Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore botanical_illustrations

botanical_illustrations

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-04-19 02:17:41

Description: botanical_illustrations

Search

Read the Text Version

ดาดนภา Begonia soluta Craib Begoniaceae สกลุ Begonia เปนไมล มลกุ อวบนาํ้ มเี หงา ใตด ิน ดอกแยกเพศรวมตน เสน ใบ รูปฝา มือ กลบี รวม 2–4 กลีบในดอกเพศผู ในดอกเพศเมยี อาจมไี ดถ ึง 10 กลีบ กลบี คนู อกสว นมากมขี นาดใหญก วา คใู น เกสรเพศผจู าํ นวนมาก รงั ไขอ ยใู ตว งกลบี ผลแหงแตก สวนมากมี 3 ปก เมลด็ จํานวนมาก มสี มาชกิ กวา 1,400 ชนดิ พบท้งั ในแอฟริกา อเมริกากลาง อเมริกาใต และเอเชีย ในประเทศไทยมมี ากกวา 50 ชนิด หลายชนิดนําเขามาปลูกเปนไมประดับ มีใบสวยงาม มีสีสันและลวดลาย แปลกตา ปลูกและขยายพันธุง าย ดาดนภาเปนพชื ถ่ินเดยี วของไทย พบเฉพาะท่ี ดอยหวั หมด เขตรกั ษาพนั ธสุ ัตวปาอมุ ผาง จังหวดั ตาก ขึ้นกระจายเปน กลมุ ๆ บน เขาหินปูนทเ่ี ปดโลง ทสี่ ูงจากระดับนํา้ ทะเลประมาณ 1,000 เมตร ไมลมลุกขนาดเลก็ ไมม ลี ําตน ใบเกอื บกลม เสนผา นศูนยก ลาง 2–5 เซนติเมตร ดอกเพศผมู ีกลบี รวม 4 กลบี กลบี คูนอกรูปไขก ลับ ยาว 1–1.2 เซนติเมตร กลบี คใู นรปู แถบ ยาว 0.7–1.2 เซนติเมตร ดอกเพศเมยี คลา ยดอกเพศผู ผลหอ ยลง ยาวประมาณ 5 เซนตเิ มตร ปก ขางยาวประมาณ 0.6 เซนตเิ มตร เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 88



สาํ เภาทอง Radermachera boniana Dop Bignoniaceae สกลุ Radermachera หรอื สกลุ กาซะลองคาํ เปน ไมต น ขนาดเลก็ ถงึ ขนาดกลาง ใบประกอบแบบขนนก 1–3 ชน้ั เรยี งตรงขา มสลบั ฉาก ชอ ดอกแบบชอ กระจกุ แยก แขนง หรือแขนงลดรูปคลายชอกระจะ ออกท่ีปลายกิ่งหรือตามก่ิง กลีบเล้ียง ไมเ ทา กนั กลีบดอกรปู แจกันหรอื รูปแตร ปลายแยกเปน 5 แฉก เกสรเพศผู 4 อัน รงั ไขอ ยเู หนอื วงกลีบ มี 2 ชอ ง ผลแหงแตกกลางพู มีเมล็ดจาํ นวนมาก เมล็ดแบน มีปกใสๆ ดานขาง มีสมาชิกประมาณ 15 ชนิด สวนใหญกระจายพันธุอยูใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในประเทศไทยพบ 7 ชนิด สําเภาทองมีการ กระจายพันธุแคบๆ พบเฉพาะในเวียดนามภาคเหนือ และภาคเหนือของไทยที่ ดอยตงุ จงั หวดั เชยี งราย ขึน้ ในปา ดบิ เขาต่าํ ทีเ่ ปน เขาหนิ ปนู สงู จากระดบั น้าํ ทะเล ประมาณ 1,300 เมตร ไมตน สูง 10–15 เมตร ใบประกอบแบบขนนก 2 ช้ัน ยาว 20–25 เซนตเิ มตร ใบประกอบยอ ยมี 2-3 คู ใบยอยมี 1–2 คู ยาว 2–7 เซนตเิ มตร โคนใบเบยี้ ว แผน ใบดา นลา งมตี อ มประปราย ปลาย ใบอาจยาวไดถึง 3 เซนติเมตร ชอดอกแบบชอกระจุก แยกแขนง ส้ันๆ ออกตามลําตนหรือกงิ่ ยาว 5–12 เซนตเิ มตร กลีบเลย้ี งติดกัน เปนรปู ถว ย ปลายเปนแฉกตื้นๆ กลีบดอกสีเหลืองสด หลอดกลบี ยาวประมาณ 4 เซนติเมตร โคนแคบ ปลายบานออก ฝก ยาวคลาย ฝก ถ่ัว บดิ งอ ยาว 35–45 เซนติเมตร เทคนิคสีนํ้า ขนาด 21 x 29 เซนติเมตร โดย อรทัย เกิดแกว ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 90



หมนั ทะเล Cordia subcordata Lam. Boraginaceae สกลุ Cordia เปน ไมตนหรือไมพ มุ ใบเดี่ยวเรยี งเวยี น ชอดอกแบบชอ เชิงหลั่น ดอกสขี าว เหลือง หรือสม เกสรเพศเมียแยกสอง 2 คร้งั มสี มาชิกประมาณ 325 ชนิด สวนใหญพบในอเมริกาเขตรอน ในประเทศไทยมีประมาณ 10 ชนิด มี 2 ชนดิ ท่ีนําเขามาปลกู เปน ไมประดับ คือสวุ รรณพฤกษ Cordia dentata Poir. และ คอรเ ดีย Cordia sebestina L. หรอื Sea Trumpet หมนั ทะเล พบตามชายหาดที่ เปน ทรายหรอื โขดหนิ ตงั้ แตแ อฟรกิ าตะวนั ออก อนิ เดยี จนี (เกาะไหหลาํ ) กมั พชู า เวยี ดนาม ภาคใตข องไทย ภมู ภิ าคมาเลเซยี ไปจนถงึ ทางตอนเหนอื ของออสเตรเลยี แตจํานวนประชากรไมหนาแนนมากนัก ออกดอกและติดผลตลอดท้ังป เมล็ด รับประทานได เน้ือไมทนปลวกไดดี ในปาปวนิวกินีใชทําภาชนะใสอาหารซึ่งจะ ไมทําใหร สอาหารเปลี่ยน ไมต น ขนาดเลก็ เน้ือไมมีสีสม ใบยาว 8–20 เซนตเิ มตร ชอ ดอก ออกส้ันๆ ตามปลายกง่ิ มี 4–20 ดอก กลีบเล้ียงตดิ กนั เปน หลอด ยาว 1–2 เซนติเมตร ปลายแยกเปน แฉกสนั้ ๆ ไมเ ทากัน กลบี ดอก รปู แตร สสี ม ยาว 3–5 เซนติเมตร มี 5–8 กลีบ เกสรเพศผมู ีจาํ นวน เทากับกลีบดอก ผลหุมดวยกลีบเล้ียงที่เจริญจนมิด ยาว 2–3 เซนตเิ มตร มี 1–4 เมลด็ เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 92



สายนํ้าผง้ึ ใหญ Lonicera hildebrandtiana Collett & Hemsl. Caprifoliaceae สกุล Lonicera เปนไมพุมและไมเถา ใบเดี่ยวเรียงตรงขาม ชอดอกแบบชอ กระจุกแยกแขนง ดอกคลา ยรูปปากเปด กลีบดอก 5 กลีบ กลบี บน 4 กลบี ดอก สวนมากเปลย่ี นเปนสีเขมตามอายุ หลอดกลบี ดอกยาว มีตอ มนํา้ ตอ ย มีสมาชกิ ประมาณ 180 ชนิด พบในอเมรกิ าเหนือ ยุโรป แอฟรกิ าและเอเชีย ในประเทศจนี มกี วา 100 ชนิด ชื่อสามัญของสกลุ คอื Honeysuckle จากลักษณะของดอกท่ีมี กลิ่นหอมและนําหวานจาํ นวนมาก เชน สายนํ้าผึ้ง Lonicera japonica Thunb. ท่ี นิยมปลูกเปนไมประดับทั่วไปในเขตรอน สวนสายน้ําผ้ึงใหญมีเขตการกระจาย พนั ธใุ นพมา จนี ตอนใต และภาคเหนอื ของไทย ขนึ้ ตามพน้ื ทโี่ ลง ในปา ดบิ เขา ระดบั ความสูง 1,300–1,900 เมตร ไมพุม รอเลอื้ ย ใบยาว 7–12 เซนตเิ มตร แผนใบมีจุดเล็กๆ สี ขาวกระจายทง้ั สองดา น โดยเฉพาะบรเิ วณเสน กลางใบ ชอ ดอกแบบ กระจุกดานเดียว มี 2 ดอกยอ ย กลีบดอกเปนหลอดยาวปลายผาย ออกเปนรูปปากเปด ยาว 10–15 เซนตเิ มตร มกี ลน่ิ หอม เกสรเพศ ผู 5 อนั ผลแบบผลสดทเ่ี นอื้ หมุ ผลเจรญิ จากฐานดอก ยาวประมาณ 2.5 เซนตเิ มตร เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 94



กระทงลาย Celastrus paniculatus Willd. Celastraceae สกลุ Celastrus เปน ไมเ ถาหรอื ไมพ มุ รอเลอ้ื ย แยกเพศตา งตน กงิ่ มชี อ งอากาศ ใบเรียงเวียน ชอดอกแบบชอกระจุกหรือแยกแขนง ดอกสวนมากมีสีเขียว กลีบเลย้ี งและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 5 กลบี เกสรเพศผูติดบนจานฐานดอก รังไขไมเ ชื่อมตดิ จานฐานดอก ผลแหงแตกเปน 3 สวน เมลด็ มีเย่อื หุม มีสมาชิก ประมาณ 30 ชนิด มีเขตการกระจายพันธใุ นอเมริกา มาดากัสการ เอเชีย และ ออสเตรเลีย ในประเทศไทยมี 5 ชนิด กระทงลาย หรือทางภาคเหนือเรียกวา มะแตก พบต้ังแตอ ินเดยี พมา จีนตอนใต ภมู ิภาคอนิ โดจีนและมาเลเซยี จนถงึ ออสเตรเลยี ในไทยพบท่วั ไปทุกภาค ข้ึนตามชายปาทั่วไป บนพืน้ ท่ีราบลุมจนถงึ ท่ีสูงจากระดับนาํ้ ทะเลประมาณ 1,300 เมตร ไมเถาเน้ือแขง็ กิง่ มีชอ งอากาศ ตามีเกล็ดหุม เรียงซอนเหลอื่ ม ใบยาว 6–15 เซนตเิ มตร ขอบใบจกั ฟนเลอ่ื ยหรือจกั มนหา งๆ แผน ใบเกล้ียง ชอดอกแบบแยกแขนงออกตามปลายก่ิง ยาว 5–20 เซนติเมตร ดอกขนาดเลก็ จํานวนมาก สเี ขยี วออ น เกสรเพศผเู ปน หมนั ผลทรงกลม ยาว 0.5–1 เซนตเิ มตร มี 3–6 เมลด็ มเี ยอ่ื หมุ เมล็ดสเี หลอื งอมสม เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ปาจรีย อินทะชุบ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 96



กาํ แพงเจด็ ช้นั Salacia chinensis L. Celastraceae สกลุ Salacia เปน ไมเ ถาหรอื ไมพ มุ รอเลอ้ื ย ใบเดย่ี วเรยี งตรงขา ม ขอบใบเรยี บ หรอื จกั มน ชอ ดอกแบบชอ กระจกุ หรอื แยกแขนงสน้ั ๆ ออกตามซอกใบ กลบี เลยี้ ง 5 กลีบ กลบี ดอกสวนมาก 5 กลีบ เรยี งซอนเหลื่อม จานฐานดอกชดั เจน เกสร เพศผูสวนมากมี 3 อัน รังไขจมอยูในจานฐานดอก ผลผนังช้ันในแข็ง มีสมาชิก ประมาณ 200 ชนิด พบทว่ั ไปในเขตรอน ในประเทศไทยมี 11 ชนิด กาํ แพงเจด็ ชั้น มีชื่อเรียกอน่ื ๆ วา เครือนํ้านอง เครอื ตากวาง ตากวางหรือตาไก และหลมุ นก ช่ือ สามญั คอื Chinese salacia หรอื Saptarangi นยิ มนาํ ไปผสมกบั สมนุ ไพรชนดิ อน่ื ๆ ผลติ เปนยาดองเหลา มสี รรพคุณฟอกโลหิต แกปวดตามขอ แกป ระดง พบตั้งแต อินเดยี จนี พมา ภมู ภิ าคอนิ โดจนี ภมู ิภาคมาเลเซยี จนถงึ ออสเตรเลยี ในไทยพบ ทวั่ ไปทุกภาค ขึ้นในปา หลายประเภท และปา โปรง ทแี่ หงแลง บนพื้นที่ระดบั ตา่ํ จนถึงทสี่ งู จากระดับน้ําทะเลประมาณ 1,600 เมตร ไมเถาเน้ือแขง็ หรือไมพ ุมรอเล้อื ย ทอดยาวถึง 8 เมตร ใบยาว 4–17 เซนตเิ มตร ชอ ดอกมี 3–6 ดอก กา นดอกยาว 0.6–1 เซนตเิ มตร ดอกสีเขียวอมเหลืองหรอื สเี ขียว ขอบกลบี เล้ยี งเปน ชายครยุ กลบี ดอกยาว 0.3–0.4 เซนตเิ มตร ปลายกลีบกลม พบั งอกลับ จานฐาน ดอกรปู ถว ยคลา ยเปน ถงุ มปี มุ เลก็ ๆ ตามขอบ เกสรเพศผตู ดิ บนขอบ จานฐานดอก ผลคอนขางกลม เสนผา นศูนยกลาง 1–2 เซนติเมตร สกุ สีแดงหรือแดงอมสม มีเมล็ดเดียว เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ปาจรีย อินทะชุบ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 98



เถากระดงึ ชา ง Argyreia lanceolata Choisy Convolvulaceae สกลุ Argyreia เปนไมเ ถา มนี ํ้ายางสขี าว ใบเดยี่ ว เรยี งเวียน ชอ ดอกสวนมาก ออกตามซอกใบ กลบี เลย้ี งขยายในผล ตดิ ทน มกั มขี นดา นนอก กลบี ดอกรปู ระฆงั หรอื รปู ลําโพง ปลายแยกเปน 5 กลีบตน้ื ๆ หรือแฉกลึก กลางกลบี มักมแี ถบขน อบั เรณูเปน หนามละเอียด ผลสดมีหลายเมล็ด มสี มาชกิ ประมาณ 90 ชนิด สว น มากพบในเอเชียเขตรอน มีเพียงชนิดเดียวในออสเตรเลีย ในประเทศไทยมี ประมาณ 35 ชนดิ หลายชนดิ มดี อกสวยงามและมศี กั ยภาพเปน ไมป ระดบั ได ชนดิ ทน่ี ิยมปลกู เปน ไมประดบั คอื ใบระบาด Argyreia nervosa (Burm. f.) Choisy ที่ มใี บประดบั ขนาดใหญ มถี นิ่ กาํ เนดิ ในอนิ เดยี สว นเถากระดงึ ชา งมเี ขตการกระจาย พนั ธใุ นอนิ เดยี พมา และภมู ภิ าคอนิ โดจนี ในไทยพบเกอื บทกุ ภาคยกเวน ภาคตะวนั ตกเฉยี งใตแ ละภาคใต ขน้ึ ตามทโ่ี ลง ในปา เตง็ รงั ปา เตง็ รงั ผสมสนหรอื กอ บนพนื้ ท่ี สงู จากระดบั นาํ้ ทะเลระหวา ง 100–800 เมตร มรี ากแขง็ แรง ทาํ ใหท นไฟและความ แหงแลง เปน พรรณไมในวงศผักบุงท่สี วยงามมากชนดิ หน่ึง ไมเถาลมลุก ทอดยาวถึง 5 เมตร สวนตางๆ มีขนยาวสีเงิน ปกคลุม ใบยาว 6–17 เซนติเมตร ชอ ดอกออกสนั้ ๆ สว นมากมี 1–3 ดอก ใบประดับยาวประมาณ 1.2 เซนติเมตร รวงงาย กลีบเลี้ยง ขนาดไมเทากนั กลบี นอก 3 กลบี ยาว 1.2–2 เซนตเิ มตร มีขนหยาบ ดา นนอก กลบี ใน 2 กลบี กวางกวา เล็กนอ ย กลีบดอกรูปปากแตร ยาว 5–6.3 เซนติเมตร สีมวงแดง โคนกานชูอบั เรณูมขี นยาว ผล เกือบกลม เสน ผา นศนู ยกลาง 0.7–0.8 เซนติเมตร เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 100



เครือพุงหมู Argyreia leucantha Traiperm & Staples Convolvulaceae เครือพุงหมู เปนพืชถน่ิ เดยี วของไทย พบเฉพาะทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ทจ่ี งั หวดั มกุ ดาหารและอบุ ลราชธานี ขน้ึ ตามปา เตง็ รงั ทเ่ี ปน หนิ ทราย สงู จากระดบั นา้ํ ทะเล 100–300 เมตร ลกั ษณะท่ัวไปคลายกบั เครือพูทองโดยเฉพาะตน และใบ ท่ีมีขนสีนํ้าตาลหนาแนน แตดอกมีลักษณะแตกตางกันอยางชัดเจน โดยที่ดอก เครือพุงหมูรปู ระฆงั (campanulate) สวนดอกเครือพูทองรปู แจกนั (salverform) ไมเ ถาลม ลกุ กง่ิ มขี นยาวสนี า้ํ ตาล ใบเดย่ี ว ยาว 6–12 เซนตเิ มตร แผน ใบมขี นกระจายทงั้ สองดา น ชอ ดอกออกสน้ั ๆ ดคู ลา ยชอ กระจกุ มี 2–9 ดอก ใบประดบั ยาว 1.5–2 เซนติเมตร ติดทน มีขนยาวสี นาํ้ ตาล กลบี เลย้ี งขนาดไมเ ทา กนั 2 กลบี นอกยาวกวา 3 กลบี ในเลก็ นอย กลางกลบี ดา นนอกมีแถบขนสีนาํ้ ตาล กลบี ดอกรปู ระฆัง ยาว 5–6 เซนติเมตร มีร้ิวสีเขยี ว โคนกานชูอับเรณมู ขี นยาว อับเรณูเปน หนาม ผลเกอื บกลม เสน ผา นศนู ยกลาง 0.7–0.8 เซนตเิ มตร เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 102



จันทรกลา Merremia mammosa (Lour.) Hallier. f. Convolvulaceae สกลุ Merremia เปนไมเ ถา ชอดอกแบบชอกระจะ ใบประดบั ขนาดเล็ก ขยาย ติดทนในผล ดอกสว นมากมสี ีขาวหรอื เหลือง เกสรเพศผมู ักบิดเวียน ผลแหง แตก อาออก ลักษณะดอกคลายกับสกลุ Ipomoea แตละอองเรณไู มม หี นาม และคลาย กับสกุล Operculina แตผลของสกุล Operculina มีฝาปดตามขวาง มีสมาชิก ประมาณ 100 ชนดิ มเี ขตการกระจายพนั ธใุ นเขตรอ นและเขตอบอนุ ในประเทศไทย มี 16 ชนดิ จันทรกลาพบตง้ั แตอ นิ เดยี พมา เวียดนาม และชวา ในไทยพบเกือบ ทกุ ภาคยกเวน ภาคใตแ ละภาคตะวนั ออกเฉยี งใต ขนึ้ ตามปา เบญจพรรณหรอื ชาย ปาดบิ แลง บนเขาหินปนู ทส่ี ูงจากระดบั นาํ้ ทะเลไมเ กนิ 400 เมตร ไมเ ถาลม ลกุ กงิ่ มขี นยาวสนี าํ้ ตาล ใบเดย่ี ว เรยี งเวยี น ยาว 6–12 เซนติเมตร แผนใบมีขนกระจายทั้งสองดาน ชอดอกออกส้ันๆ ดู คลายชอ กระจกุ มี 2–9 ดอก ใบประดับยาว 1.5–2 เซนติเมตร ติด ทน มีขนยาวสีนํ้าตาล กลีบเลี้ยงขนาดไมเทากัน 2 กลีบนอกยาว กวา 3 กลีบในเล็กนอ ย กลางกลีบดานนอกมีแถบขนสีน้ําตาล กลีบ ดอกรูประฆัง ยาว 5–6 เซนตเิ มตร มรี ้ิวสเี ขยี ว โคนกา นชอู บั เรณมู ี ขนยาว อบั เรณเู ปน หนาม ผลเกอื บกลม เสน ผา นศนู ยก ลาง 0.7–0.8 เซนติเมตร เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 104



แตงขน Cucumis hystrix Chakrav. Cucurbitaceae สกลุ Cucumis หรอื สกลุ แตงกวา หรอื แตงไทย เปน ไมเ ถาลม ลกุ มอื จบั ไมแ ยก แขนง ใบเด่ียว เรียงเวียน รูปฝา มือหรอื เวาเปนพู ดอกออกเดีย่ วๆ หรือออกเปน กระจุก เกสรเพศผู 3 อนั รงั ไขอ ยูใ ตวงกลีบ ผลสดสว นมากมขี นาดใหญ มีหรอื ไมม หี นาม มีสมาชิกประมาณ 30 ชนดิ สวนใหญพบในแอฟริกา ในประเทศไทย พบตามธรรมชาติเพียงชนิดเดียว แตงขนมีเขตการกระจายพันธุในอินเดีย พมา จีนตอนใต ภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉยี งใตของไทย ตามชายปา บางคร้ังพบ ตามเขาหนิ ปนู บนพ้ืนทีร่ ะดับตาํ่ จนถงึ ระดับความสูงประมาณ 1,800 เมตร ไมเถาลมลุก ดอกแยกเพศรวมตน ไมมีใบประดับเทียม (probract) มอื จบั ไมแ ยกแขนง แผน ใบเวา 3–5 พู เสน ผา นศนู ยก ลาง 5–15 เซนติเมตร กา นใบยาวประมาณ 8 เซนตเิ มตร ดอกออกตาม ซอกใบท่ีขอ ดอกเพศเมียออกเดี่ยวๆ ดอกเพศผูออกเปน กระจกุ 2–7 ดอก กลบี ดอกสเี หลอื ง ยาว 0.4–0.6 เซนตเิ มตร ผล หอยลง ยาว 3–5 เซนติเมตร ผวิ มีขนแขง็ คลา ยหนาม เมล็ดไมม ีปก เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 106



บวบขน Sinobaijiania smitinandii W. J. de Wilde & Duyes Cucurbitaceae สกลุ Sinobaijiania เปน ไมเ ถาลมลกุ ดอกแยกเพศตา งตน มหี วั ใตด นิ มอื จบั แยกเปน 2 แฉก ใบเรียบหรือเวาเปนพูตื้นๆ ดอกสีเหลือง ชอดอกเพศผูแบบ ชอ กระจะ เกสรเพศผู 5 อนั ดอกเพศเมียออกเด่ียวๆ หรอื เปนชอ สนั้ ๆ มีไมเ กนิ 3 ดอก มีเกสรเพศผูทีเ่ ปนหมนั 5 อนั รังไขอยูใ ตวงกลบี ผลสด เมล็ดจาํ นวนมาก มีสมาชิกเพยี ง 4 ชนิด มเี ขตการกระจายพนั ธใุ นจีนตอนใต ไตห วัน และภูมภิ าค อนิ โดจนี ในประเทศไทยมชี นดิ เดยี ว บวบขนเปน พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบทางภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉียงใต ตามชายปาดิบแลง ทสี่ งู จากระดบั น้าํ ทะเล 100–400 เมตร ไมเ ถา ยาวไดถ งึ 10 เมตร หวั ใตด นิ มเี สน ผา นศนู ยก ลางประมาณ 10 เซนติเมตร ใบรปู ไข ยาว 7–20 เซนตเิ มตร แผนใบมีขนส้ันนุมทัง้ สองดาน ชอ ดอกเพศผูย าว 1–5 เซนติเมตร มี 5–15 ดอก ฐานดอก มี 10 ริ้ว กลีบดอกยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ดานในมีตอมขน หนาแนน ดอกเพศเมยี ออกเดย่ี วๆ ตามขอ คลา ยดอกเพศผู ผลทรง กลมรี ยาว 6–8.5 เซนตเิ มตร เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 108



สา น Dillenia ovata Wall. ex Hook. f. & Thomson Dilleniaceae สกลุ Dillenia หรอื สกลุ สา น เปน ไมต น หรอื ไมพ ุม มีทงั้ ผลดั ใบและไมผ ลัดใบ ดอกขนาดใหญ ออกเดย่ี วๆ หรอื เปน ชอ กลบี เลยี้ งสว นใหญม ี 5 กลบี หรอื มากกวา มักขยายหุม ผล กลีบดอก 4–7 กลบี เกสรเพศผูจ ํานวนมาก อบั เรณวู งในยาวกวา วงนอก ปลายมรี ยางค เกสรเพศเมยี มี 4–20 อนั ผลมกี ลบี เลยี้ งทข่ี ยายหมุ มสี มาชกิ ประมาณ 65 ชนดิ สว นใหญพ บในเอเชยี เขตรอน ในประเทศไทยมปี ระมาณ 10 ชนดิ สา น บางครง้ั เรยี กวา สา นใบเลก็ สว นทางภาคอสี านเรยี กสามกลบี หรอื ตานก กด พบทว่ั ไปในภูมิภาคอินโดจนี คาบสมทุ รมาเลเซีย และสมุ าตรา ขึ้นตามท่ีโลง ในปาเบญจพรรณ ปา เตง็ รงั ปาดิบแลง และปาดิบช้ืน ไมตน ไมผ ลดั ใบ สงู 8–15 เมตร ใบเดย่ี ว เรียงเวียน ยาว 10–20 เซนตเิ มตร เสน ใบเรยี งขนานกนั ขอบใบจกั เปน ตง่ิ หนาม ดอกขนาด ใหญ กลีบเลย้ี งและกลีบดอกมีจาํ นวนอยางละ 5 กลีบ ดอกบานมี เสน ผา นศูนยกลาง 15–20 เซนตเิ มตร เกสรเพศเมยี มี 8–12 อนั ผล แบบผลสด เสนผานศูนยก ลาง 5–6 เซนติเมตร รวมกลีบเลีย้ งหนา ทีข่ ยายข้ึนหมุ ตวั ผลจนมิด เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 110



ยางกราด Dipterocarpus intricatus Dyer Dipterocarpaceae สกลุ Dipterocarpus สวนใหญเ ปน ไมต นขนาดใหญ ใบคอนขางหนา พับจีบ เสน แขนงใบขนานกนั หใู บขนาดใหญ กลบี เลย้ี งเชอ่ื มตดิ กนั รปู ถว ย กลบี ดอกขนาด ใหญ บดิ เวยี น อับเรณมู ีรยางคยาว กลีบเล้ียงขยายเปน ปกยาว 2 ปกในผล สวน ใหญกระจายพันธใุ นเอเชียเขตรอน โดยเฉพาะภมู ิภาคมาเลเซยี เปนไมเ ศรษฐกิจ ท่ีสําคัญ ทงั้ เน้อื ไม ชนั และนํา้ มนั ยาง มีสมาชกิ ประมาณ 70 ชนิด ในประเทศไทย มี 17 ชนิด ยางกราดบางครัง้ เรียกเหยี งกราด หรอื กราด สวนภาคอสี านตอนลาง เรยี กสะแบงหรอื ตะแบง ในไทยพบทวั่ ไปในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ขน้ึ หนาแนน เปน กลุม ในปา เตง็ รัง นิยมเก็บไวต ามหัวไรปลายนาใหรมเงา เนอื้ ไมแขง็ ใชในการ กอสราง ทําเครื่องเรอื น ถา น ชันใชทําขไ้ี ตหรอื ขีก้ ะบอง (ใชต ิดไฟ) ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูง 18–25 เมตร เปลือกหนา แตกเปนรอ งลกึ ใบเด่ยี ว เรียงเวียน มขี นกระจุกหนาแนน ชอ ดอกมี ตาหมุ ดอกออกเปนชอแยกแขนงสน้ั ๆ กลบี ดอก 5 กลบี บดิ เวียน คลายกังหัน หลอดกลีบเล้ียงมีครีบยาวพับไปมา ในผลกลีบเล้ียง ขยายเปน ปก ยาวสแี ดง 2 ปก ยาว 6–7 เซนติเมตร เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 112



ยางพลวง Dipterocarpus tuberculatus Roxb. Dipterocarpaceae ยางพลวงมีเขตการกระจายพันธุกวางในภูมิภาคอินโดจีน และยังพบในพมา และบังกลาเทศ ในประเทศไทยพบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต ข้ึนเปนกลุมหนา แนนในปาเต็งรังระดับต่ําและปาเต็งรังผสมสนเขา บนพ้ืนท่ีสูงจากระดับน้ําทะเล 700–1,300 เมตร ทางภาคเหนือเรยี กวา ตึง ตึงขาว ตองตึง หรอื กุง เนื้อไมแขง็ ใช ในการกอ สรา ง ใบมขี นาดใหญใ ชมุงหลังคาและหอ อาหาร ไมตนขนาดใหญ สูงไดถึง 40 เมตร หูใบยาวประมาณ 13 เซนติเมตร ใบเด่ียว เรียงเวียน รูปรีกวางหรือรูปไข ยาว 12–70 เซนตเิ มตร ชอดอกแยกแขนงสนั้ ๆ ยาว 5–15 เซนตเิ มตร มี 5–7 ดอก ติดดานเดียว กลีบดอกยาว 2.5–3 เซนติเมตร เกสรเพศผมู ี ประมาณ 30 อัน ผลทรงกลม เกลี้ยง เสนผานศูนยกลาง 2–2.5 เซนตเิ มตร สวนบนมีปกยาว 2 ปก ยาว 9–15 เซนติเมตร ปกสั้น 3 ปก รปู หหู นู ยาว 1.5–2 เซนติเมตร เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 114



ชันหอย Shorea macroptera Dyer Dipterocarpaceae สกุล Shorea เปนไมต น สว นใหญไ มผ ลดั ใบ ใบไมพ ับจีบ ชอดอกแบบแยก แขนง กลีบเล้ียงเรียงซอนเหล่ือม รังไขดานบนมีโคนกานเกสรเพศเมียติดคาง (stylopodium) ไมช ัดเจน กลบี เลย้ี งขยายเปนปกยาว 3 ปก ปกสนั้ 2 ปก ในผล โคนกลบี มักหนา ผลไมเ ช่อื มตดิ หลอดกลีบเลยี้ ง เปน สกลุ ขนาดใหญและมีความ สําคญั ทางเศรษฐกิจมากที่สดุ ในวงศย าง มสี มาชกิ เกอื บ 200 ชนิด สวนใหญมีเขต การกระจายพนั ธุในภมู ภิ าคมาเลเซีย ในประเทศไทยมปี ระมาณ 25 ชนดิ ชันหอย พบหนาแนนในคาบสมุทรมาเลเซยี และสุมาตรา ในไทยพบเปนกลมุ เล็กๆ ทาง ภาคใตตอนลา งที่อาํ เภอเบตง จังหวัดยะลา ข้นึ ตามสนั เขาในปาดบิ ช้ืน ทค่ี วามสูง จากระดบั นํา้ ทะเลประมาณ 600 เมตร ไมตนขนาดใหญ โคนตนมีพูพอนเตี้ยๆ ตกชันสีขาว ใบเด่ียว เรยี งเวยี น ยาว 8–15 เซนตเิ มตร เสน แขนงใบยอ ยแบบขนั้ บนั ได ชอ ดอกยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ดอกสีครีมหรือชมพู เกสร เพศผู 15 อัน เรียง 3 วง อบั เรณมู รี ยางคเ ปน ติ่ง รงั ไขมีขนหนาแนน ผลทรงกลม เสน ผานศนู ยก ลาง 0.7–1.2 เซนตเิ มตร ดา นบนมีปก ยาว 3 ปก ยาว 6–12 เซนตเิ มตร ปก สน้ั 2 ปก ยาว 2–6 เซนตเิ มตร โคนแผเ ปนแผนปก หมุ ตวั ผล เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 116



มะพลบั ทะเล Diospyros areolata King & Gamble Ebenaceae สกุล Diospyros หรือสกุลมะพลับ เปนไมตน ดอกแยกเพศตางตน เปลือก ลาํ ตนมักมีสีดํา เน้ือไมแขง็ ใบเดี่ยวเรยี งสลับในระนาบเดียว ดอกเพศผูออกเปน กระจุกสั้นๆ ดอกเพศเมียออกเดี่ยวๆ มีหลายชนิดท่ีออกดอกตามก่ิงและลําตน กลบี เลี้ยงติดทนมกั ขยายใหญข้ึนในผล รงั ไขอ ยูเหนอื วงกลบี ผลแบบมีเนอ้ื หลาย เมล็ด เอนโดสเปรมมที ้งั แบบเรียบหรอื เปน ช้นั ๆ มสี มาชิกมากกวา 500 ชนดิ ใน ประเทศไทยพบประมาณ 65 ชนิด มะพลับทะเลมีเขตการกระจายพันธุในพมา คาบสมทุ รมาเลเซยี บอรเ นียว ชวา สุมาตรา และภาคใตข องไทย ขึน้ ตามชายปา ดานหลังปาโกงกางและรองนําที่มีน้ํากรอย โดยเฉพาะเขตรอยตอระหวางปาบก กบั ปา โกงกาง เนื้อไมสีดาํ ใชทาํ เครอ่ื งมอื เกษตรและเคร่อื งเรอื น ไมตน ขนาดเล็กถงึ ขนาดกลาง ใบหนา รูปขอบขนาน ยาว 7–20 เซนตเิ มตร กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกมจี าํ นวนอยา งละ 4–5 กลบี กลบี เลย้ี งมขี นคลา ยขนแกะ กลบี ดอกรปู คนโท ในดอกเพศผยู าวประมาณ 0.7 เซนติเมตร ในดอกเพศเมียยาวกวาเล็กนอย เกสรเพศผูมี ประมาณ 20 อนั รังไขมี 8 ชอ ง ผลทรงกลม เสนผา นศนู ยก ลาง 3–5 เซนตเิ มตร ผวิ มคี ราบสนี าํ้ ตาลปกคลมุ กลบี เลยี้ งขยายตดิ ทน แตล ะ กลบี แยกจรดโคน เมลด็ มีเอนโดสเปร ม เรียบ เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 118



