Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการตัวแทนธุรกิจท่องเที่ยว

การจัดการตัวแทนธุรกิจท่องเที่ยว

Published by sukridpilaiporn2558, 2020-06-02 22:56:55

Description: การจัดการตัวแทนธุรกิจท่องเที่ยว

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า การจดั การตวั แทนธุรกิจทอ งเทย่ี ว (3572208) (Travel Agency Management) จัดทําโดย ดร.นภาพร จันทรฉ าย บธ.บ (การโรงแรมและการทอ งเทีย่ ว) ศศ.ม (การจดั การทางวฒั นธรรม) Ph.D (Tourism Planning) โรงเรยี นการทอ งเท่ยี วและการบริการ มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนดุสติ 2554

เอกสารประกอบการสอน การจดั การตัวแทนธุรกจิ ทองเทีย่ ว ผเู รยี บเรียง : ดร.นภาพร จนั ทรฉาย เมษายน 2554 มถิ ุนายน 2554 พมิ พค รั้งท่ี 1 : จาํ นวน 43 เลม พมิ พครั้งท่ี 2 : จาํ นวน 1,400 เลม ออกแบบปก : โครงการสวนดสุ ติ กราฟฟค ไซท พิมพที่ : สาํ นักพิมพเ สมาธรรม โทร : 0-2886-5102

i คํานํา ธุรกิจนําเที่ยวเปนธุรกิจหลักที่มีบทบาทสําคัญในอุตสาหกรรมทองเทียว ท้ังในดาน การสงเสริมใหเกิดกิจกรรมการทองเที่ยวและเปนตัวกลางระหวางนักทองเท่ียวกับธุรกิจการบริการ อ่ืนๆ ในอุตสาหกรรมทองเที่ยว ไดแก ธุรกิจท่ีพัก ธุรกิจรานอาหารและภัตตาคาร ธุรกิจจําหนาย สนิ คา ทีร่ ะลึก ธรุ กจิ สนั ทนาการ สถานทีท่ อ งเทย่ี ว และธรุ กิจเพอื่ สขุ ภาพและความงาม เปน ตน เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการจัดการตัวแทนธุรกิจทองเท่ียว จัดทําขึ้นเพื่อ เสริมสรางความรูและความเขาใจแกนักศึกษาหลักสูตรอุตสาหกรรมทองเที่ยวและบริการ และผูที่ สนใจท่ัวไป เพื่อใหมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับ 1) อุตสาหกรรมทองเที่ยว 2) ประเภทและ การบริการของธุรกิจนําเที่ยว 3) การจัดต้ังธุรกิจนําเที่ยว 4) การบริหารจัดการธุรกิจนําเท่ียว 5) การตลาดเพื่อธุรกิจนําเท่ียว 6) การจัดรายการนําเที่ยวและการติดตอประสานงานกับธุรกิจที่ เก่ียวของ 7) ระเบียบขอปฏิบัติและเอกสารประกอบการเดินทางระหวางประเทศ และ 8) ความรู เบ้ืองตนเก่ียวกับงานมัคคุเทศกและการนําเที่ยว รวมท้ังประเด็นท่ีควรรูเพือเตรียมการจัดตั้งธุรกิจ นาํ เทย่ี ว เอกสารประกอบการสอนน้ี ไดจัดทําขึ้นจากการศึกษาขอมูลจากหนังสือ ตํารา เอกสาร และเวบไซดต างๆ ทเี่ กย่ี วขอ งกบั การจัดการธรุ กจิ นําเที่ยว ประกอบกับการถายทอดความรู และประสบการณของผูจัดทํา เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตอง ครบถวน และทันสมัยมากที่สุดเทาท่ีจะ สามารถทําไดในระยะเวลาอันจํากัด ผูจัดทําหวังเปนอยางย่ิงวาเอกสารประกอบการสอนนี้จะเปน ประโยชนตอ ผูเรยี นและผูท ี่สนใจบางไมม ากกน็ อ ย และหากมีขอตชิ มหรอื คาํ แนะนําประการใดทาง ผจู ัดทาํ ขอนอมรบั ดวยความยนิ ดี ดร.นภาพร จนั ทรฉาย อาจารยป ระจาํ หลักสูตรอุตสาหกรรมทอ งเทีย่ วและบรกิ าร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ ศูนยห วั หิน

ii หนา สารบญั (i) คาํ นาํ (ii) สารบัญ สารบัญภาพ (vii) สารบญั ตาราง แผนบริหารการสอนประจําวชิ า (xi) แผนบรหิ ารการสอนประจาํ บทท่ี 1 บทที่ 1 ความรูทวั่ ไปเกย่ี วกับอตุ สาหกรรมทอ งเท่ียว (x) 1. บทนาํ 1 2. การทอ งเทย่ี วและอุตสาหกรรมทองเทย่ี ว 3 3. แนวโนม การเจริญเติบโตของการทอ งเทย่ี ว 3 4. ความสําคญั และผลกระทบของอตุ สาหกรรมทองเทย่ี ว 3 5. แนวคิดและหลักการการพฒั นาการทองเทยี่ วอยา งยง่ั ยนื 8 สรุปทายบท 14 คําถามทบทวน 18 เอกสารอางองิ 22 แผนบริหารการสอนประจาํ บทท่ี 2 22 บทที่ 2 ประเภทและการบรกิ ารของธุรกิจนาํ เท่ียว 23 1. บทนาํ 24 2. ความหมายของธรุ กจิ นําเทย่ี ว 26 3. ลกั ษณะทว่ั ไปและการบริการของธรุ กจิ นาํ เทีย่ ว 26 4. บทบาทและความสาํ คัญของธุรกจิ นาํ เทย่ี ว 27 5. ประเภทของธรุ กจิ นาํ เทีย่ ว 27 6. การบรกิ ารตางๆ ของธรุ กจิ นาํ เท่ยี ว 28 7. ปะเภทของการจดั รายการนาํ เทย่ี ว 32 32 33

iii 40 41 สารบญั (ตอ ) 43 44 บทที่ 2 ประเภทและการบรกิ ารของธุรกิจนาํ เท่ยี ว (ตอ) 45 8. ขอดีและขอ จํากัดของการใชบ รกิ ารของธรุ กิจนาํ เทยี่ ว 46 9. สถติ ิเกย่ี วกบั ธุรกจิ นาํ เทยี่ วในประเทศไทย 48 48 สรุปทายบท 49 คําถามทบทวน 49 เอกสารอา งอิง 51 แผนบริหารการสอนประจาํ บทท่ี 3 62 บทท่ี 3 การจดั ตัง้ ธรุ กจิ นาํ เทีย่ ว 63 63 1. บทนํา 65 2. ประเภทใบอนญุ าตประกอบธรุ กิจนาํ เทย่ี ว 65 3. คณุ สมบตั ิของผขู อรบั ใบอนุญาตประกอบธุรกจิ นาํ เทย่ี ว 67 4. เอกสารประกอบการขอรบั ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนาํ เทย่ี ว 68 5. การยน่ื ขอจดทะเบยี นธุรกจิ นําเทย่ี ว 69 6. กระบวนการออกใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เทยี่ ว 7. ตัวอยา งใบอนญุ าตประกอบธุรกิจนาํ เทย่ี ว 8. อัตราคาธรรมเนยี ม 9. ขอกําหนดสําหรบั ผูป ระกอบการธุรกจิ นําเทย่ี ว สรุปทา ยบท คําถามทบทวน เอกสารอางองิ

iv 70 72 สารบัญ (ตอ ) 72 72 แผนบริหารการสอนประจาํ บทท่ี 4 73 บทท่ี 4 การจดั การธรุ กิจนาํ เท่ียว 75 75 1. บทนํา 81 2. ความหมายของการจดั การ 3. ขอควรคาํ นงึ ในการจัดการธุรกิจนําเทยี่ ว 84 4. ความสําคญั ของการจัดการ 84 5. กระบวนการจัดการ 85 6. เทคนิคการพฒั นาธุรกจิ นาํ เทยี่ วเพ่ือพฒั นาความสามารถใน 86 การแขง ขัน 88 สรุปทา ยบท 88 คาํ ถามทบทวน 88 เอกสารอางอิง 90 แผนบริหารการสอนประจาํ บทที่ 5 93 บทท่ี 5 การตลาดสาํ หรบั ธุรกจิ นาํ เทีย่ ว 1. บทนาํ 93 2. ความหมายของการตลาดและการตลาดเพือ่ การทองเท่ยี ว 94 3. พฤตกิ รรมนักทองเท่ยี ว 4. ปจจยั ท่สี ง ผลตอ พฤตกิ รรมและความตอ งการของ 66 นกั ทอ งเท่ยี ว 100 5. กระบวนการตดั สนิ ใจซอื้ ของนักทองเทย่ี ว 100 6. การแบงสว นตลาด การกาํ หนดกลมุ ลกู คาเปา หมาย และการ 102 กาํ หนดตําแหนงผลติ ภณั ฑ (STP) 103 7. สวนผสมทางการตลาด (Marketing Mix) 8. การวิเคราะหส ่งิ แวดลอมทางการตลาด (SWOT) 9. แนวโนม ความตองการและพฤติกรรมนกั ทอ งเทยี่ ว 10. กลยทุ ธดา นการตลาดของไทย 11. การพฒั นาสินคาและบริการภายใตแนวคดิ 7 Greens

v 104 104 สารบัญ (ตอ) 105 106 บทที่ 5 การตลาดสาํ หรับธรุ กจิ นาํ เท่ียว (ตอ ) 109 สรปุ ทายบท 109 คาํ ถามทบทวน 109 เอกสารอา งอิง 111 113 แผนบรหิ ารการสอนประจาํ บทที่ 6 113 บทที่ 6 การจัดรายการนาํ เท่ยี ว 114 117 1. บทนํา 125 2. ประเภทการจดั รายการนาํ เทย่ี ว 131 3. องคป ระกอบของการจัดรายการนาํ เทย่ี ว 132 4. คุณสมบตั แิ ละจรรยาบรรณของผูว างแผนจดั รายการนาํ เทย่ี ว 133 5. การสาํ รวจเสน ทางและแหลงทอ งเท่ยี ว 134 6. โครงสรา งราคาของการจดั รายการนําเที่ยว 136 7. การนําเสนอรายการนาํ เท่ียว 8. การตดิ ตอประสานงานสาํ หรบั ธรุ กจิ นาํ เท่ียว 136 สรุปทายบท 137 คําถามทบทวน 142 เอกสารอางอิง 143 แผนบริหารการสอนประจําบทที่ 7 147 บทท่ี 7 ระเบียบขอ ปฏิบัตแิ ละเอกสารประกอบการเดนิ ทางไป-กลับ 149 ตางประเทศ 1. บทนํา 2. หนงั สือเดนิ ทาง 3. วซี า (VISA) 4. ตั๋วเครื่องบิน 5. การตรวจคนเขาเมอื ง 6. การขอคืนภาษีมลู คาเพ่มิ สําหรบั นกั ทอ งเทย่ี ว

vi 149 150 สารบัญ (ตอ) 151 152 บทท่ี 7 ระเบยี บขอปฏิบตั แิ ละเอกสารประกอบการเดนิ ทางไป-กลบั 154 ตางประเทศ (ตอ) 154 สรปุ ทายบท 154 คําถามทบทวน 160 เอกสารอางอิง 160 161 แผนบรหิ ารการสอนประจําบทท่ี 8 162 บทที่ 8 ความรเู บอื้ งตนเกี่ยวกับงานมคั คเุ ทศกแ ละการนาํ เทีย่ ว 165 167 1. บทนาํ 168 2. ความหมายของมคั คเุ ทศก 169 3. ประเภทของมคั คุเทศก 170 4. ความสาํ คญั ของมัคคเุ ทศก 171 5. บทบาทของมัคคุเทศก 172 6. หนาทขี่ องมัคคุเทศก 175 7. คุณลกั ษณะ มารยาท และจรรยาบรรณของมัคคเุ ทศก 8. ปญ หาในการประกอบอาชพี มคั คเุ ทศกแ ละแนวทางการแกไข สรปุ ทายบท คําถามทบทวน เอกสารอา งองิ สรุปประเดน็ สําคัญท่ีควรรเู พือเตรยี มการจดั ตง้ั ธุรกจิ นาํ เท่ยี ว บรรณานุกรม ภาคผนวก

vii สารบญั ภาพ ภาพที่ หนา 1.1 ประเภทนกั ทองเทย่ี ว 6 1.2 แนวโนม และการเจรญิ เติบโตดานการทองเทย่ี วระหวา งป 1950-2020 9 1.3 Key factors and key principles for sustainable tourism 20 2.1 ขอบขายการเรียนรเู ก่ียวกับธุรกิจนาํ เทย่ี ว 27 2.2 บทบาทและความสาํ คัญของธุรกิจนําเที่ยวตอระบบเศรษฐกิจ สงั คมและวัฒนธรรม 30 และสิง่ แวดลอ ม 2.3 ประเภทของการจดั รายการนาํ เทย่ี ว 34 2.4 จํานวนธรุ กิจนาํ เทย่ี วท้งั หมดในประเทศไทย แยกตามประเภทธุรกจิ นําเที่ยว 41 2.5 จํานวนธุรกิจนาํ เทยี่ วรายใหมใ นประเทศไทย แยกตามประเภทธรุ กจิ นาํ เทยี่ ว 42 ระหวา งวันท่ี 6 เมษายน 2551 – 3 มถิ นุ ายน 2553 2.6 จาํ นวนธรุ กิจนาํ เทย่ี วในประเทศไทยทขี่ อยกเลกิ ใบอนญุ าตประกอบธรุ กิจนาํ เทยี่ ว 43 ระหวา งวนั ที่ 6 เมษายน 2551 – 3 มิถนุ ายน 2553 3.1 ประเภทใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เทยี่ ว 49 3.2 แบบคาํ ขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจนาํ เทยี่ วบุคคลธรรมดา 53 3.3 แบบฟอรมรายละเอียดทีต่ ั้งสาํ นกั งานสาขา 54 3.4 แบบฟอรม ภาพถายสํานักงานแสดงเลขทตี่ ้งั สํานกั งานและปายช่ือสาํ นกั งาน 58 3.5 แบบฟอรม แสดงแผนทตี่ งั้ สาํ นักงาน 56 3.6 หนงั สือแสดงความยนิ ยอมใหใชสถานท่เี ปนทต่ี งั้ สาํ นักงาน 58 3.7 หนงั สือมอบอาํ นาจ 59 3.8 (ตวั อยาง) หนงั สอื คํา้ ประกนั ธนาคาร 60 3.9 ใบนําสง หลกั ประกัน 61 3.10 กระบวนการออกใบอนุญาตประกอบธรุ กิจนําเท่ยี ว 62 3.11 ใบอนญุ าตประกอบธรุ กิจนําเทยี่ วบรษิ ทั หนมุ สาวทวั ร จาํ กดั 64

viii หนา 76 สารบัญภาพ (ตอ ) 79 98 ภาพที่ 136 4.1 กระบวนการจดั การ 137 4.2 ตัวอยางโครงสรา งองคก รของธุรกจิ นาํ เทยี่ ว 145 5.1 ตัวอยา งตาํ แหนง ผลติ ภณั ฑข องธรุ กิจนาํ เที่ยว 146 7.1 กระบวนการเดินทางไปตางประเทศ 148 7.2 ตวั อยางหนังสอื เดนิ ทาง 157-160 7.3 ตัวอยางตั๋วเครื่องบนิ แบบ E-Ticket 7.4 ตวั อยา งตั๋วเครอ่ื งบนิ แบบ E-Ticket 7.5 ตัวอยา ง Landing Card สําหรบั เขาประเทศองั กฤษ 8.1 ตวั อยา งบตั รประจําตวั มัคคเุ ทศก แยกตามประเภทของมคั คเุ ทศก

ix สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา 1.1 แนวโนมการเจริญเตบิ โตของการทอ งเทย่ี ว แยกตามภูมภิ าค 9 1.2 รายไดจากการทองเทย่ี วและเศรษฐกจิ โลก 10 1.3 สิบอนั ดับของประเทศท่ไี ดร บั ความนยิ มจากนกั ทอ งเที่ยวทว่ั โลกในป 2009 10 1.4 ยสี่ บิ อนั ดบั ของประเทศท่ีไดร ับความนยิ มจากนกั ทอ งเทยี่ วทว่ั โลกในป 2007 11 1.5 สบิ อนั ดับของประเทศทไ่ี ดรับรายไดมากทส่ี ดุ จากการทองเทยี่ ว 12 1.6 สิบอนั ดบั ของประเทศท่ีไดรับรายไดม ากทสี่ ดุ จากการทองเทย่ี ว 12-13 1.7 สรุปผลกระทบจากการทองเท่ยี วตอ เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม และสงิ่ แวดลอม 16-17 1.8 Key elements of sustainable development 3.1 ประเภทใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ นาํ เทยี่ ว 49 3.2 แบบคาํ ขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจนาํ เทยี่ วบุคคลธรรมดา 53 5.1 คาํ ถามและคาํ ตอบเก่ียวกบั พฤตกิ รรมนกั ทองเที่ยวและกลยุทธท างดา นการตลาด 91-92

x แผนบริหารการสอนประจาํ วชิ า รายวชิ า (ชื่อวชิ าภาษาไทย) การจัดการตวั แทนธุรกจิ ทอ งเทีย่ ว รหัสวิชา 3572208 (ชื่อวชิ าภาษาอังกฤษ) Travel Agency Management จาํ นวนหนวยกติ – ช่วั โมง [เชน 3 (3-0-6) ] เวลาเรยี น 48 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น คาํ อธิบายรายวิชา ศึกษาความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับประเภท รูปแบบ การจัดการธุรกิจนําเที่ยว ความตองการ และพฤติกรรมของนักทองเท่ียว การประสานงานในการจัดนําเที่ยว ระเบียบขอปฏิบัติและเอกสาร ในการเดนิ ทางระหวา งประเทศ วิธกี ารดาํ เนินงานดานการจัดนําเที่ยว และความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ งานมัคคุเทศก วตั ถปุ ระสงคทวั่ ไป 1. เพ่ือใหผูเรียนเรียนรูและเขาใจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมทองเท่ียว ธุรกิจนําเที่ยว และ กระบวนการจัดต้ังธุรกิจนําเที่ยว และการดําเนินงานในธุรกิจนําเที่ยวในดานการบริการจัดการ การตลาด การจัดรายการนําเทีย่ ว และการนาํ เทยี่ ว 2. เพอื่ ใหผูเ รียนไดเ รียนรูวิธกี ารศึกษาคน ควาหาความรูทีเ่ กย่ี วขอ งกบั ธรุ กิจนําเที่ยว 3. เพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะในการคิด และวิเคราะห เกี่ยวกับการจัดการตัวแทน ธุรกจิ ทอ งเที่ยว รวมถงึ การพัฒนาทักษะการทํางานเปนทีม 4. เพ่ือใหผูเรียนมีความรูและความเขาใจเก่ียวกับคุณธรรม จริยธรรม ท่ีเก่ียวของกับการ ประกอบธุรกจิ นาํ เทยี่ วและงานมัคคเุ ทศก 5. เพือ่ ใหผ ูเ รยี นสามารถประยุกตใ ชความรูในการปฏบิ ตั งิ านในอนาคตได เนอ้ื หา บทที่ 1 ความรเู บอ้ื งตน อุตสาหกรรมทองเทยี่ ว 3 ช่วั โมง บทที่ 2 ประเภทและการบริการของธุรกิจนําเท่ยี ว 6 ชว่ั โมง บทท่ี 3 การจดั ต้ังธุรกจิ นําเทยี่ ว 6 ชว่ั โมง บทท่ี 4 การบรหิ ารจัดการธุรกิจนําเท่ียว 6 ชัว่ โมง บทท่ี 5 การตลาดเพอื่ ธรุ กจิ นาํ เทยี่ ว 6 ช่ัวโมง บทที่ 6 การจดั รายการนาํ เท่ยี วและการตดิ ตอประสานงาน 6 ชัว่ โมง กบั ธรุ กจิ ที่เกยี่ วขอ ง

xi บทที่ 7 ระเบียบขอปฏิบัตแิ ละเอกสารประกอบการเดนิ ทาง 6 ชัว่ โมง ระหวางประเทศ 6 ชั่วโมง บทท่ี 8 ความรูเบอื้ งตน เกย่ี วกับงานมัคคเุ ทศกและการนําเทีย่ ว วิธสี อนและกจิ กรรม 1. การบรรยายในช้ันเรยี นเพ่อื ใหความรูแกน กั ศึกษาในเบ้อื งตน 2. การมอบหมายใหนักศึกษาทํากิจกรรมเพ่ือเสริมสรางความรูเพิ่มเติม และเพ่ือให นักศึกษามีทักษะในการคนควาหาความรู การวางแผน การคิด และการวิเคราะห รวมถึงการทํางานเปนทีม 3. การจัดกลุมอภิปรายในช้ันเรียนเพื่อใหนักศึกษาไดนําเสนอการผลการศึกษาและ จัดทํากิจกรรมประกอบเรียนรูท่ีไดรับมอบหมาย เพ่ือใหเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู ระหวางนกั ศกึ ษา และระหวา งนักศกึ ษากบั อาจารยผสู อน 4. การมอบหมายใหนักศึกษาจัดทําบริษัทนําเท่ียวจําลองและนําเสนอผลงาน เพื่อให นักศึกษาไดป ระยุกตความรูตางๆ ในการปฏิบัติการเสมือนจริง พรอมทั้งมีการนําหลัก คณุ ธรรมจรยิ ธรรมมาใชในการจดั ทําธรุ กจิ นาํ เที่ยวและการดําเนินงาน ส่อื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. สื่อการสอนโดยโปรแกรม PowerPoint 3. เวบไซดต า งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ ง 4. ตวั อยางเอกสารประกอบการเดนิ ทางระหวางประเทศ เชน หนงั สือเดนิ ทาง VISA เอกสารการขอ VISA ต๋ัวเครอ่ื งบิน และบตั รผา นขนึ้ เครอื่ งบนิ เปน ตน การวัดและประเมินผล รอยละ 70 รอยละ 10 1. การวัดผล รอ ยละ 30 1.1 คะแนนระหวา งภาครวม รอ ยละ 30 1.1.1 จิตพิสัย รอยละ 30 1.1.2 กิจกรรมในชนั้ เรียน รอ ยละ 100 1.1.3 การจดั ทําบรษิ ัทนาํ เท่ยี วจําลอง 1.2 คะแนนสอบปลายภาครวม รวม

xii 2. การประเมินผลแบบอิงเกณฑ ระดับคะแนน คา รอ ยละ คา ระดับคะแนน 4.00 A 90-100 3.50 3.00 B+ 85-89 2.50 2.00 B 75-84 1.50 1.00 C+ 70-74 0.00 C 60-69 D+ 55-59 D 50-54 E 0-49

แผนบรหิ ารการสอนประจําบทท่ี 1 หัวขอ เนอ้ื หา 1. ความหมายและองคป ระกอบของการทอ งเทยี่ ว 2. แนวโนม และการเจรญิ เติบโตของการทองเทีย่ ว 3. ความสาํ คญั ของการทองเที่ยว 4. ผลกระทบของการทองเท่ียวตอ เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม และสงิ่ แวดลอ ม 5. แนวคิดและหลกั การของการพัฒนาการทอ งเท่ียวอยา งยัง่ ยืน วตั ถุประสงคเ ชิงพฤติกรรม 1. ผเู รยี นสามารถอธิบายความหมายและองคป ระกอบของการทอ งเทีย่ วได 2. ผเู รยี นสามารถอธบิ ายการเจรญิ เติบโตของการทอ งเท่ยี วได 3. ผูเ รียนสามารถอธบิ ายความสําคัญของการทอ งเท่ียวได 4. ผเู รยี นสามารถอธิบายผลกระทบของการทองเที่ยวตอ เศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม และส่ิงแวดลอมได 5. ผูเรียนสามารถอธิบายแนวคิดและหลักการของการพัฒนาการทองเที่ยวอยาง ยัง่ ยืนได วธิ สี อนและกจิ กรรมการเรียนการสอน 1. วิธสี อน 1.1 การบรรยายโดยใช PowerPoint Presentation ประกอบ 1.2 การมอบหมายใหน กั ศกึ ษาคนควา ขอ มูลเพมิ่ เติม 1.3 การอภปิ รายในช้นั เรียน 2. กจิ กรรมการเรยี นการสอน 2.1 มอบหมายใหน กั ศกึ ษาคนควา ขอมูลเกยี่ วกับการทอ งเทยี่ วในหวั ขอ 2.1.1 แนวโนม การเจริญเตบิ โตของการทอ งเท่ียวในประเทศไทย 2.1.2 ปจ จัยท่ีสง ผลตอ การทอ งเทย่ี วในประเทศไทย 2.1.3 แนวโนมและความตอ งการของนกั ทองเทย่ี วในอ.หัวหนิ

2 2.1.4 องคป ระกอบของอตุ สาหกรรมทองเท่ียวในอ.หวั หนิ 2.1.5 ประโยชนและผลกระทบของการทอ งเทยี่ วในอ.หวั หนิ 2.1.6 ขอเสนอแนะในการแกไขปญ หาและการพัฒนาการทอ งเทย่ี ว อยา งย่ังยืน 2.2 ผเู รยี นนาํ เสนอขอมูลทศี่ ึกษาคนควา หนา ชัน้ เรยี น พรอ มทง้ั ถาม-ตอบ สื่อการเรียนการสอน 1. PowerPoint Presentation 2. รปู ภาพ กราฟ และแผนภูมิ การวัดและประเมินผล 1. การเขาชน้ั เรยี นและการตรงตอเวลา 2. กิจกรรมกลมุ คะแนนดบิ 10 คะแนน 1) การศกึ ษาคนควา ดวยตนเองและการวิเเคราะหเก่ียวกับอตุ สาหกรรม ทอ งเท่ียว ผลกระทบ และแนวทางการพฒั นา 2) การนาํ เสนอเรื่องท่ีศึกษาและวเิ คราะห 3) การอภปิ รายและแสดงความคิดเห็นเพือ่ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู

3 บทท่ี 1 ความรูทวั่ ไปเกยี่ วกบั อุตสาหกรรมทอ งเทย่ี ว 1. บทนาํ การทองเท่ียวเปนอุตสาหกรรมที่มีความเจริญเติบโตอยางรวดเร็วและตอเน่ืองมาเปน ระยะเวลานานกวาครึ่งศตวรรษตั้งแตหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (Sharpley, 2009) การทองเท่ียว ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง เนื่องจากความตองการเดินทางทองเท่ียวของประชากรเพ่ิมข้ึนเปน จํานวนมากท้ังในระดับโลกและระดับประะเทศ (WTO, 2008) ดวยเหตุน้ีจึงมีธุรกิจบริการตางๆ ที่ จัดต้ังขึ้นเพ่ือตอบสนองและรองรับความตองการของนักทองเที่ยวท้ังในและตางประเทศ ไดแก ธุรกิจที่พัก ธุรกิจรานอาหารและภัตตาคาร ธุรกิจการเดินทางหรือธุรกิจขนสงผูโดยสาร ธุรกิจ จําหนายสนิ คาท่ีระลึก ธรุ กจิ เพอ่ื สุขภาพและความงาม ธุรกิจกอลฟ และธุรกิจสถานบันเทิง รวมถึง ธรุ กิจนาํ เท่ยี ว เพ่ือเปนการเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเท่ียว นักทองเที่ยว และ แนวโนมการเจริญเติบโตดานการทองเท่ียว ซ่ึงเปนพื้นฐานสําคัญในการเรียนรูเก่ียวกับการจัดการ ธุรกจิ นาํ เทยี่ วในบทตอ ๆ ไป เน้อื หาท่กี ลา วถงึ ในบทน้ีจึงครอบคลุมประเด็น ดงั ตอไปนี้ 1. ความหมายและองคป ระกอบของการทองเทย่ี ว 2. แนวโนมการเจริญเติบโตดา นการทองเทยี่ ว 3. แนวโนม ความตองการของนักทอ งเท่ียว 4. ประโยชนและผลกระทบของการทองเที่ยวตอเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมอื ง และส่งิ แวดลอ ม 5. แนวคดิ และหลกั การของการพัฒนาการทอ งเที่ยวอยา งยงั่ ยืน 2. การทองเทีย่ วและอุตสาหกรรมทอ งเทย่ี ว 2.1 ความหมายของการทอ งเทยี่ ว ความหมายของการทอ งเทยี่ วโดยภาพรวมทเี่ ปน ทยี่ อมรบั กันโดยทวั่ ไป โดยองคก าร การทองเทย่ี วโลก (World Tourism Organization: WTO) เปนผกู ําหนด คอื การเดนิ ทางจากถ่นิ ท่ี อยอู าศยั ปกตไิ ปยังจุดหมายปลายทาง ดว ยความสมัครใจ และเปนการเดนิ ทางไปเพอ่ื การพกั ผอ น หยอ นใจ สนั ทนาการ ความบนั เทิงเรงิ ใจ การเยีย่ มญาติ การศึกษา การประชมุ สัมมนา และการ

4 ติดตอธุรกจิ แตม ใิ ชการเดนิ ทางเพื่อการประกอบอาชีพและการโยกยา ยถนิ่ เพ่อื การอยอู าศัยเปน การถาวร 2.2 ความหมายของอุตสาหกรรมทองเทีย่ ว อตุ สาหกรรม ตามความหมายทก่ี าํ หนดโดยพจนานกุ รมไทย ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน หมายถงึ กิจกรรมทีใ่ ชทนุ และแรงงานเพ่ือผลติ สงิ่ ของหรือจดั ใหม บี ริการ เชน อุตสาหกรรมสงิ่ ทอ อตุ สาหกรรมทองเท่ียว; ช่ือกระทรวงทม่ี อี ํานาจหนา ทเี่ กยี่ วกบั การอุตสาหกรรม การมาตรฐาน เกย่ี วกับกิจการอตุ สาหกรรม และทรัพยากรธรณี สาํ หรับความหมายในภาษาของอุตสาหกรรม หรอื Industry ในภาษาอังกฤษ คือ The companies and activities involved in the process of producing goods for sale, especially in a factory or special area (Cambridge Dictionary) ดังนน้ั ความหมายของอตุ สาหกรรมทอ งเทย่ี ว หรอื Tourism Industry จงึ หมายถงึ กระบวนและกจิ กรรมการในการผลิตหรอื จดั ใหมีสินคาและบรกิ ารเกย่ี วกับการทองเที่ยว หรอื หมายถงึ กระบวนการผลติ สินคาหรอื บริการทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การทอ งเทย่ี ว เพ่ือตอบสนองและรองรับ ความตองการของนักทอ งเทย่ี ว 2.3 องคประกอบของอุตสาหกรรมทอ งเทยี่ ว อุตสาหกรรมทองเทยี่ ว ประกอบไปดว ยองคประกอบหลัก 3 ประการทกี อใหเ กดิ กจิ กรรมและการบริการดา นการทองเทย่ี ว ไดแ ก 1) แหลงทองเทยี่ วและกจิ กรรมดานการทองเที่ยว (Tourism Resources), 2) สิ่งอํานวยความสะดวกและการบริการ (Supply), 3) นกั ทองเทยี่ วหรอื ความตองการใชสินคา และบริการดา นการทองเทย่ี ว (Demand) 1) แหลง ทอ งเท่ียวหรอื ทรพั ยากรดานการทอ งเทยี่ ว สามารถแบงออกเปน 4 ประเภท หลัก ดงั น้ี 1.1) แหลงทอ งเทยี่ วทางธรรมชาติ ไดแ ก ทะเล น้าํ ตก ลาํ ธาร ภูเขา ทุงหญา ทุงดอกไม ปาไม ปา ชายเลน โดยพนื้ ทหี่ ลักดา นการทอ งเทีย่ วทาง ธรรมชาติ ไดแก อทุ ยานแหงชาติ ซึง่ เปน แหลง ทรพั ยากรทางธรรมที่อดุ ม สมบูรณแ ละมคี วามสวยงาม มคี วามเปน เอกลักษณเฉพาะพน้ื ที่ เชน อุทยานแหง ชาตดิ อยอนิ ทนนท จ.เชยี งใหม อุทยานแหง ชาตนิ าํ้ ตกพล้วิ จ.จนั ทบรุ ี อทุ ยานแหง ชาตปิ าหนิ งาม จ.ชยั ภูมิอทุ ยานแหง ชาติ อทุ ยาน แหง ชาติแกง ตะนะ จ.อบุ ลราชธานี อทุ ยานแหง ชาตหิ มูเกาะสิมลิ นั จ.พังงา และอทุ ยานแหง ชาติหมเู กาะตะลุเตา จ.สตูล เปน ตน

5 1.2) แหลงทองเท่ยี วทางประวัตศิ าสตร ศิลปวฒั นธรรม ไดแก แหลงโบราณถ สาน พนื้ ทที่ างประวตั ศิ าสตร เชน อทุ ยานประวัตศิ าสตรพ ระนครศรอี ยธุ ยา อุทยานประวตั ศิ าสตรส ุโขทยั -ศรีสชั นาลยั -กําแพงเพชร แหลงโบราณคดี บานเชยี ง จ.อุดรธานี วดั พระแกว พระบรมมหาราชวงั รวมไปถงึ วดั ตา งๆ และปราสาทราชวงั ซึ่งเปน แหลง รวบรวมประวัติศาสตร ศลิ ปะ และ วัฒนธรรมมาอยา งยาวนาน 1.3) แหลงทอ งเที่ยวทางวัฒนธรรมและวถิ ชี วี ิต ไดแ ก ทอ งถน่ิ หรอื ชมุ ชนตา งๆ ทม่ี ีวถิ กี ารดาํ รงชวี ิต ความเชอื่ ศลิ ปะ และวฒั นธรรม ทีเ่ ปนเอกลักษณ เชน ชทุ ชนชาวเขาเผา กระเหรี่ยง ชมุ ชนชาวเขาเผามง หมบู านไทยทรงดาํ จ.เพชรบุรี วัฒนธรรมภูไ ทย จ.เลย เปน ตน 1.4) แหลงทองเท่ียวทม่ี นษุ ยสรา งขึน้ ไดแ ก สถานทท่ี ีม่ นุษยส สรางขน้ึ เพ่ือเปน สิง่ ดึงดูดใจดา นการทองเท่ียว เพื่อการสนั ทนาการ เพื่อการพกั ผอ นหยอนใจ เชน สวนสัตว สวนนงนุช พิพธิ ถณั ฑ สวนพฤกษศาสตร สวนสนกุ โรงละคร รวมไปถงึ ตลาดนํา้ และตลาดตางๆ ซงึ่ นอกจากจะเปน แหลง จบั จา ยซอ้ื ของแลว ก็ยงั เปนจดุ เดนและเปนเอกลกั ษณของแตล ะพนื้ ทที่ น่ี ัก ทอง เทยี่ วเปน จาํ นวนไมน อยตอ งการไปสมั ผสั และเย่ียมชม สําหรับกจิ กรรมดา นการทองเท่ยี ว ซึง่ มเี ปน จาํ นวนมากและมคี วามหลากหลาย หาก แบงตามแหลง ทที่ ํากจิ กรรมสามารถแบง ได 3 ประเภทหลักๆ คอื 1) กจิ กรรมทางบก, 2) กิจกรรม ทางนา้ํ , และ 3) กจิ กรรมทางอากาศ 1) กิจกรรมการทอ งเทยี่ วทางบก ไดแก การเดนิ ปา การปน จกั รยาน การน่ังชาง ชมเมอื ง การนง่ั รถชมเมอื ง การใหอ าหารสตั ว การชมการแสดงทาง ศิลปวัฒนธรรม และการแสดงของคนและสตั ว เปน ตน 2) กิจกรรมการทอ งเทยี่ วทางนาํ้ ไดแก การเลน นาํ้ วา ยนาํ้ การดาํ นา้ํ ลกึ (Scuba Diving) การดําน้ําตน (Snorkeling Diving) การลองเรอื การพายเรือ การดู นก ตกหมกึ การลองแกง การลองแพ เปน ตน 3) กิจกรรมการทองเท่ียวทางอากาศ ไดแก การน่งั บอลลนู พาราชทู การโดด หอสูง การน่งั กระเชาลอยฟา การปนหนา ผา บนั จ้จี ม๊ั เปน ตน 2) สง่ิ อาํ นวยความสะดวกและการบริการนกั ทอ งเทีย่ ว คอื ระบบสาธารณปู โภคตางๆ ไดแ ก ถนนหนทาง การคมนาคมขนสง ระบบโทรคมนาคม ระบบไฟฟา นา้ํ ประปา สาํ หรับการบรกิ ารสาํ หรับนักทอ งเที่ยว ไดแ ก พี่พกั อาหารและเคร่อื งดื่ม สนิ คา ท่ี

6 ระลึก การแลกเปลย่ี นเงนิ ตรา การประกันภยั สถานบรกิ ารอนิ เตอรเ นต็ สถาน บรกิ ารสขุ ภาพและความงาม และ สถานบงั เทงิ เปน ตน 3) นกั ทองเท่ยี ว คอื ผเู ดินทางจากทห่ี นงึ่ ไปยังอกี ท่หี นง่ึ เพอื่ ประโยชนใ นการพกั ผอน หยอนใจ การศกึ ษาหาความรู ความบนั เทิง หรอื การอนื่ ใด (พระราชบัญญัติธุรกจิ นําเท่ยี วและมคั คเุ ทศก พ.ศ.2551) ซ่งึ เปน เปน บุคคลสาํ คัญทใ่ี ชบริการตา งๆ ที่ เกย่ี วขอ งกับการทองเท่ียวตามท่ีไดกลา วมาแลวขางตน และทําใหการทองเท่ียวและ อุตสาหกรรมเกิดขนึ้ เพราะหากไมม คี วามตองการของนักทอ งเที่ยวแลว สินคา และ การบริการตางๆ กค็ งจะไมเ กดิ ขนึ้ และไมม ีการเจริญเตบิ โตมากอยา งทกุ วนั น้ี นกั ทอ งเท่ียวสามารถแบง ออกไดเ ปน 2 ประเภทใหญๆ คอื 3.1) Domestic tourists คือ นักทองเทยี่ วทีเ่ ดนิ ทางทอ งเท่ยี วภายในประเทศที่ ตนถือสัญชาตอิ ยู 3.2) International tourists คอื นักทอ งเทย่ี วชาวตางประเทศทเี่ ดนิ ทาง ทองเท่ยี วไปยงั ประเทศตา งๆ ท่ีมใิ ชป ระเทศทีต่ นมถี น่ิ พํานักถาวร แผนภูมิดานลา งแสดงใหเ หน็ ถงึ ประเภทของนกั ทองเทย่ี วทงั้ ชาวไทยและชาวตา งประเทศ Visitors ผเู ย่ยี มเยอื น Domestic tourists International tourists ชาวไทย ชาวตางประเทศ Tourists Excursionists Short stay Long stay นักทอ งเทยี่ ว นักทัศนาจร แบบพาํ นักระยะส้นั แบบพํานกั ระยะยาว แผนภาพ 1.1 ประเภทของนกั ทอ งเทย่ี ว ที่มา ดังแปลงจาก ผศ.ดร.นิภา วธาวนิชกุล, 2550 ปจ จัยทส่ี ง เสรมิ ใหน กั ทองเทยี่ วเดนิ ทางทอ งเทย่ี ว ไดแก ปจจัยภายในและปจ จัยภายนอก ปจจัยภายใน หมายถงึ ปจ จยั สว นบคุ คลทส่ี งเสรมิ ใหเกดิ การทอ งเทยี วไดแก รายได เวลา และความตองการในการทอ งเทยี่ ว

7 ปจจัยภายนอก ไดแ ก สง่ิ อาํ นวยความสะดวกตางๆ และสภาพแวดลอ มดานการทอ งเทยี่ ว ไดแก ระบบสาธารณูปโภค ความปลอดภยั อิสรเสรีภาพในการเดินทาง รวมถึงขอ มลู ขา วสารดา น การทอ งเทย่ี วทมี่ หี ลากหลายรปู แบบในปจ จบุ ัน ไดแ ก การโฆษณาประชาสัมพนั ธ รายการโทรทศั น ทน่ี าํ เสนอขอ มลู ดานการทอ งเทย่ี ว และการจดั กจิ กรรมเพื่อสง เสรมิ และกระตนุ ใหเ กดิ การทองเทย่ี ว ประเภทของสินคาและการบริการในอตุ สาหกรรมทอ งเท่ียว ไดแก 1) Pure tangible goods เชน สินคาท่รี ะลึก 2) Tangible goods with accompanying services สวนใหญเปนสนิ คาทัว่ ไป ซงึ่ ไมเขา ขา ยสนิ คา ในอตุ สาหกรรมทอ งเท่ียวโดยตรง ไดแก สินคา ทม่ี กี ารบรกิ ารหลัง การขาย เชน รถยนต เคร่อื งปรบั อากาศ และเคร่อื งใชไ ฟฟา ตา งๆ 3) Hybrid สถานบริการอาหารและเครื่องด่มื 4) Major service with accompanying minor goods เชน สถานบรกิ ารสขุ ภาพ และความงาม สถานบนั เทงิ 5) Pure service เชน ธุรกจิ ทพี่ กั สนามกอลฟ การขนสง รถเชา การแสดง ธรุ กจิ นํา เที่ยว สถานทท่ี อ งเทย่ี ว สถานบรกิ ารอินเตอรเ นต็ ลกั ษณะสําคญั ของการบรกิ าร ไดแ ก 1) Intangibility – มลี ักษณะเปน นามธรรม จับตอง สมั ผัสดว ยกายไมไ ด แตส ามารถ รับรไู ดด วยใจและความรูสึก 2) Inseparability – ผใู หบ ริการและผรู ับบรกิ าร หรือการบรกิ ารและการใชบ รกิ าร จะตองเกิดขึ้นในเวลาเดยี วกนั ไมสามารถแยกออกจากกันได 3) Perishability – การบรกิ ารไมส ามารถผลติ และจดั เกบ็ ไวได 4) Variability – การบริการมคี วามหลากหลาย ตามกาละ เทศะ ผใู หบ รกิ าร ผูร บั บริการ และสภาวะแวดลอ มตา งๆ ท่เี กีย่ วของในการใหบรกิ าร คุณภาพของการบรกิ าร ประกอบไปดว ยองคปื ระกอบตางๆ ดงั นี้ 1) ความสะดวก 2) ความถกู ตอ ง 3) ความรวดเรว็ 4) ขัน้ ตอนไมยงุ ยาก ซับซอ น

8 5) เขาถงึ ความตอ งการของลกู คา หรอื นกั ทองเทยี่ ว สามารถตอบสนองความตองการ ได 6) ใหคาํ ปรึกษาและความชว ยเหลอื อยางจรงิ ใจ 7) กาย วาจา และใจ พรอมใหบ รกิ าร 3. แนวโนม และการเจรญิ เตบิ โตดานการทองเทยี่ ว การทอ งเทย่ี วเปนกิจกรรมทม่ี ีความสาํ คัญทางเศรษฐกิจ (Sharpley, 2009) ซึง่ มกี ารเจริญเตบิ โต อยา งตอเนื่อง โดยเฉพาะในป 1950 เรื่อยมาจนถงึ ป 2000 จนถึงปจ จุบนั การทองเท่ยี วระหวา ง ประเทศมีอัตราการเจริญเตบิ โตอยางตอเน่อื งตามลาํ ดบั จากจํานวนนกั ทอ งเทยี่ วไมกี่ลานคนในป 1950 เพม่ิ ขนึ้ เปน เกอื บ 700 ลา นคนในป 2000 นอกจากนน้ั องคก ารการทองเทย่ี วโลก สหประชาชาติ ไดค าดการณว าจาํ นวนนักทองเท่ียวในป 2010 จะเพิ่มขนึ้ เปน 1,000 ลานคน และ เพิ่มสงู ขน้ึ ถงึ 1.6พนั ลา นคนในป 2020 รายไดจากการทองเที่ยวในป 1950 มมี ูลคา 2.1 พัน ลา นดอลลา ร และเพมิ่ ข้นึ หลายรอยเทา ตวั เปนเกอื บ 500 ลานดอลลา รใ นป 2000 นอกจากนั้น หากจํานวนนกั ทอ งเทยี่ วทค่ี าดการณในป 2020 เปนจริง การทองเที่ยวจะมีมูลคา ถงึ 20,000 ลา นดอลลา ร (WTO, 2008) ซ่งึ เปน ตวั เลขจาํ นวนมหาศาลและเปนรายไดหลกั ทม่ี าจากการ ทอ งเท่ยี วของหลายๆ ประเทศ โดยเฉพาะประเทศกาํ ลงั พฒั นา เชน ประเทศไทย นอกจากการทองเทยี่ วระหวา งประเทศทกี่ ลา วมานแลว ยงั มกี ารทอ งเทยี่ วภายในประเทศทข่ี าด การบนั ทึกตวั เลขทางสถิติทแ่ี นนอนและชดั เจน Sharpley (2009) กลา ววา การเจริญเตบิ โตของ การทอ งเทยี่ วภายในประเทศตางๆ มจี าํ นวนมากกวา การทองเทย่ี วระหวา งประเทศ ถงึ 6-10 เทา ซง่ึ ถือวา เปน ตวั เลขจํานวนมากอยา งยงิ่ และแสดงใหเ หน็ วา การทอ งเที่ยวโดยภาพรวมทงั้ การ ทอ งเทีย่ วระหวา งประเทศและภายในประเทศมกี ารเจรญิ เตบิ เปน จํานวนมากและมีมูลคา มหาศาล ท่ียากจะหาอตุ สาหกรรมใดมาเทียบได กราฟดา นลา ง และตารางท่ี 1.1-1.6 แสดงใหเ หน็ แนวโนม การเตบิ โตของการทอ งเทยี่ ว รายไดจ าก การทองเทย่ี ว และประเทศตา งๆ ที่ไดร ับความนยิ มจากนกั ทองเทย่ี ว

9 กราฟที่ 1.2 แนวโนมและการเจรญิ เตบิ โตดานการทอ งเทย่ี ว ระหวางป 1950-2020 Source: UNWTO 2008 ตาราง 1.1 แนวโนมการเจรญิ เติบโตของการทองเท่ยี วแยกตามภมู ิภาค Source: UNWTO 2008

10 ตาราง 1.2 รายไดจ ากการทอ งเทย่ี วและเศรษฐกิจโลก 2003 World Exports of merchandise and commercial services (Balance of Payments, Goods and Services Credit) US$ billion Share (%) Share (%) Total 9,089 100 Merchandise exports 7,294 80 Agricultural products 674 7 Mining products 960 11 Manufactures 5,437 60 Other 223 2 Commercial services 1,795 20 100 Transportation 405 4 23 Travel 252 6 29 Other 865 10 48 Source: UNWTO 2008 ตาราง 1.3 สบิ อนั ดบั ของประเทศทไี่ ดร ับความนยิ มจากนกั ทอ งเทีย่ วทวั่ โลก ในป 2009 International tourist arrivals Rank Country Region International tourist arrivals (Million) 1 France Europe 2009 2008 2007 2006 74.20 79.20 80.90 77.90 2 United States North America 54.90 57.90 56.00 51.00 3 Spain Europe 52.20 57.20 58.70 58.00 4 China Asia 50.90 53.00 54.70 49.90 5 Italy Erope 43.20 42.70 43.70 41.10 6 United Kingdom Europe 28.00 30.10 30.90 30.70 7 Turkey Europe 25.50 25.00 22.20 18.90 8 Germany Europe 24.20 24.90 24.40 23.60 9 Malaysia Asia 23.60 22.10 21.00 17.50 10 Mexico North America 21.50 22.60 21.40 21.40 Source: UNWTO 2008

11 ตารางที่ 1.4 ยีส่ บิ อันดับของประเทศทไ่ี ดรบั ความนยิ มจากนกั ทอ งเท่ียวทวั่ โลก ในป 2007 Rank Country Region International tourist arrivals 1 France Europe 2 Spain Europe US Dollar Million 3 United States North America 81.90 Million 4 China Asia 59.20 Million 5 Italy Europe 56.00 Million 6 United Kingdom Europe 54.70 Million 7 Germany Europe 43.70 Million 8 Ukraine Europe 30.70 Million 9 Turkey Europe 24.40 Million 10 Mexico North America 23.10 Million 11 Malysia Asia 22.20 Million 12 Austria Austria 21.40 Million 13 Russia Europe 21.00 Million 14 Greece Europe 20.80 Million 15 Canada North America 20.50 Million 16 Hong Kong Asia 18.20 Million 17 Poland Europe 17.90 Million 18 Thailand Asia 17.20 Million 19 Macau Asia 15.00 Million 20 Portugal Europe 14.50 Million 12.90 Million Source: UNWTO, 2008 12.30 Million

12 ตารางท่ี 1.5 สบิ อันดับของประเทศท่ีไดรับรายไดม ากทสี่ ดุ จากการทองเท่ยี ว International tourism Receipts Rank Country Region International tourism receipts (billion) 1 United States North America 2 Spain Europe 2009 2008 2007 2006 3 France Europe 94.20 110.10 97.00 85.80 4 Italy Europe 53.20 61.60 57.60 51.10 5 China Asia 48.70 55.60 54.30 46.30 6 Germany Europe 40.20 45.70 42.70 38.10 7 United Kingdom Europe 39.70 40.80 37.20 33.90 8 Australia Oceania 34.70 40.00 36.00 32.80 9 Turkey Europe 30.10 36.00 38.60 34.60 10 Austria Europe 25.60 24.80 22.30 17.80 Source: UNWTO, 2008 21.30 22.00 18.50 16.90 21.80 18.90 16.60 ตารางท่ี 1.6 สิบอนั ดบั ของประเทศท่มี นี กั ทอ งเทยี่ วใชจา ยเงินเพอ่ื การทองเทยี่ วมากทส่ี ุด International tourism Expenditures Rank Country Region International tourism expenditures 1 Germany Europe (billion) 2009 2008 2007 2006 80.80 91.00 83.10 73.90 2 United States North America 73.10 79.70 76.40 72.10 3 United Kingdom Europe 48.50 68.50 71.40 63.10 4 China Asia 43.70 36.20 29.80 24.30 5 France Europe 38.90 43.10 36.70 31.20 6 Italy Europe 27.80 30.80 27.30 23.10

13 ตารางที่ 1.6 (ตอ ) สิบอันดับของประเทศท่มี ีนกั ทอ งเท่ียวใชจา ยเงนิ เพอ่ื การทองเท่ยี วมาก ทส่ี ดุ International tourism Expenditures Rank Country Region International tourism expenditures 7 Japan Asia (billion) 25.10 27.90 26.50 26.90 8 Canada North America 24.30 26.90 24.70 20.60 9 Russia Europe 20.80 23.80 21.20 18.10 10 Netherlands Europe 20.70 21.70 19.10 17.00 Source: UNWTO, 2008 แนวโนม และความตอ งการของนักทอ งเท่ยี ว ในปจ จบุ นั และอนาคต ความตอ งการของนักทองเทียวมีการเปลี่ยนแปลงและมีจํานวนเพ่ิมมากข้ึน โดยมสี าเหตุหลกั มาจากปจจัยตา งๆ ดังตอไปนี้ 1) อัตราสวนจํานวนประชากร โดยอัตราผูสูงอายุเพิ่มมากข้ึน และอัตราการเกิดรวมถึง จาํ นวนประชากรในวัยเดก็ ลดลง 2) ประชากรโดยเฉลยี่ มีการศกึ ษาสูงข้นึ 3) การประกอบอาชีพและมรี ายไดมากขน้ึ 4) ลักษณะทางสังคมและวฒั นธรรม ท้ังเปน ตัวกระตุน และดงึ ดูดใหเ กดิ การทองเท่ียว 5) การเดินทางและระบบคมนาคมขนสงที่มคี วามสะดวก ปลอดภัย และประหยัด มากข้นึ 6) เทคโนโยลีกาวหนา สามารถติดตอและรับรูขอมูลขาวสารไดอยางกวางขวาง สะดวก และรวดเร็ว ปจจัยตางๆ เหลา น้ี รวมไปถงึ สภาพเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม และสิง่ แวดลอม สงผล ใหความตองการและแนวโนมการทองเท่ียว จากเดิม คือ 3S คือ Sea Sand and Sun เปล่ียนเปน New 3S and 4E ไดแก 3S: Safety, Sanitation and Satisfaction; 4E: Excitement, Entertainment, Education and Environment

14 4. ความสําคญั และผลกระทบของการทอ งเทีย่ ว 4.1 ความสาํ คญั ของการทองเท่ยี ว การทองเท่ียวเปนอุตสาหกรรมที่มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วและตอเน่ืองเปนระยะ เวลานานกวาครึ่งศตวรรษ อุตสาหกรรมทองเท่ียวสามารถสรางรายไดหลักใหกับหลายๆ ประเทศ เปนจํานวนมากท้ังในระดับชาติและระดับทองถ่ิน ปจจัยหลักที่สงเสริมใหอุตสาหกรรมทองเท่ียว ไดร บั การสงเสรมิ และมกี ารเจรญิ เตบิ โตอยา งมาก ไดแ ก 1) ศักยภาพของการทองเที่ยวที่สามารถสรางรายไดเปนเงินตราตางประเทศและ ชว ยลดการขาดดลุ การคา 2) การทองเท่ยี วในหลายๆ ประเทศ รวมท้งั ประเทศไทย เปนทางเลอื กทมี่ ศี กั ยภาพ และสามารถพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศได 3) การทองเที่ยวมีการพัฒนาบนพื้นฐานของทรัพยากรที่มีอยูแลวแตเดิมเปนหลัก ไดแก ทรัพยากรแหลงทองเท่ียวทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม และวถี ีชีวิตของชุมชนที่มีเอกลักษณแ ละมคี วามแตกตา งอยางนาสนใจและเปน ส่ิงดึงดูดความสนใจดานการทองเท่ียว ทําใหเกิดการเดินทางทองเท่ียวเพื่อมา เยี่ยมชมและสัมผัสกับแหลงทองเท่ียวท่ีมีความสวยงามและมีเอกลักษณ เฉพาะตวั ของแตล ะสถานที่ท่ีเปน จดุ หมายปลายทางดานการทอ งเท่ยี ว 4) การทองเที่ยวไมมีขอจํากัดเหมือนกับการคาระหวางประเทศ เชน กําแพงภาษี และโควตาการสินคาสงออก เน่ืองจากนักทองเที่ยวเปนผูที่เดินทางมายังแหลง ทองเท่ียว ซึ่งโดยหลักการท่ัวไปประชาชนหรือนักทองเท่ียวยอมมีสิทธิและ เสรีภาพในการเดินทางและไมมีการจํากัดจํานวนนักทองเที่ยวทั้งการเดินทาง ออกนอกประเทศและการเดินทางไปยังประเทศอื่นๆ ท่ีเปนจุดหมายปลายทาง ดานการทอ งเที่ยว, และ 5) การทอ งเท่ยี วเปนกิจกรรมทกี่ ระตุนใหเ กดิ การพฒั นาธรุ กจิ ตางๆ ทเี่ กยี่ วของเปน จํานวนมากทั้งธุรกิจท่ีเกี่ยวของกับการทองเท่ียวโดยตรง เชน ธุรกิจท่ีพัก ธุรกิจ ขนสง ธุรกิจรานอาหารและภัตตาคาร และธุรกิจสินคาท่ีระลึก และธุรกิจท่ี เกี่ยวของกับการทองเที่ยวโดยทางออม เชน ภาคการเกษตรท่ีผลิตภัณฑ ทางการเกษตรปอนธุรกิจโรงแรมและรานอาหาร ภัตตาคาร อุตสาหกรรมการ ผลิตสินคาท่ีระลึก ผูผลิตและผูจัดจําหนายสินคาตกแตงอาคารสถานที่ และ อุตสาหกรรมการกอสราง เปนตน (Sharpley, 2009) ประกอบกับการ เปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจและสังคมที่สงเสริมใหการทองเท่ียวเปนกิจกรรมที่ กลายเปนสวนประกอบสําคัญในชีวิต คือ การมองวาการทองเที่ยวเปนกิจกรรม

15 เพ่ือการพักผอน การเรียนรู การสรางเสริมประสบการณ และการเปดโลกทัศน รวมถึงเปนการเพิ่มพลังในการทํางานใหมีประสิทธิภาพดีย่ิงข้ึน และสภาพ เศรษฐกิจท่ีเอื้อใหประชาชนมีเงินทองเพ่ือการจับจายใชสอยในดานการ ทองเท่ยี วมากยิ่งข้ึน ดวยปจจัยเหลานี้ การทองเท่ียวจึงไดรับความนิยมและสรางการทองเที่ยวใหเปน อุตสาหกรรมขนาดใหญท่ีมีศักยภาพในการสรางงาน สรางรายได และพัฒนาสังคมเปนอยางมาก ถึงแมวาจะมีบางชวงที่อัตราการเดินทางทองเที่ยวและรายไดจากการทองเที่ยวชะลอตัวอัน เนื่องมาจากสภาพเศรษฐกิจ โรคระบาด (SAR) การกอการรายขามชาติ (Terrorism) และภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ (Tsunami) แตโดยภาพรวมแลวการทองเท่ียวก็สามารถฟนตัวไดอยางรวดเร็วและมี ความเติบโตอยา งตอเนอ่ื งในระยะยาว 4.2 ผลกระทบของการทองเที่ยวตอเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ สิง่ แวดลอม เน่อื งการทองเที่ยวเปน อุตสาหกรรมขนาดใหญท่มี คี วามเกย่ี วของกับธรุ กจิ กิจกรรม และแหลง ทองเทย่ี ว รวมถงึ ผูคนเปน จาํ นวนมาก ทงั้ นกั ทองเทีย่ ว ผปู ระกอบการ ผใู หบรกิ าร และ คนในทอ งถน่ิ ดงั นนั้ การทองเทย่ี วจงึ เปน กิจกรรมทส่ี ามารถสง ผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม และส่งิ แวดลอม เปนทท่ี ราบกนั ดโี ดยทว่ั ไปวา การทองเท่ียวสง ผลกระทบตอ ระบบเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม ในทอ งถ่ิน ทั้งทางตรงและทางออม ทง้ั ดานบวกและดานลบ จากการศกึ ษาท่ผี า น มาพบวาผลกระทบดา นบวกที่โดดเดน จากการทองเทีย่ วในแหลง ทองเทยี่ วตางๆ คอื ประชาชนมี รายไดแ ละมีโอกาสในการประกอบอาชีพเพมิ่ มากขน้ึ มกี ระแสเงินหมนุ เวยี นในระบบเศรษฐกจิ มาก ยง่ิ ขนึ้ ประชาชนมชี วี ติ ความเปน อยทู ด่ี ขี ึน้ สง เสรมิ ใหค นในทองถน่ิ ประกอบอาชพี ในถิน่ ฐานของ ตนเอง ไมต อ งเดนิ ทางไปประกอบอาชีพในถิน่ อนื่ และสง เสรมิ ความสมั พันธข องคนในครอบครวั นอกจากนนั้ การทองเทย่ี วยงั กอใหเ กดิ การอนรุ ักษแ ละฟน ฟูศิลปวัฒนธรรมเพ่ือเปน สง่ิ ดึงดดู ใจ นกั ทอ งเท่ยี ว (มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช, 2549; Mowforth and Munt, 2009; Wall and Mathieson, 2006) ในขณะเดียวกัน ผลกระทบดานลบในดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ท่ีเกิด จากการทองเท่ียวก็มีไมนอย เชน 1) คาครองชีพในแหลงทองเท่ียวสูงข้ึนและเปนอุปสรรคตอการ ดํารงชีวิตของคนทองถ่ินซึ่งมีรายไดนอย 2) รายไดจากการทองเที่ยวโดยสวนใหญตกอยูกับ นายทุนและผูประกอบการดานการทองเท่ียวมากกวาคนทองถ่ิน 3) ความแตกตางและความ เหลื่อมลํ้าของการดํารงชีวิตระหวางนักทองเที่ยวและคนทองถ่ิน 4) การเลียนแบบวัฒนธรรม

16 ตางชาติและละเลยการปฏิบัติตามวัฒนธรรมอันดีงามของคนไทย เชน การแตงกาย 5) เกิดการ ครอบครองพ้ืนทีใ่ นแหลงทองเท่ียวของนักลงทุนและผูประกอบการและการโยกยายของคนทองถ่ิน ไปอยูบริเวณอื่นหรือถิ่นอ่ืน 6) ปญหาขยะ 7) การจราจรติดขัด และ 8) ความแออัดจากอาคาร รานคา ผูประกอบการและนักทองเที่ยว ในพ้ืนท่ีแหลงทองเท่ียว (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย, 2552; มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549; Mowforth and Munt, 2009; Wall and Mathieson, 2006) ตารางที่ 1.7 สรุปผลกระทบจากการทองเที่ยวตอเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ สงิ่ แวดลอ ม ผลกระทบตอ ดา นบวก ดา นลบ เศรษฐกจิ 1. สรางรายไดใหประชาชนในระดับภมู ิภาค 5. คา ครองชพี สูงในแหลง ทองเที่ยวตา งๆ 2. สรางรายไดทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศ 6. การกระจายรายไดอ ยา งไมเปนธรรม 3. สงเสริมการลงทุนจากตา งประเทศ 4. กระตนุ ใหเ กิดการหมนุ เวียนเงนิ ตราใน ไปสูประชาชนในทอ งถน่ิ 7. ราคาท่ีดนิ และอสงั หาริมทรพั ยเ พ่มิ อตุ สาหกรรมทองเทยี่ วซึง่ เกยี่ วของกบั ธรุ กิจหลากหลายประเภทและประชาชนที่ สูงขึน้ จนคนทอ งถน่ิ ไมสามารถซ้ือและ เกย่ี วของกบั การทองเทย่ี วท้ังทางตรงและ ครอบครองได ทางออ ม 1. กอใหเกดิ การสรางงานสรา งอาชีพแกคน 6. การทองเทย่ี วกอใหเกิดความแตกตา ง ทอ งถ่นิ และประชาชนเปนจํานวนมาก ระหวา งชนชัน้ ระหวา งนกั ทอ งเท่ียวและ 2. สง เสริมความสัมพันธอ ันดขี องครอบครวั คนในทองถ่ินมากข้นึ เนื่องจากคนในทองถ่นิ ไมต อ งเดินทางไป 7. สงเสริมใหเ กดิ การเปล่ยี นแปลงทาง ประกอบอาชีพตางถนิ่ สงั คมไปสูวัตถุนิยมและการแกงแยง 3. สงเสริมใหค นในทองถน่ิ เกิดความรักและ แขงขนั มากยง่ิ ขึน้ สงั คม หวงแหนทรพั ยากรทอ งถ่นิ มากข้นึ 8. ปญหาความแออัดและปญ หารถตดิ 4. กอ ใหเกดิ การพัฒนาไปสภู ูมภิ าคและ 9. เกดิ การโยกยายของผูค น ไดแก คนตาง ทองถ่นิ ตา งๆ เชน การสรางถนน และ ถน่ิ ยายเขา มาประกอบธรุ กิจและทาํ งาน ระบบสาธารณปู โภคตา งๆ เพือ่ สงเสรมิ ในแหลงทอ งเที่ยว สว นคนในทองถนิ่ การทอ งเทีย่ ว ยายออกจากพื้นท่ี 5. การพัฒนาคนในทองถ่ินใหมีความรู เกยี่ วกับการทองเที่ยวมากยิง่ ข้นึ

17 ตารางที่ 1.7 (ตอ) สรุปผลกระทบจากการทองเท่ียวท้ังดานบกและดานลบตอเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม และสง่ิ แวดลอม ผลกระทบตอ ดานบวก ดา นลบ วฒั นธรรม 1. สง เสริมการอนุรักษแ ละฟน ฟูภูมิ 3. เกิดการเลียนแบบวัฒนธรรมของ สงิ่ แวดลอ ม ปญ ญาทองถ่นิ ศลิ ปวัฒนธรรม วิถี ตา งถน่ิ หรือตา งชาติทม่ี าจาก ชีวติ ดง้ั เดมิ ของชุมชน โบราณสถาน นกั ทอ งเท่ยี ว และละเลยการปฏิบตั ิ และสถาปต ยกรรมตางๆ ใหค งอยู ตามวิถีชีวิตและวฒั นธรรมดงั้ เดิม ตอ ไป ของคนในทอ งถิ่น 2. สง เสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรทู าง วัฒนธรรมและความเขา ใจของคน 3. แหลง ทองเท่ียวเส่ือมโทรม จากตางถ่ินและตา งชาติ 4. ปญหาขยะ 5. ระบบนเิ วศไดร บั ความเสียหายและ 1. สง เสริมใหเกดิ การอนรกั ษและฟนฟู ส่ิงแวดลอ มและ ถกู ทําลาย ทรัพยากรธรรมชาตซิ ึง่ เปน แหลง 6. พฤตกิ รรมสตั วปาเปลย่ี นไป ทองเที่ยวหลกั ท่ีดงึ ดูดความสนใจ จากนักทองเท่ียว เนอ่ื งจากนกั ทอ งเที่ยวใหอาหาร 7. มคี วามตองการสูงในการบรโิ ภค 2. สงเสริมใหเ กดิ การเรยี นรูและ ตระหนกั ในคุณคาและความสาํ คญั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละการ สาธารณูปโภค เชน น้าํ ประปา อนุรกั ษม ากขึน้ ไฟฟา และถนนหนทาง ในแหลง ทอ งเที่ยว 8. ขาดการศึกษาและจาํ กัดจาํ นวน นักทองเที่ยวเนือ่ งจาก ความสามารถในการรองรับ นักทอ งเท่ยี วของแตล ะพน้ื ทม่ี จี าํ กดั

18 5. แนวคิดและหลักการการพัฒนาการทอ งเท่ียวอยางย่งั ยืน 5.1 ความหมายของการพฒั นาการทอ งเทยี่ วอยางย่ังยนื การทองเทยี่ วอยา งยัง่ ยนื เปน แนวคิดทเ่ี กดิ จากการแนวคดิ การพฒั นาอยา งยั่งยนื ซง่ึ เปนผลมาจากการหว งใยในการอนรุ กั ษแ ละปอ งกนั สง่ิ แวดลอมจากผลกระทบอนั เนอื่ งมาจากการ พัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม การทอ งเทยี่ วอยา งย่ังยนื (Sustainable Tourism) หมายถงึ “Sustainable tourism development meets the needs of the present tourists and host regions while protecting and enhancing opportunity for the future. It is envisaged as leading to management of all resources in such a way that economic, social, and aesthetic needs can be fulfilled while maintaining cultural integrity, essential ecological processes, biological diversity, and life support systems.” (WTO, WTTC and EC, 1996). การทอ งเทย่ี วอยา งยั่งยนื หมายถงึ การทองเทยี่ วอยางมีความรบั ผิดชอบและ กอใหเ กิดผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอม สงั คม และวฒั นธรรมนอยที่สุด ในขณะท่ไี ดรบั ผลประโยชน จากการทองเท่ยี วมากท่สี ุด 5.2 องคป ระกอบของการพัฒนาการทองเท่ยี วอยา งยั่งยนื ประกอบดวย ๓ องคประกอบหลกั ไดแก เศรษฐกจิ สังคมและวัฒนธรรม และสง่ิ แวดลอ ม รายละเอยี ดดังตารางที่ 1.8

19 Table 1.8: Key elements of sustainable development 1. Economic sustainability means generating prosperity at different levels of society and addressing the cost effectiveness of all economic activity. Crucially, it is about the viability of enterprises and activities and their ability to be maintained in the long term. 2. Social sustainability means respecting human rights and equal opportunities for all in society. It requires an equitable distribution of benefits, with a focus on alleviating poverty. There is an emphasis on local communities, maintaining and strengthening their life support systems, recognizing and respecting different cultures and avoiding any form of exploitation. 3. Environmental sustainability means conserving and managing resources, especially those that are not renewable or are precious in terms of life support. It requires action to minimize pollution of air, land and water, and the conserve biological diversity and natural heritage. Source: UNEP and WTO, 2005, p.9 5.3 หลักการพฒั นาการทองเท่ยี วอยา งยัง่ ยืน โดย WTO (2004) ประกอบดวย 1) Maximize the benefit of environmental resources which are vital for the tourism industry whilst maintaining ecological systems as well as conserving and protecting biological diversity. 2) Respect socio-culture of destination people by preserving local ways of life, tradition, values, and built environment which are a result of local culture and beliefs. This includes understanding and tolerance of different cultures. 3) Maintain long-term economic development by distributing fair economic benefits to all concerned parties, providing stability of employment and income including social benefits for local people, and promoting pro-poor tourism. 4) Improve participation of all relevant stakeholders by developing and maintaining involvement of all interests and different groups of people and building consensus amongst them. As the tourism industry is a complex and dynamic system involving a wide range of people and environments, participation of persons from different disciplines and experience and cooperation of relevant stakeholders significantly helps to increase quality

20 of tourism planning and implementation (Wall and Mathieson, 2006). In return, all participants tend to increase their awareness of sustainable development and their concern about impacts of tourism activities (Hall and Richards, 2000), both from short- and long-term perspectives. 5) Develop an ongoing process with regular monitoring of impacts in order, where necessary, to provide instant problem solutions and strategies to protect tourism and related factors from undesirable effects. 6) Provide high quality experience for tourists and encourage them to be aware of the impacts and sustainable development of tourism and encourage responsible behaviour amongst tourists to be eco-friendly and local culture-respectful. This can be done before and during visits of tourists. แผนภาพดานลางแสดงองคป ระกอบและหลกั การการพฒั นาการทองเทีย่ วอยางยง่ั ยนื Conservation and protection of biological diversity Environment Socio-cultural respect Economic development and and preservation fair distribution of benefit for SUSTAINABLE all concerned parties TOURISM Economy Socio-culture Participation of High level of all relevant stakeholders Tourist satisfaction Figure 1.3 Key factors and key principles for sustainable tourism Source: Janchai, 2552 (Adapted from World Tourism Organization, 2004)

21 5.4 รูปแบบและแนวโนม การทอ งเที่ยวทสี่ อดคลอ งกบั แนวคิดและหลกั การการ ทองเทยี่ วอยา งยงั่ ยนื Sustainable tourism (การทอ งเท่ยี วอยางยง่ั ยืน) คือ การทอ งเทย่ี วทีค่ าํ นงึ ถงึ ผลกระทบ ตอ ระบบเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม และสิง่ แวดลอม เพ่ือกอใหเกดิ ประโยชนสงู สุดในขณะทม่ี กี าร ปองกนั และลดผลกระทบใหเ กิดนอ ยท่ีสดุ ตอปจจัยทเ่ี กย่ี วของ Ecotourism (การทอ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศน) คอื การทอ งเทยี่ วในแหลง ทองเทยี่ วธรรมชาติ เพื่อใหเกดิ ความเพลิดเพลนิ การพกั ผอนหยอนใจ และการเรียนรไู ปพรอ มๆ กนั และเนน การจดั การ การทอ งเทย่ี วอยางยัง่ ยนื และการมีสว นรวมของชมุ ชนทอ งถ่นิ ในการประกอบกจิ กรรมดานการ ทอ งเท่ยี วเพอื่ กอ ใหเ กิดรายไดแกชุมชนและเกิดการเรยี นรรู วมกัน Pro-poor Tourism (การทอ งเท่ียวเพอื่ ลดปญหาความยากจน) คือ การทองเที่ยวท่ี คํานงึ ถึงการกระจายรายไดไ ปสูชมุ ชนทอ งถนิ่ โดยการมีสว นรว มในกจิ กรรมการทอ งเท่ยี วและการ ประกอบธรุ กิจเก่ียวกับการทอ งเทย่ี วของชมุ ชน Recession tourism (การทองเที่ยวในภาวะถดถอยทางเศรษฐกจิ ) คือ การทองเทยี่ วที่ สรางสรรคขึ้นเพอื่ ตอบสนองความตองการของนักทอ งเทย่ี วในยดุ ท่สี ภาวะเศรษฐกิจฝด เคอื งและมี การถดถอย โดยมีการจดั การทอ งเทยี่ วแบบราคาประหยัดเพอ่ื เปนการสรางมลู คา เพ่ิมใน งบประมาณทจี่ าํ กดั และเปน การชว ยใหผคู นไดผ อนคลายจากสภาวะเศรษฐกิจท่ฝี ดเคือง Medical Tourism (การทอ งเทย่ี วเพื่อการบําบดั ) คือ การทองเที่ยวเพอื่ การบาํ บัดและการ รักษาสขุ ภาพรางกายและจติ ใจ ซ่งึ ควรอยใู นความดแู ลของแพทยแ ละผูเชยี่ วชาญ เชน Spa, Massage, การฝง เขม็ โยคะ และการออกกาํ ลังกาย เปน ตน Education Tourism (การทอ งเทีย่ วดา นการศึกษา) คอื การทองเทย่ี วทมี่ ีวัตถุประสงคใ น การศึกษาหาความรู เชน การเดนิ ทางเพอ่ื การศกึ ษา Dark tourism (การทอ งเทยี่ วในยดุ มดื ) คอื การทอ งเทยี่ วในแหลงทองเท่ยี วที่มี ประวตั ิศาสตรเกีย่ วของกับความรนุ แรงและเรือ่ งราวทน่ี าสลดใจ เชน การทองเทยี่ วในสถานท่ีท่เี คย เปนแหลง สงครามมากอ น

22 สรปุ ทา ยบท การทองเทย่ี วเปนอุตสาหกรรมหลักทม่ี ขี นาดใหญแ ละสามารถทํารายไดใ หแกป ระเทศ เปนจํานวนมาก องคประกอบหลักของอุตสาหกรรมทองเท่ียวประกอบดวย ทรัพยากรแหลง ทองเที่ยว ส่ิงอํานวยความสะดวกและการบริการ และตลาดการทองเท่ียวหรือนักทองเที่ยว อตุ สาหกรรมทอ งเท่ยี วมีความสําคัญในการพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสง่ิ แวดลอ ม แต ในทางกลับกัน อุตสาหกรรมทองเท่ียวก็สงผลกระทบตอปจจัยตางๆ ท่ีกลาวมาไดเชนกัน ทั้งนี้ ข้ึนอยูกับกิจกรรมการทองเที่ยว การใหบริการ และทิศทางในการพัฒนาการทองเท่ียว รวมถึงภาค สวนตางๆ ท่ีเก่ียวของ ดังนั้น หลักการพัฒนาการทองเท่ียวอยางยั่งยืนจึงถูกนํามาใชกันอยาง กวางขวาง รวมถงึ การพฒั นาการทองเทีย่ วในประเทศไทย เพือ่ ใหก ารทองเท่ียวใหประโยชนแ ละลด ผลกระทบดานลบจากการทองเที่ยวใหเหลือนอยท่ีสุดเทาที่จะเปนไปได เพื่อการพัฒนาดาน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิง่ แวดลอมอยางยงั่ ยนื และผลประโยชนใ นระยะยาวตอ ไป คาํ ถามทบทวน 1. จงอธบิ ายความหมายของการทองเทย่ี วและอุตสาหกรรมทอ งเท่ียว 2. องคป ระกอบของอตุ สาหกรรมทอ งเทย่ี วมอี ะไรบา ง จงยกตัวอยา งประกอบ 3. การทองเทยี่ วและอุตสาหกรรมทองเทีย่ วมคี วามสาํ คญั ตอระบบเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม และสิ่งแวดลอมอยางไร จงอธบิ ายและยกตัวอยางประกอบ 4. ผลเสียจากการทองเทยี่ วตอระบบเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม และสงิ่ แวดลอ มมี อะไรบา ง จงอธบิ ายและยกตวั อยาง 5. จงอธบิ ายแนวคิดและหลักการของการพฒั นาการทอ งเท่ยี วแบบยงั่ ยนื

23 เอกสารอางองิ ผศ.ดร.นิภา วธาวนชิ กลุ (2550) อตุ สาหกรรมทองเทยี่ ว คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราช ภัฏสวนดสุ ิต พจนานกุ รมไทย ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พระราชบัญญตั ธิ รุ กิจนําเทย่ี วและมัคคเุ ทศก พ.ศ.2551 Cambridge Dictionary: http://dictionary.cambridge.org/ Janchai, N. (2009) Sustainable Tourism Planning and Management Based on Community participation in the context of national parks. Ph.D.Thesis. Oxford Brookes University Sharpley, R. (2009). Tourism Development and the Environment: Beyond Sustainability? London: Earthscan Publishing. UNEP and WTO (United Nations Environment Programme and World Tourism Organization) (2005). Making Tourism more Sustainable: A Guide for Policy Makers. [Online]. Retrieved on 1 June 2006 from: http://www.uneptie.org UNWTO (World Tourism Organization) (1998). Tourism 2020 Vision. . [Online]. Retrieved on 18 November 2009 from: http://www.unwto.org UNWTO (World Tourism Organization) (2008a). UNWTO World Tourism Barometer. Committed to Tourism, Travel and the Millennium Development Goals. Volume 6, No.1, January 2008 [Online]. Retrieved on 18 November 2009 from: http://www.unwto.org UNWTO (World Tourism Organization) (2008b). UNWTO World Tourism Barometer. Committed to Tourism, Travel and the Millennium Development Goals. Volume 6, No.2, June 2008 [Online]. Retrieved on 18 November 2009 WTO (World Tourism Organization) (2004). Sustainable development of tourism: Conceptual definition. [Online]. Retrieved on 2 December 2006 from: http://www.world-tourism.org/frameset/frame_sustainable.html WTO, WTTC and EC (World Tourism Organization; World Travel and Tourism Council and Earth Council) (1996). Agenda 21 for the travel and tourism industry towards environmentally sustainable development.

24 แผนบริหารการสอนประจําบทท่ี 2 หัวขอเนื้อหา 1. ความหมายของธุรกิจนาํ เท่ยี ว 2. บทบาทและความสาํ คัญของธุรกจิ นําเท่ียว 3. ประเภทของธรุ กิจนาํ เทย่ี ว 4. สนิ คาและการบรกิ ารของธุรกิจนําเทีย่ ว 5. รปู แบบและประเภทการจัดรายการนาํ เท่ยี ว 6. ขอ ดแี ละขอ เสยี ของการใชบ รกิ ารธุรกิจนําเที่ยว 7. สถติ ธิ ุรกิจนําเทย่ี วในประเทศไทย วตั ถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ผูเรยี นสามารถอธบิ ายความหมาย บทบาทและความสําคัญของธุรกิจนาํ เทยี่ วได 2. ผูเรียนสามารถอธิบายประเภทธุรกิจนําเที่ยว สินคาและการบริการ รวมทั้ง ประเภทการจัดรายการนําเทีย่ วได 3. ผูเรยี นสามารถอธิบายขอดีและขอ เสยี ของการใชบริการธุรกจิ นําเท่ียวได 4. ผูเรียนสามารถอธิบายภาพรวมเก่ียวกับภาพรวมของสถิติธุรกิจนําเท่ียวใน ประเทศไทยได วิธีสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน 2 วิธสี อน 2.1 การบรรยายโดยใช PowerPoint Presentation ประกอบ 2.2 การมอบหมายใหนกั ศึกษาคนควาขอมลู เพิ่มเติมเก่ยี วกบั ธุรกิจนาํ เทยี่ ว 2.3 การอภปิ รายในชนั้ เรยี น 3 กิจกรรมการเรยี นการสอน 3.1 การมอบหมายใหน กั ศึกษาแลกเปล่ียนประสบการณเ กยี่ วกับการใชบ รกิ ารธรุ กจิ นาํ เทีย่ วและแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั แนวทางการปรบั ปรงุ และพัฒนาการบริการของ

25 ธุรกิจนาํ เทยี่ ว โดยการน่ังลอ มวงเปน กลมุ 5-8 คน เพ่อื พดู คุย แลกเปลย่ี นเรียนรูซ ึง่ กนั และกัน และสรปุ ประสบการณในการใชบ รกิ ารธุรกิจนําเท่ยี ว ขอดี ขอเสียของการใช บรกิ าร พรอมทง้ั เสนอแนวทางการปรบั ปรงุ แกไข และพฒั นา ในฐานนะที่นกั ศึกษา เปน ผใู ชบ รกิ ารหรอื นกั ทองเทยี่ ว 3.2 ผเู รยี นนาํ เสนอขอ มลู หนา ชนั้ เรียน พรอ มท้งั ถามปญหาและตอบคาํ ถาม สอ่ื การเรียนการสอน 1. PowerPoint Presentation 2. รปู ภาพ กราฟ และแผนภมู ิ 3. Website เกย่ี วกับธรุ กิจนาํ เท่ยี ว การวัดและประเมนิ ผล 1. การเขาชนั้ เรียนและการตรงตอเวลา 2. กจิ กรรมกลุม คะแนนดิบ 10 คะแนน 1) การอภิปรายและแสดงความคดิ เหน็ 2) การถามปญ หาและตอบคาํ ถาม 3) ความคดิ สรางสรรค

26 บทท่ี 2 ประเภทและรปู แบบการบรกิ ารของธุรกิจนําเท่ียว 1. บทนํา ธุรกิจนําเที่ยวเปนธุรกิจประเภทหน่ึงในอุตสาหกรรมทองเท่ียวที่ผลักดันและสนับสนุนให เกิดการทองเท่ียวและกระตุนการหมุนเวียนเงินในระบบเศรษฐกิจ ไปยังธุรกิจอื่นๆ ที่เก่ียวของ ไดแก ธุรกิจที่พัก ธุรกิจรานอาหารและภัตตาคาร ธุรกิจจําหนายสินคาท่ีระลึก สถานท่ีทองเที่ยว ตางๆ และ การขนสงผูโดยสาร เปนตน ในบทน้ีจะกลาวถึงธุรกิจนําเท่ียว ซ่ึงมีขอบขายการเรียนรู เก่ียวกับ 1) ความหมายของธุรกิจนําเที่ยว 2) ประเภทของธุรกิจนําเที่ยว 3) บทบาทและ ความสาํ คัญของธุรกิจนําเทยี่ วตอเศรษฐกจิ สังคมและวฒั นธรรม และส่งิ แวดลอ ม 4) ขอดีของการ ใชบีริการธุรกิจนําเที่ยว 5) ขอจํากัดของการใชบริการธุรกิจนําเท่ียว และ 6) รูปแบบการจัด รายการนาํ เทย่ี ว แผนภาพดานลา งแสดงขอบขายการเรียนรูในบทเรยี นนี้ สถิตเิ กย่ี วกับ ความหมาย ประเภท ธุรกจิ นําเท่ยี ว ธรุ กิจนาํ บทบาทและ ขอ ดี/ เท่ยี ว ความสาํ คัญ ขอจาํ กดั รปู แบบการจดั สนิ คา และ รายการนาํ การบริการ เท่ยี ว แผนภาพท่ี 2.1 ขอบขา ยการเรียนรูเ กยี่ วกับธุรกิจนาํ เท่ียว

27 2. ความหมายของธรุ กจิ นาํ เที่ยว ตามพระราชบญั ญตั ธิ ุรกจิ นาํ เทยี่ วและมคั คเุ ทศก พ.ศ.2551 ธรุ กิจนาํ เทย่ี ว หมายถึง “ธุรกิจเกยี่ วกบั การนาํ นกั ทอ งเทยี่ วเดนิ ทางไปทอ งเทย่ี ว หรอื เดนิ ทางไปเพือ่ วัตถุประสงคอืน่ โดยจดั ใหมบี ริการหรอื การอํานวยความสะดวกอยางใดอยา งหนึ่ง หรือหลายอยาง อนั ไดแ ก สถานทพี่ กั อาหาร มคั คุเทศก หรือบรกิ ารอน่ื ใดตามทกี่ าํ หนดในกฎกระทรวง” ธเนศ ศรีสถิต (๒๕๕๐, หนา ๒๘๕) ไดใหความหมายของธุรกิจนําเที่ยว ดังนี้ ธุรกิจ นําเที่ยว หมายถึง “การจัดทํารายการนําเท่ียว (Package Tour) ท่ีประกอบดวยการจัดหาพาหนะ ตางๆ ในการเดินทาง จัดที่พักคางคืน อาหาร ติดตอสถานท่ีทองเท่ียว ทั้งที่เปนทางธรรมชาติ โบราณสถานและวัฒนธรรม ตลอดจนแหลงบันเทิงเริงรมยตางๆ โดยมีมัคคุเทศกเปนผูนําเที่ยว เพื่อตอบสนองความตอ งการของนักทอ งเที่ยวในแตล ะกลุม โดยมีความหลากหลายใหน ักทอ งเทย่ี ว ในฐานะผูซ้ือไดมีโอกาสเลือกตามความตองการของทุกเพศทุกวัย ใหไดรับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และอํานวยความสะดวกต้ังแตเร่ิมตนออกเดินทางจนสิ้นสุดการเดินทาง โดยไดรับ คา จา งแบบเหมาจายในแตละรายการนาํ เที่ยวเปน สิ่งตอบแทน” โดยสรุปแลว อาจกลาวไดวา ธุรกิจนําเที่ยว คือ ธุรกิจท่ีใหบริการนักทองเท่ียวในดาน การนํานักทองเท่ียวเดินทางทองเที่ยวไปยังสถานที่ตางๆ โดยจัดใหมีการบริการและส่ิงอํานวย ความสะดวกอยางใดอยางหน่ึง หรือหลายอยาง ไดแก สถานท่ีพัก อาหาร มัคคุเทศก หรือบริการ อ่ืนๆ เพ่ือการทองเท่ียว หรือการบริการนักทองเที่ยวในสวนตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับการเดินทาง ทองเท่ียว โดยนักทองเท่ียวเดินทางทองเที่ยวเอง ไดแก การบริการรับจองหองพัก บริการรถเชา จาํ หนา ยต๋วั เครอื่ งบนิ เปน ตน 3. ลักษณะทั่วไปและการบริการของธุรกิจนําเที่ยวมดี งั น้ี - การจัดรายการนําเที่ยว ซ่ึงประกอบไปดวยแหลงทองเที่ยว การเดินทาง ที่พัก การบริการ อาหารและเครื่องดื่ม การแวะซ้ือสินคาของฝากของที่ระลึก และกิจกรรมอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของ โดยมมี ัคคุเทศกนาํ เทย่ี วและอาํ นวยความสะดวกแกนกั ทอ งเท่ียวตลอดการเดินทาง - การบริการอื่นๆ ของธุรกิจนําเที่ยวนอกเหนือจากการจัดและจําหนายรายการนําเที่ยว ไดแก การรับจองหอ งพัก การรบั จองต๋ัวเครื่องบนิ การบริการรถเชา เปน ตน

28 - ดังน้ัน จึงเปรียบไดวา ธุรกิจนําเท่ียวเปนตัวกลางระหวางนักทองเที่ยวและการบริการอื่นๆ ในอุตสาหกรรมทองเที่ยว ดังที่กลาวมาแลว และกลไกสําคัญอยางหน่ึงในการกระตุนและ สงเสรมิ ใหเ กดิ การทองเท่ียวและการกระจายรายไดไปยงั ธุรกจิ และภมู ภิ าคตางๆ - รายไดของธุรกิจนําเที่ยวมาจากผลกําไรจากการจัดและจําหนายรายการนําเที่ยว ซึ่งแบง ออกเปน 2 ประเภท คือ คา commission และ การ Mark Up จากการใหบริการตางๆ หรือการเปนตัวแทนในการจัดจําหนายบริการอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของกับการทองเท่ียว คา commission คือ การมีรายไดคิดเปนรอยละของราคาที่จัดจําหนาย สวนการ Mark Up คอื การบวกราคาเพิ่มจากราคาทุนที่ไดรับจากธุรกิจตางๆ เพ่ือจําหนายในกับนักทองเท่ียว สวนเกินจากราคาทุนท่ีไดรับ ถือวาเปนรายไดของธุรกิจนําเท่ียว อยางไรก็ดี การมีรายได จาก คา commission หรือ การ Mark Up ขึ้นอยูกับขอตกลงระหวางธุรกิจนําเท่ียวและ ธรุ กจิ ตางๆ ที่ตดิ ตอกันดา นการใหบริการและการจดั จําหนาย 4. บทบาทและความสําคญั ของธุรกิจนําเทีย่ ว บทบาทและความสาํ คญั ของธุรกจิ นําเที่ยวสามารถแบงไดเ ปน 3 ดาน ไดแก ดาน เศรษฐกิจ, ดา นสงั คมและวฒั นธรรม, และดา นสง่ิ แวดลอ ม 1) บทบาทและความสาํ คัญของธรุ กจิ นาํ เทย่ี วตอ เศรษฐกจิ ธุรกิจนําเที่ยวถือวาเปนตัวกลางระหวางธุรกิจตางๆท่ีเก่ียวของกับการทองเที่ยวและ นักทองเที่ยว การใหบริการและอํานวยความสะดวกของธุรกิจนําเที่ยวกระตุน ดังน้ัน บทบาท สําคญั ของธุรกิจนําเท่ียวในดานเศรษฐกจิ ดังนี้ 1) กระตุนใหเกิดกิจกรรมดานการทองเที่ยวและกอใหเกิดรายไดแกธุรกิจและ ภาคสวนตางๆ ทเี่ กย่ี วขอ ง 2) กระตุนใหเกิดการหมุนเวียนเงินในระบบเศรษฐกิจทั้งในระดับประเทศและ ระดบั ทองถน่ิ 3) กอ ใหเกิดการกระจายรายไดไปสูชมุ ชนทองถิ่น 4) กอใหเกิดการสรางงานสรางอาชีพอันเปนผลสืบเนื่องมาจากการเจริญเติบโต ของการทอ งเท่ียว 5) กระตุนใหเกิดการผลิตในอุตสาหกรรมทองเท่ียว คือ การนําเอาทรัพยากรใน ประเทศมาพัฒนาและใชเกิดประโยชนสูงสุดดานการทองเท่ียว แตใน ขณะเดียวกันก็คํานงึ ถงึ ผลกระทบและการพัฒนาอยางย่งั ยนื ดวย

29 6) อุตสาหกรรมทองเที่ยวถือวาเปนอุตสาหกรรมที่ไมสิ้นเปลืองวัตถุดิบ สามารถ ใหบริการไดตลอดเวลา ขึ้นอยูกับความเหมาะสมในดานเวลาและสถานที่ และความสามารถของผขู ายหรือผูใหบริการ 2) บทบาทและความสาํ คญั ของธรุ กิจนาํ เท่ยี วตอสงั คมและวฒั นธรรม ความสําคญั ของธรุ กจิ นาํ เท่ียวตอ สงั คมและวัฒนธรรม มีดงั น้ี 1) การนํานักทองเที่ยวไปเย่ียมชมตามสถานท่ีตางๆ มีสวนสําคัญในการสงเสริม การเรยี นรูท างสังคมและวัฒนธรรมที่มีความแตกตางกนั 2) สงเสริมใหเกิดความเขาใจและความสัมพันธอันดีระหวางนักทองเที่ยวและ ชุมชนในทองถ่ิน 3) การทองเท่ียวยังมีสวนสําคัญในการพัฒนาสังคม โดยการสรางงานสราง อาชีพสรางรายไดใหคนในทองถิ่น ไมตองเดินทางไปหางานทําตางถ่ิน ถือวา เปนการสงเสริมความสัมพันธข องคนในครอบครวั และในชุมชน 4) รายไดจากการทอ งเที่ยวทาํ ใหช าวบา นมคี วามเปน อยทู ด่ี ขี น้ึ 5) การทองเท่ียวเปนสวนสําคัญในการพัฒนาชุมชน สังคม ท้ังในดานรายได (เศรษฐกิจ) และดานสิ่งอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคตางๆท่ี ไดเ ปน ผลมาจากการพฒั นาดา นการทองเทีย่ ว 6) ชวยลดปญหาความแตกตางระหวางสังคมเมืองและสังคมชนบท เนื่องจาก การทองเที่ยวนํามาซ่ึงความเจริญและส่ิงอํานวยความสะดวกตางๆ สูชุมชน และสังคม ความแตกตางระหวางสังคมเมอื งและสงั คมชนบทจงึ ลดลง 7) ชวยใหคนในชุมชนใชเวลาวางใหเปนประโยชน โดยการมีสวนรวมในการ พฒั นาและใหบรกิ ารดา นการทองเท่ียว อีกท้ังยังเปนการพัฒนาศักยภาพของ ชุมชน ในดานความรูความสามารถดานการทองเที่ยว เพื่อการพัฒนาการ ทอ งเที่ยวและการพัฒนาชุมชนอยางยง่ั ยนื 8) การทองเท่ียวกระตุนใหเกิดการอนุรักษและฟนฟูวัฒนธรรม ซ่ึงถือวาเปนส่ิง ดงึ ดูดใจท่ีสาํ คญั อยา งหนึง่ ดานการทองเทีย่ ว 9) สงเสริมใหคนทองถิ่นเห็นความสําคัญและตระหนักในคุณคาของวัฒนธรรม และเกิดความภาคภูมิใจและหวงแหนรักษาวัฒนธรรม ประเพณีวิถีชีวิต ดัง้ เดมิ มากขนึ้

30 3) บทบาทและความสาํ คญั ของธุรกจิ นาํ เทยี่ วตอ สงิ่ แวดลอ ม บทบาทของมคั คเุ ทศกทพ่ี านกั ทอ งเท่ียวไปเที่ยวชมตามสถานที่ตางๆคือการใหความรู และใหขอมูลเกี่ยวกับสถานท่ีไปทองเท่ียว โดยเฉพาะแหลงธรรมชาติที่มีความเปราะบางและเกิด ความเสียหายไดงา ยจากผลกระทบจากการทอ งเท่ยี ว นอกจากความรูเก่ียวกับธรรมชาติ ระบบนิเวศน สัตวปา ตนไม ทีม่ ัคคเุ ทศกบอกเลา ให นักทองเที่ยวทํา ขอควรปฏิบัติ และสิ่งท่ีไมควรปฏิบัติก็เปนส่ิงสําคัญท่ีมีมัคคุเทศกตองบอกกลาว นักทองเที่ยวเพ่ือปองกันผลกระทบจากการที่จะเกิดกับระบบนิเวศนและทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ง เหลานี้เปนบทบาทสําคัญที่จะสรางจิตสํานึกของนักทองเที่ยว เปนการรักษาสิ่งแวดลอมซึ่ง สอดคลองกับการทองเที่ยวเชิงอนุรักษแ ละการทองเท่ียวอยางยั่งยืน แผนภาพดานลา งเปน การสรุปบทบาทและความสาํ คญั ของธรุ กจิ นาํ เทยี่ วตอระบบ เศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรม และสิ่งแวดลอ ม เศรษฐกิจ สงั คมและวัฒนธรรม เปนตวั กลางระหวา งธุรกจิ ท่ี สง เสริมความสัมพนั ธและ เก่ยี วของกับการทอ งเที่ยวและ ความเขา ใจระหวางนักทองเท่ียว นักทอ งเท่ยี ว และคนทอ งถ่นิ สง่ิ แวดลอม ชว ยรกั ษาสิง่ แวดลอมและ ปองกนั ผลกระทบ สรางเสริมจิตสาํ นกึ ในการรักษา แผนภาพ 2.2 บทบาทและความสาํ คญั ของธรุ กิจนาํ เท่ยี วตอ ระบบเศรษฐกจิ สงั คมและ วฒั นธรรม และส่ิงแวดลอม

31 5. ประเภทของธรุ กจิ นําเทยี่ ว 5.1 ธุรกิจนําเท่ียวตามบทบาทและหนาท่ี แบงออกไดเปน 2 ประเภทหลักๆ คือ 1) Tour Operator หรอื Tour Company และ 2) Travel Agent 1. Tour operator / Tour Company หรือบริษัททัวร มีหนาที่หลักในการจัดรายการนําเท่ียว, ติดตอ ประสานงานกบั ธรุ กจิ ทพ่ี ัก,รา นอาหาร,รา นจาํ หนา ยสินคา ทร่ี ะลึกและพาหนะในการ เดินทาง รวมทั้งบริการอ่ืนๆที่เกี่ยวของกับกับการพานักทองเที่ยวเดินทางทองเที่ยวตาม รายการที่กําหนด นอกจากบริษัททัวรจะจัดรายการนําเท่ียวและจําหนายเองแลวยัง สามารถสงรายการนาํ เท่ยี วใหบรษิ ทั ตัวแทนการทองเทย่ี ว (Travel Agency) จําหนายดวย ก็ได เพื่อเปนการเพิ่มชองทางการจัดจําหนาย และการเขาถึงลูกคา/นักทองเท่ียวไดมาก ย่งิ ข้นึ 2. Travel Agency หรือ ตัวแทนธุรกิจทองเที่ยว มีหนาที่หลักในการจัดจําหนายรายการนํา เท่ียวท่ีไดรับมาจาก Tour operator หรือ Tour Company โดยไดรับคาตอบแทนเปน Commission หรือ การ Make up คา Commission คือการมีสวนแบงจากยอดการขาย โดยคิดเปนรอยละ ตามที่ตกลงกันระหวาง Tour และ Travel Agency สวนการ Mark up คือ การบวกราคาขายเพิ่มข้ึนจากราคาตนทุนท่ีไดรับจาก Tour Operator และสวนเกินก็ ถือเปนรายได เชน รายการนําเท่ียวจากกรุงเทพไปเชียงใหม 3 วัน 2 คืน จากราคา 5,500 บาท Travel agency นํามาขายในราคา 5,999 บาท สวนเกินจาก 5,500 บาท คือ 499 ถือวา เปน รายไดของ Travel Agency 5.2 ธุรกิจนําเท่ียวตามประเภทนักทองเท่ียวและพื้นท่ีทางการทองเท่ียว แบงได 4 ประเภทหลักๆ คือ 1) ธุรกิจนําเที่ยวภายในประเทศ (Domestic Tour) 2) ธุรกิจนําเท่ียวที่นํา นักทองเที่ยวชาวไทยไปเที่ยวตางประเทศ (Inbound Tour) 3) ธุรกิจนําเท่ียวท่ีนํานักทองเท่ียวชาว ตา งประเทศมาเทยี่ วในประเทศไทย (Outbound Tour) และ 4) ธรุ กิจนําเทยี่ วเฉพาะพ้ืนท่ี 1) ธุรกิจนําเท่ียวภายในประเทศ (Domestic Tour) คือบริษัทนําเท่ียวที่มีกลุมลูกคา เปา หมายเปน คนไทย โดยจดั ใหก ารบรกิ ารนําเท่ียวในประเทศสาํ หรับคนไทย

32 2) ธุรกิจนําเที่ยวท่ีนํานักทองเที่ยวชาวตางประเทศมาเท่ียวในประเทศไทย (Inbound Tour) คือบริษทั นําเที่ยวที่มกี ลุม ลูกคาเปา หมายเปน ชาวตางชาติ โดยใหก ารบริการนาํ เท่ียวภายในประเทศสําหรบั นักทองเทีย่ วชาวตา งชาติ เปนหลกั 3) ธุรกิจนําเท่ียวที่นํานักทองเท่ียวชาวไทยไปเท่ียวตางประเทศ (Outbound Tour) คือ บริษัทนําเที่ยวที่มีกลุมลูกคาเปาหมายเปนคนไทย โดยใหบริการนําเท่ียวใน ตา งประเทศสาํ หรบั นกั ทอ งเท่ียวชาวไทย 4) ธุรกิจนําเท่ียวเฉพาะพ้ืนที่ คือ ธุรกิจนําเที่ยวที่ไดรับอนุญาตใหจัดนําเท่ียวไดในเฉพาะ จังหวัดหรือพ้ืนท่ีท่ีระบุและพ้ืนที่ใกลเคียงในอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว สามารถนําเท่ียวได เฉพาะนกั ทองเท่ยี วชาวไทยเทา นนั้ หมายเหตุ บริษัทนําเท่ียวหรือธุรกิจนําเท่ียวแตละประเภทสามารถใหบริการในดาน อื่นๆ ที่เก่ียวของกับการทองเที่ยว เชน การรับจองหองพัก การจําหนายต๋ัวเคร่ืองบิน การบริการรถ เชา โดยสามารถใหบริการไดทั้งคนไทยและชาวตางประเทศ การแบงประเภทของบริษัทนําเท่ียว หรือธุรกิจนําเท่ียว ก็เพ่ือจําแนกการใหบริการดานการจัดรายการนําเท่ียวและการนํานักทองเท่ียว ไปเท่ียวเปนวัตถุประสงคหลัก นอกจากนี้ ธุรกิจนําเท่ียวประเภท Inbound Tour และ Outbound Tour สามารถจัดรายการนําเที่ยวในประเทศไทยสําหรับคนไทยไดเชนกัน เพราะธุรกิจนําเท่ียว ประเภท Inbound Tour และ Outbound Tour สามารถครอบคลุมการจัดรายการนําเที่ยวแบบ Domestic Tour 6. การบริการตา งๆ ของธุรกจิ นาํ เทยี่ ว การบริการของธุรกิจนําเท่ียวมีความหลากหลายเพื่อตอบสนองความตองการของ นกั ทอ งเท่ยี วการบรกิ ารโดยทัว่ ไปของธรุ กจิ นาํ เทย่ี วไดแ ก 1. การใหขอ มูลดา นการทอ งเทยี่ ว 2. การจัดและจาํ หนา ยรายการนาํ เทีย่ ว 3. การอํานวยความสะดวกและใหค วามรูเกย่ี วกบั แหลง ทอ งเทยี่ ว (การนําเทีย่ วโดย มคั คุเทศก) 4. การรับ – สงนกั ทอ งเทยี่ วระหวา งสนามบนิ และทพี่ กั

33 5. การจําหนา ยตวั๋ เครอ่ื งบนิ 6. บริการการเชา (รถยนต, ระตู,รถบสั ,ฯลฯ) 7. บริการจองหอ งพกั 8. บริการจัดการนําเที่ยวตามความตองตองการนักทองเท่ียว 9. การแนะแนวการศกึ ษาตอ 10. อํานวยความสะดวกดา นเอกสารประกอบการเดนิ ทาง บรษิ ัทนาํ เที่ยวแตละแหงอาจจะมกี ารบรกิ ารทค่ี รอบคลมุ ทุกดา น หรอื มีการบรกิ ารบาง ดาน ขนึ้ อยกู ับกลุม เปาหมายและศักยภาพของบรษิ ัทในการใหบ ริการ 7. ประเภทการจดั รายการนาํ เทยี่ ว ประเภทการจดั รายการนาํ เทย่ี วสามารถแบง ไดอ ยา งหลากหลายขน้ึ อยูกบั เกณฑแ ละปจจยั ในการ แบง ประเภท ในทนี่ ้จี ะกลา วถงึ การแบง ประเภทของการจัดรายการนาํ เที่ยวตามเกณฑ 3 ประเภท ไดแก 1) แบง ตามอาณาเขตการจัดนําเทย่ี วและนกั ทอ งเทยี่ ว 2) แบง ตามประเภทนักทอ งเทย่ี ว และ 3) แบง ตามวตั ถปุ ระสงคด า นการทอ งเทย่ี วและประเภทของแหลงทองเทยี่ ว ประเภทของการ จัดรายการนาํ เที่ยวตามเกณฑตางๆ เหลา นี้ แสดงใหเ หน็ ไดในแผนภาพดา นลา ง

อาณาเขตและนกั ทองเทย่ี ว 34 การจัดรายการนาํ เทย่ี ประเภทนักทอ งเท่ีย Domestic tour Inbound tour Outbound tour แผนภาพ 2.3 ประเภทของการจดั รายการนาํ เทีย่ ว แหลง ขอมลู ดดั แปลงจาก ธเนศ ศรีสถิตย, 2550, หนา ๓๐๐ หนว ยที่ 5 การจัดการธรุ ก

4 ยว ยว วัตถปุ ระสงคและแหลง ทอ งเท่ียว Package tour Eco Tour Group Tour Adventure Tour Independent Tour Agro Tour Incentive Tour Biking Tour Bird Watching Tour Camping Tour Trekking Spa and Medical Tour Cultural Tour Etc. กจิ นาํ เที่ยว, การจดั การธรุ กจิ ในแหลง ทอ งเทยี่ ว, มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook