Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore IQEQTP

IQEQTP

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-07-04 23:35:48

Description: IQEQTP

Search

Read the Text Version

      เลขมาตรฐานสากลประจําหนงั สือ 974-506-812-8 พมิ พค ร้ังท่ี 1 ธันวาคม 2548 จํานวน 2,500 เลม จดั พิมพโดย สาํ นักพฒั นาสุขภาพจติ กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ ถนนติวานนท นนทบรุ ี 11000 โทร. 0-2951-1387-88 โทรสาร 0-2951-1384, 0-2951-1386 สงวนลขิ สทิ ธติ์ ามพระราชบัญญัติ หา มลอกเลียนแบบสวนหนึ่งสว นใดของหนงั สอื เลม น้ี โดยไมไ ดร บั อนุญาตจากเจา ของลิขสทิ ธิ์ ขอ มลู บรรณานกุ รม เดอื นฉาย แสงรตั นายนต, บรรณาธกิ าร คูม อื จัดกจิ กรรมเสรมิ สรางไอควิ และอีคิวเด็กสาํ หรบั ศูนยพ ัฒนา เด็กเลก็ และโรงเรยี นอนุบาล/เดือนฉาย แสงรัตนายนต พิมพค รัง้ ที่ 1. สํานักพฒั นาสุขภาพจิต 2548 176 หนา. 1. กิจกรรม 2. เสรมิ สราง 3. ไอคิว อคี วิ 4. ศนู ยพัฒนาเด็กเล็ก 5. โรงเรียนอนุบาล พมิ พท่ี โรงพมิ พช ุมนุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กดั ศลิ ปกรรม อตวิ รรณ พ่งึ รอด, อภิวรรณ อินดวง, จริ โชติ พงึ่ รอด, ฤทธริ งค อรุณานนท ภาพประกอบ จักรพันธุ หงษส วสั ด์ิ

               gh การมคี วามสามารถทางเชาวนปญ ญา(ไอควิ )ทีด่ ี ชวยใหคนเรียนรสู ง่ิ ตางๆ ไดดี มีศักยภาพในการ สรา งสรรค และดาํ เนินชีวติ อยรู อดในสงั คม ซึง่ จะตองควบคไู ปกับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ (อีคิว) ทด่ี ดี ว ย จงึ จะทาํ ใหบคุ คลเปนคนทมี่ คี ณุ ภาพได หากขาดสงิ่ ใดสงิ่ หนงึ่ ยอ มทาํ ใหการพฒั นาเปนไปอยางไมเ ตม็ ศักยภาพ เพราะการทีจ่ ะมกี ารพฒั นาความฉลาดทางอารมณดี ตอ งอาศัยการคดิ อยา งมเี หตผุ ล การตดั สนิ ใจ และความสามารถในการสอื่ สารทดี่ ดี ว ย การปลกู ฝงพน้ื ฐานทดี่ ที งั้ ไอควิ และอคี วิ ในวยั เดก็ จะพฒั นาไปสผู ใู หญ ท่ีมคี ณุ ภาพ อยรู ว มกบั ผูอน่ื ไดอยางราบร่ืนและเปน สิ่งสําคญั ทีท่ ําใหคนเราประสบความสําเร็จในชวี ติ การเสรมิ สรางความสามารถทางเชาวนป ญญาและความฉลาดทางอารมณ ผูด ูแลเดก็ จะตองเขา ใจ ความสามารถและพัฒนาการของเด็กแตละวยั ดวย กจิ กรรมตอ งไมงายหรือยากจนเกนิ ไป เพราะถางา ยเด็ก จะรสู กึ เบอื่ แตถ ายากอาจจะเปน การเรง เดก็ มากเกนิ ไปในขณะทร่ี า งกายยงั ไมพรอ ม หรอื อาจทาํ ใหรูส กึ ผดิ หวงั ไมสามารถทาํ ไดส ําเร็จ หมดกําลงั ใจ แตถ าจดั ใหพ อเหมาะพอควร เด็กจะอยากเรยี นรู มงุ มน่ั ทีจ่ ะทาํ ใหสําเรจ็ สนุกสนานและมีความสขุ กรมสขุ ภาพจติ ตระหนกั ถงึ ความสาํ คญั ของการเสรมิ สรา งความสามารถทางเชาวนป ญ ญาและความ ฉลาดทางอารมณ จงึ จัดทาํ กจิ กรรมเสริมสรา งไอคิว อคี ิวเด็กสาํ หรับศูนยพฒั นาเดก็ เลก็ และโรงเรียนอนุบาล สาํ หรบั คร/ู พเ่ี ลยี้ งใชเ ปน แนวทางในการสง เสรมิ พฒั นาการเด็ก โดยเรม่ิ จากการกาํ หนดคณุ ลกั ษณะสตปิ ญ ญา และความฉลาดทางอารมณข องเดก็ ทยี่ ึดหลกั พฒั นาการการเรียนรูข องเด็กทเี่ กิดขึน้ ตลอดเวลา เปน ไปตาม ข้นั ตอนทัง้ พฒั นาการของสมองและรา งกายเปน หลกั เพ่ือใหการสง เสริมไอคิวและอีคิวเด็ก เปนไปอยา งตอเน่ืองและมีประสิทธิภาพ กรมสุขภาพจิตได จดั ทําชุดเทคโนโลยีเสรมิ สรางไอคิว อคี ิวเดก็ ประกอบดวยหนังสอื /คูมือท้ังหมด 5 เลม ดว ยกนั คือ 1. คมู ือเสรมิ สรา งไอควิ และอีควิ เดก็ วยั แรกเกิด-5 ป สาํ หรบั พอ แม/ผูปกครอง 2. คูมือเสรมิ สรางไอควิ และอีคิวเดก็ สาํ หรับครูโรงเรยี นอนุบาล 3. คูม อื เสรมิ สรางไอควิ และอีควิ เดก็ สําหรับครู/พี่เล้ียงศนู ยพฒั นาเดก็ เล็ก 4. คูม อื จัดกจิ กรรมเสริมสรางไอควิ และอคี วิ เด็กสาํ หรับศูนยพฒั นาเด็กเลก็ และโรงเรยี นอนบุ าล 5. คมู อื วทิ ยากร หลักสตู รการเสริมสรา งไอควิ และอคี ิวเด็กวยั แรกเกิด-5 ป กรมสขุ ภาพจิต ตุลาคม 2548 ก

      gh เนอื้ หา หนา คํานาํ ..................................................................................................................................................... ก สารบัญ .................................................................................................................................................. ข รายละเอยี ดวิธกี ารใชคูมอื .................................................................................................................... จ บทนํา .................................................................................................................................................... 1 แนวทางการจดั กจิ กรรมเสริมสรา ง ไอควิ /อคี วิ เดก็ .............................................................................. 7 กจิ กรรมหลักท่ี 1 กิจกรรมการเคลือ่ นไหวและจงั หวะ .......................................................................15 l กจิ กรรมสําหรับเดก็ เลก็ .......................................................................................15 - ทางเดนิ แผน สี .......................................................................................................16 - เสยี งใครเอย ..........................................................................................................18 - แมค รวั ตวั นอย.......................................................................................................20 l กจิ กรรมสาํ หรับเดก็ อนบุ าล .................................................................................23 - สะกดรอยเทา ........................................................................................................24 - เอา ! ชูท ...............................................................................................................26 - จกั รยานสานรกั .....................................................................................................29 - สปาหาเพอื่ น .........................................................................................................31 - รวมกลุม ...............................................................................................................33 - ลูกโปง หลายอารมณ ..............................................................................................35 - ของรกั ของหวง.......................................................................................................38 - เราจะไมโ กรธกัน ...................................................................................................41 กจิ กรรมหลกั ท่ี 2 กิจกรรมสรา งสรรค ................................................................................................45 l กิจกรรมสําหรับเด็กเล็ก.......................................................................................45 - ภาพปรศิ นา ..........................................................................................................46 - รอ ยสรอ ยกระดาษ .................................................................................................48 - ฉกี ปะ....................................................................................................................50 - ตน สม ...................................................................................................................52 - จานหนา คน ..........................................................................................................54 - ดอกไมป ลายนวิ้ มอื ................................................................................................56 - ฝนลายใบไม .........................................................................................................58 ข

            l กจิ กรรมสาํ หรับเดก็ อนบุ าล .................................................................................61 - อาทติ ยย ม้ิ .............................................................................................................62 - ฉกี ปะไดต ามใจฉนั ................................................................................................64 - โมบายคละสี .........................................................................................................66 - มาขยาํ กันเถอะ ......................................................................................................67 - รูจกั ฉนั ไหมเอย .....................................................................................................71 - หนนู อ ยนกั ดไี ซด ...................................................................................................73 - ลกู แกว พาเพลนิ ....................................................................................................75 - ชวยกันสรางบาน ...................................................................................................78 - ถุงดนตรีมหี นาซอ นไว ...........................................................................................80 กจิ กรรมหลกั ท่ี 3 กิจกรรมเสรี (เลน ตามมมุ )...................................................................................83 กจิ กรรมหลกั ท่ี 4 กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ ...................................................................................89 l กิจกรรมสําหรบั เดก็ เลก็ .......................................................................................89 - เดก็ ดมี าเชา...........................................................................................................90 - วันนี้หนูทาํ ดแี ลวหรอื ยัง .........................................................................................92 - พช่ี วยนอง .............................................................................................................94 l กจิ กรรมสาํ หรบั เด็กอนบุ าล .................................................................................97 - นทิ านรอบวง .........................................................................................................98 - ส่งิ ดีทคี่ วรทาํ ...................................................................................................... 100 - หนูผิดไหม ......................................................................................................... 103 - รูจกั อารมณ ........................................................................................................ 105 - โทรทศั นม หัศจรรย ............................................................................................. 107 - ละครโรงเลก็ ...................................................................................................... 111 - แบงปน นํา้ ใจ ...................................................................................................... 113 - หนนู อ ยคนเกง ................................................................................................... 115 - นทิ านหรรษา ..................................................................................................... 118 - บนั ทกึ ความดี ..................................................................................................... 121 - นักขาวนอ ย ........................................................................................................ 123 - ตุก ตาเดก็ ดี ........................................................................................................ 125 - รักการอา นสานฝน สูวนั แหงความสาํ เร็จ .............................................................. 129 - เรยี นรูสโู ลกกวา ง ................................................................................................ 131 ค

              กิจกรรมหลกั ที่ 5 กจิ กรรมกลางแจง ............................................................................................... 133 l กจิ กรรมสาํ หรบั เดก็ เลก็ .................................................................................... 133 - ชว ยสตั วต กนาํ้ .................................................................................................... 134 - งมของในนาํ้ ....................................................................................................... 136 - รถเมลม าแลว ..................................................................................................... 138 l กิจกรรมสาํ หรับเดก็ อนบุ าล .............................................................................. 141 - กรอกนํา้ ใสข วด................................................................................................... 142 - ตกั ทรายใสภ าชนะ.............................................................................................. 144 - รถไฟ ปูน ปนู ..................................................................................................... 146 กจิ กรรมหลักที่ 6 เกมการศกึ ษา ...................................................................................................... 149 l เกมสําหรบั เดก็ เล็ก ........................................................................................... 149 - คลงึ แลว ตดั ดินนาํ้ มัน .......................................................................................... 150 - ถุงเทาฝาแฝด ..................................................................................................... 152 - คลาํ จบั คู ............................................................................................................ 154 - จบั คสู มั พนั ธ....................................................................................................... 156 - ช้ินสว นปรศิ นา ................................................................................................... 158 l เกมสําหรบั เดก็ อนบุ าล ..................................................................................... 161 - ตอ เติมชน้ิ สว นปรศิ นา ........................................................................................ 162 - อะไรเอย ............................................................................................................ 164 บรรณานุกรม ................................................................................................................................... 167 รายนามคณะทํางาน......................................................................................................................... 168 ง

                          สวนที่ 1 คอื บทนาํ l องคประกอบของไอควิ l องคประกอบของอคี วิ สว นที่ 2 แนวทางการจัดกิจกรรมเสริมสราง ไอควิ อีควิ เดก็ l บูรณาการในการทํากจิ วตั รประจาํ วัน l บูรณาการในกจิ กรรมหลัก 6 กจิ กรรม สว นที่ 3 กิจกรรมหลกั 6 กิจกรรม หวั ขอ กจิ กรรมในแตละกจิ กรรมหลกั ไดแ บง เปน กจิ กรรมทเ่ี หมาะสมกบั เดก็ เลก็ สาํ หรบั ศนู ยพ ฒั นาเดก็ เลก็ และกจิ กรรมทเี่ หมาะสมกับเดก็ อนบุ าลสาํ หรับโรงเรยี นอนุบาล กจิ กรรมในแตละกจิ กรรมประกอบดว ยหวั ขอตอ ไปนี้ l ชอ่ื กิจกรรม l วตั ถปุ ระสงคข องกจิ กรรม l อปุ กรณ/สื่อการสอน : เปนอปุ กรณท ี่ครเู ตรียมใหกบั นักเรยี น l ขน้ั ตอนการทาํ กจิ กรรม : เปน ข้นั ตอนท่ีครูฝกปฏบิ ตั ิกับนกั เรยี น l การประยุกตใ ชก จิ กรรม : เปนสง่ิ ทคี่ รูสามารถจัดหาอปุ กรณทดแทน หรือวธิ ีการทจ่ี ะนํามา ใชเสริมความรูใหกบั เด็ก l ผลที่ไดร บั : เปน การแสดงผลลัพธของการทํากิจกรรมที่สงผลถงึ การเสริมสรา งไอคิว อีควิ ดา นตา งๆ เคร่ืองหมาย 33 หมายถงึ ผลลัพธห ลักในการทาํ กจิ กรรม (ไดผลมาก) เคร่ืองหมาย 3 หมายถึง ผลลพั ธร ว มในการทาํ กจิ กรรม (ไดผ ล) จ

            ฉ

      gh การจดั ทาํ คูมอื กจิ กรรมสง เสรมิ ความสามารถทางเชาวนป ญ ญา และความฉลาดทางอารมณ สาํ หรบั ศูนยพฒั นาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล เริ่มจากการกําหนด คณุ ลกั ษณะความฉลาดทางเชาวนปญ ญาและ ความฉลาดทางอารมณของเด็ก ซงึ่ ยึดหลกั พฒั นาการการเรียนรขู องเดก็ ทเี่ กดิ ขน้ึ ตลอดเวลา และเปน ไปตาม ขน้ั ตอนทั้งพฒั นาการของสมองและรา งกายเปน หลกั การมคี วามสามารถทางเชาวนปญญาที่ดี ไอคิว (IQ) ชวยใหค นเรียนรูสิ่งตางๆ ไดดี มศี ักยภาพใน การสรางสรรค และดาํ เนินชวี ติ ใหอยูรอดในสงั คม ซง่ึ จะตอ งควบคูไปกับการพฒั นาความฉลาดทางอารมณ อีควิ (EQ) ที่ดดี ว ย จงึ จะทําใหบุคคลเปน คนทีม่ ีคุณภาพได หากขาดสิ่งใดสงิ่ หนงึ่ ยอ มทําใหการพัฒนาเปนไป อยา งไมเ ตม็ ศกั ยภาพ เพราะการทจี่ ะมี อคี วิ ดี ตอ งอาศยั การคดิ อยา งมเี หตผุ ล การตดั สนิ ใจและความสามารถ ในการสื่อสารที่ดีดว ย การปลกู ฝงพื้นฐานท่ีดีทัง้ ไอควิ และ อคี ิว ในวัยเด็กจะพฒั นาไปสูผ ูใ หญทมี่ คี ุณภาพ อยูร ว มกับผอู น่ื ไดอ ยา งราบร่ืนและเปน สงิ่ สําคญั ทท่ี ําใหค นเราประสบความสาํ เรจ็ ในชวี ติ ไอควิ (IQ :Intelligence Quotient) คอื ความสามารถทางเชาวนป ญ ญา ซงึ่ ใชทาํ นายความสามารถ ในการเรยี นรูข องเดก็ ได ไอควิ เปน สงิ่ ทต่ี ดิ ตวั มาแตเ กิด สามารถพัฒนาใหด ขี น้ึ ไดตามศักยภาพของเดก็ ซง่ึ หาก ไดร บั การกระตุน พฒั นาอยางเหมาะสมตามวยั โดยเฉพาะในชว งขวบปแ รกอยางถกู ตอ ง กจ็ ะทาํ ใหเ ชาวนป ญ ญา พัฒนาข้นึ ไดอ ยา งเต็มศักยภาพ องคประกอบของไอคิว 1. ความชางสงั เกต เปนความสามารถในการรบั รคู ณุ ลกั ษณะของสง่ิ ของ การพจิ ารณาเทียบเคยี ง ความเหมือน ความ แตกตา ง การจําแนกสิง่ ตางๆ รวมทง้ั การเชอ่ื มโยง แยกแยะ การคน พบสวนทไี่ มเ ปน ไปตามประสบการณ การ คนหาสวนทีผ่ ดิ สวนท่ีหายไป การเปรียบเทยี บขนาด ปรมิ าตร ปริมาณ และความยาว เปน ตน การสงั เกต ชวยดงึ ศกั ยภาพทมี่ อี ยโู ดยธรรมชาตใิ นตวั เดก็ ออกมา เพอ่ื ใหเ กดิ ความเขา ใจ สามารถอธบิ ายเรอ่ื งนนั้ ๆ ไดอ ยา ง ชัดเจน และยงั เปน พน้ื ฐานทสี่ ําคัญในการแกปญ หาหรอื การหาทางเลือกที่เหมาะสม 2. ความจํา เปน สิง่ ทเี่ กิดจากการรบั รผู า นทางประสาทสมั ผสั ตา งๆ ทาํ ใหเกดิ ความคดิ ความรูสกึ รวมถงึ การ รวบรวมประสบการณชวี ิตตา งๆ ประสบการณด งั กลาวจะถกู บนั ทกึ ไวในสมอง สมองจะเปนตัวจดั ลาํ ดับความ สําคัญ คุณคา ความหมายและเช่ือมโยง ตีความ นําออกมาใชไ ดอ ยา งเหมาะสม 3. สมาธิ เปน พนื้ ฐานทสี่ าํ คญั ของการพฒั นาความสามารถทางเชาวนป ญญา ความสามารถนจ้ี ะชว ยใหเ ดก็ มคี ณุ ลกั ษณะทด่ี ี คือ การควบคมุ ความสนใจ การเลือกรบั รู จดจอ ตอ กจิ กรรมหรือสง่ิ ทกี่ ระทําอยูอ ยา งตอ เนอื่ ง จนสําเร็จ เพอ่ื ใหเ กิดการรบั รู เขาใจไดจ นถึงระดับทเี่ รียกวา เขาใจอยา งลึกซงึ้ 1

         4. ความสามารถในการสรา งภาพในใจ ไดจ ากการเชอ่ื มโยงประสบการณท เ่ี รยี นรู นาํ มาคดิ ทบทวนระลกึ ถงึ สง่ิ ทเ่ี รยี นรู รบั รตู า งๆ ความ สามารถในการสรา งภาพในใจ เปน พนื้ ฐานในการคาดการณสงิ่ ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ ในอนาคตและการคดิ จนิ ตนาการ ตอ ไปไดอยางมหี ลกั เกณฑ 5. การถา ยทอดจนิ ตนาการ เปน การนาํ สงิ่ ทค่ี ดิ เชอ่ื มโยงจากประสบการณอ อกมานาํ เสนอ โดยตองอาศยั ทกั ษะทางดา นภาษา ในการส่ือสารทถี่ กู ตอ ง การเรียนรทู กั ษะทางสงั คม การควบคุมอารมณ การถา ยทอดความรสู ึกนึกคดิ และ การอยูรว มกบั ผูอนื่ ไดอ ยางมคี วามสขุ 6. การคิดไว เปนความสามารถทจี่ ะคน หาความหมาย และสาระสาํ คญั ของสงิ่ ตางๆ การเชอ่ื มโยงประสบการณ ทตี่ อ งอาศยั ทกั ษะการฝก ฝนใหเกดิ ความฉบั ไวในการรบั รเู ขา ใจและแกปญหาตางๆ ความสามารถในการจบั ใจ ความเรื่องตางๆ รวมท้ังการแกป ญหาในเชิงคณิตศาสตร ท่ีตองเรียนรูหาคาํ ตอบดวยวิธกี ารที่หลากหลาย ภายใตเ หตผุ ลเดยี วกนั มใิ ชเรยี นรูเ รอ่ื งตวั เลขเทานนั้ แตเ ปน การใหเดก็ เรยี นรเู รอื่ งเหตผุ ล อนั เปน พนื้ ฐานสาํ คญั ในการคิดอยางเปนระบบในการเรียนรูอน่ื ๆ ตอ ไป 7. การคดิ อยา งเปน ระบบ เปน การเรียงลาํ ดับความคิดอยา งเปน ขั้นตอน มกี ระบวนการคิดเพ่ือนําสูก ารแกป ญหา ซงึ่ ตอง อาศยั ความสามารถในการเชอ่ื มโยงเหตผุ ล ความตอเน่อื งและเปาหมายท่ีนาํ สคู วามสําเร็จอยา งชดั เจน 8. การคิดอยา งสรางสรรคแ ละละเอยี ดลออ เปนความสามารถในการคิดไตรตรอง รวบรวมขอ มูลเปรยี บเทียบจากประสบการณก ารเรียนรู ตอยอดกระบวนการคดิ อยา งเปนระบบ จากการใหเหตุผล ผสมผสานแนวความคดิ และขอ สรุปหลายๆ ขอ เขาดว ยกนั กอ ใหเกดิ การกระทาํ ส่ิงใหมๆ ทส่ี รางสรรค 9. การคดิ เชอื่ มโยงเหตผุ ล เปนความสามารถในการเขา ใจความสัมพันธของส่ิงตางๆ หรือสถานการณต างๆ ท่ีเกิดข้ึน รอบๆ ตัว ความสามารถในการทํานายความสัมพนั ธเ หลานัน้ โดยไดจ ากการเรยี นรผู านประสบการณ นาํ มา เช่ือมโยงอยางเปนเหตเุ ปน ผล 10. การแกป ญหา เปนการนาํ ความคดิ ทเ่ี ชอ่ื มโยงอยา งเปน ระบบมาวเิ คราะหถ งึ ผลจากการดาํ เนนิ ไปของสถานการณ นนั้ ๆ ผสมผสานแนวความคดิ และขอ สรปุ หลายๆ ประการทไี่ ด ซง่ึ ตอ งใชความสามารถในการวเิ คราะหร ปู แบบ สัญลกั ษณ ความสมั พนั ธ สถานการณ และการรถู ึงแบบแผนที่เกิดข้นึ ซาํ้ ๆ ได 11. การทํางานประสานระหวางมือและตา เปน องคป ระกอบหนงึ่ ทสี่ าํ คญั ของการแสดงความสามารถทางเชาวนป ญ ญา ดา นการกระทาํ ทตี่ อง อาศัยการทํางานประสานกันของประสาทสัมผสั ในการลงมอื ปฏิบัติ เพอ่ื นําไปสูก ารแสดงออกดานการเรยี นรู การคดิ และใชเ หตุผล และการแกป ญหา 2

            อีคิว (EQ : Emotional Quotient) คอื ความฉลาดทางอารมณ เกีย่ วขอ งกับ ความสามารถในการ จดั การกบั อารมณข องตนเอง รูจ กั ควบคมุ และแสดงออกอยางเหมาะสม เขา ใจตนเองและผูอนื่ สามารถอยรู ว ม กับผูอื่นไดอ ยางมีความสุข ความฉลาดทางอารมณส ามารถพฒั นาไดจากการเลีย้ งดู กระตนุ พัฒนาเด็กอยา ง ถกู ตอ งตั้งแตว ัยเดก็ เด็กทมี่ ีความฉลาดทางอารมณ ยอมเติบโตขึ้นเปนผใู หญท มี่ คี วามสขุ อยูร ว มกบั ผูอ่ืนได อยา งราบรื่น และสามารถใชความสามารถทางสตปิ ญญาของตนเองไดเ ตม็ ที่ องคประกอบ อีควิ 1. การรจู ักอารมณและควบคุมอารมณ การรจู กั อารมณแ ละควบคมุ อารมณ การสงเสรมิ ใหเดก็ ควบคมุ อารมณไดด ี เรมิ่ ตน ดว ยการฝก ให เดก็ รูวา เขากาํ ลงั มอี ารมณอยางไร ใหร ูจ กั ถา ยทอดอารมณความรูสกึ ออกมาเปน คาํ พดู เพอ่ื ทเี่ ดก็ จะไดร ูเทา ทนั อารมณ เมื่อรเู ทาทนั อารมณก จ็ ะสามารถควบคมุ อารมณไ ดเม่ือโตขน้ึ การควบคมุ ตนเองมี 2 ประการ l การควบคุมความอยากเปน เอาชนะความอยากได ไมตามใจตัวเองอยา งไรสติ เชน อดใจไมรับประทานอาหารท่ที ําใหเ สยี สขุ ภาพ l การควบคุมอารมณ เด็กควรรจู ักอารมณตนเอง และสามารถทําใหอารมณสงบได โดย ไมเ กบ็ กดอารมณความรสู ึกไว 2. การเขา ใจและเห็นใจผอู น่ื โดยธรรมชาตเิ ดก็ เลก็ จะหวงของ และยดึ ตนเองเปน ศนู ยก ลาง ดงั นนั้ การทะเลาะกนั หรอื การแยง ของเลน กัน จงึ เปนเรือ่ งธรรมดาทีเ่ กดิ ขนึ้ ได การฝกใหเดก็ เขาใจและรูจกั เห็นอกเห็นใจผูอ ่นื ตองเริ่มจากการ ใหเดก็ รูจกั แบงปนสงิ่ ของและชวยเหลอื พน่ี อ งในบาน เดก็ อาจรสู กึ ฝนใจทจี่ ะแบงปน แตเดก็ สามารถเรยี นรูก าร แบง ปนได ถา ชใี้ หเ ด็กเหน็ วาการแบงปน จะทาํ ใหเ ขามีเพอื่ นเลนหรอื เมอ่ื เขาไดรับคาํ ชมเชยจากผูใ หญ ซงึ่ เปน การเสรมิ แรงทีเ่ ดก็ ตอ งการ เมอ่ื เด็กไดรับการสง เสริมใหรจู ักแบงปนผอู ่นื การยึดตนเองเปนศนู ยก ลางกจ็ ะ ลดนอ ยลงและพัฒนาไปสูก ารใสใ จ การเขาใจอารมณผอู ืน่ และรสู กึ เหน็ อกเห็นใจผอู ืน่ 3. การเรยี นรูระเบยี บวนิ ัย การเรียนรูว า อะไรผดิ อะไรถูก และการยอมรับผิด การสอนใหเ ด็กรูว าอะไรควรและไมค วรน้ัน ครู/พเี่ ล้ียงควรกาํ หนดขอบเขตเบอื้ งตน ใหเดก็ รูวา อะไรทีท่ าํ ได ทําไมไ ดใ นเรอื่ งงาย ๆ ในชวี ิตประจาํ วัน โดยท่ี คร/ู พเ่ี ลยี้ งเปน คนคอยควบคมุ เดก็ ใหอ ยูใ นขอบเขตทเี่ หมาะสม เพราะวา เดก็ ยงั ควบคมุ ตนเองไมไ ด และทส่ี าํ คญั ครู/พ่ีเล้ียงตอ งทาํ เปน ตวั อยางใหก บั เด็กดว ย และควรสอนเด็กเร่อื งคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในชวี ติ ประจําวัน ครู/พี่เล้ยี งควรมีเวลาคยุ กับเดก็ บอยๆ เชน การพูดกบั เดก็ เก่ยี วกบั สภุ าษติ คาํ พังเพย การเลานิทาน พูดคุย กบั เดก็ ทกุ วัน การหยบิ ยกขา วสารมาพดู คุยกบั เด็กทกุ วนั เดก็ ๆ จะคอยๆ ซึมซับคําสอนเหลา นัน้ ในเดก็ เลก็ เมอ่ื เดก็ ทาํ สง่ิ ทไี่ มเหมาะสมกไ็ มค วรใชเหตผุ ลทย่ี ดื ยาว เขา ใจยากอธบิ ายใหเดก็ ฟง ใชเพยี งเหตผุ ลงา ยๆ สน้ั ๆ แลว ควบคุมเดก็ โดยจบั เด็กไว แยกออกไป หรอื เบย่ี งเบนความสนใจเร่ืองอน่ื และเม่อื เด็กโตขนึ้ พอที่จะ เขาใจจงึ คอยอธบิ าย เดก็ ก็จะเขา ใจเหตผุ ลมากข้ึนกวา เดมิ การฝกวนิ ัย คร/ู พเ่ี ลี้ยงควรฝก ใหเ ด็กควบคุมความประพฤติตนเอง ดวยการที่ครู/พ่ีเลย้ี งจะตอ ง เปนคนชว ยควบคุมความประพฤตอิ ยางเสมอตนเสมอปลาย เมือ่ เด็กโตขึน้ จะเรียนรทู ่ีจะควบคุมตวั เองไดใน ที่สดุ เดก็ ควรมีวินยั ในเรื่องเหลา นี้ 3