ไครยอย Elaeocarpus grandiflorus Sm. Elaeocarpaceae สกลุ Elaeocarpus สว นมากเปน ไมต น ใบเดยี่ ว เรยี งเวยี น มกั เปลยี่ นเปน สแี ดง กอ นหลดุ รว ง ชอ ดอกแบบชอ กระจะ กลบี เลยี้ งและกลบี ดอกมจี าํ นวนอยา งละ 4–5 กลีบ ขอบกลีบดอกจักเปนชายครุย ผลมีผนังชั้นในแข็ง สวนมากเปนรูพรุน มี สมาชิกประมาณ 350 ชนดิ สว นใหญม เี ขตการกระจายพนั ธใุ นเอเชียเขตรอน ใน ประเทศไทยมี 17 ชนดิ ไครย อ ย บางครงั้ เรยี กวา ไครน า้ํ หรอื สารภนี าํ้ ทางภาคเหนอื สว นภาคตะวนั ตกเรียกวา จิกหรือดอกปใหม และภาคใตเ รยี กวาผีหนาย พบต้งั แต อนิ เดยี พมา ภูมิภาคอินโดจนี คาบสมทุ รมาเลเซีย และสมุ าตรา ในไทยพบทว่ั ไป ทุกภาค ขึน้ ตามริมฝงน้าํ ในปาดบิ แลงและปา ดบิ ชนื้ นิยมปลกู เปน ไมประดบั และ เปน ไมก ระถาง ออกดอกต้งั แตตน ยังมีขนาดเล็ก มชี ่ือสามญั วา Fairy Petticoat ตามลกั ษณะกลบี ดอกดคู ลา ยชายกระโปรง บางครง้ั มชี อ่ื สามญั วา Bead tree หรอื Lily of the valley tree ตามถิ่นท่ีอยูทีช่ อบขึน้ ตามรมิ นาํ้ หรอื ท่ีลมุ หรอื Blue olive berry ตามลกั ษณะของผล ไมตนขนาดเล็กแตกกิ่งต่ําระเกะระกะ ใบเรียงเวียน รูปไขกลับ หรอื รปู ใบหอกกลบั ยาว 7–19 เซนตเิ มตร กลบี เลยี้ งสว นมากสชี มพู หรืออมเขียว กลีบดอกสีขาวหรือขาวอมชมพู ยาวประมาณ 1.5 เซนตเิ มตร มรี ว้ิ ขนทโี่ คนกลบี ดา นใน 2 รว้ิ ขอบกลบี จกั เปน ชายครยุ ยาวประมาณ 0.3 เซนตเิ มตร ปลายอบั เรณมู รี ยางคแ ขง็ ผลทรงกลม รี ยาว 3–4 เซนตเิ มตร ปลายและโคนแหลม เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 120



เหงาน้าํ ทิพย Agapetes saxicola Craib Ericaceae สกุล Agapetes เปนไมพุม สว นมากองิ อาศยั ใบเดย่ี ว เรียงเกือบตรงขา ม หรอื เรียงเวียน ชอดอกออกตามซอกใบ กลีบเล้ียงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 5 กลบี กลบี ดอกสว นมากตดิ กนั เปน หลอด เกสรเพศผู 10 อนั รงั ไขอ ยใู ตว งกลบี ผล สดมีหลายเมล็ด มีสมาชิกประมาณ 80 ชนิด มีเขตการกระจายพันธุในภูมิภาค หมิ าลัย จนี ภมู ภิ าคอินโดจนี และภูมิภาคมาเลเซีย ในประเทศไทยมปี ระมาณ 10 ชนิด หรือมากกวา เหงานํ้าทิพยเปนพืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตามคบไมหรือกอนหินท่ีมีอินทรียวัตถุสะสม ใน ปา ดิบเขา ทสี่ ูงจากระดบั นํ้าทะเล 1,200–1,500 เมตร ไมพ มุ องิ อาศัย สงู ประมาณ 1 เมตร มรี ากสะสมอาหารขนาด ใหญ ใบยาว 2–4 เซนติเมตร ขอบใบมว นงอเลก็ นอ ย ชอดอกแบบ ชอ เชงิ หลน่ั ออกตามปลายกง่ิ หรอื ซอกใบ ยาว 2–4 เซนตเิ มตร มขี น ยาวหนาแนน มี 3–7 ดอก ในแตละชอ ฐานดอกรูปถว ย กลีบดอก รูประฆังยาว 0.7–1 เซนตเิ มตร ปลายแยก 5 แฉก มว นออก ผล ทรงกลม เสน ผานศนู ยกลางประมาณ 0.4 เซนติเมตร เม่อื สุกสมี ว ง อมดาํ เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 122



กหุ ลาบแดง Rhododendron simsii Planch. Ericaceae สกลุ Rhododendron สว นมากเปน ไมพ มุ ขนึ้ ตามพนื้ ดนิ หรอื องิ อาศยั ใบเดย่ี ว เรียงเวียน ชอดอกแบบชอกระจะหรือชอกระจุก กลีบดอกเช่ือมติดกัน เกสร เพศเมียสวนมากมี 5–10 อัน หรอื มากกวา ผลแหงแตกตามแนวประสาน เมล็ด จํานวนมาก มีปก มีสมาชกิ กวา 1,000 ชนดิ พบมากในจีนประมาณ 600 ชนิด แยก เปน สกุลยอยอกี เกือบ 10 สกุลยอย สว นมากดอกมขี นาดใหญสวยงาม นยิ มปลกู เปนไมประดบั ในประเทศไทยมีประมาณ 10 ชนดิ มีท้งั ไมตน ไมพ ุม และอิงอาศัย กุหลาบแดง พบทจ่ี นี พมา ลาว ไตห วนั ญี่ปนุ ภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี ง เหนือของไทยทภี่ ูกระดงึ และภูหลวง จงั หวดั เลย ไมตนขนาดเล็กก่ึงไมพุม กง่ิ มขี นละเอยี ดสนี ํา้ ตาลหนาแนน ใบ เดยี่ ว เรยี งเวยี นเปน กลมุ แนน ตามปลายกงิ่ ใบยาว 1.5–7 เซนตเิ มตร แผน ใบหนา มขี นแขง็ เอนหนาแนน ดา นลา ง กลบี เลยี้ งและกลบี ดอก มจี าํ นวนอยางละ 5 กลีบ กลีบดอกสแี ดงอมชมพหู รือแดงเขม รปู ระฆงั ยาว 3.5–6 เซนติเมตร เกสรเพศผู 10 อัน กา นชูอับเรณมู ขี น ชวงลา ง ผลยาว 0.5–1 เซนติเมตร มีขนแข็งเอน เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 124



ประกายแสด Mallotus kongkandae Welzen & Phattar. Euphorbiaceae สกลุ Mallotus เปน ไมต น ไมพ มุ หรอื ไมพ ุมรอเลอื้ ย ดอกแยกเพศตา งตน ใบ เดย่ี ว เรยี งตรงขามขนาดไมเ ทากัน หรอื เรียงเวยี น ขอบใบจักซฟี่ น แผนใบดาน ลา งมักมีเกล็ดตอ ม และตุมใบ ดอกเปน ชอ กลีบเล้ยี ง 3–6 กลบี ไมม ีกลบี ดอก ดอกเพศผสู วนมากออกเปนกลมุ บนแกนชอ เกสรเพศผูจ ํานวนมาก ดอกเพศเมยี ออกเดย่ี วๆ หรือเปน คู บนแกนชอ กลีบเลยี้ งติดทน รังไขม ี 3 ชอ ง เกสรเพศเมีย ติดทน ผลแหงแตกหรือมีผนังช้ันในแข็ง มีสมาชิกประมาณ 150 ชนิด พบใน แอฟริกา มาดากัสการ เอเชยี และออสเตรเลยี ในประเทศไทยมี 40 ชนดิ อยภู าย ใตวงศยอ ย Acalyphoideae ประกายแสดมเี ขตการกระจายพนั ธทุ ่จี ีนตอนใตและ ภาคเหนือของไทย ท่ีอุทยานแหงชาติแมวงก จังหวัดกําแพงเพชร และดอยตุง จงั หวัดเชยี งราย ขึ้นในปา ดบิ เขา ทีส่ งู จากระดบั นา้ํ ทะเล 1,300–1,400 เมตร ไมต น ขนาดเลก็ มขี นรปู ดาวและขนตอ มทว่ั ไป ใบเรยี งเวยี น ยาว 8–18 เซนติเมตร แผน ใบดานลา งมขี นสนั้ นมุ และสะเก็ดสขี าวหนา แนน เสนใบ 1 คู ออกจากโคนใบ ทีโ่ คนมีตอมสดี ํา 1 คู กานใบยาว 1.5–5 เซนตเิ มตร ชอ ผลออกตามปลายกิง่ ยาว 3.5–8 เซนติเมตร ผลทรงกลม เมอ่ื แหง แตกตามพู มขี นตอ มสสี ม แลว เปลยี่ นเปน สเี ขยี ว หนาแนน แกนกลางรูปตวั T รวงงา ย เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย อรทัย เกิดแกว ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 126



หลมุ พอทะเล Intsia bijuga (Colebr.) Kuntze Fabaceae (Leguminosae-Caesalpinioideae) สกลุ Intsia เปน ไมต น ใบประกอบแบบขนนกปลายคู เรยี งเวยี น มี 2–5 ใบยอ ย ใบยอ ยเรยี งตรงขาม ชอ ดอกออกสั้นๆ ตามปลายกิง่ กลบี เลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก มกี ลีบเดียว เกสรเพศผู 3 อนั เกสรเพศผูทเี่ ปน หมัน 4–7 อัน ฝกบาง แตกเปน 2 ซีก เปน สกลุ ขนาดเลก็ อยูภายใตว งศย อย Caesalpinioideae มีสมาชกิ 6–7 ชนิด ในประเทศไทยพบ 2 ชนดิ อกี ชนดิ คือ หลุมพอ Intsia palembanica Miq. เปน ไม ขนาดใหญใ นปา ดบิ ชนื้ ทางภาคใต หลมุ พอทะเลหรอื เรยี กอกี ชอื่ หนงึ่ วา ประดทู ะเล มเี ขตการกระจายพนั ธุกวาง พบต้ังแตม าดากสั การ อนิ เดีย พมา ตอนใต กัมพชู า เวียดนามตอนใต ภูมิภาคมาเลเซีย จนถึงทางเหนือของออสเตรเลีย ในไทยพบ ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งใตและภาคใต ข้นึ ในปาพรุ ปาใกลช ายฝง ดานหลงั ชาย ปา โกงกาง ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีพูพอนสูงกวา 2 เมตร ใบ ประกอบมใี บยอ ย 2–3 คู แกนกลางใบยาว 2–5 เซนติเมตร กา นใบ ประกอบยาว 1.5–4 เซนติเมตร โคนใบยอยเบ้ียว ยาว 5–18 เซนติเมตร ชอดอกยาว 5–8 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงสีเขียว ยาว 0.8–1 เซนติเมตร กลบี ดอกสขี าว เปลี่ยนเปน สีชมพหู รือสแี ดง มี 1 กลีบ แผนกลบี กลม กวา งยาวประมาณ 1–1.5 เซนติเมตร เกสรเพศ ผยู าวประมาณ 3 เซนติเมตร ฝกยาว 8.8–25 เซนติเมตร มี 6–8 เมล็ด เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 128



มะคาแต Sindora siamensis Teijsm. & Miq. Fabaceae (Leguminosae-Caesalpinioideae) สกุล Sindora เปนไมตน ใบประกอบแบบขนนก ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกตามปลายก่ิง กลีบเล้ยี ง 4 กลีบ ขนาดเลก็ กลีบดอกมีกลีบเดยี ว เกสรเพศผู 10 อนั ตดิ 2 กลุม อนั บนแยกจรดโคน 1 อนั ไมมอี ับเรณู 9 อนั ลา งกานชูอบั เรณู เชอ่ื มติดกนั 2 อนั บนยาวกวา 7 อันลา ง ผลเปน ฝก แบน มหี นามหรือเกล้ียง มี 1–2 เมลด็ ทโ่ี คนมเี ยอ่ื หุม มีสมาชกิ ประมาณ 20 ชนดิ ในแอฟรกิ า จนี ตอนใต และ ภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต ในประเทศไทยมี 3 ชนิด มะคาแต พบในภูมิภาค อินโดจีนและคาบสมุทรมาเลเซีย ในไทยพบทั่วไปทุกภาค ตามปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ ชายปาดิบแลง และปาชายหาด ที่สูงจากระดับน้ําทะเลไมเกิน 400 เมตร ไมต น ขนาดกลาง สงู ประมาณ 15 เมตร ใบประกอบมีใบยอย 3–4 คู เรยี งตรงขา ม ใบยาว 6–15 เซนตเิ มตร ปลายใบกลม เวา ตนื้ ๆ แผนใบหนา ดานลางมขี นส้ันนมุ สว นมากมีตอ มใกลข อบใบดานใด ดานหนงึ่ ชอดอกยาว 10–25 เซนตเิ มตรมขี นสัน้ นมุ สีน้าํ ตาลหนา แนน ใบประดบั รปู ไข ยาว 3–6 เซนติเมตรตดิ ทน ใบประดับยอ ย ขนาดเลก็ ติดใตก่ึงกลางกา นดอก กลีบเลย้ี งรปู เรือ 1 กลบี รูปใบ หอก 3 กลีบ ยาวประมาณ 0.7 เซนติเมตรปลายกลบี มีหนามเล็กๆ กลบี ดอกสเี หลอื งอมแดง ยาวประมาณ 0.7 เซนตเิ มตรฝก แบน ยาว 4.5–10 เซนตเิ มตร ปลายเปน จะงอยสัน้ ๆ ผวิ มีหนามกระจาย (var. siamensis) หรอื ไมมหี นาม (var. maritima (Pierre) K. Larsen & S. S. Larsen ทเ่ี รียกกนั วา มะคา ลิง) เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 130



ใบสีทอง Bauhinia aureifolia K. Larsen & S. S. Larsen Fabaceae (Leguminosae-Cercideae) สกุล Bauhinia หรือสกุลชงโค มีทง้ั ไมต น ไมพ มุ และไมเถา ปลายเสนกลางใบ มกั เปน ติ่ง ดอกออกเดีย่ วๆ หรือเปนชอ กลีบเลี้ยงแยกเปน 2–5 สวน กลีบดอก 5 กลบี ขนาดเทา หรอื ไมเ ทา กนั เกสรเพศผมู ี 2, 3, 5 หรอื 10 อนั ฝก ไมม ปี ก มสี มาชกิ ประมาณ 300 ชนดิ พบท่วั ไปในเขตรอ น ในประเทศไทยมีประมาณ 40 ชนดิ เดิม อยูภายใตว งศย อ ย Caesalpinioideae ขอ มลู ดานววิ ัฒนาการในปจ จุบนั จดั ใหอ ยู ภายใตกลมุ ยอย Cercideae ท่แี ยกออกมาจากกลมุ ยอยเดิม ซึง่ ท้ังหมดมีใบเดี่ยว หรือใบแยกเปน 2 แฉก ไมใชใบประกอบดงั เชนในวงศย อย Caesalpinioideae ใบ สีทองเปนพืชถ่นิ เดยี วของไทย พบเฉพาะทางภาคใตต อนลา งในจังหวัดนราธวิ าส ปต ตานี และยะลา ข้นึ ในปา ดิบชืน้ ท่ีสงู จากระดบั นาํ้ ทะเลไมเกนิ 300 เมตร นยิ ม ปลูกเปน ไมประดบั ทว่ั ไป เนอื่ งจากใบมีสที องสวยงาม ไมเถาเนื้อแข็งขนาดใหญ มีมือเกาะ กิ่งและใบมีขนสั้นนุมสี นํ้าตาลแดงปกคลุม ใบขนาดใหญ ยาวกวา 20 เซนตเิ มตร ปลายใบ แฉกลึกประมาณ 1 ใน 3 ชอ ดอกออกตามปลายก่งิ ใบประดบั ยอ ย ติดใกลใ ตฐานรองดอก กลบี เลย้ี งแยกเปน 3–5 สว น กลบี ดอกสขี าว รปู ใบพาย ยาว 1.5–1.8 เซนตเิ มตร เกสรเพศผมู ี 3 อนั เกสรเพศผู ทเี่ ปน หมันมี 1–2 อัน รงั ไขมีขนยาวสนี ํ้าตาลหนาแนน ฝก แบน รูป ขอบขนาน ยาว 20–23 เซนติเมตร มขี นกํามะหยสี่ นี าํ้ ตาล เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 132



เส้ยี วพระวหิ าร Bauhinia saigonensis Pierre ex Gagnep. var. gagnepainiana K. Larsen & S. S. Larsen Fabaceae (Leguminosae-Cercideae) เสย้ี วพระวิหาร มเี ขตการกระจายพันธใุ นประเทศลาวและกัมพูชา ในไทยพบ ตามชายแดนไทย-กัมพูชา บริเวณจังหวัดสุรินทร และศรีสะเกษ (เขาพระวิหาร) ในปา ดบิ แลง ท่สี ูงจากระดบั นาํ้ ทะเล 200–300 เมตร มี 3 พนั ธุ อกี 2 พนั ธุ พบ เฉพาะในเวียดนาม พันธุ var. gagnepainiana มลี ักษณะเดน ท่ชี อดอกเรยี งแนน เปนรปู พีระมดิ กานดอกส้นั กวาพันธอุ น่ื ๆ ไมเถาเน้อื แข็ง ยาวไดถงึ 14 เมตร ใบเกอื บกลม ปลายเวาลกึ ประมาณกึง่ หนง่ึ ใบยาว 3–8 เซนติเมตร ชอ ดอกรูปพีระมดิ มี 1–3 ชอ ออกตามปลายกง่ิ ยาวไดถ งึ 15 เซนตเิ มตร ตาดอกยาวประมาณ 1 เซนติเมตร โคง คลา ยเคียว ปลายเปน แฉกสน้ั ๆ 5 แฉก ใบประดับ ยอยติดประมาณกลางกานดอก กลีบเล้ียงยาว 1–1.5 เซนติเมตร กลีบดอกสีขาวอมเขียว กลีบในรูปสามเหลี่ยม ยาว 0.5–0.7 เซนติเมตร มวนงอ กลบี ขา งยาว 0.6–1 เซนติเมตร เกสรเพศผู 3 อัน กานเกสรยาว 2–3 เซนติเมตร เกสรเพศผเู ปน หมัน 2 อัน ยาว 0.2–0.3 เซนตเิ มตร รังไขม ีขนคลายไหมปกคลุม ฝกแบน รปู ขอบ ขนาน ยาวประมาณ 10 เซนตเิ มตร เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 134



สรอ ยสยาม Bauhinia siamensis K. Larsen & S. S. Larsen Fabaceae (Leguminosae-Cercideae) สรอ ยสยามหรอื เสยี้ วแดง เปน พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบครง้ั แรกทภ่ี เู มย่ี ง จงั หวดั พิษณุโลกเม่ือไมน านมาน้ี ข้นึ เปน กลุม หนาแนน ในปาเบญจพรรณท่ีมไี ผห รอื ชาย ปา ดิบแลง เหมาะสําหรบั นาํ มาปลกู เปนไมประดบั ไมเ ถาเนอื้ แข็ง มมี อื จบั ก่งิ ออนมขี นสีนาํ้ ตาลแดง หใู บกลมถงึ รปู ไขก ลบั เสน ผา นศนู ยก ลาง 0.6–1 เซนตเิ มตร ใบรปู ไข ยาว 4–7.5 เซนตเิ มตร ปลายเวา ลกึ ประมาณ 1/3 ของแผน ใบ ชอดอกหอ ยลง ยาวไดถ ึง 1 เมตร กลีบเลยี้ งรปู ปากเปด กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดไม เทากนั สีชมพอู มขาวถึงสีชมพูเขม ยาว 1.5–2 เซนตเิ มตร เกสรเพศ ผูทส่ี มบูรณ 3 อนั เกสรเพศผทู ี่เปน หมัน 6 อนั ผลเปน ฝก แบน รปู ขอบขนาน ยาว 16–18 เซนตเิ มตร มีจะงอยสนั้ ๆ เทคนิคสีน้ํา ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธ์ิของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553 136


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook