ชนั้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง • พายหุ มนุ เขตร้อนเกิดเหนอื มหาสมทุ รหรือทะเล ที่นำ้ มีอณุ หภูมสิ งู ต้งั แต่ ๒๖-๒๗ องศาเซลเซียส ขึน้ ไป ทำใหอ้ ากาศทีม่ อี ุณหภูมแิ ละความชื้นสงู บริเวณน้ันเคล่ือนทส่ี ูงข้นึ อย่างรวดเรว็ เป็น บริเวณกว้าง อากาศจากบริเวณอนื่ เคลอื่ นเข้ามา แทนทแ่ี ละพดั เวียนเขา้ หาศูนยก์ ลางของพาย ุ ยง่ิ ใกลศ้ ูนย์กลาง อากาศจะเคลือ่ นทพี่ ัดเวียน เกอื บเปน็ วงกลมและมีอัตราเรว็ สูงทีส่ ุด พายหุ มนุ เขตร้อนทำให้เกิดคล่นื พายซุ ัดฝ่งั ฝนตกหนัก ซง่ึ อาจกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายต่อชวี ติ และทรพั ยส์ ิน จึงควรปฏติ นให้ปลอดภยั โดยตดิ ตามข่าวสาร การพยากรณอ์ ากาศ และไม่เข้าไปอยใู่ นพน้ื ที่ ทเ่ี สีย่ งภยั ๔. อธบิ ายการพยากรณ์อากาศ และพยากรณ์ • การพยากรณอ์ ากาศเปน็ การคาดการณล์ มฟา้ อากาศ อากาศอยา่ งงา่ ยจากขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้ ท่ีจะเกดิ ขึ้นในอนาคต โดยมีการตรวจวัด องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศ การสอื่ สารแลกเปลย่ี น ขอ้ มูลองค์ประกอบลมฟา้ อากาศระหวา่ งพน้ื ที่ การวิเคราะหข์ ้อมลู และสรา้ งคำพยากรณ์อากาศ ๕. ตระหนักถงึ คณุ คา่ ของการพยากรณอ์ ากาศ • การพยากรณอ์ ากาศสามารถนำมาใช้ประโยชน์ โดยนำเสนอแนวทางการปฏบิ ัติตนและการใช้ ดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ การใชช้ วี ติ ประจำวนั การคมนาคม ประโยชน์จากคำพยากรณอ์ ากาศ การเกษตร การป้องกัน และเฝา้ ระวังภัยพบิ ตั ิ ทางธรรมชาติ ๖. อธบิ ายสถานการณแ์ ละผลกระทบการเปลย่ี นแปลง • ภมู อิ ากาศโลกเกดิ การเปลี่ยนแปลงอยา่ งต่อเน่ือง ภูมอิ ากาศโลกจากขอ้ มูลที่รวบรวมได ้ โดยปจั จยั ทางธรรมชาติ แตป่ จั จบุ นั การเปลยี่ นแปลง ภูมอิ ากาศเกดิ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ เนือ่ งจากกจิ กรรม ของมนษุ ย์ในการปลดปล่อยแกส๊ เรือนกระจกสู่ บรรยากาศ แก๊สเรอื นกระจกทีถ่ กู ปลดปล่อย มากทีส่ ดุ ได้แก่ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด ์ ซึง่ หมนุ เวยี นอยใู่ นวฏั จักรคารบ์ อน 94 ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ๗. ตระหนักถงึ ผลกระทบของการเปล่ยี นแปลง • การเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศโลกก่อใหเ้ กดิ ผล ภมู อิ ากาศโลก โดยนำเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ติ น กระทบตอ่ ส่งิ มีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม เช่น ภายใต้การเปลีย่ นแปลงภมู ิอากาศโลก การหลอมเหลวของนำ้ แข็งข้ัวโลก การเพิ่มข้ึน ของระดบั ทะเล การเปลีย่ นแปลงวฏั จักรน้ำ การเกดิ โรคอุบตั ใิ หม่และอุบัติซ้ำ และการเกิด ภัยพบิ ัติทางธรรมชาตทิ รี่ นุ แรงขนึ้ มนษุ ยจ์ ึงควร เรียนรูแ้ นวทางการปฏิบตั ติ นภายใต้สถานการณ์ ดังกลา่ ว ทงั้ แนวทางการปฏิบัตติ นให้เหมาะสม และแนวทางการลดกิจกรรมท่ีสง่ ผลตอ่ การ เปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศโลก ม.๒ ๑. เปรียบเทยี บกระบวนการเกดิ สมบัติ และการใช้ • เชอ้ื เพลงิ ซากดกึ ดำบรรพ์ เกดิ จากการเปลยี่ นแปลง ประโยชน์ รวมท้ังอธบิ ายผลกระทบจากการใช้ สภาพของซากส่ิงมชี ีวิตในอดีต โดยกระบวนการ เชอื้ เพลงิ ซากดกึ ดำบรรพ์ จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได ้ ทางเคมีและธรณีวิทยา เช้อื เพลงิ ซากดึกดำบรรพ์ ได้แก่ ถา่ นหนิ หนิ น้ำมัน และปิโตรเลยี ม ซ่ึง เกดิ จากวัตถตุ น้ กำเนดิ และสภาพแวดลอ้ ม การเกิดทแ่ี ตกต่างกัน ทำใหไ้ ดช้ นดิ ของเชอ้ื เพลิง ซากดกึ ดำบรรพท์ ่ีมีลกั ษณะ สมบตั ิ และการนำไป ใช้ประโยชน์แตกตา่ งกัน สำหรบั ปโิ ตรเลยี ม จะตอ้ งมกี ารผา่ นการกลนั่ ลำดบั สว่ นกอ่ นการใชง้ าน เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลติ ภณั ฑท์ เี่ หมาะสมตอ่ การใชป้ ระโยชน์ เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์เปน็ ทรัพยากรท่ีใชแ้ ล้ว หมดไป เนอ่ื งจากต้องใชเ้ วลานานหลายลา้ นป ี จงึ จะเกดิ ขึน้ ใหมไ่ ด ้ ๒. แสดงความตระหนักถึงผลจากการใช้เชื้อเพลิง • การเผาไหม้เชือ้ เพลิงซากดกึ ดำบรรพใ์ นกจิ กรรม ซากดึกดำบรรพ์ โดยนำเสนอแนวทางการใช ้ ตา่ ง ๆ ของมนษุ ยจ์ ะทำให้เกิดมลพิษทางอากาศ เชือ้ เพลิงซากดึกดำบรรพ ์ ซงึ่ สง่ ผลกระทบตอ่ สิง่ มชี วี ติ และส่ิงแวดล้อม นอกจากนี้แกส๊ บางชนิดท่ีเกิดจากการเผาไหม ้ เชอื้ เพลงิ ซากดกึ ดำบรรพ์ เชน่ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ และไนตรัสออกไซด์ ยงั เปน็ แก๊สเรอื นกระจก ซงึ่ สง่ ผลให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศ ของโลกรนุ แรงขน้ึ ดังน้นั จงึ ควรใช้เช้อื เพลงิ ซากดึกดำบรรพ์ โดยคำนึงถึงผลท่เี กิดข้นึ ตอ่ สิ่งมีชวี ติ และส่งิ แวดล้อม เช่น เลือกใช้พลังงาน ทดแทน หรือเลอื กใชเ้ ทคโนโลยีทลี่ ดการใช ้ เช้ือเพลิงซากดึกดำบรรพ ์ ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 95 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. เปรยี บเทยี บขอ้ ดีและข้อจำกดั ของพลงั งาน • เช้อื เพลงิ ซากดึกดำบรรพ์เป็นแหล่งพลงั งาน ทดแทนแต่ละประเภทจากการรวบรวมขอ้ มูล ทส่ี ำคญั ในกิจกรรมตา่ ง ๆ ของมนษุ ย์ เนื่องจาก และนำเสนอแนวทางการใช้พลังงานทดแทน เชื้อเพลงิ ซากดกึ ดำบรรพ์มีปรมิ าณจำกัดและ ทีเ่ หมาะสมในทอ้ งถน่ิ มักเพิม่ มลภาวะในบรรยากาศมากขนึ้ จึงมีการใช้ พลงั งานทดแทนมากขน้ึ เชน่ พลงั งานแสงอาทติ ย์ พลงั งานลม พลงั งานนำ้ พลังงานชวี มวล พลังงานคลนื่ พลงั งานความรอ้ นใตพ้ ภิ พ พลังงานไฮโดรเจน ซึง่ พลงั งานทดแทนแต่ละชนดิ จะมีขอ้ ดแี ละขอ้ จำกดั ทีแ่ ตกตา่ งกัน ๔. สรา้ งแบบจำลองทีอ่ ธิบายโครงสรา้ งภายในโลก • โครงสรา้ งภายในโลกแบ่งออกเปน็ ช้นั ตาม ตามองคป์ ระกอบทางเคมจี ากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได ้ องค์ประกอบทางเคมี ไดแ้ ก่ เปลือกโลก ซ่งึ อยู่ นอกสดุ ประกอบด้วยสารประกอบของซิลิกอน และอะลูมเิ นยี มเปน็ หลัก เน้อื โลกคือส่วนทอ่ี ย่ ู ใตเ้ ปลือกโลกลงไปจนถงึ แกน่ โลก มีองคป์ ระกอบ หลกั เป็นสารประกอบของซลิ ิกอน แมกนเี ซียม และเหล็ก และแกน่ โลกคือสว่ นท่ีอยใู่ จกลางของ โลก มอี งคป์ ระกอบหลักเป็นเหลก็ และนกิ เกลิ ซง่ึ แต่ละช้นั มีลักษณะแตกตา่ งกัน ๕. อธบิ ายกระบวนการผุพงั อยกู่ บั ท่ี การกรอ่ น • การผุพงั อยกู่ ับที่ การกร่อน และการสะสมตวั และการสะสมตวั ของตะกอนจากแบบจำลอง ของตะกอน เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทาง รวมทั้งยกตัวอย่างผลของกระบวนการดังกล่าว ธรณวี ิทยา ท่ที ำใหผ้ วิ โลกเกิดการเปลี่ยนแปลง ทท่ี ำให้ผวิ โลกเกิดการเปล่ยี นแปลง เป็นภมู ลิ ักษณ์แบบตา่ ง ๆ โดยมีปจั จัยสำคญั คอื น้ำ ลม ธารนำ้ แขง็ แรงโน้มถว่ งของโลก สิง่ มชี วี ิต สภาพอากาศ และปฏกิ ริ ิยาเคม ี • การผพุ ังอยู่กับท่ี คอื การที่หินผพุ งั ทำลายลง ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ได้แก่ ลมฟา้ อากาศกับ น้ำฝน และรวมทัง้ การกระทำของตน้ ไมก้ บั แบคทีเรีย ตลอดจนการแตกตัวทางกลศาสตร ์ ซง่ึ มีการเพิ่มและลดอุณหภูมสิ ลบั กัน เปน็ ต้น • การกร่อน คอื กระบวนการหน่งึ หรือหลาย กระบวนการท่ที ำให้สารเปลอื กโลกหลดุ ไป ละลายไปหรอื กรอ่ นไปโดยมตี ัวนำพาธรรมชาติ คอื ลม นำ้ และธารน้ำแขง็ ร่วมกับปจั จัยอ่นื ๆ 96 ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ไดแ้ ก่ ลมฟา้ อากาศ สารละลาย การครูดถู การนำพา ท้ังน้ไี ม่รวมถึงการพังทลายเปน็ กลมุ่ ก้อน เช่น แผ่นดนิ ถลม่ ภูเขาไฟระเบดิ • การสะสมตวั ของตะกอน คอื การสะสมตวั ของ วัตถจุ ากการนำพาของนำ้ ลม หรอื ธารน้ำแข็ง ๖. อธบิ ายลกั ษณะของชนั้ หนา้ ตดั ดนิ และกระบวนการ • ดินเกิดจากหินทผี่ ุพงั ตามธรรมชาตผิ สมคลุกเคลา้ เกดิ ดนิ จากแบบจำลอง รวมทั้งระบุปจั จยั กบั อินทรยี วตั ถุทไ่ี ด้จากการเนา่ เป่อื ยของซากพชื ทีท่ ำให้ดินมีลักษณะและสมบตั แิ ตกต่างกนั ซากสัตว์ทบั ถมเปน็ ช้ัน ๆ บนผิวโลก ชั้นดนิ แบง่ ออกเปน็ หลายชน้ั ขนานหรอื เกอื บขนาน ไปกบั ผิวหนา้ ดนิ แต่ละชนั้ มลี ักษณะแตกตา่ งกัน เน่อื งจากสมบัตทิ างกายภาพ เคมี ชีวภาพ และ ลกั ษณะอน่ื ๆ เชน่ สี โครงสรา้ ง เนอ้ื ดนิ การยดึ ตวั ความเปน็ กรด-เบส สามารถสงั เกตได้จากการ สำรวจภาคสนาม การเรยี กชือ่ ช้นั ดนิ หลกั จะใช้ อกั ษรภาษาองั กฤษตวั ใหญ่ ไดแ้ ก่ O, A, E, B, C, R • ช้ันหน้าตัดดนิ เป็นชัน้ ดนิ ทม่ี ลี ักษณะปรากฏให้ เหน็ เรยี งลำดบั เปน็ ช้ันจากชัน้ บนสุดถึงช้นั ลา่ งสดุ • ปจั จยั ทท่ี ำใหด้ นิ แตล่ ะทอ้ งถนิ่ มลี กั ษณะและสมบตั ิ แตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่ วัตถตุ น้ กำเนดิ ดิน ภมู อิ ากาศ สิง่ มชี วี ิตในดิน สภาพภมู ปิ ระเทศ และระยะเวลา ในการเกดิ ดนิ ๗. ตรวจวดั สมบตั บิ างประการของดนิ โดยใชเ้ ครอื่ งมอื • สมบตั บิ างประการของดนิ เชน่ เนอื้ ดนิ ความชนื้ ดนิ ทีเ่ หมาะสมและนำเสนอแนวทางการใช้ ค่าความเป็นกรด-เบส ธาตุอาหารในดิน สามารถ ประโยชนด์ นิ จากขอ้ มูลสมบตั ขิ องดิน นำไปใช้ในการตัดสินใจถึงแนวทางการใช้ ประโยชน์ที่ดิน โดยอาจนำไปใชป้ ระโยชน์ ทางการเกษตรหรอื อ่นื ๆ ซงึ่ ดนิ ท่ไี มเ่ หมาะสม ตอ่ การทำการเกษตร เชน่ ดนิ จดื ดนิ เปรย้ี ว ดนิ เคม็ และดนิ ดาน อาจเกดิ จากสภาพดนิ ตามธรรมชาต ิ หรอื การใช้ประโยชน์จะต้องปรับปรงุ ให้มี สภาพเหมาะสม เพ่ือนำไปใชป้ ระโยชน ์ ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 97 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชัน้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๘. อธบิ ายปจั จยั และกระบวนการเกดิ แหลง่ นำ้ ผวิ ดนิ • แหลง่ น้ำผิวดนิ เกิดจากนำ้ ฝนท่ตี กลงบนพนื้ โลก และแหล่งน้ำใต้ดิน จากแบบจำลอง ไหลจากที่สูงลงส่ทู ่ีต่ำด้วยแรงโน้มถว่ ง การไหล ของน้ำทำให้พื้นโลกเกิดการกัดเซาะเปน็ ร่องนำ้ เชน่ ลำธาร คลอง และแมน่ ำ้ ซงึ่ รอ่ งนำ้ จะมขี นาด และรูปร่างแตกตา่ งกัน ข้นึ อยูก่ บั ปริมาณน้ำฝน ระยะเวลาในการกัดเซาะ ชนดิ ดนิ และหิน และ ลักษณะภมู ิประเทศ เช่น ความลาดชัน ความสูง ต่ำของพื้นที่ เม่อื นำ้ ไหลไปยังบรเิ วณทเ่ี ปน็ แอง่ จะเกดิ การสะสมตวั เปน็ แหลง่ นำ้ เชน่ บงึ ทะเลสาบ ทะเล และมหาสมทุ ร • แหลง่ นำ้ ใต้ดนิ เกดิ จากการซมึ ของน้ำผวิ ดินลงไป สะสมตวั ใต้พ้ืนโลก ซง่ึ แบ่งเป็นนำ้ ในดนิ และ น้ำบาดาล น้ำในดนิ เป็นนำ้ ท่ีอยู่รว่ มกับอากาศ ตามช่องว่างระหวา่ งเมด็ ดิน สว่ นนำ้ บาดาล เป็นนำ้ ท่ไี หลซมึ ลกึ ลงไปและถูกกกั เกบ็ ไว ้ ในชนั้ หินหรอื ช้ันดิน จนอ่ิมตวั ไปด้วยนำ้ ๙. สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายการใชน้ ำ้ และนำเสนอ • แหลง่ น้ำผวิ ดนิ และแหล่งนำ้ ใต้ดินถกู นำมาใช ้ แนวทางการใชน้ ำ้ อย่างยั่งยืนในทอ้ งถิน่ ของ ในกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ส่งผลต่อการจดั การ ตนเอง การใช้ประโยชนน์ ำ้ และคณุ ภาพของแหลง่ น้ำ เน่อื งจากการเพ่มิ ขนึ้ ของจำนวนประชากร การใชป้ ระโยชน์พนื้ ทีใ่ นดา้ นต่าง ๆ เช่น ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และ การเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศ ทำให้เกิด การเปลยี่ นแปลงปริมาณนำ้ ฝนในพน้ื ทีล่ ุ่มนำ้ และแหล่งน้ำผิวดนิ ไมเ่ พียงพอสำหรบั กจิ กรรม ของมนุษย์ น้ำจากแหล่งน้ำใตด้ นิ จึงถกู นำมาใช้ มากข้ึน ส่งผลใหป้ ริมาณน้ำใตด้ นิ ลดลงมาก จงึ ตอ้ งมกี ารจดั การใชน้ ำ้ อยา่ งเหมาะสมและยงั่ ยนื ซง่ึ อาจทำไดโ้ ดยการจัดหาแหลง่ นำ้ เพ่ือให้มี แหลง่ นำ้ เพยี งพอสำหรบั การดำรงชวี ติ การจดั สรร และการใช้นำ้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ การอนรุ กั ษ์ และฟน้ื ฟแู หลง่ น้ำ การปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหา คณุ ภาพน้ำ 98 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๑๐. สรา้ งแบบจำลองที่อธบิ ายกระบวนการเกดิ • น้ำทว่ ม การกดั เซาะชายฝงั่ ดินถลม่ หลมุ ยบุ และผลกระทบของน้ำทว่ ม การกัดเซาะชายฝงั่ แผ่นดนิ ทรดุ มกี ระบวนการเกิดและผลกระทบ ดนิ ถลม่ หลุมยุบ แผน่ ดินทรดุ ทแ่ี ตกต่างกัน ซ่งึ อาจสร้างความเสียหายร้ายแรง แก่ชวี ิต และทรพั ยส์ ิน • นำ้ ทว่ ม เกดิ จากพนื้ ทห่ี นงึ่ ไดร้ บั ปรมิ าณนำ้ เกนิ กวา่ ทจ่ี ะกกั เกบ็ ได้ ทำใหแ้ ผน่ ดนิ จมอยใู่ ตน้ ำ้ โดยขนึ้ อยู่ กับปริมาณนำ้ และสภาพทางธรณวี ิทยาของพ้ืนท ่ี • การกัดเซาะชายฝัง่ เปน็ กระบวนการเปลีย่ นแปลง ของชายฝงั่ ทะเลทเ่ี กิดขึ้นตลอดเวลาจากการ กัดเซาะของคล่นื หรือลม ทำใหต้ ะกอนจากทห่ี นงึ่ ไปตกทบั ถมในอกี บรเิ วณหนง่ึ แนวของชายฝงั่ เดมิ จึงเปล่ียนแปลงไป บริเวณทม่ี ตี ะกอนเคลอื่ น เขา้ มานอ้ ยกวา่ ปรมิ าณทตี่ ะกอนเคลือ่ นออกไป ถือว่าเปน็ บริเวณทีม่ ีการกัดเซาะชายฝง่ั • ดินถลม่ เปน็ การเคลือ่ นท่ขี องมวลดนิ หรอื หิน จำนวนมากลงตามลาดเขา เนื่องจากแรงโนม้ ถ่วง ของโลกเป็นหลกั ซ่ึงเกิดจากปจั จยั สำคญั ไดแ้ ก่ ความลาดชันของพ้นื ที่ สภาพธรณีวทิ ยา ปรมิ าณ นำ้ ฝน พืชปกคลุมดิน และการใช้ประโยชน์พ้นื ท ี่ • หลมุ ยบุ คือ แอ่งหรือหลมุ บนแผน่ ดนิ ขนาดต่าง ๆ ทอ่ี าจเกดิ จากการถล่มของโพรงถ้ำหนิ ปูน เกลือหนิ ใต้ดิน หรอื เกดิ จากน้ำพัดพาตะกอน ลงไปในโพรงถ้ำหรอื ธารน้ำใตด้ ิน • แผ่นดินทรดุ เกดิ จากการยบุ ตัวของชัน้ ดนิ หรือ หนิ รว่ น เมอื่ มวลของแขง็ หรอื ของเหลวปรมิ าณมาก ที่รองรบั อยู่ใต้ช้ันดินบรเิ วณนัน้ ถูกเคลือ่ นยา้ ยออก ไปโดยธรรมชาติหรือโดยการกระทำของมนุษย ์ ม.๓ - - ม.๔ - - ม.๕ - - ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 99 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.๖ ๑. อธิบายการแบ่งช้นั และสมบัติของโครงสร้างโลก • การศกึ ษาโครงสร้างโลกใช้ข้อมลู หลายด้าน เช่น พรอ้ มยกตวั อย่างข้อมูลที่สนับสนนุ องคป์ ระกอบทางเคมขี องหนิ และแร่ องคป์ ระกอบ ทางเคมีของอุกกาบาต ขอ้ มูลคลื่นไหวสะเทือน ทีเ่ คลือ่ นท่ผี ่านโลก จงึ สามารถแบง่ ช้นั โครงสร้าง โลก ได้ ๒ แบบ คอื โครงสรา้ งโลกตามองคป์ ระกอบ ทางเคมี แบง่ ได้เป็น ๓ ช้นั ไดแ้ ก่ เปลอื กโลก เนอ้ื โลก และแกน่ โลก และโครงสรา้ งโลกตาม สมบตั เิ ชงิ กล แบง่ ได้เป็น ๕ ชน้ั ไดแ้ ก่ ธรณภี าค ฐานธรณภี าค มัชฌมิ ภาค แกน่ โลกชน้ั นอก และแก่นโลกช้นั ใน ๒. อธิบายหลักฐานทางธรณวี ิทยาทีส่ นับสนนุ • แผ่นธรณตี ่าง ๆ เปน็ ส่วนประกอบของธรณีภาค การเคลื่อนทขี่ องแผ่นธรณี การเปลยี่ นแปลงขนาดและตำแหนง่ ต้งั แต่อดตี จนถงึ ปัจจบุ นั การเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณดี งั กล่าว อธิบายได้ตามทฤษฎีธรณีแปรสณั ฐาน ซง่ึ มี รากฐานมาจากทฤษฎีทวีปเลือ่ นและทฤษฎ ี การแผข่ ยายพ้นื สมุทร โดยมีหลกั ฐานท่สี นับสนุน ไดแ้ ก่ รปู รา่ งของขอบทวปี ทส่ี ามารถเชอื่ มตอ่ กนั ได้ ความคลา้ ยคลงึ กนั ของกลุ่มหินและแนวเทอื กเขา ซากดกึ ดำบรรพ์ รอ่ งรอยการเคลื่อนทีข่ อง ตะกอนธารนำ้ แขง็ ภาวะแมเ่ หล็กโลกบรรพกาล อายุหินของพน้ื มหาสมทุ ร รวมทงั้ การคน้ พบ สนั เขากลางสมุทร และรอ่ งลึกก้นสมุทร ๓. ระบสุ าเหตุ และอธิบายรปู แบบแนวรอยตอ่ • การพาความร้อนของแมกมาภายในโลก ทำให้ ของแผน่ ธรณีทีส่ ัมพันธก์ ับการเคลอื่ นที่ของ เกิดการเคลอื่ นทขี่ องแผน่ ธรณี ตามทฤษฎธี รณี แผ่นธรณี พรอ้ มยกตวั อยา่ งหลักฐาน แปรสัณฐาน ซงึ่ นักวิทยาศาสตรไ์ ดส้ ำรวจพบ ทางธรณวี ทิ ยาทีพ่ บ หลักฐานทางธรณีวทิ ยา ได้แก่ ธรณีสณั ฐาน และธรณโี ครงสร้าง ท่บี รเิ วณแนวรอยตอ่ ของ แผน่ ธรณี เช่น รอ่ งลึกกน้ สมุทร หมู่เกาะภูเขาไฟ รูปโคง้ แนวภเู ขาไฟ แนวเทือกเขา หบุ เขาทรดุ และสนั เขากลางสมุทร รอยเลอื่ น นอกจากน ี้ ยงั พบการเกดิ ธรณพี ิบตั ิภยั ทบี่ ริเวณแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณี เชน่ แผน่ ดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ ซงึ่ หลักฐานดงั กลา่ วสัมพันธ์กบั รูปแบบ 100 ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ชนั้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง การเคล่ือนที่ของแผ่นธรณี นักวทิ ยาศาสตร ์ จงึ สรปุ ไดว้ า่ แนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณมี ี ๓ รปู แบบ ได้แก่ แนวแผ่นธรณแี ยกตัว แนวแผน่ ธรณี เคลอ่ื นที่เขา้ หากนั แนวแผน่ ธรณีเคล่ือนทผี่ ่านกนั ในแนวราบ ๔. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด • ภเู ขาไฟระเบดิ เกิดจากการแทรกดนั ของแมกมา รวมทง้ั สบื คน้ ข้อมูลพื้นทเี่ สี่ยงภยั ออกแบบและ ขนึ้ มาตามสว่ นเปราะบาง หรอื รอยแตกบนเปลอื กโลก นำเสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏิบัติตน มกั พบหนาแน่นบริเวณรอยตอ่ ระหว่างแผน่ ธรณี ให้ปลอดภยั ทำให้บริเวณดังกล่าวเป็นพ้นื ท่ีเสย่ี งภัย ผลจาก การระเบดิ ของภเู ขาไฟมีทง้ั ประโยชนแ์ ละโทษ จงึ ต้องศึกษาแนวทางในการเฝ้าระวงั และ การปฏบิ ัตติ นใหป้ ลอดภยั ๕. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ขนาดและ • แผน่ ดนิ ไหวเกิดจากการปลดปล่อยพลังงานท่ี ความรนุ แรง และผลจากแผน่ ดินไหว รวมท้งั สะสมไวข้ องเปลอื กโลกในรปู ของคลน่ื ไหวสะเทอื น สืบคน้ ขอ้ มูลพื้นทเ่ี สี่ยงภัย ออกแบบและ แผน่ ดินไหวมีขนาดและความรนุ แรงแตกต่างกัน นำเสนอแนวทางการเฝา้ ระวังและการปฏิบัติตน มักเกดิ ขึน้ บริเวณรอยตอ่ ของแผ่นธรณี และพ้นื ที่ ให้ปลอดภัย ภายใต้อทิ ธพิ ลของการเคล่ือนของแผ่นธรณี ทำใหบ้ รเิ วณดงั กลา่ วเปน็ พนื้ ทเ่ี สยี่ งภยั แผน่ ดนิ ไหว ซง่ึ สง่ ผลให้สิ่งกอ่ สร้างเสยี หาย เกดิ อันตราย ต่อชีวิตและทรัพย์สิน จึงต้องศึกษาแนวทาง ในการเฝา้ ระวงั และการปฏิบตั ิตนให้ปลอดภัย ๖. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ และผลจากสนึ ามิ • สึนามิ คอื คลืน่ น้ำที่เกิดจากการแทนที่มวลนำ้ รวมท้ังสบื ค้นข้อมลู พน้ื ทเ่ี สย่ี งภยั ออกแบบ ในปรมิ าณมหาศาล ส่วนมากจะเกดิ ในทะเลหรอื และนำเสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการ มหาสมุทร โดยคล่นื มีลกั ษณะเฉพาะ คือ ปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภัย ความยาวคล่นื มากและเคลือ่ นที่ด้วยความเรว็ สงู เมอื่ อยูก่ ลางมหาสมทุ รจะมีความสูงคลน่ื นอ้ ย และอาจเพิม่ ความสงู ข้ึนอยา่ งรวดเร็ว เมอ่ื คล่นื เคลื่อนทีผ่ า่ นบริเวณน้ำตื้น จงึ ทำให้พืน้ ที่บริเวณ ชายฝง่ั บางบริเวณเป็นพื้นท่ีเสี่ยงภยั สึนาม ิ ก่อให้เกดิ อันตรายแกม่ นษุ ย์และสิง่ กอ่ สรา้ ง ในบรเิ วณชายหาดนัน้ จงึ ตอ้ งศึกษาแนวทาง ในการเฝ้าระวงั และการปฏิบตั ติ นให้ปลอดภัย ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 101 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชั้น ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ๗. อธบิ ายปจั จัยสำคญั ท่ีมีผลตอ่ การไดร้ ับพลงั งาน • พืน้ ผิวโลกแต่ละบรเิ วณไดร้ ับพลังงานจาก จากดวงอาทิตย์แตกต่างกันในแต่ละบรเิ วณ ดวงอาทติ ย์ในปรมิ าณท่ีแตกต่างกนั เน่ืองจาก ของโลก ปจั จัยสำคญั หลายประการ เช่น สัณฐานและ การเอียงของแกนโลก ลักษณะของพืน้ ผิว ละอองลอย และเมฆ ทำให้แตล่ ะบริเวณบนโลก มีอณุ หภูมไิ ม่เทา่ กัน สง่ ผลใหม้ ีความกดอากาศ แตกตา่ งกนั และเกดิ การถา่ ยโอนพลงั งานระหวา่ งกนั ๘. อธิบายการหมุนเวยี นของอากาศ ที่เป็น • การหมุนเวยี นของอากาศเกดิ ขน้ึ จากความ ผลมาจากความแตกต่างของความกดอากาศ กดอากาศท่แี ตกต่างกันระหว่างสองบรเิ วณ โดยอากาศเคล่ือนทจี่ ากบรเิ วณทม่ี คี วามกด อากาศสงู ไปยังบรเิ วณทม่ี คี วามกดอากาศต่ำ ซงึ่ จะเหน็ ได้ชัดเจน ในการเคลอื่ นที่ของอากาศ ในแนวราบ และเมือ่ พิจารณาการเคลื่อนท่ขี อง อากาศในแนวดง่ิ จะพบวา่ อากาศเหนือบรเิ วณ ความกดอากาศตำ่ จะมีการยกตัวข้นึ ขณะที่ อากาศเหนอื บรเิ วณความกดอากาศสงู จะจมตวั ลง โดยการเคลอ่ื นท่ีของอากาศทั้งในแนวราบและ แนวดง่ิ น้ี ทำให้เกิดเป็นการหมุนเวยี นของอากาศ ๙. อธิบายทิศทางการเคล่อื นท่ขี องอากาศ ทเี่ ป็น • การหมนุ รอบตวั เองของโลกทำใหเ้ กดิ แรงคอรอิ อลสิ ผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ส่งผลให้ทศิ ทางการเคล่ือนทข่ี องอากาศเบนไป โดยอากาศทเี่ คล่ือนที่ในบรเิ วณซีกโลกเหนอื จะเบนไปทางขวาจากทศิ ทางเดมิ สว่ นบรเิ วณ ซกี โลกใตจ้ ะเบนไปทางซ้ายจากทิศทางเดิม ๑๐. อธบิ ายการหมุนเวียนของอากาศตามเขต • โลกมคี วามกดอากาศแตกตา่ งกันในแตล่ ะบริเวณ ละตจิ ดู และผลท่ีมีต่อภูมอิ ากาศ รวมท้งั อิทธพิ ลจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ทำใหอ้ ากาศในแต่ละซีกโลกเกิดการหมุนเวยี น ของอากาศตามเขตละตจิ ูด แบง่ ออกเป็น ๓ แถบ โดยแต่ละแถบมีภมู อิ ากาศแตกตา่ งกัน ได้แก ่ การหมนุ เวยี นแถบขั้วโลกมภี มู ิอากาศแบบ หนาวเย็น การหมนุ เวียนแถบละตจิ ูดกลาง มีภมู ิอากาศแบบอบอุ่น และการหมุนเวยี น แถบเขตรอ้ นมีภมู อิ ากาศแบบร้อนช้ืน 102 ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ช้นั ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง • นอกจากนบ้ี ริเวณรอยตอ่ ของการหมนุ เวยี น อากาศแตล่ ะแถบละตจิ ูด จะมลี กั ษณะลมฟา้ อากาศ ทแี่ ตกต่างกนั เชน่ บรเิ วณใกลศ้ นู ย์สูตร มีปรมิ าณ หยาดน้ำฟ้าเฉลย่ี สูงกว่าบริเวณอน่ื บริเวณละตจิ ดู ๓๐ องศา มอี ากาศแห้งแล้ง ส่วนบรเิ วณละตจิ ดู ๖๐ องศา อากาศมคี วาม แปรปรวนสูง ๑๑. อธิบายปัจจัยทท่ี ำใหเ้ กิดการหมุนเวยี นของน้ำ • การหมนุ เวยี นของกระแสนำ้ ผวิ หนา้ ในมหาสมทุ ร ผวิ หนา้ ในมหาสมทุ ร และรปู แบบการหมนุ เวยี น ไดร้ บั อทิ ธิพลจากการหมุนเวียนของอากาศ ของน้ำผวิ หนา้ ในมหาสมทุ ร ในแตล่ ะแถบละตจิ ูดเป็นปจั จยั หลักทำให้บริเวณ ซกี โลกเหนอื มกี ารหมนุ เวยี นของกระแสนำ้ ผวิ หนา้ ในทศิ ทางตามเขม็ นาฬกิ า และทวนเข็มนาฬกิ าใน ซีกโลกใต้ ซง่ึ กระแสน้ำผวิ หนา้ ในมหาสมทุ ร มีทง้ั กระแสน้ำอุ่น และกระแสนำ้ เยน็ ๑๒. อธบิ ายผลของการหมนุ เวยี นของอากาศ • การหมนุ เวยี นอากาศและนำ้ ในมหาสมุทร และน้ำผวิ หนา้ ในมหาสมุทรทม่ี ีต่อลักษณะ สง่ ผลตอ่ ภูมิอากาศ ลมฟ้าอากาศ สิง่ มชี วี ติ ภูมอิ ากาศ ลมฟา้ อากาศ ส่งิ มชี วี ิต และ และสิ่งแวดลอ้ ม เชน่ กระแสน้ำอุน่ กลั ฟ์สตรมี สิ่งแวดลอ้ ม ท่ีทำใหบ้ างประเทศในทวีปยุโรปไมห่ นาวเยน็ เกนิ ไป และเม่อื การหมนุ เวียนอากาศและนำ้ ในมหาสมุทรแปรปรวน ทำใหเ้ กิดผลกระทบต่อ สภาพลมฟา้ อากาศ เช่น ปรากฏการณเ์ อลนโี ญ และลานีญา ซง่ึ เกดิ จากความแปรปรวน ของลมคา้ และสง่ ผลต่อประเทศทอ่ี ยบู่ รเิ วณ มหาสมทุ รแปซฟิ ิก ๑๓. อธิบายปจั จยั ทม่ี ีผลตอ่ การเปล่ียนแปลง • โลกไดร้ บั พลงั งานจากดวงอาทติ ย์ โดยปรมิ าณ ภมู อิ ากาศของโลก พรอ้ มทง้ั นำเสนอแนวปฏบิ ตั ิ พลงั งานเฉลย่ี ทโ่ี ลกได้รบั เทา่ กบั พลังงานเฉลี่ย เพอื่ ลดกจิ กรรมของมนษุ ย์ ท่สี ง่ ผลต่อการ ท่โี ลกปลดปล่อยกลบั สูอ่ วกาศ ทำให้เกดิ สมดุล เปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศโลก พลงั งานของโลก สง่ ผลใหอ้ ณุ หภูมิเฉลี่ยของโลก ในแตล่ ะปคี อ่ นข้างคงทีแ่ ละมลี ักษณะภูมอิ ากาศ ทไ่ี ม่เปลี่ยนแปลง หากสมดุลพลังงานของโลกเกดิ การเปล่ยี นแปลงไปจะทำให้อณุ หภมู เิ ฉลีย่ ของ โลกและภมู อิ ากาศเกดิ การเปลยี่ นแปลงได้ เน่อื งจากปัจจยั หลายประการทั้งปจั จัยที่เกิดขึ้น ตามธรรมชาตแิ ละการกระทำของมนษุ ย์ เชน่ แกส๊ เรือนกระจก ลักษณะผิวโลก และละอองลอย ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 103 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง • มนุษยม์ ีส่วนช่วยในการชะลอการเปล่ยี นแปลง ภูมิอากาศโลกไดโ้ ดยการลดกจิ กรรมท่ที ำใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงสมดลุ พลงั งาน เชน่ ลดการ ปลดปลอ่ ยแกส๊ เรือนกระจกและละอองลอย ๑๔. แปลความหมายสญั ลักษณล์ มฟ้าอากาศ • แผนทีอ่ ากาศผิวพ้นื แสดงขอ้ มลู การตรวจอากาศ ทส่ี ำคัญจากแผนท่อี ากาศ และนำขอ้ มลู ในรูปแบบสัญลักษณห์ รอื ตวั เลข เช่น บริเวณ สารสนเทศตา่ ง ๆ มาวางแผนการดำเนินชีวิต ความกดอากาศสูง หย่อมความกดอากาศตำ่ ให้สอดคล้องกับสภาพลมฟ้าอากาศ พายหุ มนุ เขตรอ้ น รอ่ งความกดอากาศตำ่ การแปลความหมายสญั ลกั ษณล์ มฟ้าอากาศ ทำให้ทราบลักษณะลมฟ้าอากาศ ณ บริเวณหนงึ่ • การแปลความหมายสัญลักษณ์ท่ีปรากฏบนแผนที่ อากาศ ร่วมกบั ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประยกุ ต์เก่ียวกบั การพยากรณอ์ ากาศ เรดารต์ รวจอากาศ ภาพถา่ ยดาวเทียม สามารถ นำมาวางแผนการดำเนินชวี ติ ให้สอดคล้องกับ สภาพลมฟ้าอากาศ เชน่ การเลือกช่วงเวลา ในการเพาะปลกู ให้สอดคลอ้ งกบั ฤดกู าล การเตรียมพรอ้ มรบั มอื สภาพอากาศแปรปรวน 104 ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
สาระที่ ๔ เทคโนโลย ี มาตรฐาน ว ๔.๑ เขา้ ใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยเี พอ่ื การดำรงชวี ติ ในสงั คมทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ ศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชีวติ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม ช้ัน ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ - - ป.๒ - - ป.๓ - - ป.๔ - - ป.๕ - - ป.๖ - - ม.๑ ๑. อธบิ ายแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยใี นชวี ติ ประจำวนั • เทคโนโลยี เปน็ สง่ิ ทีม่ นุษย์สรา้ งหรอื พัฒนาขน้ึ และวเิ คราะหส์ าเหตุหรอื ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ซง่ึ อาจเปน็ ไดท้ ง้ั ชน้ิ งานหรอื วธิ กี าร เพอ่ื ใชแ้ กป้ ญั หา การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลย ี สนองความต้องการ หรอื เพ่มิ ความสามารถ ในการทำงานของมนุษย์ • ระบบทางเทคโนโลยี เปน็ กลุ่มของส่วนต่าง ๆ ตั้งแต่สองส่วนขึน้ ไปประกอบเขา้ ดว้ ยกันและ ทำงานรว่ มกนั เพื่อให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ โดย ในการทำงานของระบบทางเทคโนโลยจี ะประกอบ ไปด้วยตวั ป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลติ (output) ทสี่ มั พนั ธ์กัน นอกจากน้ี ระบบทางเทคโนโลยอี าจมขี อ้ มูลย้อนกลับ (feedback) เพอื่ ใชป้ รบั ปรุงการทำงานไดต้ าม วัตถปุ ระสงค์ ซึง่ การวิเคราะห์ระบบทาง เทคโนโลยีชว่ ยใหเ้ ข้าใจองคป์ ระกอบและ การทำงานของเทคโนโลยี รวมถึงสามารถ ปรบั ปรงุ ใหเ้ ทคโนโลยที ำงานไดต้ ามตอ้ งการ • เทคโนโลยมี กี ารเปลยี่ นแปลงตลอดเวลาตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จุบัน ซง่ึ มีสาเหตุหรือปจั จยั มาจาก หลายดา้ น เชน่ ปญั หา ความตอ้ งการ ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ ่าง ๆ เศรษฐกจิ สงั คม ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 105 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๒. ระบปุ ญั หาหรอื ความต้องการในชีวติ ประจำวัน • ปญั หาหรอื ความต้องการในชีวิตประจำวนั รวบรวม วเิ คราะหข์ ้อมูลและแนวคดิ ท่ีเก่ียวข้อง พบไดจ้ ากหลายบรบิ ทขนึ้ กบั สถานการณท์ ป่ี ระสบ กับปญั หา เช่น การเกษตร การอาหาร • การแกป้ ญั หาจำเป็นตอ้ งสบื คน้ รวบรวมข้อมลู ความรจู้ ากศาสตร์ต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วข้อง เพอ่ื นำไปสู่ การออกแบบแนวทางการแก้ปญั หา ๓. ออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหา โดยวเิ คราะห์ • การวเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ และตดั สนิ ใจเลอื กขอ้ มลู เปรียบเทยี บ และตดั สินใจเลือกข้อมูลท่จี ำเป็น ที่จำเปน็ โดยคำนึงถึงเงอื่ นไข และทรพั ยากร นำเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาใหผ้ อู้ ื่นเข้าใจ ทม่ี อี ยู่ ชว่ ยใหไ้ ดแ้ นวทางการแกป้ ญั หาทเ่ี หมาะสม วางแผนและดำเนนิ การแกป้ ญั หา • การออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หาทำได้ หลากหลายวธิ ี เชน่ การรา่ งภาพ การเขยี นแผนภาพ การเขียนผงั งาน • การกำหนดขน้ั ตอนและระยะเวลาในการทำงาน กอ่ นดำเนนิ การแกป้ ัญหาจะชว่ ยใหท้ ำงานสำเร็จ ได้ตามเป้าหมายและลดข้อผดิ พลาด ของการทำงานทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ๔. ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่อง • การทดสอบ และประเมินผลเปน็ การตรวจสอบ ท่ีเกดิ ข้ึน พรอ้ มทง้ั หาแนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข ชิน้ งานหรือวิธกี ารวา่ สามารถแก้ปัญหาไดต้ าม และนำเสนอผลการแกป้ ัญหา วัตถปุ ระสงค์ภายใต้กรอบของปัญหา เพอื่ หา ข้อบกพร่อง และดำเนนิ การปรับปรงุ โดยอาจ ทดสอบซ้ำเพ่อื ใหส้ ามารถแก้ปัญหาได ้ • การนำเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิด เพอ่ื ให้ผู้อ่นื เข้าใจเกี่ยวกบั กระบวนการทำงาน และชนิ้ งานหรือวธิ กี ารที่ได้ ซ่ึงสามารถทำได้ หลายวธิ ี เชน่ การเขยี นรายงาน การทำแผน่ นำเสนอ ผลงาน การจัดนิทรรศการ การนำเสนอผ่าน สอ่ื ออนไลน์ ๕. ใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะเกี่ยวกับวสั ดุ อปุ กรณ์ • วสั ดแุ ต่ละประเภทมสี มบตั แิ ตกตา่ งกนั เช่น ไม้ เคร่อื งมอื กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนกิ ส ์ โลหะ พลาสตกิ จึงตอ้ งมกี ารวเิ คราะหส์ มบัติ เพ่อื แกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม เพื่อเลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกับลกั ษณะของงาน และปลอดภยั • การสร้างช้นิ งานอาจใชค้ วามรู้ เรอื่ งกลไก ไฟฟ้า อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เชน่ LED บซั เซอร์ มอเตอร ์ วงจรไฟฟา้ • อปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมือในการสรา้ งชน้ิ งานหรอื พฒั นาวิธีการมีหลายประเภท ตอ้ งเลือกใช้ ให้ถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทง้ั ร้จู ักเกบ็ รักษา 106 ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม.๒ ๑. คาดการณแ์ นวโนม้ เทคโนโลยที จี่ ะเกดิ ขนึ้ • สาเหตุหรือปัจจัยต่าง ๆ เชน่ ความก้าวหน้าของ โดยพจิ ารณาจากสาเหตุหรอื ปัจจัยทสี่ ง่ ผลตอ่ ศาสตร์ต่าง ๆ การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นเศรษฐกจิ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี และวิเคราะห์ สังคม วฒั นธรรม ทำใหเ้ ทคโนโลยมี ีการ เปรียบเทยี บ ตดั สินใจเลอื กใช้เทคโนโลย ี เปลีย่ นแปลงตลอดเวลา โดยคำนึงถงึ ผลกระทบทเ่ี กิดข้ึนตอ่ ชีวิต สังคม • เทคโนโลยแี ตล่ ะประเภทมีผลกระทบตอ่ ชวี ิต และสิ่งแวดล้อม สังคม และสง่ิ แวดล้อมท่ีแตกต่างกนั จึงต้อง วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบข้อดี ข้อเสีย และตัดสินใจ เลอื กใชใ้ ห้เหมาะสม ๒. ระบปุ ญั หาหรือความตอ้ งการในชุมชนหรอื • ปญั หาหรือความต้องการในชุมชนหรอื ท้องถน่ิ ทอ้ งถน่ิ สรปุ กรอบของปญั หา รวบรวม วเิ คราะห์ มีหลายอยา่ ง ขนึ้ กับบริบทหรอื สถานการณ ์ ข้อมูลและแนวคดิ ที่เก่ียวขอ้ งกบั ปัญหา ท่ปี ระสบ เชน่ ดา้ นพลังงาน ส่ิงแวดล้อม การเกษตร การอาหาร • การระบปุ ัญหาจำเป็นตอ้ งมกี ารวเิ คราะห์ สถานการณ์ของปญั หาเพอ่ื สรปุ กรอบของปัญหา แล้วดำเนนิ การสบื ค้น รวบรวมขอ้ มูล ความร ู้ จากศาสตรต์ ่าง ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง เพือ่ นำไปส่กู าร ออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหา ๓. ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหา โดยวิเคราะห์ • การวเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ และตัดสินใจ เปรยี บเทยี บ และตดั สนิ ใจเลอื กข้อมูลท่ีจำเป็น เลือกขอ้ มูลทจ่ี ำเปน็ โดยคำนงึ ถงึ เงอ่ื นไข ภายใตเ้ งอ่ื นไขและทรัพยากรท่มี อี ยู่ นำเสนอ และทรพั ยากร เชน่ งบประมาณ เวลา ขอ้ มูล แนวทางการแกป้ ัญหาให้ผอู้ ืน่ เขา้ ใจ วางแผน และสารสนเทศ วัสดุ เครือ่ งมือและอุปกรณ์ ข้ันตอนการทำงานและดำเนินการแก้ปัญหา ช่วยให้ไดแ้ นวทางการแกป้ ัญหาทเ่ี หมาะสม อย่างเปน็ ขั้นตอน • การออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหาทำได ้ หลากหลายวธิ ี เชน่ การร่างภาพ การเขียน แผนภาพ การเขียนผังงาน • การกำหนดขัน้ ตอนระยะเวลาในการทำงาน กอ่ นดำเนินการแกป้ ญั หาจะชว่ ยให้การทำงาน สำเร็จไดต้ ามเปา้ หมาย และลดข้อผิดพลาด ของการทำงานท่ีอาจเกิดขน้ึ ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 107 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๔. ทดสอบ ประเมนิ ผล และอธิบายปญั หาหรอื • การทดสอบและประเมนิ ผลเปน็ การตรวจสอบ ข้อบกพรอ่ งท่เี กิดขึ้น ภายใตก้ รอบเง่ือนไข ชนิ้ งาน หรอื วธิ กี ารวา่ สามารถแก้ปญั หาได ้ พร้อมทง้ั หาแนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข และ ตามวตั ถุประสงค์ภายใต้กรอบของปัญหา เพอื่ นำเสนอผลการแก้ปญั หา หาขอ้ บกพรอ่ ง และดำเนนิ การปรบั ปรงุ ใหส้ ามารถ แก้ไขปัญหาได้ • การนำเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคดิ เพือ่ ให้ผู้อืน่ เข้าใจเก่ียวกบั กระบวนการทำงาน และชนิ้ งานหรือวธิ กี ารท่ีได้ ซ่ึงสามารถทำได้ หลายวธิ ี เช่น การเขยี นรายงาน การทำแผ่นนำเสนอผลงาน การจัดนทิ รรศการ ๕. ใชค้ วามรู้ และทักษะเกยี่ วกบั วสั ดุ อุปกรณ์ • วัสดุแต่ละประเภทมสี มบตั ิแตกตา่ งกัน เชน่ ไม้ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนกิ ส ์ โลหะ พลาสตกิ จึงตอ้ งมกี ารวิเคราะหส์ มบตั ิ เพื่อแก้ปญั หาหรือพฒั นางานได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน เหมาะสม และปลอดภัย • การสร้างชน้ิ งานอาจใช้ความรู้ เร่อื งกลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนกิ ส์ เช่น LED มอเตอร์ บซั เซอร์ เฟอื ง รอก ล้อ เพลา • อปุ กรณ์และเครอ่ื งมอื ในการสรา้ งชนิ้ งาน หรือพฒั นาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช ้ ใหถ้ ูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้งรูจ้ ัก เก็บรกั ษา ม.๓ ๑. วเิ คราะหส์ าเหตุ หรอื ปจั จัยที่ส่งผลตอ่ การ • เทคโนโลยมี กี ารเปลยี่ นแปลงตลอดเวลาตง้ั แตอ่ ดตี เปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี และความสมั พนั ธ์ จนถึงปจั จุบนั ซ่ึงมีสาเหตหุ รือปจั จัยมาจาก ของเทคโนโลยกี ับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะ หลายดา้ น เชน่ ปญั หาหรอื ความตอ้ งการของมนษุ ย์ วทิ ยาศาสตร์ หรือคณติ ศาสตร์ เพ่ือเปน็ แนวทาง ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ า่ ง ๆ การเปลย่ี นแปลง การแกป้ ัญหาหรือพัฒนางาน ทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม สงิ่ แวดลอ้ ม • เทคโนโลยมี คี วามสมั พนั ธก์ บั ศาสตรอ์ นื่ โดยเฉพาะ วทิ ยาศาสตร์ โดยวิทยาศาสตรเ์ ป็นพน้ื ฐานความรู้ ท่ีนำไปสกู่ ารพัฒนาเทคโนโลยี และเทคโนโลยที ่ี ไดส้ ามารถเป็นเครอื่ งมือที่ใช้ในการศึกษา คน้ คว้า เพ่อื ให้ไดม้ าซึ่งองคค์ วามรูใ้ หม ่ 108 ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๒. ระบปุ ัญหาหรอื ความต้องการของชุมชนหรอื • ปัญหาหรอื ความตอ้ งการอาจพบได้ในงานอาชีพ ท้องถนิ่ เพือ่ พัฒนางานอาชีพ สรปุ กรอบของ ของชุมชนหรอื ทอ้ งถ่ิน ซึ่งอาจมหี ลายดา้ น เชน่ ปัญหา รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มูลและแนวคดิ ดา้ นการเกษตร อาหาร พลงั งาน การขนสง่ ทีเ่ ก่ียวข้องกับปญั หา โดยคำนงึ ถึงความถูกตอ้ ง • การวเิ คราะหส์ ถานการณป์ ัญหาชว่ ยให้เขา้ ใจ ด้านทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา เงื่อนไขและกรอบของปัญหาได้ชัดเจน จากนัน้ ดำเนนิ การสืบคน้ รวบรวมขอ้ มลู ความร ู้ จากศาสตร์ต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง เพ่ือนำไปส ่ ู การออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หา ๓. ออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา โดยวเิ คราะห์ • การวเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ และตดั สนิ ใจเลอื ก เปรยี บเทียบ และตัดสนิ ใจเลอื กขอ้ มูลท่ีจำเป็น ข้อมลู ทจี่ ำเป็น โดยคำนงึ ถึงทรพั ยส์ ินทางปัญญา ภายใตเ้ งื่อนไขและทรพั ยากรทีม่ ีอยู่ นำเสนอ เงอื่ นไขและทรพั ยากร เช่น งบประมาณ เวลา แนวทางการแก้ปญั หาให้ผอู้ ืน่ เขา้ ใจด้วยเทคนิค ขอ้ มูลและสารสนเทศ วัสดุ เครือ่ งมือและอปุ กรณ์ หรอื วิธกี ารทหี่ ลากหลาย วางแผนข้ันตอน ชว่ ยใหไ้ ด้แนวทางการแก้ปัญหาทเ่ี หมาะสม การทำงานและดำเนินการแก้ปญั หาอยา่ งเปน็ • การออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหาทำได ้ ขน้ั ตอน หลากหลายวธิ ี เชน่ การรา่ งภาพ การเขยี นแผนภาพ การเขียนผังงาน • เทคนิคหรือวธิ ีการในการนำเสนอแนวทาง การแก้ปญั หามหี ลากหลาย เชน่ การใช้แผนภูมิ ตาราง ภาพเคล่อื นไหว • การกำหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการทำงาน ก่อนดำเนินการแกป้ ัญหาจะชว่ ยใหก้ ารทำงาน สำเรจ็ ได้ตามเปา้ หมาย และลดขอ้ ผดิ พลาด ของการทำงานท่ีอาจเกดิ ขึ้น ๔. ทดสอบ ประเมินผล วเิ คราะห์ และใหเ้ หตผุ ล • การทดสอบและประเมนิ ผลเป็นการตรวจสอบ ของปัญหาหรือข้อบกพรอ่ งท่ีเกดิ ขน้ึ ภายใต้ ชนิ้ งานหรอื วธิ ีการวา่ สามารถแก้ปัญหาได้ตาม กรอบเง่ือนไข พร้อมทัง้ หาแนวทางการปรับปรุง วตั ถุประสงค์ภายใต้กรอบของปญั หา เพือ่ หา แกไ้ ข และนำเสนอผลการแกป้ ัญหา ข้อบกพรอ่ ง และดำเนินการปรับปรุง โดยอาจ ทดสอบซ้ำเพื่อให้สามารถแกไ้ ขปญั หาได้ • การนำเสนอผลงานเป็นการถา่ ยทอดแนวคดิ เพือ่ ใหผ้ ู้อื่นเขา้ ใจเก่ียวกบั กระบวนการทำงาน และชนิ้ งานหรอื วธิ กี ารทไ่ี ด้ ซึง่ สามารถทำได้ หลายวธิ ี เช่น การเขียนรายงาน การทำแผ่น นำเสนอผลงาน การจดั นทิ รรศการ การนำเสนอ ผา่ นสื่อออนไลน ์ ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 109 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๕. ใช้ความรู้ และทกั ษะเกย่ี วกับวสั ดุ อปุ กรณ์ • วัสดแุ ตล่ ะประเภทมสี มบัติแตกตา่ งกัน เชน่ ไม้ เครือ่ งมอื กลไก ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ์ โลหะ พลาสติก เซรามิก จงึ ตอ้ งมีการวิเคราะห์ ให้ถกู ตอ้ งกบั ลักษณะของงาน และปลอดภยั สมบัติเพอ่ื เลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกับลกั ษณะ เพือ่ แกป้ ญั หาหรือพัฒนางาน ของงาน • การสรา้ งช้นิ งานอาจใช้ความรู้ เรือ่ งกลไก ไฟฟ้า อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เชน่ LED LDR มอเตอร์ เฟอื ง คาน รอก ลอ้ เพลา • อุปกรณ์และเคร่อื งมือในการสร้างชิน้ งาน หรือพัฒนาวธิ กี ารมีหลายประเภท ตอ้ งเลือกใช ้ ใหถ้ ูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั รวมท้ังรู้จัก เกบ็ รกั ษา ม.๔ ๑. วเิ คราะหแ์ นวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี ความสมั พนั ธ์ • ระบบทางเทคโนโลยี เปน็ กลมุ่ ของสว่ นตา่ ง ๆ ตง้ั แต่ กบั ศาสตร์อ่นื โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ สองสว่ นขน้ึ ไปประกอบเข้าดว้ ยกนั และทำงาน คณิตศาสตร์ รวมทง้ั ประเมนิ ผลกระทบท ่ี รว่ มกนั เพอ่ื ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ โดยในการทำงาน จะเกดิ ขน้ึ ตอ่ มนษุ ย์ สงั คม เศรษฐกิจ และ ของระบบทางเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วย สง่ิ แวดลอ้ ม เพ่อื เปน็ แนวทางในการพฒั นา ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และ เทคโนโลยี ผลผลติ (output) ท่สี ัมพนั ธ์กันนอกจากน ี้ ระบบทางเทคโนโลยีอาจมีข้อมูลยอ้ นกลบั (feedback) เพือ่ ใช้ปรบั ปรงุ การทำงานไดต้ าม วัตถุประสงค์ โดยระบบทางเทคโนโลยีอาจมี ระบบยอ่ ยหลายระบบ (sub-systems) ที่ทำงาน สมั พันธก์ ันอยู่ และหากระบบยอ่ ยใดทำงาน ผิดพลาดจะสง่ ผลต่อการทำงานของระบบอ่นื ดว้ ย • เทคโนโลยมี กี ารเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา ตง้ั แต่ อดีตจนถึงปจั จุบนั ซ่ึงมสี าเหตหุ รือปัจจยั มาจากหลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหนา้ ของศาสตร์ตา่ ง ๆ เศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม ส่งิ แวดลอ้ ม 110 ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๒. ระบุปญั หาหรอื ความตอ้ งการท่ีมผี ลกระทบต่อ • ปญั หาหรือความตอ้ งการท่ีมผี ลกระทบตอ่ สังคม สังคม รวบรวม วิเคราะหข์ อ้ มูลและแนวคดิ เช่น ปัญหาด้านการเกษตร อาหาร พลงั งาน ทเี่ กีย่ วข้องกบั ปัญหาทีม่ ีความซบั ซ้อน การขนสง่ สขุ ภาพและการแพทย์ การบรกิ าร เพือ่ สังเคราะหว์ ธิ ีการ เทคนิคในการแก้ปญั หา ซง่ึ แตล่ ะด้านอาจมีไดห้ ลากหลายปัญหา โดยคำนึงถึงความถกู ตอ้ งดา้ นทรพั ยส์ ินทาง • การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ปัญหาโดยอาจใชเ้ ทคนิค ปัญญา หรอื วิธีการวเิ คราะห์ทห่ี ลากหลาย ชว่ ยใหเ้ ข้าใจ เงื่อนไขและกรอบของปญั หาไดช้ ัดเจน จากนัน้ ดำเนนิ การสืบคน้ รวบรวมข้อมลู ความร้จู าก ศาสตรต์ า่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง เพอื่ นำไปสกู่ ารออกแบบ แนวทางการแก้ปัญหา ๓. ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา โดยวเิ คราะห์ • การวเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ และตดั สนิ ใจเลอื กขอ้ มลู เปรียบเทียบ และตัดสนิ ใจเลอื กขอ้ มูลท่จี ำเปน็ ท่จี ำเปน็ โดยคำนึงถงึ ทรพั ย์สนิ ทางปัญญา ภายใตเ้ งื่อนไขและทรพั ยากรท่มี ีอยู่ นำเสนอ เงือ่ นไขและทรัพยากร เช่น งบประมาณ เวลา แนวทางการแกป้ ญั หาใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจดว้ ยเทคนิค ขอ้ มูลและสารสนเทศ วัสดุ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ หรอื วิธกี ารทหี่ ลากหลาย โดยใช้ซอฟตแ์ วร์ ช่วยใหไ้ ดแ้ นวทางการแก้ปญั หาทเี่ หมาะสม ชว่ ยในการออกแบบ วางแผนขน้ั ตอนการทำงาน • การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทำได ้ และดำเนินการแก้ปัญหา หลากหลายวธิ ี เชน่ การรา่ งภาพ การเขยี นแผนภาพ การเขียนผงั งาน • ซอฟตแ์ วรช์ ่วยในการออกแบบและนำเสนอ มหี ลากหลายชนิดจงึ ตอ้ งเลอื กใชใ้ ห้เหมาะกบั งาน • การกำหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการทำงาน ก่อนดำเนินการแก้ปัญหาจะชว่ ยให้การทำงาน สำเร็จได้ตามเปา้ หมาย และลดข้อผดิ พลาดของ การทำงานทีอ่ าจเกดิ ขึน้ ๔. ทดสอบ ประเมินผล วเิ คราะห์ และให้เหตุผล • การทดสอบและประเมินผลเปน็ การตรวจสอบ ของปญั หาหรอื ขอ้ บกพร่องทเี่ กิดขน้ึ ภายใต้ ช้นิ งานหรอื วิธกี ารว่าสามารถแกป้ ญั หาได้ตาม กรอบเงื่อนไข หาแนวทางการปรบั ปรุงแกไ้ ข วตั ถุประสงคภ์ ายใตก้ รอบของปญั หา เพ่ือหา และนำเสนอผลการแก้ปัญหา พรอ้ มท้ังเสนอ ข้อบกพรอ่ ง และดำเนนิ การปรับปรุง โดยอาจ แนวทางการพัฒนาตอ่ ยอด ทดสอบซ้ำเพอ่ื ใหส้ ามารถแก้ไขปญั หาไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ • การนำเสนอผลงานเปน็ การถา่ ยทอดแนวคิด เพอื่ ให้ผอู้ ื่นเข้าใจเกยี่ วกับกระบวนการทำงาน และชน้ิ งานหรือวิธกี ารท่ไี ด้ ซึ่งสามารถทำได้ หลายวธิ ี เช่น การทำแผน่ นำเสนอผลงาน การจัด นิทรรศการ การนำเสนอผา่ นสอื่ ออนไลน์ หรือ การนำเสนอตอ่ ภาคธุรกิจ เพื่อการพัฒนาตอ่ ยอด สู่งานอาชีพ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 111 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๕. ใช้ความรแู้ ละทักษะเก่ยี วกับวัสดุ อปุ กรณ์ • วสั ดแุ ตล่ ะประเภทมสี มบัตแิ ตกต่างกัน เชน่ เครื่องมอื กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส ์ ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึงตอ้ งมกี ารวิเคราะหส์ มบตั ิ และเทคโนโลยที ่ีซบั ซอ้ นในการแก้ปญั หา เพื่อเลือกใช้ใหเ้ หมาะสมกับลกั ษณะของงาน หรอื พัฒนางาน ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม • การสร้างชนิ้ งานอาจใช้ความรู้ เร่ืองกลไก ไฟฟ้า และปลอดภยั อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เช่น LDR sensor เฟอื ง รอก คาน วงจรสำเร็จรูป ม.๕ ๑. ประยุกตใ์ ช้ความรแู้ ละทักษะจากศาสตรต์ า่ ง ๆ • อุปกรณ์และเครือ่ งมือในการสร้างชิ้นงาน หรือ รวมทง้ั ทรพั ยากรในการทำโครงงานเพอ่ื แกป้ ญั หา พฒั นาวิธกี ารมีหลายประเภท ตอ้ งเลอื กใช ้ หรอื พัฒนางาน ใหถ้ กู ต้อง เหมาะสม และปลอดภยั รวมทงั้ รู้จักเก็บรกั ษา ม.๖ - • การทำโครงงาน เป็นการประยกุ ตใ์ ช้ความร ู้ และทกั ษะจากศาสตร์ตา่ ง ๆ รวมทั้งทรพั ยากร ในการสรา้ งหรอื พฒั นาชน้ิ งานหรือวิธกี าร เพอื่ แกป้ ัญหาหรอื อำนวยความสะดวกในการทำงาน • การทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี สามารถดำเนนิ การได้ โดยเริ่มจาก การสำรวจ สถานการณป์ ัญหาที่สนใจ เพอื่ กำหนดหวั ข้อ โครงงาน แลว้ รวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กบั ปญั หา ออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หา วางแผน และดำเนนิ การแกป้ ัญหา ทดสอบ ประเมินผล ปรบั ปรงุ แกไ้ ขวิธีการแก้ปญั หาหรือช้นิ งาน และ นำเสนอวธิ ีการแก้ปญั หา - 112 ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม ช้ัน ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. แก้ปัญหาอย่างงา่ ยโดยใช้การลองผิดลองถูก • การแก้ปัญหาให้ประสบความสำเร็จทำได้โดยใช้ การเปรยี บเทยี บ ข้นั ตอนการแก้ปัญหา • ปญั หาอยา่ งง่าย เชน่ เกมเขาวงกต เกมหา จดุ แตกตา่ งของภาพ การจดั หนงั สือใส่กระเปา๋ ๒. แสดงลำดบั ขนั้ ตอนการทำงานหรอื การแกป้ ญั หา • การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหา ทำไดโ้ ดยการ อยา่ งง่ายโดยใชภ้ าพ สญั ลักษณ์ หรอื ข้อความ เขียน บอกเลา่ วาดภาพ หรอื ใช้สญั ลักษณ ์ • ปัญหาอย่างงา่ ย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุด แตกตา่ งของภาพ การจัดหนังสอื ใส่กระเปา๋ ๓. เขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใชซ้ อฟตแ์ วร ์ • การเขยี นโปรแกรมเป็นการสร้างลำดับของคำสงั่ หรอื สื่อ ให้คอมพวิ เตอรท์ ำงาน • ตัวอยา่ งโปรแกรม เชน่ เขยี นโปรแกรมสงั่ ให้ ตวั ละครยา้ ยตำแหนง่ ยอ่ ขยายขนาด เปลยี่ นรปู รา่ ง • ซอฟต์แวรห์ รอื สอ่ื ท่ใี ช้ในการเขียนโปรแกรม เชน่ ใช้บัตรคำสัง่ แสดงการเขียนโปรแกรม, Code.org ๔. ใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ ง จัดเก็บ เรยี กใช้ขอ้ มลู • การใช้งานอปุ กรณเ์ ทคโนโลยีเบ้ืองตน้ เช่น การใช้ ตามวัตถุประสงค์ เมาส์ คีย์บอร์ด จอสมั ผัส การเปิด-ปิด อปุ กรณ์ เทคโนโลย ี • การใช้งานซอฟตแ์ วรเ์ บอื้ งตน้ เช่น การเขา้ และ ออกจากโปรแกรม การสรา้ งไฟล์ การจัดเก็บ การเรยี กใช้ไฟล์ ทำได้ในโปรแกรม เช่น โปรแกรม ประมวลคำ โปรแกรมกราฟิก โปรแกรมนำเสนอ • การสรา้ งและจดั เกบ็ ไฟลอ์ ยา่ งเป็นระบบจะทำให้ เรยี กใช้ คน้ หาขอ้ มูลไดง้ า่ ยและรวดเร็ว ๕. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั ปฏบิ ัติ • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั เชน่ ตามข้อตกลงในการใชค้ อมพวิ เตอรร์ ว่ มกนั ดูแล ร้จู ักข้อมูลสว่ นตวั อันตรายจากการเผยแพร่ รกั ษาอุปกรณเ์ บื้องตน้ ใชง้ านอย่างเหมาะสม ข้อมูลสว่ นตัว และไมบ่ อกขอ้ มลู สว่ นตวั กับ บุคคลอน่ื ยกเวน้ ผู้ปกครองหรอื ครู แจง้ ผู้เกี่ยวขอ้ ง เม่ือต้องการความช่วยเหลอื เกีย่ วกบั การใช้งาน ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 113 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ชนั้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง • ข้อปฏบิ ัติในการใช้งานและการดแู ลรกั ษาอุปกรณ์ เช่น ไมข่ ีดเขียนบนอปุ กรณ์ ทำความสะอาด ใชอ้ ุปกรณ์อยา่ งถกู วธิ ี • การใชง้ านอย่างเหมาะสม เชน่ จดั ทา่ นั่งให้ถูกต้อง การพักสายตาเมอื่ ใช้อุปกรณ์เป็นเวลานาน ระมัดระวงั อบุ ตั ิเหตุจากการใช้งาน ป.๒ ๑. แสดงลำดบั ขนั้ ตอนการทำงานหรอื การแกป้ ญั หา • การแสดงขนั้ ตอนการแกป้ ญั หา ทำไดโ้ ดยการเขยี น อย่างงา่ ยโดยใชภ้ าพ สญั ลักษณ์ หรือข้อความ บอกเล่า วาดภาพ หรอื ใชส้ ญั ลักษณ์ • ปัญหาอยา่ งง่าย เช่น เกมตวั ตอ่ ๖-๑๒ ช้ิน การแตง่ ตวั มาโรงเรยี น ๒. เขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใชซ้ อฟต์แวร์ • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมสัง่ ให ้ หรอื สอ่ื และตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม ตวั ละครทำงานตามท่ตี อ้ งการ และตรวจสอบ ขอ้ ผดิ พลาด ปรับแก้ไขให้ไดผ้ ลลัพธต์ ามทก่ี ำหนด • การตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด ทำไดโ้ ดยตรวจสอบคำสงั่ ท่ีแจ้งขอ้ ผดิ พลาด หรอื หากผลลพั ธไ์ มเ่ ปน็ ไปตาม ท่ีตอ้ งการใหต้ รวจสอบการทำงานทีละคำสั่ง • ซอฟต์แวร์หรือสอื่ ที่ใชใ้ นการเขยี นโปรแกรม เช่น ใช้บตั รคำสง่ั แสดงการเขยี นโปรแกรม, Code.org ๓. ใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ ง จดั หมวดหมู่ ค้นหา • การใชง้ านซอฟต์แวรเ์ บ้อื งตน้ เชน่ การเขา้ จัดเกบ็ เรียกใช้ขอ้ มูลตามวัตถปุ ระสงค ์ และออกจากโปรแกรม การสรา้ งไฟล์ การจดั เก็บ การเรยี กใช้ไฟล์ การแก้ไขตกแตง่ เอกสาร ทำได้ ในโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคำ โปรแกรมกราฟกิ โปรแกรมนำเสนอ • การสรา้ ง คัดลอก ย้าย ลบ เปล่ียนชอื่ จดั หมวด หมไู่ ฟล์ และโฟลเดอรอ์ ยา่ งเปน็ ระบบจะทำให้ เรียกใช้ คน้ หาขอ้ มูลไดง้ ่ายและรวดเร็ว ๔. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ปฏิบัติ • การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย เชน่ ตามข้อตกลงในการใชค้ อมพิวเตอร์รว่ มกนั ดูแล ร้จู กั ข้อมูลสว่ นตวั อนั ตรายจากการเผยแพร่ รักษาอุปกรณ์เบอ้ื งตน้ ใช้งานอย่างเหมาะสม ขอ้ มูลสว่ นตัว และไมบ่ อกขอ้ มูลส่วนตวั กบั บุคคล อ่นื ยกเวน้ ผปู้ กครองหรือครู แจง้ ผเู้ กย่ี วขอ้ งเมื่อ ตอ้ งการความช่วยเหลอื เกีย่ วกับการใช้งาน • ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นการใช้งานและการดแู ลรักษาอปุ กรณ์ เชน่ ไม่ขดี เขียนบนอปุ กรณ์ ทำความสะอาด ใช้อุปกรณ์อยา่ งถกู วิธ ี 114 ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง • การใชง้ านอยา่ งเหมาะสม เชน่ จดั ท่าน่ังใหถ้ กู ต้อง การพกั สายตาเมอื่ ใชอ้ ปุ กรณเ์ ป็นเวลานาน ระมดั ระวังอบุ ัติเหตจุ ากการใชง้ าน ป.๓ ๑. แสดงอลั กอรทิ มึ ในการทำงานหรอื การแกป้ ญั หา • อลั กอรทิ มึ เปน็ ขัน้ ตอนทีใ่ ชใ้ นการแกป้ ญั หา อยา่ งง่ายโดยใชภ้ าพ สญั ลกั ษณ์ หรอื ข้อความ • การแสดงอลั กอรทิ มึ ทำได้โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ หรอื ใชส้ ญั ลักษณ์ • ตวั อย่างปัญหา เช่น เกมเศรษฐี เกมบันไดง ู เกม Tetris เกม OX การเดินไปโรงอาหาร การทำความสะอาดห้องเรียน ๒. เขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใชซ้ อฟตแ์ วร ์ • การเขยี นโปรแกรมเป็นการสร้างลำดบั ของคำสั่ง หรอื สอ่ื และตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม ใหค้ อมพวิ เตอร์ทำงาน • ตัวอยา่ งโปรแกรม เช่น เขยี นโปรแกรมทสี่ ง่ั ให้ ตัวละครทำงานซำ้ ไม่สิ้นสุด • การตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด ทำไดโ้ ดยตรวจสอบคำสงั่ ทีแ่ จง้ ขอ้ ผิดพลาด หรอื หากผลลัพธ์ไม่เป็นไปตาม ท่ตี อ้ งการใหต้ รวจสอบการทำงานทลี ะคำส่ัง • ซอฟตแ์ วร์หรอื สอ่ื ทใ่ี ช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น ใชบ้ ตั รคำสง่ั แสดงการเขยี นโปรแกรม, Code.org ๓. ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ ค้นหาความรู้ • อนิ เทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดใหญช่ ว่ ยให ้ การตดิ ต่อส่ือสารทำไดส้ ะดวกและรวดเรว็ และเป็นแหลง่ ข้อมูลความรทู้ ่ชี ่วยในการเรยี น และการดำเนนิ ชีวิต • เว็บเบราวเ์ ซอร์เปน็ โปรแกรมสำหรบั อา่ นเอกสาร บนเว็บเพจ • การสบื ค้นขอ้ มูลบนอินเทอรเ์ น็ต ทำได้โดยใช้ เว็บไซต์สำหรับสืบค้น และต้องกำหนดคำค้น ทเี่ หมาะสมจงึ จะได้ข้อมลู ตามต้องการ • ข้อมลู ความรู้ เช่น วิธที ำอาหาร วธิ ีพบั กระดาษ เปน็ รูปตา่ ง ๆ ขอ้ มลู ประวตั ิศาสตรช์ าติไทย (อาจเป็นความร้ใู นวชิ าอื่น ๆ หรอื เร่อื งท่เี ปน็ ประเดน็ ท่ีสนใจในชว่ งเวลาน้นั ) • การใชอ้ ินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ ในการดแู ลของครู หรือผ้ปู กครอง ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 115 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๔. รวบรวม ประมวลผล และนำเสนอขอ้ มูล โดยใช้ • การรวบรวมข้อมูล ทำไดโ้ ดยกำหนดหวั ข้อ ซอฟตแ์ วร์ตามวัตถุประสงค์ ที่ต้องการ เตรียมอุปกรณใ์ นการจดบนั ทึก • การประมวลผลอยา่ งงา่ ย เช่น เปรยี บเทียบ จดั กลุม่ เรียงลำดบั • การนำเสนอขอ้ มูลทำไดห้ ลายลกั ษณะตาม ความเหมาะสม เช่น การบอกเล่า การทำเอกสาร รายงาน การจดั ทำป้ายประกาศ • การใช้ซอฟต์แวร์ทำงานตามวัตถุประสงค์ เชน่ ใช้ซอฟต์แวรน์ ำเสนอ หรอื ซอฟต์แวรก์ ราฟกิ สร้างแผนภมู ริ ูปภาพ ใชซ้ อฟต์แวร์ประมวลคำ ทำป้ายประกาศหรือเอกสารรายงาน ใช้ ซอฟตแ์ วร์ตารางทำงานในการประมวลผลข้อมลู ๕. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั ปฏบิ ตั ิ • การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เชน่ ตามขอ้ ตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ต ปกป้องข้อมลู ส่วนตวั • ขอความช่วยเหลือจากครูหรือผู้ปกครอง เม่ือ เกิดปญั หาจากการใชง้ าน เมือ่ พบขอ้ มูลหรอื บคุ คลทที่ ำใหไ้ ม่สบายใจ • การปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงในการใช้อินเทอรเ์ น็ต จะทำให้ไมเ่ กิดความเสยี หายตอ่ ตนเองและผู้อนื่ เช่น ไมใ่ ชค้ ำหยาบ ล้อเลียน ด่าทอ ทำให้ผูอ้ น่ื เสียหายหรือเสยี ใจ • ข้อดแี ละขอ้ เสียในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอ่ื สาร ป.๔ ๑. ใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบาย • การใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะเป็นการนำกฎเกณฑ์ การทำงาน การคาดการณ์ผลลพั ธ์ จากปัญหา หรือเง่ือนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณา อย่างงา่ ย ในการแกป้ ญั หา การอธิบายการทำงาน หรอื การคาดการณ์ผลลพั ธ ์ • สถานะเร่มิ ตน้ ของการทำงานท่ีแตกตา่ งกันจะให้ ผลลพั ธ์ท่แี ตกตา่ งกนั • ตวั อย่างปัญหา เช่น เกม OX โปรแกรมทม่ี ี การคำนวณ โปรแกรมทมี่ ตี วั ละครหลายตวั และมีการสงั่ งานทีแ่ ตกต่างหรอื มีการสอ่ื สาร ระหว่างกนั การเดินทางไปโรงเรียน โดยวธิ กี าร ต่าง ๆ 116 ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใช้ • การออกแบบโปรแกรมอยา่ งงา่ ย เชน่ การออกแบบ ซอฟต์แวรห์ รือส่ือ และตรวจหาข้อผิดพลาด โดยใช้ storyboard หรือการออกแบบอัลกอริทมึ และแกไ้ ข • การเขียนโปรแกรมเปน็ การสรา้ งลำดบั ของคำสั่ง ให้คอมพิวเตอรท์ ำงาน เพอ่ื ให้ได้ผลลัพธ์ตาม ความตอ้ งการ หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบ การทำงานทลี ะคำสงั่ เมื่อพบจุดทที่ ำให้ผลลพั ธ์ ไม่ถกู ต้อง ใหท้ ำการแก้ไขจนกว่าจะไดผ้ ลลัพธ์ ทีถ่ กู ตอ้ ง • ตัวอยา่ งโปรแกรมท่มี ีเรือ่ งราว เชน่ นทิ านท่ีมี การโตต้ อบกบั ผใู้ ช้ การต์ นู สนั้ เลา่ กจิ วตั รประจำวนั ภาพเคลือ่ นไหว • การฝกึ ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดจากโปรแกรมของผอู้ น่ื จะชว่ ยพฒั นาทกั ษะการหาสาเหตุของปัญหาไดด้ ี ยง่ิ ข้นึ • ซอฟตแ์ วร์ทใ่ี ชใ้ นการเขียนโปรแกรม เชน่ Scratch, logo ๓. ใชอ้ ินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ และประเมนิ • การใช้คำค้นทตี่ รงประเด็น กระชับ จะทำให้ได้ ความน่าเช่อื ถือของข้อมลู ผลลัพธท์ ่รี วดเรว็ และตรงตามความตอ้ งการ • การประเมินความนา่ เช่อื ถอื ของขอ้ มูล เชน่ พิจารณาประเภทของเว็บไซต์ (หน่วยงานราชการ สำนกั ขา่ ว องค์กร) ผเู้ ขยี น วันท่ีเผยแพร่ขอ้ มูล การอ้างองิ • เม่อื ได้ขอ้ มูลที่ตอ้ งการจากเวบ็ ไซตต์ า่ ง ๆ จะต้อง นำเนอื้ หามาพิจารณา เปรยี บเทียบ แลว้ เลอื ก ข้อมูลทมี่ ีความสอดคล้องและสัมพนั ธ์กัน • การทำรายงานหรือการนำเสนอข้อมูลจะตอ้ ง นำขอ้ มูลมาเรยี บเรยี ง สรุป เป็นภาษาของตนเอง ทเ่ี หมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมายและวธิ กี ารนำเสนอ (บูรณาการกับวิชาภาษาไทย) ๔. รวบรวม ประเมนิ นำเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ • การรวบรวมข้อมลู ทำได้โดยกำหนดหัวข้อ โดยใช้ซอฟตแ์ วร์ทห่ี ลากหลาย เพอื่ แก้ปัญหา ทีต่ อ้ งการ เตรยี มอปุ กรณ์ในการจดบนั ทกึ ในชวี ติ ประจำวนั • การประมวลผลอย่างงา่ ย เชน่ เปรียบเทยี บ จดั กลุ่ม เรียงลำดับ การหาผลรวม ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 117 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชั้น ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง • วิเคราะห์ผลและสรา้ งทางเลือกท่ีเปน็ ไปได้ ประเมินทางเลือก (เปรียบเทยี บ ตดั สนิ ) • การนำเสนอข้อมูลทำได้หลายลกั ษณะตามความ เหมาะสม เชน่ การบอกเลา่ เอกสารรายงาน โปสเตอร์ โปรแกรมนำเสนอ • การใชซ้ อฟตแ์ วร์เพือ่ แกป้ ัญหาในชวี ิตประจำวนั เชน่ การสำรวจเมนูอาหารกลางวนั โดยใช้ ซอฟตแ์ วร์สรา้ งแบบสอบถามและเกบ็ ขอ้ มูล ใช้ ซอฟต์แวรต์ ารางทำงานเพือ่ ประมวลผลข้อมลู รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับคุณค่าทางโภชนาการและ สรา้ งรายการอาหารสำหรับ ๕ วนั ใชซ้ อฟตแ์ วร์ นำเสนอผลการสำรวจรายการอาหารที่เป็น ทางเลือกและขอ้ มลู ดา้ นโภชนาการ ๕. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เข้าใจ • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เขา้ ใจ สทิ ธิและหน้าท่ขี องตน เคารพในสิทธขิ องผอู้ ่ืน สทิ ธแิ ละหนา้ ท่ขี องตน เคารพในสทิ ธิของผู้อ่ืน แจง้ ผเู้ กีย่ วข้องเมอ่ื พบข้อมลู หรือบคุ คลท ี่ เชน่ ไม่สร้างข้อความเท็จและส่งใหผ้ ู้อน่ื ไม่สร้าง ไม่เหมาะสม ความเดือดรอ้ นตอ่ ผอู้ ืน่ โดยการสง่ สแปม ขอ้ ความลกู โซ่ สง่ ตอ่ โพสตท์ มี่ ขี อ้ มลู สว่ นตวั ของผอู้ นื่ ส่งคำเชิญเล่นเกม ไม่เข้าถึงข้อมลู สว่ นตัวหรือ การบา้ นของบคุ คลอืน่ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต ไม่ใช้ เครือ่ งคอมพวิ เตอร/์ ชือ่ บัญชีของผูอ้ ่ืน • การสื่อสารอยา่ งมมี ารยาทและร้กู าลเทศะ • การปกปอ้ งข้อมลู ส่วนตวั เช่น การออกจากระบบ เม่ือเลกิ ใช้งาน ไมบ่ อกรหัสผา่ น ไมบ่ อกเลข ประจำตวั ประชาชน ป.๕ ๑. ใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะในการแกป้ ญั หา การอธิบาย • การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนำกฎเกณฑ์ หรอื การทำงาน การคาดการณ์ผลลพั ธ์ จากปญั หา เงอื่ นไขที่ครอบคลมุ ทกุ กรณมี าใช้พจิ ารณาในการ อย่างง่าย แกป้ ญั หา การอธบิ ายการทำงาน หรอื การคาดการณ์ ผลลพั ธ์ • สถานะเร่ิมตน้ ของการทำงานทแ่ี ตกตา่ งกันจะให้ ผลลพั ธ์ท่ีแตกตา่ งกัน • ตวั อย่างปญั หา เชน่ เกม Sudoku โปรแกรม ทำนายตวั เลข โปรแกรมสร้างรปู เรขาคณติ ตามคา่ ขอ้ มูลเขา้ การจดั ลำดบั การทำงานบา้ น ในช่วงวันหยุด จดั วางของในครัว 118 ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ๒. ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมทีม่ ีการใชเ้ หตุผล • การออกแบบโปรแกรมสามารถทำได้โดยเขียน เชงิ ตรรกะอย่างงา่ ย ตรวจหาขอ้ ผิดพลาด เป็นข้อความหรือผังงาน และแกไ้ ข • การออกแบบและเขยี นโปรแกรมทม่ี กี ารตรวจสอบ เง่อื นไขที่ครอบคลมุ ทกุ กรณีเพ่ือใหไ้ ด้ผลลัพธ ์ ๓. ใช้อินเทอรเ์ น็ตคน้ หาข้อมูล ตดิ ตอ่ สอื่ สาร ที่ถูกตอ้ งตรงตามความตอ้ งการ และทำงานรว่ มกัน ประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถอื • หากมขี ้อผดิ พลาดใหต้ รวจสอบการทำงาน ของขอ้ มูล ทีละคำสัง่ เมอื่ พบจดุ ท่ที ำใหผ้ ลลัพธ์ไม่ถูกตอ้ ง ใหท้ ำการแก้ไขจนกวา่ จะได้ผลลพั ธ์ที่ถกู ต้อง • การฝกึ ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดจากโปรแกรมของ ผอู้ น่ื จะชว่ ยพฒั นาทกั ษะการหาสาเหตุของ ปญั หาได้ดีย่ิงขนึ้ • ตวั อย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมตรวจสอบเลขคู่ เลขค่ี โปรแกรมรบั ข้อมลู น้ำหนกั หรือส่วนสูง แล้วแสดงผลความสมส่วนของรา่ งกาย โปรแกรม ส่งั ให้ตัวละครทำตามเง่อื นไขทก่ี ำหนด • ซอฟต์แวรท์ ่ใี ช้ในการเขยี นโปรแกรม เชน่ Scratch, logo • การคน้ หาขอ้ มลู ในอินเทอร์เนต็ และการพจิ ารณา ผลการคน้ หา • การตดิ ตอ่ สือ่ สารผา่ นอินเทอร์เนต็ เช่น อีเมล บล็อก โปรแกรมสนทนา • การเขียนจดหมาย (บรู ณาการกับวิชาภาษาไทย) • การใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ในการตดิ ตอ่ สอื่ สารและทำงาน รว่ มกนั เช่น ใชน้ ดั หมายในการประชุมกลุ่ม ประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรมในหอ้ งเรยี น การแลกเปลยี่ น ความรู้ ความคิดเห็นในการเรยี น ภายใต้การดแู ล ของคร ู • การประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถือของข้อมูล เชน่ เปรยี บเทยี บความสอดคลอ้ ง สมบรู ณข์ องขอ้ มลู จากหลายแหล่ง แหลง่ ตน้ ตอของขอ้ มูล ผ้เู ขยี น วันที่เผยแพรข่ ้อมลู • ข้อมลู ท่ดี ตี ้องมีรายละเอียดครบทุกดา้ น เช่น ข้อดี และขอ้ เสีย ประโยชนแ์ ละโทษ ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 119 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ชั้น ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๔. รวบรวม ประเมนิ นำเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ • การรวบรวมข้อมลู ประมวลผล สร้างทางเลือก ตามวัตถุประสงคโ์ ดยใช้ซอฟต์แวรห์ รือบริการ ประเมนิ ผล จะทำให้ได้สารสนเทศเพือ่ ใชใ้ นการ บนอินเทอรเ์ น็ตท่ีหลากหลาย เพ่อื แกป้ ญั หา แกป้ ญั หาหรอื การตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ในชีวติ ประจำวนั • การใช้ซอฟตแ์ วร์หรือบริการบนอนิ เทอรเ์ นต็ ที่หลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สรา้ งทางเลือก ประเมินผล นำเสนอ จะช่วยให้ การแกป้ ัญหาทำได้อยา่ งรวดเร็ว ถกู ต้อง และ แมน่ ยำ • ตวั อยา่ งปญั หา เชน่ ถ่ายภาพ และสำรวจแผนท่ี ในทอ้ งถน่ิ เพ่อื นำเสนอแนวทางในการจดั การ พนื้ ท่วี า่ งให้เกิดประโยชน์ ทำแบบสำรวจความ คดิ เหน็ ออนไลน์ และวเิ คราะหข์ อ้ มลู นำเสนอขอ้ มลู โดยการใช้ blog หรือ web page ๕. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มมี ารยาท • อันตรายจากการใช้งานและอาชญากรรม เขา้ ใจสทิ ธแิ ละหน้าที่ของตน เคารพในสิทธขิ อง ทางอินเทอร์เน็ต ผ้อู นื่ แจ้งผูเ้ กีย่ วขอ้ งเมอื่ พบขอ้ มูลหรอื บคุ คล • มารยาทในการติดต่อส่ือสารผา่ นอินเทอร์เนต็ ที่ไม่เหมาะสม (บรู ณาการกบั วชิ าท่เี กย่ี วขอ้ ง) ป.๖ ๑. ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการอธบิ ายและออกแบบ • การแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนจะชว่ ยใหแ้ กป้ ญั หา วธิ กี ารแก้ปญั หาท่พี บในชีวิตประจำวัน ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ • การใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะเปน็ การนำกฎเกณฑ์ หรือ เงอ่ื นไขที่ครอบคลุมทุกกรณมี าใช้พจิ ารณา ในการแกป้ ัญหา • แนวคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเง่อื นไข • การพจิ ารณากระบวนการทำงานที่มกี ารทำงาน แบบวนซ้ำหรอื เงอ่ื นไขเปน็ วิธีการทจ่ี ะชว่ ย ใหก้ ารออกแบบวิธีการแก้ปัญหาเป็นไปอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ • ตวั อยา่ งปัญหา เช่น การคน้ หาเลขหน้าทต่ี ้องการ ให้เรว็ ทส่ี ุด การทายเลข ๑-๑,๐๐๐,๐๐๐ โดย ตอบใหถ้ ูกภายใน ๒๐ คำถาม การคำนวณเวลา ในการเดินทาง โดยคำนึงถึงระยะทาง เวลา จุดหยดุ พัก 120 ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๒. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย เพือ่ • การออกแบบโปรแกรมสามารถทำได้โดยเขียน แกป้ ญั หาในชวี ิตประจำวนั ตรวจหาข้อผิดพลาด เปน็ ขอ้ ความหรือผังงาน ของโปรแกรมและแกไ้ ข • การออกแบบและเขียนโปรแกรมทมี่ ีการใชต้ วั แปร การวนซำ้ การตรวจสอบเงื่อนไข • หากมขี อ้ ผดิ พลาดใหต้ รวจสอบการทำงานทลี ะ คำสั่ง เม่ือพบจุดท่ที ำให้ผลลพั ธ์ไมถ่ กู ต้อง ให้ทำการแกไ้ ขจนกวา่ จะได้ผลลพั ธท์ ่ีถูกต้อง • การฝกึ ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดจากโปรแกรมของ ผู้อนื่ จะชว่ ยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหา ไดด้ ยี ิง่ ข้ึน • ตวั อยา่ งโปรแกรม เชน่ โปรแกรมเกม โปรแกรม หาค่า ค.ร.น. เกมฝึกพิมพ์ • ซอฟต์แวรท์ ี่ใชใ้ นการเขยี นโปรแกรม เชน่ Scratch, logo ๓. ใช้อนิ เทอร์เน็ตในการคน้ หาข้อมลู อย่างมี • การค้นหาอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เป็นการค้นหา ประสทิ ธภิ าพ ขอ้ มลู ทีไ่ ดต้ รงตามความต้องการในเวลาทร่ี วดเร็ว จากแหลง่ ขอ้ มลู ทนี่ า่ เชอื่ ถอื หลายแหลง่ และขอ้ มลู มคี วามสอดคล้องกัน • การใชเ้ ทคนคิ การค้นหาขัน้ สงู เชน่ การใช ้ ตัวดำเนนิ การ การระบุรปู แบบของขอ้ มลู หรือชนดิ ของไฟล ์ • การจัดลำดับผลลพั ธจ์ ากการคน้ หาของโปรแกรม ค้นหา • การเรียบเรียง สรุปสาระสำคัญ (บูรณาการกับ วิชาภาษาไทย) ๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรว่ มกนั อย่าง • อันตรายจากการใชง้ านและอาชญากรรม ปลอดภัย เข้าใจสทิ ธแิ ละหน้าท่ีของตน เคารพ ทางอนิ เทอร์เนต็ แนวทางในการปอ้ งกัน ในสทิ ธิของผู้อนื่ แจง้ ผูเ้ กี่ยวข้องเม่ือพบข้อมลู • วิธีกำหนดรหสั ผ่าน หรอื บคุ คลทีไ่ ม่เหมาะสม • การกำหนดสิทธิก์ ารใชง้ าน (สิทธ์ใิ นการเข้าถงึ ) • แนวทางการตรวจสอบและป้องกันมลั แวร์ • อนั ตรายจากการตดิ ตงั้ ซอฟตแ์ วรท์ อี่ ยบู่ นอนิ เทอรเ์ นต็ ม.๑ ๑. ออกแบบอลั กอรทิ ึมที่ใช้แนวคิดเชิงนามธรรม • แนวคดิ เชงิ นามธรรม เปน็ การประเมนิ ความสำคญั เพือ่ แกป้ ญั หาหรืออธิบายการทำงานทพี่ บใน ของรายละเอียดของปัญหา แยกแยะส่วนทเี่ ปน็ ชวี ติ จรงิ สาระสำคญั ออกจากส่วนท่ีไม่ใชส่ าระสำคญั ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 121 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง • ตัวอย่างปัญหา เช่น ตอ้ งการปูหญ้าในสนาม ตามพน้ื ท่ที ก่ี ำหนด โดยหญา้ หนึ่งผืนมีความกวา้ ง ๕๐ เซนติเมตร ยาว ๕๐ เซนติเมตร จะใชห้ ญ้า ทงั้ หมดก่ผี ืน ๒. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย • การออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ีมีการใชต้ ัวแปร เพือ่ แกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรห์ รอื วิทยาศาสตร์ เงือ่ นไข วนซ้ำ • การออกแบบอัลกอรทิ มึ เพอื่ แก้ปัญหา ทางคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์อย่างง่าย อาจใช้ แนวคดิ เชงิ นามธรรมในการออกแบบ เพอ่ื ให ้ การแก้ปัญหามปี ระสทิ ธภิ าพ • การแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนจะชว่ ยใหแ้ กป้ ญั หา ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ • ซอฟตแ์ วรท์ ใี่ ชใ้ นการเขยี นโปรแกรม เชน่ Scratch, python, java, c • ตวั อยา่ งโปรแกรม เช่น โปรแกรมสมการ การเคลอ่ื นท่ี โปรแกรมคำนวณหาพ้นื ท่ี โปรแกรมคำนวณดัชนีมวลกาย ๓. รวบรวมขอ้ มลู ปฐมภมู ิ ประมวลผล ประเมินผล • การรวบรวมข้อมลู จากแหล่งข้อมลู ปฐมภมู ิ นำเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ ตามวตั ถปุ ระสงค์ ประมวลผล สรา้ งทางเลอื ก ประเมินผล จะทำให้ โดยใช้ซอฟตแ์ วร์ หรือบริการบนอนิ เทอร์เนต็ ไดส้ ารสนเทศเพ่อื ใช้ในการแก้ปัญหาหรอื การ ท่ีหลากหลาย ตดั สินใจได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ • การประมวลผลเป็นการกระทำกับขอ้ มูล เพื่อให้ ไดผ้ ลลัพธ์ที่มคี วามหมายและมีประโยชนต์ ่อ การนำไปใช้งาน สามารถทำได้หลายวธิ ี เช่น คำนวณอตั ราสว่ น คำนวณค่าเฉล่ยี • การใชซ้ อฟต์แวร์หรอื บรกิ ารบนอินเทอร์เนต็ ทีห่ ลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สรา้ งทางเลือก ประเมินผล นำเสนอ จะชว่ ยให้ แก้ปญั หาได้อย่างรวดเรว็ ถกู ตอ้ ง และแมน่ ยำ • ตัวอย่างปญั หา เน้นการบรู ณาการกับวชิ าอ่นื เชน่ ตม้ ไขใ่ หต้ รงกบั พฤตกิ รรมการบรโิ ภค คา่ ดชั น ี มวลกายของคนในท้องถิ่น การสรา้ งกราฟ ผลการทดลองและวเิ คราะหแ์ นวโน้ม 122 ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๔. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั ใช้ส่อื • ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น และแหลง่ ข้อมลู ตามขอ้ กำหนดและข้อตกลง การปกป้องความเปน็ สว่ นตวั และอตั ลักษณ ์ • การจดั การอัตลกั ษณ์ เชน่ การต้งั รหัสผา่ น การปกป้องข้อมูลสว่ นตัว • การพิจารณาความเหมาะสมของเนือ้ หา เช่น ละเมิดความเปน็ สว่ นตัวผู้อ่นื อนาจาร วจิ ารณ์ ผู้อืน่ อยา่ งหยาบคาย • ข้อตกลง ข้อกำหนดในการใชส้ ่ือหรือแหลง่ ขอ้ มูล ตา่ ง ๆ เชน่ Creative commons ม.๒ ๑. ออกแบบอลั กอรทิ มึ ที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณ • แนวคดิ เชิงคำนวณ ในการแกป้ ญั หา หรอื การทำงานทพ่ี บในชวี ติ จรงิ • การแกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณ • ตัวอยา่ งปัญหา เชน่ การเข้าแถวตามลำดับ ความสงู ให้เรว็ ท่ีสดุ จดั เรียงเส้อื ให้หาไดง้ า่ ยทสี่ ดุ ๒. ออกแบบและเขียนโปรแกรมทีใ่ ชต้ รรกะ • ตัวดำเนนิ การบลู ีน และฟงั ก์ชนั ในการแก้ปัญหา • ฟงั กช์ นั • การออกแบบและเขยี นโปรแกรมที่มีการใช้ตรรกะ และฟังก์ชนั • การออกแบบอัลกอริทมึ เพ่ือแก้ปญั หาอาจใช้ แนวคิดเชงิ คำนวณในการออกแบบ เพอื่ ให ้ การแก้ปญั หามปี ระสิทธภิ าพ • การแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนจะชว่ ยใหแ้ กป้ ญั หา ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ • ซอฟตแ์ วรท์ ใี่ ชใ้ นการเขยี นโปรแกรม เชน่ Scratch, python, java, c • ตัวอยา่ งโปรแกรม เชน่ โปรแกรมตัดเกรด หาคำตอบท้งั หมดของอสมการหลายตวั แปร ๓. อภิปรายองคป์ ระกอบและหลกั การทำงานของ • องคป์ ระกอบและหลกั การทำงานของระบบ ระบบคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีการส่ือสาร คอมพวิ เตอร ์ เพ่อื ประยุกต์ใชง้ านหรอื แก้ปญั หาเบ้ืองตน้ • เทคโนโลยกี ารสือ่ สาร • การประยกุ ตใ์ ช้งานและการแก้ปญั หาเบื้องตน้ ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 123 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มคี วาม • ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย โดยเลอื ก รับผดิ ชอบ สรา้ งและแสดงสทิ ธิในการเผยแพร่ แนวทางปฏิบัติเม่อื พบเนือ้ หาทไ่ี มเ่ หมาะสม เช่น ผลงาน แจง้ รายงานผู้เกยี่ วข้อง ปอ้ งกนั การเข้ามาของ ข้อมูลทไี่ มเ่ หมาะสม ไมต่ อบโต้ ไม่เผยแพร ่ • การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ เช่น ตระหนกั ถึงผลกระทบในการเผยแพร่ข้อมูล • การสรา้ งและแสดงสิทธคิ์ วามเป็นเจา้ ของผลงาน • การกำหนดสิทธกิ ารใชข้ ้อมูล ม.๓ ๑. พฒั นาแอปพลเิ คชันท่มี กี ารบูรณาการกับวชิ าอน่ื • ขัน้ ตอนการพัฒนาแอปพลิเคชนั อยา่ งสร้างสรรค์ • Internet of Things (IoT) • ซอฟต์แวรท์ ีใ่ ช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชนั เช่น Scratch, python, java, c, AppInventor • ตวั อย่างแอปพลิเคชนั เช่น โปรแกรมแปลง สกุลเงนิ โปรแกรมผนั เสยี งวรรณยกุ ต์ โปรแกรม จำลองการแบ่งเซลล์ ระบบรดน้ำอตั โนมัติ ๒. รวบรวมขอ้ มลู ประมวลผล ประเมนิ ผล นำเสนอ • การรวบรวมข้อมูลจากแหลง่ ข้อมลู ปฐมภมู ิและ ขอ้ มลู และสารสนเทศตามวัตถปุ ระสงค์ โดยใช้ ทุตยิ ภูมิ ประมวลผล สรา้ งทางเลือก ประเมนิ ผล ซอฟต์แวรห์ รือบรกิ ารบนอินเทอร์เน็ตท ่ี จะทำใหไ้ ดส้ ารสนเทศเพอื่ ใช้ในการแก้ปญั หา หลากหลาย หรอื การตัดสินใจได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ • การประมวลผลเปน็ การกระทำกบั ขอ้ มลู เพอื่ ใหไ้ ด้ ผลลพั ธท์ ี่มีความหมายและมีประโยชนต์ อ่ การ นำไปใชง้ าน • การใช้ซอฟต์แวรห์ รอื บรกิ ารบนอนิ เทอร์เนต็ ที่หลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สรา้ งทางเลือก ประเมินผล นำเสนอ จะชว่ ยให้ แกป้ ญั หาได้อย่างรวดเรว็ ถูกต้อง และแมน่ ยำ • ตัวอยา่ งปญั หา เชน่ การเลอื กโปรโมชันโทรศพั ท์ ใหเ้ หมาะกบั พฤติกรรมการใชง้ าน สินค้าเกษตร ทีต่ อ้ งการและสามารถปลกู ไดใ้ นสภาพดนิ ของ ทอ้ งถน่ิ ๓. ประเมนิ ความนา่ เช่อื ถอื ของขอ้ มูล วเิ คราะห์สื่อ • การประเมนิ ความน่าเชือ่ ถือของขอ้ มูล เชน่ และผลกระทบจากการให้ขา่ วสารท่ผี ดิ เพ่อื การ ตรวจสอบและยนื ยนั ข้อมลู โดยเทยี บเคียงจาก ใชง้ านอย่างรเู้ ท่าทนั ขอ้ มลู หลายแหลง่ แยกแยะขอ้ มลู ทเี่ ปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคิดเหน็ หรอื ใช้ PROMPT 124 ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง • การสืบคน้ หาแหล่งตน้ ตอของขอ้ มลู • เหตุผลวิบตั ิ (logical fallacy) • ผลกระทบจากขา่ วสารทผ่ี ดิ พลาด • การรเู้ ทา่ ทนั สอื่ เช่น การวเิ คราะห์ถงึ จุดประสงค์ ของข้อมลู และผู้ให้ขอ้ มลู ตีความ แยกแยะเนอื้ หา สาระของสือ่ เลอื กแนวปฏิบตั ิได้อยา่ งเหมาะสม เมอ่ื พบข้อมูลต่าง ๆ ๔. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั และมี • การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เชน่ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย การทำธรุ กรรมออนไลน์ การซือ้ สินคา้ เกีย่ วกับคอมพวิ เตอร์ ใช้ลิขสิทธิข์ องผอู้ ืน่ ซอ้ื ซอฟตแ์ วร์ คา่ บรกิ ารสมาชกิ ซื้อไอเท็ม โดยชอบธรรม • การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ เชน่ ไมส่ รา้ งขา่ วลวง ไมแ่ ชรข์ อ้ มลู โดยไมต่ รวจสอบ ขอ้ เทจ็ จรงิ • กฎหมายเกีย่ วกับคอมพวิ เตอร์ • การใชล้ ขิ สิทธิ์ของผอู้ ืน่ โดยชอบธรรม (fair use) ม.๔ ๑. ประยกุ ต์ใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการพฒั นา • การพฒั นาโครงงาน โครงงานทมี่ ีการบรู ณาการกบั วิชาอื่น • การนำแนวคิดเชงิ คำนวณไปพัฒนาโครงงาน อย่างสรา้ งสรรค์ และเชอื่ มโยงกับชวี ิตจรงิ ทีเ่ กี่ยวกับชีวติ ประจำวัน เชน่ การจดั การพลงั งาน อาหาร การเกษตร การตลาด การค้าขาย การทำธรุ กรรม สขุ ภาพ และส่งิ แวดล้อม • ตัวอยา่ งโครงงาน เช่น ระบบดูแลสขุ ภาพ ระบบ อตั โนมัตคิ วบคมุ การปลูกพชื ระบบจัดเส้นทาง การขนสง่ ผลผลติ ระบบแนะนำการใชง้ านหอ้ งสมดุ ทีม่ ีการโตต้ อบกบั ผ้ใู ชแ้ ละเช่อื มตอ่ กบั ฐานข้อมูล ม.๕ ๑. รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมูล และใชค้ วามร้ ู • การนำความร้ดู า้ นวิทยาการคอมพวิ เตอร ์ ดา้ นวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ สอ่ื ดิจทิ ัล เทคโนโลยี สอ่ื ดจิ ทิ ลั และเทคโนโลยสี ารสนเทศ มาใชแ้ กป้ ญั หา สารสนเทศในการแก้ปญั หาหรอื เพม่ิ มูลค่า กับชวี ิตจริง ให้กับบรกิ ารหรือผลติ ภณั ฑท์ ีใ่ ชใ้ นชวี ติ จริง • การเพ่มิ มูลคา่ ใหบ้ ริการหรือผลติ ภณั ฑ์ อยา่ งสร้างสรรค ์ • การเก็บขอ้ มูลและการจัดเตรียมขอ้ มลู ให้พรอ้ ม กับการประมวลผล • การวิเคราะห์ข้อมลู ทางสถติ ิ • การประมวลผลข้อมลู และเคร่อื งมอื • การทำข้อมลู ใหเ้ ป็นภาพ (data visualization) เชน่ bar chart, scatter, histogram ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 125 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง • การเลอื กใชแ้ หล่งขอ้ มลู เชน่ data.go.th, wolfram alpha, OECD.org, ตลาดหลักทรพั ย์ , world economic forum • คุณคา่ ของขอ้ มลู และกรณีศกึ ษา • กรณศี กึ ษาและวิธีการแก้ปัญหา • ตัวอย่างปัญหา เช่น - รปู แบบของบรรจุภัณฑ์ทีด่ ึงดูดความสนใจ และ ตรงตามความต้องการผู้ใช้ในแตล่ ะประเภท - การกำหนดตำแหน่งปา้ ยรถเมล์เพอื่ ลดเวลา เดินทางและปัญหาการจราจร - สำรวจความต้องการรบั ประทานอาหาร ในชมุ ชน และเลอื กขายอาหารทจ่ี ะได้กำไรสงู สุด - ออกแบบรายการอาหาร ๗ วนั สำหรบั ผปู้ ว่ ย เบาหวาน ม.๖ ๑. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอ และ • การนำเสนอและแบ่งปนั ข้อมลู เชน่ การเขียน แบง่ ปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม และ บลอ็ ก อปั โหลดวดิ โี อ ภาพอนิ โฟกราฟิก วิเคราะห์การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ • การนำเสนอและแบง่ ปนั ข้อมูลอยา่ งปลอดภัย ท่มี ผี ลตอ่ การดำเนินชีวิต อาชีพ สงั คม และ เชน่ ระมัดระวังผลกระทบท่ีตามมา เมอ่ื มีการ วฒั นธรรม แบง่ ปนั ขอ้ มูลหรือเผยแพรข่ อ้ มูล ไม่สร้าง ความเดอื ดร้อนตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น • จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • เทคโนโลยีเกดิ ใหม่ แนวโนม้ ในอนาคต การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี • นวตั กรรมหรอื เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง กับชีวิตประจำวัน • อาชพี เกย่ี วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ • ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการ ดำเนินชีวติ อาชพี สังคม และวัฒนธรรม 126 ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วิทยาศาสตร์เพิม่ เติม วิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมจัดทำขึ้นสำหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ ท่ีจำเป็นต้องเรียนเน้ือหาในสาระชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ และโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญและเพียงพอสำหรับการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ในด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาท่ีใช้วิทยาศาสตร์เป็นฐาน เช่น แพทย์ ทันตแพทย์ สตั วแพทย์ เทคโนโลยชี วี ภาพ เทคนิคการแพทย์ วศิ วกรรม สถาปตั ยกรรม ฯลฯ โดยมีผลการเรียนร ู้ ที่ครอบคลุมด้านเน้ือหา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ รวมทงั้ จติ วทิ ยาศาสตรท์ ่ีผู้เรียนจำเป็นต้องมี วิทยาศาสตร์เพิ่มเติมนี้ ได้มีการปรับปรุงเพื่อให้มีเน้ือหา ทท่ี ดั เทยี มกบั นานาชาติ เนน้ กระบวนการคดิ วเิ คราะหแ์ ละการแกป้ ญั หา รวมทง้ั เชอ่ื มโยงความรสู้ กู่ ารนำ ไปใช้ในชวี ิตจริง สรปุ ไดด้ งั นี้ ๑. ลดความซ้ำซ้อนของเนื้อหาระหว่างตัวชี้วัดในรายวิชาพ้ืนฐานและผลการเรียนรู้ รายวิชาเพมิ่ เติม เพื่อใหผ้ ้เู รียนไดม้ ีเวลาสำหรับการเรยี นรู้ และทำปฏิบัติการทางวทิ ยาศาสตร์เพมิ่ ข้นึ ๒. ลดความซำ้ ซ้อนของเน้อื หาระหว่างสาระชวี วทิ ยา เคมี ฟิสิกส์ และโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ โดยมกี ารพจิ ารณาเนื้อหาทม่ี คี วามซำ้ ซอ้ นกัน แล้วจัดให้เรยี นทีส่ าระใดสาระหนง่ึ เชน่ - เร่ืองสารชีวโมเลกุล เดิมเรียนทั้งในสาระชีววิทยา และเคมี ได้พิจารณาแล้วจัด ให้เรียนในสาระชวี วิทยา - เรื่องปิโตรเลียม เดิมเรียนทั้งในสาระเคมี และโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ได้พิจารณาแล้วจัดให้เรียนในสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ - เร่ืองกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล ไอโซโทปกัมมันตรังสี ได้พิจารณาแล้วจัดให้ เรียนในสาระเคมี และเรื่องพลังงานนิวเคลียร์ จัดให้เรียนในสาระฟิสิกส์ เนื่องจากเดิมเน้ือหาเหล่านี้ ทับซ้อนกันในสาระเคมแี ละฟิสิกส์ - เรอ่ื งการทดลองของทอมสนั และการทดลองของมลิ ลิแกน เดมิ เรียนทงั้ ในสาระ เคมี และฟสิ กิ ส์ ได้พิจารณาแล้วจดั ใหเ้ รียนในสาระเคม ี ๓. ลดความซ้ำซ้อนกันระหว่างระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย เชน่ - เรื่องระบบนิเวศและส่ิงแวดล้อมในสาระชีววิทยา ได้ปรับให้สาระการเรียนรู้ เนือ้ หา และกจิ กรรม มคี วามแตกตา่ งกนั ตามความเหมาะสมของระดบั ผู้เรยี น - เรื่องเทคโนโลยีอวกาศ การเกิดลม การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก พาย ุ และมรสุม ได้มีการปรับให้สาระการเรียนรู้ เนื้อหา และกิจกรรม เรียนต่อเน่ืองกันจากระดับ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ไปสรู่ ะดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เพ่ือไม่ให้ทบั ซอ้ นกัน ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 127 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๔. ลดทอนเนอื้ หาทย่ี าก เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั กลมุ่ ของผเู้ รยี นในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๕. มีการเพิ่มเนื้อหาด้านต่าง ๆ ท่ีมีความทันสมัย สอดคล้องต่อการดำรงชีวิต ในปัจจุบันและอนาคตมากขึ้น เช่น เรื่องเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ ที่มีต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อมใน สาระชีววิทยา เรื่องทักษะและความปลอดภัยในปฏิบัติการเคมี นวัตกรรมและการแก้ปัญหา ที่เน้นการบูรณาการในสาระเคมี เร่ืองเทคโนโลยีด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม การสื่อสาร ด้วยสัญญาณดิจิทัลท่ีเหมาะสมกับสังคมและเศรษฐกิจดิจิทัลในปัจจุบัน รวมท้ังเนื้อหาเกี่ยวกับ การคน้ ควา้ วจิ ยั ด้านฟสิ กิ ส์อนุภาค เพอ่ื ความสอดคลอ้ งกบั ความกา้ วหนา้ ของวชิ าฟิสิกส์ในปัจจุบนั วิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมนี้ ถึงแม้ว่าสถานศึกษาสามารถจัดให้ผู้เรียนได้เรียนตามความ เหมาะสมและตามจุดเน้นของสถานศึกษา แต่ในแนวทางปฏิบัติสถานศึกษาควรจัดให้ผู้เรียน ได้เรยี นทุกสาระเพ่อื ให้มคี วามรเู้ พียงพอในการนำไปใช้เพอ่ื การศึกษาตอ่ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ เนอ้ื หา ของสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ที่สถานศึกษามักมองข้ามความสำคัญของการเรียนสาระน้ี ซึ่งเป็นการบูรณาการความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ทั้งฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา รวมทั้งศาสตร์อ่ืน ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง เพอื่ มาช่วยในการอธบิ ายและเขา้ ใจปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ในธรรมชาติ ทง้ั การเปลย่ี นแปลง บนผิวโลก การเปลี่ยนแปลงภายในโลก และการเปลี่ยนแปลงทางลมฟ้าอากาศ ซ่ึงกระบวนการ เปลี่ยนแปลงทั้งหมดดังกล่าวล้วนส่งผลซ่ึงกันและกัน รวมท้ังสิ่งมีชีวิตด้วย และที่สำคัญคือ ความร ู้ ในสาระนี้สามารถนำไปใช้ในการศึกษาต่อเพ่ือประกอบอาชีพในหลาย ๆ ด้าน เช่น อาชีพที่เกี่ยวกับ วัสดุศาสตร์ การเดินเรือ การบิน การเกษตร การศึกษาประวัติศาสตร์ วิศวกร อุตสาหกรรมน้ำมัน เหมอื ง นักธรณวี ิทยา นกั อตุ ุนิยมวิทยา นักดาราศาสตร์ นกั บนิ อวกาศ ดังน้นั พื้นฐานความร้สู าระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ จะช่วยเปิดโอกาสทางด้านอาชีพท่ีหลากหลายให้กับผู้เรียน เพราะ ในอนาคตขา้ งหนา้ นอกจากมนษุ ยจ์ ะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั โลกทต่ี วั เองอาศยั อยแู่ ลว้ ยงั ตอ้ งพฒั นา ตนเองเพอื่ ศกึ ษาขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทอี่ ยู่นอกโลกเพื่อนำข้อมลู เหล่านั้นกลบั มาพัฒนาคุณภาพชวี ิตใหด้ ขี ึ้น เรยี นร้อู ะไรในวิทยาศาสตรเ์ พม่ิ เติม วิทยาศาสตรเ์ พ่มิ เตมิ ผู้เรยี นจะได้เรียนรสู้ าระสำคัญ ดังน้ ี ✧ ชีววิทยา เรียนรู้เกี่ยวกับ การศึกษาชีววิทยา สารที่เป็นองค์ประกอบของ สิ่งมีชีวิต เซลลข์ องสง่ิ มชี วี ติ พันธุกรรมและการถ่ายทอด วิวัฒนาการ ความหลากหลายทางชีวภาพ โครงสร้างและการทำงานของสว่ นต่าง ๆ ในพืชดอก ระบบและการทำงานในอวยั วะต่าง ๆ ของสัตว์ และมนุษย์ และส่งิ มชี วี ติ และส่งิ แวดลอ้ ม ✧ เคมี เรยี นรเู้ กยี่ วกบั ปรมิ าณสาร องคป์ ระกอบและสมบตั ขิ องสาร การเปลย่ี นแปลง ของสาร ทกั ษะและการแกป้ ญั หาทางเคม ี ✧ ฟิสิกส์ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติและการค้นพบทางฟิสิกส์ แรงและการเคล่ือนท่ี และพลงั งาน 128 ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนร้แู กนกลาง กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
✧ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เรียนรู้เกยี่ วกบั โลกและกระบวนการเปลยี่ นแปลง ทางธรณวี ทิ ยา ขอ้ มลู ทางธรณวี ทิ ยาและการนำไปใชป้ ระโยชน์ การถา่ ยโอนพลงั งานความรอ้ นของโลก การเปล่ียนแปลงลักษณะลมฟ้าอากาศกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ โลกในเอกภพ และดาราศาสตร ์ กับมนษุ ยา์ สาระวิทยาศาสตรเ์ พิม่ เตมิ สาระชวี วิทยา ๑. เข้าใจธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ สาร ที่เป็นองค์ประกอบของส่ิงมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของส่ิงมีชีวิต กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและ หน้าที่ของเซลล์ การลำเลยี งสารเข้าและออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดบั เซลล ์ ๒. เข้าใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติ และหน้าท่ีของสารพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูลและแนวคิด เกย่ี วกบั ววิ ฒั นาการของสง่ิ มชี วี ติ ภาวะสมดลุ ของฮารด์ -ี ไวนเ์ บริ ก์ การเกดิ สปชี สี ใ์ หม่ ความหลากหลาย ทางชีวภาพ กำเนิดของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และอนุกรมวิธาน รวมท้ังนำความรู้ ไปใช้ประโยชน ์ ๓. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปล่ียนแก๊สและคายน้ำของพืช การลำเลียง ของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธ์ุของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนอง ของพชื รวมท้ังนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน ์ ๔. เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์ การหายใจและการแลกเปลี่ยนแก๊ส การลำเลยี งสารและการหมนุ เวยี นเลอื ด ภมู คิ มุ้ กนั ของรา่ งกาย การขบั ถา่ ย การรบั รแู้ ละการตอบสนอง การเคล่ือนที่ การสืบพันธ์ุและการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรม ของสตั ว์ รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ๕. เข้าใจแนวคิดเก่ียวกับระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียน สารในระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปล่ียนแปลงแทนท่ีของส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ ประชากรและรูปแบบการเพ่ิมของประชากร ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ปัญหาและ ผลกระทบทเ่ี กดิ จากการใช้ประโยชน์ และแนวทางการแก้ไขปญั หา ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 129 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
สาระเคม ี ๑. เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมี และสมบตั ขิ องสาร แกส๊ และสมบตั ขิ องแกส๊ ประเภทและสมบตั ขิ องสารประกอบอนิ ทรยี แ์ ละพอลเิ มอร์ รวมท้งั การนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ๒. เขา้ ใจการเขยี นและการดลุ สมการเคมี ปรมิ าณสมั พนั ธใ์ นปฏกิ ริ ยิ าเคมี อตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์เคมี ไฟฟ้า รวมทัง้ การนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน ์ ๓. เขา้ ใจหลกั การทำปฏบิ ตั กิ ารเคมี การวดั ปรมิ าณสาร หนว่ ยวดั และการเปลย่ี นหนว่ ย การคำนวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมท้ังการบูรณาการความรแู้ ละทกั ษะ ในการอธบิ ายปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั และการแกป้ ญั หาทางเคมี สาระฟิสกิ ส ์ ๑. เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคล่ือนท่ีแนวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทานสมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโค้ง รวมท้งั นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน ์ ๒. เข้าใจการเคล่ือนท่ีแบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ธรรมชาติของคล่ืน เสียงและ การได้ยิน ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวข้องกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๓. เขา้ ใจแรงไฟฟา้ และกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟา้ ศกั ยไ์ ฟฟา้ ความจไุ ฟฟา้ กระแสไฟฟา้ และกฎของโอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟา้ การเปลย่ี นพลงั งานทดแทน เปน็ พลงั งานไฟฟา้ สนามแมเ่ หลก็ แรงแมเ่ หลก็ ทก่ี ระทำกบั ประจไุ ฟฟา้ และกระแสไฟฟา้ การเหนยี่ วนำ แม่เหล็กไฟฟ้าและกฎของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลับ คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าและการส่ือสาร รวมทั้ง นำความรไู้ ปใช้ประโยชน ์ ๔. เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปล่ียนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพยืดหยุ่นของวัสดุและมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุง และหลักของอาร์คิมีดีส ความตึงผวิ และแรงหนดื ของของเหลว ของไหลอุดมคติ และสมการแบร์นูลลี กฎของแกส๊ ทฤษฎจี ลน์ ของแก๊สอุดมคตแิ ละพลังงานในระบบ ทฤษฎอี ะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอเิ ล็กทรกิ ทวิภาวะ ของคล่ืนและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร์ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ ฟิสิกส์ อนภุ าค รวมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน ์ 130 ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๑. เข้าใจกระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัยและผลต่อสิ่งมีชีวิต และสิง่ แวดล้อม รวมท้งั การศกึ ษาลำดับชั้นหนิ ทรพั ยากรธรณี แผนที่ และการนำไปใชป้ ระโยชน ์ ๒. เขา้ ใจสมดลุ พลงั งานของโลก การหมนุ เวยี นของอากาศบนโลก การหมนุ เวยี นของนำ้ ในมหาสมุทร การเกิดเมฆ การเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศโลกและผลต่อส่ิงมชี ีวิตและสิ่งแวดล้อม รวมทงั้ การพยากรณอ์ ากาศ ๓. เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ ความสัมพันธ์ของดาราศาสตร์กับมนุษย์จากการศึกษาตำแหน่ง ดาวบนทรงกลมฟ้าและปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ รวมทั้งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ ในการดำรงชวี ิต คุณภาพผูเ้ รียน ผู้เรียนทเ่ี รียนครบทุกผลการเรยี นรู้ มีคณุ ภาพดงั น้ี ❖ เข้าใจวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการค้นหาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต สารท่ีเป็น องค์ประกอบของส่ิงมีชีวิต และปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์ การใช้กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้าง และหนา้ ที่ของเซลล์ การลำเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ การแบง่ เซลล์ และการหายใจระดับเซลล์ ❖ เข้าใจหลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิต การถ่ายทอดยีน บนออโตโซมและโครโมโซมเพศ โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ การจำลองดีเอ็นเอ กระบวนการสังเคราะห์โปรตีน การเกิดมิวเทชันในส่ิงมีชีวิต หลักการและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ทางดีเอ็นเอ หลักฐานและข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต เง่ือนไขของภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก กระบวนการเกิดสปีชีส์ใหม่ ของส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ กำเนิดของสิ่งมีชีวิต ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิต กลมุ่ แบคทเี รีย โพรทสิ ต์ พชื ฟงั ไจ และสัตว์ การจำแนกสง่ิ มีชีวิตออกเป็นหมวดหมูแ่ ละวธิ ีการเขยี น ช่ือวิทยาศาสตร ์ ❖ เขา้ ใจโครงสรา้ งและสว่ นประกอบของพชื ทงั้ ราก ลำตน้ และใบ การแลกเปลยี่ นแกส๊ การคายน้ำ การลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร การลำเลียงอาหาร การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์และการปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด บทบาทของสาร ควบคุมการเจริญเติบโตของพืชและการประยุกต์ใช้ และการตอบสนองของพชื ❖ เข้าใจกลไกการรักษาดุลยภาพของส่ิงมีชีวิต โครงสร้าง หน้าที่ และกระบวนการ ตา่ ง ๆ ของสตั วแ์ ละมนษุ ย์ ไดแ้ ก่ การยอ่ ยอาหาร การแลกเปลย่ี นแกส๊ การเคลอ่ื นท่ี การกำจดั ของเสยี ออกจากรา่ งกายของสง่ิ มชี วี ติ ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ระบบภมู คิ มุ้ กนั ในรา่ งกายของมนษุ ย์ การทำงาน ของระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก ระบบสืบพันธ์ุ การปฏิสนธิ การเจริญเติบโต ฮอร์โมน และพฤตกิ รรมของสตั ว์ ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 131 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
❖ เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปล่ียนแปลงแทนที่แบบต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การเปล่ียนแปลง จำนวนประชากรมนุษยใ์ นระดบั ทอ้ งถิน่ ระดบั ประเทศ และระดบั โลก แนวทางการป้องกนั และแก้ไข ปญั หาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ❖ เข้าใจการศึกษาโครงสร้างอะตอมของนักวิทยาศาสตร์ การจัดเรียงอิเล็กตรอน ในอะตอม สมบตั บิ างประการของธาตุและการจัดเรยี งธาตุในตารางธาตุ พันธะเคมี สมบัตขิ องสารทม่ี ี ความสัมพันธ์กับพันธะเคมี กฎต่าง ๆ ของแก๊ส และสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของ สารประกอบอนิ ทรีย์ และประเภทและสมบตั ิของพอลิเมอร์ ❖ เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี การคำนวณปริมาณสารต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง กับปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุล ในปฏิกิริยาเคมีและปัจจัยท่ีมีผลต่อสมดุลเคมี ทฤษฎีกรด-เบส สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส สารละลายบฟั เฟอร์ ปฏกิ ริ ิยารดี อกซ์ และเซลลเ์ คมีไฟฟา้ ❖ เข้าใจข้อปฏิบัติเบื้องต้นเก่ียวกับความปลอดภัยในการทำปฏิบัติการเคมี การเลือกใช้อุปกรณ์หรือเคร่ืองมือในการทำปฏิบัติการ หน่วยวัดและการเปล่ียนหน่วยวัดด้วยการ ใช้แฟกเตอร์เปล่ยี นหน่วย การคำนวณเก่ียวกบั มวลอะตอม มวลโมเลกลุ และมวลสูตร ความสัมพนั ธ์ ของโมล จำนวนอนุภาค มวล และปริมาตรของแก๊สที่ STP การคำนวณสูตรอย่างง่ายและสูตร โมเลกุลของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย การเตรียมสารละลาย และการบูรณาการความรู้และ ทักษะในการอธบิ ายปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจำวันและการแกป้ ญั หาทางเคม ี ❖ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องฟสิ กิ ส์ กระบวนการวดั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าณทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กับการเคลือ่ นท่ี การเคลื่อนที่ในแนวตรง แรงลพั ธ์ กฎการเคลือ่ นที่ แรงเสยี ดทาน กฎความโน้มถ่วง สากล สนามโน้มถ่วง งาน กฎการอนุรักษ์พลังงานกล สมดุลกลของวัตถุ เครื่องกลอย่างง่าย โมเมนตมั และการดล กฎการอนรุ กั ษโ์ มเมนตมั การชน และการเคลือ่ นทใ่ี นแนวโค้ง ❖ เข้าใจการเคลื่อนท่ีแบบคล่ืน ปรากฏการณ์คล่ืน การสะท้อน การหักเห การเล้ียวเบนและการแทรกสอด หลักการของฮอยเกนส์ การเคลื่อนที่ของคลื่นเสียง ปรากฏการณ ์ ที่เก่ียวข้องกับเสียง ความเข้มเสียงและระดับเสียง การได้ยิน ภาพที่เกิดจากกระจกเงาและเลนส์ ปรากฏการณท์ ีเ่ กี่ยวขอ้ งกับแสงและการมองเห็นแสงส ี ❖ เขา้ ใจสนามไฟฟา้ แรงไฟฟา้ กฎของคลู อมบ์ ศกั ยไ์ ฟฟ้า ตัวเกบ็ ประจุ ตวั ตา้ นทาน และกฎของโอห์ม พลังงานไฟฟ้า การเปล่ียนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้าน พลังงาน สนามแมเ่ หล็ก ความสัมพันธ์ระหวา่ งสนามแมเ่ หลก็ กบั กระแสไฟฟ้า การเหนยี่ วนำแม่เหลก็ ไฟฟา้ ไฟฟ้ากระแสสลบั คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้า และประโยชน์ของคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า 132 ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
❖ เข้าใจผลของความร้อนต่อสสาร สภาพยืดหยุ่น ความดันในของไหล แรงพยุง ของไหลอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส แนวคิดควอนตัมของพลังงาน ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคล่ืนและอนุภาค การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี กัมมันตภาพ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน แรงภายในนิวเคลียส และการคน้ คว้าวิจัยด้านฟสิ ิกสอ์ นภุ าค ❖ เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนท ี่ ของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐานและธรณีโครงสร้างแบบต่าง ๆ หลักฐาน ทางธรณีวิทยาที่พบในปัจจุบันและการลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาในอดีต สาเหตุ กระบวนการ เกดิ แผน่ ดนิ ไหว ภเู ขาไฟระเบดิ สนึ ามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั สมบัติและการจำแนกชนิดของแร่ กระบวนการเกิดและการจำแนกชนิดหิน กระบวนการเกิดและ การสำรวจแหล่งปิโตรเลียมและถ่านหิน การแปลความหมายจากแผนท่ีภูมิประเทศและแผนที่ ธรณีวทิ ยา และการนำขอ้ มลู ทางธรณีวิทยาไปใช้ประโยชน ์ ❖ เข้าใจปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการรับและปลดปล่อยพลังงานจากดวงอาทิตย ์ กระบวนการทที่ ำใหเ้ กดิ สมดลุ พลงั งานของโลก ผลของแรงเนอ่ื งจากความแตกตา่ งของความกดอากาศ แรงคอริออลิส แรงสู่ศูนย์กลางและแรงเสียดทานที่มีต่อการหมุนเวียนของอากาศ การหมุนเวียน ของอากาศตามเขตละตจิ ดู และผลทม่ี ตี อ่ ภมู อิ ากาศ ปจั จยั ทท่ี ำใหเ้ กดิ การแบง่ ชน้ั นำ้ และการหมนุ เวยี น ของน้ำในมหาสมุทร รูปแบบการหมุนเวียนของน้ำในมหาสมุทร และผลของการหมุนเวียนของน้ำ ในมหาสมุทรที่มีต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ ส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพ อากาศและการเกิดเมฆ การเกิดแนวปะทะอากาศแบบต่าง ๆ และลักษณะลมฟ้าอากาศที่เก่ียวข้อง ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศของโลก รวมท้ังการแปลความหมายสัญลักษณ ์ ลมฟา้ อากาศ และการพยากรณล์ กั ษณะลมฟา้ อากาศเบอื้ งตน้ จากแผนทีอ่ ากาศและขอ้ มูลสารสนเทศ ❖ เข้าใจการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาดอุณหภูมิของเอกภพ หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซี ทางช้างเผือก กระบวนการเกิดดาวฤกษ์ และการสร้างพลังงานของดาวฤกษ์ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อ ความส่องสว่างของดาวฤกษ์ และความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิธีการหาระยะทางของดาวฤกษ ์ ด้วยหลักการแพรัลแลกซ์ วิวัฒนาการและการเปล่ียนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกดิ ระบบสรุ ยิ ะ การแบง่ เขตบรวิ ารของดวงอาทติ ย์ ลกั ษณะของดาวเคราะหท์ เี่ ออ้ื ตอ่ การ ดำรงชีวิต การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตยด์ ว้ ยกฎเคพเลอร์ และกฎความโนม้ ถ่วงของนิวตนั โครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลท่ีมีต่อโลก การระบุพิกัดของดาว ในระบบขอบฟ้าและระบบศูนย์สูตร เส้นทางการขึ้นการตกของดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์ เวลา สุริยคติ และการเปรียบเทียบเวลาของแต่ละเขตเวลาบนโลก การสำรวจอวกาศและการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยอี วกาศ ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 133 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
❖ ระบปุ ญั หา ตงั้ คำถามทจ่ี ะสำรวจตรวจสอบ โดยมกี ารกำหนดความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ตัวแปรต่าง ๆ สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก ตรวจสอบสมมติฐานที่เป็นไปได ้ ❖ ต้ังคำถามหรือกำหนดปัญหาที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทาง วทิ ยาศาสตร์ ทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ การใชค้ วามคดิ ระดบั สงู ทสี่ ามารถสำรวจตรวจสอบหรอื ศกึ ษาคน้ ควา้ ได ้ อย่างครอบคลมุ และเชือ่ ถือได้ สรา้ งสมมติฐานทมี่ ีทฤษฎรี องรับหรอื คาดการณส์ งิ่ ท่จี ะพบ เพื่อนำไปส ู่ การสำรวจตรวจสอบ ออกแบบวิธีการสำรวจตรวจสอบตามสมมติฐานท่ีกำหนดไว้ได้อย่างเหมาะสม มีหลักฐานเชิงประจักษ์ เลือกวัสดุ อุปกรณ์ รวมทั้งวิธีการในการสำรวจตรวจสอบอย่างถูกต้อง ท้งั ในเชงิ ปริมาณและคุณภาพ และบันทกึ ผลการสำรวจตรวจสอบอย่างเปน็ ระบบ ❖ วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุป เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการสำรวจตรวจสอบ จัดกระทำ ข้อมูลและนำเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีท่ีเหมาะสม สื่อสารแนวคิด ความรู้ จากผลการสำรวจ ตรวจสอบ โดยการพูด เขยี น จัดแสดงหรอื ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ ให้ผูอ้ นื่ เข้าใจ โดยมีหลักฐาน อ้างอิงหรือมที ฤษฎรี องรบั ❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในการสืบเสาะ หาความรู้ โดยใช้เคร่ืองมือ และวิธีการท่ีให้ได้ผลถูกต้อง เชื่อถือได้ มีเหตุผลและยอมรับได้ว่าความรู้ ทางวิทยาศาสตรอ์ าจมกี ารเปลยี่ นแปลงได้ ❖ แสดงถงึ ความพอใจและเหน็ คณุ คา่ ในการคน้ พบความรู้ พบคำตอบ หรอื แกป้ ญั หาได ้ ทำงานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เก่ียวกับผลของการพัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคม และสง่ิ แวดล้อม และยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผ้อู ืน่ ❖ เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลย ี ประเภทต่าง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีตอ่ ชวี ติ สังคม และสง่ิ แวดล้อม ❖ ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ช้ินงานท่ีเป็นผลมาจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงาน หรอื สรา้ งชิ้นงานตามความสนใจ ❖ แสดงความซาบซงึ้ หว่ งใย มพี ฤตกิ รรมเกยี่ วกบั การใชแ้ ละรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาต ิ และส่ิงแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแลทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มของทอ้ งถ่นิ 134 ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ผลการเรยี นร้แู ละสาระการเรียนรู้เพิม่ เตมิ สาระชวี วิทยา ๑. เข้าใจธรรมชาติของส่ิงมีชีวิต การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ สารที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต กลอ้ งจลุ ทรรศน์ โครงสรา้ งและหนา้ ทขี่ องเซลล์ การลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดบั เซลล ์ ช้นั ผลการเรียนร้ ู สาระการเรยี นร้เู พิม่ เติม ม.๔ ๑. อธบิ าย และสรุปสมบัตทิ ่ีสำคัญของสิง่ มชี ีวิต • สงิ่ มีชีวติ ทุกชนดิ ต้องการสารอาหารและพลังงาน และความสัมพนั ธ์ของการจัดระบบในสิ่งมชี วี ิต มกี ารเจริญเติบโต มีการตอบสนองต่อส่ิงเร้า ท่ีทำใหส้ ่งิ มีชีวิตดำรงชีวิตอยูไ่ ด้ มีการรักษาดลุ ยภาพของรา่ งกาย มีการสบื พนั ธ ุ์ มกี ารปรบั ตวั ทางวิวฒั นาการ และมีการทำงาน ร่วมกนั ขององคป์ ระกอบต่าง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ สงิ่ เหล่านจ้ี ัดเปน็ สมบตั ทิ ่สี ำคัญของสิง่ มชี ีวติ • การจดั ระบบในสงิ่ มชี วี ติ เร่มิ จากหน่วยเล็ก ไปหน่วยใหญ่ ไดแ้ ก่ เซลล์ เน้อื เยื่อ อวัยวะ ระบบ อวยั วะ และสิง่ มชี ีวติ ตามลำดับ ๒. อภปิ ราย และบอกความสำคัญของการระบุ • วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ในการค้นหาคำตอบ ปัญหา ความสมั พนั ธร์ ะหว่างปัญหา สมมตฐิ าน เกยี่ วกบั สงิ่ มชี วี ติ เรมิ่ จากการตงั้ ปญั หาหรอื คำถาม และวธิ ีการตรวจสอบสมมติฐาน รวมท้ัง ตั้งสมมติฐาน ตรวจสอบสมมติฐาน เกบ็ รวบรวม ออกแบบการทดลองเพ่อื ตรวจสอบสมมติฐาน ข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มลู และสรุปผล • การศกึ ษาสง่ิ มีชวี ติ ต้องอาศยั ความรจู้ ากแขนงวชิ า ตา่ ง ๆ ของชีววทิ ยาและสาขาวิชาอืน่ ท่ีเก่ยี วข้อง และควรคำนงึ ถงึ ชีวจริยธรรมและจรรยาบรรณ การใช้สัตวท์ ดลอง ๓. สบื ค้นข้อมลู อธิบายเกี่ยวกบั สมบตั ขิ องนำ้ • ส่งิ มชี วี ติ ประกอบด้วย ธาตแุ ละสารประกอบ และบอกความสำคัญของนำ้ ทีม่ ตี อ่ ส่ิงมชี วี ิต ในร่างกายของส่ิงมีชีวิตมีน้ำเปน็ องคป์ ระกอบ และยกตวั อย่างธาตุชนิดต่าง ๆ ทมี่ คี วามสำคัญ มากทส่ี ดุ นำ้ ประกอบดว้ ยธาตุไฮโดรเจน ต่อรา่ งกายสงิ่ มีชีวติ และออกซิเจน มีสมบตั ิในการเป็นตวั ทำละลาย ทีด่ ี เก็บความรอ้ นไดด้ ี และมคี วามจคุ วามรอ้ นสงู ซง่ึ ชว่ ยรักษาดลุ ยภาพของเซลลไ์ ด้ • ธาตทุ ี่ส่ิงมีชวี ติ ต้องการจะอย่ใู นรูปของไอออน ในมนษุ ยแ์ ละสัตว์ ธาตุจะช่วยให้การทำงานของ ระบบต่าง ๆ ในร่างกายดำเนนิ ไปตามปกติ นอกจากนีใ้ นกระดกู ฟัน และกลา้ มเนือ้ จะมีธาตุ เปน็ องคป์ ระกอบด้วย ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 135 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชนั้ ผลการเรียนร้ ู สาระการเรียนร้เู พ่ิมเติม ๔. สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ ายโครงสรา้ งของคารโ์ บไฮเดรต • คารโ์ บไฮเดรตประกอบดว้ ย ธาตุคารบ์ อน ระบุกลุม่ ของคารโ์ บไฮเดรต รวมท้ังความสำคญั ไฮโดรเจน และออกซิเจน แบง่ ตามขนาดโมเลกลุ ของคาร์โบไฮเดรตที่มตี อ่ ส่งิ มชี ีวติ ออกไดเ้ ปน็ ๓ กลุ่ม คอื มอโนแซก็ คาไรด์ ไดแซ็กคาไรด์ และพอลแิ ซ็กคาไรด ์ ๕. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสรา้ งของโปรตีน • โปรตนี มีกรดอะมิโนเปน็ หนว่ ยยอ่ ย ประกอบดว้ ย และความสำคญั ของโปรตีนท่ีมีตอ่ ส่งิ มีชีวิต ธาตคุ ารบ์ อน ไฮโดรเจน ออกซเิ จน และไนโตรเจน บางชนดิ อาจมี ธาตฟุ อสฟอรสั เหลก็ และกำมะถนั เปน็ องคป์ ระกอบ ๖. สบื คน้ ข้อมูล อธิบายโครงสรา้ งของลพิ ดิ • ลิพดิ ประกอบด้วย ธาตคุ ารบ์ อน ไฮโดรเจน และ และความสำคัญของลิพิดท่มี ตี ่อสิง่ มชี วี ติ ออกซิเจน เปน็ สารประกอบท่ีละลายได้ด ี ในตัวทำละลายที่เป็นสารอินทรยี ์ ลิพดิ กลุ่มสำคญั ท่พี บในสิง่ มีชวี ิต เช่น กรดไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ ฟอสโฟลิพดิ สเตอรอยด์ ๗. อธิบายโครงสร้างของกรดนิวคลิอิก และระบุ • กรดนิวคลิอิกประกอบด้วย หน่วยย่อย เรียกวา่ ชนดิ ของกรดนวิ คลิอิก และความสำคญั ของ นวิ คลโี อไทด์ โมเลกลุ ของนวิ คลโี อไทดป์ ระกอบดว้ ย กรดนิวคลิอิกทมี่ ีต่อส่ิงมีชีวิต หมู่ฟอสเฟต นำ้ ตาลทีม่ ีคาร์บอน ๕ อะตอม และเบสทีม่ ไี นโตรเจนเป็นองคป์ ระกอบ • กรดนวิ คลอิ กิ เปน็ องค์ประกอบของสารพนั ธุกรรม ทำหน้าทเ่ี กบ็ และถ่ายทอดข้อมลู ทางพนั ธกุ รรม มี ๒ ชนดิ คือ DNA และ RNA ๘. สบื คน้ ขอ้ มูล และอธิบายปฏกิ ริ ิยาเคมที ่เี กดิ ข้นึ • เมแทบอลซิ มึ เปน็ ปฏกิ ิริยาเคมที ีเ่ กิดขึ้นภายใน ในสิ่งมชี ีวิต เซลล์ของส่งิ มชี ีวติ ปฏิกิริยาเคมี ประกอบด้วย ๙. อธบิ ายการทำงานของเอนไซมใ์ นการเรง่ ปฏกิ ริ ยิ า ปฏกิ ริ ยิ าคายพลงั งาน และปฏิกิรยิ าดูดพลังงาน เคมใี นสง่ิ มชี วี ติ และระบปุ จั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ การทำงาน ปฏิกิรยิ าเคมีเหล่าน้ีจะดำเนนิ ไปได้อยา่ งรวดเรว็ ของเอนไซม์ จำเป็นต้องอาศยั เอนไซม์ช่วยเร่งปฏิกิรยิ า • เอนไซมส์ ว่ นใหญ่เปน็ สารประเภทโปรตนี ทำหนา้ ที่เรง่ ปฏิกริ ยิ าเคมี ในขณะทเ่ี กดิ ปฏกิ ริ ยิ า เคมีในเซลล์ สารต้งั ต้นจะเข้าไปจับกับเอนไซม ์ ท่ีบรเิ วณจำเพาะของเอนไซมท์ เ่ี รียกว่า บริเวณเร่ง ถ้าสารตั้งตน้ มีโครงสร้างเขา้ กับบริเวณเร่งได ้ สารตัง้ ตน้ นั้นจะถกู เปลยี่ นเปน็ สารผลิตภัณฑ์ • อณุ หภูมิ สภาพความเปน็ กรด-เบส และ ตัวยับยั้งเอนไซม์ เปน็ ปัจจยั ทมี่ ผี ลตอ่ การทำงาน ของเอนไซม์ 136 ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ชัน้ ผลการเรยี นร ู้ สาระการเรยี นร้เู พ่มิ เติม ๑๐. บอกวธิ กี าร และเตรยี มตวั อย่างส่งิ มีชวี ติ • กลอ้ งจุลทรรศน์เปน็ เครือ่ งมอื ทใ่ี ชศ้ ึกษาส่ิงมชี ีวติ เพือ่ ศกึ ษาภายใต้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ใช้แสง ขนาดเลก็ ทไี่ มส่ ามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่าและ วัดขนาดโดยประมาณ และวาดภาพท่ปี รากฏ รายละเอียดโครงสรา้ งของเซลล ์ ภายใตก้ ลอ้ ง บอกวธิ กี ารใช้ และการดแู ลรกั ษา • กล้องจลุ ทรรศน์ใช้แสงเชิงประกอบ และ กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ชแ้ สงทีถ่ กู ต้อง กล้องจุลทรรศน์ใชแ้ สงแบบสเตอรโิ ออาศยั เลนส์ ในการทำให้เกิดภาพขยาย • กลอ้ งจลุ ทรรศน์อิเล็กตรอนทำให้เกิดภาพขยาย โดยอาศัยเลนสแ์ มเ่ หลก็ ไฟฟ้ารวมลำอิเล็กตรอน ซ่งึ มีอยดู่ ้วยกนั ๒ ชนิด คอื ชนดิ ส่องผ่าน และชนิดส่องกราด • ตวั อยา่ งสง่ิ มชี วี ติ ทนี่ ำมาศกึ ษาภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ ใชแ้ สงตอ้ งมวี ิธกี ารเตรยี มท่ถี ูกต้องและเหมาะสม กบั ชนดิ ของสง่ิ มชี วี ิต เพ่ือใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพ ในการศึกษา • กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงเปน็ เครอื่ งมอื ทม่ี คี วามละเอยี ด ซับซ้อน และราคาคอ่ นขา้ งสงู จงึ ควรใช้อย่าง ถกู วธิ ี มกี ารเก็บและดูแลรกั ษาที่ถูกต้อง เพือ่ ให้ สามารถใชง้ านได้นาน ๑๑. อธิบายโครงสร้างและหน้าท่ขี องสว่ นทีห่ อ่ หมุ้ • เซลลเ์ ปน็ หนว่ ยพ้ืนฐานท่เี ล็กทีส่ ุดของสง่ิ มชี วี ติ เซลลข์ องเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว ์ โครงสร้างพ้ืนฐานของเซลลป์ ระกอบด้วย ส่วนที่ ๑๒. สบื ค้นขอ้ มูล อธิบาย และระบุชนิดและหน้าท่ี หอ่ หุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนวิ เคลยี ส ของออร์แกเนลล ์ • ส่วนทห่ี อ่ หมุ้ เซลล์ทีพ่ บในเซลล์ทุกชนิดคือ ๑๓. อธบิ ายโครงสร้างและหนา้ ทข่ี องนิวเคลียส เยอ่ื หมุ้ เซลล์ แตใ่ นแบคทเี รยี สาหรา่ ย ฟงั ไจ และพชื จะมผี นงั เซลลเ์ ปน็ สว่ นหอ่ หมุ้ เซลลเ์ พมิ่ เตมิ ขนึ้ มาอกี ช้ันหนงึ่ • โครงสรา้ งของเยอ่ื หุ้มเซลล์ประกอบด้วยโมเลกลุ ของฟอสโฟลิพดิ เรยี งเปน็ สองชั้น และมีโปรตีน แทรกหรอื อยู่ท่ีผวิ ท้งั สองดา้ นของฟอสโฟลพิ ดิ • ไซโทพลาซึมอยู่ภายในเย่อื หุ้มเซลล์ ประกอบดว้ ย ไซโทซอลและออรแ์ กเนลล์ • นิวเคลียสเป็นศนู ย์กลางควบคมุ การทำงานของ เซลลย์ ูคารโิ อต ประกอบดว้ ยเย่ือหมุ้ ซ่ึงภายใน มี DNA RNA และโปรตนี บางชนดิ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 137 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชน้ั ผลการเรยี นร ู้ สาระการเรียนรเู้ พิ่มเตมิ ๑๔. อธบิ าย และเปรียบเทียบการแพร่ ออสโมซสิ • สารต่าง ๆ มีการเคลื่อนทเ่ี ขา้ และออกจากเซลล์ การแพรแ่ บบฟาซลิ เิ ทต และแอกทฟี ทรานสปอรต์ อยู่ตลอดเวลาโดยกระบวนการต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ๑๕. สบื คน้ ขอ้ มูล อธบิ าย และเขียนแผนภาพ การแพร่ ออสโมซสิ การแพรแ่ บบฟาซิลเิ ทต การลำเลยี งสารโมเลกลุ ใหญ่ออกจากเซลล ์ แอกทฟี ทรานสปอรต์ กระบวนการเอกโซไซโทซสิ ดว้ ยกระบวนการเอกโซไซโทซสิ และการลำเลยี ง กระบวนการเอนโดไซโทซิส สารโมเลกุลใหญ่เขา้ ส่เู ซลล์ด้วยกระบวนการ • แกส๊ ตา่ ง ๆ เข้าหรอื ออกจากเซลล์โดยการแพร่ เอนโดไซโทซิส สว่ นนำ้ เข้าหรอื ออกจากเซลล์ผ่านเย่ือหุ้มเซลล์ โดยออสโมซิส • ไอออนและสารบางอยา่ งท่ีไมส่ ามารถลำเลยี ง ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรงได้ จำเป็นตอ้ งอาศัย โปรตนี ท่อี ยบู่ นเยือ่ หมุ้ เซลล์เป็นตัวพาสารนน้ั เข้าและออกจากเซลล์ เรียกว่า การแพรแ่ บบ ฟาซิลิเทต • แอกทฟี ทรานสปอรต์ เปน็ การลำเลยี งสารจาก บริเวณท่ีมีความเขม้ ข้นตำ่ ไปยังบรเิ วณท่ีม ี ความเข้มขน้ สงู • สารบางอย่างทไี่ มส่ ามารถแพร่ผา่ นเย่ือหุ้มเซลล์ หรือลำเลียงผ่านโปรตีนทเี่ ป็นตวั พาไดจ้ ะถูก ลำเลียงออกจากเซลล์ ด้วยกระบวนการ เอกโซไซโทซสิ • สารทม่ี ขี นาดใหญจ่ ะสามารถลำเลยี งเข้าสเู่ ซลล์ ดว้ ยกระบวนการเอนโดไซโทซสิ ซง่ึ แบง่ เปน็ ๓ แบบ ได้แก่ พิโนไซโทซิส ฟาโกไซโทซสิ และการนำสาร เขา้ สู่เซลล์โดยอาศัยตวั รับ ๑๖. สงั เกตการแบ่งนวิ เคลยี สแบบไมโทซสิ และ • การแบง่ เซลลข์ องสงิ่ มชี วี ติ เปน็ การเพม่ิ จำนวนเซลล์ แบบไมโอซสิ จากตวั อยา่ งภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ ซ่ึงเปน็ กระบวนการท่ีเกิดข้ึนต่อเนอ่ื งกันเปน็ พร้อมทง้ั อธบิ ายและเปรียบเทยี บการแบง่ วัฏจักร โดยวฏั จักรของเซลล์ ประกอบด้วย นวิ เคลียสแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซิส อนิ เตอรเ์ ฟส การแบ่งนวิ เคลียสแบบไมโทซิสและ การแบ่งไซโทพลาซมึ • การแบง่ นวิ เคลยี สมี ๒ แบบ คอื การแบง่ นวิ เคลยี ส แบบไมโทซิสและการแบ่งนิวเคลยี สแบบไมโอซิส • การแบง่ นวิ เคลยี สแบบไมโทซสิ ประกอบดว้ ย ระยะโพรเฟส เมทาเฟส แอนาเฟส และเทโลเฟส 138 ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเตมิ • การแบ่งนิวเคลยี สแบบไมโอซิสประกอบด้วย ๑๗. อธิบาย เปรียบเทียบ และสรปุ ข้นั ตอน ระยะโพรเฟส I เมทาเฟส I แอนาเฟส I การหายใจระดับเซลล์ในภาวะทีม่ อี อกซเิ จน เทโลเฟส I ระยะโพรเฟส II เมทาเฟส II เพียงพอ และภาวะท่มี ีออกซิเจนไมเ่ พยี งพอ แอนาเฟส II และเทโลเฟส II • การแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสทำใหเ้ ซลล์รา่ งกาย ม.๕ - เพมิ่ จำนวนเพอื่ การเจรญิ เตบิ โต และซอ่ มแซม ม.๖ - สว่ นทส่ี ึกหรอหรือถูกทำลายไปได้ สว่ นการแบง่ นวิ เคลยี สแบบไมโอซิสมคี วามสำคญั ต่อสง่ิ มชี ีวิต ในกระบวนการสร้างเซลลส์ ืบพันธุ ์ • การแบ่งไซโทพลาซมึ ในเซลล์พชื จะมีการสรา้ ง แผน่ ก้ันเซลลแ์ ละเซลลส์ ัตวจ์ ะมกี ารคอดเวา้ เขา้ หากันของเยอ่ื หุม้ เซลล ์ • การหายใจระดับเซลลเ์ ป็นการสลายสารอาหาร ที่มพี ลังงานสูง โดยมอี อกซเิ จนเปน็ ตวั รบั อเิ ล็กตรอนตัวสดุ ทา้ ย ประกอบดว้ ย ๓ ขัน้ ตอน คือ ไกลโคลซิ ิส วฏั จกั รเครบส์ และกระบวนการ ถา่ ยทอดอิเลก็ ตรอน • การหายใจระดบั เซลล์ พลังงานสว่ นใหญไ่ ดจ้ าก ขั้นตอนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน พลังงานน้ ี จะถกู เก็บไว้ในพันธะเคมใี นโมเลกุลของ ATP • ในภาวะทมี่ ีออกซิเจนไมเ่ พียงพอ ทำให้การหายใจ ของเซลล์ไม่สมบรู ณ์ จึงเกิดไดเ้ ฉพาะไกลโคลิซิส ผลท่ไี ดจ้ ากการหายใจในสภาวะน้ใี นสตั วจ์ ะได้ กรดแลกตกิ ในจลุ นิ ทรียแ์ ละพชื อาจได ้ กรดแลกติก หรอื เอทิลแอลกอฮอล ์ - - ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 139 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
สาระชวี วทิ ยา ๒. เข้าใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติ และหนา้ ทีข่ องสารพันธุกรรม การเกดิ มวิ เทชนั เทคโนโลยที างดีเอ็นเอ หลกั ฐาน ขอ้ มลู และแนวคดิ เกย่ี วกบั ววิ ฒั นาการของสงิ่ มชี วี ติ ภาวะสมดลุ ของฮารด์ -ี ไวนเ์ บริ ก์ การเกดิ สปชี สี ใ์ หม่ ความหลากหลายทางชวี ภาพ กำเนดิ ของสง่ิ มชี วี ติ ความหลากหลาย ของส่งิ มีชีวิต และอนกุ รมวิธาน รวมท้ังนำความร้ไู ปใช้ประโยชน ์ ชั้น ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรูเ้ พ่มิ เตมิ ม.๔ ๑. สืบคน้ ขอ้ มลู อธบิ าย และสรุปผลการทดลอง • เมนเดลศกึ ษาการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม ของเมนเดล โดยการผสมพันธ์ถุ ั่วลันเตา จนสรปุ เปน็ กฎแห่ง ๒. อธิบาย และสรุปกฎแหง่ การแยก และ การแยกและกฎแหง่ การรวมกลมุ่ อยา่ งอสิ ระ กฎแหง่ การรวมกลุ่มอยา่ งอสิ ระ และนำกฎของ • กฎแหง่ การแยกมใี จความวา่ แอลลลี ท่ีอยเู่ ปน็ คู่ เมนเดลนี้ ไปอธิบายการถ่ายทอดลกั ษณะทาง จะแยกออกจากกันในระหวา่ งการสรา้ งเซลล์ พนั ธุกรรมและใชใ้ นการคำนวณโอกาสในการ สบื พนั ธ์ุ โดยเซลล์สบื พันธแ์ุ ต่ละเซลลจ์ ะมีเพียง เกิดฟีโนไทปแ์ ละจีโนไทปแ์ บบต่าง ๆ ของรุ่น แอลลลี ใดแอลลีลหนึง่ F1 และ F2 • กฎแหง่ การรวมกลุ่มอย่างอสิ ระมใี จความวา่ หลงั จากค่ขู องแอลลีลแยกออกจากกัน แตล่ ะ แอลลลี จะจดั กล่มุ อยา่ งอิสระกับแอลลีลอื่น ๆ ท่ีแยกออกจากคูเ่ ช่นกนั ในการเขา้ ไปอยู่ในเซลล์ สืบพันธุ์ ๓. สบื คน้ ขอ้ มลู วเิ คราะห์ อธบิ าย และสรปุ เกย่ี วกบั • การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมบางลักษณะ การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม ทีเ่ ปน็ ให้อตั ราส่วนท่แี ตกตา่ งจากผลการศึกษาของ ส่วนขยายของพนั ธศุ าสตรเ์ มนเดล เมนเดล เรียกลกั ษณะเหลา่ นีว้ า่ ลักษณะ ๔. สบื คน้ ขอ้ มลู วเิ คราะห์ และเปรยี บเทยี บลกั ษณะ ทางพันธกุ รรมท่ีเป็นส่วนขยายของพนั ธุศาสตร์ ทางพันธุกรรมท่มี กี ารแปรผันไมต่ ่อเนื่อง เมนเดล เช่น การข่มไมส่ มบรู ณ์ การขม่ รว่ มกัน และลักษณะทางพนั ธุกรรมท่ีมีการแปรผนั มลั ตเิ ปลิ แอลลลี ยนี บนโครโมโซมเพศ และพอลยิ นี ต่อเนือ่ ง • ลกั ษณะพนั ธกุ รรมบางลกั ษณะมคี วามแตกตา่ งกนั ชดั เจน เช่น การมตี งิ่ หหู รอื ไมม่ ตี ง่ิ หู ซง่ึ เปน็ ลักษณะทางพันธกุ รรมที่มีการแปรผนั ไม่ต่อเนือ่ ง 140 ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ช้ัน ผลการเรียนร ู้ สาระการเรียนรเู้ พ่ิมเตมิ • ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมบางลกั ษณะมีความ แตกต่างกนั เล็กน้อยและลดหล่นั กันไป เช่น ความสงู และสีผิวของมนษุ ยถ์ ูกควบคมุ โดยยีน หลายคู่ซงึ่ เป็นลกั ษณะทางพันธุกรรมทม่ี ีการ แปรผนั ต่อเนอ่ื งและส่ิงแวดลอ้ มอาจมีผลตอ่ การ แสดงลักษณะนน้ั ๕. อธบิ ายการถา่ ยทอดยีนบนโครโมโซม และ • โครโมโซมภายในเซลลร์ า่ งกายแบ่งเป็นออโตโซม ยกตัวอย่างลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ีถกู ควบคมุ และโครโมโซมเพศ ลักษณะทางพนั ธุกรรม ด้วยยนี บนออโตโซมและยีนบนโครโมโซมเพศ ส่วนใหญถ่ กู ควบคุมดว้ ยยนี บนออโตโซม บางลกั ษณะถกู ควบคมุ ดว้ ยยนี บนโครโมโซมเพศ ซ่ึงสว่ นมากเป็นยีนบนโครโมโซม X • เมอื่ มกี ารสรา้ งเซลลส์ บื พันธ์ุ ยีนบนโครโมโซม เดยี วกนั ทอ่ี ยูใ่ กล้กนั มักจะถูกถา่ ยทอดไปดว้ ยกัน แตก่ ารเกิดครอสซงิ โอเวอร์ในการแบ่งเซลล์แบบ ไมโอซิสอาจทำใหย้ นี บนโครโมโซมเดยี วกันแยก จากกันได้ ส่งผลให้รปู แบบของเซลล์สืบพนั ธท์ุ ่ไี ด้ แตกต่างไปจากกรณีทีไ่ มเ่ กิดครอสซงิ โอเวอร ์ ๖. สบื ค้นข้อมลู อธบิ ายสมบตั ิและหนา้ ทข่ี อง • DNA เปน็ พอลิเมอร์ของนิวคลโี อไทด์ แต่ละ สารพนั ธกุ รรม โครงสร้างและองคป์ ระกอบ นิวคลโี อไทด์ ประกอบด้วย นำ้ ตาลดีออกซีไรโบส ทางเคมีของ DNA และสรปุ การจำลอง DNA หม่ฟู อสเฟต และไนโตรจนี ัสเบส คอื A T C ๗. อธิบาย และระบขุ ั้นตอนในกระบวนการ และ G สังเคราะหโ์ ปรตนี และหน้าท่ีของ DNA และ • โมเลกลุ ของ DNA เป็นพอลนิ ิวคลโี อไทด์ ๒ สาย RNA แต่ละชนดิ ในกระบวนการสงั เคราะห์ เรยี งสลับทศิ และบิดเป็นเกลยี วเวียนขวา โดยการ โปรตีน เขา้ คู่กันของสาย DNA เกดิ จากการจบั คขู่ อง ๘. สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสารพนั ธกุ รรม แอลลลี เบสคูส่ ม คอื A คูก่ บั T และ C คู่กับ G โปรตีน ลักษณะทางพันธุกรรม และเชือ่ มโยงกับ • ยีน คอื สาย DNA บางช่วงทคี่ วบคมุ ลกั ษณะทาง ความร้เู รือ่ งพันธศุ าสตรเ์ มนเดล พันธุกรรมได้ โดยยีนกำหนดลำดับกรดอะมิโน ของโปรตนี ซึ่งทำหนา้ ทเ่ี ป็นโครงสรา้ ง เอนไซม์ และอื่น ๆ มีผลทำให้เซลลแ์ ละส่ิงมชี ีวิตปรากฏ ลกั ษณะตา่ ง ๆ ได ้ • DNA จำลองตวั เองไดโ้ ดยใชส้ ายหน่งึ เป็นแมแ่ บบ และสรา้ งอีกสายขึน้ มาใหม่ ซ่ึงจะมีโครงสร้าง และลำดบั นวิ คลีโอไทด์เหมือนเดมิ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 141 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพ่ิมเตมิ • DNA ควบคมุ ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของสง่ิ มชี วี ติ ได้ โดยการสร้าง RNA ๓ ประเภท คือ mRNA tRNA และ rRNA ซ่งึ ร่วมกันทำหน้าที่ในกระบวนการ สังเคราะห์โปรตีน • RNA เป็นพอลิเมอร์ของนวิ คลโี อไทด์สายเด่ยี ว แตล่ ะนวิ คลโี อไทดป์ ระกอบด้วย น้ำตาลไรโบส หมฟู่ อสเฟต และไนโตรจนี สั เบส คอื A U C และ G ๙. สบื ค้นขอ้ มลู และอธบิ ายการเกดิ มวิ เทชนั • มวิ เทชันเปน็ การเปลยี่ นแปลงของลำดบั หรอื ระดบั ยีนและระดับโครโมโซม สาเหตกุ ารเกดิ จำนวนนิวคลโี อไทดใ์ น DNA ซ่ึงอาจนำไปส่ ู มวิ เทชัน รวมท้งั ยกตวั อย่างโรคและกล่มุ อาการ การเปล่ยี นแปลงโครงสร้างและการทำงานของ ท่ีเป็นผลของการเกดิ มิวเทชัน โปรตีน ซงึ่ ถ้าการเปล่ียนแปลงดังกลา่ วเกิด ในเซลลส์ บื พันธุ์ จะสามารถถา่ ยทอดไปยัง รุ่นต่อ ๆ ไปได้ และทำให้เกิดความแปรผนั ทาง พนั ธุกรรมของส่งิ มชี ีวิต การเกิดมิวเทชนั มสี าเหตุ มาจากปจั จยั ตา่ ง ๆ เช่น รังสี และสารเคมี • การขาดหายไปหรอื เพิม่ ขน้ึ ของนวิ คลโี อไทด ์ และการแทนทคี่ เู่ บส เปน็ การเกดิ มวิ เทชนั ระดบั ยนี เชน่ โรคโลหิตจางชนิดซกิ เคลิ เซลล์ เป็นผลมาจาก การแทนทค่ี ู่เบส • การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของโครโมโซม เช่น หายไปหรอื เพม่ิ ข้ึนบางสว่ น และการเปล่ยี นแปลง จำนวนโครโมโซม เชน่ การลดลงหรือเพ่มิ ข้นึ ของโครโมโซมบางแท่งหรอื ทัง้ ชุด เป็นสาเหต ุ ของการเกดิ มวิ เทชันระดับโครโมโซม เช่น กลุ่ม อาการคริดชู าต์และกล่มุ อาการดาวน์ กลุ่มอาการ เทอรเ์ นอร์และกลุ่มอาการไคลนเ์ ฟลเตอร ์ ๑๐. อธบิ ายหลกั การสรา้ งสง่ิ มชี วี ติ ดดั แปรพนั ธกุ รรม • การใช้เทคโนโลยที างดีเอน็ เอ ในการสร้างดเี อ็นเอ โดยใช้ดเี อน็ เอรีคอมบแิ นนท์ รีคอมบิแนนท์ สามารถนำไปใช้ในการสรา้ ง ๑๑. สบื ค้นขอ้ มลู ยกตัวอยา่ ง และอภิปรายการนำ สง่ิ มชี ีวิตดดั แปรพนั ธุกรรม โดยนำยีนที่ตอ้ งการ เทคโนโลยีทางดเี อน็ เอไปประยุกตใ์ ช้ทั้งในดา้ น มาตัดต่อใส่ในส่งิ มชี วี ติ ทำให้สงิ่ มีชวี ิตน้ันมสี มบัติ ส่งิ แวดลอ้ ม นติ ิวทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ ตามต้องการ การเกษตรและอตุ สาหกรรม และขอ้ ควรคำนึง • เทคโนโลยที างดีเอ็นเอ สามารถนำไปประยกุ ต ์ ถงึ ดา้ นชีวจริยธรรม ใชใ้ นด้านต่าง ๆ เชน่ สง่ิ แวดล้อม นิติวทิ ยาศาสตร ์ 142 ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ช้ัน ผลการเรยี นรู ้ สาระการเรียนรเู้ พ่มิ เตมิ การแพทย์ การเกษตร และอตุ สาหกรรม โดยการ ใชเ้ ทคโนโลยที างดเี อน็ เอตอ้ งคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั ทางชวี ภาพ ชีวจริยธรรม และผลกระทบต่อสงั คม ๑๒. สบื ค้นขอ้ มลู และอธบิ ายเก่ียวกบั หลกั ฐาน • หลักฐานท่ที ำให้เชื่อวา่ ส่งิ มชี วี ิตมีวิวัฒนาการ เชน่ ที่สนบั สนุนและขอ้ มลู ทใี่ ชอ้ ธบิ ายการเกิด ซากดกึ ดำบรรพ์ กายวิภาคเปรยี บเทยี บ วิวฒั นาการของสงิ่ มชี ีวติ วิทยาเอ็มบรโิ อ การแพรก่ ระจายของสงิ่ มชี ีวติ ทาง ภมู ศิ าสตร์ การศกึ ษาทางชีวภมู ศิ าสตร์ และ ด้านชวี วทิ ยาระดับโมเลกุล • มนษุ ย์มกี ารสบื สายววิ ัฒนาการมาเป็นเวลานาน โดยมหี ลกั ฐานที่สนบั สนุนจากซากดกึ ดำบรรพ์ ของบรรพบุรุษมนษุ ย์ท่ีค้นพบ และจากการ เปรียบเทยี บลำดับเบสบน DNA ระหว่างมนุษย์ กบั ไพรเมตอนื่ ๆ ๑๓. อธิบาย และเปรยี บเทียบแนวคิดเก่ยี วกับ • ฌอง ลามาร์ก ไดเ้ สนอแนวคดิ เพ่ืออธิบายเก่ยี วกบั วิวัฒนาการของสงิ่ มีชวี ิตของฌอง ลามารก์ วิวัฒนาการของสิง่ มชี วี ิตวา่ ส่งิ มีชีวิตมีการ และทฤษฎีเกี่ยวกับวิวฒั นาการของส่งิ มีชีวติ เปลยี่ นแปลงโครงสร้างใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ ม ของชาลส์ ดาร์วิน โดยอาศัยกฎการใช้และไม่ใช้ และกฎแหง่ การ ถ่ายทอดลกั ษณะทเ่ี กิดข้ึนมาใหม่ • ชาลส์ ดารว์ ิน เสนอทฤษฎเี กีย่ วกบั ววิ ัฒนาการ ของสง่ิ มชี วี ติ วา่ เกดิ จากการคดั เลอื กโดยธรรมชาติ โดยสงิ่ มีชวี ติ มีแนวโน้มท่ีจะให้กำเนดิ ลูกท่ีมี ลักษณะแตกตา่ งกันจำนวนมาก แตม่ ีเพยี ง จำนวนหน่ึงที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม สามารถมีชวี ติ รอด และถา่ ยทอดลักษณะ ที่เหมาะสมไปยงั รนุ่ ตอ่ ไปได้ ๑๔. ระบุสาระสำคญั และอธิบายเง่ือนไขของภาวะ • เมอื่ ประชากรอยใู่ นภาวะสมดลุ ของฮารด์ -ี ไวนเ์ บริ ก์ สมดลุ ของฮาร์ด-ี ไวน์เบิร์ก ปจั จัยท่ีทำให้เกิด โดยประชากรมีขนาดใหญ่ ไมม่ กี ารถ่ายเทยีน การเปล่ยี นแปลงความถข่ี องแอลลลี ระหวา่ งประชากร ไมเ่ กดิ มวิ เทชนั สมาชกิ ทกุ ตวั ในประชากร พรอ้ มทงั้ คำนวณหาความถ ่ ี มโี อกาสผสมพนั ธไุ์ ดเ้ ทา่ กนั และไมเ่ กดิ การคดั เลอื ก ของแอลลีลและจโี นไทป์ของประชากร โดยธรรมชาติ จะทำใหค้ วามถขี่ องแอลลลี ของ โดยใช้หลกั ของฮารด์ -ี ไวนเ์ บริ ก์ ลักษณะน้นั ไมเ่ ปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะผ่านไปกรี่ นุ่ ก็ตาม เป็นผลให้ลักษณะนัน้ ไม่เกิดวิวัฒนาการ • การเปลี่ยนแปลงความถ่ขี องยนี หรอื แอลลีล ในประชากร เกิดจากปัจจัยหลายประการ นำไปสู่ การเกดิ ววิ ัฒนาการ ตัวชวี้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 143 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277