ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๙. อธบิ ายและเปรียบเทียบการจดั เรยี งอนุภาค • สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค โดยสาร แรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาค และการเคล่ือนที่ ชนดิ เดยี วกนั ทม่ี สี ถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส ของอนภุ าคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะ จะมกี ารจัดเรียงอนุภาค แรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ ง ของแขง็ ของเหลว และแกส๊ โดยใชแ้ บบจำลอง อนภุ าค การเคลอื่ นทข่ี องอนภุ าคแตกต่างกัน ซึง่ มผี ลตอ่ รูปรา่ งและปรมิ าตรของสสาร • อนุภาคของของแข็งเรยี งชดิ กัน มแี รงยึดเหน่ยี ว ระหวา่ งอนุภาคมากท่สี ดุ อนุภาคส่นั อยกู่ บั ท่ี ทำใหม้ ีรปู รา่ งและปริมาตรคงที่ • อนุภาคของของเหลวอยใู่ กลก้ ัน มแี รงยดึ เหนย่ี ว ระหวา่ งอนภุ าคนอ้ ยกวา่ ของแขง็ แตม่ ากกวา่ แกส๊ อนภุ าคเคลือ่ นทีไ่ ดแ้ ต่ไม่เป็นอสิ ระเท่าแกส๊ ทำให้ มรี ปู รา่ งไม่คงที่ แต่ปริมาตรคงท ี่ • อนภุ าคของแกส๊ อยหู่ ่างกันมาก มีแรงยึดเหน่ียว ระหวา่ งอนุภาคนอ้ ยทสี่ ุด อนภุ าคเคล่ือนที่ได้ อยา่ งอสิ ระทุกทศิ ทาง ทำให้มรี ปู รา่ งและปรมิ าตร ไม่คงท่ี ๑๐. อธบิ ายความสมั พันธ์ระหว่าง • ความร้อนมผี ลตอ่ การเปล่ยี นสถานะของสสาร พลังงานความร้อนกับการเปลย่ี นสถานะ เมือ่ ให้ความร้อนแก่ของแขง็ อนุภาคของของแขง็ ของสสาร โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษแ์ ละ จะมพี ลังงานและอณุ หภมู เิ พมิ่ ขน้ึ จนถงึ ระดบั หนงึ่ แบบจำลอง ซงึ่ ของแขง็ จะใชค้ วามรอ้ นในการเปลีย่ นสถานะ เป็นของเหลว เรียกความรอ้ นท่ีใช้ในการเปล่ยี น สถานะจากของแขง็ เปน็ ของเหลววา่ ความรอ้ นแฝง ของการหลอมเหลว และอุณหภูมขิ ณะ เปลี่ยนสถานะจะคงที่ เรียกอณุ หภูมิน้ีว่า จดุ หลอมเหลว 44 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง • เมอ่ื ใหค้ วามรอ้ นแกข่ องเหลว อนภุ าคของของเหลว จะมพี ลงั งานและอณุ หภมู เิ พมิ่ ขนึ้ จนถึงระดับหนง่ึ ซึ่งของเหลวจะใช้ความร้อนในการเปลยี่ นสถานะ เปน็ แก๊ส เรยี กความรอ้ นท่ใี ชใ้ นการเปลี่ยนสถานะ จากของเหลวเป็นแกส๊ ว่า ความรอ้ นแฝงของ การกลายเปน็ ไอ และอุณหภมู ขิ ณะเปลย่ี นสถานะ จะคงที่ เรียกอุณหภูมินวี้ า่ จดุ เดอื ด • เมอื่ ทำให้อณุ หภมู ิของแก๊สลดลงจนถึงระดบั หนงึ่ แกส๊ จะเปลย่ี นสถานะเป็นของเหลว เรียกอณุ หภูมิ น้วี า่ จดุ ควบแน่น ซง่ึ มีอุณหภูมิเดียวกบั จดุ เดอื ด ของของเหลวน้นั • เมอ่ื ทำให้อุณหภูมขิ องของเหลวลดลงจนถงึ ระดบั หนงึ่ ของเหลวจะเปลย่ี นสถานะเปน็ ของแขง็ เรยี กอุณหภูมิน้ีวา่ จุดเยือกแข็ง ซง่ึ มอี ุณหภมู ิ เดยี วกับจดุ หลอมเหลวของของแขง็ นนั้ ม.๒ ๑. อธบิ ายการแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง • การแยกสารผสมให้เป็นสารบริสุทธิ์ทำไดห้ ลายวิธี การตกผลกึ การกลนั่ อย่างง่าย ขนึ้ อยกู่ ับสมบตั ิของสารน้ัน ๆ การระเหยแหง้ ใช้ โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกดั ดว้ ย แยกสารละลายซึ่งประกอบดว้ ยตัวละลายทเ่ี ปน็ ตวั ทำละลาย โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ ของแข็งในตวั ทำละลายทเี่ ปน็ ของเหลว โดยใช้ ๒. แยกสารโดยการระเหยแหง้ การตกผลึก ความรอ้ นระเหยตวั ทำละลายออกไปจนหมด เหลือแตต่ วั ละลาย การตกผลึกใช้แยกสารละลาย การกลัน่ อยา่ งง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกดั ด้วยตวั ทำละลาย ท่ปี ระกอบด้วยตวั ละลายท่ีเปน็ ของแข็งใน ตวั ทำละลายทเี่ ปน็ ของเหลว โดยทำใหส้ ารละลายอม่ิ ตวั แล้วปลอ่ ยใหต้ ัวทำละลายระเหยออกไปบางสว่ น ตวั ละลายจะตกผลกึ แยกออกมา การกลนั่ อยา่ งงา่ ย ใช้แยกสารละลายท่ปี ระกอบดว้ ย ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 45 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ตัวละลายและตัวทำละลายท่เี ป็นของเหลวที่มี จุดเดอื ดต่างกันมาก วธิ ีนี้จะแยกของเหลวบรสิ ทุ ธิ์ ออกจากสารละลายโดยใหค้ วามรอ้ นกบั สารละลาย ของเหลวจะเดือดและกลายเป็นไอแยกจาก สารละลายแล้วควบแนน่ กลับเปน็ ของเหลว อกี ครั้ง ขณะที่ของเหลวเดอื ด อุณหภูมขิ องไอจะ คงที่ โครมาโทกราฟแี บบกระดาษเป็นวธิ กี ารแยก สารผสมที่มปี ริมาณนอ้ ยโดยใช้แยกสารท่ีมสี มบตั ิ การละลายในตวั ทำละลายและการถกู ดดู ซับด้วย ตัวดดู ซบั แตกตา่ งกัน ทำให้สารแตล่ ะชนิด เคลอื่ นทีไ่ ปบนตัวดดู ซับไดต้ า่ งกัน สารจึงแยก ออกจากกนั ได้ อตั ราส่วนระหวา่ งระยะทางท่สี าร องค์ประกอบแตล่ ะชนิดเคล่อื นที่ไดบ้ นตวั ดดู ซบั กบั ระยะทางท่ีตัวทำละลายเคลอื่ นทีไ่ ด้ เปน็ ค่าเฉพาะตวั ของสารแตล่ ะชนิดในตัวทำละลาย และตัวดูดซับหนง่ึ ๆ การสกดั ด้วยตัวทำละลาย เปน็ วธิ ีการแยกสารผสมทมี่ ีสมบตั กิ ารละลายใน ตัวทำละลายท่ตี ่างกัน โดยชนิดของตวั ทำละลาย มผี ลตอ่ ชนิดและปริมาณของสารท่สี กัดได้ การสกดั โดยการกลนั่ ด้วยไอน้ำ ใช้แยกสาร ทีร่ ะเหยงา่ ย ไมล่ ะลายนำ้ และไมท่ ำปฏิกริ ิยา กบั น้ำออกจากสารทรี่ ะเหยยาก โดยใช้ไอนำ้ เปน็ ตัวพา 46 ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๓. นำวธิ กี ารแยกสารไปใชแ้ กป้ ญั หาในชวี ติ ประจำวนั • ความรดู้ ้านวทิ ยาศาสตร์เก่ียวกับการแยกสาร โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ บรู ณาการกบั คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี โดยใช้ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร ์ กระบวนการทางวศิ วกรรม สามารถนำไปใช ้ แก้ปญั หาในชวี ติ ประจำวนั หรอื ปัญหาทีพ่ บใน ชุมชนหรอื สรา้ งนวตั กรรม โดยมีขนั้ ตอน ดงั น ี้ - ระบปุ ญั หาในชวี ิตประจำวนั ท่เี ก่ียวกับการ แยกสารโดยใชส้ มบตั ทิ างกายภาพ หรอื นวตั กรรม ทตี่ อ้ งการพฒั นา โดยใช้หลกั การดังกลา่ ว - รวบรวมข้อมลู และแนวคดิ เกีย่ วกบั การแยกสาร โดยใช้สมบตั ทิ างกายภาพทีส่ อดคล้องกับปญั หา ทีร่ ะบุ หรือนำไปสูก่ ารพัฒนานวตั กรรมนน้ั - ออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหา หรือพัฒนานวตั กรรม ท่ีเกยี่ วกับการแยกสารในสารผสม โดยใช้สมบัติ ทางกายภาพ โดยเช่อื มโยงความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และ กระบวนการทางวศิ วกรรม รวมทัง้ กำหนดและ ควบคุมตวั แปรอย่างเหมาะสม ครอบคลมุ - วางแผนและดำเนนิ การแก้ปญั หา หรือพฒั นา นวัตกรรม รวบรวมขอ้ มูล จดั กระทำขอ้ มูล และเลอื กวธิ ีการสอื่ ความหมายทเ่ี หมาะสม ในการนำเสนอผล - ทดสอบ ประเมินผล ปรับปรงุ วิธีการแกป้ ญั หา หรอื นวัตกรรมท่ีพัฒนาขึน้ โดยใช้หลกั ฐาน เชิงประจกั ษ์ทีร่ วบรวมได้ - นำเสนอวธิ กี ารแก้ปัญหา หรอื ผลของนวัตกรรม ที่พฒั นาขึน้ และผลท่ีได้ โดยใช้วธิ กี ารสอ่ื สาร ท่เี หมาะสมและน่าสนใจ ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 47 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๔. ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธิบาย • สารละลายอาจมสี ถานะเปน็ ของแขง็ ของเหลว ผลของชนดิ ตัวละลาย ชนิดตวั ทำละลาย และแกส๊ สารละลายประกอบด้วยตวั ทำละลาย อณุ หภมู ทิ ม่ี ตี อ่ สภาพละลายไดข้ องสาร รวมท้ัง และตวั ละลาย กรณสี ารละลายเกดิ จากสารท่ีมี อธบิ ายผลของความดนั ทีม่ ีตอ่ สภาพละลายได้ สถานะเดยี วกนั สารทม่ี ีปริมาณมากทสี่ ุดจดั เป็น ของสาร โดยใชส้ ารสนเทศ ตัวทำละลาย กรณสี ารละลายเกดิ จากสารทมี่ ี สถานะตา่ งกนั สารท่ีมีสถานะเดยี วกนั กับ สารละลายจดั เป็นตัวทำละลาย • สารละลายทตี่ ัวละลายไมส่ ามารถละลายในตวั ทำละลายได้อกี ท่ีอุณหภูมหิ นึง่ ๆ เรยี กวา่ สารละลายอ่ิมตวั • สภาพละลายไดข้ องสารในตัวทำละลาย เปน็ คา่ ท่ี บอกปริมาณของสารที่ละลายไดใ้ นตัวทำละลาย ๑๐๐ กรัม จนได้สารละลายอ่ิมตัว ณ อุณหภมู ิ และความดนั หน่งึ ๆ สภาพละลายได้ของสาร บง่ บอกความสามารถในการละลายไดข้ องตวั ละลาย ในตวั ทำละลาย ซึ่งความสามารถในการละลาย ของสารขนึ้ อย่กู บั ชนดิ ของตวั ทำละลายและ ตัวละลาย อณุ หภมู ิ และความดัน • สารชนดิ หนง่ึ ๆ มสี ภาพละลายไดแ้ ตกตา่ งกนั ใน ตวั ทำละลายที่แตกตา่ งกนั และสารตา่ งชนดิ กัน มสี ภาพละลายไดใ้ นตวั ทำละลายหนงึ่ ๆ ไมเ่ ทา่ กนั • เมอื่ อณุ หภูมสิ งู ขึ้น สารส่วนมาก สภาพละลายได้ ของสารจะเพิม่ ขน้ึ ยกเว้นแก๊สเมอื่ อณุ หภูมิสูงขึ้น สภาพการละลายได้จะลดลง สว่ นความดันมีผล ตอ่ แก๊ส โดยเมือ่ ความดนั เพม่ิ ขน้ึ สภาพละลายได้ จะสูงขนึ้ • ความรู้เก่ียวกับสภาพละลายไดข้ องสาร เมือ่ เปลี่ยนแปลงชนิดตัวละลาย ตัวทำละลาย และ อณุ หภมู ิ สามารถนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวนั เช่น การทำน้ำเชื่อมเข้มข้น การสกัดสารออกจาก สมนุ ไพรให้ไดป้ ริมาณมากท่ีสุด 48 ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๕. ระบปุ รมิ าณตัวละลายในสารละลาย ในหน่วย • ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย เป็นการระบุปรมิ าณ ความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปรมิ าตรตอ่ ปริมาตร ตัวละลายในสารละลาย หนว่ ยความเข้มข้น มวลต่อมวล และมวลตอ่ ปริมาตร มหี ลายหน่วย ที่นยิ มระบเุ ปน็ หน่วยเป็นร้อยละ ๖. ตระหนกั ถึงความสำคญั ของการนำความรเู้ ร่อื ง ปรมิ าตรตอ่ ปรมิ าตร มวลตอ่ มวล และมวล ความเข้มข้นของสารไปใช้ โดยยกตวั อยา่ งการใช้ ตอ่ ปริมาตร สารละลายในชวี ิตประจำวันอย่างถูกต้อง • รอ้ ยละโดยปรมิ าตรตอ่ ปริมาตร เป็นการระบุ และปลอดภัย ปรมิ าตรตัวละลายในสารละลาย ๑๐๐ หน่วย ปริมาตรเดยี วกนั นยิ มใช้กบั สารละลายทเ่ี ปน็ ของเหลวหรอื แกส๊ • ร้อยละโดยมวลตอ่ มวล เป็นการระบมุ วล ตัวละลายในสารละลาย ๑๐๐ หน่วยมวลเดียวกัน นิยมใช้กับสารละลายทม่ี ีสถานะเป็นของแขง็ • ร้อยละโดยมวลต่อปรมิ าตร เปน็ การระบมุ วล ตัวละลายในสารละลาย ๑๐๐ หน่วยปรมิ าตร นิยมใช้กับสารละลายที่มตี วั ละลายเป็นของแข็ง ในตัวทำละลายทเ่ี ปน็ ของเหลว • การใช้สารละลาย ในชวี ติ ประจำวนั ควรพิจารณา จากความเขม้ ขน้ ของสารละลาย ข้ึนอยู่กบั จุดประสงค์ของการใช้งาน และผลกระทบตอ่ สิ่งชวี ิตและส่งิ แวดล้อม ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 49 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม.๓ ๑. ระบสุ มบัตทิ างกายภาพและการใชป้ ระโยชน์ • พอลเิ มอร์ เซรามกิ และวสั ดุผสม เป็นวสั ดทุ ่ีใช้ วสั ดปุ ระเภทพอลเิ มอร์ เซรามิก และวสั ดุผสม มากในชวี ิตประจำวนั โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ และสารสนเทศ • พอลเิ มอร์เปน็ สารประกอบโมเลกุลใหญ ่ ๒. ตระหนักถงึ คณุ คา่ ของการใชว้ ัสดปุ ระเภท ทีเ่ กิดจากโมเลกุลจำนวนมากรวมตัวกันทางเคมี พอลเิ มอร์ เซรามิก และวสั ดุผสม โดยเสนอแนะ เชน่ พลาสตกิ ยาง เสน้ ใย ซงึ่ เปน็ พอลเิ มอรท์ ีม่ ี แนวทางการใช้วสั ดอุ ย่างประหยดั และคุ้มคา่ สมบัติแตกตา่ งกนั โดยพลาสติกเปน็ พอลิเมอรท์ ่ี ข้ึนรูปเป็นรปู ทรงต่าง ๆ ได้ ยางยืดหย่นุ ได ้ สว่ นเสน้ ใยเปน็ พอลเิ มอรท์ สี่ ามารถดงึ เปน็ เสน้ ยาวได้ พอลิเมอรจ์ ึงใช้ประโยชน์ได้แตกตา่ งกัน • เซรามิกเป็นวัสดทุ ีผ่ ลติ จาก ดนิ หิน ทราย และ แร่ธาตตุ า่ ง ๆ จากธรรมชาติ และส่วนมากจะผา่ น การเผาที่อุณหภมู สิ ูง เพ่ือให้ได้เนื้อสารทแ่ี ข็งแรง เซรามิกสามารถทำเปน็ รปู ทรงต่าง ๆ ได้ สมบัติ ท่วั ไปของเซรามิกจะแขง็ ทนต่อการสึกกร่อน และเปราะ สามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เชน่ ภาชนะทเ่ี ปน็ เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผา ชน้ิ สว่ นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ์ • วสั ดุผสมเปน็ วัสดทุ ี่เกดิ จากวัสดุต้ังแต่ ๒ ประเภท ทมี่ สี มบตั แิ ตกตา่ งกนั มารวมตวั กนั เพื่อนำไปใช้ ประโยชนไ์ ดม้ ากขน้ึ เชน่ เสอื้ กันฝนบางชนิด เปน็ วสั ดผุ สมระหวา่ งผา้ กบั ยาง คอนกรตี เสรมิ เหลก็ เปน็ วัสดผุ สมระหวา่ งคอนกรีตกับเหลก็ • วัสดบุ างชนิดสลายตวั ยาก เช่น พลาสติก การใช้ วสั ดุอย่างฟุ่มเฟอื ยและไม่ระมัดระวงั อาจก่อ ปัญหาตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม 50 ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๓. อธบิ ายการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี รวมถงึ การจดั • การเกิดปฏิกิริยาเคมีหรอื การเปลีย่ นแปลงทาง เรียงตัวใหมข่ องอะตอมเมือ่ เกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี เคมีของสาร เป็นการเปลี่ยนแปลงทท่ี ำให้เกดิ โดยใชแ้ บบจำลองและสมการขอ้ ความ สารใหม่ โดยสารทเี่ ขา้ ทำปฏกิ ริ ยิ า เรยี กวา่ สารตงั้ ตน้ สารใหมท่ เ่ี กดิ ขนึ้ จากปฏิกริ ยิ า เรียกว่า ผลติ ภัณฑ์ การเกดิ ปฏิกิริยาเคมสี ามารถเขียนแทนไดด้ ้วย สมการข้อความ • การเกิดปฏกิ ิริยาเคมี อะตอมของสารต้งั ต้นจะมี การจัดเรียงตวั ใหม่ ได้เป็นผลติ ภัณฑ์ ซงึ่ มีสมบัติ แตกต่างจากสารตง้ั ต้น โดยอะตอมแตล่ ะชนิด กอ่ นและหลงั เกิดปฏิกิริยาเคมมี ีจำนวนเทา่ กนั ๔. อธิบายกฎทรงมวล โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ • เมื่อเกิดปฏิกิรยิ าเคมี มวลรวมของสารตงั้ ตน้ เทา่ กบั มวลรวมของผลติ ภัณฑ์ ซง่ึ เปน็ ไปตาม กฎทรงมวล ๕. วเิ คราะหป์ ฏกิ ิรยิ าดดู ความรอ้ น และปฏิกิรยิ า • เมอื่ เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี มกี ารถ่ายโอนความร้อน คายความร้อน จากการเปลย่ี นแปลงพลงั งาน ควบคไู่ ปกบั การจดั เรยี งตวั ใหมข่ องอะตอมของสาร ความร้อนของปฏิกิรยิ า ปฏกิ ริ ยิ าทมี่ กี ารถา่ ยโอนความรอ้ นจากสง่ิ แวดลอ้ ม เขา้ สรู่ ะบบเป็นปฏิกริ ิยาดูดความรอ้ น ปฏิกิริยา ทม่ี กี ารถา่ ยโอนความร้อนจากระบบออกส ู่ สง่ิ แวดลอ้ มเปน็ ปฏกิ ริ ยิ าคายความรอ้ น โดยใช้ เครื่องมอื ท่เี หมาะสมในการวดั อณุ หภูมิ เช่น เทอรม์ อมิเตอร์ หวั วัดท่สี ามารถตรวจสอบ การเปล่ียนแปลงของอณุ หภมู ไิ ดอ้ ยา่ งต่อเน่อื ง ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 51 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ช้นั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๖. อธบิ ายปฏกิ ริ ยิ าการเกิดสนมิ ของเหล็ก ปฏกิ ิรยิ า • ปฏกิ ิริยาเคมที ่พี บในชีวิตประจำวันมีหลายชนิด ของกรดกบั โลหะ ปฏกิ ริ ิยาของกรดกับเบส และ เชน่ ปฏิกิริยาการเผาไหม้ การเกิดสนิมของเหลก็ ปฏกิ ิรยิ าของเบสกับโลหะ โดยใช้หลักฐานเชงิ ปฏิกิริยาของกรดกบั โลหะ ปฏิกิรยิ าของกรดกบั ประจกั ษ์ และอธบิ ายปฏกิ ริ ยิ าการเผาไหม ้ เบส ปฏกิ ิริยาของเบสกับโลหะ การเกิดฝนกรด การเกดิ ฝนกรด การสังเคราะหด์ ้วยแสง โดยใช้ การสังเคราะหด์ ้วยแสง ปฏิกิรยิ าเคมสี ามารถ สารสนเทศ รวมท้งั เขียนสมการขอ้ ความแสดง เขียนแทนได้ดว้ ยสมการขอ้ ความ ซ่ึงแสดงช่ือของ ปฏกิ ิริยาดงั กล่าว สารตง้ั ต้นและผลติ ภณั ฑ์ เชน่ เชอื้ เพลงิ + ออกซเิ จน → คารบ์ อนไดออกไซด์ + นำ้ ปฏกิ ิริยาการเผาไหม้เปน็ ปฏกิ ิรยิ าระหวา่ งสารกบั ออกซิเจน สารทเี่ กดิ ปฏกิ ิรยิ าการเผาไหม ้ ส่วนใหญเ่ ป็นสารประกอบทีม่ คี าร์บอนและ ไฮโดรเจนเป็นองคป์ ระกอบ ซง่ึ ถ้าเกดิ การเผาไหม้ อยา่ งสมบูรณ์ จะได้ผลิตภณั ฑ์เป็น คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละนำ้ • การเกดิ สนมิ ของเหลก็ เกดิ จากปฏกิ ริ ยิ าเคมี ระหว่างเหลก็ น้ำ และออกซิเจน ไดผ้ ลิตภัณฑ์ เปน็ สนิมของเหล็ก • ปฏิกิรยิ าการเผาไหม้และการเกิดสนิมของเหลก็ เป็นปฏกิ ิริยาระหว่างสารต่าง ๆ กบั ออกซเิ จน • ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกบั โลหะ กรดทำปฏกิ ริ ยิ ากบั โลหะไดห้ ลายชนดิ ได้ผลิตภัณฑ์เปน็ เกลอื ของ โลหะและแกส๊ ไฮโดรเจน • ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกบั สารประกอบคารบ์ อเนต ได้ผลิตภัณฑเ์ ปน็ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ เกลอื ของโลหะ และนำ้ • ปฏกิ ิริยาของกรดกบั เบส ได้ผลิตภัณฑ์เปน็ เกลอื ของโลหะและน้ำ หรอื อาจไดเ้ พียงเกลอื ของโลหะ • ปฏกิ ิรยิ าของเบสกับโลหะบางชนดิ ไดผ้ ลติ ภณั ฑ์ เป็นเกลอื ของเบสและแก๊สไฮโดรเจน • การเกดิ ฝนกรด เปน็ ผลจากปฏิกิรยิ าระหว่าง นำ้ ฝนกบั ออกไซดข์ องไนโตรเจน หรือออกไซด์ ของซัลเฟอร์ ทำใหน้ ำ้ ฝนมสี มบัติเปน็ กรด • การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื เปน็ ปฏกิ ริ ยิ า ระหว่างแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์กับนำ้ โดยมี แสงช่วยในการเกดิ ปฏิกิรยิ า ได้ผลติ ภัณฑเ์ ปน็ น้ำตาลกลโู คสและออกซิเจน 52 ตัวชวี้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๗. ระบปุ ระโยชน์และโทษของปฏกิ ริ ิยาเคม ี • ปฏกิ ิริยาเคมีที่พบในชีวติ ประจำวันมที ง้ั ประโยชน์ ทมี่ ตี ่อสง่ิ มชี ีวติ และสงิ่ แวดลอ้ ม และยกตวั อย่าง และโทษต่อสิง่ มีชีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม จงึ ต้อง วธิ กี ารปอ้ งกนั และแกป้ ญั หาทเี่ กดิ จากปฏกิ ริ ยิ าเคมี ระมดั ระวังผลจากปฏกิ ริ ยิ าเคมี ตลอดจนร้จู ักวิธี ทพ่ี บในชวี ิตประจำวัน จากการสบื ค้นขอ้ มูล ปอ้ งกนั และแก้ปญั หาท่เี กิดจากปฏกิ ริ ิยาเคมที ีพ่ บ ๘. ออกแบบวิธแี ก้ปญั หาในชวี ิตประจำวนั โดยใช้ ในชวี ติ ประจำวนั ความรเู้ ก่ียวกบั ปฏิกริ ยิ าเคม ี • ความรู้เกย่ี วกบั ปฏกิ ริ ิยาเคมี สามารถนำไปใช้ โดยบูรณาการวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวนั และสามารถบรู ณาการ เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร์ กบั คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ เพอื่ ใชป้ รับปรุงผลิตภัณฑใ์ ห้มคี ณุ ภาพ ตามต้องการหรอื อาจสรา้ งนวตั กรรมเพอ่ื ปอ้ งกนั และแกป้ ญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ จากปฏิกริ ยิ าเคมี โดยใช้ ความรเู้ กย่ี วกบั ปฏกิ ริ ยิ าเคมี เชน่ การเปลยี่ นแปลง พลงั งานความร้อนอนั เนือ่ งมาจากปฏิกริ ิยาเคมี การเพิม่ ปริมาณผลผลติ ม.๔ - - ม.๕ ๑. ระบวุ า่ สารเป็นธาตหุ รอื สารประกอบ และอยใู่ น • สารเคมที กุ ชนิดสามารถระบุได้ว่าเป็นธาตหุ รือ รปู อะตอม โมเลกลุ หรือไอออนจากสูตรเคม ี สารประกอบ และอยู่ในรูปของอะตอม โมเลกุล หรือไอออนได้ โดยพจิ ารณาจากสูตรเคม ี ๒. เปรยี บเทยี บความเหมอื นและความแตกตา่ ง • แบบจำลองอะตอมใชอ้ ธบิ ายตำแหนง่ ของโปรตอน ของแบบจำลองอะตอมของโบร์กบั แบบจำลอง นิวตรอน และอิเล็กตรอนในอะตอม โดยโปรตอน อะตอมแบบกล่มุ หมอก และนวิ ตรอนอยรู่ วมกนั ในนวิ เคลยี ส สว่ นอเิ ลก็ ตรอน เคลื่อนทร่ี อบนิวเคลยี ส ซ่งึ ในแบบจำลองอะตอม ของโบร์ อิเล็กตรอนเคล่ือนท่เี ปน็ วง โดยแต่ละวง มรี ะยะห่างจากนิวเคลยี สและมพี ลังงานตา่ งกนั และอเิ ล็กตรอนวงนอกสุด เรียกวา่ เวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอน • แบบจำลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก แสดงโอกาส ทจ่ี ะพบอเิ ลก็ ตรอนรอบนิวเคลยี สในลักษณะ กลุ่มหมอก เน่ืองจากอเิ ล็กตรอนมีขนาดเลก็ และ เคลอื่ นทอ่ี ย่างรวดเรว็ ตลอดเวลา จงึ ไมส่ ามารถ ระบตุ ำแหนง่ ทแี่ น่นอนได้ ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 53 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๓. ระบุจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอิเลก็ ตรอน • อะตอมของธาตเุ ปน็ กลางทางไฟฟา้ มจี ำนวน ของอะตอม และไอออนที่เกิดจากอะตอมเดียว โปรตอนเท่ากับจำนวนอเิ ล็กตรอน การระบุชนิด ของธาตพุ ิจารณาจากจำนวนโปรตอน • เมอื่ อะตอมของธาตมุ กี ารใหห้ รอื รบั อเิ ลก็ ตรอน ทำให้ จำนวนโปรตอนและอเิ ลก็ ตรอนไม่เทา่ กัน เกิดเป็นไอออน โดยไอออนทม่ี ีจำนวนอเิ ลก็ ตรอน นอ้ ยกวา่ จำนวนโปรตอน เรียกว่า ไอออนบวก ส่วนไอออนทมี่ จี ำนวนอเิ ล็กตรอนมากกว่า โปรตอน เรียกวา่ ไอออนลบ ๔. เขียนสัญลักษณน์ ิวเคลยี ร์ของธาตแุ ละระบุการ • สัญลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์ ประกอบด้วยสญั ลักษณ์ธาตุ เปน็ ไอโซโทป เลขอะตอมและเลขมวล โดยเลขอะตอมเปน็ ตัวเลขทแ่ี สดงจำนวนโปรตอนในอะตอม เลขมวล เปน็ ตวั เลขทแ่ี สดงผลรวมของจำนวนโปรตอนกับ นวิ ตรอนในอะตอม ธาตชุ นดิ เดยี วกนั แตม่ ี เลขมวลตา่ งกนั เรยี กว่าไอโซโทป ๕. ระบุหมูแ่ ละคาบของธาตุ และระบุว่าธาตเุ ปน็ • ธาตจุ ัดเป็นหมวดหม่ไู ดอ้ ย่างเปน็ ระบบ โดยอาศัย โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตเุ รพรเี ซนเททีฟ ตารางธาตุ ซึ่งในปัจจุบนั จดั เรียงตามเลขอะตอม หรือกลมุ่ ธาตแุ ทรนซิชนั จากตารางธาต ุ และความคลา้ ยคลึงของสมบตั ิ แบง่ ออกเป็นหมู่ ซงึ่ เปน็ แถวในแนวตงั้ และคาบซงึ่ เปน็ แถวในแนวนอน ทำให้ธาตทุ มี่ สี มบตั เิ ปน็ โลหะ อโลหะและกงึ่ โลหะ อย่เู ปน็ กล่มุ บริเวณใกล้ ๆ กัน และแบง่ ธาตุออก เปน็ กลมุ่ ธาตเุ รพรเี ซนเททฟี และกลมุ่ ธาตแุ ทรนซชิ นั ๖. เปรียบเทียบสมบตั กิ ารนำไฟฟา้ การให้และรับ • ธาตใุ นกลุ่มโลหะ จะนำไฟฟ้าได้ดี และมแี นวโน้ม อเิ ล็กตรอนระหวา่ งธาตุในกล่มุ โลหะกับอโลหะ ใหอ้ เิ ลก็ ตรอน สว่ นธาตใุ นกลมุ่ อโลหะ จะไมน่ ำ ไฟฟ้า และมแี นวโน้มรับอิเลก็ ตรอน โดยธาต ุ เรพรเีซนเททฟี ในหมู่ IA - IIA และธาตแุ ทรนซชิ นั ทกุ ธาตุ จดั เป็นธาตใุ นกลุ่มโลหะ ส่วนธาตเุ รพรีเซนเททฟี ในหมู่ IIIA - VIIA มที ง้ั ธาตใุ นกลมุ่ โลหะและอโลหะ ส่วนธาตเุ รพรีเซนเททฟี ในหมู่ VIIIA จัดเป็นธาตุ อโลหะทง้ั หมด 54 ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๗. สบื คน้ ข้อมูลและนำเสนอตัวอยา่ งประโยชน์และ • ธาตเุ รพรเี ซนเททฟี และธาตุแทรนซิชัน อนั ตรายที่เกิดจากธาตเุ รพรีเซนเททีฟและ นำมาใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวันไดห้ ลากหลาย ธาตแุ ทรนซชิ นั ซ่ึงธาตบุ างชนดิ มสี มบัติทเี่ ป็นอันตราย จงึ ตอ้ ง คำนึงถงึ การปอ้ งกันอนั ตรายเพอื่ ความปลอดภัย ในการใช้ประโยชน ์ ๘. ระบวุ า่ พนั ธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดีย่ ว พนั ธะคู่ • พนั ธะโคเวเลนต์ เปน็ การยดึ เหน่ยี วระหว่าง หรอื พันธะสาม และระบุจำนวนคอู่ เิ ล็กตรอน อะตอมด้วยการใชเ้ วเลนซอ์ เิ ล็กตรอนร่วมกัน เกิด ระหว่างอะตอมค่รู ่วมพันธะ จากสตู รโครงสรา้ ง เป็นโมเลกุล โดยการใชเ้ วเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนรว่ มกัน ๑ คู่เรียกว่า พันธะเด่ยี ว เขียนแทนดว้ ยเสน้ พันธะ ๑ เสน้ ในโครงสรา้ งโมเลกลุ สว่ นการใช ้ เวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนรว่ มกนั ๒ คู่ และ ๓ คู่ เรยี กวา่ พนั ธะคู่ และพนั ธะสาม เขยี นแทนด้วยเสน้ พนั ธะ ๒ เส้น และ ๓ เสน้ ตามลำดับ ๙. ระบุสภาพข้วั ของสารท่ีโมเลกุลประกอบด้วย • สารที่มีพนั ธะภายในโมเลกลุ เป็นพนั ธะโคเวเลนต์ ๒ อะตอม ทง้ั หมดเรยี กวา่ สารโคเวเลนต์ โดยสารโคเวเลนต์ ๑๐. ระบสุ ารที่เกิดพนั ธะไฮโดรเจนได้จากสตู ร ทีป่ ระกอบด้วย ๒ อะตอมของธาตชุ นิดเดยี วกนั โครงสรา้ ง เปน็ สารไม่มขี วั้ ส่วนสารโคเวเลนต์ ทป่ี ระกอบ ๑๑. อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างจดุ เดอื ดของสาร ด้วย ๒ อะตอมของธาตุต่างชนดิ กนั เป็นสาร มีขว้ั สำหรับสารโคเวเลนต์ที่ประกอบดว้ ยอะตอม โคเวเลนต์กบั แรงดงึ ดูดระหวา่ งโมเลกลุ ตาม สภาพข้วั หรือการเกิดพันธะไฮโดรเจน มากกว่า ๒ อะตอม อาจเป็นสารมีข้วั หรือไมม่ ขี ้วั ขึน้ อยกู่ ับรูปร่างของโมเลกุล ซงึ่ สภาพข้ัวของ สารโคเวเลนตส์ ง่ ผลต่อแรงดงึ ดดู ระหวา่ งโมเลกุล ท่ีทำให้จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสาร โคเวเลนตแ์ ตกต่างกนั นอกจากน้สี ารบางชนิด มจี ุดเดือดสูงกวา่ ปกติ เน่อื งจากมีแรงดงึ ดดู ระหว่างโมเลกลุ สงู ที่เรยี กวา่ พันธะไฮโดรเจน ซ่งึ สารเหลา่ น้ีมพี ันธะ N-H O-H หรือ F-H ภายในโครงสรา้ งโมเลกลุ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 55 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑๒. เขียนสตู รเคมีของไอออนและสารประกอบ • สารประกอบไอออนกิ สว่ นใหญเ่ กดิ จากการรวมตวั กนั ไอออนกิ ของไอออนบวกของธาตุโลหะและไอออนลบของ ธาตุอโลหะ ในบางกรณีไอออนอาจประกอบด้วย ๑๓. ระบุวา่ สารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรอื กลุ่มของอะตอม โดยเมอ่ื ไอออนรวมตัวกันเกดิ ไมแ่ ตกตวั พรอ้ มใหเ้ หตผุ ลและระบวุ า่ เปน็ สารประกอบไอออนิกจะมสี ดั สว่ นการรวมตวั สารละลายทไ่ี ดเ้ ปน็ สารละลายอิเลก็ โทรไลต์ เพ่ือทำให้ประจขุ องสารประกอบเป็นกลางทาง หรือนอนอเิ ล็กโทรไลต ์ ไฟฟ้า โดยไอออนบวกและไอออนลบจะจดั เรยี งตวั สลับตอ่ เนอ่ื งกนั ไปใน ๓ มติ ิ เกดิ เป็นผลึกของสาร ซงึ่ สตู รเคมขี องสารประกอบไอออนกิ ประกอบดว้ ย สัญลกั ษณ์ธาตุท่ีเปน็ ไอออนบวกตามดว้ ย สัญลกั ษณ์ธาตทุ ี่เปน็ ไอออนลบ โดยมีตวั เลขที่ แสดงจำนวนไอออนแต่ละชนดิ เปน็ อตั ราสว่ น อยา่ งต่ำ • สารจะละลายนำ้ ไดเ้ ม่อื องคป์ ระกอบของสาร สามารถเกดิ แรงดึงดดู กบั โมเลกุลของน้ำได ้ โดยการละลายของสารในนำ้ เกดิ ได้ ๒ ลกั ษณะ คือ การละลายแบบแตกตวั และการละลายแบบ ไม่แตกตัว การละลายแบบแตกตวั เกดิ ขน้ึ กบั สาร ประกอบไอออนกิ และสารโคเวเลนต์บางชนดิ ทมี่ ีสมบตั เิ ปน็ กรดหรอื เบส โดยเมื่อสารเกิด การละลายแบบแตกตวั จะได้ไอออนทีส่ ามารถ เคลอื่ นทไี่ ด้ ทำให้ไดส้ ารละลายทนี่ ำไฟฟา้ ซ่งึ เรยี กวา่ สารละลายอิเล็กโทรไลต์ การละลาย แบบไมแ่ ตกตวั เกดิ ข้ึนกบั สารโคเวเลนต์ทมี่ ขี ัว้ สูง สามารถดงึ ดูดกับโมเลกุลของน้ำได้ดี โดยเมือ่ เกิด การละลายโมเลกลุ ของสารจะไม่แตกตัวเป็น ไอออน และสารละลายท่ไี ดจ้ ะไม่นำไฟฟ้า ซึง่ เรยี กวา่ สารละลายนอนอิเลก็ โทรไลต์ 56 ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ช้นั ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๑๔. ระบสุ ารประกอบอนิ ทรยี ป์ ระเภทไฮโดรคารบ์ อน • สารประกอบอินทรยี เ์ ป็นสารประกอบของ ว่าอม่ิ ตัวหรอื ไม่อมิ่ ตัวจากสตู รโครงสร้าง คารบ์ อนสว่ นใหญพ่ บในสิ่งมชี ีวิต มีโครงสรา้ ง หลากหลายและแบ่งไดห้ ลายประเภท เนื่องจาก ธาตคุ าร์บอน สามารถเกิดพันธะกบั คาร์บอน ดว้ ยกนั เองและธาตอุ นื่ ๆ นอกจากนพ้ี นั ธะระหวา่ ง คารบ์ อนยงั มีหลายรปู แบบ ไดแ้ ก่ พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พนั ธะสาม • สารประกอบอินทรีย์ทมี่ เี ฉพาะธาตคุ าร์บอนและ ไฮโดรเจนเปน็ องคป์ ระกอบ เรยี กว่า สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอน โดยสารประกอบไฮโดรคาร์บอน อมิ่ ตัวมพี นั ธะระหว่างคาร์บอนเปน็ พนั ธะเด่ยี ว ทกุ พันธะในโครงสรา้ ง ส่วนสารประกอบ ไฮโดรคารบ์ อนไมอ่ ิ่มตัวมีพนั ธะระหว่างคาร์บอน เปน็ พันธะคหู่ รอื พันธะสามอย่างนอ้ ย ๑ พนั ธะ ในโครงสรา้ ง ๑๕. สืบคน้ ข้อมูลและเปรยี บเทียบสมบตั ิ • สารทพ่ี บในชวี ิตประจำวนั มีทั้งโมเลกุลขนาดเลก็ ทางกายภาพระหวา่ งพอลเิ มอรแ์ ละมอนอเมอร์ และขนาดใหญ่ พอลเิ มอรเ์ ป็นสารที่มโี มเลกุล ของพอลเิ มอรช์ นิดน้นั ขนาดใหญท่ ่ีเกดิ จากมอนอเมอร์หลายโมเลกลุ เช่ือมต่อกันด้วยพันธะเคมี ทำให้สมบัติทาง กายภาพของพอลิเมอร์แตกตา่ งจากมอนอเมอร ์ ทเ่ี ปน็ สารตงั้ ตน้ เชน่ สถานะ จดุ หลอมเหลว การละลาย ๑๖. ระบุสมบัตคิ วามเปน็ กรด-เบส • สารประกอบอินทรียท์ ่มี หี มู่ -COOH สามารถ จากโครงสรา้ งของสารประกอบอนิ ทรีย์ แสดงสมบตั คิ วามเปน็ กรด สว่ นสารประกอบอนิ ทรยี ์ ที่มหี มู่ -NH2 สามารถแสดงสมบัติความเปน็ เบส ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 57 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๑๗. อธิบายสมบตั ิการละลายในตัวทำละลายชนดิ • การละลายของสารพจิ ารณาได้จากความมขี ว้ั ของ ต่าง ๆ ของสาร ตวั ละลายและตวั ทำละลาย โดยสารสามารถ ละลายไดใ้ นตัวทำละลายที่มีขว้ั ใกลเ้ คียงกนั โดยสารมขี ั้วละลายในตวั ทำละลายทม่ี ขี วั้ สว่ นสารไมม่ ขี ว้ั ละลายในตัวทำละลายทีไ่ มม่ ขี ั้ว และสารมขี ว้ั ไม่ละลายในตวั ทำละลายทไ่ี ม่มขี ้ัว ๑๘. วิเคราะหแ์ ละอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่าง • โครงสรา้ งของพอลเิ มอรอ์ าจเปน็ แบบเสน้ แบบกง่ิ โครงสร้างกบั สมบตั เิ ทอรม์ อพลาสติกและ หรอื แบบร่างแห โดยพอลิเมอรแ์ บบเส้นและ เทอรม์ อเซตของพอลเิ มอร์ และการนำ แบบกิ่ง มีสมบัตเิ ทอร์มอพลาสติก สว่ นพอลิเมอร์ พอลเิ มอร์ไปใชป้ ระโยชน์ แบบร่างแห มีสมบัติเทอร์มอเซต จึงมกี ารใช้ ประโยชนไ์ ด้แตกต่างกัน ๑๙. สบื ค้นขอ้ มูลและนำเสนอผลกระทบของการใช้ • การใช้ผลติ ภัณฑพ์ อลเิ มอรใ์ นปริมาณมากกอ่ ให้ ผลติ ภณั ฑพ์ อลเิ มอร์ที่มตี อ่ ส่งิ มชี วี ิตและ เกดิ ปญั หาทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม สง่ิ แวดล้อม พร้อมแนวทางปอ้ งกนั หรือแก้ไข ดงั น้นั จงึ ควรตระหนักถงึ การลดปริมาณการใช้ การใช้ซำ้ และการนำกลบั มาใช้ใหม่ ๒๐. ระบุสูตรเคมขี องสารตัง้ ต้น ผลติ ภณั ฑ์ และ • ปฏิกิรยิ าเคมีทำให้เกดิ การเปลีย่ นแปลงของสาร แปลความหมายของสญั ลกั ษณใ์ นสมการเคมี โดยปฏิกริ ิยาเคมอี าจให้พลงั งานความรอ้ น ของปฏิกริ ยิ าเคม ี พลังงานแสง หรอื พลงั งานไฟฟา้ ทส่ี ามารถนำไป ใช้ประโยชน์ในดา้ นต่าง ๆ ได ้ • ปฏิกิริยาเคมแี สดงได้ด้วยสมการเคมี ซงึ่ มีสตู รเคมี ของสารตง้ั ต้นอยทู่ างดา้ นซา้ ยของลกู ศร และ สตู รเคมขี องผลิตภัณฑ์อยทู่ างดา้ นขวา โดยจำนวน อะตอมรวมของแตล่ ะธาตทุ างด้านซ้ายและขวา เทา่ กนั นอกจากนสี้ มการเคมยี งั อาจแสดงปจั จยั อนื่ เชน่ สถานะ พลังงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง ตัวเร่งปฏิกิริยา เคมีทใ่ี ช้ 58 ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชัน้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ๒๑. ทดลองและอธิบายผลของความเข้มขน้ • อตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมีขน้ึ อยกู่ ับความเขม้ ข้น พืน้ ที่ผวิ อุณหภูมิ และตวั เรง่ ปฏิกิรยิ า อุณหภมู ิ พน้ื ทผ่ี วิ หรอื ตวั เรง่ ปฏกิ ริ ิยา ทีม่ ผี ลต่ออตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี • ความรเู้ กย่ี วกบั ปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ อตั ราการเกดิ ๒๒. สบื คน้ ขอ้ มลู และอธิบายปัจจัยทม่ี ีผลต่ออตั รา ปฏิกิริยาเคมีสามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิต การเกิดปฏิกิรยิ าเคมีท่ใี ช้ประโยชน์ในชวี ิต ประจำวนั และในอุตสาหกรรม ประจำวันหรอื ในอตุ สาหกรรม ๒๓. อธบิ ายความหมายของปฏกิ ิริยารีดอกซ ์ • ปฏิกริ ยิ าเคมีบางประเภทเกิดจากการถ่ายโอน อเิ ล็กตรอนของสารในปฏกิ ริ ยิ าเคมี ซึ่งเรียกว่า ปฏกิ ิรยิ ารดี อกซ์ ๒๔. อธบิ ายสมบัติของสารกมั มนั ตรังสี และคำนวณ • สารทีส่ ามารถแผร่ งั สีได้เรียกว่า สารกมั มันตรงั สี ครงึ่ ชวี ิตและปรมิ าณของสารกมั มันตรงั ส ี ซ่ึงมนี วิ เคลียสทสี่ ลายตวั อย่างตอ่ เนอ่ื ง ระยะเวลา ที่สารกัมมนั ตรงั สีสลายตัวจนเหลือครง่ึ หนึ่ง ของปรมิ าณเดมิ เรียกว่า ครึ่งชีวติ โดยสาร กัมมันตรงั สีแต่ละชนิดมีค่าครึ่งชวี ติ แตกต่างกนั ๒๕. สบื คน้ ข้อมลู และนำเสนอตวั อย่างประโยชน์ • รงั สีทีแ่ ผ่จากสารกมั มันตรังสมี ีหลายชนดิ เชน่ ของสารกมั มันตรังสแี ละการปอ้ งกนั อันตราย แอลฟา บตี า แกมมา ซงึ่ สามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ ทีเ่ กิดจากกมั มันตภาพรงั สี ไดแ้ ตกต่างกัน การนำสารกมั มันตรงั สแี ตล่ ะชนิด มาใช้ ต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อส่ิงมีชีวติ และสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทงั้ มกี ารจดั การอยา่ งเหมาะสม ม.๖ - - ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 59 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลกั ษณะการเคลื่อนทแี่ บบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน ์ ชนั้ ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ - - ป.๒ - - ป.๓ ๑. ระบผุ ลของแรงทม่ี ตี ่อการเปลย่ี นแปลง • การดึงหรือการผลกั เป็นการออกแรงกระทำต่อ การเคลื่อนทีข่ องวัตถุจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ วตั ถุ แรงมผี ลตอ่ การเคล่ือนที่ของวัตถุ แรงอาจ ทำให้วัตถเุ กิดการเคลื่อนที่โดยเปลย่ี นตำแหนง่ จากท่หี นึ่งไปยังอีกท่หี นึง่ • การเปลยี่ นแปลงการเคล่ือนท่ีของวตั ถุ ไดแ้ ก่ วัตถุที่อย่นู ง่ิ เปล่ียนเป็นเคลือ่ นที่ วัตถทุ ีก่ ำลงั เคล่อื นทีเ่ ปลย่ี นเป็นเคล่ือนท่เี รว็ ขนึ้ หรอื ช้าลง หรอื หยุดน่ิง หรอื เปล่ยี นทิศทางการเคล่อื นท่ ี ๒. เปรียบเทียบและยกตัวอย่างแรงสัมผสั และ • การดงึ หรอื การผลักเป็นการออกแรงทเ่ี กิดจาก แรงไม่สมั ผัสท่ีมีผลต่อการเคลอื่ นทข่ี องวัตถ ุ วัตถุหน่งึ กระทำกบั อีกวัตถหุ นึง่ โดยวัตถทุ ั้งสอง โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ ์ อาจสัมผสั หรอื ไมต่ ้องสมั ผสั กนั เช่น การออกแรง โดยใช้มอื ดึงหรอื การผลักโตะ๊ ให้เคลอ่ื นทเ่ี ป็นการ ออกแรงทีว่ ตั ถุต้องสัมผสั กนั แรงนจ้ี ึงเปน็ แรงสมั ผสั สว่ นการทแ่ี มเ่ หลก็ ดงึ ดดู หรอื ผลกั ระหวา่ ง แม่เหลก็ เป็นแรงท่เี กิดขึ้นโดยแม่เหลก็ ไมจ่ ำเป็น ต้องสมั ผัสกนั แรงแมเ่ หล็กน้ีจึงเป็นแรงไม่สมั ผัส ๓. จำแนกวตั ถโุ ดยใช้การดงึ ดูดกับแมเ่ หล็ก • แมเ่ หลก็ สามารถดึงดูดสารแมเ่ หลก็ ได ้ เปน็ เกณฑ์จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ • แรงแม่เหลก็ เป็นแรงทีเ่ กดิ ขึ้นระหวา่ งแมเ่ หลก็ กบั สารแม่เหลก็ หรอื แมเ่ หลก็ กับแมเ่ หล็ก ๔. ระบขุ ว้ั แมเ่ หล็กและพยากรณ์ผลที่เกดิ ขึน้ แมเ่ หล็ก มี ๒ ข้วั คือ ขว้ั เหนอื และขวั้ ใต ้ ระหวา่ งขวั้ แมเ่ หลก็ เมื่อนำมาเขา้ ใกล้กันจาก หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ขวั้ แมเ่ หลก็ ชนดิ เดยี วกนั จะผลกั กนั ต่างชนดิ กัน จะดงึ ดูดกัน ป.๔ ๑. ระบุผลของแรงโน้มถ่วงทีม่ ีตอ่ วตั ถุจากหลกั ฐาน • แรงโนม้ ถว่ งของโลกเปน็ แรงดึงดูดทโ่ี ลกกระทำตอ่ เชิงประจกั ษ ์ วตั ถุ มที ศิ ทางเขา้ สศู่ นู ยก์ ลางโลก และเปน็ ๒. ใชเ้ ครอื่ งช่ังสปรงิ ในการวดั นำ้ หนักของวัตถ ุ แรงไมส่ มั ผสั แรงดงึ ดดู ทโี่ ลกกระทำกบั วตั ถหุ นงึ่ ๆ ทำใหว้ ตั ถุตกลงสพู่ นื้ โลก และทำใหว้ ตั ถมุ นี ำ้ หนกั วดั นำ้ หนกั ของวัตถุไดจ้ ากเครือ่ งชงั่ สปริง นำ้ หนกั ของวัตถุขึ้นกบั มวลของวัตถุ โดยวัตถทุ ี่มมี วลมาก จะมนี ำ้ หนกั มาก วตั ถทุ มี่ มี วลนอ้ ยจะมนี ำ้ หนกั นอ้ ย 60 ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๓. บรรยายมวลของวตั ถุทีม่ ีผลต่อการเปลี่ยนแปลง • มวล คอื ปรมิ าณเน้ือของสสารทัง้ หมดท่ปี ระกอบ การเคลอ่ื นท่ีของวัตถจุ ากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ กันเป็นวตั ถุ ซง่ึ มีผลต่อความยากง่ายในการ เปล่ยี นแปลงการเคลือ่ นท่ขี องวตั ถุ วตั ถุท่มี ี มวลมากจะเปล่ียนแปลงการเคล่อื นทีไ่ ด้ยากกว่า วัตถทุ ม่ี ีมวลนอ้ ย ดงั น้นั มวลของวตั ถนุ อกจาก จะหมายถงึ เนอื้ ทัง้ หมดของวตั ถนุ ั้นแลว้ ยังหมายถงึ การตา้ นการเปลีย่ นแปลง การเคลอื่ นที่ของวตั ถนุ ้ันดว้ ย ป.๕ ๑. อธบิ ายวธิ กี ารหาแรงลพั ธข์ องแรงหลายแรงในแนว • แรงลัพธเ์ ป็นผลรวมของแรงที่กระทำต่อวตั ถุ โดย เดยี วกนั ทกี่ ระทำตอ่ วัตถุในกรณที ว่ี ัตถุอยู่นิ่ง แรงลพั ธข์ องแรง ๒ แรงท่กี ระทำต่อวตั ถเุ ดยี วกนั จากหลักฐานเชงิ ประจักษ ์ จะมีขนาดเท่ากับผลรวมของแรงทง้ั สองเมอ่ื แรง ๒. เขียนแผนภาพแสดงแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถุทอี่ ยู่ใน ท้ังสองอยใู่ นแนวเดียวกันและมที ิศทางเดียวกนั แนวเดยี วกนั และแรงลพั ธ์ที่กระทำต่อวัตถุ แตจ่ ะมขี นาดเทา่ กบั ผลตา่ งของแรงทง้ั สอง ๓. ใช้เครือ่ งชงั่ สปริงในการวัดแรงที่กระทำต่อวัตถ ุ เม่ือแรงทัง้ สองอยู่ในแนวเดยี วกนั แต่มที ศิ ทาง ตรงข้ามกัน สำหรับวัตถุท่ีอยนู่ ่ิงแรงลัพธ์ที่ กระทำต่อวตั ถมุ คี ่าเปน็ ศนู ย์ • การเขียนแผนภาพของแรงทก่ี ระทำต่อวัตถุ สามารถเขยี นไดโ้ ดยใชล้ กู ศร โดยหวั ลกู ศรแสดง ทศิ ทางของแรง และความยาวของลกู ศรแสดง ขนาดของแรงทก่ี ระทำตอ่ วตั ถ ุ ๔. ระบผุ ลของแรงเสยี ดทานทม่ี ตี อ่ การเปลย่ี นแปลง • แรงเสยี ดทานเปน็ แรงท่ีเกดิ ขึ้นระหวา่ งผวิ สัมผสั การเคล่ือนที่ของวตั ถุจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ของวัตถุ เพอื่ ตา้ นการเคลือ่ นที่ของวตั ถุนั้น โดย ๕. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรง ถ้าออกแรงกระทำตอ่ วัตถทุ ่ีอยนู่ งิ่ บนพืน้ ผวิ หนึง่ ทอี่ ยใู่ นแนวเดียวกันทก่ี ระทำต่อวตั ถุ ใหเ้ คลอ่ื นที่ แรงเสียดทานจากพื้นผวิ น้นั กจ็ ะตา้ น การเคลือ่ นที่ของวตั ถุ แตถ่ า้ วัตถุกำลังเคลอื่ นท่ี แรงเสียดทานก็จะทำให้วตั ถนุ ้ันเคลอื่ นทช่ี ้าลง หรอื หยุดนงิ่ ป.๖ ๑. อธบิ ายการเกดิ และผลของแรงไฟฟา้ ซึง่ เกิดจาก • วตั ถุ ๒ ชนดิ ทผี่ า่ นการขดั ถแู ลว้ เมอ่ื นำเขา้ ใกลก้ นั วัตถุท่ีผ่านการขดั ถู โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ ์ อาจดึงดดู หรือผลักกนั แรงที่เกิดขึ้นนเ้ี ป็น แรงไฟฟา้ ซง่ึ เปน็ แรงไมส่ มั ผสั เกดิ ขนึ้ ระหวา่ งวตั ถ ุ ทม่ี ปี ระจไุ ฟฟา้ ซ่งึ ประจุไฟฟา้ มี ๒ ชนิด คือ ประจุไฟฟ้าบวกและประจไุ ฟฟ้าลบ วัตถทุ ่ีมี ประจไุ ฟฟา้ ชนดิ เดยี วกนั ผลกั กนั ชนดิ ตรงขา้ มกนั ดงึ ดดู กนั ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 61 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.๑ ๑. สรา้ งแบบจำลองท่ีอธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง • เมื่อวัตถุอยใู่ นอากาศจะมีแรงทอ่ี ากาศกระทำต่อ ความดันอากาศกับความสูงจากพื้นโลก วัตถุในทุกทิศทาง แรงทอ่ี ากาศกระทำต่อวตั ถ ุ ขึ้นอยกู่ บั ขนาดพื้นท่ีของวัตถุนั้น แรงทอี่ ากาศ กระทำตัง้ ฉากกับผวิ วตั ถุตอ่ หน่งึ หน่วยพ้ืนท่ ี เรียกวา่ ความดนั อากาศ • ความดนั อากาศมีความสัมพนั ธก์ บั ความสงู จากพืน้ โลก โดยบริเวณทส่ี งู จากพ้นื โลกข้ึนไป อากาศเบาบางลง มวลอากาศนอ้ ยลง ความดนั อากาศก็จะลดลง ม.๒ ๑. พยากรณก์ ารเคล่ือนท่ขี องวตั ถุทีเ่ ปน็ ผลของ • แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ เม่ือมีแรงหลาย ๆ แรง แรงลัพธ์ทีเ่ กดิ จากแรงหลายแรงที่กระทำตอ่ วตั ถุ กระทำตอ่ วัตถุ แล้วแรงลัพธ์ทีก่ ระทำตอ่ วตั ถมุ คี า่ ในแนวเดยี วกนั จากหลักฐานเชิงประจกั ษ ์ เปน็ ศนู ย์ วตั ถจุ ะไมเ่ ปลยี่ นแปลงการเคลอื่ นท ่ี ๒. เขียนแผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธท์ ่ีเกิดจาก แต่ถ้าแรงลัพธท์ ก่ี ระทำต่อวัตถุมคี า่ ไม่เปน็ ศนู ย์ แรงหลายแรงท่ีกระทำตอ่ วตั ถใุ นแนวเดยี วกัน วัตถุจะเปล่ยี นแปลงการเคลื่อนที่ ๓. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธ ี • เมือ่ วตั ถุอยใู่ นของเหลวจะมีแรงที่ของเหลว ทเ่ี หมาะสมในการอธบิ ายปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ ความดนั กระทำต่อวตั ถใุ นทกุ ทศิ ทาง โดยแรงที่ของเหลว ของของเหลว กระทำตงั้ ฉากกบั ผวิ วตั ถตุ ่อหนงึ่ หนว่ ยพ้นื ท่ี เรียกว่าความดันของของเหลว • ความดนั ของของเหลวมคี วามสมั พนั ธก์ บั ความลกึ จากระดบั ผวิ หนา้ ของของเหลว โดยบริเวณท ่ี ลกึ ลงไปจากระดบั ผิวหน้าของของเหลวมากขน้ึ ความดนั ของของเหลวจะเพม่ิ ขนึ้ เนอื่ งจาก ของเหลวทอี่ ยลู่ กึ กวา่ จะมนี ำ้ หนักของของเหลว ด้านบนกระทำมากกวา่ ๔. วิเคราะหแ์ รงพยุงและการจม การลอยของวัตถุ • เม่ือวตั ถุอยใู่ นของเหลว จะมีแรงพยงุ เนอื่ งจาก ในของเหลวจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ของเหลวกระทำต่อวัตถุ โดยมที ิศขึ้นในแนวดิง่ ๕. เขียนแผนภาพแสดงแรงทก่ี ระทำต่อวัตถุ การจมหรอื การลอยของวตั ถขุ น้ึ กบั นำ้ หนกั ของ ในของเหลว วตั ถแุ ละแรงพยงุ ถ้าน้ำหนักของวตั ถุและแรงพยงุ ของของเหลวมีคา่ เทา่ กัน วตั ถุจะลอยนง่ิ อยใู่ น ของเหลว แต่ถ้าน้ำหนักของวตั ถมุ คี ่ามากกวา่ แรงพยงุ ของของเหลววัตถุจะจม 62 ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ช้นั ตวั ชี้วดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๖. อธบิ ายแรงเสยี ดทานสถติ และแรงเสยี ดทานจลน์ • แรงเสยี ดทานเปน็ แรงทเ่ี กิดข้นึ ระหว่างผวิ สมั ผสั จากหลักฐานเชงิ ประจักษ ์ ของวัตถุ เพ่ือต้านการเคล่อื นท่ขี องวตั ถุนั้น โดยถา้ ออกแรงกระทำต่อวตั ถุท่อี ยู่นง่ิ บนพื้นผิว ใหเ้ คล่ือนที่ แรงเสยี ดทานก็จะตา้ นการเคลือ่ นที่ ของวัตถุ แรงเสยี ดทานทเ่ี กิดข้นึ ในขณะท่วี ตั ถุยัง ไม่เคลอ่ื นทเ่ี รียก แรงเสยี ดทานสถิต แตถ่ า้ วัตถุ กำลังเคลอื่ นท่ี แรงเสียดทานก็จะทำให้วตั ถนุ ัน้ เคลอื่ นทช่ี า้ ลงหรอื หยดุ นงิ่ เรยี ก แรงเสยี ดทานจลน ์ ๗. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธที ่ี • ขนาดของแรงเสียดทานระหวา่ งผิวสมั ผสั ของวัตถุ เหมาะสมในการอธิบายปจั จัยท่ีมผี ลตอ่ ขนาด ขน้ึ กบั ลักษณะผวิ สัมผัสและขนาดของ ของแรงเสียดทาน แรงปฏกิ ิริยาต้งั ฉากระหว่างผวิ สมั ผัส ๘. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอนื่ ๆ • กิจกรรมในชีวติ ประจำวนั บางกิจกรรมตอ้ งการ ท่ีกระทำตอ่ วตั ถ ุ แรงเสียดทาน เช่น การเปดิ ฝาเกลยี วขวดน้ำ ๙. ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องความรเู้ รอื่ งแรงเสยี ดทาน การใช้แผ่นกันลน่ื ในห้องนำ้ บางกิจกรรม โดยวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและเสนอแนะ ไมต่ อ้ งการแรงเสียดทาน เชน่ การลากวตั ถบุ นพนื้ วธิ กี ารลดหรอื เพม่ิ แรงเสยี ดทานทเ่ี ปน็ ประโยชน์ การใชน้ ำ้ มนั หลอ่ ลนื่ ในเครื่องยนต ์ ตอ่ การทำกิจกรรมในชวี ิตประจำวนั • ความรเู้ รือ่ งแรงเสียดทานสามารถนำไปใช้ ประโยชน์ในชวี ิตประจำวนั ได ้ ๑๐. ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธ ี • เมื่อมแี รงทกี่ ระทำต่อวัตถโุ ดยไมผ่ า่ นศนู ย์กลาง ทเ่ี หมาะสมในการอธบิ ายโมเมนต ์ มวลของวตั ถุ จะเกดิ โมเมนต์ของแรง ทำใหว้ ตั ถุ ของแรง เม่อื วตั ถอุ ยู่ในสภาพสมดุลตอ่ หมนุ รอบศนู ยก์ ลางมวลของวตั ถุนั้น การหมุน และคำนวณโดยใช้สมการ • โมเมนตข์ องแรงเปน็ ผลคณู ของแรงทกี่ ระทำต่อ M = Fl วตั ถกุ ับระยะทางจากจุดหมนุ ไปตงั้ ฉากกับ แนวแรง เมอ่ื ผลรวมของโมเมนตข์ องแรงมคี า่ เปน็ ศนู ย์ วตั ถจุ ะอยูใ่ นสภาพสมดุลตอ่ การหมุน โดย โมเมนต์ของแรงในทศิ ทวนเขม็ นาฬกิ าจะมขี นาด เท่ากบั โมเมนตข์ องแรงในทศิ ตามเขม็ นาฬกิ า • ของเล่นหลายชนดิ ประกอบดว้ ยอุปกรณ์หลาย สว่ นท่ใี ชห้ ลกั การโมเมนต์ของแรง ความร้เู รื่อง โมเมนตข์ องแรงสามารถนำไปใชอ้ อกแบบและ ประดิษฐ์ของเล่นได้ ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 63 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๑๑. เปรียบเทียบแหล่งของสนามแมเ่ หลก็ • วตั ถุทมี่ ีมวลจะมสี นามโนม้ ถ่วงอยโู่ ดยรอบ สนามไฟฟ้า และสนามโน้มถ่วง และทศิ ทาง แรงโนม้ ถว่ งทก่ี ระทำตอ่ วตั ถทุ อี่ ยใู่ นสนามโนม้ ถว่ ง ของแรงทีก่ ระทำต่อวตั ถุท่ีอยใู่ นแต่ละสนาม จะมที ศิ พงุ่ เขา้ หาวตั ถทุ เี่ ปน็ แหลง่ ของสนามโนม้ ถว่ ง จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ • วตั ถุท่ีมีประจุไฟฟา้ จะมสี นามไฟฟ้าอยโู่ ดยรอบ ๑๒. เขยี นแผนภาพแสดงแรงแมเ่ หลก็ แรงไฟฟา้ แรงไฟฟา้ ที่กระทำตอ่ วัตถทุ ม่ี ปี ระจุจะมที ิศพุ่ง และแรงโน้มถ่วงทีก่ ระทำตอ่ วตั ถ ุ เขา้ หาหรือออกจากวตั ถุที่มปี ระจุท่เี ป็นแหล่งของ สนามไฟฟ้า • วัตถุทเ่ี ปน็ แม่เหลก็ จะมีสนามแมเ่ หลก็ อยู่โดยรอบ แรงแม่เหลก็ ท่ีกระทำตอ่ ขวั้ แมเ่ หลก็ จะมีทิศ พ่งุ เขา้ หาหรือออกจากขวั้ แมเ่ หลก็ ทเ่ี ปน็ แหลง่ ของสนามแมเ่ หลก็ ๑๓. วเิ คราะห์ความสัมพันธ์ระหวา่ งขนาดของแรง • ขนาดของแรงโนม้ ถว่ ง แรงไฟฟา้ และแรงแมเ่ หลก็ แม่เหลก็ แรงไฟฟ้า และแรงโนม้ ถ่วงท่ีกระทำ ทก่ี ระทำต่อวัตถุทีอ่ ยู่ในสนามน้ัน ๆ จะมีค่าลดลง ต่อวัตถทุ ีอ่ ยู่ในสนามน้ัน ๆ กบั ระยะห่างจาก เมอ่ื วตั ถอุ ยหู่ า่ งจากแหลง่ ของสนามนนั้ ๆ มากขนึ้ แหล่งของสนามถงึ วตั ถจุ ากข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ ๑๔. อธิบายและคำนวณอัตราเร็วและความเรว็ ของ • การเคล่ือนทีข่ องวัตถเุ ป็นการเปล่ยี นตำแหนง่ การเคลอ่ื นท่ขี องวตั ถุ โดยใช้สมการ ของวัตถุเทียบกบั ตำแหนง่ อ้างอิง โดยมปี รมิ าณ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการเคล่อื นทีซ่ ึ่งมที ้ังปริมาณ v = st และ v = st สเกลารแ์ ละปริมาณเวกเตอร์ เช่น ระยะทาง จากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ ์ อตั ราเรว็ การกระจัด ความเร็ว ปรมิ าณสเกลาร์ ๑๕. เขยี นแผนภาพแสดงการกระจัดและความเรว็ เป็นปริมาณทม่ี ขี นาด เช่น ระยะทาง อัตราเร็ว ปริมาณเวกเตอร์เป็นปรมิ าณทม่ี ีทัง้ ขนาด และทศิ ทาง เชน่ การกระจดั ความเร็ว • เขียนแผนภาพแทนปริมาณเวกเตอรไ์ ด้ด้วยลูกศร โดยความยาวของลกู ศรแสดงขนาดและหวั ลกู ศร แสดงทศิ ทางของเวกเตอรน์ นั้ ๆ • ระยะทางเปน็ ปรมิ าณสเกลาร์ โดยระยะทาง เปน็ ความยาวของเส้นทางท่ีเคล่อื นท่ไี ด้ • การกระจดั เป็นปริมาณเวกเตอร์ โดยการกระจดั มที ศิ ช้จี ากตำแหน่งเร่ิมตน้ ไปยังตำแหนง่ สดุ ท้าย และมขี นาดเทา่ กบั ระยะท่สี ั้นทสี่ ดุ ระหวา่ งสอง ตำแหนง่ นน้ั • อตั ราเรว็ เปน็ ปรมิ าณสเกลาร์ โดยอัตราเร็วเปน็ อัตราสว่ นของระยะทางต่อเวลา • ความเรว็ ปรมิ าณเวกเตอร์มที ศิ เดียวกบั ทศิ ของ การกระจดั โดยความเรว็ เปน็ อัตราสว่ นของ การกระจัดตอ่ เวลา 64 ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ม.๓ - - ม.๔ - - ม.๕ ๑. วเิ คราะห์และแปลความหมายข้อมลู ความเร็ว • การเคลอื่ นท่ีของวัตถทุ มี่ ีการเปล่ยี นความเร็ว กับเวลาของการเคลื่อนทีข่ องวัตถุ เพอ่ื อธบิ าย เป็นการเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง ความเรง่ เปน็ ความเร่งของวตั ถุ อัตราส่วนของความเรว็ ทเ่ี ปลยี่ นไปตอ่ เวลาและ เปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ ในกรณีทวี่ ตั ถทุ อ่ี ย่นู ิ่งหรอื เคลื่อนทีใ่ นแนวตรงดว้ ยความเรว็ คงตวั วัตถุนน้ั มีความเรง่ เป็นศูนย ์ • วตั ถมุ คี วามเรว็ เพม่ิ ขน้ึ ถา้ ความเรว็ และความเรง่ มที ิศเดยี วกัน และมคี วามเรว็ ลดลง ถา้ ความเรว็ และความเร่งมีทศิ ตรงกันข้าม ๒. สงั เกตและอธิบายการหาแรงลัพธท์ ี่เกิดจาก • เม่ือมแี รงหลายแรงกระทำตอ่ วตั ถุหนึ่ง โดยแรง แรงหลายแรงทอ่ี ยใู่ นระนาบเดยี วกนั ทก่ี ระทำตอ่ ทกุ แรงอยูใ่ นระนาบเดียวกันสามารถหาแรงลัพธ์ วตั ถโุ ดยการเขยี นแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร ์ ท่กี ระตอ่ วตั ถนุ นั้ ได้โดยรวมแบบเวกเตอร ์ ๓. สงั เกต วเิ คราะห์ และอธบิ ายความสมั พนั ธ์ • เม่อื แรงลพั ธม์ คี ่าไม่เท่ากบั ศูนยก์ ระทำต่อวตั ถ ุ ระหวา่ งความเรง่ ของวัตถุกบั แรงลพั ธ ์ จะทำใหว้ ตั ถเุ คลอ่ื นทดี่ ว้ ยความเรง่ มที ศิ ทางเดยี วกบั ท่กี ระทำตอ่ วัตถแุ ละมวลของวัตถุ แรงลพั ธ์โดยขนาดของความเรง่ ขน้ึ กับขนาดของ แรงลัพธ์กระทำต่อวตั ถแุ ละมวลของวตั ถุ ๔. สังเกตและอธบิ ายแรงกิรยิ าและแรงปฏิกริ ิยา • แรงกระทำระหว่างวัตถุคหู่ น่งึ ๆ เป็นแรงกริ ิยา ระหว่างวตั ถคุ หู่ นึ่ง ๆ และแรงปฏิกิรยิ า แรงท้งั สองมขี นาดเทา่ กัน เกดิ ข้นึ พร้อมกัน กระทำกับวตั ถคุ นละก้อน แตม่ ที ิศทางตรงขา้ ม ๕. สังเกตและอธบิ ายผลของความเรง่ ที่มีตอ่ การ • วัตถุที่เคล่อื นท่ดี ว้ ยความเร่งคงตัวหรอื ความเร่ง เคลอื่ นทแ่ี บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ ไดแ้ ก่ การเคลอ่ื นท่ี ไมค่ งตวั อาจเป็นการเคลอ่ื นที่แนวตรง แนวตรง การเคลอ่ื นที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนท่ีแนวโค้ง หรือการเคลือ่ นท่ีแบบส่ัน การเคลอื่ นทแ่ี บบวงกลม และการเคลอ่ื นทแ่ี บบสน่ั การเคลอื่ นทแ่ี นวตรงดว้ ยความเรง่ คงตวั นำไปใช้ อธิบายการตกแบบเสรี การเคล่ือนที่แนวโค้งดว้ ย ความเร่งคงตัว นำไปใช้อธิบายการเคลือ่ นทแี่ บบ โพรเจกไทล์ การเคล่ือนทแี่ นวโค้งด้วยความเร่ง มีทิศทางต้งั ฉากกับความเร็วตลอดเวลา นำไปใช้ อธิบายการเคลอื่ นท่แี บบวงกลม การเคล่ือนท่ี กลับไปกลบั มาด้วยความเร่งมีทิศทางเขา้ ส่จู ดุ ที่ แรงลัพธเ์ ปน็ ศนู ย์ เรียกจุดน้ีวา่ ตำแหน่งสมดุล ซ่ึงนำไปใช้อธิบายการเคลอื่ นทแี่ บบสั่น ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 65 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ช้นั ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๖. สืบค้นข้อมูลและอธบิ ายแรงโนม้ ถ่วง • ในบรเิ วณท่ีมีสนามโนม้ ถ่วง เมื่อมวี ตั ถทุ ่ีมมี วล ทเ่ี ก่ยี วกับการเคล่ือนทีข่ องวตั ถุต่าง ๆ รอบโลก จะมีแรงโน้มถ่วงซ่ึงเป็นแรงดงึ ดูดของโลกกระทำ ตอ่ วตั ถุ แรงนน้ี ำไปใชอ้ ธิบายการเคล่อื นท่ขี อง วตั ถตุ า่ ง ๆ เชน่ ดาวเทยี ม และดวงจนั ทรร์ อบโลก ๗. สังเกตและอธิบายการเกิดสนามแมเ่ หลก็ • กระแสไฟฟ้าทำให้เกดิ สนามแมเ่ หล็กในบริเวณ เนอ่ื งจากกระแสไฟฟา้ รอบแนวการเคลอื่ นทขี่ องกระแสไฟฟา้ หาทศิ ทาง ของสนามแมเ่ หลก็ เนื่องจากกระแสไฟฟ้าได้จาก กฎมอื ขวา ๘. สงั เกตและอธิบายแรงแมเ่ หลก็ ท่กี ระทำต่อ • ในบริเวณทมี่ สี นามแม่เหลก็ เมือ่ มอี นภุ าคท่ีมี อนภุ าคทม่ี ปี ระจไุ ฟฟา้ ทเ่ี คลอื่ นทใ่ี นสนามแมเ่ หลก็ ประจไุ ฟฟ้าเคลอื่ นท่โี ดยไม่อยใู่ นแนวเดยี วกบั และแรงแมเ่ หลก็ ที่กระทำตอ่ ลวดตัวนำทม่ี ี สนามแมเ่ หลก็ หรอื มกี ระแสไฟฟา้ ผา่ นลวดตวั นำ กระแสไฟฟา้ ผ่านในสนามแม่เหลก็ รวมท้ัง โดยกระแสไฟฟ้าไม่อยใู่ นแนวเดียวกบั สนาม อธบิ ายหลกั การทำงานของมอเตอร ์ แม่เหล็ก จะมแี รงแม่เหล็กกระทำ ซ่ึงเป็นพ้นื ฐาน ในการสร้างมอเตอร์ ๙. สงั เกตและอธบิ ายการเกดิ อีเอ็มเอฟ รวมทั้ง • เมอื่ มสี นามแมเ่ หลก็ เปลยี่ นแปลงตดั ขดลวดตวั นำ ยกตัวอย่างการนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน ์ ทำให้เกดิ อีเอ็มเอฟ ซ่งึ เป็นพ้นื ฐานในการสร้าง เครอ่ื งกำเนิดไฟฟา้ ๑๐. สบื ค้นข้อมูลและอธิบายแรงเขม้ และแรงอ่อน • ภายในนวิ เคลยี สมีแรงเข้มท่เี ปน็ แรงยึดเหน่ียว ของอนุภาคในนิวเคลียส และเป็นแรงหลกั ทใ่ี ช้ อธบิ ายเสถยี รภาพของนวิ เคลียส นอกจากน ้ี ยังมแี รงอ่อน ซ่งึ เปน็ แรงทใี่ ช้อธิบายการสลาย ใหอ้ นภุ าคบตี าของธาตุกัมมนั ตรังส ี ม.๖ - - 66 ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติ ของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชน ์ ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป.๑ ๑. บรรยายการเกดิ เสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ • เสยี งเกดิ จากการสนั่ ของวตั ถุ วตั ถทุ ที่ ำใหเ้ กดิ เสยี ง ของเสียงจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ เป็นแหล่งกำเนิดเสียง ซงึ่ มีทั้งแหล่งกำเนิดเสยี ง ป.๒ ๑. บรรยายแนวการเคล่อื นทีข่ องแสงจาก ตามธรรมชาติและแหลง่ กำเนดิ เสียงท่ีมนุษย์ สรา้ งขน้ึ เสยี งเคลือ่ นท่ีออกจากแหลง่ กำเนดิ เสียง แหลง่ กำเนดิ แสง และอธบิ ายการมองเหน็ วัตถ ุ ทุกทิศทาง จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ ์ • แสงเคลอื่ นทจ่ี ากแหล่งกำเนิดแสงทุกทศิ ทาง ๒. ตระหนกั ในคุณค่าของความรขู้ องการมองเห็น เปน็ แนวตรง เมอื่ มีแสงจากวัตถมุ าเขา้ ตาจะทำให้ โดยเสนอแนะแนวทางการป้องกันอนั ตราย มองเห็นวตั ถนุ ั้น การมองเห็นวตั ถุที่เป็น จากการมองวตั ถุทอี่ ยใู่ นบริเวณทม่ี ีแสงสวา่ ง แหลง่ กำเนดิ แสง แสงจากวตั ถนุ นั้ จะเขา้ สตู่ าโดยตรง ไม่เหมาะสม สว่ นการมองเหน็ วตั ถทุ ไี่ มใ่ ชแ่ หลง่ กำเนดิ แสง ตอ้ งมี แสงจากแหล่งกำเนิดแสงไปกระทบวัตถแุ ล้ว ป.๓ ๑. ยกตวั อยา่ งการเปลยี่ นพลงั งานหนึ่งไปเป็นอีก สะทอ้ นเข้าตา ถา้ มแี สงทีส่ ว่างมาก ๆ เข้าสู่ตา พลงั งานหน่ึงจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ ์ อาจเกดิ อนั ตรายต่อตาได้ จงึ ต้องหลกี เลยี่ ง การมองหรือใชแ้ ผน่ กรองแสงท่ีมีคุณภาพ เม่อื จำเป็น และตอ้ งจดั ความสว่างใหเ้ หมาะสม กบั การทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ เช่น การอา่ นหนังสือ การดูจอโทรทศั น์ การใชโ้ ทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ี และแท็บเล็ต • พลงั งานเปน็ ปรมิ าณที่แสดงถงึ ความสามารถ ในการทำงาน พลงั งานมหี ลายแบบ เชน่ พลงั งานกล พลงั งานไฟฟา้ พลังงานแสง พลังงานเสียง และพลงั งานความรอ้ น โดย พลงั งานสามารถเปลี่ยนจากพลังงานหน่งึ ไปเป็น อีกพลังงานหน่ึงได้ เชน่ การถูมอื จนรสู้ ึกรอ้ น เปน็ การเปลย่ี นพลงั งานกลเปน็ พลงั งานความรอ้ น แผงเซลลส์ ุริยะเปล่ยี นพลังงานแสงเปน็ พลงั งานไฟฟา้ หรอื เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ เปลย่ี นพลงั งานไฟฟา้ เป็นพลังงานอื่น ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 67 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ช้นั ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๒. บรรยายการทำงานของเครอื่ งกำเนดิ ไฟฟ้าและ • ไฟฟา้ ผลิตจากเคร่ืองกำเนิดไฟฟา้ ซึง่ ใช้พลังงาน ระบุแหลง่ พลังงานในการผลิตไฟฟา้ จากข้อมูล จากแหลง่ พลงั งานธรรมชาติหลายแหล่ง เชน่ ท่ีรวบรวมได้ พลังงานจากลม พลังงานจากนำ้ พลังงานจาก ๓. ตระหนักในประโยชนแ์ ละโทษของไฟฟ้า โดย แกส๊ ธรรมชาต ิ นำเสนอวิธกี ารใช้ไฟฟา้ อย่างประหยัด และ • พลงั งานไฟฟา้ มคี วามสำคญั ตอ่ ชวี ติ ประจำวนั ปลอดภัย การใชไ้ ฟฟา้ นอกจากต้องใช้อย่างถกู วธิ ี ประหยัด และคมุ้ คา่ แลว้ ยงั ตอ้ งคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั ดว้ ย ป.๔ ๑. จำแนกวตั ถุเป็นตวั กลางโปร่งใส • เมอื่ มองสง่ิ ตา่ ง ๆ โดยมวี ตั ถตุ า่ งชนดิ กนั มากน้ั แสง ตัวกลางโปรง่ แสง และวตั ถทุ ึบแสง จากลักษณะ จะทำให้ลกั ษณะการมองเหน็ สิง่ น้นั ๆ ชัดเจน การมองเหน็ สง่ิ ตา่ ง ๆ ผา่ นวัตถุนั้นเปน็ เกณฑ์ ตา่ งกนั จึงจำแนกวตั ถุท่ีมากั้นออกเปน็ โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ตวั กลางโปรง่ ใส ซงึ่ ทำใหม้ องเหน็ สงิ่ ตา่ ง ๆ ไดช้ ดั เจน ตวั กลางโปรง่ แสงทำใหม้ องเห็นส่งิ ต่าง ๆ ได ้ ไม่ชดั เจน และวัตถุทบึ แสงทำให้มองไม่เหน็ ส่งิ ตา่ ง ๆ นั้น ป.๕ ๑. อธบิ ายการได้ยนิ เสยี งผา่ นตัวกลางจากหลักฐาน • การไดย้ ินเสียงต้องอาศัยตัวกลาง โดยอาจเปน็ เชิงประจกั ษ์ ของแขง็ ของเหลว หรอื อากาศ เสียงจะสง่ ผา่ น ตัวกลางมายังหู ๒. ระบุตวั แปร ทดลอง และอธบิ ายลกั ษณะและ • เสยี งทไ่ี ดย้ นิ มีระดบั สูงตำ่ ของเสียงตา่ งกนั ข้ึนกับ การเกดิ เสยี งสงู เสยี งต่ำ ความถ่ีของการสัน่ ของแหล่งกำเนดิ เสยี ง โดยเมอื่ แหลง่ กำเนดิ เสยี งสน่ั ดว้ ยความถตี่ ำ่ จะเกดิ เสยี งตำ่ ๓. ออกแบบการทดลองและอธบิ ายลักษณะและ แต่ถา้ ส่นั ดว้ ยความถส่ี งู จะเกิดเสียงสงู สว่ น การเกดิ เสียงดัง เสียงค่อย เสยี งดงั คอ่ ยท่ไี ดย้ นิ ขนึ้ กบั พลงั งานการส่นั ของ แหลง่ กำเนดิ เสยี ง โดยเมอื่ แหลง่ กำเนดิ เสยี งสนั่ ดว้ ย ๔. วดั ระดบั เสยี งโดยใชเ้ ครอื่ งมอื วดั ระดับเสยี ง พลงั งานมากจะเกดิ เสยี งดงั แตถ่ า้ แหลง่ กำเนดิ เสยี ง ๕. ตระหนกั ในคณุ คา่ ของความร้เู รอื่ งระดบั เสียง สน่ั ด้วยพลงั งานน้อยจะเกิดเสยี งค่อย • เสยี งดังมาก ๆ เปน็ อันตรายต่อการได้ยินและ โดยเสนอแนะแนวทางในการหลีกเลี่ยงและลด เสียงทก่ี ่อให้เกิดความรำคาญเป็นมลพิษทางเสยี ง มลพิษทางเสยี ง เดซิเบลเป็นหนว่ ยที่บอกถึงความดงั ของเสยี ง ป.๖ ๑. ระบุสว่ นประกอบและบรรยายหน้าที่ของแต่ละ • วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ยประกอบดว้ ย แหลง่ กำเนดิ ไฟฟา้ ส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ อยา่ งง่ายจาก สายไฟฟา้ และเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ หรอื อปุ กรณ์ไฟฟ้า หลักฐานเชิงประจกั ษ์ แหล่งกำเนิดไฟฟ้า เช่น ถา่ นไฟฉาย หรือ ๒. เขยี นแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย แบตเตอรี่ ทำหน้าท่ีใหพ้ ลังงานไฟฟ้า สายไฟฟา้ เปน็ ตวั นำไฟฟ้า ทำหนา้ ทเ่ี ชอื่ มตอ่ ระหวา่ ง แหลง่ กำเนดิ ไฟฟา้ และเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ เขา้ ดว้ ยกนั เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ มหี น้าที่เปลย่ี นพลังงานไฟฟา้ เป็น พลังงานอนื่ 68 ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ีท่ี • เม่อื นำเซลลไ์ ฟฟ้าหลายเซลลม์ าตอ่ เรียงกัน เหมาะสมในการอธบิ ายวธิ กี ารและผลของ โดยใหข้ ั้วบวกของเซลลไ์ ฟฟา้ เซลลห์ นง่ึ ตอ่ กับ การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรม ข้ัวลบของอกี เซลลห์ นึ่งเป็นการต่อแบบอนกุ รม ๔. ตระหนักถึงประโยชน์ของความร้ขู องการตอ่ ทำใหม้ ีพลงั งานไฟฟา้ เหมาะสมกับเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า เซลล์ไฟฟา้ แบบอนกุ รมโดยบอกประโยชนแ์ ละ ซ่ึงการตอ่ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมสามารถนำไป การประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั ใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจำวัน เช่น การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ ในไฟฉาย ๕. ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธที ่ี • การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รมเม่อื ถอด เหมาะสมในการอธบิ ายการต่อหลอดไฟฟา้ หลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนึง่ ออกทำใหห้ ลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รมและแบบขนาน ท่ีเหลือดับทงั้ หมด สว่ นการตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบขนาน เมอ่ื ถอดหลอดไฟฟา้ ดวงใดดวงหนงึ่ ออก ๖. ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องความรขู้ องการตอ่ หลอดไฟฟา้ ทีเ่ หลอื กย็ ังสว่างได้ การตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบขนาน โดย หลอดไฟฟา้ แตล่ ะแบบสามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ บอกประโยชน์ ขอ้ จำกัด และการประยุกตใ์ ช้ เช่น การต่อหลอดไฟฟ้าหลายดวงในบา้ นจงึ ตอ้ ง ในชวี ิตประจำวนั ตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบขนาน เพ่ือเลือกใช ้ หลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหน่ึงไดต้ ามตอ้ งการ ๗. อธบิ ายการเกดิ เงามดื เงามวั จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ • เม่อื นำวัตถุทบึ แสงมาก้นั แสงจะเกิดเงาบนฉาก ๘. เขียนแผนภาพรงั สขี องแสงแสดงการเกิด รบั แสงที่อยดู่ ้านหลงั วตั ถุ โดยเงามรี ปู รา่ งคล้าย เงามืดเงามัว วัตถทุ ่ที ำใหเ้ กดิ เงา เงามัวเป็นบรเิ วณทมี่ แี สง บางส่วนตกลงบนฉาก สว่ นเงามืดเปน็ บรเิ วณ ที่ไมม่ แี สงตกลงบนฉากเลย ม.๑ ๑. วเิ คราะห์ แปลความหมายข้อมลู และคำนวณ • เมอ่ื สสารไดร้ บั หรือสญู เสียความรอ้ นอาจทำให้ ปริมาณความรอ้ นที่ทำใหส้ สารเปลย่ี นอณุ หภูมิ สสารเปล่ยี นอณุ หภูมิ เปล่ียนสถานะ หรือเปล่ยี น และเปลยี่ นสถานะ รปู รา่ ง • ปริมาณความร้อนท่ที ำให้สสารเปลี่ยนอณุ หภูมิ โดยใชส้ มการ Q = m c ∆ t และ Q = mL ขนึ้ กบั มวล ความรอ้ นจำเพาะ และอณุ หภมู ิ ๒. ใชเ้ ทอร์มอมเิ ตอร์ในการวัดอณุ หภมู ขิ องสสาร ทเี่ ปลีย่ นไป • ปริมาณความรอ้ นท่ที ำใหส้ สารเปลยี่ นสถานะ ขนึ้ กบั มวลและความรอ้ นแฝงจำเพาะ โดยขณะท่ี สสารเปลยี่ นสถานะ อณุ หภมู ิจะไม่เปลี่ยนแปลง ๓. สร้างแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายการขยายตัวหรือ • ความรอ้ นทำให้สสารขยายตัวหรือหดตวั ได้ หดตวั ของสสารเนอ่ื งจากได้รบั หรอื สญู เสยี เนื่องจากเมอ่ื สสารไดร้ ับความรอ้ นจะทำให้ ความร้อน อนุภาคเคล่อื นท่เี รว็ ขึ้น ทำใหเ้ กดิ การขยายตัว ตัวชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 69 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๔. ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ของความรขู้ องการหด แตเ่ มอื่ สสารคายความรอ้ นจะทำใหอ้ นภุ าค และขยายตัวของสสารเนื่องจากความรอ้ น เคล่ือนทีช่ า้ ลง ทำใหเ้ กดิ การหดตวั โดยวเิ คราะหส์ ถานการณป์ ญั หา และเสนอแนะ • ความรู้เร่อื งการหดและขยายตัวของสสาร วิธีการนำความรมู้ าแก้ปัญหาในชีวติ ประจำวนั เน่ืองจากความร้อนนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ดา้ น ต่าง ๆ เชน่ การสรา้ งถนน การสรา้ งรางรถไฟ การทำเทอร์มอมิเตอร์ ๕. วิเคราะหส์ ถานการณ์การถา่ ยโอนความรอ้ น • ความร้อนถา่ ยโอนจากสสารท่มี อี ณุ หภมู ิสงู กวา่ และคำนวณปรมิ าณความร้อนทีถ่ า่ ยโอน ไปยังสสารทีม่ อี ุณหภมู ติ ่ำกวา่ จนกระทั่งอณุ หภมู ิ ระหว่างสสารจนเกิดสมดลุ ความร้อนโดยใช้ ของสสารทัง้ สองเทา่ กัน สภาพทส่ี สารทั้งสอง สมการ Qสูญเสีย = Qไดร้ บั มีอณุ หภมู ิเทา่ กนั เรียกวา่ สมดุลความรอ้ น • เมอ่ื มกี ารถ่ายโอนความร้อนจากสสารท่มี ี อุณหภูมิต่างกนั จนเกดิ สมดลุ ความรอ้ น ความร้อนท่ีเพม่ิ ขึ้นของสสารหนงึ่ จะเทา่ กบั ความร้อนทลี่ ดลงของอีกสสารหนึ่ง ซงึ่ เปน็ ไป ตามกฎการอนุรกั ษ์พลังงาน ๖. สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายการถา่ ยโอนความรอ้ น • การถา่ ยโอนความรอ้ นมี ๓ แบบ คอื โดยการนำความรอ้ น การพาความร้อน การนำความร้อน การพาความร้อน และ การแผร่ ังสีความร้อน การแผร่ งั สคี วามรอ้ น การนำความรอ้ นเปน็ การถา่ ยโอน ๗. ออกแบบ เลือกใช้ และสรา้ งอปุ กรณ์ เพอ่ื แก้ ความรอ้ นทอี่ าศัยตวั กลาง โดยทตี่ วั กลาง ปญั หาในชีวติ ประจำวันโดยใช้ความรู้เก่ยี วกบั ไม่เคลือ่ นท่ี การพาความรอ้ นเปน็ การถ่ายโอน การถา่ ยโอนความรอ้ น ความร้อนท่ีอาศัยตัวกลาง โดยทีต่ ัวกลาง เคลือ่ นที่ไปด้วย ส่วนการแผ่รังสคี วามรอ้ น เปน็ การถา่ ยโอนความร้อนทีไ่ ม่ต้องอาศยั ตัวกลาง • ความรเู้ กี่ยวกบั การถ่ายโอนความร้อนสามารถ นำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจำวันได้ เช่น การเลอื กใช้วสั ดุเพือ่ นำมาทำภาชนะบรรจอุ าหาร เพอื่ เก็บความร้อน หรือการออกแบบระบบ ระบายความรอ้ นในอาคาร ม.๒ ๑. วเิ คราะห์สถานการณ์และคำนวณเกยี่ วกับงาน • เม่ือออกแรงกระทำต่อวตั ถุ แลว้ ทำใหว้ ตั ถุ และกำลงั ทเ่ี กดิ จากแรงท่กี ระทำตอ่ วตั ถ ุ เคลือ่ นที่ โดยแรงอยู่ในแนวเดียวกบั การเคลือ่ นท่ี จะเกิดงาน งานจะมีคา่ มากหรอื นอ้ ยขน้ึ กับขนาด โดยใชส้ มการ W = Fs และ P = Wt ของแรงและระยะทางในแนวเดยี วกบั แรง จากขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้ • งานทท่ี ำในหนง่ึ หนว่ ยเวลาเรยี กวา่ กำลงั หลกั การ ๒. วิเคราะห์หลกั การทำงานของเคร่ืองกลอย่างง่าย ของงานนำไปอธิบายการทำงานของ จากขอ้ มลู ทีร่ วบรวมได้ 70 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๓. ตระหนักถึงประโยชนข์ องความรขู้ อง เครอ่ื งกลอยา่ งงา่ ย ไดแ้ ก่ คาน พน้ื เอยี ง รอกเดย่ี ว ลม่ิ เครอ่ื งกลอย่างงา่ ย โดยบอกประโยชน ์ สกรู ลอ้ และเพลา ซง่ี นำไปใชป้ ระโยชนด์ า้ นตา่ ง ๆ และการประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ในชีวติ ประจำวัน ๔. ออกแบบและทดลองด้วยวธิ ีทเ่ี หมาะสม • พลังงานจลนเ์ ป็นพลังงานของวัตถุทเี่ คล่ือนท่ี ในการอธบิ ายปจั จยั ทม่ี ผี ลต่อพลังงานจลน์ พลงั งานจลน์จะมีคา่ มากหรือนอ้ ยขนึ้ กบั มวล และพลังงานศกั ยโ์ น้มถว่ ง และอัตราเรว็ สว่ นพลงั งานศกั ย์โน้มถว่ งเก่ยี วข้อง กับตำแหน่งของวตั ถุ จะมีคา่ มากหรือน้อยข้นึ กบั มวลและตำแหน่งของวตั ถุ เมือ่ วัตถอุ ยู่ใน สนามโนม้ ถ่วง วตั ถจุ ะมีพลงั งานศกั ย์โน้มถ่วง พลงั งานจลนแ์ ละพลังงานศกั ยโ์ น้มถว่ งเป็น พลงั งานกล ๕. แปลความหมายขอ้ มูลและอธบิ ายการเปลี่ยน • ผลรวมของพลงั งานศกั ยโ์ นม้ ถว่ งและพลงั งานจลน์ พลังงานระหว่างพลงั งานศกั ย์โนม้ ถ่วงและ เป็นพลงั งานกล พลังงานศักยโ์ นม้ ถว่ งและ พลังงานจลนข์ องวตั ถุโดยพลังงานกลของวัตถุ พลังงานจลน์ของวตั ถุหน่ึง ๆ สามารถเปลี่ยน มีคา่ คงตัวจากขอ้ มูลทร่ี วบรวมได ้ กลบั ไปมาได้ โดยผลรวมของพลงั งานศกั ยโ์ นม้ ถว่ ง และพลังงานจลน์มีคา่ คงตัว นั่นคือพลงั งานกล ของวัตถมุ ีคา่ คงตัว ๖. วเิ คราะห์สถานการณ์และอธบิ ายการเปล่ยี น • พลงั งานรวมของระบบมคี า่ คงตวั ซึ่งอาจเปล่ยี น และการถ่ายโอนพลงั งานโดยใช ้ จากพลังงานหนง่ึ เป็นอีกพลงั งานหนึง่ เชน่ กฎการอนรุ ักษ์พลังงาน พลงั งานกลเปล่ยี นเปน็ พลงั งานไฟฟา้ พลงั งานจลนเ์ ปลีย่ นเปน็ พลงั งานความรอ้ น พลงั งานเสยี ง พลังงานแสง เนอื่ งมาจาก แรงเสียดทาน พลงั งานเคมีในอาหารเปลยี่ นเป็น พลังงานที่ไปใช้ในการทำงานของสง่ิ มีชีวิต • นอกจากนี้พลังงานยงั สามารถถา่ ยโอนไปยงั อีก ระบบหนึ่งหรือไดร้ บั พลังงานจากระบบอนื่ ได้ เช่น การถ่ายโอนความรอ้ นระหว่างสสาร การถา่ ยโอนพลงั งานของการสน่ั ของแหลง่ กำเนดิ เสยี ง ไปยงั ผฟู้ งั ทงั้ การเปลย่ี นพลงั งานและการถา่ ยโอน พลงั งาน พลังงานรวมทั้งหมดมคี า่ เทา่ เดมิ ตามกฎการอนุรกั ษ์พลงั งาน ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 71 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.๓ ๑. วิเคราะหค์ วามสมั พนั ธ์ระหว่างความตา่ งศักย์ • เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าครบวงจรจะมกี ระแสไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ และความต้านทาน และคำนวณ ออกจากขัว้ บวกผ่านวงจรไฟฟา้ ไปยังข้ัวลบของ ปริมาณที่เกี่ยวขอ้ งโดยใช้สมการ V = IR แหล่งกำเนิดไฟฟา้ ซึ่งวดั ค่าไดจ้ ากแอมมิเตอร์ จากหลักฐานเชิงประจกั ษ ์ • คา่ ทบ่ี อกความแตกตา่ งของพลงั งานไฟฟา้ ตอ่ หนว่ ย ๒. เขยี นกราฟความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกระแสไฟฟ้า ประจุระหว่างจุด ๒ จดุ เรยี กวา่ ความตา่ งศกั ย์ และความตา่ งศักย์ไฟฟา้ ซ่งึ วัดคา่ ไดจ้ ากโวลต์มเิ ตอร ์ ๓. ใช้โวลตม์ เิ ตอร์ แอมมเิ ตอรใ์ นการวดั ปรมิ าณทาง • ขนาดของกระแสไฟฟ้ามคี ่าแปรผนั ตรงกับ ไฟฟ้า ความตา่ งศกั ย์ระหวา่ งปลายทง้ั สองของตัวนำ โดยอตั ราสว่ นระหวา่ งความตา่ งศกั ยแ์ ละกระแสไฟฟา้ มคี า่ คงที่ เรยี กคา่ คงท่นี วี้ า่ ความตา้ นทาน ๔. วเิ คราะหค์ วามตา่ งศกั ยไ์ ฟฟา้ และกระแสไฟฟ้า • ในวงจรไฟฟ้าประกอบดว้ ยแหลง่ กำเนิดไฟฟ้า ในวงจรไฟฟา้ เมอื่ ตอ่ ตัวตา้ นทานหลายตวั สายไฟฟา้ และอุปกรณ์ไฟฟา้ โดยอุปกรณ์ไฟฟ้า แบบอนุกรมและแบบขนานจากหลักฐาน แต่ละชิน้ มคี วามต้านทาน ในการตอ่ ตัวต้านทาน เชิงประจักษ ์ หลายตวั มีท้ังต่อแบบอนกุ รมและแบบขนาน ๕. เขยี นแผนภาพวงจรไฟฟา้ แสดงการตอ่ ตวั ตา้ นทาน • การตอ่ ตัวตา้ นทานหลายตัวแบบอนุกรมใน แบบอนุกรมและขนาน วงจรไฟฟ้า ความต่างศักยท์ ี่คร่อมตวั ตา้ นทาน แตล่ ะตัวมคี า่ เทา่ กับผลรวมของความตา่ งศักย ์ ทคี่ ร่อมตวั ตา้ นทานแต่ละตัว โดยกระแสไฟฟ้า ที่ผา่ นตวั ตา้ นทานแต่ละตวั มคี ่าเทา่ กนั ๖. บรรยายการทำงานของช้นิ ส่วนอิเลก็ ทรอนิกส์ • การตอ่ ตวั ต้านทานหลายตวั แบบขนานใน อย่างง่ายในวงจรจากข้อมูลท่ีรวบรวมได ้ วงจรไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ ทผี่ า่ นวงจรมคี า่ เทา่ กบั ผลรวม ของกระแสไฟฟา้ ที่ผ่านตัวตา้ นทานแต่ละตวั ๗. เขยี นแผนภาพและตอ่ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนกิ ส์ โดยความต่างศกั ยท์ ่ีคร่อมตวั ตา้ นทานแตล่ ะตวั อย่างง่ายในวงจรไฟฟา้ มคี า่ เทา่ กนั • ชน้ิ สว่ นอเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ หี ลายชนดิ เชน่ ตวั ตา้ นทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ ตวั เกบ็ ประจุ โดยชิน้ สว่ น แตล่ ะชนิดทำหน้าท่ีแตกต่างกันเพ่อื ใหว้ งจร ทำงานได้ตามตอ้ งการ • ตวั ตา้ นทานทำหนา้ ทคี่ วบคมุ ปรมิ าณกระแสไฟฟา้ ในวงจรไฟฟา้ ไดโอดทำหน้าที่ให้กระแสไฟฟา้ ผา่ นทางเดยี ว ทรานซสิ เตอร์ทำหน้าทเี่ ป็นสวติ ช์ ปดิ หรอื เปิดวงจรไฟฟ้าและควบคมุ ปริมาณ กระแสไฟฟ้า ตัวเกบ็ ประจุทำหนา้ ทเี่ กบ็ และ คายประจไุ ฟฟา้ 72 ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง • เครื่องใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งง่ายประกอบด้วยชนิ้ ส่วน อิเลก็ ทรอนิกส์หลายชนดิ ท่ีทำงานรว่ มกนั การตอ่ วงจรอิเล็กทรอนกิ ส์โดยเลอื กใช้ชนิ้ ส่วน อิเล็กทรอนิกส์ทเี่ หมาะสมตามหน้าทขี่ องชนิ้ ส่วน นน้ั ๆ จะสามารถทำใหว้ งจรไฟฟา้ ทำงานได้ตาม ตอ้ งการ ๘. อธิบายและคำนวณพลงั งานไฟฟ้าโดยใช้สมการ • เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ จะมคี า่ กำลงั ไฟฟา้ และความตา่ งศกั ย์ W = Pt รวมทงั้ คำนวณค่าไฟฟ้าของเครื่องใช้ กำกบั ไว้ กำลงั ไฟฟา้ มหี นว่ ยเปน็ วตั ต์ ความตา่ งศกั ย์ ไฟฟา้ ในบา้ น มีหน่วยเปน็ โวลต์ คา่ ไฟฟ้าส่วนใหญ่คิดจาก ๙. ตระหนกั ในคณุ คา่ ของการเลอื กใชเ้ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ พลงั งานไฟฟ้าท่ใี ช้ทั้งหมด ซึ่งหาได้จากผลคณู โดยนำเสนอวิธีการใช้เคร่อื งใช้ไฟฟา้ ของกำลังไฟฟ้า ในหน่วยกิโลวตั ต์ กับเวลาใน อย่างประหยดั และปลอดภยั หนว่ ยช่วั โมง พลังงานไฟฟา้ มีหนว่ ยเป็น กโิ ลวัตต์ ชั่วโมง หรอื หน่วย • วงจรไฟฟา้ ในบา้ นมีการตอ่ เครอื่ งใช้ไฟฟา้ แบบ ขนานเพอ่ื ใหค้ วามตา่ งศกั ยเ์ ทา่ กนั การใชเ้ ครอ่ื งใช้ ไฟฟา้ ในชวี ติ ประจำวนั ตอ้ งเลอื กใชเ้ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ที่มีความตา่ งศกั ย์และกำลงั ไฟฟา้ ใหเ้ หมาะกับ การใชง้ าน และการใช้เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ และอุปกรณ์ ไฟฟา้ ตอ้ งใชอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ปลอดภยั และประหยดั ๑๐. สรา้ งแบบจำลองท่ีอธิบายการเกดิ คล่ืน • คลน่ื เกดิ จากการสง่ ผา่ นพลงั งานโดยอาศยั ตวั กลาง และบรรยายส่วนประกอบของคลน่ื และไมอ่ าศัยตวั กลาง ในคล่ืนกล พลังงานจะถูก ถา่ ยโอนผ่านตัวกลางโดยอนภุ าคของตวั กลาง ไม่เคลอ่ื นทไ่ี ปกบั คลื่น คลืน่ ทแ่ี ผอ่ อกมาจาก แหลง่ กำเนิดคล่นื อย่างตอ่ เน่อื งและมรี ปู แบบ ทซ่ี ้ำกัน บรรยายได้ดว้ ยความยาวคล่นื ความถ่ี แอมพลจิ ูด ๑๑. อธบิ ายคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และสเปกตรัม • คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เป็นคลืน่ ที่ไม่อาศยั ตวั กลาง คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ จากข้อมูลท่ีรวบรวมได ้ ในการเคลอ่ื นที่ มคี วามถต่ี อ่ เนอื่ งเปน็ ชว่ งกวา้ งมาก เคลื่อนทีใ่ นสญุ ญากาศด้วยอัตราเรว็ เท่ากัน ๑๒. ตระหนกั ถงึ ประโยชน์และอนั ตรายจาก แต่จะเคลอ่ื นทดี่ ้วยอตั ราเรว็ ต่างกันในตัวกลางอื่น คล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ โดยนำเสนอการใช้ คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ แบง่ ออกเปน็ ชว่ งความถต่ี า่ ง ๆ ประโยชนใ์ นด้านต่าง ๆ และอนั ตรายจาก เรยี กว่า สเปกตรัมของคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ แต่ละ คลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ ในชวี ติ ประจำวนั ช่วงความถี่มชี ื่อเรยี กต่างกนั ไดแ้ ก่ คลืน่ วิทยุ ไมโครเวฟ อนิ ฟราเรด แสงทม่ี องเหน็ อลั ตราไวโอเลต รงั สีเอกซแ์ ละรงั สแี กมมา ซ่ึงสามารถนำไป ใช้ประโยชน์ได ้ ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 73 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง • เลเซอรเ์ ป็นคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทม่ี ีความยาวคลน่ื เดยี ว เปน็ ลำแสงขนานและมคี วามเขม้ สงู นำไปใช้ ประโยชนใ์ นดา้ นต่าง ๆ เชน่ ดา้ นการสื่อสาร มกี ารใชเ้ ลเซอร์สำหรับสง่ สารสนเทศผา่ น เสน้ ใยนำแสง โดยอาศยั หลกั การการสะทอ้ นกลบั หมด ของแสง ด้านการแพทย์ใชใ้ นการผ่าตดั • คลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ นอกจากจะสามารถนำไปใช้ ประโยชนแ์ ลว้ ยงั มโี ทษตอ่ มนุษยด์ ้วย เชน่ ถ้ามนษุ ยไ์ ดร้ บั รังสีอลั ตราไวโอเลตมากเกินไป อาจจะทำใหเ้ กดิ มะเร็งผิวหนงั หรือถ้าได้รงั สี แกมมาซึ่งเป็นคลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ ท่มี ีพลังงานสงู และสามารถทะลผุ ่านเซลลแ์ ละอวยั วะได ้ อาจทำลายเนอื้ เยือ่ หรืออาจทำให้เสยี ชีวิตได ้ เมอ่ื ได้รบั รังสีแกมมาในปริมาณสูง ๑๓. ออกแบบการทดลองและดำเนนิ การทดลอง • เมื่อแสงตกกระทบวัตถุจะเกิดการสะทอ้ นซง่ึ เป็น ด้วยวธิ ที ่เี หมาะสมในการอธิบาย ไปตามกฎการสะทอ้ นของแสง โดยรงั สตี กกระทบ กฎการสะทอ้ นของแสง เส้นแนวฉาก รงั สีสะท้อนอย่ใู นระนาบเดยี วกัน และมุมตกกระทบเท่ากบั มมุ สะท้อน ภาพจาก ๑๔. เขียนแผนภาพการเคลอื่ นท่ขี องแสง แสดง กระจกเงาเกิดจากรงั สสี ะท้อนตัดกนั หรือตอ่ แนว การเกดิ ภาพจากกระจกเงา รงั สสี ะทอ้ นใหต้ ดั กนั โดยถา้ รงั สสี ะทอ้ นตดั กนั จรงิ จะเกิดภาพจริง แต่ถา้ ต่อแนวรงั สสี ะทอ้ นให ้ ไปตัดกัน จะเกิดภาพเสมอื น ๑๕. อธบิ ายการหกั เหของแสงเม่ือผา่ นตัวกลาง • เมอื่ แสงเดนิ ทางผ่านตัวกลางโปร่งใสท่ีแตกตา่ ง โปร่งใสทแ่ี ตกต่างกัน และอธบิ ายการกระจาย กนั เชน่ อากาศและน้ำ อากาศและแกว้ จะเกดิ แสงของแสงขาวเม่อื ผ่านปริซึมจากหลักฐาน การหักเห หรอื อาจเกดิ การสะท้อนกลบั หมดใน เชิงประจกั ษ ์ ตวั กลางทแ่ี สงตกกระทบ การหกั เหของแสงผ่าน ๑๖. เขียนแผนภาพการเคลื่อนทีข่ องแสง เลนส์ทำให้เกิดภาพท่ีมชี นดิ และขนาดตา่ ง ๆ แสดงการเกิดภาพจากเลนสบ์ าง • แสงขาวประกอบดว้ ยแสงสีตา่ ง ๆ เมอื่ แสงขาว ผา่ นปรซิ มึ จะเกดิ การกระจายแสงเปน็ แสงสตี า่ ง ๆ เรยี กวา่ สเปกตรมั ของแสงขาว เมื่อเคลอ่ื นท่ใี น ตวั กลางใด ๆ ท่ไี มใ่ ช่อากาศ จะมอี ตั ราเร็วต่างกนั จงึ มีการหกั เหต่างกนั 74 ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑๗. อธิบายปรากฏการณ์ทเ่ี กี่ยวกบั แสง และการ • การสะทอ้ นและการหกั เหของแสงนำไปใช้อธิบาย ทำงานของทัศนอปุ กรณ์จากขอ้ มูลที่รวบรวม ปรากฏการณท์ เี่ กย่ี วกบั แสง เชน่ รุง้ มิราจ และ ได ้ อธบิ ายการทำงานของทศั นอปุ กรณ์ เชน่ แวน่ ขยาย ๑๘. เขยี นแผนภาพการเคลอื่ นทข่ี องแสง แสดงการ กระจกโคง้ จราจร กล้องโทรทรรศน์ เกิดภาพของทัศนอุปกรณแ์ ละเลนสต์ า กล้องจุลทรรศน์ และแว่นสายตา • ในการมองวตั ถุ เลนส์ตาจะถูกปรบั โฟกสั เพอ่ื ให้เกิดภาพชดั ที่จอตา ความบกพร่องทางสายตา เชน่ สายตาสน้ั และสายตายาว เปน็ เพราะตำแหนง่ ท่ีเกิดภาพไมไ่ ด้อยู่ท่จี อตาพอดี จึงตอ้ งใชเ้ ลนส ์ ในการแกไ้ ขเพื่อช่วยใหม้ องเห็นเหมอื นคนสายตา ปกติ โดยคนสายตาส้นั ใช้เลนส์เวา้ สว่ นคน สายตายาวใช้เลนส์นนู ๑๙. อธบิ ายผลของความสว่างที่มีตอ่ ดวงตาจาก • ความสวา่ งของแสงมผี ลตอ่ ดวงตามนษุ ย์ การใช้ ขอ้ มูลท่ไี ด้จากการสบื ค้น สายตาในสภาพแวดลอ้ มทม่ี คี วามสวา่ งไมเ่ หมาะสม ๒๐. วัดความสวา่ งของแสงโดยใชอ้ ปุ กรณว์ ัด จะเป็นอนั ตรายตอ่ ดวงตา เช่น การดูวตั ถใุ นทมี่ ี ความสวา่ งของแสง ความสว่างมากหรือนอ้ ยเกินไป การจ้องด ู ๒๑. ตระหนกั ในคุณคา่ ของความรูเ้ รอื่ ง ความสว่าง หนา้ จอภาพเปน็ เวลานาน ความสวา่ งบนพน้ื ทรี่ บั แสง ของแสงทม่ี ตี อ่ ดวงตา โดยวเิ คราะหส์ ถานการณ์ มหี น่วยเป็นลักซ์ ความรู้เกี่ยวกบั ความสว่าง ปญั หาและเสนอแนะการจดั ความสว่าง สามารถนำมาใช้จดั ความสว่างให้เหมาะสมกบั ให้เหมาะสมในการทำกิจกรรมต่าง ๆ การทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ เช่น การจัดความสว่าง ท่ีเหมาะสมสำหรับการอ่านหนงั สือ ม.๔ - - ม.๕ ๑. สืบค้นขอ้ มูลและอธบิ ายพลงั งานนิวเคลียร ์ • พลงั งานทป่ี ลดปลอ่ ยออกมาจากฟชิ ชนั หรอื ฟวิ ชนั ฟชิ ชนั และฟวิ ชนั และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมวล เรยี กวา่ พลงั งานนวิ เคลยี ร์ โดยฟชิ ชนั เปน็ ปฏกิ ริ ยิ า กบั พลงั งานที่ปลดปล่อยออกมาจากฟิชชนั ทน่ี วิ เคลยี สทม่ี มี วลมากแตกออกเปน็ นวิ เคลียสที่มี และฟิวชัน มวลน้อยกวา่ สว่ นฟิวชันเป็นปฏกิ ิรยิ าทน่ี ิวเคลยี ส ท่ีมีมวลนอ้ ยรวมตัวกนั เกิดเปน็ นวิ เคลียสท่ีมีมวล มากขนึ้ พลงั งานนวิ เคลยี รท์ ป่ี ลดปลอ่ ยออกมาจาก ฟิชชันและฟิวชนั มีคา่ เปน็ ไปตามความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งมวลกับพลงั งาน ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 75 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชัน้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๒. สืบคน้ ขอ้ มูล และอธบิ ายการเปลี่ยนพลังงาน • การนำพลงั งานทดแทนมาใช้เป็นการแก้ปัญหา ทดแทนเป็นพลงั งานไฟฟา้ รวมทง้ั สืบคน้ และ หรอื ตอบสนองความต้องการดา้ นพลงั งาน เช่น อภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยที ่นี ำมาแกป้ ญั หา การเปลีย่ นพลังงานนิวเคลียรเ์ ป็นพลังงานไฟฟ้า หรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงาน ในโรงไฟฟา้ นวิ เคลยี ร์ และการเปล่ยี นพลงั งาน โดยเนน้ ด้านประสทิ ธภิ าพและความค้มุ ค่า แสงอาทติ ยเ์ ป็นพลังงานไฟฟ้าโดยเซลล์สรุ ยิ ะ ดา้ นค่าใช้จ่าย • เทคโนโลยตี า่ ง ๆ ทนี่ ำมาแกป้ ญั หาหรอื ตอบสนอง ความตอ้ งการทางดา้ นพลงั งานเป็นการนำความรู้ ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตรม์ าสร้าง อปุ กรณห์ รอื ผลิตภณั ฑ์ต่าง ๆ ทีช่ ว่ ยใหก้ ารใช้ พลงั งานมปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขน้ึ ๓. สงั เกต และอธบิ ายการสะทอ้ น การหกั เห • เม่ือคลนื่ เคลอ่ื นท่ีไปพบส่งิ กีดขวาง จะเกดิ การเล้ียวเบน และการรวมคล่นื การสะทอ้ น เมอื่ คลน่ื เคลอื่ นทผ่ี า่ นรอยตอ่ ระหวา่ ง ตัวกลางทตี่ า่ งกัน จะเกิดการหกั เห เมอ่ื คลื่น เคลอ่ื นทไี่ ปพบขอบสงิ่ กดี ขวางจะเกดิ การเลยี้ วเบน เมือ่ คล่ืนสองขบวนมาพบกันจะเกิดการรวมคลื่น เกิดรูปร่างของคลืน่ รวม หลังจากคล่นื ทั้งสอง เคลอ่ื นทผี่ า่ นพน้ กนั แลว้ จะแยกกนั โดยแตล่ ะคลนื่ ยังคงมรี ูปร่างและทิศทางเดมิ ๔. สงั เกต และอธบิ ายความถธี่ รรมชาติ การสน่ั พอ้ ง • เมือ่ กระตนุ้ ใหว้ ตั ถสุ ั่นแลว้ หยุดกระตนุ้ วัตถจุ ะส่นั และผลท่ีเกดิ ขน้ึ จากการส่ันพ้อง ดว้ ยความถที่ เี่ รยี กว่า ความถธี่ รรมชาติ ถา้ มีแรง กระตนุ้ วตั ถุทีก่ ำลงั สั่นดว้ ยความถีข่ องการ ออกแรงตรงกับความถี่ธรรมชาติของวตั ถนุ ัน้ จะทำให้วัตถุสั่นดว้ ยแอมพลจิ ดู มากขึ้น เรียกว่า การสั่นพอ้ ง เช่น การสั่นพ้องของอาคารสูง การส่นั พ้องของสะพาน การสน่ั พ้องของเสยี ง ในเคร่ืองดนตรปี ระเภทเป่า ๕. สังเกต และอธบิ ายการสะทอ้ น การหักเห • เสยี งมีการสะท้อน การหักเห การเล้ียวเบนและ การเลยี้ วเบน และการรวมคลืน่ ของคลืน่ เสยี ง การรวมคลน่ื เชน่ เดยี วกับคล่ืนอื่น ๆ ๖. สบื ค้นข้อมลู และอธบิ ายความสมั พันธ์ระหวา่ ง • ความถ่ีของคลืน่ เสยี งเปน็ ปรมิ าณที่ใช้บอกเสยี งสูง ความเขม้ เสียงกับระดับเสียงและผลของความถ่ี เสียงต่ำ โดยความถท่ี ีค่ นได้ยนิ มีคา่ อย่รู ะหวา่ ง กบั ระดับเสยี งทมี่ ีต่อการไดย้ นิ เสียง ๒๐-๒๐,๐๐๐ เฮิรตซ์ ระดับเสยี งเปน็ ปริมาณทใี่ ช้ บอกความดังของเสียงซ่งึ ขึน้ กับความเข้มเสียง โดยความเขม้ เสียงเปน็ พลังงานเสยี งท่ตี กต้งั ฉาก บนพื้นท่ีหนึ่งหนว่ ยในหนึง่ หนว่ ยเวลา เสียงทีม่ ี ความดังมากเกินไปเป็นอนั ตรายตอ่ ห ู 76 ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๗. สังเกต และอธิบายการเกดิ เสียงสะท้อนกลบั • เม่อื เสยี งจากแหลง่ กำเนิดเดินทางไปกระทบวตั ถุ บตี ดอปเพลอร์ และการสน่ั พ้องของเสยี ง แลว้ สะทอ้ นกลบั มายงั ผูฟ้ ัง ถ้าผู้ฟงั ได้ยนิ เสยี ง ทอี่ อกจากแหลง่ กำเนดิ และเสยี งทสี่ ะทอ้ นกลบั มา ๘. สบื คน้ ข้อมูล และยกตวั อย่างการนำความร ู้ แยกจากกัน เสยี งท่ีได้ยินนี้เปน็ เสียงสะทอ้ นกลับ เกย่ี วกบั เสียงไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั • เมอ่ื คล่นื เสียงสองขบวนทม่ี ีความถ่ีใกล้เคียงกนั มารวมกันจะเกดิ บีต ๙. สงั เกต และอธิบายการมองเหน็ สีของวตั ถ ุ • เมื่อแหลง่ กำเนดิ เสียงเคลอ่ื นท่ี ผฟู้ งั เคลอ่ื นที่ หรือ และความผิดปกตใิ นการมองเห็นสี ทงั้ แหล่งกำเนดิ และผ้ฟู ังเคล่อื นท่ี ผฟู้ งั จะได้ยิน เสียงทีม่ ีความถ่ีเปลีย่ นไป เรยี กวา่ ปรากฏการณ์ ๑๐. สงั เกต และอธิบายการทำงานของแผน่ กรอง ดอปเพลอร์ แสงสี การผสมแสงสี การผสมสารสี และ • ถา้ อากาศในทอ่ ถกู กระตนุ้ ดว้ ยคลน่ื เสยี งทมี่ คี วามถ่ี การนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั เท่ากบั ความถ่ธี รรมชาติของอากาศในท่อนั้น จะเกิดการสน่ั พ้องของเสียง • ความรเู้ กยี่ วกบั เสยี งนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ เช่น คลื่นเหนอื เสยี งหรอื อลั ตราซาวนด์ใช้ใน ทางการแพทย ์ บีตของเสียงในการปรับเทียบ เสยี งของเครอ่ื งดนตรี การสัน่ พอ้ งของเสยี งใช้ ในการออกแบบเครอื่ งดนตรแี ละอธบิ ายการ เปล่งเสียงของมนษุ ย์ • เมอื่ แสงตกกระทบวตั ถุ วตั ถจุ ะดดู กลนื แสงสบี างสี โดยขึ้นกบั สารสีบนผิววตั ถุ และสะท้อนแสงส ี ที่เหลือออกมา ทำให้มองเหน็ วัตถเุ ป็นสีต่าง ๆ ขน้ึ กับแสงสีท่ีสะท้อนออกมา ความผดิ ปกต ิ ในการมองเห็นสหี รือการบอดสีเกิดจากความ บกพรอ่ งของเซลลร์ ปู กรวยบนจอตา • แผ่นกรองแสงสยี อมให้แสงสบี างสผี ่านออกไปได้ และกน้ั บางแสงส ี • การผสมแสงสีทำใหไ้ ดแ้ สงสีทห่ี ลากหลาย เปลย่ี นไปจากเดมิ ถา้ นำแสงสีปฐมภูมใิ นสัดส่วน ท่เี หมาะสมมาผสมกนั จะได้แสงขาว • การผสมสารสีทำให้ได้สารสที ่หี ลากหลาย เปล่ียนไปจากเดมิ ถ้านำสารสีปฐมภมู ใิ นปริมาณ ท่ีเทา่ กนั มาผสมกนั จะได้สารสผี สมเปน็ สีดำ ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 77 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง • การผสมแสงสีและการผสมสารสสี ามารถนำไปใช้ ประโยชนใ์ นด้านต่าง ๆ เช่น ดา้ นศลิ ปะ ด้านการแสดง ๑๑. สืบคน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า • คล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ประกอบด้วยสนามแม่เหลก็ ส่วนประกอบคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า และหลัก และสนามไฟฟา้ ทีเ่ ปล่ยี นแปลงตลอดเวลา การทำงานของอปุ กรณ์บางชนิดทอ่ี าศยั โดยสนามทงั้ สองมีทศิ ทางตงั้ ฉากกัน และต้ังฉาก คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า กบั ทศิ ทางการเคลอ่ื นที่ของคลื่น • อปุ กรณบ์ างชนดิ ทำงานโดยอาศยั คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เชน่ เครื่องควบคมุ ระยะไกล เครื่องถ่ายภาพ เอกซเรยค์ อมพวิ เตอร์ และเครอื่ งถ่ายภาพ การสั่นพ้องแมเ่ หลก็ ๑๒. สบื คน้ ขอ้ มูลและอธบิ ายการสอื่ สาร โดยอาศัย • ในการส่ือสารโดยอาศยั คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้าในการสง่ ผา่ นสารสนเทศ เพ่ือส่งผา่ นสารสนเทศจากทหี่ น่งึ ไปอกี ท่หี นึ่ง และเปรยี บเทียบการส่ือสารด้วยสญั ญาณ สารสนเทศจะถกู แปลงใหอ้ ยใู่ นรูปสัญญาณ แอนะล็อกกบั สญั ญาณดิจทิ ัล สำหรับสง่ ไปยงั ปลายทางซึ่งจะมกี ารแปลง สัญญาณกลบั มาเปน็ สารสนเทศทีเ่ หมอื นเดมิ • สัญญาณท่ีใชใ้ นการส่อื สารมสี องชนดิ คือ แอนะลอ็ กและดิจิทัล การสง่ ผา่ นสารสนเทศ ด้วยสญั ญาณดิจิทลั สามารถส่งผา่ นได้โดยมี ความผดิ พลาดนอ้ ยกวา่ สญั ญาณแอนะลอ็ ก ม.๖ - - 78 ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ ชั้น ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. ระบุดาวท่ีปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวนั • บนท้องฟา้ มีดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ และดาว และกลางคนื จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ ซ่ึงในเวลากลางวนั จะมองเหน็ ดวงอาทติ ย์ และอาจมองเห็นดวงจันทร์บางเวลาในบางวนั ๒. อธิบายสาเหตทุ ี่มองไมเ่ ห็นดาวสว่ นใหญ ่ แตไ่ ม่สามารถมองเห็นดาว ในเวลากลางวนั จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ • ในเวลากลางวันมองไม่เหน็ ดาวส่วนใหญ่ เน่ืองจาก แสงอาทิตยส์ ว่างกว่าจงึ กลบแสงของดาว สว่ นใน เวลากลางคนื จะมองเห็นดาวและมองเห็น ดวงจันทร์เกอื บทกุ คืน ป.๒ - - ป.๓ ๑. อธิบายแบบรูปเสน้ ทางการขึ้นและตก ของ • คนบนโลกมองเหน็ ดวงอาทิตยป์ รากฏขึน้ ดวงอาทิตย์โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์ ทางด้านหน่ึงและตกทางอกี ด้านหนง่ึ ทุกวัน ๒. อธิบายสาเหตุการเกิดปรากฏการณก์ ารขึน้ หมนุ เวยี นเป็นแบบรูปซำ้ ๆ และตกของดวงอาทติ ย์ การเกดิ กลางวนั กลางคนื • โลกกลมและหมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบดวง และการกำหนดทศิ โดยใชแ้ บบจำลอง อาทติ ย์ ทำให้บริเวณของโลกได้รับแสงอาทิตย์ ๓. ตระหนกั ถึงความสำคญั ของดวงอาทิตย์ โดย ไมพ่ ร้อมกนั โลกด้านทไ่ี ด้รับแสงจากดวงอาทิตย์ บรรยายประโยชนข์ องดวงอาทิตยต์ อ่ สง่ิ มชี วี ติ จะเปน็ กลางวันส่วนดา้ นตรงขา้ มท่ีไม่ได้รับแสง จะเป็นกลางคนื นอกจากนีค้ นบนโลกจะมองเห็น ดวงอาทิตย์ปรากฏข้นึ ทางด้านหนึง่ ซึ่งกำหนดให้ เปน็ ทิศตะวันออก และมองเห็นดวงอาทติ ย ์ ตกทางอีกดา้ นหนึ่ง ซ่งึ กำหนดให้เปน็ ทิศตะวันตก และเม่อื ใหด้ ้านขวามืออยู่ทางทิศตะวนั ออก ด้านซา้ ยมืออย่ทู างทศิ ตะวนั ตก ด้านหน้าจะเปน็ ทิศเหนอื และด้านหลังจะเป็นทศิ ใต ้ • ในเวลากลางวนั โลกจะไดร้ ับพลงั งานแสงและ พลังงานความรอ้ นจากดวงอาทติ ย์ ทำให้สงิ่ มชี วี ิต ดำรงชวี ิตอย่ไู ด้ ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 79 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๔ ๑. อธบิ ายแบบรูปเสน้ ทางการขึ้นและตก • ดวงจนั ทร์เปน็ บรวิ ารของโลก โดยดวงจนั ทร ์ ของดวงจันทร์ โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ ์ หมนุ รอบตวั เองขณะโคจรรอบโลก ขณะท่ีโลกก็ หมุนรอบตัวเองด้วยเช่นกนั การหมนุ รอบตัวเอง ๒. สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายแบบรูป ของโลกจากทศิ ตะวันตกไปทศิ ตะวันออกใน การเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจนั ทร์ ทิศทางทวนเขม็ นาฬิกาเม่ือมองจากขว้ั โลกเหนือ และพยากรณ์รปู รา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์ ทำให้มองเห็นดวงจนั ทร์ปรากฏขึน้ ทางด้าน ทิศตะวันออกและตกทางดา้ นทิศตะวนั ตก ๓. สร้างแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบ หมนุ เวียนเปน็ แบบรูปซ้ำ ๆ สรุ ิยะ และอธิบายเปรยี บเทียบคาบการโคจร • ดวงจันทรเ์ ป็นวตั ถุทเ่ี ปน็ ทรงกลม แตร่ ูปรา่ งของ ของดาวเคราะห์ตา่ ง ๆ จากแบบจำลอง ดวงจันทร์ท่มี องเหน็ หรอื รปู รา่ งปรากฏของ ดวงจนั ทรบ์ นท้องฟ้าแตกต่างกันไปในแตล่ ะวนั ป.๕ ๑. เปรียบเทียบความแตกตา่ งของดาวเคราะห ์ โดยในแตล่ ะวนั ดวงจันทร์จะมีรูปร่างปรากฏเป็น และดาวฤกษ์จากแบบจำลอง เสย้ี วทีม่ ีขนาดเพม่ิ ขึน้ อยา่ งตอ่ เนื่องจนเต็มดวง จากนน้ั รปู ร่างปรากฏของดวงจนั ทรจ์ ะแหวง่ และมีขนาดลดลงอยา่ งต่อเนอื่ งจนมองไมเ่ หน็ ดวงจนั ทร์ จากนนั้ รูปรา่ งปรากฏของดวงจันทร ์ จะเป็นเส้ียวใหญข่ ้ึนจนเตม็ ดวงอีกคร้ัง การเปล่ยี นแปลงเชน่ นเ้ี ปน็ แบบรปู ซำ้ กันทุกเดือน • ระบบสรุ ยิ ะเปน็ ระบบทมี่ ดี วงอาทติ ยเ์ ปน็ ศนู ยก์ ลาง และมบี รวิ ารประกอบดว้ ย ดาวเคราะหแ์ ปดดวง และบรวิ าร ซึง่ ดาวเคราะหแ์ ต่ละดวงมขี นาด และระยะหา่ งจากดวงอาทิตยแ์ ตกต่างกนั และ ยงั ประกอบด้วย ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์ นอ้ ย ดาวหาง และวตั ถุขนาดเล็กอืน่ ๆ โคจรอยู่ รอบดวงอาทติ ย์ วตั ถขุ นาดเลก็ อ่ืน ๆ เม่อื เข้ามา ในชัน้ บรรยากาศเนื่องจากแรงโนม้ ถ่วงของโลก ทำใหเ้ กดิ เป็นดาวตกหรือผพี ุ่งไตแ้ ละอุกกาบาต • ดาวทมี่ องเห็นบนทอ้ งฟ้าอยูใ่ นอวกาศซ่งึ เป็น บรเิ วณทอี่ ยนู่ อกบรรยากาศของโลก มที งั้ ดาวฤกษ์ และดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์เปน็ แหลง่ กำเนิดแสง จงึ สามารถมองเหน็ ได้ ส่วนดาวเคราะหไ์ ม่ใช ่ แหลง่ กำเนดิ แสง แตส่ ามารถมองเห็นได้เน่อื งจาก แสงจากดวงอาทติ ย์ตกกระทบดาวเคราะหแ์ ลว้ สะท้อนเขา้ สตู่ า 80 ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ๒. ใช้แผนท่ดี าวระบุตำแหน่งและเสน้ ทางการขนึ้ • การมองเหน็ กลุม่ ดาวฤกษม์ รี ปู รา่ งต่าง ๆ เกดิ จาก และตกของกลุม่ ดาวฤกษ์บนท้องฟ้า และอธิบาย จนิ ตนาการของผู้สังเกต กลมุ่ ดาวฤกษต์ า่ ง ๆ ท่ี แบบรปู เสน้ ทางการขนึ้ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์ ปรากฏในทอ้ งฟา้ แตล่ ะกล่มุ มีดาวฤกษแ์ ตล่ ะดวง บนทอ้ งฟา้ ในรอบปี เรยี งกนั ทตี่ ำแหน่งคงท่ี และมเี ส้นทางการขนึ้ และตกตามเสน้ ทางเดิมทกุ คืน ซ่ึงจะปรากฏ ตำแหน่งเดิม การสังเกตตำแหน่งและการขึ้น และตกของดาวฤกษ์ และกลุ่มดาวฤกษ์ สามารถ ทำไดโ้ ดยใชแ้ ผนที่ดาว ซ่ึงระบมุ มุ ทิศและมุมเงย ที่กลมุ่ ดาวนนั้ ปรากฏ ผู้สังเกตสามารถใชม้ อื ในการประมาณค่าของมุมเงยเมือ่ สงั เกตดาว ในทอ้ งฟ้า ป.๖ ๑. สรา้ งแบบจำลองที่อธบิ ายการเกดิ และ • เมอ่ื โลกและดวงจนั ทร์ โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรง เปรยี บเทียบปรากฏการณส์ รุ ิยปุ ราคา เดยี วกนั กบั ดวงอาทติ ยใ์ นระยะทางท่เี หมาะสม และจันทรุปราคา ทำให้ดวงจันทรบ์ ังดวงอาทิตย์ เงาของดวงจนั ทร์ ทอดมายงั โลก ผ้สู งั เกตทอี่ ยบู่ ริเวณเงาจะมองเห็น ดวงอาทิตย์มืดไป เกิดปรากฏการณ์สรุ ิยุปราคา ซง่ึ มีท้งั สุรยิ ปุ ราคาเต็มดวง สรุ ิยปุ ราคาบางสว่ น และสรุ ยิ ุปราคาวงแหวน • หากดวงจันทรแ์ ละโลกโคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรง เดียวกนั กบั ดวงอาทติ ย์ แล้วดวงจนั ทรเ์ คลอื่ นท่ี ผ่านเงาของโลก จะมองเห็นดวงจันทรม์ ดื ไป เกดิ ปรากฏการณจ์ นั ทรปุ ราคา ซงึ่ มที งั้ จนั ทรปุ ราคา เต็มดวง และจันทรุปราคาบางส่วน ๒. อธบิ ายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และ • เทคโนโลยีอวกาศเร่มิ จากความตอ้ งการของมนษุ ย์ ยกตวั อยา่ งการนำเทคโนโลยอี วกาศมาใชป้ ระโยชน์ ในการสำรวจวตั ถทุ อ้ งฟ้าโดยใช้ตาเปลา่ ในชีวติ ประจำวัน จากขอ้ มูลท่ีรวบรวมได้ กลอ้ งโทรทรรศน์ และได้พฒั นาไปส่กู ารขนส่ง เพ่อื สำรวจอวกาศดว้ ยจรวดและยานขนส่งอวกาศ และยังคงพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง ปจั จบุ ันมีการนำ เทคโนโลยอี วกาศบางประเภทมาประยุกตใ์ ช ้ ในชีวติ ประจำวนั เช่น การใช้ดาวเทียมเพ่ือ การส่อื สาร การพยากรณอ์ ากาศ หรือการสำรวจ ทรพั ยากรธรรมชาติ การใช้อปุ กรณว์ ัดชีพจร และการเต้นของหวั ใจ หมวกนริ ภยั ชุดกฬี า ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 81 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.๑ - ม.๒ - - ม.๓ ๑. อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์รอบ - • ในระบบสุรยิ ะมีดวงอาทิตย์เปน็ ศนู ย์กลางโดยมี ดวงอาทิตยด์ ว้ ยแรงโน้มถว่ งจากสมการ ดาวเคราะห์และบริวาร ดาวเคราะหแ์ คระ F = (Gm1m2)/r2 ดาวเคราะหน์ อ้ ย ดาวหาง และอน่ื ๆ เชน่ วตั ถคุ อยเปอร์ โคจรอย่โู ดยรอบ ซง่ึ ดาวเคราะห์ และวัตถุ ๒. สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายการเกิดฤดู และ เหลา่ น้ีโคจรรอบดวงอาทติ ย์ด้วยแรงโนม้ ถว่ ง การเคล่อื นทป่ี รากฏของดวงอาทติ ย์ แรงโนม้ ถว่ งเปน็ แรงดงึ ดดู ระหวา่ งวตั ถสุ องวตั ถ ุ โดยเปน็ สดั สว่ นกบั ผลคณู ของมวลทง้ั สอง และเปน็ ๓. สรา้ งแบบจำลองทอี่ ธิบายการเกิดขา้ งขึ้น สัดส่วนผกผนั กบั กำลงั สองของระยะทางระหว่าง ขา้ งแรม การเปล่ยี นแปลงเวลาการขึ้นและตก เวมตั อ่ื ถทุ Fั้งแสทอนง คแวสาดมงโไนด้มโ้ ดถยว่ สงรมะกหาวร่าFงม=วล(Gทmัง้ ส1อmง2 ) /r2 ของดวงจันทร์ และการเกิดนำ้ ขน้ึ น้ำลง Grวัตแแถททแุ นนรรกคะา่ยmนะ2ิจหแโา่ นทงม้รนถะมห่ววงวลส่าขางอกวงัตลวถัตmุทถง้ั1ุทสแ่ีสอทองนง มแวลละข อ ง • การทโ่ี ลกโคจรรอบดวงอาทิตยใ์ นลกั ษณะท ี่ แกนโลกเอียงกบั แนวตง้ั ฉากของระนาบทางโคจร ทำใหส้ ่วนตา่ ง ๆ บนโลกไดร้ ับปริมาณแสงจาก ดวงอาทติ ยแ์ ตกตา่ งกนั ในรอบปี เกิดเปน็ ฤดู กลางวนั กลางคืนยาวไมเ่ ทา่ กัน และตำแหน่ง การขึน้ และตกของดวงอาทิตยท์ ี่ขอบฟ้าและ เสน้ ทางการข้นึ และตกของดวงอาทติ ยเ์ ปลีย่ นไป ในรอบปี ซ่งึ ส่งผลต่อการดำรงชวี ติ • ดวงจันทร์โคจรรอบโลก โลกและดวงจนั ทร์โคจร รอบดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทรร์ บั แสงจากดวงอาทติ ย์ ครงึ่ ดวงตลอดเวลา เม่ือดวงจนั ทรโ์ คจรรอบโลก ได้หนั ส่วนสวา่ งมายงั โลกแตกต่างกัน จึงทำใหค้ น บนโลกสังเกตส่วนสว่างของดวงจนั ทร์แตกตา่ งไป ในแตล่ ะวนั เกดิ เป็นขา้ งข้นึ ข้างแรม • ดวงจันทรโ์ คจรรอบโลกในทศิ ทางเดียวกันกับ ทโ่ี ลกหมนุ รอบตวั เอง จงึ ทำใหเ้ หน็ ดวงจนั ทรข์ นึ้ ชา้ ไปประมาณวนั ละ ๕๐ นาที 82 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง • แรงโน้มถว่ งทดี่ วงจันทร์ ดวงอาทติ ยก์ ระทำต่อ โลกทำให้เกดิ ปรากฏการณ์นำ้ ขึน้ น้ำลง ซ่ึงสง่ ผล ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและสิ่งมีชีวติ บนโลก วันทีน่ ้ำมี ระดับการขนึ้ สงู สดุ และลงต่ำสุดเรียก วนั น้ำเกดิ ส่วนวนั ท่ีระดบั น้ำมีการข้นึ และลงน้อยเรยี ก วนั นำ้ ตาย โดยวนั นำ้ เกดิ นำ้ ตาย มคี วามสมั พนั ธก์ บั ขา้ งขึน้ ขา้ งแรม ๔. อธิบายการใชป้ ระโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศ • เทคโนโลยอี วกาศได้มบี ทบาทตอ่ การดำรงชีวิต และยกตวั อยา่ งความก้าวหน้าของโครงการ ของมนุษยใ์ นปจั จบุ ันมากมาย มนุษย์ได้ใช้ สำรวจอวกาศ จากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยอี วกาศ เชน่ ระบบนำทาง ดว้ ยดาวเทยี ม (GNSS) การตดิ ตามพายุ สถานการณ์ไฟปา่ ดาวเทียมช่วยภยั แล้ง การตรวจคราบน้ำมนั ในทะเล • โครงการสำรวจอวกาศตา่ ง ๆ ได้พฒั นาเพม่ิ พูน ความรคู้ วามเข้าใจตอ่ โลก ระบบสรุ ิยะและเอกภพ มากขน้ึ เป็นลำดบั ตัวอยา่ งโครงการสำรวจอวกาศ เช่น การสำรวจสิง่ มีชวี ติ นอกโลก การสำรวจ ดาวเคราะหน์ อกระบบสรุ ยิ ะ การสำรวจดาวองั คาร และบริวารอื่นของดวงอาทติ ย ์ ม.๔ - - ม.๕ - - ม.๖ ๑. อธิบายการกำเนิดและการเปลีย่ นแปลงพลังงาน • ทฤษฎกี ำเนดิ เอกภพท่ียอมรับในปจั จุบัน คอื สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพหลงั เกดิ ทฤษฎีบิกแบง ระบุว่าเอกภพเร่ิมต้นจากบกิ แบง บกิ แบงในชว่ งเวลาต่าง ๆ ตามววิ ัฒนาการ ท่เี อกภพมขี นาดเล็กมาก และมีอณุ หภูมสิ งู มาก ของเอกภพ ซงึ่ เป็นจดุ เร่ิมตน้ ของเวลาและววิ ฒั นาการของ เอกภพ โดยหลงั เกิดบกิ แบง เอกภพเกดิ การ ขยายตวั อยา่ งรวดเรว็ มอี ณุ หภมู ลิ ดลง มสี สารคงอยู่ ในรูปอนภุ าคและปฏยิ านุภาคหลายชนิด และมี วิวัฒนาการต่อเนอ่ื งจนถึงปจั จบุ ัน ซ่งึ มีเนบิวลา กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสรุ ยิ ะเป็นสมาชกิ บางสว่ นของเอกภพ ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 83 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๒. อธิบายหลักฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง • หลกั ฐานสำคญั ทีส่ นับสนุนทฤษฎบี กิ แบง คือ จากความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความเรว็ กบั ระยะทาง การขยายตวั ของเอกภพ ซงึ่ อธบิ ายดว้ ยกฎฮบั เบลิ ของกาแลก็ ซี รวมท้งั ข้อมูลการคน้ พบไมโครเวฟ โดยใช้ความสัมพันธ์ระหวา่ งความเร็วและ พนื้ หลงั จากอวกาศ ระยะทางของกาแลก็ ซที เ่ี คล่อื นท่หี ่างออกจากโลก และหลกั ฐานอกี ประการ คอื การคน้ พบไมโครเวฟ พืน้ หลงั ที่กระจายตัวอย่างสมำ่ เสมอทุกทิศทาง และสอดคลอ้ งกบั อุณหภมู ิเฉลย่ี ของอวกาศ มีคา่ ประมาณ ๒.๗๓ เคลวนิ ๓. อธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซี • กาแลก็ ซี ประกอบดว้ ย ดาวฤกษจ์ ำนวนหลายแสน ทางชา้ งเผือก และระบุตำแหนง่ ของระบบสรุ ิยะ ล้านดวง ซ่งึ อยูก่ นั เป็นระบบของดาวฤกษ์ พร้อมอธบิ ายเชอื่ มโยงกบั การสังเกตเหน็ นอกจากน้ี ยงั ประกอบดว้ ยเทหฟ์ ้าอน่ื เช่น ทางช้างเผือกของคนบนโลก เนบวิ ลา และสสารระหว่างดาว โดยองค์ประกอบ ต่าง ๆ ภายในของกาแล็กซอี ย่รู วมกันด้วย แรงโนม้ ถว่ ง • กาแลก็ ซมี ีรปู รา่ งแตกตา่ งกัน โดยระบบสุรยิ ะ อยใู่ นกาแลก็ ซที างช้างเผอื กซึง่ เป็นกาแลก็ ซีกังหัน แบบมคี าน มีโครงสร้าง คือ นวิ เคลยี ส จาน และ ฮาโล ดาวฤกษ์จำนวนมากอยใู่ นบรเิ วณนิวเคลยี ส และจาน โดยมรี ะบบสรุ ยิ ะอยหู่ า่ งจากจดุ ศนู ยก์ ลาง ของกาแลก็ ซที างชา้ งเผอื ก ประมาณ ๓๐,๐๐๐ ปแี สง ซึ่งทางชา้ งเผอื กท่สี งั เกตเหน็ ในท้องฟ้าเป็น บริเวณหน่งึ ของกาแลก็ ซีทางชา้ งเผือกในมุมมอง ของคนบนโลก แถบฝา้ สีขาวจาง ๆ ของ ทางช้างเผอื กคือดาวฤกษ์ ทีอ่ ยู่อย่างหนาแน่น ในกาแล็กซที างชา้ งเผือก ๔. อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ โดยแสดง • ดาวฤกษ์สว่ นใหญอ่ ยูร่ วมกันเป็นระบบดาวฤกษ์ การเปลี่ยนแปลงความดัน อุณหภมู ิ ขนาด คือ ดาวฤกษ์ท่อี ยรู่ วมกนั ตัง้ แต่ ๒ ดวงขึน้ ไป จากดาวฤกษก์ อ่ นเกิดจนเปน็ ดาวฤกษ ์ ดาวฤกษ์เป็นก้อนแกส๊ รอ้ นขนาดใหญ่ เกิดจาก การยุบตวั ของกลุ่มสสารในเนบิวลาภายใต้ แรงโนม้ ถว่ ง ทำใหบ้ างสว่ นของเนบวิ ลามขี นาดเลก็ ลง ความดนั และอณุ หภมู เิ พิม่ ขนึ้ เกิดเปน็ ดาวฤกษ์ ก่อนเกดิ เมอื่ อณุ หภมู ทิ ่แี กน่ สูงข้ึนจนเกดิ ปฏกิ ริ ยิ า เทอรม์ อนิวเคลยี ร์ ดาวฤกษ์กอ่ นเกดิ จะกลายเปน็ ดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์อยใู่ นสภาพสมดลุ ระหว่าง แรงดนั กับแรงโน้มถว่ งซง่ึ เรยี กว่า สมดลุ อุทกสถติ จงึ ทำให้ดาวฤกษม์ เี สถยี รภาพและปลดปลอ่ ย พลังงานเปน็ เวลานาน ตลอดช่วงชีวิตของ ดาวฤกษ์ 84 ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง • ปฏกิ ิริยาเทอรม์ อนิวเคลียร์ เปน็ ปฏกิ ริ ิยาหลกั ของ กระบวนการสรา้ งพลงั งานของดาวฤกษ์ทแี่ กน่ ของดาวฤกษ์ ทำใหเ้ กิดการหลอมนวิ เคลยี สของ ไฮโดรเจนเป็นนิวเคลยี สฮีเลียมแลว้ ก่อใหเ้ กิด พลงั งานอย่างต่อเนอื่ ง ๕. ระบปุ ัจจัยท่สี ่งผลตอ่ ความส่องสว่างของ • ความส่องสว่างของดาวฤกษเ์ ปน็ พลงั งานจาก ดาวฤกษ์ และอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ดาวฤกษ์ที่ปลดปลอ่ ยออกมาในเวลา ๑ วนิ าทีต่อ ความสอ่ งสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ หนว่ ยพ้ืนท่ี ณ ตำแหนง่ ของผู้สงั เกต แตเ่ นอื่ งจาก ตาของมนษุ ย์ไม่ตอบสนองต่อการเปล่ยี นแปลง ความส่องสว่างทมี่ คี า่ นอ้ ย ๆ จึงกำหนดค่าการ เปรียบเทยี บความสอ่ งสว่างของดาวฤกษด์ ว้ ยค่า โชตมิ าตร ซงึ่ เปน็ การแสดงระดบั ความสอ่ งสวา่ ง ของดาวฤกษ์ ณ ตำแหนง่ ของผู้สงั เกต ๖. อธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสี อณุ หภมู ผิ ิว • สีของดาวฤกษส์ ัมพันธ์กับอุณหภูมิผวิ และ และสเปกตรมั ของดาวฤกษ ์ สเปกตรมั ของดาวฤกษ์ ซงึ่ นกั ดาราศาสตร์ใช้ สเปกตรมั ในการจำแนกชนิดของดาวฤกษ ์ ๗. อธบิ ายลำดับวิวัฒนาการทีส่ มั พนั ธก์ ับมวลตั้งตน้ • มวลของดาวฤกษข์ น้ึ อยู่กับมวลของดาวฤกษ ์ และวเิ คราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงสมบตั บิ างประการ กอ่ นเกิด ดาวฤกษ์ท่มี ีมวลมากจะผลติ และใช้ ของดาวฤกษ ์ พลงั งานมาก จงึ มอี ายสุ นั้ กวา่ ดาวฤกษท์ ม่ี มี วลนอ้ ย • ดาวฤกษ์มกี ารวิวฒั นาการทีแ่ ตกต่างกัน การวิวฒั นาการและจุดจบของดาวฤกษ์ขึ้นอยู่กบั มวลตงั้ ต้นของดาวฤกษ์ สว่ นใหญเ่ ทยี บกับจำนวน เท่าของมวลดวงอาทิตย ์ ๘. อธบิ ายกระบวนการเกดิ ระบบสรุ ยิ ะ และการแบง่ • ระบบสรุ ิยะเกิดจากการรวมตัวกนั ของกลมุ่ ฝุ่น เขตบรวิ ารของดวงอาทติ ย์ และลักษณะของ และแก๊สทเ่ี รียกว่า เนบิวลาสรุ ยิ ะ โดยฝุน่ และแกส๊ ดาวเคราะหท์ ่เี อื้อต่อการดำรงชีวติ ประมาณร้อยละ ๙๙.๘ ของมวล ไดร้ วมตวั เป็น ดวงอาทิตย์ซึ่งเปน็ กอ้ นแกส๊ ร้อน หรือ พลาสมา สสารสว่ นที่เหลือรวมตวั เป็นดาวเคราะหแ์ ละ บริวารอ่ืน ๆ ของดวงอาทิตย์ ดงั นั้นจงึ แบง่ เขต บรวิ ารของดวงอาทิตย์ตามลกั ษณะการเกิด และองค์ประกอบ ได้แก่ ดาวเคราะหช์ ้นั ใน ดาวเคราะหน์ อ้ ย ดาวเคราะหช์ นั้ นอก และดงดาวหาง ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 85 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง • โลกเปน็ ดาวเคราะหใ์ นระบบสุรยิ ะทมี่ ีสิง่ มชี วี ิต เพราะโคจรรอบดวงอาทติ ยใ์ นระยะทางทเี่ หมาะสม อยูใ่ นเขตทีเ่ ออ้ื ตอ่ การมสี ิ่งมีชวี ติ มอี ุณหภูม ิ เหมาะสมและสามารถเกดิ น้ำทย่ี งั คงสถานะเป็น ของเหลวได้ ปจั จบุ นั มีการคน้ พบดาวเคราะห ์ ทอ่ี ยนู่ อกระบบสรุ ยิ ะจำนวนมาก และมดี าวเคราะห์ บางดวงทอ่ี ยูใ่ นเขตทเี่ ออ้ื ตอ่ การมสี งิ่ มชี วี ิต คล้ายโลก ๙. อธิบายโครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกดิ • ดวงอาทิตยม์ โี ครงสร้างภายในแบ่งเปน็ แกน่ ลมสรุ ิยะ พายสุ ุรยิ ะ และสืบค้นขอ้ มูล วเิ คราะห์ เขตการแผ่รงั สี และเขตการพาความรอ้ น และม ี นำเสนอปรากฏการณห์ รือเหตุการณ์ทีเ่ กย่ี วข้อง ช้นั บรรยากาศอยเู่ หนอื เขตพาความร้อน ซ่งึ แบง่ กับผลของลมสุรยิ ะ และพายสุ ุริยะทีม่ ตี อ่ โลก เป็น ๓ ช้ัน คอื ชั้นโฟโตสเฟียร์ ชั้นโครโมสเฟยี ร์ รวมท้งั ประเทศไทย และคอโรนา ในชัน้ บรรยากาศของดวงอาทติ ย ์ มีปรากฏการณ์สำคัญ เช่น จดุ มดื ดวงอาทติ ย์ การลกุ จา้ ทีท่ ำใหเ้ กิดลมสรุ ิยะ และพายุสุริยะ ซ่ึงสง่ ผลตอ่ โลก • ลมสรุ ิยะ เกิดจากการแพรก่ ระจายของอนภุ าค จากชัน้ คอโรนาออกสอู่ วกาศตลอดเวลา อนุภาค ท่หี ลุดออกสอู่ วกาศเปน็ อนภุ าคท่มี ีประจุ ลมสรุ ยิ ะสง่ ผลทำใหเ้ กดิ หางของดาวหางทเี่ รอื งแสง และชีไ้ ปทางทิศตรงกนั ข้ามกับดวงอาทติ ย ์ และเกดิ ปรากฏการณ์แสงเหนอื แสงใต ้ • พายุสุรยิ ะ เกดิ จากการปลดปลอ่ ยอนภุ าคมปี ระจุ พลังงานสงู จำนวนมหาศาล มักเกดิ บอ่ ยครง้ั ในชว่ งทม่ี ีการลกุ จ้า และในช่วงท่ีมจี ุดมดื ดวงอาทิตยจ์ ำนวนมาก และในบางครง้ั มีการ พน่ กอ้ นมวลคอโรนา พายุสุริยะอาจสง่ ผลต่อ สนามแม่เหลก็ โลก จึงอาจรบกวนระบบการ สง่ กระแสไฟฟา้ และการสือ่ สาร รวมท้งั อาจส่งผล ตอ่ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ของดาวเทยี ม นอกจากนั้น มักทำให้เกดิ ปรากฏการณแ์ สงเหนือ แสงใต ้ ทส่ี ังเกตไดช้ ัดเจน 86 ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๑๐. สบื คน้ ข้อมูล อธบิ ายการสำรวจอวกาศ โดยใช้ • มนษุ ย์ใช้เทคโนโลยอี วกาศในการศึกษา เพอ่ื ขยาย กลอ้ งโทรทรรศน์ในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ ขอบเขตความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และในขณะ ดาวเทยี ม ยานอวกาศ สถานอี วกาศ และนำเสนอ เดยี วกนั มนษุ ยไ์ ดน้ ำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ แนวคดิ การนำความร้ทู างด้านเทคโนโลยี ประโยชน์ในด้านตา่ ง ๆ เช่น วัสดุศาสตร์ อาหาร อวกาศมาประยกุ ตใ์ ช้ ในชวี ติ ประจำวนั การแพทย์ หรอื ในอนาคต • นกั วทิ ยาศาสตรไ์ ดส้ รา้ งกลอ้ งโทรทรรศน์ เพอื่ ศกึ ษา แหลง่ กำเนดิ ของรงั สหี รอื อนภุ าคในอวกาศ ในชว่ ง ความยาวคลื่นตา่ ง ๆ ได้แก่ คลนื่ วิทยุ ไมโครเวฟ อนิ ฟราเรด แสง อัลตราไวโอเลต และรงั สีเอก็ ซ์ • ยานอวกาศ คอื ยานพาหนะท่นี ำมนษุ ยห์ รอื อุปกรณท์ างดาราศาสตรข์ ้นึ ไปส่อู วกาศ เพื่อ สำรวจหรอื เดนิ ทางไปยังดาวดวงอนื่ ส่วนสถานี อวกาศ คอื หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารลอยฟา้ ทโ่ี คจรรอบโลก ใชใ้ นการศกึ ษาวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตรใ์ นสาขาตา่ ง ๆ ในสภาพไรน้ ้ำหนกั • ดาวเทยี ม คอื อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการสำรวจวตั ถทุ อ้ งฟา้ และนำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ การสอื่ สาร โทรคมนาคม การระบตุ ำแหนง่ บนโลก การสำรวจ ทรพั ยากรธรรมชาติ อุตนุ ิยมวิทยา โดยดาวเทยี ม มหี ลายประเภทสามารถแบง่ ไดต้ ามเกณฑว์ งโคจร และการใชง้ าน ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 87 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สาระที่ ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เขา้ ใจองคป์ ระกอบและความสมั พนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลง ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลง ลมฟา้ อากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลตอ่ ส่ิงมชี วี ิตและส่ิงแวดลอ้ ม ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. อธิบายลกั ษณะภายนอกของหนิ จากลกั ษณะ • หินท่อี ยใู่ นธรรมชาตมิ ีลกั ษณะภายนอกเฉพาะตัว เฉพาะตวั ที่สังเกตได ้ ทีส่ งั เกตได้ เช่น สี ลวดลาย นำ้ หนกั ความแข็ง และเนอื้ หิน ป.๒ ๑. ระบสุ ว่ นประกอบของดนิ และจำแนกชนดิ ของดนิ • ดนิ ประกอบดว้ ยเศษหนิ ซากพชื ซากสตั วผ์ สมอยู่ โดยใชล้ กั ษณะเนอ้ื ดนิ และการจบั ตวั เปน็ เกณฑ์ ในเนือ้ ดิน มอี ากาศและนำ้ แทรกอย่ตู ามชอ่ งวา่ ง ๒. อธบิ ายการใช้ประโยชนจ์ ากดิน จากข้อมลู ในเน้ือดิน ดนิ จำแนกเป็น ดินร่วน ดินเหนียว ท่รี วบรวมได้ และดินทราย ตามลกั ษณะเน้ือดนิ และการจับตวั ของดินซ่ึงมผี ลต่อการอมุ้ นำ้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั • ดนิ แต่ละชนดิ นำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้แตกตา่ งกนั ตามลกั ษณะและสมบัติของดนิ ป.๓ ๑. ระบุส่วนประกอบของอากาศ บรรยายความ • อากาศโดยท่ัวไปไม่มสี ี ไมม่ ีกลิ่น ประกอบดว้ ย สำคญั ของอากาศ และผลกระทบของมลพษิ ทาง แกส๊ ไนโตรเจน แกส๊ ออกซเิ จน แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ อากาศต่อสง่ิ มีชวี ิต จากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้ แก๊สอื่น ๆ รวมทัง้ ไอน้ำ และฝุน่ ละออง อากาศ ๒. ตระหนักถงึ ความสำคัญของอากาศ โดยนำเสนอ มคี วามสำคญั ตอ่ สิ่งมชี ีวติ หากสว่ นประกอบของ แนวทางการปฏิบัตติ นในการลดการเกดิ มลพษิ อากาศไมเ่ หมาะสม เนื่องจากมีแกส๊ บางชนดิ หรือ ทางอากาศ ฝุ่นละอองในปรมิ าณมาก อาจเปน็ อนั ตรายต่อ ส่ิงมีชวี ติ ชนิดตา่ ง ๆ จัดเป็นมลพษิ ทางอากาศ • แนวทางการปฏบิ ัติตนเพ่อื ลดการปลอ่ ยมลพิษ ทางอากาศ เช่น ใชพ้ าหนะรว่ มกัน หรือเลือกใช้ เทคโนโลยที ล่ี ดมลพิษทางอากาศ ๓. อธิบายการเกดิ ลมจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ ์ • ลม คอื อากาศทเี่ คลอ่ื นท่ี เกดิ จากความแตกตา่ งกนั ของอณุ หภมู อิ ากาศบรเิ วณทอี่ ยใู่ กลก้ นั โดยอากาศ บรเิ วณทมี่ อี ณุ หภมู สิ งู จะลอยตวั สงู ขน้ึ และอากาศ บรเิ วณทีม่ อี ณุ หภูมติ ่ำกวา่ จะเคล่ือนเขา้ ไปแทนที่ ๔. บรรยายประโยชน์และโทษของลม จากข้อมลู • ลมสามารถนำมาใช้เป็นแหล่งพลงั งานทดแทน ทีร่ วบรวมได ้ ในการผลติ ไฟฟา้ และนำไปใชป้ ระโยชน์ในการ ทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ของมนษุ ย์ หากลมเคลอ่ื นที่ ด้วยความเร็วสูงอาจทำใหเ้ กิดอันตรายและ ความเสียหายต่อชวี ิตและทรัพยส์ นิ ได้ 88 ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ชัน้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.๔ - - ป.๕ ๑. เปรยี บเทยี บปริมาณนำ้ ในแต่ละแหล่ง และระบุ • โลกมีท้งั น้ำจดื และน้ำเค็มซง่ึ อยใู่ นแหลง่ น้ำต่าง ๆ ปริมาณน้ำท่ีมนษุ ยส์ ามารถนำมาใช้ประโยชนไ์ ด้ ที่มีทง้ั แหล่งน้ำผิวดนิ เช่น ทะเล มหาสมทุ ร บึง จากข้อมลู ทรี่ วบรวมได ้ แมน่ ้ำ และแหลง่ นำ้ ใตด้ นิ เชน่ น้ำในดิน และ นำ้ บาดาล นำ้ ท้งั หมดของโลกแบ่งเป็นน้ำเคม็ ประมาณร้อยละ ๙๗.๕ ซง่ึ อยใู่ นมหาสมุทร และแหลง่ นำ้ อ่ืน ๆ และท่ีเหลืออีกประมาณ รอ้ ยละ ๒.๕ เป็นน้ำจืด ถ้าเรียงลำดับปรมิ าณ นำ้ จดื จากมากไปนอ้ ยจะอยูท่ ี่ ธารนำ้ แขง็ และ พดื นำ้ แขง็ นำ้ ใตด้ นิ ชน้ั ดนิ เยอื กแขง็ คงตวั และนำ้ แขง็ ใตด้ ิน ทะเลสาบ ความชื้นในดนิ ความชนื้ ใน บรรยากาศ บึง แม่น้ำ และน้ำในส่ิงมชี วี ิต ๒. ตระหนักถึงคุณค่าของน้ำโดยนำเสนอแนวทาง • น้ำจดื ทม่ี นุษย์นำมาใชไ้ ด้มปี รมิ าณน้อยมาก การใชน้ ้ำอย่างประหยัดและการอนรุ ักษน์ ำ้ จึงควรใชน้ ้ำอย่างประหยัดและรว่ มกนั อนรุ ักษน์ ำ้ ๓. สรา้ งแบบจำลองท่อี ธิบายการหมนุ เวยี นของนำ้ • วัฏจักรนำ้ เป็นการหมุนเวียนของน้ำท่มี แี บบรูป ในวัฏจกั รน้ำ ซ้ำเดิม และตอ่ เนื่องระหว่างนำ้ ในบรรยากาศ นำ้ ผวิ ดนิ และนำ้ ใตด้ นิ โดยพฤตกิ รรมการดำรงชวี ติ ของพชื และสัตว์สง่ ผลต่อวัฏจกั รนำ้ ๔. เปรยี บเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก นำ้ คา้ ง • ไอน้ำในอากาศจะควบแนน่ เปน็ ละอองนำ้ เลก็ ๆ และน้ำค้างแขง็ จากแบบจำลอง โดยมลี ะอองลอย เชน่ เกลอื ฝนุ่ ละออง ละออง เรณขู องดอกไม้ เปน็ อนุภาคแกนกลาง เมือ่ ละอองน้ำจำนวนมากเกาะกล่มุ รวมกันลอยอยู่สงู จากพ้นื ดินมาก เรียกวา่ เมฆ แตล่ ะอองนำ้ ทเี่ กาะกลุ่มรวมกนั อยใู่ กล้พ้นื ดิน เรียกว่า หมอก ส่วนไอน้ำทีค่ วบแนน่ เป็นละอองน้ำเกาะอยู่ บนพ้ืนผวิ วตั ถใุ กล้พืน้ ดนิ เรยี กว่า นำ้ คา้ ง ถ้าอณุ หภมู ิใกล้พน้ื ดนิ ต่ำกว่าจดุ เยือกแขง็ นำ้ คา้ งกจ็ ะกลายเป็นน้ำคา้ งแขง็ ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 89 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ชัน้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๕. เปรียบเทยี บกระบวนการเกดิ ฝน หมิ ะ และ • ฝน หิมะ ลกู เหบ็ เป็นหยาดนำ้ ฟา้ ซง่ึ เป็นนำ้ ที่มี ลูกเห็บ จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ สถานะต่าง ๆ ทตี่ กจากฟา้ ถึงพ้ืนดนิ ฝนเกดิ จาก ละอองนำ้ ในเมฆท่ีรวมตวั กนั จนอากาศไม่สามารถ พยงุ ไวไ้ ด้จงึ ตกลงมา หิมะเกิดจากไอนำ้ ในอากาศ ระเหดิ กลบั เปน็ ผลกึ นำ้ แขง็ รวมตวั กนั จนมนี ำ้ หนกั มากขนึ้ จนเกนิ กวา่ อากาศจะพยงุ ไว้จงึ ตกลงมา ลกู เหบ็ เกดิ จากหยดนำ้ ทเ่ี ปลย่ี นสถานะเปน็ นำ้ แขง็ แล้วถูกพายพุ ดั วนซำ้ ไปซำ้ มาในเมฆฝนฟ้าคะนอง ทมี่ ขี นาดใหญแ่ ละอยใู่ นระดบั สงู จนเปน็ กอ้ นนำ้ แขง็ ขนาดใหญข่ ึ้นแลว้ ตกลงมา ป.๖ ๑. เปรียบเทยี บกระบวนการเกิดหนิ อคั นี • หินเปน็ วสั ดุแข็งเกดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ หินตะกอน และหนิ แปร และอธิบายวฏั จักรหิน ประกอบดว้ ย แรต่ ้ังแต่หน่ึงชนิดขึน้ ไป สามารถ จากแบบจำลอง จำแนกหนิ ตามกระบวนการเกดิ ไดเ้ ปน็ ๓ ประเภท ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหนิ แปร • หินอัคนีเกดิ จากการเยน็ ตัวของแมกมา เนื้อหิน มีลักษณะเป็นผลึก ท้ังผลึกขนาดใหญ่และ ขนาดเลก็ บางชนดิ อาจเปน็ เนื้อแก้วหรือมรี พู รนุ • หนิ ตะกอน เกิดจากการทบั ถมของตะกอนเมือ่ ถกู แรงกดทบั และมีสารเชอ่ื มประสานจึงเกิดเป็นหนิ เนือ้ หินกลมุ่ นีส้ ่วนใหญม่ ีลักษณะเปน็ เม็ดตะกอน มที ้งั เน้อื หยาบและเน้ือละเอยี ด บางชนิดเปน็ เนือ้ ผลึกท่ียึดเกาะกนั เกิดจากการตกผลกึ หรือ ตกตะกอนจากนำ้ โดยเฉพาะน้ำทะเล บางชนิด มลี กั ษณะเป็นชั้น ๆ จึงเรียกอกี ชื่อว่า หนิ ชัน้ • หินแปร เกดิ จากการแปรสภาพของหนิ เดมิ ซึ่งอาจเปน็ หนิ อัคนี หนิ ตะกอน หรอื หนิ แปร โดยการกระทำของความร้อน ความดนั และ ปฏกิ ิริยาเคมี เนื้อหนิ ของหินแปรบางชนดิ ผลึก ของแร่เรยี งตัวขนานกันเปน็ แถบ บางชนิด แซะออกเป็นแผ่นได้ บางชนิดเป็นเนื้อผลึก ท่มี คี วามแขง็ มาก • หินในธรรมชาติทงั้ ๓ ประเภท มีการเปล่ียนแปลง จากประเภทหนึ่งไปเป็นอีกประเภทหนง่ึ หรอื ประเภทเดมิ ได้ โดยมแี บบรปู การเปล่ียนแปลง คงท่ีและต่อเนอื่ งเป็นวฏั จกั ร 90 ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๒. บรรยายและยกตัวอยา่ งการใชป้ ระโยชน์ของหนิ • หินและแรแ่ ต่ละชนดิ มีลักษณะและสมบัต ิ และแรใ่ นชวี ติ ประจำวันจากข้อมูลทีร่ วบรวมได ้ แตกต่างกนั มนุษยใ์ ชป้ ระโยชน์จากแรใ่ นชีวิต ประจำวันในลักษณะตา่ ง ๆ เช่น นำแร่มาทำ เคร่อื งสำอาง ยาสีฟนั เครื่องประดบั อปุ กรณ์ ทางการแพทย์ และนำหินมาใช้ในงานกอ่ สร้าง ตา่ ง ๆ เป็นต้น ๓. สรา้ งแบบจำลองทอี่ ธบิ ายการเกดิ ซากดกึ ดำบรรพ์ • ซากดึกดำบรรพ์เกิดจากการทับถมหรือการ และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของ ประทับรอยของสง่ิ มีชวี ิตในอดตี จนเกดิ เป็น ซากดกึ ดำบรรพ ์ โครงสรา้ งของซากหรอื ร่องรอยของสง่ิ มีชีวติ ทปี่ รากฏอยใู่ นหนิ ในประเทศไทยพบ ซากดึกดำบรรพ์ทห่ี ลากหลาย เช่น พืช ปะการงั หอย ปลา เตา่ ไดโนเสาร์ และรอยตีนสตั ว ์ • ซากดกึ ดำบรรพ์สามารถใช้เป็นหลกั ฐานหนึ่ง ท่ชี ่วยอธิบายสภาพแวดล้อมของพืน้ ทใี่ นอดีต ขณะเกดิ สง่ิ มชี วี ติ นน้ั เชน่ หากพบซากดกึ ดำบรรพ์ ของหอยนำ้ จืด สภาพแวดล้อมบรเิ วณนนั้ อาจเคย เป็นแหล่งนำ้ จืดมากอ่ น และหากพบ ซากดกึ ดำบรรพข์ องพชื สภาพแวดลอ้ มบรเิ วณนนั้ อาจเคยเปน็ ปา่ มากอ่ น นอกจากนซ้ี ากดกึ ดำบรรพ์ ยงั สามารถใช้ระบุอายุของหิน และเป็นขอ้ มลู ในการศกึ ษาวิวฒั นาการของสง่ิ มีชวี ติ ๔. เปรยี บเทยี บการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม • ลมบก ลมทะเล และมรสมุ เกดิ จากพน้ื ดิน รวมทงั้ อธิบายผลท่มี ตี อ่ ส่งิ มีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม และพืน้ นำ้ ร้อนและเย็นไม่เทา่ กนั ทำใหอ้ ุณหภมู ิ จากแบบจำลอง อากาศเหนือพืน้ ดนิ และพืน้ นำ้ แตกตา่ งกนั จึงเกดิ การเคลอื่ นทขี่ องอากาศจากบรเิ วณทมี่ อี ณุ หภมู ติ ำ่ ไปยงั บรเิ วณท่มี อี ณุ หภมู สิ งู • ลมบกและลมทะเลเป็นลมประจำถ่นิ ที่พบบรเิ วณ ชายฝัง่ โดยลมบกเกดิ ในเวลากลางคืน ทำให้ม ี ลมพัดจากชายฝั่งไปสทู่ ะเล สว่ นลมทะเลเกิดใน เวลากลางวนั ทำให้มีลมพดั จากทะเลเขา้ สู่ชายฝ่ัง ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 91 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๕. อธบิ ายผลของมรสมุ ตอ่ การเกดิ ฤดขู องประเทศไทย • มรสมุ เปน็ ลมประจำฤดูเกิดบริเวณเขตร้อน จากข้อมูลที่รวบรวมได ้ ของโลก ซึง่ เป็นบริเวณกวา้ งระดับภมู ภิ าค ประเทศไทยไดร้ บั ผลจากมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ในชว่ งประมาณกลางเดอื นตลุ าคมจนถึงเดอื น กุมภาพนั ธ์ทำใหเ้ กดิ ฤดูหนาว และได้รบั ผลจาก มรสุมตะวนั ตกเฉียงใตใ้ นช่วงประมาณกลางเดอื น พฤษภาคมจนถงึ กลางเดือนตลุ าคมทำใหเ้ กิด ฤดูฝน สว่ นชว่ งประมาณกลางเดือนกมุ ภาพันธ์ จนถงึ กลางเดอื นพฤษภาคมเปน็ ช่วงเปลย่ี นมรสมุ และประเทศไทยอยใู่ กลเ้ ส้นศูนย์สตู ร แสงอาทิตย์ เกอื บตง้ั ตรงและตั้งตรงประเทศไทยในเวลา เทย่ี งวัน ทำให้ไดร้ บั ความรอ้ นจากดวงอาทิตย์ อยา่ งเตม็ ท่ี อากาศจงึ รอ้ นอบอา้ วทำใหเ้ กดิ ฤดรู อ้ น ๖. บรรยายลักษณะและผลกระทบของนำ้ ทว่ ม • นำ้ ทว่ ม การกัดเซาะชายฝ่ัง ดินถลม่ แผน่ ดินไหว การกดั เซาะชายฝ่ัง ดินถลม่ แผ่นดินไหว สนึ ามิ และสนึ ามิ มผี ลกระทบตอ่ ชวี ติ และสง่ิ แวดล้อม ๗. ตระหนักถึงผลกระทบของภยั ธรรมชาตแิ ละ แตกตา่ งกนั ธรณพี บิ ตั ภิ ยั โดยนำเสนอแนวทางในการ • มนุษยค์ วรเรียนรู้วธิ ปี ฏิบตั ติ นให้ปลอดภยั เช่น เฝา้ ระวงั และปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั จากภยั ธรรมชาติ ตดิ ตามขา่ วสารอยา่ งสม่ำเสมอ เตรยี มถงุ ยังชีพ และธรณีพิบัติภยั ที่อาจเกิดในทอ้ งถน่ิ ใหพ้ ร้อมใชต้ ลอดเวลา และปฏบิ ัตติ ามคำสงั่ ของ ผปู้ กครองและเจา้ หน้าทีอ่ ย่างเครง่ ครัดเม่อื เกดิ ภยั ธรรมชาติและธรณีพิบัตภิ ยั ๘. สร้างแบบจำลองทีอ่ ธิบายการเกิดปรากฏการณ์ • ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกเกดิ จากแกส๊ เรอื นกระจก เรอื นกระจก และผลของปรากฏการณเ์ รอื นกระจก ในชน้ั บรรยากาศของโลกกักเกบ็ ความรอ้ นแลว้ ต่อสิง่ มชี ีวิต คายความรอ้ นบางสว่ นกลบั ส่ผู ิวโลก ทำใหอ้ ากาศ ๙. ตระหนักถึงผลกระทบของปรากฏการณเ์ รอื น บนโลกมีอณุ หภมู ิเหมาะสมต่อการดำรงชีวิต กระจก โดยนำเสนอแนวทางการปฏิบตั ติ นเพอื่ • หากปรากฏการณ์เรอื นกระจกรนุ แรงมากข้นึ ลดกจิ กรรมทก่ี อ่ ให้เกิดแก๊สเรือนกระจก จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก มนษุ ย์จงึ ควรร่วมกนั ลดกิจกรรมที่กอ่ ใหเ้ กิด แก๊สเรือนกระจก ม.๑ ๑. สรา้ งแบบจำลองทอี่ ธบิ ายการแบง่ ชน้ั บรรยากาศ • โลกมบี รรยากาศห่อหุ้ม นกั วิทยาศาสตรใ์ ชส้ มบตั ิ และเปรียบเทยี บประโยชน์ของบรรยากาศ และองคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบง่ บรรยากาศ แตล่ ะชัน้ ของโลกออกเป็นชัน้ ซ่ึงแบ่งได้หลายรูปแบบ ตามเกณฑท์ แี่ ตกตา่ งกนั โดยทว่ั ไปนกั วทิ ยาศาสตร์ ใช้เกณฑ์การเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู ติ ามความสูง แบง่ บรรยากาศไดเ้ ปน็ ๕ ชน้ั ไดแ้ ก่ ชน้ั โทรโพสเฟยี ร์ ชน้ั สตราโตสเฟยี ร์ ชน้ั มโี ซสเฟยี ร์ ชนั้ เทอรโ์ มสเฟยี ร์ และชัน้ เอกโซสเฟียร์ 92 ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง • บรรยากาศแตล่ ะชน้ั มปี ระโยชน์ต่อสิง่ มีชีวติ แตกต่างกนั โดยชน้ั โทรโพสเฟียร์มปี รากฏการณ์ ลมฟา้ อากาศทส่ี ำคญั ตอ่ การดำรงชวี ติ ของสงิ่ มชี วี ติ ช้ันสตราโตสเฟยี รช์ ่วยดดู กลืนรังสีอลั ตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ไมใ่ หม้ ายังโลกมากเกินไป ชัน้ มโี ซสเฟยี ร์ชว่ ยชะลอวัตถุนอกโลกท่ผี า่ นเข้ามา ให้เกิดการเผาไหมก้ ลายเปน็ วัตถขุ นาดเลก็ ลดโอกาสทจี่ ะทำความเสยี หายแกส่ งิ่ มชี วี ติ บนโลก ชั้นเทอรโ์ มสเฟยี รส์ ามารถสะทอ้ นคล่ืนวทิ ยุ และ ช้นั เอกโซสเฟยี รเ์ หมาะสำหรบั การโคจรของ ดาวเทียมรอบโลกในระดับตำ่ ๒. อธบิ ายปจั จัยท่มี ผี ลตอ่ การเปล่ยี นแปลง • ลมฟา้ อากาศ เปน็ สภาวะของอากาศในเวลาหนง่ึ องค์ประกอบของลมฟา้ อากาศ จากขอ้ มูล ของพนื้ ทห่ี น่งึ ทม่ี ีการเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา ทร่ี วบรวมได้ ขน้ึ อยกู่ ับองค์ประกอบลมฟา้ อากาศ ไดแ้ ก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชื้น เมฆ และหยาดน้ำฟา้ โดยหยาดนำ้ ฟ้าท่ีพบบอ่ ย ในประเทศไทยได้แก่ ฝน องคป์ ระกอบ ลมฟา้ อากาศเปลย่ี นแปลงตลอดเวลาขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั ต่าง ๆ เช่น ปรมิ าณรงั สีจากดวงอาทติ ยแ์ ละ ลกั ษณะพ้นื ผวิ โลกสง่ ผลต่ออณุ หภูมอิ ากาศ อุณหภมู ิอากาศและปริมาณไอน้ำส่งผลตอ่ ความช้นื ความกดอากาศสง่ ผลตอ่ ลม ความช้นื และลมสง่ ผลตอ่ เมฆ ๓. เปรียบเทยี บกระบวนการเกิดพายุ ฝนฟา้ คะนอง • พายุฝนฟา้ คะนอง เกดิ จากการท่อี ากาศทม่ี ี และพายหุ มุนเขตร้อน และผลที่มีตอ่ สิ่งมีชวี ติ อุณหภูมแิ ละความช้ืนสงู เคล่ือนท่ีขน้ึ สรู่ ะดับ และสิง่ แวดล้อม รวมทงั้ นำเสนอแนวทางการ ความสงู ที่มีอุณหภมู ติ ำ่ ลง จนกระทงั่ ไอน้ำ ปฏบิ ัติตนใหเ้ หมาะสมและปลอดภยั ในอากาศเกดิ การควบแน่นเป็นละอองนำ้ และ เกิดตอ่ เนอ่ื งเป็นเมฆขนาดใหญ่ พายุฝนฟ้าคะนอง ทำให้เกดิ ฝนตกหนัก ลมกรรโชกแรง ฟา้ แลบ ฟา้ ผา่ ซงึ่ อาจก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อชวี ติ และทรัพยส์ นิ ตัวชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 93 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277