           l วนิ ัยในความประพฤตทิ ว่ั ไป เชน เก็บสง่ิ ของเขา ที่ ตรงตอ เวลา ปฏิบัตติ ามกฎระเบยี บ รูจกั กาลเทศะ ประพฤติตนเหมาะกบั วยั ทํากิจวตั รตามเวลา ชว ยเหลอื ตนเองไดต ามวัย l วนิ ัยในการเรียน การทํางาน เชน รับผิดชอบงานทไี่ ดรับมอบหมาย การรักษาคาํ พดู l วนิ ยั ในการควบคุมตนเอง เชน ควบคุมอารมณไดดตี ามวัย และอดทนตอ ความยากลาํ บาก ตามวยั 4. ความมงุ มนั่ มานะ อดทน แรงจงู ใจทจ่ี ะมมุ านะพยายามในการทาํ สง่ิ ตา ง ๆ ใหส าํ เรจ็ โดยไมเ ลกิ ลม กลางคนั แมจ ะพบปญ หา อุปสรรค เปนคุณลักษณะทต่ี องเสริมสรางต้ังแตเ ดก็ อยางคอยเปนคอยไป เร่มิ ตั้งแตเ ด็กเล็กวัย 3 - 5 ป ครู/พเี่ ลี้ยงควรมีทาทสี นใจรีบตอบสนองเม่ือเด็กมขี อสงสัยหรอื ขอ ซักถาม เพราะเดก็ วยั น้ีมกั มีความสนใจ อยากรอู ยากเหน็ สงิ่ แปลกใหมรอบตวั การใหอ สิ ระเดก็ ไดท ดลองทําอะไรดว ยตนเอง แลว ครู/พเี่ ลี้ยงใหการ สนบั สนนุ ชมเชยเม่อื เดก็ มีความพยายาม ใหก ําลงั ใจเมอ่ื เดก็ เรมิ่ ทอ แท จะชวยใหเด็กอยากทาํ อะไรใหส ําเร็จ มากขน้ึ ชว ยเพมิ่ ความอดทนและมุงมั่นพยายาม พัฒนาเปนแรงจูงใจทจี่ ะทาํ สงิ่ ตางๆ ใหสาํ เรจ็ เมอ่ื เตบิ โตเปน ผูใหญ 5. การปรบั ตัวตอ ปญหา การปรบั ตวั ตอ ปญ หา ความสามารถในการกลา ตดั สนิ ใจและการจดั การกบั ปญ หาอยา งเหมาะสมใน วยั ผูใ หญม าจากพน้ื ฐานความสามารถในการปรบั ตวั ตอการเปลย่ี นแปลงในวยั เดก็ เลก็ และเมอื่ เดก็ โตขนึ้ กฝ็ ก หดั ใหเ ด็กรจู ักคิดเปน และตัดสนิ ใจเปน รวมทง้ั การชวยเหลอื ตนเองได ในวัยเด็กเล็กควรฝก หัดการปรับตัวตอ การเปลีย่ นแปลง ธรรมชาตขิ องเด็กเลก็ มักจะเกิดความหว่นั ไหว เม่ือมีการเปล่ียนแปลงใดๆ ครู/พี่เล้ียงควร ฝกใหเดก็ ปรับตัวไดงา ย โดยการพาเดก็ ไปพบเห็นสิ่งตางๆ ในศนู ย/ ในโรงเรยี น เมอื่ เดก็ เกดิ ความกลวั คร/ู พเี่ ลย้ี งควรใหก ารปลอบใจ และใหความมน่ั ใจเด็กดว ยคาํ พูดและการโอบกอด เพือ่ ใหเด็กรูสกึ อบอุนใจ การ ฝกเชนน้ีจะทาํ ใหเ ดก็ ปรบั ตัวไดงา ยและเด็กไดเ รยี นรูเ กย่ี วกบั การอยรู ว มกบั คนอนื่ หรอื ส่ิงแวดลอ มรอบตัว 6. การกลา แสดงออก ความสามารถในการสอื่ สาร ตอ งเรมิ่ มาจากการฝก ฝนตงั้ แตเ ดก็ เลก็ ใหเ ดก็ สอ่ื สารเพอ่ื ใหเ กดิ ความ เขา ใจกับผอู ื่นไดอ ยางเหมาะสม ทัง้ คําพดู ทา ทาง ในเดก็ เลก็ ควรฝก เดก็ ใหกลาพูด กลา บอกความรูสึกและ ความตองการ โดยใชค วามคดิ และเหตผุ ลมากขน้ึ ควรฝกเด็กกลาพดู กลา บอกเลาถงึ ความคิดเหน็ ของตนเอง ในทศิ ทางท่ีผูอ ่ืนยอมรบั ได 7. ความสขุ ความพอใจ ความสุขของบคุ คลเกดิ จากการทบี่ ุคคลมีความพอใจในตนเอง คนทีม่ วี ฒุ ภิ าวะทางอารมณตอ งมี ความภาคภูมใิ จทเี่ กดิ จากภายในตนเอง เชน ภูมใิ จท่ีไดทาํ ประโยชนใ หสงั คม ความพอใจในชวี ติ เกดิ จากการ ท่ีบคุ คลมมี มุ มองดานบวก พอใจในสง่ิ ท่ีมีอยู แตกตางจากการมองหรอื การคิดอยางเขา ขางตนเอง หรือหลง ตนเอง คนทีม่ องในแงบวกจะมุงเหน็ แตส่ิงทดี่ ี และมองเห็นสว นทีด่ ขี องตนเองและผอู ื่นมากกวา สว นเสีย จึง ทําใหเ ปนคนทีส่ รา งกาํ ลังใจใหต วั เองได ไมท อแทกับปญ หาอปุ สรรคคางๆ และรูจักมุมมองทเ่ี ปน สขุ ของชีวติ 8. ความอบอุนใจ แมจ ะพบกบั ความไมส มหวัง ดว ยการฝก ใหเ ดก็ มองดานบวกของชีวติ เชน เมอื่ เดก็ ไดคะแนนไมดี ใหมองวาเปนโอกาสท่ีดีที่ไดปรับปรุงการเรียน การเรยี นรเู รอื่ งวิธแี สวงหาความสุขในวยั เด็กเหลา นี้ จะเปน พนื้ ฐานสาํ คัญใหเ ดก็ เตบิ โต 4

          ครู/พเี่ ลย้ี งมีสว นสาํ คญั ในการสรางความรูส ึกที่ดี ใหเ ด็กยงั คงมคี วามรสู กึ อบอนุ ใจ ดวยจติ ใจท่ี มัน่ คง มีความพอใจในชีวิตเมอื่ เขาสวู ยั ผใู หญ สามารถสรา งกําลงั ใจ แมจ ะพบกบั ความผดิ หวัง ความลมเหลว ได 9. ความสนกุ สนานราเรงิ ความสุขของเดก็ เปนความสขุ แบบสนุกสนานเพลดิ เพลนิ คอื สขุ สนุกจากการเลน ไมวาจะเปน การเลน ตามลําพังหรอื เลนกับกลุมเพื่อน เด็กที่มีโอกาสไดเลนสนุกสนานจะมีจิตใจรา เริงแจม ใส มีพืน้ ฐาน อารมณด ี พฒั นาการแบง เปน ดา นตา งๆ ไดแ กด า นสงั คม ดา นภาษา ดา นการชว ยเหลอื ตนเอง ดา นกลา มเนอื้ การสงเสริมพฒั นาการ ควรทําควบคูกันในทุกดาน พรอ มๆ กนั ไปตามความพรอมในแตละชวงวัยของเดก็ ในการสงเสริมพัฒนาการ จะตองเขาใจความสามารถและพัฒนาการของเด็กในแตล ะวัยดวย กจิ กรรมตอ งไมงา ยหรอื ยากจนเกนิ ไป เพราะถา งา ยเดก็ จะรูสกึ เบอื่ แตถ า ยากอาจจะเปน การเรงเดก็ มากเกนิ ไป ไดในขณะทรี่ างกายยังไมพ รอ ม หรืออาจทาํ ใหรสู ึกผดิ หวงั ไมสามารถทําไดส ําเรจ็ หมดกําลังใจ แตถ า จดั ให พอเหมาะพอควร เดก็ จะอยากเรียนรู มงุ มัน่ ท่ีจะทาํ ใหส าํ เร็จ สนุกสนานและมีความสขุ จะเห็นไดวา หากเดก็ ไดร ับการกระตนุ พัฒนาการอยางถกู ตอ งและเหมาะสม ยอมทําใหมีการ พัฒนาของ ไอควิ และ อคี วิ ท่ดี ไี ปดว ย คูมือจัดกิจกรรมเสริมสราง ไอคิว อีคิวเด็ก สาํ หรับศูนยพัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล ฉบับนี้ ไดคดั เลอื กเฉพาะกิจกรรมท่สี นับสนนุ คุณลักษณะความสามารถทางเชาวนป ญ ญาและความฉลาด ทางอารมณข องเดก็ ที่จาํ เปน สาํ หรบั การพฒั นาการเรียนรูของเด็กในเดก็ วัย 1 ป 6 เดอื นถงึ 5 ป เฉพาะบาง องคประกอบ ดังน้ี คณุ ลกั ษณะความสามารถทางเชาวนป ญญา (อีคิว) - ความชา งสงั เกต - การถา ยทอดจนิ ตนาการ - การเชอ่ื มโยงเหตผุ ล - การทาํ งานประสานระหวา งมอื และตา คุณลักษณะความฉลาดทางอารมณ (ไอควิ ) - การรจู กั และควบคมุ อารมณ - การเรยี นรรู ะเบยี บวนิ ัย - ความสนุกสนานรา เริง โดยจะแสดงผลลพั ธ ดงั ตาราง 5

      ตารางแสดงผลลพั ธ ผลทไ่ี ดรับ ไอคิว อคี วิ ความชา ง การถายทอด การคิดเชื่อมโยง การทาํ งาน การรูจกั และ การเรียนรู ความสนกุ สนาน สงั เกต จินตนาการ เหตุผล ประสานระหวา ง ควบคุม ระเบียบวินัย รา เรงิ 33 มือและตา อารมณ 33 3 เคร่ืองหมาย 33 หมายถึง ผลลัพธหลกั ในการทํากจิ กรรม (ไดผลมาก) เครือ่ งหมาย 3 หมายถงึ ผลลัพธรวมในการทาํ กิจกรรม (ไดผล) 6

                การสรา งโอกาสแหง การเรียนรู ในแตละชวงวยั เดก็ แตล ะวัยมหี นาตา งแหง โอกาสการพฒั นา หรอื จังหวะเวลาในการพฒั นาสงิ่ ตา งๆ แตกตา งกนั ใน แตละชว งวยั หากคร/ู ครพู เี่ ลยี้ งเขา ใจหนา ตางแหงโอกาสนี้ และใหก ารพฒั นาเดก็ ตามวยั กจ็ ะทาํ ใหการพฒั นา ทัง้ ไอควิ อีควิ แกเ ดก็ ประสบความสาํ เรจ็ ยง่ิ ขึ้น เดก็ วยั ขวบปแ รก เปนชวงเวลาของการเรยี นรูความรกั เรยี นรทู จี่ ะไดร บั การรัก ไดร บั การปกปอ งเพอ่ื ท่ีจะใหม องเห็นวาตนเองมีคุณคา ถาผา นพน ชวงวัยน้ีไปแลว โดยที่เด็กไมไดร ับการโอบกอดสัมผัสใกลช ิด แมว าจะชดเชยในชว งปท ่ีสองและสาม แตก ารชดเชยเมอ่ื หนา ตา งแหงโอกาสปด แลว กไ็ มคอ ยไดผลเทาท่คี วร เดก็ วัย 2 ขวบ เด็กจะอยากทําโนน นี่ดวยตวั เอง และมกั จะเตม็ ไปดวยคาํ วา “ไม” เพือ่ แสดงความ เปน ตวั ของตวั เอง ชวงเวลานเี้ ปนนาทีทองของการทีเ่ ด็กเรยี นรวู า ตนเองมีความสามารถ ดังน้นั วัยนี้จงึ ควรให อิสระเดก็ ไดท าํ อะไรดว ยตัวเอง ในบรรยากาศทผี่ ใู หญค อยดูแลความปลอดภัยตา งๆ หากผูใหญค อยหา มวา “อยา นะ” เพราะกลวั วาเด็กจะทําไมด ี หรอื ดูแลเด็กดว ยความกงั วลเกนิ ไป เดก็ กจ็ ะไมเ ปนตัวของตัวเอง เดก็ วัย 3-5 ป เปนชวงเวลาของการพัฒนาความคิดสรางสรรค และการฝกระเบยี บวินัย จงึ เปน เวลาทด่ี ตี อ การเปด โอกาสใหเดก็ ไดพบประสบการณท หี่ ลากหลาย เดก็ จะเรียนรูส งิ่ ตา งๆ ไดอ ยา งมากมาย การ ฝกหดั ระเบียบวนิ ัยจาํ เปนตองวางรากฐานในวยั น้ี l เดก็ สามารถพฒั นาทงั้ เชาวนปญ ญาและอารมณไ ดจ ากการเลน ผานประสาทสมั ผสั ทง้ั หา การเปด โอกาสใหเดก็ ไดเรยี นรสู ง่ิ ตางๆ ในรปู แบบทหี่ ลากหลาย ผา นกจิ กรรมการเลา นทิ าน ศลิ ปะ ดนตรี การเคลอ่ื นไหวรางกาย การเลนเปนกลมุ การใหเ ดก็ มโี อกาสจับตอ งส่งิ ตา งๆ และเรียนรูใ นส่ิงที่ เขาสนใจจะชว ยพัฒนาท้งั เชาวนป ญญาและอารมณ l การพดู คยุ เลา นทิ านและเสยี งดนตรี จะชว ยใหส มองเดก็ พฒั นาดา นภาษาอยางเตม็ ท่ี โดยเฉพาะ ชว ง 7 ปแ รกของชวี ติ ทก่ี ารพฒั นาทางภาษาจะนาํ ไปสกู ารพฒั นาความสามารถทางเชาวนป ญญา และสงั คม เดก็ จะถายทอดอารมณ ความรูสึกออกมาเปน คาํ พดู และภาษาทา ทางไดด ี สามารถ รบั รูและเขาใจคนอื่นผา นการสื่อสาร ซ่งึ เปนประตูสูก ารรูจ กั ตนเอง ผูอ นื่ และเรยี นรูโ ลกภายนอก นอกจากนนี้ ทิ าน ดนตรี และการรอ งเพลงยงั ชว ยเสริมสรา งจินตนาการและความคดิ สรางสรรค คตทิ ไี่ ดจากนทิ านและทว งทาํ นองดนตรที ก่ี ลอ มเกลาจติ ใจใหละเอยี ดออ น จะชว ยกระตนุ สมองและ สง เสรมิ พฒั นาการดา นอารมณข องเดก็ อกี ทง้ั เปน การเรยี นรทู เี่ ดก็ จะนาํ ไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั เชน การปลูกฝงจริยธรรมหรือวธิ ีการแกป ญหาจากนิทาน การไดเ รียนรกู ารผอนคลายอารมณดวย เสียงดนตรีเบาๆ และกระตุนอารมณสนุกสนานดว ยเสยี งดนตรที ร่ี า เรงิ แจม ใส l การเลน และออกกําลงั กาย ชว ยทาํ ใหรา งกายทกุ สวน รวมทัง้ สมองตนื่ ตัว รางกายมกี ารเตรยี ม พรอมเพ่อื เรยี นรสู ิ่งใหมๆ ทําใหอ ารมณด ี กระปร้กี ระเปรา การเลน ชวยใหเด็กเรยี นรูส งิ่ แวดลอ ม รอบตวั ถา เลน รว มกบั เดก็ อน่ื ๆ จะชว ยพฒั นาศกั ยภาพในการอยูร ว มกนั ในสงั คม เรยี นรคู วามเหน็ อกเห็นใจผอู ื่น จากขอมูลพื้นฐานทางวิทยาศาสตรเกี่ยวกับสมอง นักวิจัยดานสมองและ ประสาทวทิ ยาเชอื่ วา การใหเด็กมีโอกาสพฒั นาทักษะการอยรู วมกัน จะทําใหส มองสรางเสนใย ในสว นที่เปนทักษะทางสงั คมแบบรวมมอื กนั และเห็นอกเหน็ ใจกนั ในทางตรงกนั ขา ม หากเดก็ 7

           ขาดโอกาสท่ีจะเลนหรอื ออกกําลงั กาย หรือขาดโอกาสทีจ่ ะพฒั นาศักยภาพทางสังคม ก็จะทําให เดก็ แยกตวั เกบ็ กด กา วรา ว เนอื่ งจากมกี ารสรา งเสนใยสมองในสว นทเี่ สรมิ อารมณก าวรา วรนุ แรง และทําใหสารเคมีในสมองไมสมดุลกัน มีการศึกษาพบวาเด็กท่ีมีทักษะในการเลนที่ดีมี แนวโนมจะประสบความสําเร็จในการเรียน เพราะการเลนจะชวยพัฒนาทักษะการคิด การ จดจาํ ประสบการณ การแกปญ หา ทักษะการเขา สังคม การทํางานรว มกนั และการแลกเปล่ยี น ความคดิ เหน็ ซึง่ กันและกัน l การหดั ใหเ ดก็ ชวยเหลอื ตวั เองตามวยั ใหเดก็ เจอความยากลาํ บากบาง รจู กั การอดทนและรอคอย ใหเ ด็กมปี ระสบการณการเรยี นรจู ากส่ิงตางๆ ทหี่ ลากหลาย วิธีการสอนหรือดแู ลทีเ่ หมาะสมน้ี จะชวยใหเด็กสามารถรับผิดชอบตอตัวเองได มีความภาคภูมิใจในตัวเอง ไมยอทอ ตอปญ หา อปุ สรรคอะไรงา ยๆ และเปนคนทไี่ มเ อาแตใ จตวั เอง มคี วามเชอ่ื มน่ั ในตัวเอง ความรสู กึ ดๆี ทเี่ ดก็ มตี อ ตวั เองนี้ ชวยเพปิ่ ระสทิ ธภิ าพแกเดก็ มากขนึ้ ในการเรยี นรูและพฒั นาตนเอง ไมว า จะเปน ดา น สติปญญาหรอื พัฒนาการดา นอารมณ l การจดั สภาพแวดลอมทเี่ หมาะสม จะสงเสรมิ โอกาสในการเรยี นรแู ละการพฒั นาเดก็ สงิ่ แวดลอ ม ทดี่ กี อใหเ กดิ ความรสู ึกท่ีดี ท้งั ตอตัวเด็ก ครูและครอบครัว การจดั สภาพแวดลอ มตองพิจารณา อยางเหมาะสม ต้ังแตลกั ษณะของผนงั หอง เพดาน และแสงสวา งท่ีเหมาะสม เพราะเปน สิง่ ท่ี สง เสรมิ การเรยี นรใู หกับเด็กเลก็ ทชี่ อบนอนมองเพดาน สํารวจมอื เทา ไดเปนอยา งดี l การจดั สภาพแวดลอ มทด่ี คี วรคาํ นงึ ถงึ การอาํ นวยความสะดวกในดา นตา งๆ และมปี ระโยชนใ นการ กระตนุ การเคลือ่ นไหวใหก ับเด็ก เชน ใหเ ดก็ ฝก การทรงตวั จะสง ผลตอ ความทรงจําและความ ฉลาดของเด็ก มมุ ศิลปะ บอ ทรายก็เปน แหลงสรางจนิ ตนาการทดี่ ีใหกับเด็ก l ลกั ษณะทางกายภาพท่สี าํ คัญในการจัดชน้ั เรียน 1. ปลอดภัย (Safe) 2. สะอาดถูกสขุ อนามยั (Hygiene and healthy) 3. การสรา งความพอใจ สขุ ใจ (Pleasant ) 4. ความสะดวกสบาย (Comfortable) 5. สามารถปรบั ไดตามความเหมาะสม (Flexible) กจิ กรรมสว นใหญ เนน การเรยี นรผู า นการเลน พฒั นาดานความแขง็ แรงของกลา มเนอื้ การเคลอ่ื นไหว การประสานสมั พนั ธของกลา มเนอื้ การทรงตวั การรบั รูส มั ผสั การจดั การกบั วตั ถสุ งิ่ ของ เลน อยา งมเี ปา หมาย เรียนรูก ติกาทางสังคม การเลนรว มกบั ผอู ื่น กิจกรรมสรา งสรรคป ระดิษฐ เลนสมมุตสิ รางจนิ ตนาการ และใช ภาษาสอื่ สารไดอ ยา งเหมาะสมตามวยั จดั ทาํ เพอื่ ใหส ะดวกตอ การใชง าน สามารถประยกุ ตใ ชไ ดห ลายแบบ โดย เนนความสะดวกในการหาอปุ กรณใ นสถานทจี่ ริง หาไดง า ย ราคาไมแพงจนเกินไป ซ่ึงหากจะพิจารณาดแู ลว สิ่งตางๆรอบตัวลวนใชประยุกตเปนของเลนพัฒนาการเรียนรูไดท้ังส้ิน เชน อวัยวะตางๆ ของเราเอง วัสดุธรรมชาติ (เชน นํา้ ทราย ใบไม เปนตน) เศษวัสดุ (เชน เศษผา กระดาษ ฝาพลาสติก) ของใช เคร่อื งใชตางๆ (เชน ขนั กะละมัง ดนิ สอ เชือก) 8

         การบรู ณาการการพฒั นาความสามรถทางเชาวนปญ ญาและความฉลาดทางอารมณเ ดก็ ในกจิ กรรมการ เรยี นการสอน การพัฒนาความสามารถทางเชาวนปญญาและความฉลาดทางอารมณ สามารถบูรณาการใน กจิ กรรมการเรยี นการสอนสําหรับเดก็ อายุ 3-5 ป ได 2 รูปแบบ ไดแก 1. บูรณาการในการทาํ กจิ วตั รประจําวนั ดวยการทคี่ รู / พ่ีเลี้ยงฝกหัดใหเดก็ ทํากจิ วตั รประจาํ วนั ตามหลกั การพฒั นาไอคิวและอีควิ เด็กตามวยั ไดแก l การฝกหัดใหร จู ักมารยาททางสังคมในการอยูรวมกบั ผอู ่ืน เชน - การไหว กลาวทักทายสวสั ดี ขอโทษ ขอบคุณ - มารยาทในการรับประทานอาหาร ไมเลนกันขณะรบั ประทานอาหาร ไมม มู มาม - มารยาทในหองเรยี น ไมส งเสียงดงั รบกวนเพอื่ น รจู ักหยดุ นิ่งรบั ฟงผูอ น่ื - ใหขออนุญาตเมอื่ จะเขาหอ งนาํ้ หรือออกจากหอ งเรยี น l ฝก หดั การมรี ะเบียบวนิ ัย เชน - การเขาแถว - การทํากิจวัตรตางๆ เปน เวลา และตรงตอ เวลา - ฝกการเกบ็ ของเลน และของใชใ หเรยี บรอ ย l ฝก หดั การรบั ผิดชอบ เชน - ใหเดก็ นําถาดอาหารไปเกบ็ เอง - ฝกหัดใหเด็กชวยเหลือตนเองตามวัยได เชนแปรงฟนเอง ตักอาหารรับประทานเอง ทาํ ความสะอาดรา งกายไดเอง - รูจ กั เกบ็ รกั ษาขา วของของตนเอง - ไมห ยบิ ของผูอื่น โดยไมรบั อนญุ าต และรจู กั คืนใหเจาของ l ฝกหัดการกลาพดู กลาบอก เชน - ใหย กมอื ข้ึนเม่อื ตอ งการพดู l ฝกหดั การควบคุมอารมณ เชน - ฝกการสวดมนต ทําสมาธใิ นชว งส้นั ๆ 1- 5 นาที l ฝก หัดความจํา - ใหม กี ารทบทวนบทเรยี น - การทองจําบทเพลง l การแกไ ขปญ หา - ฝกหดั โดยใชส ถานการณค วามขดั แยง ขณะเลน /ทาํ กิจกรรม l การถา ยทอดจินตนาการ - ฝก โดยการเลนบทบาทสมมติ - การเลา นิทาน l ความชา งสงั เกต - ฝกหดั โดยการถามถงึ สงิ่ ของ/เพอื่ นวา มีอะไรเปล่ยี นแปลงหรอื ไม - ฝก ใหสงั เกตขณะทเี่ ดินทางพบเหน็ อะไรบาง 9

         l การทาํ งานประสานระหวา งมือและตา - ฝกใหเดก็ ตดิ กระดมุ เสอ้ื ผาเอง - ฝก ใหเ ด็กชว ยงานบานกรอกนา้ํ ใสขวด 2. บรู ณาการในกิจกรรมหลกั 6 กจิ กรรม ไดแ ก l กิจกรรมการเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ เปน กิจกรรมท่จี ดั ใหเดก็ ไดเคลื่อนไหวสวนตาง ๆ ของรางกายตามจังหวะ ตามเสียงดนตรี บทเพลง โดยจัดใหเ ดก็ เคลือ่ นไหวทุกเชาในรปู แบบตา ง ๆ เชน การเคลอื่ นไหวอยางอสิ ระ การเคล่ือนไหวตาม คาํ ส่งั การเคล่อื นไหวแบบเปน ผนู าํ ผูตาม การเคล่ือนไหวเลียนแบบ ฯลฯ วตั ถุประสงคเ พื่อ 1) ใหเ ดก็ ไดพ ฒั นากลา มเนอื้ มดั เลก็ กลา มเนอื้ มดั ใหญ และอวยั วะทกุ สว นใหม คี วามสมั พนั ธก นั 2) ตอบสนองความตองการตามธรรมชาติ ความสนใจ ทําใหเ ด็ก สนุกสนาน มคี วามซาบซงึ้ มีสุนทรียภาพ ไดผอ นคลายความตงึ เครยี ด 3) เปด โอกาสใหเ ดก็ ไดแ สดงออก และมีความคดิ ริเริ่มสรางสรรค 4) พัฒนาทักษะดานสังคม การปรบั ตัว และความรวมมือในกลมุ l กิจกรรมสรางสรรค เปนกิจกรรมที่ใหเด็กปฏิบัติกิจกรรมเก่ียวกับงานศิลปะตางๆ เชน การวาดภาพระบายสี การปน การพิมพภาพ การพับ ฉีก ตดั ปะกระดาษ และงานประดิษฐเศษวัสดุ เปน ตน วัตถปุ ระสงคเพ่อื 1) พฒั นาความคดิ สรา งสรรคและจินตนาการ 2) ใหเ ด็กไดร ับรูเกยี่ วกบั ความงามรูจักชื่นชมความงาม 3) ใหเ ด็กไดแสดงออกตามความรูส กึ และความสามารถของตน 4) พฒั นากลามเนื้อมัดเลก็ ประสาทสมั ผัสระหวางตากบั มอื 5) พฒั นาทักษะทางภาษา ดว ยการบอกและอธบิ ายผลงานของตนได 6) พฒั นาทกั ษะทางสงั คม รูจ กั การปรบั ตัวในการทาํ งานรวมกบั ผอู นื่ มคี วามเออื้ เฟอ เผอ่ื แผ และมคี วามรับผิดชอบ l กิจกรรมเสรี (เลน ตามมุม) เปน กจิ กรรมทจี่ ัดใหเดก็ ไดเ ลน กบั สอื่ และเครอื่ งเลนอยา งอสิ ระในมุมการเลน ตามความสนใจ และความสามารถของเดก็ แตละคน โดยคร/ู พเี่ ลี้ยงเปนผูจดั ประสบการณเ หลา น้ีในหองเรยี น เชน มุมบาน มุมหมอ มมุ รา นคา มมุ ครวั เปน ตน วัตถปุ ระสงคเพือ่ 1) พัฒนาทกั ษะทางภาษา คือ การฟง การพดู บอกอธิบายเรือ่ งราว 2) พัฒนาทักษะทางสงั คม คอื การปรับตวั การเลน และการทาํ งานรวมกับผูอน่ื 3) พฒั นาทกั ษะทางอารมณ คอื ฝกการรอคอย เออ้ื เฟอ เผอ่ื แผ แบง ปน การเสยี สละ และให อภยั 4) พฒั นาการมรี ะเบยี บวินยั และความรับผดิ ชอบ คอื การเกบ็ ของเลน เขาทเี่ ดมิ ไมน าํ ของเลน ของหอ งกลบั บาน การรจู ักดูแลรกั ษาของเลน ทีใ่ ชรว มกนั 10

         l กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ (กิจกรรมวงกลม) เปน กจิ กรรมทค่ี ร/ู พเี่ ลยี้ งและเดก็ รว มแลกเปลย่ี นประสบการณ ขา วสารตา งๆ ดว ยรปู แบบตา งๆ เชน การสนทนา การอภปิ ราย ทศั นศกึ ษา การเลา นทิ าน การรอ งเพลง การสาธติ การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน ตน วตั ถปุ ระสงคเ พอื่ 1) สนับสนนุ ใหเ ดก็ มคี วามรอบรูและสนใจส่งิ แวดลอ ม 2) ฝกทักษะการพูด การฟง การกลา แสดงออก 3) ใหเดก็ ไดเรยี นรกู ารคดิ อยางมเี หตผุ ล และการสรุปความคิดรวบยอด 4) ใหเ ด็กรูจกั มารยาทในการฟง การพดู การสงั เกต 5) ใหเ ด็กไดเ รียนรูใ นการรบั ฟง ใหค วามสนใจ และยอมรบั ความคิดเห็นของผอู ่นื 6) ใหเ ดก็ ไดเ รียนรคู ุณธรรม จรยิ ธรรม จากการที่ครู/พเ่ี ล้ยี งคอยบอกและการคดิ วเิ คราะห ผา นเรอ่ื งราวทนี่ าํ มาเรียนรตู า งๆ l กจิ กรรมกลางแจง เปน กิจกรรมทจี่ ดั ใหเ ดก็ ไดอ อกนอกหองเรยี นไปสสู นามเดก็ เลนทง้ั บรเิ วณกลางแจง และในรม โดยศนู ยพ ฒั นาเดก็ เลก็ /โรงเรยี นควรจดั กจิ กรรมใหม คี วามหลากหลาย เพอ่ื เปด โอกาสใหเ ดก็ ไดเ ลน สนกุ สนาน อยา งเสรี ตามความสนใจและความสามารถของเดก็ แตละคน เชน การเลน นา้ํ เลน ทราย การเลน อสิ ระ การ เลน เครอื่ งเลน สนาม การเลน อปุ กรณก ฬี า การละเลน พนื้ เมอื ง เกมการละเลน ตา งๆ วัตถุประสงคเพอื่ 1) พัฒนากลา มเนอ้ื มดั เลก็ กลา มเนื้อมัดใหญ ใหส ามารถเคลือ่ นไหวไดคลอ งแคลว 2) พฒั นาประสาทสมั พันธ ระหวางมอื กบั ตา 3) ใหเดก็ ไดเรยี นรกู ารปรับตวั ในการเลนและการอยรู ว มกบั ผอู นื่ 4) เสริมสรา งอารมณสนกุ สนาน ราเรงิ ตามวยั ของเดก็ 5) ใหเ ดก็ ไดรจู กั ผอนคลายความตงึ เครยี ด 6) พฒั นาทกั ษะการเรยี นรตู า งๆ เชน การสงั เกต การเปรียบเทียบ l เกมการศกึ ษา เปน กจิ กรรมการเลน ท่ีเปน เกมประเภทตางๆ เชน เกมการจบั คู ภาพเหมอื น เกมโดมโิ น เกม ตอภาพ เกมเรียงลําดบั เกมการจัดหมวดหมู เกมพน้ื ฐานการบวก ฯลฯ วตั ถปุ ระสงคเพอ่ื 1) ใหเด็กเกดิ การเรยี นรู และมีความคดิ รวบยอดในสิ่งทเ่ี รียน 2) ฝกการสังเกต การจําแนก การเปรียบเทียบ การคิดหาเหตุผล 3) ใหเ ดก็ ไดเ รยี นรูท กั ษะพน้ื ฐานตา งๆ เชน คณติ ศาสตร ภาษาไทย การรูจกั สญั ลกั ษณต า งๆ 4) ฝกประสาทสมั พนั ธระหวางมอื กบั ตา 5) ใหเด็กไดเ รียนรคู ณุ ธรรมตา งๆ เชน รูจ ักรอคอย มีความรับผิดชอบ มรี ะเบียบวินัย 11

            ขอ เสนอแนะในการทาํ กจิ กรรม 1. ครู/พเี่ ลยี้ ง สามารถเลอื กกิจกรรมใดกิจกรรมหนงึ่ ในแตล ะกลมุ โดยอาจพิจารณาจากความงาย ยาก จากกจิ กรรมและความสนใจของเดก็ สลบั กนั ไป รว มกบั พจิ ารณาตามเปา หมายของครู ในเรอื่ งผลสมั ฤทธ์ิ ของแตล ะกจิ กรรม 2. กจิ กรรมตางๆ คร/ู ครูพ่ีเลี้ยงควรเลือกทาํ สลับกันไป เพ่ือไมใหเด็กเกิดความเบ่ือหนายและไม รบกวนตอ กจิ กรรมหลกั ของศูนยพ ฒั นาเดก็ เล็ก/โรงเรยี นอนบุ าล 3. คร/ู พเี่ ลยี้ งควรอา นเพอื่ ทาํ ความเขา ใจขนั้ ตอนในการทาํ กจิ กรรมอยา งละเอยี ด โดยเฉพาะขอสรปุ ทจ่ี ะใหกับเด็กในทา ยกิจกรรม 4. ครู/พ่ีเล้ียงเลือกกิจกรรมใหเหมาะสมกับวัย และศักยภาพของเด็ก และเตรยี มสอ่ื อุปกรณที่หา ไดง า ย 5. ระหวางการจัดกิจกรรมครู/พี่เลี้ยงควรเนน เร่ืองความสนุกสนาน และกระตนุ ใหเ ด็กทุกคนมี สว นรว มในการทาํ กจิ กรรม เพราะความสนกุ สนานจะชวยใหเ ดก็ จดจํา เกดิ การเรียนรูไดด ขี ึ้น นอกจากนีก้ าร ใหเด็กเคลือ่ นไหวดว ยอวยั วะตางๆ ของรางกาย ยงั เปน วิธีการชว ยบริหารสมองซีกซายซึง่ ควบคมุ การคิดเชิง เหตุผล และสมองซีกขวาซึ่งควบคุมดา นอารมณ ใหทาํ งานประสานกนั อยางสมดุล จะชวยใหเกิดการเรยี นรูท่ี ดแี ละมปี ระสทิ ธิภาพ 6. ขณะทาํ กจิ กรรม คร/ู พเี่ ล้ียงตองคอยดแู ลอยางใกลช ิด และแกไ ขปญหาเฉพาะหนา เชน เม่อื เดก็ ขัดแยง กนั ในระหวา งเลน เกมหรอื ทํากิจกรรม ควรพูดใหเด็กใจเยน็ และชน้ี าํ วา “หนูลองพูดคุยปรกึ ษากนั ดู” ไมค วรตําหนิวากลาวหรือลงโทษ แตใหใชว ิธีการชดเชยพฤตกิ รรมทดี่ ขี องเด็กแทน 7. ครูควรพจิ ารณานํากิจกรรมไปประยกุ ตแ ละบรู ณาการ ในกจิ กรรมหลกั 6 กจิ กรรมในหลกั สูตร การเรยี นการสอน เพราะจะทาํ ใหก ารเสรมิ สรา งความสามารถทางเชาวนป ญญาและความฉลาดทางอารมณ ของเด็กเปนไปอยา งตอเน่อื ง ชวยใหเด็กสนุกกับการเรยี น เปน การเสริมใหเ ดก็ รักการเรยี นมากขึน้ 8. ครูควรมีการถายทอดการจัดกิจกรรมใหแ กพ อ แม ผูป กครองเพือ่ นําไปประยกุ ตใชกับลกู ที่บา น เชน กิจกรรมการเลานิทาน กิจกรรมการเลนน้ํา กิจกรรมเลน ทราย เปนตน ซึ่งจะทาํ ใหเด็กไดรับการ เสริมสรางความสามารถทางเชาวนป ญ ญาและความฉลาดทางอารมณตอเนื่องทงั้ ทบี่ านและท่โี รงเรียน คําแนะนํา 1. กิจกรรมตา งๆ จะชวยพัฒนา ไอคิว อีคิว ในดา นตางๆ ดังตารางที่แสดงไวทา ยกิจกรรม ซ่ึง ครู/พเี่ ลย้ี งอาจใชใ นการตดิ ตามผล 2. เลอื กกจิ กรรมใหเ ลอื กจากขอทง่ี า ยทส่ี ดุ กอ น เพื่อใหเด็กทาํ ไดแ ละเกิดกําลงั ใจ ท้งั นีข้ นึ้ กับระดบั ความสามารถและการเรยี นรขู องเดก็ แลว จึงคอยๆ เพิ่มความยากของกจิ กรรม 3. การทเี่ ด็กทํากจิ กรรมหนงึ่ ไมได ไมไดห มายความวาเดก็ จะทาํ กิจกรรมอื่นในชดุ เดยี วกันไมไ ด 4. ในการฝกควรใหเวลาเดก็ ในการหัดลองทาํ กจิ กรรม ใหโอกาสหลายๆ ครงั้ ไมเ รง รดั ใหต อ งทาํ ได ทนั ที และไมค วรเปรียบเทียบกับเดก็ อื่นๆ ในกลุม 5. ในเดก็ เล็กครอู าจทําตัวอยางใหดกู อน ทลี ะขนั้ ตอน ขนึ้ กบั ชวงความสนใจของเดก็ ซึ่งในเดก็ เล็ก จะสั้นกวาเด็กท่ีโตกวา อาจตองการการช้ีนาํ เพ่ือชวยใหทํากิจกรรมไดส าํ เร็จ อาจทอนข้ันตอนลง เพื่อให เหมาะสม ขณะเลน ควรมีการพูดคยุ กระตุนใหเ ดก็ สนใจและจดจอกบั กจิ กรรม 12

            6. ในเดก็ โตอายุใกล 3 ป อาจจดั กิจกรรมทีท่ า ทายความสามารถ เพิม่ ความยากของกิจกรรม หรอื นํากจิ กรรมของชว งวยั ใกลเ คียงในชวงอายุ 3-4 ป มาใหทํา 7. บรรยากาศในการเลน ควรจดั ใหส นกุ สนานนา สนใจ เพอื่ เพมิ่ แรงเสรมิ ใหเ ดก็ สนใจตอ เนอื่ ง ชมเชย ทกุ ครั้งทเี่ ด็กทาํ ไดตามเปาหมายกิจกรรม 8. ใหเ ด็กชว ยเกบ็ ของและลา งมอื ทาํ ความสะอาดดว ยตนเองทุกครง้ั การจดั สถานที่ เนนท่ีความปลอดภัย ปองกันอุบตั ิเหตุ บรรยากาศสงบเพ่ือเสริมสรางสมาธิ ไมมีส่ิงรบกวน มี แสงสวา งเพียงพอ มีการระบายอากาศท่ดี ี เพ่ือสขุ ภาพทดี่ ี มกี ารแบงพืน้ ท่ีใชสอยอยา งชดั เจน เพื่อใหเด็กเกดิ การเรียนรู เชน ในพ้นื ที่รบั ประทานอาหาร กจ็ ะตองไมนําของเลนเอาไปเลน เปนตน อาจมวี ทิ ยหุ รอื โทรทศั นไ ด โดยมกี าํ หนดเวลาเปด ปด และรายการอยา งชดั เจน ควบคมุ โดยคร/ู พเ่ี ลยี้ ง ไมรบกวนขณะทํากจิ กรรม กิจกรรมอาจแบง เปน สว นภายในและนอกอาคาร - กจิ กรรมนอกอาคารสว นใหญจ ะเปน กจิ กรรมทอี่ าจเลอะเทอะไดงาย หรอื ตองใชพน้ื ทที่ าํ กจิ กรรม มาก เชน กจิ กรรมการเคล่อื นไหว กะระยะ กจิ กรรมทราย - กจิ กรรมภายในอาคาร ควรแบง เปน สดั สว นเฉพาะชดั เจน เชน มุมศิลปะ สี กระดาษ ดนิ นํา้ มัน มมุ นิทานไวอ า นหนังสือ มุมทกั ษะกจิ กรรมการใชม อื เชน ตอบล็อก มมุ เสรมิ ทักษะการดูแลตนเอง เชน ท่ี รับประทานอาหาร ทล่ี างมือ-แปรงฟน หองน้าํ ทเ่ี กบ็ รองเทา-กระเปา ทเี่ กบ็ ของเลน เพ่ือรวมของไวห ลงั เลน เสรจ็ เพื่อใหเ ด็กเกดิ การเรยี นรู เปนการสรา งวินยั ในตนเองมีหนาทงี่ า ยๆ ดูแลตนเองไดตามวยั ดงั นนั้ กจิ กรรมตา งๆ ในเลม นี้ จงึ จดั แบงเปน กจิ กรรมหลกั 6 กจิ กรรม เพอ่ื ใหค รสู ามารถบรู ณาการ จดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ไดแ ก 1. กจิ กรรมการเคลอื่ นไหวและจังหวะ 2. กจิ กรรมสรา งสรรค 3. กิจกรรมเสรี (เลนตามมุม) 4. กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ (กิจกรรมวงกลม) 5. กจิ กรรมกลางแจง 6. เกมการศกึ ษา แตละกิจกรรมหลกั จะประกอบดว ยกิจกรรมสาํ หรบั เด็กอายุ 1 ป 6 เดอื น - 5 ป โดยผใู ชสามารถ เลอื กใชกจิ กรรมยอ ยจากกจิ กรรมหลกั 6 หลกั กจิ กรรม ทส่ี นบั สนนุ คณุ ลกั ษณะความสามารถทางเชาวนปญ ญา (ไอควิ ) 4 คุณลกั ษณะและความฉลาดทางอารมณ (อีควิ ) 3 คุณลักษณะ จากตารางกิจกรรมเปนพน้ื ฐาน สาํ คญั สาํ หรับเดก็ วัยน้ี 13

           คุณลักษณะของไอควิ และอคี ิว กิจกรรม ความชา งสงั เกต - ทางเดินแผน สี - งมของในน้าํ การถา ยทอดจนิ ตนาการ - แมค รวั ตัวนอ ย - ถงุ เทาฝาแฝด - สะกดรอยเทา - คลาํ จบั คู การคิดเชอื่ มโยงเหตผุ ล - เรยี นรสู ูโ ลกกวาง - จับคูสมั พันธ การทํางานประสาน ระหวางมอื และตา - เสยี งใครเอย - ลกู แกว พาเพลนิ - ภาพปริศนา - นทิ านรอบวง การรูจกั และควบคมุ อารมณ - จานหนาคน - โทรทศั นม หศั จรรย - ดอกไมป ลายนิ้วมอื - ละครโรงเล็ก การเรียนรรู ะเบยี บวนิ ยั - ฝนลายใบไม - แบง ปน - นาํ้ ใจ - ฉกี ปะไดตามใจฉนั - นิทานหรรษา ความสนกุ สนานราเรงิ 14 - อะไรเอย - นักขา วนอ ย - คลึงดนิ น้ํามัน - โมบายคละสี - เอา ! ชทู - รูจ กั ฉนั ไหมเอย - จักรยานสานรกั - ชว ยสตั วตกนํา้ - ฉกี ปะ - รถเมลม าแลว - รอ ยสรอ ยกระดาษ - กรอกนาํ้ ใสข วด - ตน สม - ตกั ทรายใสภาชนะ - อาทติ ยยมิ้ - ลูกโปงหลายอารมณ - ของรกั ของหวง - หนผู ดิ ไหม - เราจะไมโกรธกัน - ชว ยกนั สรางบา น - ถุงดนตรีมหี นา ซอ นไว - ส่งิ ดีทค่ี วรทํา - รูจกั อารมณ - รวมกลมุ - เดก็ ดีมาเชา - วนั นี้หนูทําดแี ลวหรือยัง - หนนู อ ยคนเกง - พชี่ วยนอง - รถไฟปูน ปนู - บันทึกความดี - รกั การอานสานฝนสูวนั แหง ความสําเร็จ - สปาหาเพือ่ น - หนูนอยนักดไี ซน



                ผลท่ีไดรบั อีคิว ไอคิว การเรยี นรู ความสนกุ สนาน ระเบยี บวินัย ราเริง ความชาง การถายทอด การคดิ เชอ่ื มโยง การทํางาน การรูจ กั และ สงั เกต จนิ ตนาการ เหตุผล ประสานระหวา ง ควบคุม 33 มอื และตา อารมณ 33 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผล 16

                          1. เพ่ือพฒั นาทกั ษะดา นการเคลือ่ นไหวและความแขง็ แรงของกลา มเนื้อมดั ใหญแ ละมดั เล็ก 2. เพือ่ พฒั นาการประสานสัมพนั ธก ันระหวางตาและเทา 3. เพ่ือพัฒนาทักษะดา นภาษาและคาํ ศัพท 4. เพื่อพัฒนาการเรียนรรู ปู รา ง สี การกะระยะ จังหวะ 5. เพอื่ พฒั นาทักษะ ดานสงั คมและอารมณ การเลนรวมกนั เปน กลุม ชื่นชมตนเองและผูอื่น การดแู ลรกั ษาความสะอาด    1. ตดั สตกิ เกอรส ตี า งๆ เปนส่ีเหลีย่ ม ขนาด กระดาษ A4 2. เทปเพลง   1. นาํ สติกเกอรท ่ตี ดั ไว แปะลงบนพ้นื ราบในระยะหา งกัน ประมาณ 15 ซม. คละสตี างๆ 2. จากน้นั ใหเด็กเดินไปบนแผน สติกเกอร พรอมเปด เพลงใหจ ังหวะ 3. เม่ือเพลงหยุด ใหเดก็ หยุดเดิน แลวถามเด็กวายืนอยบู นสอี ะไร 4. เสรจ็ กจิ กรรมครทู บทวนความเขา ใจเรอื่ งสีตา งๆ กับเด็ก 5. เกบ็ อุปกรณ   ครสู ามารถตดั สตกิ เกอรเ ปน รปู ทรงตางๆ ได เชน วงกลม สามเหลยี่ ม สเ่ี หลย่ี ม ดาวหวั ใจ เพอื่ เรยี นรู เร่อื งรูปทรงตา งๆ เพิม่ ได อาจเตรียมเนือ้ เพลงสอนใหเ ด็กรอ งตาม ประกอบจงั หวะแทนเทปเพลง 17

            ผลท่ีไดรบั อีคิว ไอคิว การเรียนรู ความสนกุ สนาน ระเบยี บวนิ ัย รา เรงิ ความชาง การถายทอด การคดิ เชือ่ มโยง การทํางาน การรจู กั และ สงั เกต จินตนาการ เหตุผล ประสานระหวา ง ควบคุม 33 มือและตา อารมณ 33 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผ ล 18

                        1. เพอ่ื ใหเ ดก็ สนุกสนานเพลิดเพลนิ 2. เพ่ือพัฒนาความคิดสรา งสรรค 3. ฝกการปรับตวั เมอ่ื อยรู วมเลน กับผอู น่ื 4. เพอื่ ใหเ ดก็ เรยี นรูการปฏบิ ัติตนตามกฎกตกิ า   ภาพสัตวต าง ๆ เชน นก แมว ไก หมู เปด   1. แบง นกั เรยี นเปนกลุมๆ ละ ประมาณ 5 คน 2. ใหแ ตล ะกลุม เลอื กสตั ว 1 ชนดิ ใหส มาชกิ ในกลมุ ชว ยกนั คดิ ทา ทางและเสยี งรอ งของสตั วช นดิ นนั้ ๆ และซกั ซอมการแสดงทาทางและเสยี งรอ ง ใหพรอ มเพรียงกัน 3. ครแู นะนาํ การเลน เกมวา เมอื่ ครชู รู ปู ภาพสตั วท ต่ี รงกบั กลุม ใด สมาชกิ ในกลุม นนั้ ทกุ คน ตอ งยนื ขนึ้ ทาํ ทาทางประกอบ พรอมทัง้ สง เสียงรอ งของสตั วช นดิ นัน้ ใหพ รอมเพรียงกนั มากท่สี ุด หากกลุม ใดไมสามารถรองเสยี งสตั ว หรอื ทาํ ทาประกอบได ใหอ อกจากการเลน เกม 4. หากทกุ กลุมแสดงทา ทางและสง เสยี งสตั วได ใหดวู ากลุมใดท่ีพรอ มเพรียงกนั มากกวา เปนกลมุ ทช่ี นะ 5. ครขู านชอ่ื สตั วต า งๆ สบั เปลย่ี นไปมา จนกระทงั่ เหลอื กลมุ สดุ ทา ยทที่ าํ ไดถ กู ตอ ง และพรอ มเพรยี ง มากทสี่ ดุ 6. เมื่อทาํ กิจกรรมเสรจ็ แลว ครแู ละเด็กรว มกนั สนทนาถึงผลการเลนเกม วา เด็กไดเ รียนรอู ะไรบาง 19

            ผลที่ไดรับ อีคิว ไอคิว การเรียนรู ความสนกุ สนาน ระเบยี บวินัย ราเรงิ ความชาง การถายทอด การคดิ เชือ่ มโยง การทํางาน การรจู กั และ สังเกต จนิ ตนาการ เหตุผล ประสานระหวาง ควบคมุ 33 มือและตา อารมณ 33 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผ ล 20

                           1. ใหเ ด็กตระหนักในความสามารถของตนเองและเกิดความภาคภูมใิ จในตนเอง 2. ใหเดก็ จําแนกสง่ิ ของตางๆ และเรยี นรเู ก่ยี วกับชนดิ ของผกั และผลไม 3. ฝก ประสาทการรับรขู องเดก็ ในการฟง คาํ ส่ัง   1. ผักกาด ฟกทอง ฝรั่ง มะมวง ฯลฯ 2. มดี , จาน 3. ปา ยแขวนคอเปนรูปภาพผลไมต างๆ เทาจาํ นวนนกั เรียน    1. ครนู าํ ผกั ผลไมท หี่ นั่ ใสจ านรวมกนั แลว ใหเดก็ แยกชน้ิ สว นนนั้ ๆ หยบิ มาดวู า เปน อะไร ครหู น่ั ผลไม ใสถว ยใหเ ดก็ หยิบออกมาใสจ านแลว กินพรอ มกนั ทงั้ ช้นั 2. ครใู หเ ด็กเลน เกมเรียกช่ือผกั /ผลไม โดยแบง เด็กเปน สองแถว ใหเ ด็กปรบมือเปน จงั หวะ 2 ครงั้ แลวตามดวยการขานชื่อผักผลไม ใหเด็กขานชื่อผักผลไมท ีละคน สว นจังหวะที่ปรบมือใหเ ด็ก ทกุ คนชว ยปรบมอื พรอ มกนั เปน จงั หวะ ใหเ ดก็ ขานชอ่ื ผกั ผลไมเ รยี งจากหวั แถวไปทา ยแถวทลี ะคน โดยมกี ตกิ าวา จะตอ งขานชอื่ ผกั ผลไมข องคนกอ นหนาทพี่ ดู มาแลว ทงั้ หมดกอ น จงึ จะพดู ชอ่ื ผกั ผลไม ของตนเอง และชอ่ื ผกั ผลไมข องแตล ะคน ตอ งไมซ า้ํ กบั คนอนื่ ๆ ทเ่ี อยมาแลว ใหแ ขง ขนั กนั สองแถว 3. เลน เกมสลับทน่ี ั่งกนั คลายกับเกมลมเพลมพัด โดยใหเด็กน่ังเปนวงกลม ใหเ ดก็ จับฉลากปา ย แขวนคอเปนรูปผัก ผลไมคนละ 1 ปาย แขวนคอไว (ปายมชี นิดผกั ผลไมซํ้ากันได) จากนน้ั ครู ทบทวนชื่อผักผลไมจ ากปายของแตละคน วามผี กั ผลไมชนดิ ใดบา ง จากนัน้ ครูออกคําสง่ั ใหเด็ก สลบั ทนี่ งั่ ดว ยวธิ ีการตางๆ เชน คนท่มี ผี ลไมชนดิ เดยี วกันใหส ลบั ทีน่ ่ังกนั ใหสลับท่นี ัง่ ผลไมตาง ชนดิ กัน ใหผกั ที่มสี ีเขยี วสลบั ทน่ี ง่ั กัน ใหผลไมรสหวาน/รสเปรี้ยว สลบั ท่นี ั่ง เปน ตน 4. ครแู ละเดก็ รวมกนั สนทนาสรุปชื่อของผกั ผลไม และรสชาดทแ่ี ตกตา งกนั     ครสู ามารถใชแ ผน ปา ยเปน ชอ่ื สตั วแยกประเภทสตั วบ ก สตั วน า้ํ หรอื ยานพาหนะแยกประเภท ทางนา้ํ ทางบก ทางอากาศ 21

             22

               23

         ผลที่ไดรบั อีคิว ไอคิว การเรียนรู ความสนกุ สนาน ระเบียบวินัย ราเรงิ ความชาง การถายทอด การคดิ เช่อื มโยง การทํางาน การรจู กั และ สงั เกต จนิ ตนาการ เหตุผล ประสานระหวา ง ควบคมุ 33 มอื และตา อารมณ 33 หมายเหตุ 33 = ไดผ ลมาก 3 = ไดผ ล 24

                     1. เพื่อพฒั นาทักษะดานการเคลื่อนไหว การทรงตัวและความแข็งแรงของกลามเนื้อมัดใหญและ มดั เล็ก 2. เพอ่ื พัฒนาการประสานสมั พันธก ันระหวา งตาและเทา และการทรงตวั 3. เพอ่ื พฒั นาทกั ษะดา นภาษาและคาํ ศัพท 4. เพอื่ พัฒนาการเรยี นรูรูปราง การกะระยะ ทศิ ทาง 5. เพื่อพัฒนาทกั ษะดา นสงั คมและอารมณ การเลน รว มกนั เปน กลุม ช่ืนชมตนเองและผอู ืน่    1. ตดั สติกเกอรสตี างๆ เปน รูปรอยเทา คน ขนาดเทาเดก็ 2. นาํ สตกิ เกอรรูปรอยเทา มาแปะบนพ้ืนเปนเสน ทางเดนิ แบบตา งๆ เชน เดินเปนวงกลม เดิน เลยี้ วซาย เลย้ี วขวา เดนิ ขึ้นเนิน กา วขึ้นบันได (มรี าวจบั ) 3. เทปเพลงพรอ มวิทยุ   1. ครสู าธิตการเดนิ ตามรอยเทา 2. ขณะทเ่ี ดิน อาจมเี พลงประกอบทา ทาง เพือ่ ดึงดดู ความสนใจ เชน เพลงเปด เพลงชา ง หรือ ครู บอกทิศทางของการเดินในขณะนัน้ เชน เลย้ี วซาย เล้ยี วขวา ตรงไป ขึ้นเนนิ ทางโคง 3. พาเดินจนครบเสน ทาง 4. เสรจ็ กจิ กรรม   ครอู าจเปลยี่ นจากรอยเทาคนเปน รอยเทา สตั วเ มอื่ เด็กเดนิ ไปตามรอยเทา สตั ว ใหร องเพลงตามชนดิ สัตวนน้ั ๆ พรอ ม ทําทา ประกอบ 25

            ผลท่ีไดรับ อีคิว ไอคิว การเรียนรู ความสนกุ สนาน ระเบยี บวินยั รา เริง ความชา ง การถายทอด การคดิ เชอ่ื มโยง การทํางาน การรจู กั และ สังเกต จินตนาการ เหตุผล ประสานระหวา ง ควบคมุ 33 มือและตา อารมณ 3 33 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผล 26

                             1. เพอ่ื ใหเดก็ ไดป ระสบการณของความสาํ เร็จ 2. เพอื่ ใหเดก็ รูจกั ตัง้ เปาหมายของตนเอง 3. เพือ่ พฒั นาทกั ษะการทํางานรว มกนั และเรยี นรูค วามสําเร็จของกลุม 4. เพอ่ื ใหเดก็ มีความมานะพยายามทําอะไรใหสาํ เรจ็ 5. เพ่ือพฒั นาการคิดวเิ คราะหใ นการทาํ ส่งิ ตางๆ ใหส าํ เรจ็   1. ลูกเทนนิส 2. ตะกรา   1. ใหเด็กยนื เปนกลุม ๆ ละ 6 คน 2. วางตะกราไวหนาแถว หา งจากเดก็ แตละกลมุ ประมาณ 3 เมตร 3. ครคู ยุ กบั เด็กวา แตล ะกลมุ กาํ ลงั จะรว มกนั ทํากจิ กรรมแขงขนั โยนลกู เทนนสิ ลงตะกรา ซง่ึ จะตอ ง อาศยั ความรวมแรงรวมใจจากทกุ ๆ คนในกลุม 4. ครใู หล ูกเทนนสิ แตละกลมุ จาํ นวนหนงึ่ ใหเ ด็กๆ พยายามโยนลกู เทนนสิ ลงตะกราใหไดม ากทสี่ ุด ครจู ับเวลา 5-10 นาที แลว ทําบอรด แตม ไวว า แตล ะกลมุ โยนลกู เทนนิสลงกลี่ ูกภายในเวลาที่ กาํ หนด 5. เมอื่ หมดเวลา ครบู อกผลการแขง ขนั ใหท ราบวา แตล ะกลมุ สามารถโยนลกู เทนนสิ ลงตะกรา ไดก ลี่ กู 6. ครใู หเ ดก็ แตล ะกลมุ ปรกึ ษากนั โดยใหช ว ยกนั ตงั้ เปาหมายวา กลุม ของเราจะโยนลกู เทนนิสใหได มากขน้ึ อีกและจะพยายามทําใหไ ดจ าํ นวนเทา ไร 7. ใหเด็กแตล ะกลุมพยายามเลน ใหม ใหไ ดเปาหมายตามตอ งการ 8. ครูสรุปผลการเลนอีกครั้ง พรอ มท้งั ชมเชยกลมุ ทท่ี าํ สาํ เรจ็ ตามเปา หมาย ใหกาํ ลังใจกลมุ ทีท่ ําไม สําเรจ็ ตามเปา หมาย 9. ครคู ยุ กบั เด็กวา ความพยายามจะทําใหเ กิดความสาํ เรจ็ ไดใ นทสี่ ดุ 27

           ครสู ามารถเปล่ยี นจากลูกเทนนิส เปน ลกู บอลท่ีขนาดใหญข น้ึ หรอื เตะลูกบอลเขา กลองแทนได   1. เดก็ ๆ ไดมปี ระสบการณแ หงความสาํ เร็จ เปน การสรางแรงจูงใจในการทาํ งาน หรือการเรียนได อยา งหนงึ่ เพอ่ื ใหเ ดก็ เกดิ ความรูส กึ วา “ฉันทาํ ได” “ฉนั มีความสามารถ” การใหเ ดก็ ตงั้ เปา หมาย วา จะโยนลกู เทนนสิ ลงตะกรา ใหมากทสี่ ดุ นนั้ เปนการใหเ ดก็ หดั ประเมินความสามารถของตนเอง และกลุม การตง้ั เปา หมายทไ่ี มเกินความสามารถจนเกนิ ไป จะชว ยใหเ กิดความสําเรจ็ ไดง าย 2. ความสามารถในตวั เดก็ ไมใ ชเ รอื่ งสาํ คัญเทา กบั การมีแรงจงู ใจ ทจ่ี ะทดลองทาํ การเรยี นรทู กั ษะ ใหมๆ หลายเรอื่ งตอ งอาศัยความพยายามในการฝก ฝนทาํ ซา้ํ ๆ หลายคร้งั และตอ งมีวนิ ยั ในการ ฝก ดว ย ถงึ แมล มเหลว ลองใหเดก็ หาสาเหตแุ ลวนาํ มาปรบั ปรุงเพอ่ื คร้ังตอไป เดก็ อาจจะเรียนรู ทจี่ ะลดเปาหมายลงใหส อดคลอ งกบั ความเปนไปได หรือตัง้ สติและมีสมาธมิ ากขึ้น 3. การตั้งเปาหมายและรจู ักประเมินตนเองของเด็กน้ัน เด็กจะเช่ือมั่นในตนเองไดก็ตอเม่ือครู แสดงออกใหเด็กรบั รไู ดวา ครมู คี วามเชอ่ื มน่ั ในความสามารถของเขา กิจกรรมนสี้ ามารถนําไปใชเพื่อสรา งเสริมการทาํ งานรวมกันในเดก็ โตได โดยสรา งเปาหมายหรอื มอบหมายงานใหยากขนึ้ ครคู อยสงั เกตพฤตกิ รรมของเดก็ ในการทาํ งานเปน กลุม ใครทชี่ อบสงั่ และตาํ หนเิ พอื่ น เมอ่ื ทาํ งานผดิ พลาด ซงึ่ ควรจะไดรบั การปรบั พฤติกรรมตอ ไป 28

                   ผลท่ีไดรับ อีคิว ไอคิว การเรยี นรู ความสนกุ สนาน ระเบยี บวินัย รา เริง ความชา ง การถายทอด การคดิ เช่ือมโยง การทํางาน การรูจกั และ สังเกต จนิ ตนาการ เหตุผล ประสานระหวาง ควบคุม 33 มือและตา อารมณ 3 33 3 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผ ล 29

                1. เพ่ือใหเดก็ รูจกั เสรมิ สรางสัมพันธภาพในการอยรู ว มกัน 2. เพอื่ ใหเดก็ เกิดความสขุ และความอบอุน ใจ 3. พัฒนากลา มเนื้อมดั ใหญ และกลา มเนือ้ มัดเล็ก 4. เพอ่ื ใหเด็กเกดิ ความสนกุ สนาน       1. ใหเดก็ ทําทากายบรหิ ารอยา งงา ยๆ เพื่อเปน การอบอนุ รา งกาย 2. แบงเด็กเปน 2 แถว แถวละเทา ๆ กนั และใหนั่งหันหนา เขา หากนั 3. ใหเ ด็กยกมือทงั้ สองขางขนึ้ แลว ประสานมือทงั้ สองกบั เพอื่ นทนี่ ัง่ ฝง ตรงขาม แลวเคล่อื นมือคลาย การถีบจักรยาน ตามจังหวะท่คี รนู ับ 1- 10 ครงั้ และครูควรเพิม่ จังหวะเรว็ และชา สลับกนั เพอ่ื ใหเด็กเกิดความสนุกสนาน แลวเอามือลง 4. ใหเดก็ ๆ นอนลง เหยียดเทาไปขา งหนาและใชเทาทั้ง 2 ขา ง แตะสัมผัสกบั เทาของเพ่อื นที่นอน ตรงขา มแลว ยกเทา ขน้ึ ผลดั กันถีบแบบถีบจกั รยาน โดยเรม่ิ จากเทา ขวากอน ตามจังหวะที่ครนู ับ 1-10 ครง้ั และครคู วรเพม่ิ จงั หวะเรว็ และชา สลบั กนั เพอ่ื ใหเ ดก็ เกดิ ความสนกุ สนาน แลว เอาเทา ลง 5. ใหเ ดก็ สบั เปลยี่ นคู โดยใหคนสดุ ทา ยของแถวหนงึ่ เลอ่ื นขน้ึ มานอนคกู บั คนหวั แถวของอกี แถวหนงึ่ แลวทาํ กิจกรรมตามขอ 3 , 4 6. เมอื่ เดก็ ๆ ทาํ กิจกรรมเสรจ็ แลว ครแู ละเด็ก ๆ รว มกนั สนทนาถงึ ความรสู ึกจากการทาํ กิจกรรม    เปลีย่ นจากการทาํ เปน คู เปน การทาํ เปน กลมุ 3 คน 30

                   ผลที่ไดรบั อีคิว ไอคิว การเรียนรู ความสนกุ สนาน ระเบียบวินัย รา เริง ความชาง การถายทอด การคดิ เชอื่ มโยง การทํางาน การรจู กั และ สังเกต จนิ ตนาการ เหตุผล ประสานระหวาง ควบคุม 3 33 มอื และตา อารมณ 3 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผ ล 31

                     1. เพ่ือใหเด็กมสี มาธิเพ่ิมขึ้น 2. เพ่อื ใหเด็กแสดงความใสใจตอกันและกนั เกิดความรูสึกท่ีดตี อ กนั 3. เพอื่ สรา งบรรยากาศของการอยรู ว มกนั อยา งมคี วามสุข    - เทปเพลงบรรเลง   1. ใหเ ด็กๆ นัง่ ตอ กันเปนวงกลม โดยหันหนาไปทางเดยี วกัน 2. ครเู ปดเทปเพลงเบาๆ 3. ใหเ ดก็ แตล ะคนใชน วิ้ ไตไ ปบนหลงั ของเพอ่ื นคนทอี่ ยขู า งหนาไปใหท วั่ แผนหลงั โดยจะตอ งไตช า ๆ ในทิศทางตา งๆ ตามทีค่ รูบอก เชน ขึน้ ขา งบน ลงขา งลาง ไปทางขวา มาทางซาย เปนตน 4. ใหเด็กใชมือบีบนวดไปบนแผน หลัง ไหล และแขนของเพอ่ื นเบาๆ 5. เปด เทปเพลงใหเดก็ สลบั ตาํ แหนง ทนี่ งั่ ในวงกลม เปด เทปเพลงแลว ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ตาม ขอ 3, 4 6. เมอื่ ทาํ กจิ กรรมเสรจ็ แลว เดก็ ๆ และครรู วมกันสนทนาถึงความรูส กึ จากการทํากิจกรรม    ครสู ามารถใหเด็กเกาะหลังกนั แลวเอนตวั ไปทาง ดานหนา ดานหลัง ดานขา ง พรอ มกนั ได 32

                 ผลท่ีไดรับ อีคิว ไอคิว การเรียนรู ความสนกุ สนาน ระเบยี บวนิ ยั รา เรงิ ความชา ง การถายทอด การคิดเช่ือมโยง การทาํ งาน การรูจ กั และ สงั เกต จินตนาการ เหตุผล ประสานระหวาง ควบคุม 33 3 มือและตา อารมณ 3 3 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผ ล 33

                1. เพอ่ื สรา งความสนุกสนานและความสมั พนั ธ 2. เพอื่ ใหเด็กไดเ รยี นรูจ กั การเสียสละและการรว มมอื กันในการเลน 3. เพื่อใหเ ด็กไดรจู ักมารยาทในการเลนและการอยูร ว มกบั ผอู ืน่ ทีไ่ มม ุง แตเ อาชนะเทาน้ัน 4. เพื่อใหเดก็ ไดเ คลื่อนไหว เกิดความคลองแคลว วองไว   1. เพลงสําหรบั เตน รําท่สี นุกสนาน 2. นกหวดี   1. ครอู ธบิ ายใหเ ดก็ ๆ ฟง ถงึ วธิ กี ารเลน ดงั นี้ ใหเ ดก็ ยนื เปน วงกลม หนั หนา ไปทางเดยี วกนั ชว ยกัน รอ งเพลงและเตนรําไปตามจงั หวะเสยี งเพลง เมอ่ื ไดย นิ เสยี ง นกหวีดใหหยุดเตนราํ แลวฟง คาํ สง่ั จากครู 3. ครจู ะบอกจาํ นวนเลข 1 เลข สมมตุ วิ า บอกเลข 3 ใหเดก็ ๆ วงิ่ ไปจบั กลมุ รวมกนั ใหไ ดค รบ 3 คนแลว รบี นงั่ ลง 4. ครูจะบอกจาํ นวนเลขเปล่ียนไปเรื่อยๆ ไมแนน อน เชน 7, 4, 6 เด็กทเี่ ปน เศษ ไมส ามารถรวม กลุม ใดไดถูกคดั ออก ครเู ลนเชนนไ้ี ปเรอื่ ยๆ จนเหลือกลมุ สดุ ทา ย 5. ครชู วนเดก็ พดู คยุ วา เดก็ ไดเ รยี นรูอ ะไรจากการทาํ กจิ กรรม โดยใหขอสรปุ เรอ่ื งการยอมรบั กนั และ กนั เชน เมือ่ จับกลมุ ไมได กไ็ มเ สยี ใจ ไมโกรธเพ่ือน เปนการเลนเพื่อความสนกุ สนาน ฝกการ คดิ หาเหตผุ ล ฝกความวองไว สรางความสามัคคใี นหมูคณะ     ครสู ามารถเพมิ่ กตกิ าใหกบั เดก็ โดย 1 กลมุ ตองมจี าํ นวนเดก็ ผชู าย และเดก็ ผูห ญงิ ตามคาํ สง่ั ทค่ี รบู อก 34

                ผลท่ีไดรบั อีคิว ไอคิว การเรยี นรู ความสนกุ สนาน ระเบียบวินยั รา เริง ความชาง การถา ยทอด การคิดเชื่อมโยง การทํางาน การรูจกั และ สงั เกต จนิ ตนาการ เหตุผล ประสานระหวาง ควบคุม 3 มือและตา อารมณ 33 3 33 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผ ล 35

                      1. เดก็ ตระหนักถงึ ความสาํ คญั ของอารมณ 2. เด็กสามารถแยกแยะ ความแตกตางของอารมณ 3. เดก็ สามารถแสดงอารมณไ ดอยางถูกตอ ง 4. ฝก ความคดิ สรางสรรค    1. เพลง “พวกเรากาํ ลังสบาย” 2. ลกู โปง / สีเมจกิ / กระดาษ 3. หนงั ยาง   1. ครนู าํ เดก็ รอ งเพลง “หากพวกเรากําลังสบาย” แสดงทา ทางประกอบเพลง 2. ครูพดู คุยกบั เด็กๆวา คนเรามกี ารแสดงอารมณต า งๆไดมากมาย ทงั้ อารมณท ดี่ แี ละอารมณไมดี 3. ครูใหเ ดก็ ๆ ชวยกนั คดิ วาการท่เี ด็กๆ อารมณไมดี มาจากสาเหตอุ ะไรบาง และอารมณดมี าจาก สาเหตุอะไรบาง 4. ครสู รุปใหเ ดก็ ๆ เขาใจวาเดก็ ๆ สามารถมที งั้ อารมณทด่ี แี ละไมด ไี ด ถาเดก็ เขา ใจอารมณตวั เองวา เรากําลงั มอี ารมณอะไร กจ็ ะบอกผูใ หญใ หร บั รูไ ดวาเรากําลงั โกรธนะ กาํ ลงั เสยี ใจนะ ผูใ หญจ ะได เขา ใจเดก็ ๆ ไดวา เด็กๆ ตองการอะไร 5. ครูแจกลูกโปง ใหเ ด็กๆ ชว ยกันเปา ลกู โปง แลวใหเดก็ ๆ นาํ ปากกาเมจกิ มาวาด ตกแตง ลูกโปง เปน หนาตาทแี่ สดงอารมณต างๆ ตามจินตนาการของเดก็ ๆ 6. เมอื่ ครูใหส ญั ญาณ (เปา นกหวีด) นกั เรยี นหยุดสง ลกู โปง แลว ดูหนาลกู โปง และแสดงสหี นา ตาม ลูกโปง ที่นกั เรียนไดร ับ 7. ครูสรุปวา คนเรามีอารมณหลากหลาย เปนเรื่องธรรมดา แตเด็กๆ ตอ งแสดงอารมณอยาง เหมาะสม ใชว ิธกี ารพูดการบอก ใหคนอนื่ เขาใจ แทนท่ีจะรอ ง หรืออาละวาด กาวราวกับคนอ่นื ซึ่งทําใหค นอื่นเบ่อื หนาย หรอื มีอารมณไ มดตี อบกลบั มา 36

                   ครสู ามารถเพมิ่ วธิ กี ารควบคมุ อารมณใหกบั เด็กโดยการฝกใหเ ดก็ นบั เลขในใจ 1-10 เมอ่ื มีอารมณ โกรธ และเลา นิทานทีเ่ กย่ี วกับเรื่องอารมณตา งๆ เพลงพวกเรากาํ ลงั สบาย หากพวกเรากาํ ลงั สบาย จงตบมือ พลนั (ตบมือ 2 ท)ี หากพวกเรากาํ ลงั สบาย จงสงเสียง ดงั (ฮา ฮา ) หากพวกเรากําลงั สบาย จงหวั เราะ ดงั (ฮา ฮา ) หากพวกเรากาํ ลงั มีสุข หมดเรื่องทกุ ขใ ด ๆ ทกุ สงิ่ จะประวิง ใดๆ กนั เลา จงตบมอื พลัน (แสดงทาทาง ตบมอื สง เสยี ง) ggg 37

         ผลที่ไดรบั อีคิว ไอคิว การเรยี นรู ความสนกุ สนาน ระเบยี บวนิ ยั ราเริง ความชาง การถา ยทอด การคิดเช่ือมโยง การทํางาน การรจู กั และ สังเกต จินตนาการ เหตุผล ประสานระหวา ง ควบคุม 33 มือและตา อารมณ 3 33 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผล 38

                       1. เพ่ือใหเ ดก็ สามารถแยกแยะไดวาการลักขโมย หรือหยิบของของผอู ่ืนโดยไมไดรับอนญุ าตเปน พฤติกรรมทไ่ี มเหมาะสม 2. เพ่อื ใหเด็กเรยี นรูทีจ่ ะเอาใจเขามาใสใจเรา 3. เพื่อใหเดก็ ฝกหดั การคดิ วิเคราะหส่ิงตางๆ อยา งมีเหตผุ ล    1. เพลง “ของรกั ” 2. เพลง “อันน้ี อนั น้นั อันโนน” 3. เครอ่ื งทาํ จังหวะ    1. ครูใหเ ดก็ น่ังเปนวงกลม แลวใหน ึกถึงสง่ิ ของส่ิงหนง่ึ ที่ตนรักและหวงมากทสี่ ดุ แลวใหเ ดก็ บอก ส่ิงของทต่ี นรกั และหวงคนละ 1 อยา ง 2. ครตู ง้ั คาํ ถามวาเดก็ จะรสู กึ อยางไร เมอ่ื มคี นขโมยสงิ่ ของทตี่ นรักและหวงไป พรอ มทง้ั สรปุ วา เมอ่ื เรายังรักของของเรา คนอ่นื กเ็ ชนเดียวกนั ดังน้ันเราจึงไมควรลกั ขโมย หรอื หยิบของของคนอื่น โดยไมไดรบั อนญุ าต 3. เดก็ ๆ ฝก รอ งเพลง “ของรกั ” และ รอ งเพลง “อนั นี้ อนั นนั้ อันโนน” พรอมกบั ทาํ จงั หวะประกอบ 4. แบงเด็กออกเปน 2 กลมุ ใหก ลุมแรกรอ งกอ น แลว กลุม 2 รองตาม เพอ่ื ใหเกดิ ความสนุกสนาน ย่ิงขึ้น 39

           เพลงของรัก (ไมท ราบนามผูแตง) ยง้ั ใจใหด ี ของนขี้ องใคร ฉนั รกั เพยี งใด ขอคืนใหฉ ัน หากเปนของเธอ คงไมย อมเชน กนั ขอคืนโดยพลนั ความสัมพนั ธไมค ลาย ggg เพลง “อนั นี้ อนั นั้น อนั โนน ” (ไมทราบนามผูแ ตง) อันนี้ อันนั้น อนั โนน อนั โนน อนั น้นั อนั น้ี อันไหนไมใ ชข องเรา เราจะไมเ อามาครอบครอง อันนี้ อันนัน้ อนั โนน อันโนน อันนัน้ อันนี้ อนั ไหนเปน ของเรา เราจะเกบ็ เอาไวใหดี ggg 40

                 ผลท่ีไดรับ อีคิว ไอคิว การเรยี นรู ความสนกุ สนาน ระเบียบวินยั รา เรงิ ความชาง การถายทอด การคดิ เชอ่ื มโยง การทํางาน การรูจกั และ สังเกต จินตนาการ เหตุผล ประสานระหวา ง ควบคุม 33 มอื และตา อารมณ 33 33 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผ ล 41

                    1. เพื่อใหเด็กสามารถแยกไดวา ความโกรธเปนสงิ่ ไมดที ่ีทาํ ลายมติ รภาพได 2. เพอื่ ใหเ ดก็ สามารถแยกแยะไดว า สิง่ ใดควรทาํ และไมค วรทํา 3. เพอ่ื ใหเ ดก็ ไดพ ัฒนาสมองจากการทาํ กจิ กรรมเคลื่อนไหว 4. เพอ่ื พฒั นาความคิดสรา งสรรคใ นการแสดงทาทางตางๆ 5. เพอื่ พฒั นาทักษะการกลา แสดงออกและความเชอ่ื มน่ั ในตวั เอง   1. เพลง “ดกี ันนะ” 2. เครื่องเคาะจังหวะ เชน ทรัมโบลิน หรอื กรง่ิ สามเหล่ียม   1. ครใู หเด็กๆ ยนื กระจายหางกนั โดยการกางแขนหมุนไปรอบๆ ตวั ไมใ หช นกับคนอน่ื 2. ครบู อกขอตกลงวา เมอ่ื ไดย ินครเู คาะจงั หวะใหเคลอื่ นไหวไปตามจังหวะที่ครเู คาะ ดว ยทา ทางท่ี อสิ ระ โดยไมส ง เสยี งดงั และไมช นกนั ถา ครเู คาะรวั จงั หวะเรว็ และเมอื่ หยดุ เคาะใหเ ดก็ หยดุ นงิ่ ดวย ทา น้ันทนั ที 3. ใหเ ด็กปฏบิ ตั ติ าม ขอ 2 ประมาณ 2 - 3 ครัง้ แลว ใหเด็กน่ังเปนวงกลม 4. ครูใหเดก็ ๆ ฝก รองเพลง “ดีกนั นะ” 5. ครูใหเด็กลองคดิ ทาประกอบเพลงโดยอสิ ระ ครูอาจเสนอแนะเพมิ่ เตมิ 6. ครูและนักเรยี นรอ งและแสดงทา ประกอบเพลงพรอ มกนั 7. ครใู ชคําถามเพ่ือใหเดก็ ไดแ สดงขอคดิ ท่ไี ดจากเพลงน้ี โดยเนน ใหเ ดก็ ไดค ดิ และตอบคาํ ถามเปน รายบคุ คล ดงั น้ี - เลาใหค รูฟง ซวิ า เด็กๆ เคยโกรธใครไหม เพราะเหตใุ ด - เด็กๆ คิดวา โกรธกนั แลว ดหี รอื ไมดเี พราะเหตุใด - เราควรจะโกรธกนั หรอื ไม เพราะเหตุใด - ทาํ อยา งไรเราจะไมโ กรธกนั - โกรธกันแลว จะทําอยางไรใหเ ราดีกนั 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook