Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการตัวแทนธุรกิจท่องเที่ยว

การจัดการตัวแทนธุรกิจท่องเที่ยว

Published by sukridpilaiporn2558, 2020-06-02 22:56:55

Description: การจัดการตัวแทนธุรกิจท่องเที่ยว

Search

Read the Text Version

35 ประเภทของการจัดรายการนาํ เทีย่ วตามเกณฑอาณาเขตการจดั นําเท่ยี วและนกั ทองเทย่ี ว สามารถแบงได 3 ประเภท ดังน้ี 1) Domestic Tour 2) Inbound Tour 3) Outbound Tour 1) Domestic Tour คือการจัดรายการนาํ เทยี่ วในประเทศ สาํ หรับนกั ทองเท่ียวทเี่ ปน ประชากรในประเทศนนั้ เชน การจัดรายการนาํ เทย่ี วในประเทศไทย สําหรับนักทอ งเทยี่ ว ชาวไทย การทองเทย่ี วประเภทนี้ไดรบั การสงเสริมจากรฐั บาลอยา งตอ เน่อื ง เนื่องจาก ตองการสงเสรมิ การพฒั นาเศรษฐกจิ และการกระจายรายไดไ ปสูภ ูมภิ าคตางๆ ในประเทศ และเปนการลดการนําเงนิ ตราออกนอกประเทศจากการทอ งเทีย่ วแบบ Outbound Tour ซึ่งจะกลา วตอไป 2) Inbound Tour คอื การจัดรายการนําเทยี่ วในประเทศ สาํ หรับนกั ทองเทย่ี วชาว ตางประเทศ หรือการนาํ นักทองเทีย่ วชาวตางประเทศเดินทางมาทองเทย่ี วในประเทศ เชน การจดั รายการนําเที่ยวเพ่ือเยยี่ มชมพระบรมมหาราชวงั – วัดพระแกว – และลองเรือชมวิถี ชีวติ รมิ ฝง แมน า้ํ เจาพระยา สถานที่ทอ งเทย่ี วเหลานี้เปน เอกลักษณท างศิลปและ วัฒนธรรมของไทย ซึง่ ไดรบั ความนยิ มจากนกั ทองเทย่ี วชาวตา งชาตเิ ปนจํานวนมาก หรอื แทบจะเรียกไดว าหากนกั ทอ งเทย่ี วชาวตา งชาตมิ าแลว ไมไ ดมาเยยี่ มชมสถานทเ่ี หลา น้ถี ือ วา มาไมถงึ เมอื งไทย การทองเที่ยวประเภทนีก้ ไ็ ดร ับการสง เสรมิ จากภาครัฐเชน กนั เนื่องจากเปน การทอ งเทยี่ วท่ีสามารถสรางรายไดท่ีเปน เงินตราตา งประเทศใหแกป ระเทศ ไทยเปน จาํ นวนและชวยลดการขาดดุลทางการคา อีกทงั้ ยงั ชวยกระตนุ เศรษฐกิจและสรา ง รายไดใ หแกป ระชาชนในระดบั ภูมภิ าคและทอ งถ่ินเปนจาํ นวนมากอกี ดว ย นอกจากนั้น การทองเทยี่ วประเภทนยี้ ังเปน สวนสาํ คญั ในการสง เสรมิ การแลกเปลย่ี น เรียนรูด า น วัฒนธรรม ซงึ่ นาํ ไปสกู ารสรา งเสรมิ ความเขาใจและความสมั พันธอันดีตอกันระหวา ง ประชาชนจากหลากหลายประเทศทวั่ โลก 3) Outbound Tour คอื การจัดรายการนําเทย่ี วเพื่อไปเย่ียมชมสถานทที่ อ งเทย่ี วใน ตางประเทศ สาํ หรบั นกั ทอ งเทย่ี วชาวไทย 10 อันดบั ประเทศทน่ี ักทองเท่ยี วชาวไทยนยิ ม เดนิ ทางไปไดแก ประเทศญปี่ ุน ไตหวนั นิวซีแลนด เบลเยียม ฝรงั่ เศส สวิสเซอแลนด สหรฐั อเมรกิ า สาธารณรฐั ประชาชนจนี และ องั กฤษ (www.Thaitravelcenter.com) การ ทองเทีย่ วประเภทน้เี ปน การเกดิ โลกทัศนและสรา งเสริมประสบการณใ นการสัมผัสและ เรียนรูวถิ ชี วี ิตและวฒั นธรรม รวมถึงทรัพยากรการทองเท่ียวทางธรรมชาติและลกั ษณะภูมิ

36 ประเทศของประเทศตา งๆ ซึง่ มีความแตกตา งจากประเทศไทย แตอ ยางไรกด็ ี การ ทอ งเท่ียวประเภทนี้เปน กิจกรรมท่ีทาํ ใหเงนิ รั่วไหลออกนอกประเทศเปน จาํ นวนมาก ดังน้ัน จงึ ควรจาํ กัดการจบั จา ยใชส อยในตางประเทศ โดยเฉพาะการซือ้ สนิ คา ยห่ี อ ชนั้ นาํ หรือ สนิ คา แบรนดเนมจากตางประเทศ ซึง่ มีราคาสูงมากเมื่อเปรยี บเทยี บกบั สินคา ของคนไทย ท่ีผลิดในประเทศไทยในระดบั คณุ ภาพใกลเ คียงกนั ประเภทของการจัดรายการนาํ เทยี่ วตามเกณฑป ระเภทนักทอ งเทย่ี ว สามารถแบง ได 2 ประเภท ดังนี้ 1) Package Tour คอื การจดั รายการนําเทีย่ วแบบสาํ เรจ็ รปู โดยมีการกาํ หนดสถานที่ ทอ งเท่ยี ว กิจกรรม ระเวลาและกาํ หนดการ รวมถึงยานพาหนะและคาใชจ า ยในการ ทองเท่ียวไวเ รยี บรอยเลว สําหรบั นักทองเที่ยวโดยทว่ั ไปทส่ี นใจสามารถเลอื กซ้อื รายการนําเทย่ี วแบบสาํ เร็จรปู นไ้ี ดและกลุม นกั ทอ งเท่ยี วทเ่ี ดินทางทอ งเทีย่ วรว มกนั โดยสว นใหญจ ะเปนคนทไ่ี มร จู ักกนั มากอ น คอื ตางคนตา งมาซอื้ รายการนาํ เทย่ี วและ เดนิ ทางทอ งเทย่ี วรว มกนั การจัดรายการนําเทย่ี วแบบนม้ี ักจะมกี ารกําหนดจาํ นวน นกั ทอ งเทย่ี วเพอ่ื ความคมุ ทนุ ในการใหบรกิ ารนาํ เทย่ี วแตละครงั้ รายการนาํ เทยี่ วแบบ นี้มักจะไมม กี ารเปล่ยี นแปลงหากไมม คี วามจําเปน จริงๆ เนือ่ งจากเปน เหมอื นขอ ตกลง ท่ใี หไ วก บั นกั ทอ งเทีย่ วทีซ่ อ้ื รายการนําเทยี่ วนนั้ ๆ หากนาํ เทย่ี วโดยไมต รงกบั รายการ นําเที่ยวหรอื กาํ หนดการทแี่ จง ไวก ับนกั ทองเทย่ี ว โดยไมไดรับความยนิ ยอมจากลูก ทัวรถือวา เปน การผิดสญั ญาและอาจนาํ มาซ่ึงการฟองรอ งได 2) Group Tour คอื การจัดรายการนําเทยี่ วเพื่อตอบสนองความตอ งของนักทองเทยี่ ว ทมี่ าเปนหมูค ณะ เชน กลมุ นกั เรียน นกั ศึกษา กลมุ ประชุมสมั มนา หรอื กลมุ คนที่ รวมตวั กนั เพ่อื ตอ งการเดินทางทอ งเที่ยว รายการทอ งเทีย่ วแบบนม้ี ีความยดื หยนุ มากกวารายการนาํ เที่ยวแบบสาํ เรจ็ รูป ซ่งึ อาจมกี ารเปลี่ยนแปลงไดท ้งั ดา นแหลง ทอ งเท่ียว ทพี่ กั อาหาร และกจิ กรรมตา งๆ ท่ีเก่ียวขอ ง ขึ้นอยูก บั ความตอ งการและ งบประมาณของลกู คาหรือนกั ทอ งเทยี่ ว การคดิ ราคาการนาํ เท่ียวก็จะคดิ เปนรายหวั หรือรายบุคคล โดยอาจไดร บั สว นลดจะมากหรอื นอยข้ึนอยูกบั จํานวนนกั ทอ งเทย่ี ว การตอรอง และรายละเอยี ดของรายการนําเท่ยี วทต่ี อ งการ 3) Independent Tour or Private Tour คอื การจดั รายการนาํ เทย่ี วตามความตองการ ของนักทอ งเทย่ี วทม่ี าใชบ รกิ ารแบบรายบคุ คลหรอื คสู ามภี รรยา หรือครอบครัว หรือ กลมุ นกั ทองเทย่ี วทม่ี จี ํานวนนอย ประมาณ 1-5 คน การทองเทยี่ วแบบนจี้ ะมคี วาม ยืดหยนุ ตามความตองการของนกั ทอ งเทยี่ ว นกั ทอ งเที่ยวที่มาดว ยกันรูจักกนั ดแี ละ

37 ยนิ ดีจะเดนิ ทางทอ งเทยี่ วรวมกัน คาใชจา ยในการทอ งเทยี่ วแบบน้มี กั จะมรี าคาสงู กวา การทองเทยี่ วแบบกลมุ หรือหมูคณะข้นึ อยกู บั พาหนะทใ่ี ชในการเดนิ ทาง แหลง ทอ งเท่ยี ว และกจิ กรรมดานการทองเทย่ี ว 4) Incentive Tour คอื การจดั รายการนําเทยี่ วใหแ กบ รษิ ทั หา งรา น หรอื โรงงาน เพ่อื เปน รางวลั ใหแ กพ นกั งาน การตดิ ตอ จะเกิดข้นึ ระหวา งผูประกอบการตางๆ ทีต่ อ งการจัด นาํ เท่ยี วเพ่ือเปน รางวลั แกพ นักงานของตน กับธรุ กิจนาํ เท่ียว ซงึ่ จะมกี ารพูดคุยและตก ลงกนั เรอ่ื งสถานทีทองเทยี่ ว พาหนะในการเดนิ ทาง ท่พี กั อาหาร และกจิ กรรมอนื่ ๆ ท่ี เกีย่ วขอ ง โดยการคิดราคาจะเปนราคาแบบเหมาจายรายบคุ คลหรือตอ หัว โดยบริษทั หรอื ผปู ระกอบการจะเปน ผอู อกคาใชจายใหก บั พนกั งานของตน นอกจากนน้ั ธุรกจิ นาํ เทยี่ วยังมกี ารบริการตางๆ ไวสําหรบั นกั ทองเทยี่ วรายบคุ คลตาม ความตองการ เชน การรบั จองตัว๋ เครื่อง การรับจองทพี่ กั การบริการใหเ ชาพาหนะในการเดนิ ทาง เปน ตน ซง่ึ การบรกิ ารเหลา นี้ นกั ทอ งเที่ยวสามารถซื้อหรือใชบ ริการตามที่ตองการ หากไมต อ งการ ซื้อรายการนําเที่ยวที่จัดไวเ รยี บรอยแลว กส็ ามารถใชบรกิ ารอื่นๆ และเดินทางทองเท่ยี วดว ยตนเอง หรือจะขอคําแนะนําและขอ มูลจากธุรกิจนาํ เท่ยี วดวยกไ็ ด ประเภทของการจดั รายการนําเที่ยวตามเกณฑว ัตถุประสงคดา นการทอ งเทย่ี วและ แหลง ทอ งเทีย่ ว สามารถแบง ได หลายประเภท ดงั น้ี 1) Eco tour การทองเทีย่ วเชิงนิเวศ คือ “การทอ งเท่ยี วในแหลงธรรมชาติทมี่ ีเอกลกั ษณ เฉพาะถน่ิ และแหลง วัฒนธรรม ท่เี ก่ียวเนอื่ งกบั ระบบนเิ วศ โดยมีกระบวนการเรยี นรูรว มกันของผทู ี่ เก่ยี วขอ งภายใตก ารจดั การส่งิ แวดลอ มและการทองเทยี่ วอยา งมสี ว นรว มของทองถน่ิ เพ่ือมงุ เนน ให เกดิ จิตสาํ นกึ ตอ การรักษาระบบนิเวศอยา งยงั่ ยนื ” (วิมล จิโรจพนั ธุ และคณะ, 2548) องคประกอบ หลกั ของการจดั รายการนาํ เท่ยี วเชิงนิเวศ คอื แหลงทอ งเทย่ี วทางธรรมชาติ การสัมผสั และเรยี นรู เกยี่ วกับส่งิ แวดลอมและวัฒนธรรมในพ้ืนท่ีนนั้ ๆ และสงิ่ ที่สาํ คัญคอื ขอ พงึ ปฏบิ ตั ิของนักทองเทย่ี ว เกี่ยวกบั การแตงกายและการปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบของแตละสถานทอี่ ยางเครง ครดั และละเวน การปฏบิ ัตติ ามขอหา มตา งๆ เชน การขีดเขียน การเกบ็ ใบไม กอนหนิ หรือของปา และการทง้ิ ขยะ เปนตน หลองทอ งเทย่ี วทน่ี กั ทองเทย่ี วนยิ มทอ งเทีย่ วเชงิ นเิ วศ ไดแก อทุ ยานแหง ชาติตางๆ ซ่ึงเปน แหลงทรัพยากรธรรมชาตทิ สี ําคัญของประเทศทีม่ ีความหลากหลายดา นระบบนเิ วศและมคี วาม สวยงามทางธรรมชาติ เชน อุทยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท อทุ ยานแหง ชาตหิ ว ยนาํ้ ดัง และอุทยาน แหงชาตเิ ขาใหญ เปน ตน

38 2) Adventure Tour คอื การทองเทีย่ วแบบผจญภัย โดยสวนใหญม ักจะเปนกจิ กรรมที่ ทําในแหลงทอ งเทยี่ วทางธรรมชาติ เพ่อื ความสนกุ สนานและความตน่ื เตน ซึง่ เหมาะกบั หนุม สาวที่ อยใู นวนั รุน ที่ตอ งการความเปลกใหม ทา ทายและอยากลอง ตวั อยางกิจกรรมการทอ งเที่ยวแบบ ตื่นเตนผจญภยั ไดแก การเดนิ ปา การปนเขา การลอ งแกง การลองแพ เพ่อื เทยี่ วชมความงามของ ธรรมชาติและส่งิ แวดลอม การทอ งเท่ยี วประเภทนีอ้ าจจดั อยใู นการทองเทย่ี วเชงิ นิเวศก็ได แตวา จะ เนน กิจกรรมทต่ี ่ืนเตนและทาทายเปนสาํ คญั 3) Agro Tour การทอ งเทย่ี วเชงิ เกษตร คือการทองเทย่ี วในแหลง เกษตรกรรม เรอื กสวน ไรน าและฟารม ปศสุ ัตว เพอ่ื ประสบการณทแี่ ปลกใหม และเรยี นรูว ถิ ีชวี ิตเกษตรกร ตวั อยา งแหลง ทองเที่ยวเชงิ เกษตรทีไดร ับความนยิ ม ไดแ ก นาขา ว ไรส ม ไรอ งุน ฟารมนกกระจอกเทศ และฟารม โคนม กจิ กรรมทีน่ ักทองเท่ยี วสามารถทาํ ไดค อื การเย่ยี มชมพนื้ ท่ีทางการเกษตร วธิ ีการทาํ การเกษตรและฟารมปศสุ ัตว รวมไปถงึ การทดลองปฏบิ ตั ิจรงิ และการซื้อสินคาทางการเกษตรเปน ของฝากของทร่ี ะลึก 4) Diving Tour คือ การทองเท่ียวที่เนนกจิ กรรมดํานาํ้ เพอื่ ชน่ื ชมความงามของธรรมชาติ ใตทองทะเล การดาํ นา้ํ มี 2 ประเภทใหญๆ คอื การดาํ ผิวนาํ้ (Snorkeling) ละการดํานํ้าลกึ (Scuba Diving) การดาํ ผวิ นา้ํ ไมจ าํ เปน ตองการไดร ับการฝกฝนและเรยี นรมู ากนกั เพยี งแตการ แนะนาํ วธิ กี ารและการใชอปุ กรณท ี่จาํ เปน ก็เพียงพอ สว นการดาํ นา้ํ ลกึ นกั ทอ งเทย่ี วควรไดรับการ เรยี นรูและฝกฝนเปน อยา งดกี อนทีจ่ ะดาํ นาํ้ อกี ทงั้ มัคคเุ ทศกก็ควรมคี วามชาํ นาญและสามารถให คาํ แนะนาํ นักทอ งเทยี่ วไดเกยี่ วกับสถานทแ่ี ละสิ่งที่สามารถพบไดใ ตนาํ้ รวมถึงวิธการในการปอ งกนั ตวั และแกปญ หาหากมอี ันตรายเกดิ ขึน้ สถานทที่ ่ีนกั ทอ งเทยี่ วนิยมไปดาํ น้ํา ไดแก หมเู กาะสุรนิ ทร หมูเกาะสมิ ิลนั จงั หวัดพงั งา เปน ตน 5) Cruise Tour การทอ งเทย่ี วโดยการลอ งเรือสาํ ราญ คอื การทอ งเทยี่ วทางน้ําเพ่อื ชม ธรรมชาติและทํากจิ กรรมตา งๆ บนเรอื ซ่งึ เปนสถานทที่ น่ี กั ทอ งเทีย่ วใชช วี ติ และทาํ กจิ กรรมระหวา ง การเดนิ ทางทอ งเทยี่ ว อาจมีการแวะทอ งเท่ียวตามเมอื งทา ตางๆ ท่ีผา นไปตามท่กี าํ หนด 6) Study Tour คอื การทศั นศกึ ษา หรือการทอ งเท่ยี วเพ่อื การศกึ ษาหาความรู ข้ึนอยกู ับ วตั ถปุ ระสงคใ นการจัด โดยทวั่ ไปการจัดรายการนาํ เทย่ี วเพือ่ การทัศนศึกษา จะประกอบไปดวย แหลง ทองเทย่ี วตางๆ ไดแ ก พิพธิ ภัณฑ สถานทที่ อ งเทีย่ วทางธรรมชาติ และสถานทที่ อ งเท่ียวทาง ประวัติศาสตรและศลิ ปวัฒนธรรม

39 7) Sightseeing Tour การทอ งเท่ยี วแบบชนื่ ชมธรรมชาติดว ยสายตามากกวา การทาํ กจิ กรรมอ่ืนๆ การทองเที่ยวประเภทนมี้ กั จะใชพ านหะในการเดนิ ทางมากกวา การเดินเนอื่ งจาก พ้นื ที่มีขนาดใหญ เชน การน่ังรถ 8) City Tour คือ การทองเทย่ี วเพอื่ ชมเมืองและวิถชี วี ติ ผคู น อาจเปนการทอ งเทยี่ วทาง รถยนต รถไฟ หรอื การเดนิ เพื่อใหไ ดพ บเหน็ สง่ิ กอสราง ถนนหนทาง และวถิ ชี วี ติ ชมุ ชนเมอื ง ปจจบุ ันน้ตี ามเมอื งทองเที่ยวหลกั จะจดั รถบสั หรอื รถชมเมอื งไวคอยบรกิ าร โดยเดินทางไปยงั สถานทตี่ า งๆ ทม่ี คี วามสาํ คญั และมีการบรรยายประกอบจากมคั คเุ ทศกห รือจากเครื่องบันทกึ เสยี ง เพ่อื ใหน ักทอ งเที่ยวไดช มเมอื งและสถานท่ีสําคญั ไดอ ยา งทว่ั ถงึ ในระยะเวลาจํากัด พรอ มท้งั ได ความรเู กยี่ วกบั ประวัติความเปนมาและความสาํ คัญดว ย โดยทัว่ ไปการชมเมอื งมกั จะใชเวลาคร่งึ วันหรือหน่ึงวนั ในการชม 9) Cultural tour การทอ งเทีย่ วเชงิ วัฒนธรรม คอื การทองเทยี่ วตามสถานทีท่ เ่ี ปน แหลง ศิลปวัฒนธรรม เชน วดั วาอาราม ปราสาทราชวงั แหลง โบราณคดี อุทยานประวตั ิศาสตร พิพธิ ภัณฑ และวถิ ีชวี ิตชมุ ชนตางๆ ทีม่ ีเอกลกั ษณโ ดดเดน และความนา สนใจ ตัวอยา งแหลง ทองเที่ยวทางวัฒนธรรม ไดแ ก อุทยานประวตั ิศาสตรพระนครศรอี ยธุ ยา อทุ ยานประวัติศาสตร สทุ ัย ศรสี ชั นาลัย กาํ แพงเพชร แหลงโบราณคดีบา งเชียง ชาวเขาเผา กระเหรีย่ ง ชาวเขาเผา มง วถิ ี ชวี ิตชุมชนริมนาํ้ และตลาดนํา้ เปน ตน 10) Spa and Medical Tour การทอ งเที่ยวเพอื่ สขุ ภาพ ในปจจบุ นั ผูคนรวมถึง นักทอ งเทย่ี วไดใ หค วามสาํ คญั และความสนกบั สุขภาพทงั้ ดานรา งกายและจติ ใจของตนเองมากขน้ึ ดงั นน้ั กิจกรรมตางๆ ดานการทองเทยี่ วทส่ี งเสริมสขุ ภาพกายและใจทด่ี กี ็เปน ส่ิงทีไ่ ดร ับความนยิ ม เชน การนวดแผนไทย การบาํ บดั ดวยนํา้ การบาํ บัดดวยกลิ่น อาหารเพือ่ สขุ ภาพ กจิ กรรมเหลานี้ สามารถสอดแทรกอยใู นรายการนาํ เทย่ี วประเภทตา งๆ ได เพ่อื ใหน กั ทอ งเทย่ี วไดผอ นคลาย นอกจากประเภทการจัดรายการนําเที่ยวท่ีกลาวมาแลว ยังมีประเภทการทองเท่ียวอีก มากมายท่ีไดรับการพัฒนาข้ึนอยางตอเน่ืองตามความตองการของนักทองเที่ยว และการจัด รายการนําเท่ียวไมจําเปนตองมีวัตถุประสงคเดียวเสมอไป อาจเปนการนําเสนอแหลงทองเท่ียว และกิจกรรมท่ีมีความหลากหลาย ทั้งนี้ทั้งน้ันก็ขึ้นอยูกับความตองการของนักทองเท่ียวและความ เหมาะสมในการจดั รายการภายในเสน ทางและระยะเวลาทีก่ ําหนด

40 8. ขอดแี ละขอ จาํ กดั ของการใชบรกิ ารธุรกิจนําเทย่ี ว จากการที่ธุรกิจนําเท่ียวมีการบริการตางๆท่ีสามารถตอบสนองความตองการของ นักทองเที่ยวอีกทั้งธุรกิจนําเที่ยวยังเปนตัวกลางระหวางธุรกิจตางๆในอุตสาหกรรมการทองเท่ียว และนักทองเท่ียวท่ีมีอํานาจในการตอรองราคากับธุรกิจท่ีพัก รานอาหาร และการขนสงและธุรกิจ อ่ืนๆที่เก่ียวของกับการท่ีนักทองเที่ยวใชบริการธุรกิจทองเท่ียวโดยเฉพาะการซ้ือรายการนําเท่ียวมี ขอดีดงั ตอไปน้ี 1. ประหยดั คา ใชจ ายมากกวาการไปทอ งเท่ียวดวยตนเอง 2. รูคาใชจายทแ่ี นน อน งบไมบานปลาย 3. ไดรับความสะดวกตลอดการเดินทางทองเท่ียว 4. ไมตอ งกงั วลเร่อื งทีพ่ ัก,อาหารและการเดินทาง 5. ไดรบั ความรูเกยี่ วกบั แหลง ทอ งเท่ียว 6. ไดร ับความปลอดภยั 7. ไมจําเปนตองมีเพ่ือนไปดวยก็สามารถเดินทางรวมกับคนอ่ืนๆที่ซ้ือการนําเที่ยว เดยี วกนั 8. ไดพ บเพือ่ นใหมกบั คนอื่นๆที่รว มเดินทางดว ยกัน ถงึ แมนักทอ งเทย่ี วจะไดร ับการบริการและการอํานวยความสะดวกจากธุรกิจท่ีพักและ มคั คเุ ทศกต ามทีไ่ ดก ลา วไวแ ล แตการใชบรกิ ารธุรกจิ นําเทยี่ วกม็ ีขอ จํากดั ในดานตา งๆดังน้ี คือ 1. สถานที่ทองเท่ียวที่ไมสามารถเลือกไดตามใจชอบเฉพาะบุคคลเพราะถูกกําหนดไว แลว ในรายการนําเท่ยี ว 2. ระยะเวลาในการเท่ียวชมแตละสถานที่ไมสามารถเลือกไดตามใจชอบเฉพาะบุคคล เพราะถกู กําหนดไวแ ลว ในรายการนําเทีย่ ว 3. ท่ีพักไมสามารถเลือกไดตามใจชอบเฉพาะบุคคลเพราะถูกกําหนดไวแลวในรายการ นาํ เท่ยี ว 4. อาหารท่ีไมสามารถเลือกไดตามใจชอบเฉพาะบุคคลเพราะถูกกําหนดไวแลวใน รายการนาํ เทย่ี ว

41 5. เพื่อนรวมเดินทางก็อาจจะเปนบุคคลที่เราไมชอบ แตก็ตองรวมเดินทางในการ ทองเทยี่ วดวย 9. สถิติธุรกิจนําเท่ียวในประเทศไทย ประกอบไปดวยจํานวนธุรกิจนําเท่ียวทั้งหมดในประเทศ ไทย ธุรกิจนําเทยี่ วรายใหม และธุรกจิ นาํ เทีย่ วทข่ี อยกเลิกใบอนุญาต 9.1 ธุรกิจนําเที่ยวในประเทศไทย มีทั้งหมดจํานวน 8,208 ราย แบงเปน ธุรกิจนําเท่ียว เฉพาะพ้ืนที่จํานนวน 3,479 ราย ธุรกิจนําเท่ียวในประเทศ (Domestic Tour) จํานวน 1,066 ราย ธุรกิจนําเที่ยวแบบตางประเทศ (Inbound Tour) จํานวน 1,446 ราย และ ธุรกิจนําเที่ยวแบบ ตางประเทศ (Outbound Tour) จํานวน 2,217 รวย กราฟแทงท่ี 2.1 แสดงจํานวนธุรกิจนําเที่ยวท่ี 4 ประเภท ตามที่กลาวขางตน 4000 3479 3200 2400 2217 1600 1446 1066 800 0 Domestic Inbound Outbound เฉพาะพน้ื ท่ี กราฟแทงท่ี 2.4: จํานวนธุรกิจนําเที่ยวท้ังหมดในประเทศไทย แยกตามประเภทธุรกิจนํา เท่ียว แหลง ขอ มลู ฐานขอมูลธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก สํานักงานทะเบียนธุรกิจนําเท่ียวและ มัคคุเทศกก ลาง ขอ มลู ณ วันท่ี 3 มิถุนายน 2553

42 9.2 ธุรกิจนําเท่ียวรายใหมในประเทศไทย สําหรับธุรกิจนําเที่ยวรายใหมที่ไดรับ ใบอนุญาตภายในระยะเวลาประมาณ 2 ป ระหวางวันที่ 6 เมษายน 2551 ถึง วันท่ี 3 มิถุนายน 2553 มจี าํ นวนทั้งสิน้ 4,309 ราย แบงเปน ธุรกิจนําเท่ียวเฉพาะพื้นท่ีจํานนวน 1,699 ราย ธุรกิจนํา เท่ียวในประเทศ (Domestic Tour) จํานวน 536 ราย ธุรกิจนําเที่ยวแบบตางประเทศ (Inbound Tour) จํานวน 1,399 ราย และ ธุรกิจนําเที่ยวแบบตางประเทศ (Outbound Tour) จํานวน 745 ราย กราฟแทงท่ี 2.2 แสดงจํานวนธรุ กจิ นาํ เทยี่ วที่ 4 ประเภท ตามที่กลาวขางตน 1700 1629 1399 1360 745 1020 536 Inbound Outbound 680 Domestic 340 0 เฉพ าะพ้ื นท่ี กราฟแทงที่ 2.5: จํานวนธุรกิจนําเท่ียวรายใหมในประเทศไทย แยกตามประเภทธุรกิจนํา เทยี่ ว ระหวางวันที่ 6 เมษายน 2551 ถงึ วนั ท่ี 3 มิถุนายน 2553 แหลง ขอ มลู ฐานขอมูลธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก สํานักงานทะเบียนธุรกิจนําเท่ียวและ มคั คเุ ทศกกลาง ขอมูล ณ วนั ท่ี 3 มถิ นุ ายน 2553 9.3 ธรุ กจิ นาํ เทยี่ วทข่ี อยกเลิกใบอนุญาต ถึงแมว าจาํ นวนธรุ กิจนาํ เที่ยวในประเทศ ไทยจะมีเปน จาํ นวนกวา 8,000 ราย และเปนธุรกจิ นาํ เทย่ี วรายใหมมากกวา 50% หรือ 4,309 ราย แตจ ํานวนธุรกจิ ที่ขอยกเลกิ ใบอนญุ าตประกอบธุรกิจนาํ เทยี่ วระหวา งปเ ดยี วกนั กับธรุ กิจนาํ เทยี่ ว รายใหม (ระหวางวนั ท่ี 6 เมษายน 2551 ถงึ วนั ที่ 3 มถิ นุ ายน 2553) มีจาํ นวนถงึ 2,409 ราย หรอื มากกวา 50% ของธรุ กจิ นําเทย่ี วรายใหมทเ่ี กดิ ข้นึ ในชว งระยะเวลาเดียวกนั โดยธุรกจิ นําเท่ียวท่ีขอ ยกเลิกใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เทยี่ วแบง ตามประเภท มดี ังน้ี ธรุ กิจนาํ เทย่ี วเฉพาะพน้ื ที่จาํ นน

43 วน 767 ราย ธุรกจิ นําเทย่ี วในประเทศ (Domestic Tour) จาํ นวน 283 ราย ธรุ กิจนาํ เทยี่ วแบบ ตา งประเทศ (Inbound Tour) จํานวน 136 ราย และ ธรุ กิจนําเท่ียวแบบตา งประเทศ (Outbound Tour) จาํ นวน 1,223 ราย กราฟแทงท่ี 2.3 แสดงจาํ นวนธุรกิจนาํ เทยี่ วทงั้ 4 ประเภท ตามทก่ี ลา ว ขา งตน 1300 1223 1040 780 767 520 283 136 Outbound Domestic Inbound 260 0 เฉพ าะพ้ื นท่ี กราฟแทงท่ี 2.6: จํานวนธุรกิจนําเท่ียวในประเทศไทยท่ีขอยกเลิกใบอนุญาตประกอบ ธุรกจิ นาํ เทยี่ ว ระหวา งวันท่ี 6 เมษายน 2551 ถงึ วันที่ 3 มิถนุ ายน 2553 แหลงขอมูล ฐานขอมูลธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก สํานักงานทะเบียนธุรกิจนําเที่ยวและ มคั คุเทศกกลาง ขอมลู ณ วันท่ี 3 มิถนุ ายน 2553 สรปุ ทา ยบท ธุรกิจนําเที่ยวเปนธุรกิจหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญตออุตสาหกรรมทองเท่ียวท้ังในดาน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม ธุรกิจนําเท่ียวสามารถจําแนกออกไดเปน 4 ประเภท ตามประเภทใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเท่ียว ไดแก ธุรกิจนําเท่ียวเฉพาะพื้นที่ ธุรกิจนําเที่ยว ภายในประเทศ (Specific Area Tour Company) ธุรกิจนําเท่ียวแบบตางประเทศ (Inbound Tour Company) และธุรกิจนําเท่ียวแบบตางประเทศ (Outbound Tour Company) ธุรกิจนําเท่ียวแต ละประเภทเหลาน้ีนอกจากจะมีการจัดรายการนําเท่ียวและนํานักทองเท่ียวไปเท่ียวตามสถานท่ี ทองเท่ยี วตางๆ แลว ยังมีการบริการอ่ืนๆ เพื่อตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยว ไดแก การ รับจองหองพัก การรับจองตั๋วเครื่องบิน การบริการรถเชา การบริการขอมูลดานการทองเที่ยว เปน ตน แตอยางไรก็ดี การใชบริการของธุรกิจนําเท่ียวก็มีท้ังขอดีและขอจํากัดตามท่ีกลาวมาแลว

44 ดังนั้น ส่ิงท่ีธุรกิจนําเท่ียวควรทําคือการปรับปรุงคุณภาพการบริการและพัฒนารูปแบบของการ บริการใหส อดคลองกบั ความตอ งการนักทอ งเทย่ี ว ในปจ จบุ นั ธรุ กิจนําเท่ียวในประเทศไทยไดมีการ เจริญเติบโตและเพิ่มจํานวนมากข้ึน โดยเฉพาะในระยะไมก่ีปท่ีผานมาที่ธุรกิจนําเท่ียวเพิ่มจํานวน ข้ึนมากกวา 50% ของธุรกิจนําเท่ียวท้ังหมดในปจจุบัน ในขณะเดียวกัน ก็มีธุรกิจนําเที่ยวอีก จํานวนไมนอยท่ีเลิกกิจการ ดังนั้น การประกอบธุรกิจนําเท่ียว จึงควรมีการศึกษาสถานการณและ ปจ จยั แวดลอ มตา งๆ ทเี่ ก่ยี วขอ งและปรับตัวเพื่อความอยรู อดและผลกําไรของธรุ กจิ ตอ ไป คําถามทบทวน 1. จงบอกความหมายและอธบิ ายขอบขา ยการบริการของธรุ กจิ นําเท่ยี ว 2. ประเภทของธรุ กิจนําเท่ียวมอี ะไรบาง จงอธบิ าย 3. รปู แบบของการจดั รายการนาํ เทีย่ วมีอะไรบา ง จงอธบิ าย 4. จงบอกขอดแี ละขอจาํ กดั ของการใชบรกิ ารธุรกจิ นาํ เทย่ี ว 5. จงอธิบายแนวโนม การเจริญเตบิ โตของธุรกิจนาํ เทย่ี วในประเทศไทย

45 เอกสารอางองิ พระราชบัญญตั ธิ รุ กิจนําเทย่ี วและมคั คเุ ทศก พ.ศ.2551 ธเนศ ศรีสถิตย, (2550) หนว ยท่ี 5 การจัดการธรุ กิจนาํ เทย่ี ว, การจดั การธุรกิจในแหลงทองเทย่ี ว, มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช สํานักงานทะเบียนธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศกกลาง ฐานขอมูลธุรกิจนําเท่ียวและมัคคุเทศก จํานวนธุรกิจนําเที่ยวทั้งหมดในประเทศไทย แยกตามประเภทธุรกิจนําเท่ียว ระหวาง วันท่ี 6 เมษายน 2551 ถงึ วนั ที่ 3 มิถนุ ายน 2553ขอ มลู ณ วันที่ 3 มถิ นุ ายน 2553 สํานักงานทะเบียนธรุ กจิ นาํ เท่ียวและมัคคเุ ทศกก ลาง ฐานขอมลู ธุรกิจนาํ เทย่ี วและมคั คุเทศก จาํ นวนธุรกจิ นาํ เทยี่ วรายใหมในประเทศไทย แยกตามประเภทธุรกิจนาํ เทย่ี ว ระหวา ง วันท่ี 6 เมษายน 2551 ถงึ วนั ที่ 3 มถิ นุ ายน 2553 ขอ มลู ณ วนั ท่ี 3 มถิ ุนายน 2553 สาํ นักงานทะเบียนธรุ กจิ นาํ เทย่ี วและมคั คุเทศกก ลาง ฐานขอมูลธุรกจิ นาํ เทยี่ วและมัคคุเทศก จาํ นวนธุรกจิ นาํ เทยี่ วในประเทศไทยทขี่ อยกเลิกใบอนุญาตประกอบธรุ กจิ นาํ เทยี่ ว ระหวา งวันท่ี 6 เมษายน 2551 ถงึ วนั ท่ี 3 มถิ ุนายน 2553 ขอ มลู ณ วนั ท่ี 3 มถิ นุ ายน 2553

46 แผนบรหิ ารการสอนประจําบทที่ 3 หวั ขอ เนื้อหา 1. ประเภทใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เทย่ี ว 2. คณุ สมบัตขิ องผขู อรบั ใบอนญุ าตประกอบธุรกจิ นาํ เทยี่ ว 3. เอกสารประกอบการขอรับใบอนญุ าตประกอบธุรกิจนาํ เทย่ี ว 4. สาํ นกั ทะเบียนธรุ กิจนาํ เท่ียวและมัคคเุ ทศกแ ละการยน่ื ขอจดทะเบียน 5. ขน้ั ตอนการออกใบอนญุ าตประกอบธุรกิจนําเทยี่ ว 6. ตัวอยา งใบอนญุ าตประกอบธุรกจิ นาํ เทย่ี ว 7. ขอ กาํ หนดเกี่ยวกับการประกอบธรุ กจิ นาํ เทยี่ ว 8. การส้ินสุดใบอนุญาตประกอบธรุ กจิ นาํ เทย่ี ว วตั ถปุ ระสงคเ ชงิ พฤติกรรม 1. ผูเ รียนสามารถอธิบายประเภทใบอนุญาตประกอบธรุ กจิ นําเทยี่ วได 2. ผูเรยี นสามารถอธิบายคุณสมบัติของผขู อรบั ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนาํ เทีย่ วได 3. ผูเรียนสามารถอธิบายเอกสารประกอบการขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจนํา เท่ยี วได 4. ผูเรยี นสามารถอธบิ ายขั้นตอนและการย่ืนขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเทย่ี วได 5. ผูเรียนสามารถอธิบายขอกําหนดเก่ียวกับการประกอบธุรกิจนําเที่ยวและการ ส้นิ สุดใบอนญุ าตประกอบธุรกิจนาํ เท่ียวได วิธสี อนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. วธิ ีสอน 1.1 การบรรยายโดยใช PowerPoint Presentation ประกอบ 2. กจิ กรรมการเรยี นการสอน 2.1 การมอบหมายใหน ักศกึ ษากรอกขอ มลู ในแบบฟอรม การขอใบอนญุ าตประกอบ ธรุ กิจนาํ เทย่ี ว

47 ส่อื การเรยี นการสอน 1. PowerPoint Presentation 2. Website เกี่ยวกบั การจดั ตงั้ และการจดทะเบียนธุรกจิ นําเท่ยี ว การวดั และประเมินผล 1. การเขา ชนั้ เรียนและการตรงตอ เวลา 2. กจิ กรรมเดี่ยว คะแนนดิบ 10 คะแนน

48 บทท่3ี การจดั ตง้ั ธรุ กจิ นําเทย่ี ว 1. บทนํา ธุรกิจนําเท่ียวในประเทศไทยจัดต้ังขึ้นตามพระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและ มัคคุเทศก พ.ศ.2551 หลังจากที่ไดยกเลิกพระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก พ.ศ.2535 และ พระราชบญั ญตั ธิ รุ กจิ นาํ เทยี่ วและมคั คุเทศก (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 เดิมการทองเที่ยวแหงประเทศไทย เปนหนวยงานท่ีรับจดทะเบียนธุรกิจนําเท่ียวและ มัคคุเทศกและทาํ หนา ที่ควบคุมดแู ลธรุ กิจนาํ เทย่ี วใหด ําเนนิ ธุรกิจตามกฎหมาย แตเ นอ่ื งจากมีการ ปรับปรุงระบบและโครงสรางการบริหารราชการและหนวยงานของรัฐในป พ.ศ.2545 จึงไดมีการ จัดตั้งกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา และกําหนดใหสํานักทะเบียนธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก ทําหนาท่ีดําเนิน การเกี่ยวกับการออกใบอนุญาตตออายุใบอนุญาต สั่งพักหรือเพิกถอน ใบอนุญาตการรับชําระคาธรรมเนียมเกี่ยวกับธุรกิจนําเท่ียว และมัคคุเทศก รวมท้ังการวาง หลักประกันของผูประกอบธุรกิจนําเท่ียว และการออกใบอนุญาตอื่นๆ ท่ีเก่ียวของกับธุรกิจนํา เทย่ี วและมัคคุเทศก (สาํ นกั ทะเบียนธุรกจิ นําเท่ียวและมัคคุเทศก, 2549) 1. ดําเนินการจัดทํา เก็บรักษา บันทึกและติดตามแกไขขอมูลและประวัติของธุรกิจ นาํ เทย่ี วและมคั คุเทศก 2. ประสาน สงเสริมและสนับสนุนหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เพื่อใหการประกอบธุรกิจ นําเท่ียวและมัคคเุ ทศกใ หเ ปน ไปตามทีก่ ฎหมายกําหนด 3. ดําเนิน การเก่ียวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการธุรกิจนําเที่ยวและ มัคคุเทศก และคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการธุรกิจนําเท่ียวและมัคคุเทศก แตงตง้ั เพอื่ ใหเ กดิ ความรคู วามเขาใจเก่ียวกับการจดั ตั้งและจะทะเบยี นธุรกจิ นําเที่ยว ในบทน้ี จงึ มีเน้อื หาครอบคลุมประเดน็ ตางๆ ดังน้ี 9. ประเภทใบอนญุ าตประกอบธรุ กิจนาํ เทย่ี ว 10. คณุ สมบตั ขิ องผขู อรับใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เทย่ี ว 11. เอกสารประกอบการขอรบั ใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เที่ยว 12. สาํ นักทะเบียนธรุ กจิ นาํ เที่ยวและมคั คุเทศกและการยน่ื ขอจดทะเบียน 13. ข้นั ตอนการออกใบอนุญาตประกอบธรุ กิจนาํ เที่ยว 14. ตวั อยา งใบอนญุ าตประกอบธุรกิจนาํ เทยี่ ว

49 2. ประเภทใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เที่ยว ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนาํ เที่ยวมี ๔ ประเภท ไดแ ก 1) ใบอนุญาตประกอบธรุ กจิ นําเทย่ี วเฉพาะพน้ื ที่ รหสั 13/***** หลักประกัน10,000 บาท สามารถประกอบธรุ กิจนาํ เทยี่ วไดเ ฉพาะจงั หวดั ทีข่ อจดทะเบยี นและจงั หวัดใกลเคยี ง ซง่ึ อยูใ นพน้ื ทเี่ ดยี วกนั เทา นั้น จาํ กัดการใหบ รกิ ารไดเ ฉพาะคนไทย 2) ใบอนุญาตประกอบธรุ กิจนําเทีย่ วในประเทศ (Domestic) รหสั 12/***** หลกั ประกนั 50,000 บาท สามารถประกอบธรุ กิจนาํ เทย่ี วทกุ จังหวดั ในประเทศไทยและใหบริการ ไดเ ฉพาะคนไทย 3) ใบอนญุ าตประกอบธุรกจิ นําเทย่ี วตางประเทศ (Inbound) รหสั 14/***** หลักประกนั 100,000 บาท สามารถประกอบธรุ กิจนาํ เท่ียวทกุ จงั หวดั ในประเทศไทยและใหบ รกิ าร ชาวตา งประเทศ หรอื การบรกิ ารนําชาวตางชาตเิ ขา มาทองเท่ยี วในประเทศไทย 4) ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนาํ เทยี่ วตา งประเทศ (Outbound) รหสั 11/***** หลกั ประกนั 200,000 บาท สามารถประกอบธรุ กิจนาํ เทย่ี วทง้ั ในและตางประเทศ ใหบ ริการไดท ง้ั ชาวไทยและชาวตา งประเทศ ตารางที่ 3.1 ประเภทใบอนญุ าตประกอบธรุ กิจนําเท่ยี ว ประเภทใบอนญุ าตประกอบ รหัส หลักประกัน คาธรรมเนียมในการ ขอรับใบอนญุ าต ธุรกจิ นําเทย่ี ว 100 บาท 300 บาท เฉพาะพน้ื ท่ี 13/xxxxx 10,000 บาท 500 บาท 500 บาท ในประเทศ (Domestic) 12/xxxxx 50,000 บาท ตางประเทศ (Inbound) 14/ xxxxx 100,000 บาท ตา งประเทศ (Outbound) 11/ xxxxx 200,000 บาท 3. คุณสมบัตขิ องผขู อรบั ใบอนุญาตประกอบธุรกจิ นําเท่ียว ผสู ามารถขอรับใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นําเท่ียวคือบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลหรือ บุคคลที่ไดรับการจดทะเบียนตามกฎหมาย ไดแก หางหุนสวนสามัญ หางหุนสวนจํากัด บริษัท จาํ กดั และบริษทั มหาชนจาํ กดั

50 3.1 คณุ สมบตั ิของบุคคลธรรมดาทสี่ ามารถขอรบั ใบอนุญาตประกอบธรุ กจิ นาํ เที่ยว มีดงั น้ี 1) มอี ายยุ ่สี บิ ปบ รบิ ูรณใ นวันยน่ื คําขอรบั ในอนุญาตประกอบธุรกิจนาํ เทยี่ ว 2) มสี ญั ชาตไิ ทย 3) มภี มู ลิ ําเนาหรือถ่ินท่ีอยูใ นประเทศไทย 4) ไมเ ปน บคุ คลลม ละลายหรอื อยใู นระหวา งถูกพทิ กั ษท รัพย 5) ไมเปนคนวิกลจรติ หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือเปน คนไรค วามสามารถ หรือเสมือนไรค วามสามารถ 6) ไมเ ปนผทู อ่ี ยรู ะหวา งถูกสงั่ พกั ใชใบอนุญาตประกอบธุรกจิ นําเที่ยวและยงั ไมพ น กาํ หนดหา ป นับถงึ วนั วนั ทย่ี ืน่ ขอรบั ใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เทย่ี ว 7) ไมเคยถกู เพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกจิ นาํ เทย่ี วเนือ่ งจากความผดิ ฐานชงิ ทรัพย ปลนทรพั ย ฉอโกง โกงเจา หน้ี หรือยกั ยอกทรพั ย หรอื ความผิดฐานฉอ โกง ประชาชน 8) ไมเ ปนผูทเ่ี คยถกู เพกิ ถอนใบอนุญาตและยงั ไมถึงหาป นบั ถงึ วนั ทย่ี น่ื ขอรบั ใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เทย่ี ว 3.2 คณุ สมบตั ิของนิตบิ ุคคลที่สามารถขอรบั ใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เทย่ี ว มดี งั น้ี • เปนนติ ิบุคคลตามกฎหมายไทยโดยมวี ัตถปุ ระสงคเพ่อื ประกอบกิจการเกย่ี วกบั การ ทอ งเทย่ี ว • ถาเปน หา งหนุ สวนนิติบคุ คล ผเู ปนหนุ สวนแบบไมจาํ กัดความรับผดิ ชอบตอ งเปนผมู ี สญั ชาตไิ ทย • ถา เปน บรษิ ัทจํากดั และบรษิ ทั มหาชนจาํ กัด บคุ คลธรรมดาสัญชาติไทยตอ งมีหนุ สว นไม นอยกวารอยละหา สิบของทนุ บรษิ ัท และกรรมการของบริษทั เกนิ ครึง่ หนง่ึ ตองเปน ผมู ี สัญชาติไทยและไมม ลี กั ษณะตอ งหา มตามคณุ สมบตั ขิ องบุคคลธรรมดาทีส่ ามารถขอรบั ใบอนุญาตประกอบธุรกจิ นําเท่ียวตามท่กี ลา วมาแลว ขางตน

51 4. เอกสารประกอบการขอรบั ใบอนุญาตประกอบธรุ กจิ นาํ เที่ยว (http://www.tourismcentre.go.th/) ไดแก 1) แบบคําขอใบอนญุ าตประกอบธรุ กิจนาํ เทยี่ ว 2) หนงั สือจัดต้ังเปน หา งหนุ สว นสามัญหรอื คณะบุคคล 3) สาํ เนาบัตรประจาํ ตัวประชาชน พรอมรับรองสาํ เนาถกู ตอ ง 4) สาํ เนาทะเบยี นบา นของผูมอี ํานาจ พรอมรบั รองสาํ เนาถกู ตอง 5) รปู ถา ยดานหนาสาํ นกั งาน 2 รูป 6) แผนทตี่ ั้งสาํ นกั งาน 7) หลักฐานแสดงกรรมสิทธ์ิหรอื สทิ ธิครอบครองของสถานที่ท่ีใชเ ปน สาํ นกั งาน 8) หนงั สือมอบอาํ นาจ (ถา ม)ี และสําเนาบัตรประชาชน 9) หนงั สือคา้ํ ประกันสาํ หรบั ผขู อใบอนุญาตรายใหม 10) ใบนําสง หลกั ประกัน 2 แผน 11) คาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบธรุ กจิ นาํ เท่ียว

52

53 ภาพท่ี 3.2 แบบคําขอใบอนญุ าตประกอบธุรกิจนําเท่ยี วบคุ คลธรรมดา ท่มี า http://www.tourismcentre.go.th/

54 ภาพที่ 3.3 แบบฟอรม รายละเอียดทตี่ ัง้ สํานักงานสาขา ทีม่ า http://www.tourismcentre.go.th/

55 ภาพที่ 3.4 แบบฟอรมภาพถายสํานักงานแสดงเลขทีต่ ั้งและปา ยช่ือสํานกั งาน ทมี่ า http://www.tourismcentre.go.th/

56 ภาพท่ี 3.5 แบบฟอรม แผนท่ีตง้ั สาํ นักงาน ท่มี า http://www.tourismcentre.go.th/

57

58 ภาพท่ี 3.6 หนังสอื ยินยอมใหใชส ถานทเี่ ปนที่ตัง้ สาํ นกั งาน ทีม่ า http://www.tourismcentre.go.th/

59 ภาพที่ 3.7 หนังสือมอบอํานาจ ที่มา http://www.tourismcentre.go.th/

60 ภาพท่ี 3.8 (ตัวอยา ง) หนงั สอื คํา้ ประกันธนาคาร ท่ีมา http://www.tourismcentre.go.th/

61 ภาพท่ี 3.9 ใบนาํ สงหลกั ประกัน ที่มา http://www.tourismcentre.go.th/

62 5. การยนื่ ขอจดทะเบยี น การย่ืนขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว สามารถยื่นไดที่สํานักทะเบียนธุรกิจนํา เที่ยวและมัคคุเทศก ซึ่งมีสํานักงานต้ังอยูในหลากหลายพื้นท่ีเพ่ืออํานวยความสะดวกใหแกผูที่ ตองการประกอบธรุ กิจนําเทย่ี ว ดังนี้ 1) กรุงเทพและจังหวัดภาคกลาง ยื่นขอ ฯ สํานักทะเบียนธุรกิจนําเท่ียวและมัคคุเทศก กรุงเทพฯ 2) จังหวัดอนื่ ยนื่ ขอ ณ สาํ นกั ทะเบียนธุรกิจนําเท่ยี วและมคั คุเทศก ประจาํ ภูมิภาค 2) ภาคเหนือ อําเภอเมอื ง จังหวดั เชียงใหม 3) ภาคใตฝงตะวันออก อาํ เภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 4) ภาคใตฝ ง ตะวนั ตก อําเภอเมือง จงั หวดั ภูเกต็ 5) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื อาํ เภอเมือง จงั หวดั นครราชสมี า 6. กระบวนการออกใบอนญุ าตประกอบธุรกจิ นาํ เทย่ี ว กระบวนออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเท่ียวใชเวลาภายใน 1 ช่ัวโมง สําหรับ ระยะเวลาในการออกใบอนุญาตเปน มัคคุเทศก ภายในเวลา 16 นาที โดยมีขั้นตอนในการพจิ ารณา และออกใบอนุญาตฯ ดงั แผนภาพท่ี 3.10

63 การยืน่ คําขอ / ตรวจเอกสาร เจา หนาที่ตรวจสอบความครบถวนของเอกสาร บันทึกขอมลู เขา สรู ะบบ เจาหนาทีบ่ ันทกึ ขอ มลู เขาสรู ะบบ ตรวจสอบคุณสมบัติ ตรวจสอบความถกู ตองโดยการเชอื่ มระบบขอมลู ตรวจสอบขอ กฎหมาย นติ กิ รตรวจสอบความตอ งโดยการเชอื่ มระบบขอมลู ใหค วามเหน็ ชอบ / ผา นเรือ่ ง หวั หนา กลมุ ทะเบียนธรุ กิจนําเที่ยว / มคั คเุ ทศก จา ยคาธรรมเนยี ม / วางหลักประกนั หัวหนา กลมุ บริหารงานท่วั ไป อนมุ ัติ / ออกใบอนุญาต นายทะเบียนกลาม / สาขา แผนภาพที่ 3.10 กระบวนการออกใบอนุญาตประกอบธรุ กจิ นาํ เที่ยว ที่มา http://www.tourismcentre.go.th/ 7. ตวั อยา งใบอนญุ าตประกอบธรุ กิจนําเท่ียว ตวั อยา งใบอนญุ าตประกอบธุรกจิ นาํ เทย่ี วดังท่ีปรากฎในหนา ถดั ไป

64 ภาพท่ี 3.11 ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวของบริษทั หนมุ สาวทัวร จาํ กดั ทม่ี า http://www.noomsaotours.com

65 8. อตั ราคา ธรรมเนยี ม อตั ราคา ธรรมเนยี มของใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เทยี่ ว ใบอนุญาตเปน มคั คเุ ทศก และการตอ อายุ มดี งั นี้ 1) ใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เทยี่ ว ฉบับละ 3,000 บาท 2) ใบแทนใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เทยี่ ว ฉบับละ 1,000 บาท 3) ใบอนุญาตเปน มัคคุเทศก ฉบับละ 1,500 บาท 4) ใบแทนใบอนญุ าตเปน มคั คเุ ทศก ฉบับละ 500 บาท 5) คาธรรมเนยี มประกอบธรุ กจิ นาํ เท่ียวรายสองป ครงั้ ละ 1,500 บาท 6) การตออายใุ บอนญุ าตเปน มคั คุเทศก ครง้ั ละ 1,500 บาท 9. ขอ กาํ หนดสาํ หรบั ผูป ระกอบการธรุ กจิ นาํ เท่ยี ว ขอกาํ หนดสาํ หรับผูประกอบการธรุ กจิ นาํ เทย่ี ว ตามพระราชบัญญัติธุรกิจนําเท่ียวและ มคั คเุ ทศก พ.ศ.2551 มดี ังน้ี 1. ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวตองแสดงใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเท่ียวไวในท่ีเปดเผย เหน็ ไดงา ย ณ สถานประกอบการที่ระบุไวในใบอนุญาตประกอบธรุ กิจนําเทีย่ ว 2. ผูประกอบธุรกิจนําเท่ียวตองไมกระทําการใดอันจะกอใหเกิดความเสียหายแก อุตสาหกรรมทองเทย่ี ว แหลง ทองเทย่ี ว หรอื นักทอ งเทีย่ ว 3. การโฆษณาเกี่ยวกับรายการนําเที่ยว ผูประกอบธุรกิจนําเท่ียวตองจัดทําเปนเอกสาร และมรี ายละเอียดดังนี้ เปนอยางนอ ย 1) ชื่อผูประกอบธุรกิจนําเท่ียว สถานที่ และเลขที่ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนํา เทยี่ ว 2) ระยะเวลาทีใ่ ชใ นการทอ งเท่ยี ว 3) คา บรกิ ารและวิธกี ารชําระคา บริการ 4) ลกั ษณะและประเภทของยานพาหนะที่ใชใ นการเดินทาง 5) จดุ หมายปลายทางและที่แวะพกั รวมทัง้ สถานทีส่ ําคญั ในการนาํ เท่ียว 6) ลกั ษณะและประเภทของท่พี กั และจํานวนครั้งของอาหารทจ่ี ดั ใหบ ริการ 7) จาํ นวนมคั คเุ ทศกหรอื ผูนาํ เท่ียว ในกรณที ีจ่ ดั ใหมมี ัคคเุ ทศกหรือผูน าํ เทยี่ ว 8) จํานวนนักทองเท่ียวขั้นต่ําสําหรับการนําเที่ยว ในกรณีมีเการกําหนดจํานวน นกั ทองเที่ยวขนั้ ต่าํ ไวแ ปนเงือ่ นไข 4. การเปลี่ยนแปลงรายการนําเท่ยี วใหผ ดิ ไปจากทีไดโ ฆษณาไว ผูประกอบธุรกิจนําเท่ียว ตองแจงใหนักทองเท่ียวทราบกอนรับชําระเงินคาบริการ การเปลี่ยนแปลงรายการนํา

66 เที่ยวภายหลังท่ีไดรับการชําระเงินจากนักทองเที่ยวแลว หากนักทองเที่ยวไมประสงค จะเดินทาง ผูประกอบธุรกิจนําเท่ียวตองคืนเงินที่รับชําระคาบริการแลวใหแก นกั ทอ งเท่ียวและไมห กั คาใชจ ายใดๆ ทัง้ สิ้น 5. การยกเลกิ การเดินทางทองเท่ียวมี 2 สาเหตุ 1) ในกรณที ี่นักทองเทย่ี วชาํ ระเงินคา บรกิ ารแลว ไมวา ทง้ั หมดหรอื บางสว น แตไม สามารถเดินทางทองเท่ียวไดตามที่กําหนด หรือ ยกเลิกการเดินทาง ดวย เหตุผลเฉพาะตัวบุคคลของนักทองเที่ยว โดยมิใชความผิดของผูประกอบ ธุรกิจนําเที่ยว ใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวจายเงินคืนแกนักทองเท่ียวไมนอย กวาอัตราตามหลักเกณฑทีค่ ณะกรรมการประกาศกาํ หนด 2) ถาการยกเลิกการนําเที่ยวเกิดจากกรณีมีนักทองเท่ียวไมครบตามจํานวนขั้น ตํ่าที่กําหนดไว หรือเกิดจากเหตุใดๆ อันเปนความผิดพลาดของ ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียว ใหผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวจายเงินคืนใหแก นักทอ งเท่ียวทงั้ หมด โดยไมห กั คาใชจ ายใดๆ ทง้ั สนิ้ 6. ในระหวางการนําเท่ียว ผูประกอบธุรกิจนําเท่ียวจะเปลี่ยนแปลงรายการนําเที่ยวไมได เวนแตจะไดรับความยินยอมจากนักทองเท่ียวหรือเปนเหตุสุดวิสัย หากมีการ เปลี่ยนแปลงรายการนําเท่ียว ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวตองคืนเงินใหแก นักทองเท่ียวตามสัดสวน เวนแตผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยวไดเปลี่ยนแปลงรายการ นําเทยี่ วซงึ่ มีคาใชจ า ยเทา เดิมหรอื สงู กวาเดมิ 7. ผูประกอบธุรกิจนาํ เทีย่ วจะเรียกเก็บคาบริการอ่ืนใดนอกเหนือจากท่ีกําหนดหรือตกลง กันไวล ว งหนาไมได 8. ในกรณีผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวหรือมัคคุเทศกชี้ชวนใหนักทองเที่ยวไปในสถานที่หรือ ทํากิจกรรมอื่นใดนอกเหนือจากที่ระบุไวในการโฆษณา ผูประกอบธุรกิจนําเท่ียวหรือ มัคคุเทศกตองแจงคาบริการที่ตองจายใหนักทองเท่ียวทราบลวงหนาและจะเรียกเก็บ คา บรกิ ารเกินทแ่ี จงไวมไิ ด 9. หามไมใหผูประกอบธุรกิจนําเท่ียวจัดบริการนําเที่ยวใหแกนักทองเท่ียวท่ีเดินทางมา จากตางประเทศโดยไมไ ดร บั คาบรกิ ารหรอื รับคาบรกิ ารในอัตราท่ีเห็นไดวาไมเพียงพอ กับคา ใชจา ยตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการประกาศกาํ หนด 10. หามไมใ หผ ปู ระกอบธรุ กจิ นาํ เท่ียวมอบหมายใหม ัคคเุ ทศก ผนู ําเทีย่ ว หรือบุคคลอื่นใด นํานักทองเท่ียวในความรับผิดชอบของตนไปทองเที่ยว โดยเรียกเก็บเงินจาก มคั คุเทศก ผนู าํ เท่ียว หรือบุคคลอ่ืนนน้ั หรือโดยใหบุคคลดังกลาวรับผิดชอบคาใชจาย

67 เกี่ยวกับการเดินทาง คาที่พัก คาอาหาร หรือคาอํานวยความสะดวกอื่นใดของ นักทอ งเท่ยี ว ไมว าทัง้ หมดหรอื บางสว น 11. ในการจัดใหมีมัคคุเทศกหรือผูนําเท่ียวเดินทางไปกับนักทองเที่ยว ผูประกอบการตอง ใชมคั คุเทศกซง่ึ ไดร บั ใบอนุญาตเปนมัคคเุ ทศกต ามประเภททีเ่ หมาะสม 12. ผูประกอบธุรกจิ นําเท่ียวตอ งจัดใหม ีการประกันอุบัติเหตุใหแกนักทองเท่ียว มัคคุเทศก และผูนําเที่ยวในระหวา งการเดินทางทอ งเที่ยว 13. ใหผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวชําระคาธรรมเนียมประกอบธุรกิจนําเท่ียวทุกสองป ตามทกี่ าํ หนด 14. ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวที่ไมชําระคาธรรมเนียมภายในระยะเวลาท่ีกําหนดใหเสียเงิน เพม่ิ เติมอกี รอ ยละสองตอ เดือน และถา พนสามเดือนแลวยังมิไดชําระ ใหนายทะเบียน สั่งพักใบอนุญาตดังกลาวจนกวาจะชําระคาธรรมเนียมและเงินเพิ่ม ซึ่งตองไมเกินหก เดือนนับแตวันสั่งพักใบอนุญาต เมื่อพนกําหนดหกเดือนแลว ถาผูถูกส่ังพักใช ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวยังมิไดชะระคาธรรมเนียมและเงินเพ่ิมใหนาย ทะเบียนสัง่ เพกิ ถอนใบอนญุ าต การสิ้นสุดใบอนุญาตประกอบธรุ กจิ นาํ เทย่ี ว เมอ่ื ผปู ระกอบการธุรกจิ นําเทย่ี ว 1. ตายหรือสิ้นสดุ ความเปนนิติบคุ คล 2. เลกิ ประกอบกจิ การ 3. ถกู เพกิ ถอนใบอนญุ าตประกอบธุรกิจนาํ เทีย่ ว ผูประกอบการธุรกิจนําเท่ียวซึ่งประสงคจะเลิกกิจการใหแจงนายทะเบียนทราบและ สงคืนใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวแกนายทะเบียนภายใน 15 วัน นับแตวันที่เลิกประกอบ กจิ การ สรุปทา ยบท ธุรกิจนําเท่ยี วเปนธรุ กิจทมี่ กี ารควบคุมดแู ลและตองดําเนินการขอใบอนุญาตประกอบ ธรุ กิจตามพระราชบญั ญัตธิ รุ กิจนําเทยี่ วและมคั คเุ ทศก พ.ศ.2551 หนวยงานที่มีหนา ที่ในการรับจด ทะเบยี นและออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยวคือ สํานักทะเบียนธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก กระทรวงการทอ งเท่ยี วและกฬี า การยนื่ ขอใบอนญุ าตสําหรบั ผูประกอบการรายใหมตองมีการวาง หลักประกันตามประเภทของธรุ กจิ นําเท่ยี ว เพือ่ เปนเงินสํารองในการชดใชคาเสียหายที่อาจเกิดขึ้น จากการดําเนินการของธุรกิจนําเท่ียว ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเท่ียวมีอายุสองป นับแตวันท่ี ออกใบอนุญาต และการสิ้นสุดของใบอนุญาตจะเกิดข้ึนในกรณีผูประกอบการเสียชีวิตหรือส้ินสุด

68 ความเปนนิติบุคคล (ในกรณีธุรกิจนําเที่ยวเปนนิติบุคคล), ผูประกอบการเลิกกิจการ และ ผูป ระกอบการถกู เพิกถอนใบอนุญาตประกอบธรุ กจิ นําเท่ยี ว คําถามทบทวน 1) ใบอนญุ าตประกอบธุรกจิ นําเที่ยวมีกีป่ ระเภท อะไรบาง และแตล ะประเภทตอ งมี การวางหลกั ประกนั และจา ยคาธรรมเนียมในการขอใบอนุญาตเทา ใด จงอธบิ าย 2) จงอธบิ ายคณุ สมบตั ขิ องผูทม่ี สี ิทธิขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจนาํ เทย่ี ว ในกรณที ่ี เปนบุคคลธรรมดา และนติ ิบคุ คล 3) เอกสารที่ใชป ระกอบการยนื่ ขอใบอนุญาตประกอบธุรกจิ นําเทยี่ วมอี ะไรบา ง 4) จงอธบิ ายขั้นตอนการยนื่ ขอใบอนุญาตประกอบธุรกจิ นาํ เทยี่ วพรอ มทง้ั หนว ยงาน ท่รี บั ยนื่ จดทะเบยี น 5) จงอธิบายขอกาํ หนดเกี่ยวกบั การดาํ เนนิ ธรุ กิจนาํ เทยี่ วตามพระราชบญั ญตั ิธรุ กิจ นาํ เท่ียวและมคั คุเทศก พ.ศ.2551 6) ใบอนญุ าตประกอบธุรกจิ นําเทย่ี วจะสน้ิ สุดลงในกรณีใดบา ง

69 เอกสารอางองิ พระราชบัญญตั ิธรุ กจิ นําเทยี่ วและมัคคเุ ทศก พ.ศ.2535 พระราชบญั ญตั ิธรุ กิจนาํ เทย่ี วและมัคคุเทศก พ.ศ.2545 พระราชบัญญตั ิธรุ กิจนาํ เทยี่ วและมัคคเุ ทศก พ.ศ.2551 บริษทั หนมุ สาวทวั ร จํากัด (ไมปรากฎป) ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนาํ เท่ียว สืบคนออนไลน ณ วนั ท่ี 2 มีนาคม 2554 จาก http://www.noomsaotours.com/program.php?pno=5 สํานักทะเบียนธรุ กิจนําเทีย่ วและมคั คุเทศก (2549) การจดทะเบียนธุรกจิ นาํ เทย่ี วและมัคคุเทศก http://www.tourismcentre.go.th

70 แผนบรหิ ารการสอนประจําบทที่ 4 หวั ขอเนอ้ื หา 1. ความหมายและองคประกอบของการจดั การธรุ กจิ นาํ เท่ียว 2. กระบวนการจัดการธุรกจิ นาํ เทยี่ ว 3. การวิเคราะหธรุ กจิ นําเทยี่ ว 4. เทคนิคการพัฒนาธุรกิจนําเท่ียวเพื่อความอยูรอดและเพ่ิมความสามารถในการ แขง ขนั 2) Total Quality Management 3) Balance Scorecard 4) Benchmarking วตั ถปุ ระสงคเชงิ พฤติกรรม 1. ผเู รยี นสามารถอธิบายความหมายและองคประกอบของการจดั การธุรกิจนําเทย่ี ว 2. ผูเรยี นสามารถอธบิ ายกระบวนการจัดการธรุ กจิ นาํ เทีย่ ว 3. ผูเรยี นสามารถอธบิ ายและวิเคราะหธุรกิจนาํ เท่ยี วได 4. ผูเรียนสามารถอธิบายเทคนิคการพัฒนาธุรกิจนําเท่ียวเพื่อความอยูรอดและเพ่ิม ความสามารถในการแขง ขนั วธิ สี อนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. วธิ สี อน 1) การบรรยายโดยใช PowerPoint Presentation ประกอบ 2) การมอบหมายใหนกั ศึกษาคนควา ขอมลู เพิม่ เติมเกย่ี วกบั การจัดการธรุ กจิ นาํ เทยี่ ว 3) การนาํ เสนอผลงานเพื่อการแลกเปล่ยี นเรยี นรูในชน้ั เรียน

71 2. กิจกรรมการเรียนการสอน 1) ก า ร ม อ บ ห ม า ย ใ ห นั ก ศึ ก ษ า ค น ค ว า ข อ มู ล เ ก่ี ย ว กั บ ธุ รกิ จ นํ า เ ท่ี ย ว ใ น ด า น 1) โครงสรางองคกร 2) ขอมูลการรับสมัครงาน และ 3) แนวทางการควบคุมคุณภาพ ของธุรกิจนาํ เท่ยี ว 2) ผเู รยี นนําเสนอขอมูลท่ีศึกษาคนควาหนา ช้ันเรียน พรอ มท้งั ถาม-ตอบ สื่อการเรยี นการสอน 1) PowerPoint Presentation 2) Website เก่ียวกบั ธรุ กจิ นาํ เทย่ี ว 3) ตัวอยางเอกสารและแบฟอรม ประกอบการยน่ื ขอใบอนญุ าตประกอบธุรกจิ นาํ เทยี่ ว การวดั และประเมินผล 1) การเขาชน้ั เรยี นและการตรงตอ เวลา 2) กิจกรรมเดยี่ ว 10 คะแนน 1) การศกึ ษาขอ มูล 2) การนาํ เสนอและตอบคําถาม 3) ความรแู ละประโยชนทีไ่ ดรับจากการศึกษา

72 บทที่ 4 การจดั การธุรกจิ นําเท่ยี ว 1. บทนาํ ธุรกิจนําเท่ียวเปนธุรกิจหน่ึงในอุตสาหกรรมทองเท่ียวที่เนนการใหบริการและการอํานวยความ สะดวกแกนักทองเท่ียวในดานการจัดรายการนําเที่ยว การเดินทาง ที่พัก และการบริการอ่ืนๆ ที่ เกีย่ วขอ งกับการทองเท่ียว เพ่อื ใหน ักทองเทย่ี วไดรบั ความสะดวกและไดรับประสบการณที่ดีในการ เดินทางทองเที่ยว การดําเนินธุรกิจนําเที่ยวจะประสบความสําเร็จหรือความลมเหลว ปจจัยหลัก อยางหนึ่งที่สําคัญคือ การจัดการ การจัดการธุรกิจนําเที่ยวมีวัตถุประสงคหลัก เพื่อตอบสนอง ความตองการของนักทองเที่ยว และทําใหนักทองเที่ยวไดรับการบริการที่ดีและไดรับความ ประทับใจในการทองเท่ียว ดังนั้น การเรียนรูเกี่ยวกับหลักการและวิธีการบริหารจัดการที่ดีและมี ประสทิ ธิภาพ จงึ เปนสิ่งทส่ี าํ คัญ 2. ความหมายของการจัดการ (Management) จาการศึกษาโดย รศ.ดร.พยอม วงศสารศรี (2542 หนา 33-36) ความหมายของการ จดั การ (Management) ประกอบดวย 3 ประเด็นหลกั ดังนี้ 1. “การจัดการเปน ศิลปะของการใชบุคคลอนื่ ทํางานใหแกองคกร (Management is an art of getting things done through others)” 2. “การจัดการเปนกระบวนการ (Management as a process)” หมายถึง การ จัดการเปนกระบวนการท่ีมีความสัมพันธระหวางการปฏิบัติงานหรือการ ดําเนินงานเพื่อใหบรรลุเปาหมายตามท่ีองคกรกําหนด โดยกระบวนการจัดการ ตามที่ Henri Fayol กําหนด ประกอบไปดว ย 5 ข้ันตอน คือ 1) การวางแผน (Planning) 2) การจัดองคก ร (Organizing) 3) การส่ังงานและการบงั คบั บัญชา (Directing) 4) การประสานงาน (Coordinating) 5) การควบคมุ (Controlling) นอกจากน้ี ยังมีกระบวนการจัดการท่ีไดจากการศึกษาของ Gulick ซึ่งกลาววา กระบวนการจดั การประกอบไปดวย 7 ประการ ไดแ ก 1) การวางแผน (Planning) 2) การจัดองคก ร (Organizing) 3) การจัดคนเขา ทาํ งาน (Staffing)

73 4) การสัง่ การหรอื การอํานวยการ (Directing) 5) การประสานงาน (Coordinating) 6) การนาํ เสนอรายงาน (Reporting) 7) การงบประมาณ (Budgeting) 3. “การจดั การคอื กลุมของผูจดั การ (Management as a group of managers)” หมายถงึ การทาํ หนา ทก่ี ารบรหิ ารจดั การควรมีการประสานงานระหวา งผูบริหาร ทั้งระดบั ตน ระดบั กลาง และระดบั สูง รวมถงึ สมาชกิ ในองคก รเพอื่ ใหการ ดาํ เนนิ งานเปน ไปในทศิ ทางเดียวกนั โดยภาพรวมแลว การจดั การ (Management) หมายถงึ ศิลปและกระบวนการในการ ใชทรัพยากรตา งๆ ในองคกร ไดแ ก บคุ ลากร งบประมาณ เวลา และวตั ถุดิบตา งๆ ใหเ กดิ ประโยชน สงู สุดและบรรลุวตั ถุประสงคต ามที่องคกรกําหนด สาํ หรบั การจดั การธรุ กจิ นาํ เท่ยี ว (Travel Agency Management) หมายถงึ ศลิ ป และกระบวนการการใชท รพั ยากรในธรุ กิจนําเทยี่ ว ไดแก บุคลากร งบประมาณ เวลา และเครอื ขาย ทางธุรกจิ รวมถึงองคประกอบตา งๆ เพ่อื ทาํ ใหเกดิ การบริการท่ีมีคณุ ภาพ สามารถตอบสนองความ ตองการของนกั ทอ งเทยี่ วได และสามารถทาํ ใหธ ุรกิจนาํ เทย่ี วมีผลกาํ ไรและบรรลวุ ัตถุประสงคตาม เปาหมายท่ีกาํ หนด 3. ส่ิงสาํ คญั ในการจัดการธุรกิจนําเทย่ี วทผี่ ปู ระกอบการควรทราบคือ 1) ธุรกจิ นาํ เทีย่ วเปนธุรกิจทใ่ี หบ ริการแกน ักทอ งเทย่ี วเปนหลัก ซงึ่ ลักษณะสาํ คญั ของ งานบริการ คือ 1) เปนนามธรรมสัมผัสไดดวยใจและความรูสึก 2) การใหบริการ และการรับบริการมักจะเกิดขึ้นพรอมกัน 3) การบริการไมสามารถผลิตและ จัดเก็บไวไดดังเชน สินคาท่ัวๆ ไป และ 4) การบริการมีความหลากหลายและมี การเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ข้ึนอยูกับผูใหบริการ ผูรับบริการ และสภาพแวดลอม ตางๆ ท่เี ก่ยี วขอ ง 2) ความประทับแรกพบ (First Impression) เปนส่ิงท่ีสําคัญสําหรับงานบริการ หาก นักทองเที่ยวหรือลูกคาไดรับความประทับในการติดตอและการบริการต้ังแตคร้ัง แรกกจ็ ะเปน การสรา งความรสู ึกและภาพลกั ษณท่ีดีใหแกธุรกิจนําเที่ยว แตในทาง ตรงกันขาม หากนักทองเท่ียวไดรับประสบการณที่ไมดีในการใชบริการก็จะเกิด ความรูสึกในดานลบและยากที่จะเปลี่ยนแปลงใหเปนไปในทางบวก แตอยางไรก็

74 ดี การสรางความประทับใจใหแกนักทองเที่ยวหรือผูมาใชบริการควรทําอยาง สมํ่าเสมอ มิใชเพียงแคคร้ังแรกเทานั้น เพราะถึงแมวาการสรางความประทับ ใหแกลูกคาเปนเร่ืองยาก แตการรักษาลูกคาและทําใหลูกคาประทับใจและเกิด ความจงรักภกั ดตี อธรุ กจิ ตลอดไปเปนเรอ่ื งที่ยากกวา 3) เมอ่ื ธรุ กิจนําเท่ียวเปนงานบริการและการสรางความประทับใจใหกับนกัทองเที่ยว เปนสงิ่ ทีส่ าํ คัญ การใหบ ริการและบุลากรที่ทํางานในธุรกิจนําเท่ียวก็สวนประกอบ ที่สําคัญในการใหบริการ ดังน้ัน การสรางมาตรฐานและพัฒนาคุณภาพการ บริการจึงเปนส่ิงที่สําคัญ ซ่ึงควรมีการพัฒนาอยางตอเนื่องและทันตอเหตุการณ องคประกอบหลักของการพัฒนาคุณภาพการใหบริการ ไดแก การพัฒนา บุคลากร เทคโนโลยี และการสํารวจความตองการและความพึงพอใจของ นักทองเท่ียวหรือผูใชบริการอยางสมํ่าเสมอ เพื่อใหการบริการมีคุณภาพ ได มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของลูกคา ไดเ ปนอยา งดี 4) ส่ิงที่นักทองเท่ียวคาดหวังจากการบริการและการบริการท่ีดีมีคุณภาพ ควรมี ลักษณะดงั น้ี - ความสะดวก - รวดเรว็ - ถูกตอง แมนยาํ - อัธยาศยั ไมต รี ความสุภาพ ออ นนอ ม ความเปนมิตร - ความมีนา้ํ ใจในการชวยเหลือและอาํ นวยความสะดวกอยางจริงใจ - ความกระตอื รอื รนในการใหบ ริการและชว ยเหลอื ลูกคาในการแกไขปญหา - การเอาใจใสและใหความสําคัญกับลกู คาหรอื ผมู าใชบรกิ าร 5) องคประกอบสําคัญในการดําเนินธุรกิจนําเท่ียว ไดแก บุคลากร (Man) งบประมาณ (Money) ทรัพยากรท่ีจําเปนตองใช (Material) คูคา เครือขาย หรือ พันธมิตรทางธุรกิจ (Commercial Network) และวิธีการบริหารจัดการและการ ดําเนนิ งาน (Method) 6) องคป ระกอบของการบรหิ ารจดั การ ไดแ ก Input Process and Output - Input คือปจจัยตางๆ ที่องคจัดหามาเพื่อใหการดําเนินธุรกิจ บรรลุวัตถุประสงค ไดแก บุคลากร งบประมาณ อุปกรณสํานักงาน สิง่ อํานวยความสะดวก อาคารสถานที่ เปน ตน - Process คือ กระบวนการและข้ันตอนในการดําเนินงานเพ่ือให ไดผ ลผลิตหรือการบริการตามทีต่ อ งการ

75 - Output คือ ผลผลติที่ไดจากปจจัยนําเขาและกระบวนการ ดําเนินงาน ถาเปนในแงธุรกิจนําเที่ยว ผลผลิตที่ไดคือ การบริการ ความสะดวกสบายและความพึงพอใจของผูนักทองเที่ยวหรือผุใช บรกิ าร 4. ความสาํ คญั ของการจดั การ จากการศึกษาโดย รศ.ดร.พยอม วงศสารศรี (2542 หนา 38) การจัดการมี ความสาํ คัญตอองคก รและธุรกจิ ดังน้ี 1) “การจัดการเปนสมองขององคกร” ท่ีสงผลตอความสําเร็จขององคกรตาม เปาหมายที่กําหนด การจัดการท่ีดีจําเปนตองมีการวางแผนและการตัดสินใจ อยางมีประสิทธิภาพ ผานการคิด วิเคราะห ศึกษาขอมูล และการคาดการณใน อนาคตไดอยางแมนยํา รวมถึงการกําหนดกลยุทธเพ่ือการนําองคกรไปสู เปา หมายท่ีกาํ หนด 2) “การจัดการเปนเทคนิควิธีการ” หรือศิลปะในการผลักดันและสงเสริมใหบุคลากร ในองคกรรวมกันทาํ งานอยา งมปี ระสิทธิภาพ เพื่อความสําเร็จขององคก ร 3) “การจัดการเปนการกําหนดขอบเขตการทํางานของสมาชิกในองคกร” เพื่อใหการ ปฏบิ ตั งิ านเปน ไปอยา งราบร่นื และมปี ระสทิ ธิภาพ ไมใ หเ กดิ การทาํ งานที่ซ้ําซอน 4) “การจัดการเปนการแสวงหาวิธีการท่ีดีที่สุด” เพื่อการปฏิบัติงานอยางมี ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลและการนําองคก รไปสเู ปา หมายท่กี ําหนด 5. กระบวนการจัดการ ข้ันตอนหรือกระบวนการในการจัดการที่เปนท่ีไดรับการยอมรับและเปนที่นิยมในการ นําไปใชกันท่ัวไป ประกอบไปดวย 5 ขั้นตอน ไดแก 1) การวางแผน (Planning), 2) การจัด โครงสรางองคกร (Organizing), 3) การจัดคนเขาทํางาน (Staffing), 4) การส่ังการหรือการ มอบหมายงาน(Directing), และ 5) การควบคุม และการติดตามและประเมินผล (Controlling) แผนภาพดานลางแสดงข้ันตอนและกระบวนการจัดการ ซ่ึงควรมีการดําเนินงานอยางตอเน่ืองเพ่ือ การปรบั ปรงุ และการพัฒนาองคก รในระยะยาว

76 1. Planning 2. Organizing 5. 3. Staffing Controlling 4. Directing แผนภาพท่ี 4.1 กระบวนการจดั การ ที่มา ปรบั ปรุงจาก รศ.ดร.พยอม วงศสารศรี (2542 หนา 35) แนวทางการจดั การตามขน้ั ตอนและกระบวนการจดั การ มีดังนี้ 1) การวางแผน (Planning) คือ การกาํ หนดทิศทางและแนวทางในการปฏบิ ัติงาน ความสาํ คัญของการวางแผน คอื 1. ลดความไมแนน อนและปญ หาทจี่ ะเกดิ ข้ึนในอนาคต 2. ทาํ ใหเ กดิ การยอมรับแนวคดิ ใหมๆ 3. ทาํ ใหก ารดําเนินงานบรรลเุ ปาหมาย 4. ลดความสูญเสียและการทาํ งานซาํ้ ซอ น 5. ทําใหเ กิดความชัดเจนในการทาํ งาน ประโยชนข องการวางแผน คอื 1. สง ผลตอการบรรลเุ ปาหมาย 2. ประหยดั 3. ลดความไมแนน อน 4. เปน เกณฑในการควบคุม

77 5. สงเสรมิ ใหเกดิ นวัตกรรมและการสรา งสรรค 6. พฒั นาแรงจงู ใจ 7. พัฒนาการแขงขนั 8. ทาํ ใหเ กดิ การประสานงาน ขอ จํากดั ของการวางแผน 1. ขอ มลู 2. วสิ ยั ทัศน การคาดการณ 3. ใชเวลา สิน้ เปลอื งคา ใชจ า ย ทาํ ใหเกดิ ความลาชา 4. เปน ขอจํากดั ใหเ กดิ ความคิดรเิ ริ่ม 5. การตอ ตานตอ การเปล่ยี นแปลง หลกั การพื้นฐานในการวางแผน 1. สนับสนนุ นโยบาย วตั ถปุ ระสงค และเปา หมายขององคก าร 2. ระดมความคดิ อยางรอบดา นบนพ้นื ฐานของ ขอมลู วิสยั ทศั น และการตัดสนิ ใจอยาง ถูกตอง 3. คํานงึ ถึงความเปน ไปได 4. คิดใหญ ทาํ เลก็ 5. มีความยืดหยนุ พรอ มรบั การเปลย่ี นแปลง 6. มแี ผนสํารอง ขั้นตอนในการวางแผน 1. การศกึ ษาขอ มูลที่เกย่ี วขอ ง 2. กาํ หนดวัตถปุ ระสงค 3. ขอบเขตในการวางแผน 4. วเิ คราะหจ ุดแขง็ จดุ ออน โอกาส และขอ จาํ กัดขององคก ร 5. กําหนดกลยทุ ธแ ละสรางทางเลอื ก 6. ประเมนิ ทางเลือก 7. พัฒนาแผนปฏบิ ตั ิการ 8. กําหนดแนวทางการประเมนิ ผลและการควบคมุ 9.

78 2) การจัดองคก ร (Organizing) การจัดองคก ร (Organizing) คอื การจัดและแบง สายการทาํ งานออกเปนฝา ยหรือแผนกตาม ขอบเขตภาระงานและความรับผดิ ชอบ เพอ่ื ประสิทธิภาพในการดําเนนิ งานและการสั่งการ รวมถงึ การติดตามและประเมินผล ฝา ยหรอื แผนกตางๆ ในธุรกิจนาํ เทย่ี วโดยทัว่ ๆ ไดแ ก แผนกบคุ คลและ มัคคุเทศก แผนกจัดรายการนาํ เทยี่ ว ซึ่งอาจจะแบงเปน รายการนาํ เทยี่ วแบบ In Bound, Out Outbound และ Domestic Tour ขน้ึ อยกู บั ขนาดของบริษัทและการใหบริการ แผนกรบั จองหองพกั และต๋ัวเครอ่ื งบิน แผนกรถเชา แผนกการตลาด แผนกบญั ชี และแผนกอํานวยการ ซึ่งประกอบดว ย ผูจัดการ ผชู ว ยผูจัดการ และเลขา อยา งไรก็ดี การแบงสายงานหรือแผนกตางๆ ในธุรกจิ นาํ เทยี่ ว จะมากหรือนอ ย หรอื มีแผนกอะไรบา ง ข้นึ อยกู บั ขนาดขององคกรและประเภทการใหบ ริการของ ธุรกจิ นาํ เทยี่ ว หากเปน ธรุ กจิ ขนาดใหญแ ละการบรกิ ารท่ีหลากหลายครบวงจร แผนกและสายงาน ตางๆ กจ็ ะมากตามไปดวย ในทางกลับกนั หากเปน ธรุ กจิ ขนาดเลก็ และมกี ารบรกิ ารท่ีจาํ กดั การ ดาํ เนนิ งานและแผนกตางๆ กจ็ ะมไี มมากนกั เพื่อใหเ หมาะสมกบั การดําเนินงานและผลของการ ปฏบิ ัติงานท่ีตอ งการ แผนภาพท่ี 4.2 แสดงถึงตวั อยา งโครงสรา งองคก รของธรุ กิจนาํ เทยี่ ว ซงึ่ แตละ บริษัทอาจมีแผนกตางๆ มากหรอื นอ ยกวานแี้ ละอาจมแี ผนกตางๆ ทแี่ ตกตางกนั ไป ตามความ เหมาะสมของการใหบริการและการดาํ เนนิ งาน

79 Genera Managi Secretary แผนภาพท่ี 4.2 ตัวอยางโครงสรา งองคก รของธรุ กิจนาํ เทยี่ ว

9 al Manager (GM) ing Director (MD) Personnel and Tour Guide Tour operation Domestic Tour Inbound Tour Outbound Tour Ticketing Sale and Marketing / Reservation Accounting

80 3) การจดั คนเขาทาํ งาน (Staffing) การจัดคนเขาทํางาน (Staffing) คือการจัดหาหรือมอบหมายใหบุคลากรทํางานในตําแหนงและ หนาทต่ี างๆ ตามทก่ี ําหนดไวในโครงสรางขององคกร หัวใจหลักสาํ คัญของการจดั คนเขา ทาํ งาน คอื การจดั คนใหเหมาะสมกบั ความสามารถและลกั ษณะงาน เพื่อดึงศักยภาพของบุคคลออกมาใชใน การทํางานใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด (Put the right man in the right job) องคประกอบหรือสวน สําคัญในการจัดหาและมอบหมายใหบุคลากรทํางานในตําแหนงหนาที่ที่เหมาะสมกับความรู ความสามารถและประสบการณ คือ การกําหนดภาระและขอบขายการทํางาน (Job description) และกําหนดคุณสมบัติของผูที่จะมาทํางานในตําแหนงงานนั้นๆ (Job specification) นอกจากน้ัน ยังเกี่ยวของกับการพัฒนาบุคลากร (Human Resources Development) การรักษาบุคลากร (Retention) และการสรา งแรงจูงใจในการทาํ งาน (Motivation) 4) การสงั่ การหรือการมอบหมายงาน (Directing) การสง่ั การหรอื การมอบหมายงาน (Directing) เปน หวั ใจสาํ คญั ของการจดั การนอกเหนอื จากกร วางแผน การจัดองคก ร และการจัดคนเขา ทาํ งาน ตามท่กี ลา วขา งตน และการควบคุม ที่จะกลา ว ตอ ไป การส่งั การหรอื การมอบหมายงาน เปน ศาสตรและศิลปข องผบู รหิ ารหรือผจู ดั การในการใช บุคลากรในองคกรเพื่อการทาํ งานอยา งมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล สิ่งที่เก่ยี วขอ งและสง ผลตอ การสง่ั การหรอื การมอบหมายงาน ไดแก การสือ่ สาร แรงกระตุน หรอื แรงจงู ในในการทาํ งาน การ ติดตามและประเมนิ ผล รวมถึง ความเคารพ ความศรทั ธา และความเชอื่ ถอื ท่ผี ใู ตบ งั คับบัญชามี ตอ หวั หนา หรอื ผูจัดการ หวั หนา ผจู ดั การ หรือ ผสู งั่ การ สามารถแบง ออกไดเปน 2 ประเภทใหญ ซ่ึงสงผลการปฏบิ ัติงานของผใู ตบ งั คบั บญั ชาอยางยงิ่ คอื 1) หวั หนา ทช่ี อบน่ังอยบู นหวั ลกู นอง และ 2) หวั หนา ท่ีชอบน่ังอยใู นใจลกู นอง หวั หนา ประเภทแรก คอื บคุ คลทชี่ อบสั่งการ มงุ เรือ่ งงานเปน หลัก ไมใ หค วามสาํ คัญกบั ความรูสึกและจติ ใจของลกู นอ ง วางตวั เปน เจา นาย มกี ารแบง ชนชน้ั ระหวา งหวั หนา กับลูกนอง หรอื ผูบรหิ ารกับผูใตบงั คบั บัญชา สว นหวั หนา ประเภททสี่ อง คือหวั หนา ท่ีเอาใจเขามาใสใ นเรา คํานงึ ถงึ ความรูส กึ และความตอ งการของลกู นอ ง ใหเกียรตลิ ูกนอ ง สรา ง บรรยากาศในการทาํ งานใหเปนแบบธรรมาภิบาล คือ มคี วามโปรง ใส ยตุ ธิ รรม คํานงึ ถงึ การมสี ว น รว ม ถกู ตองตามกฎระเบยี บและจริยธรรม 5) การควบคมุ (Controlling) การควบคมุ (Controlling) คอื กระบวนการและวิธกี ารในการติดตามและประเมนิ ผลการ ดาํ เนนิ งาน เพอื่ การตรวจสอบอยางตอเนอื่ งและเปน ระยะ การแกไขปญ หาอยา งทันทว งทเี มอ่ื มี ความผิดพลาดเกิดขน้ึ การปรบั เปล่ียนกลยทุ ธห รอื แนวทางการทาํ งานหากสง่ิ ทท่ี าํ อยไู มป ระสบ

81 ความสาํ เร็จ และเพื่อการใหอ งคบรรลุเปา หมายตามทก่ี ําหนดไดภ ายในระยะเวลาและทรัพยากรท่ี กําหนดอยา งมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล โดยสรปุ ผลแลว ข้ันตอนในการบรหิ ารจดั การอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ อยา งนอ ยจาํ เปนตอ งประกอบไป ดวย 4 ขัน้ ตอน ดงั นี้ 1) การวางแผน (Plan), 2) การดาํ เนินการ (Do), 3) การติดตามและ ประเมินผล (Check), และ 4) การแกไ ขปรับปรงุ (Act) ซงึ่ ขัน้ ตอนตางๆ เหลา น้ี จาํ เปนตองมีการ ดําเนนิ การอยา งเปน ข้นั ตอนและตอ เน่อื งเพอ่ื การปรบั ปรงุ แกไ ข และการพฒั นาองคกรหรอื ธรุ กิจ นาํ เท่ียวอยา งตอเน่อื งและยง่ั ยนื หากขาดขน้ั ตอนใดขน้ั ตอนหนงึ่ การบรหิ ารจัดการธุรกจิ กย็ ากทจ่ี ะ มีประสทิ ธภิ าพและประสบความสาํ เร็จตามท่ีตงั้ เปา หมายได 6. เทคนิคการพฒั นาธุรกิจนําเทย่ี วเพ่อื ความอยูร อดและเพ่มิ ความสามารถในการแขง ขนั Total Quality Management (TQM) Total Quality Management (TQM) คอื การระบบการทาํ งานทเี่ นน คณุ ภาพ การพฒั นา องคกรอยา งตอ เน่อื ง และทกุ คนในองคกรมสี วนรว ม โดยมงุ ตอบสนองความตองการและการสราง ความพงึ พอใจใหแกลกู คา ซง่ึ เปน การสรางโอกาสทางธุรกิจ ความไดเปรียบในการแขง ขัน และการ พัฒนาองคก รอยางย่งั ยนื หลกั การสําคญั ของ TQM คอื 1. การใหค วามสาํ คัญและมุงตอบสนองความตองการของลกู คา 2. การมสี ว นรวมของสมาชกิ ในองคกรในการดําเนนิ งานและปรบั ปรุงพัฒนาองคกร 3. การพัฒนาอยา งตอ เน่ือง 4. การดาํ เนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA (Plan Do Check Act) แนวทางการดําเนินงานตามหลกั การ TQM 1. ผบู ริหารมภี าวะผูนาํ (Leadership) 2. บคุ ลากรไดรับการพัฒนาและฝก อบรม (Education and Training) 3. การจดั โครงการองคก รท่ดี ี เหมาะสมและสนับสนนุ การดําเนนิ งานอยา งมี ประสิทธิภาพ (Supportive Structure) 4. มชี อ งทางในการติดตอ ส่อื สารอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ (Communication) 5. มกี ารพจิ ารณารางวัลและความดีความชอบ (Reward and Recognition) 6. การใชก ระบวนการทางสถติ ใิ นการควบคมุ และตรวจสอบการดาํ เนนิ งาน (Statistical Process and Control)

82 7. เนนการทาํ งานเปนทมี (Teamwork) Balance Score Card (BSC) Balance Score Card (BSC) คือ การบรหิ ารจดั การท่ีเนน ความสมดลุ โดยการแปลง วสิ ยั ทัศนและกลยุทธไปสกู ารปฏิบตั อิ ยางสมดุล โดยมรี ูปแบบการวดั ผลการดําเนินงานขององคกร ระบบใหมท เ่ี กดิ จากการวิเคราะหว ิเคราะหว ิสัยทศั นและกลยทุ ธขององคกร โดยการใชเ คร่ืองมือใน ดา นการเงนิ (Financial Perspective), ลูกคา (Customer Perspective), กระบวนการภายใน (Internal Process Perspective), และการเรยี นรูและการพฒั นา (Learning and Growth Perspective) องคประกอบของการบรหิ ารจัดการ Balance Score Card (BSC) ประกอบดว ย 1. วัตถุประสงค (Objectives) คอื สง่ิ ทอี่ งคก รตองการท่จี ะบรรลุหรือตองการไปใหถ งึ 2. ตัวชว้ี ัด (Measures or Key Performance Indicators) ไดแ ก ตัวช้วี ดั ของ วตั ถปุ ระสงคในแตละดา น ซง่ึ ตวั ชว้ี ดั เหลา นเ้ี ปน เครอ่ื งมือทจี่ ะบอกวาองคกรบรรลุ วตั ถปุ ระสงคใ นแตละดานหรอื ไม มากนอยอยา งไร 3. เปา หมาย (Targets) ไดแ กตัวเลขหรือเปาหมายเชงิ ปรมิ าณทอ่ี งคก รตอ งการจะบรรลุ ของแตละตัวชี้วดั 4. ความคดิ ริเรมิ่ (Initiatives) เพอ่ื การบรรลุเปาหมายทีต่ อ งการ 5. แผนการดําเนนิ งาน 4 ดา น ไดแก ดา นการเงนิ ดา นลกู คา ดา นกระบวนการบริหาร ภายในองคก ร และดา นการเรยี นรูและการพัฒนาบุคลากร ประโยชนข องการจดั ทาํ Balance Score Card (BSC) 1. ทําใหว สิ ยั ทศั น ภารกจิ และกลยทุ ธขององคกรมคี วามชัดเจนและสามารแปรไปสู แนวทางดาํ เนนิ งานอยา งชัดเจน และเปนที่เขา ใจในทิศทางเดียวกัน 2. ทําใหเกิดการสอื่ สารเกี่ยวกบั วัตถปุ ระสงคเชงิ กลยทุ ธและเช่อื มโยงกบั มาตรการที่จะ ใชว ัดผลไดช ดั เจน 3. ทําใหเ กดิ การวางแผนและการกาํ หนดเปา หมาย รวมถงึ การสรางสรรคกจิ กรรมเชงิ กล ยุทธใ นรปู แบบตา งๆ รวมทง้ั กิจกรรมที่ใชว ัดผลหรอื ตัวช้ีวัด ทั้งมาตรการทีเ่ ปน ตวั เงนิ และไมใ ชตัวเงนิ

83 4. ทําใหเกิดการยอนกลับและการเรยี นรแู กผ ูบริหาร เพอ่ื ใหทราบวา ไดม กี ารปฏิบตั ติ าม แผนกลยทุ ธท ไ่ี ดก าํ หนดหรอื ไมและไดผ ลอยา งไร ระบบนย้ี งั ชว ยใหท ราบไดว ากลยุทธ ท่กี าํ หนดสามารถทาํ ใหองคกรอยรู อดและประสบความสําเรจ็ หรอื ได Benchmarking Benchmarking คือ การเทียบเคียงหรือเปรียบเทียบสมรรถนะระหวา งองคก รกับตวั อยางท่ี ดเี พือ่ การเรยี นรแู ละนาํ มาใชในการพฒั นาองคกร โดยมีวตั ถุประสงคเ พอื่ การแสวงหาตวั อยา งหรอื วธิ ีการปฏบิ ตั ทิ ด่ี ีกวา เดมิ รวมถงึ การทําความเขา ใจกบั กระบวนการและวิธกี ารปฏบิ ัตติ า งๆ ท่ี ผลกั ดนั ใหเกดิ ผลการปฏิบตั ิงานท่ดี ี ท้ังน้ี องคกรตางๆ จะปรบั ปรุงผลการดาํ เนนิ งานของตนโดย การเลือกสรรและนาํ วธิ กี ารปฏบิ ัตทิ ี่เปนเลศิ เหลา นัน้ ไปใชใ นกระบวนการทาํ งาน ซง่ึ ไมใชก าร ลอกเลียนแบบ แตเปน การเรียนรแู ละการสรางสรรคผ ลงานใหมเ พอ่ื การประยกุ ตใชใ นองคก รอยา ง เหมาะสม ความสาํ คญั ของ Benchmarking คอื 1. การหาขอเทจ็ จรงิ ดวยการเรยี นรวู ธี กี ารปฏบิ ตั ิงานทีม่ รี ะบบท่ีดที สี่ ดุ 2. เปนวธิ กี ารสรา งเปา หมายในการปฏิบัตงิ านและการพฒั นางานใหม คี ุณภาพทดี่ ี ขนึ้ 3. เปนกระบวนการเปรยี บเทยี บธรุ กิจหรือองคก รเรากบั ธุรกิจทีด่ ที ี่สุดในอุตสาหกรรม เดียวกนั ในดา นตา งๆ 4. เปน เครื่องมือใหมสําหรับระบบงานทต่ี อ งการคณุ ภาพ มกี ารคนควา และพยายาม เรยี นรูจากตนแบบทด่ี ี 5. กระบวนการเปรียบเทยี บดา นผลผลติ การบริการ และวธิ กี ารปฏบิ ัติงาน กับคูแขง แนวทางการเปรียบเทยี บสมรรถนะระหวางธุรกจิ หรอื องคก ร (Benchmarking) ควร มกี ารกาํ หนดวาจะเปรยี บเทยี บกับใคร ในดา นใด เพอื่ อะไร 1. Strategy การเปรียบเทยี บกลยุทธในการดําเนนิ งาน 2. Process การเปรยี บเทียบกระบวนการดําเนินงาน 3. Product การเปรยี บเทียบสนิ คา รวมถงึ การบรกิ าร 4. Performance การเปรยี บเทยี บผลการดาํ เนินงาน 5. Internal Benchmarking การเปรียบเทยี บการดาํ เนนิ งานของหนว ยงานหรอื แผนก ตางๆ ภายในองคก ร 6. Competitive Benchmarking การเปรยี บเทียบระหวา งองคกรกบั คูแ ขง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook