ ารสอนทีใ่ ช้พฒั นาการเรยี นรูด้ ้านคุณธรรม จริยธรรม 1) กำหนดข้อปฏบิ ัตทิ ส่ี ง่ เสริมคุณลกั ษณะดำ้ นคุณธรรมจริยธรรมควำมเปน็ ครู 2) กำรเรียนรู้จำกกรณีศึกษำ (Case Study) 3) กำรเรียนรู้โดยใช้ปญั หำเป็นฐำน (Problem-based learning) 4) กำรวิเครำะหแ์ บบวภิ ำษวิธี (Dialectics) ในประเด็นวิกฤตดำ้ นคุณธรรมจริยธรรมของ สงั คมและวชิ ำกำร รวมท้ังประเด็นวกิ ฤตจรรยำบรรณของวิชำชพี ครู 5) กำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมเสริมควำมเปน็ ครูเปน็ รำยปตี ลอดหลกั สตู ร 6) สอดแทรกและปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและจรรยำบรรณวิชำชีพในทุกรำยวิชำของ หลกั สูตรและในกำรปฏิบตั งิ ำนจริงในสถำนศึกษำ 2.1.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ ้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1) วัดและประเมินจำกกำรสังเกตพฤติกรรมในขณะทำงำนตำมสภำพจริง (Authentic Approach) 2) วดั และประเมนิ จำกกำรสังเกตพฤติกรรมในขณะทำงำนตำมสภำพจรงิ (Authentic Approach) 3) วัดและประเมนิ จำกผลกำรวเิ ครำะห์แบบวิภำษวิธี 4) วัดและประเมนิ จำกกลมุ่ เพื่อน 5) วัดและประเมนิ จำกผลงำนกรณศี ึกษำ 6) ประเมินผลกำรเขำ้ รว่ มกิจกรรมของผูเ้ รยี น 7) วัดและประเมนิ จำกผลกำรเขำ้ รว่ มกิจกรรมเสริมควำมเป็นครูเปน็ รำยปตี ลอดหลักสูตร 8) วัดและประเมินคำ่ นิยมและควำมเป็นครจู ำกผลกำรปฏิบตั กิ ำรสอนในสถำนศึกษำ 2.2 ความรู้ 2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1) มคี วำมรอบรู้ในหลักกำร แนวคิดทฤษฎีด้ำนวิชำชีพครู อยำ่ งกวำ้ งขวำงลึกซึ้ง สำมำรถ ประยกุ ต์สู่กำรปฏบิ ตั ิ 2) มีควำมรอบรู้ในหลักกำร แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหำวิชำที่สอน สำมำรถวิเครำะห์ควำมรู้ และเนื้อหำวิชำท่ีสอนอย่ำงลึกซึ้ง สำมำรถติดตำมควำมก้ำวหน้ำด้ำนวิทยำกำรและ นำไปประยุกต์ใชใ้ นกำรพัฒนำผู้เรยี น

32 3) มีควำมรู้ เข้ำใจชีวิต เข้ำใจชุมชน เข้ำใจโลกและกำรอยู่ร่วมกันบนพ้ืนฐำนควำม แตกต่ำงทำงวัฒนธรรม สำมำรถเผชิญและเท่ำทันกับกำรเปล่ียนแปลงของสังคม และ สำมำรถนำแนวคดิ ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในกำรดำเนินชีวิตและ พัฒนำตน พฒั นำงำน และพฒั นำผู้เรียน 4) ควำมรู้และควำมสำมำรถในกำรใช้ภำษำไทยและภำษำอังกฤษเพื่อกำรส่ือสำรตำม มำตรฐำน 5) มคี วำมรู้ ควำมเขำ้ ใจในกำรบรู ณำกำรควำมรู้ สำมำรถบรู ณำกำรกำรเรียนกำรสอนกับ กำรปฏิบัติจรงิ และกำรบูรณำกำรขำ้ มศำสตร์ 2.2.2 กลยุทธก์ ารสอนที่ใช้พฒั นาการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1) ใชร้ ปู แบบกำรเรยี นกำรสอนท่หี ลำกหลำยโดยเนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ 2) จัดกำรเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เกิดประสบกำรณ์ตรงทั้งจำกสถำนกำรณ์จริง สถำนกำรณ์ จำลองและผู้ทรงคณุ วุฒหิ รอื ผเู้ ชย่ี วชำญ 3) จัดกำรเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนศึกษำค้นคว้ำและสร้ำงองค์ควำมรู้ด้วยตนเองจำก แหลง่ กำรเรยี นรู้ต่ำงๆ 4) กำรเรียนรู้แบบรวมพลงั (Collaborative Learning) 5) กำรเรียนรู้โดยใช้โครงงำนเป็นฐำน (Project-Based Learning) 6) กำรเรียนรู้โดยใชป้ ัญหำเป็นฐำน (Problem-Based Learning) 7) กำรเรยี นรู้แบบห้องเรียนกลับด้ำน (Flipped Classroom) 8) กำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Blended Learning) โดยบูรณำกำรเทคโนโลยีดิจิทัล สำหรบั กำรเรยี นรู้ดว้ ยตนเองนอกชนั้ เรยี นและเรยี นร่วมกนั ในชั้นเรียน 2.2.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้านความรู้ 1) ประเมนิ โดยใช้วิธกี ำรวัดผลและประเมนิ ผลตำมสภำพจริงดว้ ยวธิ ีกำรทหี่ ลำกหลำย 2) วดั และประเมินจำกกำรวเิ ครำะห์และสังเครำะห์องค์ควำมรู้ 3) วัดและประเมนิ จำกกำรนำเสนอโครงงำนหรือรำยงำนกำรคน้ ควำ้ 4) วดั และประเมินจำกผลกำรปฏิบัติกำรสอนในสถำนศึกษำ 5) สะท้อนผลกำรประเมินใหผ้ ู้เรียนอย่ำงสม่ำเสมอ เพือ่ กำรปรบั ปรุงและพฒั นำผู้เรยี นอยำ่ งต่อเน่ือง 2.3 ทกั ษะทางปญั ญา 2.3.1 ผลการเรียนรูด้ ้านทักษะทางปัญญา 1) สำมำรถคิด ค้นหำ วิเครำะห์ข้อเท็จจริง และประเมินข้อมูล ส่ือ สำรสนเทศจำก แหล่งข้อมูลทห่ี ลำกหลำยอยำ่ งร้เู ทำ่ ทัน เปน็ พลเมืองต่ืนรู้ มีสำนกึ สำกล สำมำรถเผชิญ

33 และก้ำวทันกับกำรเปลี่ยนแปลงในโลกยุคดิจิทัล เทคโนโลยีข้ำมแพลทฟอร์มและโลก อนำคต นำไปประยุกต์ใช้ในกำรปฏิบัติงำน และวินิจฉัยแก้ปัญหำและพัฒนำงำนได้ อย่ำงสร้ำงสรรค์ โดยคำนึงถึงควำมรู้ หลักกำรทำงทฤษฎี ประสบกำรณ์ภำคปฏิบัติ คำ่ นิยม แนวคิด นโยบำยและยุทธศำสตร์ชำติ บรรทดั ฐำนทำงสังคมและผลกระทบท่ี อำจเกดิ ขึน้ 2) เป็นผู้นำทำงปัญญำ สำมำรถคิดริเริ่มและพัฒนำงำนอย่ำงสร้ำงสรรค์ มีภำวะผู้นำทำง วิชำกำรและวิชำชีพ สำมำรถช้ีนำและถ่ำยทอดควำมร้แู ก่สถำนศึกษำ ชมุ ชนและสงั คม อย่ำงสร้ำงสรรค์ 3) สำมำรถสร้ำงและประยุกต์ใชค้ วำมรูจ้ ำกกำรทำวจิ ัยและสร้ำงนวตั กรรมเพื่อพัฒนำกำร เรียนรู้ของผู้เรียนและพัฒนำผู้เรียนให้เป็นนวัตกรรมรวมท้ังกำรถ่ำยทอดควำมรู้แก่ ชมุ ชนและสงั คม 4) ตระหนกั รู้ เห็นคุณค่ำและควำมสำคญั ของศำสตร์พระรำชำเพ่ือกำรพฒั นำทีย่ ั่งยืนและ นำมำประยกุ ต์ใชใ้ นกำรพฒั นำตน พฒั นำผเู้ รียน พฒั นำงำน และพฒั นำชมุ ชน 2.3.2 กลยุทธก์ ารสอนทใี่ ช้พัฒนาการเรยี นรู้ดา้ นทักษะทางปัญญา 1) จัดกำรเรียนรู้ท่ีหลำกหลำย เช่น เน้นวิจัยเป็นฐำน (Research Based Learning) เน้นปัญหำเป็นฐำน (Problem Based Learning) กำรเรียนรู้โดยใช้ปัญหำเป็นฐำน (Problem-Based Learning) หรอื โครงงำนเปน็ ฐำน(Project Based Learning) 2) จัดกำรเรียนรู้ตำมหลักกำรท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยให้ผู้เรียนสร้ำงองค์ควำมรู้ด้วย ตน เอง(Constructivism) และสร้ำงองค์ควำมรู้ด้วยกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน (Constructionism) 3) กำรเรียนรู้ทีส่ ง่ เสริมทักษะกำรคิดข้นั สงู (Higher Order Thinking skills) 4) กำรส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นสำมำรถเรียนร้ดู ้วยกำรนำตนเอง (Self-Directed Learning) 5) จัดกำรเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ให้ผู้เรียนเรยี นรจู้ ำกประสบกำรณ์ตรงโดยบูรณำกำรกำรปฏบิ ตั ิงำน จรงิ ในสถำนศกึ ษำ 2.3.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรยี นรู้ด้านทกั ษะทางปัญญา 1) ประเมินโดยใช้วธิ ีกำรวัดผลและประเมินผลตำมสภำพจริงดว้ ยวิธกี ำรทีห่ ลำกหลำย 2) วัดและประเมินจำกผลกำรทำวิจัยเพ่ือสร้ำงองค์ควำมรใู้ หม่ 3) วัดและประเมนิ จำกกำรนำเสนอรำยงำนหรือผลกำรปฏบิ ัตงิ ำน 4) วดั และประเมนิ จำกผลกำรปฏิบัตกิ ำรสอนในสถำนศึกษำ 5) สะทอ้ นผลกำรประเมนิ ใหผ้ ้เู รยี นอยำ่ งสมำ่ เสมอ เพ่ือกำรปรับปรงุ และพัฒนำผ้เู รยี นอยำ่ ง ต่อเนื่อง

34 2.4 ทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล และความรบั ผิดชอบ 2.4.1 ผลการเรยี นรู้ดา้ นทกั ษะความสมั พันธร์ ะหว่างตัวบคุ คล และความรับผิดชอบ 1) สำมำรถรับรู้และเข้ำใจควำมรู้สึกของผู้อื่น มีควำมคิดเชิงบวก มีวุฒิภำวะทำงอำรมณ์ และทำงสงั คม 2) สำมำรถทำงำนร่วมกับผู้อื่น ทำงำนเป็นทีม เป็นผู้นำและผู้ตำมที่ดี มีสัมพันธภำพที่ดี กับผู้เรียน ผู้ร่วมงำน ผู้ปกครอง และคนในชุมชน มีควำมรับผิดชอบต่อส่วนรวมท้ัง ดำ้ นเศรษฐกิจ สงั คม และส่ิงแวดลอ้ ม 3) มีควำมรับผิดชอบต่อหน้ำท่ี ต่อตนเอง ต่อผู้เรียน ต่อผู้ร่วมงำน และต่อส่วนรวม สำมำรถชว่ ยเหลอื และแกป้ ญั หำตนเอง กลุ่มและระหว่ำงกลุ่มไดอ้ ย่ำงสร้ำงสรรค์ 2.4.2 กลยุทธ์การสอนทใี่ ช้พฒั นาการเรียนรดู้ า้ นทักษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คลและ ความรบั ผดิ ชอบ 1) จัดกำรเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะกระบวนกำรกลุ่มโดยกำรเรียนแบบรว่ มมือ (Co-operative Learning) กำรอภิปรำยกลุ่ม (Group Discussion) 2) จัดกำรเรียนรู้โดยใช้เครือข่ำยสังคม (Social Network) ชุมชนกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ (PLC) 3) กำรเรยี นรู้แบบรวมพลงั (Collaborative learning) 4) กำรเรยี นรูแ้ บบรว่ มมือ (Cooperative Learning) 5) กำรให้ควำมเห็นและกำรรับฟังควำมเหน็ แบบสะท้อนกลับอย่ำงไตร่ตรอง (Reflective thinking) 6) กำรเรียนรู้แบบรว่ มมือ (Cooperative Learning) 7) สอดแทรกและปลกู ฝงั ควำมรับผดิ ชอบในทุกรำยวชิ ำ 8) กำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมเสริมควำมเปน็ ครู เปน็ รำยปีตลอดหลักสตู ร 2.4.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรดู้ า้ นทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหว่างบุคคลและความ รบั ผดิ ชอบ 1) ประเมินผลงำนจำกกำรทำงำนกล่มุ 2) วัดและประเมินจำกผลกำรเรยี นรู้แบบร่วมมอื 3) วดั และประเมนิ จำกผลกำรปฏิบัตกิ ำรสอนในสถำนศกึ ษำ 4) วัดและประเมินจำกผลกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมเสรมิ ควำมเปน็ ครเู ปน็ รำยปตี ลอดหลักสตู ร 5) ประเมนิ พฤติกรรมกำรมสี ่วนรว่ มและกำรทำงำนกลุ่ม

35 2.5 ทักษะในการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 1) สำมำรถวิเครำะห์เชิงตัวเลข สำหรับข้อมูลและสำรสนเทศ (data and information) ทัง้ ที่เป็นตวั เลขเชิงสถติ ิ หรือคณิตศำสตร์ เพอ่ื เขำ้ ใจองค์ควำมรู้ หรอื ประเดน็ ปญั หำได้ อยำ่ งรวดเร็วและถูกต้อง 2) สำมำรถส่ือสำรกับผู้เรียน บุคคลและกลุ่มต่ำงๆ อย่ำงมีประสิทธิภำพด้วยวิธีกำร หลำกหลำยท้ังกำรพดู กำรเขียน และกำรนำเสนอด้วยรูปแบบต่ำงๆ โดยใช้เทคโนโลยี และนวตั กรรมทเี่ หมำะสม 3) สำมำรถใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ โปรแกรมสำเร็จรูปท่ีจำเป็นสำหรับกำรเรียนรู้ กำรจดั กำรเรยี นรู้ กำรทำงำน กำรประชมุ กำรจัดกำรและสบื คน้ ขอ้ มลู และสำรสนเทศ รับและส่งข้อมูลและสำรสนเทศโดยใช้ดุลยพินิจที่ดีในกำรตรวจสอบควำมน่ำเชื่อถือ ของข้อมูลและสำรสนเทศ อีกทั้งตระหนักถึงกำรละเมิดลิขสิทธิ์และกำรลอกเลียน ผลงำน 2.5.2 กลยทุ ธก์ ารสอนท่ีใช้พัฒนาการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) กำรติดตำม วเิ ครำะห์ และนำเสนอรำยงำนประเด็นสำคญั ดำ้ นกำรศึกษำจำกข่ำวสำร บนส่ือสังคมออนไลน์ 2) จัดกำรเรยี นรทู้ ่สี ง่ เสรมิ กำรนำเทคโนโลยีสำรสนเทศมำใชใ้ นกำรแสวงหำและเลือกใช้ ข้อมลู ข่ำวสำรควำมรู้ โดยบรู ณำกำรกำรใชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทลั 3) กำรจดั ทำอนิ โฟกรำฟิกเพ่ือสรุปประเดน็ สำระสำคัญของงำนทน่ี ำเสนอ 4) จัดกำรเรียนร้ทู ี่เน้นกำรฝกึ ทกั ษะดำ้ นกำรใช้ภำษำและกำรส่ือสำร 5) กำรเรียนรโู้ ดยบูรณำกำรกำรปฏบิ ัติงำนจรงิ ในสถำนศึกษำ 2.5.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรยี นรดู้ ้านทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสือ่ สาร และ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) วัดและประเมินจำกกำรติดตำม วเิ ครำะห์ และนำเสนอรำยงำนประเดน็ สำคญั ดำ้ นกำรศึกษำ 2) วดั และประเมนิ จำกผลกำรสบื คน้ และประเมนิ จำกผลงำนและกำรนำเสนอผลงำน 3) วัดและประเมินจำกผลกำรปฏบิ ัตกิ ำรสอนในสถำนศกึ ษำ 4) ประเมินทักษะกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศเพือ่ กำรส่ือสำร

36 2.6 วธิ ีวิทยาการจดั การเรยี นรู้ 2.6.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นวิธีวิทยาการจัดการเรยี นรู้ 1) มีควำมเชี่ยวชำญในกำรจดั กำรเรียนรู้ดว้ ยรูปแบบ วิธีกำรท่ีหลำกหลำยโดยเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ สำมำรถออกแบบและสร้ำงหลักสูตรรำยวิชำในช้ันเรียน วำงแผนและ ออกแบบเนื้อหำสำระและกิจกรรมกำรจัดกำรเรียนรู้ บริหำรจัดกำรชั้นเรียน ใช้ส่ือ และเทคโนโลยี วัดและประเมนิ ผลเพอ่ื พฒั นำผู้เรยี นอย่ำงเหมำะสมและสร้ำงสรรค์ 2) สำมำรถวิเครำะห์ผู้เรียนเป็นรำยบุคคล เพื่อนำไปออกแบบและจัดเนื้อหำสำระและ กิจกรรมกำรเรียนรู้ให้สอดคล้องกับควำมสนใจและควำมถนัดของผู้เรียน อย่ำง หลำกหลำยตำมควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล ทั้งผู้เรียนปกติและผู้เรียนที่มีควำม ตอ้ งกำรจำเป็นพิเศษ 3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จำกประสบกำรณ์ ฝึกทักษะ กระบวนกำรคิด กำร จัดกำร กำรเผชิญสถำนกำรณ์ ฝึกกำรปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น โดยบูรณำกำร กำรทำงำนกับกำรเรียนรู้และคุณธรรม จริยธรรม สำมำรถประยุกต์ควำมรู้มำใช้เพ่ือ ป้องกัน แกไ้ ขปญั หำ และพฒั นำ 4) สรำ้ งบรรยำกำศ จดั สภำพแวดลอ้ ม สื่อกำรเรียน แหล่งวทิ ยำกำร และภูมปิ ัญญำทัง้ ใน และนอกสถำนศึกษำ ประสำนควำมร่วมมือกับบิดำมำรดำ ผู้ปกครอง และบุคคลใน ชุมชนทุกฝ่ำย เพ่ืออำนวยควำมสะดวกและร่วมมือกันพัฒนำผู้เรียนให้เต็มตำม ศกั ยภำพ มีควำมรอบรู้ มปี ญั ญำรู้คิดและเกดิ กำรใฝร่ อู้ ยำ่ งตอ่ เนื่อง 5) นำทักษะศตวรรษ ที่ ๒๑ มำใช้ในกำรกำรจัดกำรเรียนรู้เพ่ือพัฒนำผู้เรียน พัฒนำ ตนเองและสังคม เช่น ทักษะกำรเรียนรู้ (Learning Skills) ทักษะกำรรู้เร่ือง (Literacy Skills) และทักษะชีวิต (Life Skills) เป็นต้น และดำเนินชีวิตตำมหลัก ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพียง 2.6.2 กลยุทธก์ ารสอนทใี่ ช้พัฒนาการเรียนรดู้ ้านวธิ ีวทิ ยาการจดั การเรียนรู้ 1) จัดกำรเรยี นรู้จำกประสบกำรณ์ตรงจำกสถำนกำรณ์จรงิ และสถำนกำรณจ์ ำลอง 2) กำรออกแบบกำรจัดกำรเรียนรู้โดยบูรณำกำรควำมรู้ในเน้ือหำวิชำเฉพำะผนวกวิธี สอนกับเทคโนโลยี (Technological Pedagogical Content Knowledge: TPCK) 3) จัดกำรเรียนรูท้ ีเ่ น้นกำรฝกึ ปฏบิ ัติทักษะกำรสอนดว้ ยวธิ กี ำรสอนแบบจุลภำค (Micro Teaching) 4) กำรเรยี นรูผ้ ำ่ นประสบกำรณ์ (Experience-Based Approach) 5) ใชเ้ ทคนคิ กำรนิเทศกำรสอนแบบแนะ (Coaching) 6) กำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรมเสริมควำมเป็นครูเปน็ รำยปตี ลอดหลกั สตู ร

37 2.6.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรยี นรดู้ ้านวิธีวทิ ยาการจัดการเรยี นรู้ 1) ประเมินควำมสำมำรถในกำรจดั กำรเรยี นร้ใู นสถำนกำรณจ์ ำลองและผลกำรปฏบิ ัติกำร สอนในสถำนศึกษำ 2) ประเมินจำกแผนจัดกำรเรียนรูแ้ ละบนั ทึกผลหลงั กำรจดั กำรเรยี นรู้ 3) วดั และประเมนิ จำกรำยงำนกำรทำวิจัยในชน้ั เรยี น 4) วดั และประเมินจำกผลกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมเสริมควำมเป็นครูเป็นรำยปตี ลอดหลักสูตร 3. แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรูจ้ ากหลักสูตรสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) แสดงให้เห็นว่ำแต่ละรำยวิชำในหลักสูตรรับผิดชอบต่อผลกำรเรียนรู้ใดบ้ำง (ตำมท่ีระบุในหมวด 4 ขอ้ 2 โดยระบุว่ำเปน็ ควำมรับผดิ ชอบหลกั หรอื ควำมรบั ผดิ ชอบรอง) ผลการเรียนรใู้ นตารางมคี วามหมายดงั น้ี คุณธรรม จรยิ ธรรม 1) แสดงออกซ่ึงควำมรกั ศรัทธำและภูมิใจในวชิ ำชีพครู และจิตวิญญำณควำมเปน็ ครู และปฏบิ ตั ิ ตนตำมจรรยำบรรณวชิ ำชพี ครู 2) มีจิตอำสำ จิตสำธำรณะ อดทนอดกลั้น มีควำมเสียสละ รับผดิ ชอบและซือ่ สตั ย์ต่องำนท่ีไดร้ ับ มอบหมำยท้ังด้ำนวิชำกำรและวิชำชีพ และสำมำรถพัฒนำตนเองอย่ำงต่อเนื่อง ประพฤติตน เปน็ แบบอยำ่ งทดี่ ีแกศ่ ิษย์ ครอบครัว สงั คมและประเทศชำติ เสริมสร้ำงกำรพัฒนำทยี่ ่งั ยนื 3) มีค่ำนิยมและคุณลักษณะเป็นประชำธิปไตย คือ กำรเคำรพสิทธิ และให้เกียรติคนอ่ืน มีควำม สำมคั คแี ละทำงำนรว่ มกับผูอ้ นื่ ได้ ใช้เหตุผลและปญั ญำในกำรดำเนินชีวิตและกำรตัดสนิ ใจ 4) มีควำมกล้ำหำญและแสดงออกทำงคุณธรรมจริยธรรม สำมำรถวินิจฉัย จัดกำรและคิด แก้ปัญหำทำงคุณธรรมจริยธรรมด้วยควำมถูกต้องเหมำะสมกับสังคม กำรทำงำนและ สภำพแวดล้อม โดยอำศัยหลักกำร เหตุผลและใช้ดุลยพินิจทำงค่ำนิยม บรรทัดฐำนทำงสังคม ควำมรู้สึกของผู้อ่ืนและประโยชน์ของสังคมส่วนรวม ต่อต้ำนกำรทุจริตคอรัปช่ันและควำมไม่ ถูกต้อง มีจติ สำนึกในกำรธำรงควำมโปร่งใสของสังคมและประเทศชำติ ความรู้ 1) มคี วำมรอบรูใ้ นหลกั กำร แนวคิดทฤษฎีด้ำนวิชำชีพครู อยำ่ งกว้ำงขวำงลึกซง้ึ สำมำรถประยุกต์ สูก่ ำรปฏิบตั ิ

38 2) มีควำมรอบรู้ในหลักกำร แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหำวิชำที่สอน สำมำรถวิเครำะห์ควำมรู้ และ เน้ือหำวิชำที่สอนอย่ำงลึกซึ้ง สำมำรถติดตำมควำมก้ำวหน้ำด้ำนวิทยำกำรและนำไป ประยกุ ต์ใชใ้ นกำรพัฒนำผู้เรียน 3) มีควำมรู้ เข้ำใจชีวิต เข้ำใจชุมชน เข้ำใจโลกและกำรอยู่ร่วมกันบนพ้ืนฐำนควำมแตกต่ำงทำง วัฒนธรรม สำมำรถเผชิญและเท่ำทันกับกำรเปลี่ยนแปลงของสังคม และสำมำรถนำแนวคิด ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในกำรดำเนินชีวิตและพัฒนำตน พัฒนำงำน และ พัฒนำผเู้ รยี น 4) ควำมร้แู ละควำมสำมำรถในกำรใชภ้ ำษำไทยและภำษำองั กฤษเพื่อกำรสื่อสำรตำมมำตรฐำน 5) มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจในกำรบูรณำกำรควำมรู้ สำมำรถบูรณำกำรกำรเรียนกำรสอนกับกำร ปฏิบัติจริงและกำรบรู ณำกำรข้ำมศำสตร์ ทกั ษะทางปัญญา 1) สำมำรถคิด ค้นหำ วิเครำะห์ข้อเท็จจริง และประเมินข้อมูล สื่อ สำรสนเทศจำกแหล่งข้อมูลที่ หลำกหลำยอย่ำงรู้เท่ำทัน เป็นพลเมืองต่ืนรู้ มีสำนึกสำกล สำมำรถเผชิญและก้ำวทันกับกำร เปลี่ยนแปลงในโลกยุคดิจทิ ัล เทคโนโลยีขำ้ มแพลทฟอร์มและโลกอนำคต นำไปประยกุ ต์ใช้ใน กำรปฏิบัติงำน และวินิจฉัยแก้ปัญหำและพัฒนำงำนได้อย่ำงสร้ำงสรรค์ โดยคำนึงถึงควำมรู้ หลักกำรทำงทฤษฎี ประสบกำรณ์ภำคปฏิบัติ ค่ำนิยม แนวคิด นโยบำยและยุทธศำสตร์ชำติ บรรทัดฐำนทำงสังคมและผลกระทบท่อี ำจเกิดขนึ้ 2) เป็นผู้นำทำงปัญญำ สำมำรถคิดริเริ่มและพัฒนำงำนอย่ำงสร้ำงสรรค์ มีภำวะผู้นำทำงวิชำกำร และวิชำชพี สำมำรถชนี้ ำและถำ่ ยทอดควำมรแู้ ก่สถำนศกึ ษำ ชุมชนและสังคมอยำ่ งสรำ้ งสรรค์ 3) สำมำรถสร้ำงและประยุกต์ใช้ควำมรู้จำกกำรทำวิจัยและสร้ำงนวัตกรรมเพ่ือพัฒนำกำรเรียนรู้ ของผู้เรียนและพัฒนำผู้เรยี นให้เป็นนวตั กรรมรวมทง้ั กำรถำ่ ยทอดควำมรแู้ ก่ชุมชนและสงั คม 4) ตระหนักรู้ เห็นคุณค่ำและควำมสำคัญของศำสตร์พระรำชำเพื่อกำรพัฒนำที่ยั่งยืนและนำมำ ประยุกต์ใชใ้ นกำรพฒั นำตน พัฒนำผู้เรยี น พฒั นำงำน และพัฒนำชุมชน ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผิดชอบ 1) สำมำรถรับรู้และเข้ำใจควำมรู้สึกของผู้อื่น มีควำมคิดเชิงบวก มีวุฒิภำวะทำงอำรมณ์และทำง สงั คม 2) สำมำรถทำงำนร่วมกับผู้อ่ืน ทำงำนเปน็ ทีม เป็นผู้นำและผ้ตู ำมที่ดี มีสัมพันธภำพท่ีดีกับผู้เรียน ผู้ร่วมงำน ผู้ปกครอง และคนในชุมชน มีควำมรับผิดชอบต่อส่วนรวมทั้งด้ำนเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม

39 3) มีควำมรับผิดชอบต่อหน้ำท่ี ต่อตนเอง ต่อผู้เรียน ต่อผู้ร่วมงำน และต่อส่วนรวม สำมำรถ ช่วยเหลอื และแก้ปญั หำตนเอง กลุ่มและระหวำ่ งกลุ่มไดอ้ ยำ่ งสรำ้ งสรรค์ ทกั ษะในการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การสือ่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) สำมำรถวิเครำะห์เชิงตวั เลข สำหรับขอ้ มลู และสำรสนเทศ (data and information) ทั้งทเ่ี ป็น ตัวเลขเชงิ สถติ ิ หรือคณติ ศำสตร์ เพื่อเข้ำใจองค์ควำมรู้ หรอื ประเด็นปญั หำไดอ้ ย่ำงรวดเร็วและ ถูกต้อง 2) สำมำรถสอื่ สำรกับผู้เรียน บุคคลและกลุ่มตำ่ งๆ อย่ำงมีประสิทธิภำพด้วยวิธกี ำรหลำกหลำยท้ัง กำรพูด กำรเขียน และกำรนำเสนอด้วยรูปแบบต่ำงๆ โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ี เหมำะสม 3) สำมำรถใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ โปรแกรมสำเร็จรูปที่จำเป็นสำหรับกำรเรียนรู้ กำรจัดกำร เรียนรู้ กำรทำงำน กำรประชุม กำรจัดกำรและสืบค้นข้อมูลและสำรสนเทศ รับและส่งข้อมูล และสำรสนเทศโดยใชด้ ุลยพินิจที่ดีในกำรตรวจสอบควำมน่ำเช่ือถือของข้อมูลและสำรสนเทศ อกี ทง้ั ตระหนักถงึ กำรละเมดิ ลิขสิทธ์ิและกำรลอกเลียนผลงำน วิธีวิทยาการจัดการเรยี นรู้ 1) มีควำมเช่ียวชำญในกำรจัดกำรเรียนรู้ด้วยรูปแบบ วิธีกำรที่หลำกหลำยโดยเน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ สำมำรถออกแบบและสร้ำงหลักสูตรรำยวิชำในชั้นเรียน วำงแผนและออกแบบเนื้อหำ สำระและกิจกรรมกำรจัดกำรเรียนรู้ บริหำรจัดกำรชั้นเรียน ใช้สื่อและเทคโนโลยี วัดและ ประเมินผลเพื่อพฒั นำผ้เู รยี นอยำ่ งเหมำะสมและสรำ้ งสรรค์ 2) สำมำรถวิเครำะห์ผู้เรียนเป็นรำยบุคคล เพ่ือนำไปออกแบบและจัดเน้ือหำสำระและกิจกรรม กำรเรียนรู้ให้สอดคล้องกับควำมสนใจและควำมถนัดของผู้เรียน อย่ำงหลำกหลำยตำมควำม แตกตำ่ งระหว่ำงบุคคล ทง้ั ผู้เรียนปกติและผู้เรยี นท่ีมีควำมตอ้ งกำรจำเปน็ พิเศษ 3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จำกประสบกำรณ์ ฝึกทักษะ กระบวนกำรคิด กำรจัดกำร กำร เผชิญสถำนกำรณ์ ฝึกกำรปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น โดยบูรณำกำรกำรทำงำนกับกำร เรียนรู้และคุณธรรม จริยธรรม สำมำรถประยุกต์ควำมรู้มำใช้เพื่อป้องกัน แก้ไขปัญหำ และ พฒั นำ 4) สร้ำงบรรยำกำศ จัดสภำพแวดล้อม ส่ือกำรเรียน แหล่งวิทยำกำร และภูมิปัญญำทั้งในและ นอกสถำนศึกษำ ประสำนควำมร่วมมือกับบิดำมำรดำ ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ำย เพื่ออำนวยควำมสะดวกและร่วมมือกันพัฒนำผู้เรียนให้เต็มตำมศักยภำพ มีควำมรอบรู้ มีปญั ญำร้คู ิดและเกดิ กำรใฝ่รอู้ ย่ำงต่อเน่ือง

40 5) นำทักษะศตวรรษ ท่ี ๒๑ มำใช้ในกำรกำรจัดกำรเรียนรู้เพื่อพัฒนำผู้เรียน พัฒนำตนเองและ สังคม เช่น ทักษะกำรเรียนรู้ (Learning Skills) ทักษะกำรรู้เรื่อง (Literacy Skills) และ ทกั ษะชีวติ (Life Skills) เป็นต้น และดำเนินชีวิตตำมหลกั ปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง

41 แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการ  ควำมรับผดิ ชอบหลกั 1. คุณธรรมจรยิ ธรรม 2. คว รายวชิ า 123 4 1 2 3 02-111-602 จิตวทิ ยำกำรศกึ ษำและกำรแนะแนวสำหรับครู      02-121-609 หลกั และทฤษฎีกำรจัดกำรศึกษำ 02-121-610 กำรประกันคณุ ภำพกำรศกึ ษำ       02-131-604 กำรวัดและประเมินผลกำรเรยี นรู้      02-132-605 กำรวิจยั กำรศกึ ษำเพ่อื พัฒนำกำรเรียนรู้    02-141-608 นวตั กรรมกำรพัฒนำหลักสตู ร   02-142-601 นวตั กรรมกำรจดั กำรเรยี นรแู้ ละกำรจัดกำรชน้ั เรยี น   02-142-602 กำรฝกึ ปฏบิ ัติวิชำชพี ระหวำ่ งเรยี น     02-142-605 กำรบูรณำกำรเพอ่ื พัฒนำนวัตกรรมกำรจัดกำรเรียนรู้        02-143-604 จติ วญิ ญำณควำมเป็นครูมอื อำชีพ   02-143-605 กำรใช้ภำษำและวัฒนธรรมสำหรับครู   02-311-602 สื่อและเทคโนโลยีเพือ่ กำรเรียนรู้   02-142-603 กำรปฏบิ ัตกิ ำรสอน 1     02-142-604 กำรปฏิบตั กิ ำรสอน 2     

41 รเรียนรูจ้ ากหลกั สูตรสูร่ ายวิชา (Curriculum Mapping)  ควำมรบั ผดิ ชอบรอง วามรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะ 5. ทักษะการ 6. วธิ วี ิทยาการจดั การเรยี นรู้ ความสมั พันธ์ วเิ คราะห์เชงิ ระหวา่ งบุคคล ตัวเลขการสื่อสาร และความ และการใช้ รับผิดชอบ เทคโนโลยี 3 4 5 1 2 3 41 23 1 2 3 12345                                                                                                                                

42 หมวดท่ี 5 หลกั เกณฑใ์ นการประเมนิ ผลนกั ศกึ ษา 1. กฎระเบยี บหรอื หลักเกณฑใ์ นการใหร้ ะดบั คะแนน (เกรด) เปน็ ไปตำมประกำศมหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยีรำชมงคลธญั บรุ ี เรื่อง เกณฑ์กำรวัดและประเมินผลกำรศึกษำ ระดับบัณฑติ ศึกษำ พ.ศ. 2559 (ภำคผนวก ง) ระดบั คะแนน ค่าระดับคะแนน ผลการศกึ ษา A 4.0 ดีเย่ียม (Excellent) B+ 3.5 ดีมำก (Very Good) B 3.0 ดี (Good) C+ 2.5 ค่อนข้ำงดี (Fairly Good) C 2.0 พอใช้ (Fair) D+ 1.5 ค่อนข้ำงพอใช้ (Poor) D 1.0 อ่อน (Very Poor) F 0 ตก (Fail) S - สอบผ่ำน (Satisfactor) U - สอบไม่ผำ่ น (Unsatisfa tory) I - กำรวัดผลรำยวิชำยงั ไมส่ มบูรณ์ (Incomplete) W - ขอถอนวิชำเรยี นหลงั กำหนด (Withdrawal) AU - เข้ำร่วมฟงั กำรบรรยำย (Audit) 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธข์ิ องนกั ศกึ ษา 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนักศกึ ษายังไมส่ าเร็จการศึกษา กำรทวนสอบมำตรฐำนผลกำรเรียนรู้ ในระดับรำยวิชำ และ ระดับหลักสูตรของนักศึกษำเป็นส่วน หนึ่งของระบบกำรประกันคุณภำพภำยในของมหำวิทยำลัยฯ ที่จะต้องทำควำมเข้ำใจตรงกันท้ังมหำวิทยำลัยฯ และนำไปดำเนินกำรจนบรรลุผลสัมฤทธิ์ ซ่งึ ผู้ประเมินภำยนอกจะต้องสำมำรถตรวจสอบได้คณะกรรมกำรบริหำร หลักสูตรจะทำกำรทวนสอบมำตรฐำนผลกำรเรยี นรู้ ดังนี้ 1) แตง่ ต้ังคณะกรรมกำรทวนสอบมำตรฐำนผลกำรเรียนรู้ 2) สุ่มประเมนิ รำยละเอยี ดรำยวชิ ำผลกำรเรียนรูท้ กี่ ำหนดสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ของหลักสตู ร 3) สุ่มประเมินควำมสอดคลอ้ งของข้อสอบกบั ผลกำรเรยี นรทู้ ่ีกำหนดไวใ้ นรำยวชิ ำ

43 4) คณะกรรมกำรประชุมเพื่อรับรองผลคะแนนของนักศึกษำในรำยวิชำแต่ละภำคกำรศึกษำ โดย กำรทวนสอบผลมำตรฐำนผลกำรเรยี นรใู้ นระดับรำยวชิ ำ ประกอบด้วย 2 สว่ นคือ - ประเมนิ จำกควำมคิดเห็นของนกั ศกึ ษำต่อประสทิ ธิภำพกำรสอน - ประเมินจำกคณะกรรมกำรบริหำรหลักสูตร โดยพิจำรณำจำกแผนกำรสอน เนื้อหำ และควำมทันสมยั กำรประเมินขอ้ สอบ และผลสัมฤทธขิ์ องกำรเรียนกำรสอน 5) กำรทวนสอบมำตรฐำนผลกำรเรียนรู้ ในระดับหลกั สตู รใช้กำรประกันคุณภำพภำยใน ดำเนนิ กำร ทวนสอบมำตรฐำนผลกำรเรยี นรแู้ ละรำยงำนผล 2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้หลงั นกั ศึกษาสาเร็จการศกึ ษา กำหนดกลวิธีกำรทวนสอบมำตรฐำนกำรเรียนรู้ของนักศึกษำหลังสำเร็จกำรศึกษำ โดยกำรสำรวจและ ศึกษำติดตำมผลของกำรประกอบวชิ ำชีพครูอย่ำงต่อเนื่องเป็นระยะ และนำข้อสรปุ ท่ีไดม้ ำปรับปรุงกระบวนกำรเรียน กำรสอนและหลักสูตรแบบครบวงจร รวมท้ังกำรประเมินคุณภำพหลักสูตรและหน่วยงำน โดยองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ กำรจัดกำรศกึ ษำและองค์กรวชิ ำชีพครู โดยกำรวจิ ัยอำจจะเก่ียวข้องกบั เรื่องดงั ตอ่ ไปน้ี 1) ควำมพึงพอใจต่อบัณฑิตจำกผู้ใช้บัณฑิตในหน่วยงำนนั้นๆ โดยกำรสัมภำษณ์ หรือกำรสอบถำม ตำมระยะเวลำ 6 เดือนแรก และ 1 ปหี ลังสำเร็จกำรศึกษำ 2) กำรประเมินบัณฑิตที่ไปประกอบอำชีพ ในด้ำนควำมรู้จำกสำขำวิชำที่เรียนตำมที่กำหนดใน หลักสูตรและดำ้ นอนื่ ๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับวิชำชีพครูของบณั ฑิต 3) กำรประเมินโดยใช้ควำมคดิ เห็นของผูท้ รงคณุ วุฒิภำยนอก 3. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร เป็นไปตำมประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง เกณฑ์มำตรฐำนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษำ พ.ศ.2558 และข้อบังคับมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี ว่ำด้วยกำรศึกษำระดับบัณฑิตศึกษำ พ.ศ. 2559 และท่แี ก้ไขเพิม่ เตมิ ดงั น้ี 3.1 นักศึกษาท่มี ีสิทธไ์ิ ดร้ ับปรญิ ญาประกาศนยี บตั รบณั ฑติ ต้องมคี ุณสมบัติครบถว้ น ดังต่อไปน้ี 1) เรียนครบตำมโครงสร้ำงหลักสูตรและรำยวิชำตำมท่ีมหำวิทยำลัยกำหนดไว้ในหลักสูตร และ สอบผำ่ นตำมเกณฑท์ ี่กำหนดในหมวดกำรวดั ผลและประเมินผลกำรศกึ ษำ 2) มกี ำรปฏิบัตกิ ำรสอนในสถำนศกึ ษำท่ีมคี ุณสมบตั ิตำมท่ีคณะกรรมกำรคุรุสภำกำหนดไม่น้อยกว่ำ 1 ปี และผ่ำนเกณฑก์ ำรประเมนิ กำรปฏิบตั กิ ำรสอนในสถำนศึกษำ 3) มีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่ำ 3.00 ตำมข้อบังคับมหำวิทยำลัย เทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี ว่ำด้วยกำรศึกษำระดับบัณฑิตศึกษำ พ.ศ. 2559 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (หมวด 11 ข้อ 65 ) นักศึกษำต้องเรียนครบตำมจำนวนหน่วยกิตท่ีกำหนดไว้ในหลักสูตร และต้องได้รับคะแนนเฉล่ีย ไม่ต่ำกว่ำ 3.00

44 4) ไม่มพี นั ธะผูกพันดำ้ นหนีส้ นิ กับมหำวิทยำลัยเทคโนโลยรี ำชมงคลธัญบุรี 5) เปน็ ไปตำมข้อกำหนดอ่ืนๆ ของมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธญั บรุ ี 3.2 นักศึกษาทมี่ สี ิทธิ์แสดงความจานงขอสาเรจ็ การศึกษา ต้องมคี ณุ สมบัตคิ รบถว้ นดงั นี้ 1) ตอ้ งมคี ณุ สมบัตคิ รบถว้ นตำมข้อ 3.1 2) เป็นนกั ศกึ ษำภำคกำรศึกษำสุดท้ำยท่ีลงทะเบยี นเรยี นครบตำมหลักสูตร 3) ให้นักศึกษำที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตำมที่ระบุไว้ในข้อ 3.1 ย่ืนคำร้องแสดงควำมจำนงขอสำเร็จ กำรศึกษำตอ่ สำนกั บณั ฑติ ศกึ ษำ ภำยในระยะเวลำทมี่ หำวทิ ยำลยั กำหนด

45 หมวดท่ี 6 การพฒั นาคณาจารย์ 1. การเตรยี มการสาหรับอาจารย์ใหม่ 1) แตง่ ตัง้ อำจำรย์พ่ีเลี้ยง เพ่ือช้แี จงและแนะนำเอกสำรรำยวชิ ำชีพครทู ร่ี ับผิดชอบ เพื่อทำกำรศกึ ษำและ วำงแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ 2) สนับสนุนให้อำจำรย์ใหม่เข้ำร่วมโครงกำรอบรมอำจำรย์ใหม่ โดยให้ควำมรู้เก่ียวกับนโยบำยของ มหำวิทยำลัย กฎระเบียบต่ำงๆ ควำมรู้ดำ้ นกำรจดั กำรเรยี นรู้ กำรทดลองปฏิบตั ิกำรสอน และมีกำรติดตำมนิเทศ กำรสอนและประเมนิ กำรสอนของอำจำรยใ์ หม่ 3) ช้ีแจงและมอบเอกสำรที่เก่ียวข้องให้อำจำรย์ใหม่ ได้แก่ รำยละเอียดหลักสูตร ซึ่งแสดงถึงปรัชญำ ควำมสำคัญและวตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร กฎระเบียบกำรศกึ ษำ คู่มือนักศึกษำ ค่มู อื อำจำรย์ ฯลฯ 4) มีกำรจัดส่ิงอำนวยควำมสะดวกและวัสดุกำรสอน เพื่อใช้ในกำรดำเนินกำรจัดกำรเรียนรู้ ด้ำนวิชำชีพครู ไดอ้ ย่ำงมีประสทิ ธิภำพและประสทิ ธผิ ล 2. การพฒั นาความรู้และทกั ษะให้แกอ่ าจารย์ 2.1 การพัฒนาทักษะการจดั การเรียนการสอน การวัดและการประเมนิ ผล 1) ส่งเสริมอำจำรย์เข้ำร่วมประชุม สัมมนำ ฝึกอบรมท้ังภำยในและภำยนอกสถำบัน เพ่ือพัฒนำ ทักษะกำรจัดกำรเรียนกำรสอน กำรวัดและกำรประเมินผล หรือในหัวข้อที่น่ำสนใจและเป็นประโยชน์ต่อกำรนำ ควำมรู้มำประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อหลักสตู รและองค์กร 2) ส่งเสริมและสนับสนุนกำรเรียนกำรสอน โดยกำรเชิญผู้เชี่ยวชำญ หรือผู้ทรงคุณวุฒิด้ำนวิชำชีพ ครู ทั้งภำยในและภำยนอกสถำบันมำร่วมจัดกำรเรียนกำรสอน เพ่ือให้นักศึกษำได้รับควำมรู้ทั้งด้ำนทฤษฎีและ ปฏิบัติผ่ำนกำรถ่ำยทอดของผู้ท่ีมีประสบกำรณ์จริง และช่วยให้อำจำรย์ประจำสำมำรถพัฒนำควำมรู้ ทักษะได้ อย่ำงรวดเรว็ 3) ส่งเสริมให้อำจำรย์ได้ฝึกประสบกำรณ์จริงจำกองค์กรหรือหน่วยงำนที่มีควำมเช่ียวชำญด้ำน วิชำชีพครู ท้ังในประเทศและต่ำงประเทศ เพ่ือช่วยให้อำจำรย์สำมำรถพัฒนำควำมรู้ และทักษะที่ทันสมัย สอดคลอ้ งกบั สถำนกำรณจ์ รงิ 4) สง่ เสรมิ ให้อำจำรยม์ สี ว่ นร่วมในกำรพฒั นำและปรบั ปรงุ หลักสูตรอย่ำงต่อเนื่อง 5) ส่งเสริมให้อำจำรย์ออกแบบกำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ของผู้เรียน โดยกำรสร้ำง และ หำคุณภำพของแบบทดสอบ เพื่อให้ได้ข้อสอบท่ีมีมำตรฐำนในกำรจัดทำธนำคำรข้อสอบในรำยวิชำต่ำงๆ ของ หลกั สตู ร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook