วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ี่ 6 ฉบบั ที่ 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 ได้รับมาจากผู้รับผิดชอบโครงการหลักคนที่ 1 ผตู้ อบแบบสอบถาม โดยเฉลย่ี ในทุกกิจกรรม 3.67 และทาการตัดรายช่ือของเด็กใน ต.พระบาทวัง จาก 5 คะแนน ตามกรอบ CIPP Model สะท้อน ตวงออก ดังน้ันจึงต้องแบ่งการวิเคราะห์การสอน ให้เห็นว่า กลุ่มผู้ปกครอง เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข การแปรงฟันโดยการปฏิบัติจริง ออกเป็น 2 ทันตบุคลากรและผู้เก่ียวข้องกว่าคร่ึงที่รับรู้และ ช่วงเวลา เนื่องจากจานวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด เข้าใจโครงการตาบลฟันดี เห็นถึงข้อดี ความ (N) ไมเ่ ท่ากัน พยายามในการจัดการปัญหาฟันผุในเด็กอย่างจริง และต่อเน่ืองของหน่วยงานเกี่ยวข้อง แต่ในด้าน 4.2 Outcome: ผลท่ีตามมา พฤติกรรม การขับเคล่ือนยังพบข้อจากัด ปัญหาและอุปสรรค การแปรงฟัน คนท่ีได้รับการสอนการแปรงฟันโดย ต่าง ๆ พอสมควร จงึ ขอแสดงรายละเอียด ดงั นี้ การปฏิบัติจริง จานวน 5 คน มีผู้ที่สามารถทาได้ จริง 4 คน คนท่ีทาไมไ่ ดใ้ ห้เหตผุ ลวา่ เดก็ ไม่ยอมให้ 1. ด้านบริบทในพ้ืนท่ี ในรายละเอียด ความร่วมมือในการแปรงฟัน พฤติกรรมการแปรง 1) วัตถุประสงค์ของโครงการมีความชัดเจน ฟัน วันละ 2 ครั้ง 20 คน วันละ 1 ครั้ง 17 คน กล่าวคือ ต้องการลดโรคฟันผุในเด็กแรกเกิดถึง 5 ไมไ่ ด้แปรงฟนั ให้เด็ก 12 คน จากท้งั หมด 49 คน ปี ในขณะท่ีผู้เกี่ยวข้องมีข้อห่วงกังวลถึงในการ บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างแท้จริง ที่มาจากในปี 4.3 Impact: ผลกระทบ ผลการสารวจ 2559 พบปัญหาในด้านการระบุกลุ่มเป้าหมายซึ่ง สภาวะทันตสขุ ภาพและพฤติกรรมเดก็ ท่ีเกิดตั้งแต่ เป็นผลจากข้อมูลการเกิดในตาบลแม่พริก ส่วน 1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559 โครงการ ใหญ่ไมไ่ ดค้ ลอดท่ี รพ.แม่พริกหรือในเขตตาบล แต่ ตาบลฟนั ดี เดก็ 0-3 ปี ไม่มีฟันผุ ในเดือนตุลาคมปี คลอดที่รพ.เถิน และย้ายเข้ามาอาศัยอยู่ในตาบล 2561พบว่ามีเด็กที่มีฟันผุ จานวน 7 คน จาก แม่พริกส่งผลต่อการกาหนดกลุ่มเป่าหมายในการ ท้ังหมด 48 คน หรือเด็กที่ปราศจากฟันผุ 41 คน ดาเนินงาน นอกจากนี้ ความเข้าใจและการนาไป คดิ เปน็ ร้อยละ 85.42 ปฏิบัติได้จริงของผู้เก่ียวข้องเกิดขึ้นจากแผนการ ดาเนินงานไม่ชัดเจน ประกอบกับกิจกรรมต่าง ๆ สรปุ อภปิ รายผลการวิจัย ในโครงการมีความคล้ายคลึงและซ้าซ้อนกับงาน ประจาและโครงการอ่ืนๆท่ีเคยดาเนินการมาก่อน จากการประเมินผลโครงการตาบลฟันดีใน ทาให้เกิดความสับสนในการมอบหมายงานและ ตาบลแม่พริก อาเภอแม่พริก จังหวัดลาปาง โดย การปฏิบัติงานจริง อีกทั้งบางกิจกรรมท่ีมี ใช้ โดยภาพรวมท้ังหมด มีข้อสังเกตว่า ผู้ปกครอง ประโยชน์ในโครงการเก่าไม่ได้ดาเนินการต่อเนื่อง เจ้าหน้าท่ีสาธ ารณสุข ทันตบุคลากรและ 2) ตัวชี้วัดของโครงการคาดหวังเด็กที่เข้าร่วม ผู้เกี่ยวข้อง โดยเฉลี่ยร้อยละ 69.23 มีการรับรู้และ โครงการร้อยละ 100 ปราศจากโรคฟันผุ แต่ เข้าใจรายละเอียดของโครงการตาบลฟันดีเป็น ในทางปฏิบัติถือตัวชี้วัดท่ีสูงเกินไปซ่ึงสอดคล้อง อย่างดี ทั้งด้านบริบท ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ กับข้อห่วงกังวลของผู้เกี่ยวข้องท่ีกล่าวมาแล้ว และ ผลติ ผล นอกจากนัน้ ร้อยละ 30.77 ยังเขา้ ใจ ข้างต้น เพราะสถานการณ์ของประเทศ ร้อยละ ไมช่ ดั เจนเท่าท่ีควร อาจเนือ่ งจากภาระงานจานวน 48.33 จังหวัดลาปาง ร้อยละ 43.694 และอาเภอ มาก การให้ความสาคัญและปฏิบัติตามความ แม่พริก ร้อยละ 38.005 อีกท้ังโรคฟันผุเป็นโรคที่ เ ร่ ง ด่ ว น ข อ ง ส ถ า น ก า ร ณ์ แ ล ะ น โ ย บ า ย ข อ ง เกิดจากปัจจัยหลากหลาย (Multifactorial หน่วยงานต้นสังกดั ทั้งน้ี จากข้อมูลเชงิ ปริมาณขอ disease)7,8 ไม่สามารถควบคุมได้ทาให้การ Academic Journal of Community Public Health 93 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน – มถิ ุนายน 2563 ปราศจากโรคฟันผุท้ังหมดของกลุ่มเป้าหมายน้ัน และ streptococcus sobrinus ซ่ึงเป็นเช้ือท่ีเป็น เป็นไปได้ยากในทางปฏิบัติ และการกาหนด สาเหตุหลักของฟันผุ14 อีกทั้งยังขาดตัวชี้วัดและ ตวั ชว้ี ดั สูงเกินไปทาให้บุคลากรไมม่ แี รงจูงใจในการ การติดตามอย่างเป็นระบบ จึงส่งผลต่อด้านเวลา ดาเนินงาน9 3) โอกาสในการได้รับการสนับสนุน ในการดาเนินงาน ถึงภาพสะท้อนว่าเพียงพอ แต่ จากองค์กรต่าง ๆ พบปัญหาความไม่สอดคล้องกัน ต้องดาเนินการภายใต้ความทุมเทของบุคคลากรท่ี ของช่วงเวลาในการทาแผนของทันตกรรม (ผ่าน ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ง า น น อ ก เ ว ล า เ พื่ อ ใ ห้ บ ร ร ลุ ต า ม ทางกระทรวง) กับช่วงพิจารณางบของท้องถิ่น เป้าหมาย ในภาพรวมของปัจจัยนาเข้าล้วน และการตระหนักถึงความสาคัญของสุขภาพช่อง สะท้อนให้เห็นถึงความไม่เพียงพอและความไม่ ปากเมื่อเทยี บกับสุขภาพทั่วไปมนี ้อย10,11 4) การมี สอดคล้องเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และ ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ชุ ม ช น อ า จ ขึ้ น อ ยู่ กั บ กิ จ ก ร ร ม ใ น บางส่วนขาดคุณภาพ โครงการว่า ภาพรวมผู้ปกครองมีความรู้แต่ขาด ความตระหนักในเรื่องสุขภาพช่องปากท้ังของ 3. ด้านกระบวนการ ในภาพรวมในทุก ตนเองและบุตร แม้จะรับรู้ผลเสียท่ีอาจเกิดขึ้นแต่ กิจกรรม ได้แก่ การปฏิบัติหน้าท่ีในคลินิกฝาก ยังเลือกทจี่ ะไม่ใหค้ วามสาคัญเท่าที่ควร12,13 แต่ใน ครรภ์ (ANC) การเย่ียมบ้านหลังคลอด การตรวจ ส่วนของแกนนาในชุมชนเมื่อมีกิจกรรม เช่น การ และประเมินความเสี่ยงด้านทันตกรรม (Caries อบรมการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ (Hands- risk assessment) เ ด็ ก ใ น ค ลิ นิ ก เ ด็ ก ดี ก า ร on) แก่ อสม. จะได้รับความรว่ มมืออยา่ งดี มอบหมายงาน การสอนแปรงฟันแบบลงมอื ปฏบิ ัติ (Hands-on) และ การเคลือบฟันด้วยน้ายา 2. ด้านปัจจัยนาเข้า การสนับสนุนภายใต้ ฟลูออไรด์วานิช (Fluoride vanish) แต่อยู่ภายใต้ โครงการต้ังอยู่บนฐานของความไม่เพียงพอ ใน ข้อจากัดความไม่เพียงพอ ในด้านวัสดุอุปกรณ์ ด้าน งบประมาณของโครงการ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ด้านบุคลากร ด้านการบริหารจัดการและด้าน หากสามารถการกระจายงบประมาณและวัสดุ ผู้ปกครอง ในขณะเดียวกันก็มีข้อเสนอแนวทางท่ี อุปกรณ์ลงสู่กิจกรรมโดยตรงมากยิ่งขึ้น (Vertical สาคัญไว้ เช่น การเย่ียมบ้านคร้ังเดียวอาจไม่ program) จะส่งผลดีต่อการดาเนินงาน ในส่วน เพียงพอโดยคู่มือแนวทางการดาเนินงานส่งเสริม ด้านบุคลากรพบสถานการณ์ไม่ต่างกัน กล่าวคือมี สุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย15 และการเย่ียมบ้าน จานวนไม่เพียงพอเม่ือเทียบกับงานท่ีต้องปฏิบัติ เด็กในช่วงอายุระหว่าง 1ปีครึ่งถึง 3 ปี ซึ่งมีโอกาส จริง แต่ไม่สามารถขอเพิ่มจานวนบุคลากรได้ ฟันผุมากและไม่มีระบบตามงานท่ีตรวจสอบได้ เน่ืองจากการพิจารณาเพิ่มตาแหน่งขึ้นกับการ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กอยากให้มีการเยี่ยมบ้าน คานวนหาค่าภาระงานแบบเต็มเวลา (Full time ทุกๆ 2-3 เดือน ตั้งแต่ฟันเร่ิมข้ึน ควรเสริม equivalent) ในขณะที่ความเป็นจริงบุคลากรอา ศักยภาพให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขในการไป จะไม่ได้ทางานตรงกับหน้าที่ของตาแหน่งหน้าท่ี เยี่ยมบ้านรวมถึงผู้ปกครองให้สามารถสารวจ ของตนเพียงอย่างเดียว รวมถึงแผนดาเนินงานพบ พฤติกรรมการกิน การแปรงฟัน และทาการตรวจ ความไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน เช่น สภาพช่องปากอยา่ งง่ายในเด็กอายตุ ่ากว่า 3 ปี ท่ีมี แผนการดาเนินการยังขาดกิจกรรมในเด็กช่วงอายุ ฟันขึ้นแล้ว ทุก 3 เดือนโดยเฉพาะกลุ่มเด็กท่ีมี 1 ปีครึ้งถึง 3 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เด็กเกิดฟันผุได้ง่าย ความเสี่ยงฟันผสุ ูง1ุ 6 แ ล ะ ส า ม า ร ถ ไ ด้ รั บ เ ชื้ อ ก ลุ่ ม Mutans streptococci เ ช่ น streptococcus mutans 4. ด้านผลิตผล พิจารณาใน 3 ดา้ น กลา่ วคอื ผลผลิต (Output) เม่ือพิจารณาตามรายกิจกรรม 94 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 สามารถสรปุ สาระสาคญั ได้ ดังน้ี ดา้ นการตรวจฟัน สัมภาษณ์ผู้ปกครองในกลุ่มดังกล่าวผู้ปกครองให้ หญิงต้ังครรภ์คลินิกฝากครรภ์ร้อยละ 100 อัน ความเห็นในเชิงบวกกับการฝกึ ทักษะการแปรงฟัน เ นื่ อ ง ม า จ า ก ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ง า น แ ล ะ ก า ร แบบลงมือปฏิบัติ โดยให้ความเห็นว่าเป็นกิจกรรม ประสานงานที่ดีระหว่างฝ่ายทันตกรรมและฝ่าย ท่ีดีเนื่องจากทาให้ผู้ปกครองกล้าที่จะลงมือแปรง เวชระเบียนโรงพยาบาลแม่พริก โดยฝ่ายทันตก ฟันให้กับเด็ก และเป็นการแสดงให้ทราบถึง รรมได้มีการตรวจสอบยอดหญิงตั้งครรภ์ที่มาเข้า ความสาคัญในการแปรงฟันให้กับเด็กอีกด้วย แต่ รับการรักษาท่ีคลินิกฝากครรภ์ทุกเดือน เทียบกับ ในส่วนผลของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปลง ใบตรวจฟันที่มีอยู่ในฝ่ายทันตกรรม แม้จะมี ฟันของเด็กวันละ 2 คร้ัง วันละ 1 ครั้ง และ ไม่ได้ บุคลากรทางทันตกรรมไม่เพียงพอต่ อการ แปรงฟันเลย ในภาพรวมพบร้อยละ 40.81 ร้อย ผู้รับบริการฝากครรภ์ในบางวัน ยังสามารถนัด ละ 34.69 ร้อยละ 24.69 ตามลาดับ ซึ่งภาพรวมมี กลับมาทาการรักษาในภายหลังได้ จึงทาให้ได้ผล พั ฒ น า ก า ร ท่ี ดี แ ต่ ยั ง จ า เ ป็ น ต้ อ ง พั ฒ น า อ ย่ า ง การตรวจฟันเป็นไปตามตัวช้ีวัด ในขณะที่ ด้าน ต่อเนื่อง ในส่วนผลกระทบ (Impact) โครงการฯ เย่ียมบ้านหลังคลอดพบ ร้อยละ 83.72 ด้านการ ให้ความสาคัญกับเป้าหมายสูงสุดของโครงการคือ สอนเช็ดเหงือกพบ ร้อยละ 57.50 ด้านความเสี่ยง ภาวะปราศจากฟันผุ (Caries free) ร้อยละ 100 การเกิดฟันผุ ในช่วงอายุ 9 เดือน และ 18 เดือน ภายใต้โครงการนี้ เด็กท่ีปราศจากฟันผุ ร้อยละ พบร้อยละ 65.30 และ 67.30 ด้านประเมินการ 85.42 ในภาพรวมโครงการถือว่ามีแนวโน้มที่ดี ฝึกทักษะการแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ ในอายุ 9 พบข้อจากัด อุปสรรคหลายประการจึงทาให้ผล เดือน และ 18 เดือน พบร้อยละ 2.86 และ 9.09 เด็กปราศจากฟนั ผุยังไม่ถงึ ตวั ชีว้ ดั ทก่ี าหนดไว้ ตามลาดับ ด้านการทาฟลูออไรด์วานิช ในเด็กอายุ 9 เดือน และ 18 เดือน พบร้อยละ 65.31 และ สรุปภาพรวมท้ังหมดนี้ เด็กในเขตตาบลแม่ 67.35 ตามลาดับ ด้านการประเมินการเย่ียมตาม พรกิ ทุกคนต้องภาวะปราศจากฟันผุ (Caries free) บ้าน ร้อยละ 42.86 ทั้งหมดผลการดาเนินงานได้ เป็นการวางทิศทางเป้าหมายในเชิงท้าทาย แต่ ไม่ถึงตัวชี้วัดที่ร้อยละ 90 ท่ีโครงการกาหนดไว้ ในทางปฏิบัติภายใต้โครงการน้ีอาจจาเป็นต้อง ท้ังหมดมีปัจจัยและเงือนไขที่เป็นข้อจากัดด้าน พิจารณาข้อจากัดหลายๆด้านท่ีกล่าวมาข้างต้น ความไม่เพียงพอ ความไม่เหมาะสม มาจากของ เพ่ือพัฒนาและต่อยอดโครงการต้นแบบตาบลฟัน บริบท ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ จึงหลีกเลี่ยง ดี ตาบลแม่พริก ให้สามารถบรรลุเป้าหมายที่ส่งไว้ ไม่ได้ท่ีผลของการดาเนินงานจึงไม่สามารถบรรลุ ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพต่อไปในอนาคตอันใกล้น้ี ตามตัวช้ีวัดได้ตามท่ีคาดหวังไว้ ท้ังหมดจึงผลต่อ ต่อเนื่องมาถึง ผลท่ีตามที่เกิดขึ้น (Outcome) ข้อเสนอแนะ โครงการฯ ได้ให้ความสาคัญไปที่พฤติกรรมการ แปรงฟัน มีข้อค้นพบว่า ผู้ปกครองเด็กที่ได้รับการ ขอ้ เสนอแนะต่อศูนย์อนามัยท่ี 1 เชยี งใหมแ่ ละ สอนการฝึกทักษะการแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และร้อยละ 80 ผู้ปกครองสามารถแปรงฟนั เด็กได้ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดลาปาง อย่างถูกต้องตามวิธีการ ซึ่งแสดงให้เห็นถึง ความสาคัญของกระบวนการสอนการฝึกทักษะ 1. ควรมีการประชาสัมพันธ์โครงการให้ผู้ท่ี การแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และจากการ เกี่ยวขอ้ งรบั ทราบให้ท่ัวถงึ 2. โครงการควรมีแผนงานที่ชัดเจนมากกว่า นี้ อาจพิจารณาวางแผนแบบมีส่วนร่วม15 เพ่ือให้ Academic Journal of Community Public Health 95 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 บคุ คลที่ปฏิบัติงานได้อย่างสอดคล้องกับความเป็น ข้อเสนแนะในการศกึ ษาครังตอ่ ไป จริง ควรจะทาการศึกษาในทกุ กลมุ่ ของเด็กท่ี 3. ควรใช้ตัวชี้วัดที่เหมาะสม เพราะตัวช้ีวัด อยู่ในโครงการต้นแบบตาบลฟนั ดี และศึกษา บอกถึงการดาเนินงาน และผลการปฏิบัติงานว่า ปัจจยั อืน่ ๆเพิ่มเติม เช่นการแปรงฟัน การทาน เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ท่ตี ั้งไวม้ ากนอ้ ยเพียงไร อาหาร ทานนมจากขวด14 4. ควรพิจารณาการใช้เกณฑ์การทางาน กติ ตกิ รรมประกาศ ตามภาระหน้าที่ตนเองแบบเต็มเวลา (Full Time Equivalent)17 ในการคานวณความเพียงพอของ ผู้วิจัยขอขอบคุณ ทพญ.ลลนา ถาคาฟู บุคลากร เนื่องจากบุคลากรมีการทางานท่ีไม่ตรง หัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุข จังหวัดลาปางท่ี ตามตาแหน่งของตนเอง ทาให้ปริมาณงานไม่ ให้คาปรึกษาและคณะเจ้าหน้าท่ีกลุ่มงานทันต สมั พันธ์กบั อัตราของบคุ ลากร สาธารณสุข รวมถึงกลุ่มผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง ทุกทา่ น ท่ใี ห้ความร่วมมือและอานวยความสะดวก 5. ควรช้ีแจงเกณฑ์การประเมินความเสย่ี ง ในการศึกษาคร้ังนี้ จนเสรจ็ สิ้นเป็นอยา่ งดี หรือมแี บบฟอร์มใหแ้ กผ่ ู้ปฏบิ ตั งิ านอยา่ งชัดเจน เพ่อื ใหผ้ ู้ปฏบิ ตั งิ านสามารถปฏิบัติตามได้อยา่ ง เอกสารอ้างองิ ถูกต้อง ขอ้ เสนอแนะตอ่ ผ้รู บั ผิดชอบโครงการในระดับ 1. Seow WK, Walsh LJ, Bird P, Tudehope พนื ท่ี DL, Purdie DM. Wan AK1. Association of Streptococcus mutans infection and 1. ควรใช้การนดั รวมตัวของผู้ปกครองมา oral developmental nodules in pre- สอนแปรงฟนั แบบลงมือปฏบิ ัติจรงิ หรือ อบรม dentate infants. J Dent Res, 2001; อสม.เพ่ือให้มีความสามารถในการแนะนาตามบ้าน 80(10): 1945-1948. 15 2. Seow WK, Purdie DM, Bird PS, Walsh LJ, Tudehope DI. Wan AK1. Oral 2. แผนการดาเนินการควรมีกิจกรรมและ colonization of Streptococcus mutans การตดิ ตามผลในเดก็ ชว่ งอายุ 18 เดอื น – 3 ปี ซึ่ง in six-month-old predentate infants. J เป็นชว่ งทีเ่ ดก็ เกิดฟันผุได้ง่าย14 Dent Res, 2001; 80(12): 2060-2065. 3. ควรมีการตดิ ตามและมีการตรวจสอบ 3. สานกั ทันตสาธารณสขุ กรมอนามัย. รายงาน อยา่ งเป็นระบบ และมี process evaluation เพอ่ื ผลการสารวจ สภาวะสขุ ภาพช่องปาก ตรวจสอบวา่ กระบวนการเป็นไปตามแผนทีว่ างไว้ ระดับประเทศ ครั้งท่ี 7 ประเทศไทย พ.ศ. และคน้ หาข้อบกพร่องและจดุ อ่อนของโครงการ 2555. : สานกั ทันตสาธารณสุข กรมอนามัย เพ่อื นามาปรับปรุงต่อไป กระทรวงสาธารณสขุ ; 2555. 96 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวิชาการสาธารณสุขชมุ ชน ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 4. สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั ลาปาง. รายงาน Endodontics. Oral disease and systemic ผลการปฏบิ ตั งิ านประจาปี ปีงบประมาณ health; What is connection. The dental 2559. professional community by the American association of Endodontic; 5. สานกั งานสาธารณสุขอาเภอแม่พริก. รายงาน 2000. ผลการปฏิบัตงิ านประจาปีงบประมาณ 2559. 12. A Castilho. Influence of family สานกั งานสาธารณสุขอาเภอแมพ่ รกิ ; 2559. environment on children's oral health: a systematic review. Jornal de 6. ส. จนั ทรร์ ัก. แบบจาลอง CIPP Model. Pediatria, 2013; 89(2): 116-123. Gotoknow.org. [ออนไลน]์ 13. Chestnutt Murdoch. Parents and https://www.gotoknow.org/posts/45374 carers' choice of drinks for infants and 8, 2010. [สืบค้นเม่ือ 26 Feburary 2017.] toddlers, in areas of social and https://www.gotoknow.org/posts/45374 economic disadvantage. Community 8. Dent Health, 2003; 20(3): 139-145. 14. Hamid Reza Poureslami. Early 7. George Edward White. Dental caries: A Childhood Caries (ECC) An Infectious multifactorial disease.Charles C transmissible oral disease. Indian Thomas Publisher, 1977; 71(1): 105– Journal of Pediatrics, 2008; 76: 191-193. 106. 15. เขมณฏั ฐ์ เช้อื ชัยทศั น์, สธุ า เจยี รมณีโชติชัย, จันทนา อึง้ ชูศักดิ์ สพุ รรณี ศรีวิริยกลุ . คมู่ ือ 8. P Caufield. Cares in the Primary แนวทางการดาเนนิ งานสง่ เสริมสุขภาพชอ่ ง Dentition: A Spectrum Disease of ปากเด็กปฐมวยั . : สานักทันตสาธารณสขุ กรม Multifactorial Etiology. New York: New อนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ; 2556. York University; 2010 16. National Maternal and Child Oral Health Policy Center .Children’s Oral 9. Anon. Health in the Health Home. https://dbqao.donboscobkk.ac.th/. [Trendnotes Issue No. 4] National https://dbqao.donboscobkk.ac.th/. Maternal and Child Oral Health Policy [ออนไลน์] 2017. [สืบคน้ เมื่อ 27 2 2017.] Center; 2011: 1-13. http://dbqao.donboscobkk.ac.th/uploa 17. Anukul. การกาหนดกรอบอัตรากาลงั สาย d/file_doc/file_doc_JLGY.pdf. วิชาชพี รอบ 2; 2558; หนา้ 3. 10. Hani H. Mawardi. Current understanding of the relationship between periodontal and systemic diseases.Saudi Medical Journal, 2015; 36(2): 150–158. 11. The dental professional community by the American association of Academic Journal of Community Public Health 97 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน – มถิ ุนายน 2563 Received: 4 Feb 2020, Revised: 24 Feb 2020 Accepted: 28 Mar 2020 นพิ นธ์ต้นฉบับ ผลการจัดกจิ กรรมตอ่ ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการจดั การขยะมลู ฝอยในชุมชน ของผู้ประกอบการค้าตลาดชอ่ งจอม อาเภอกาบเชิง จังหวดั สุรินทร์ สิทธชิ ยั สารพัฒน์1,* บทคดั ย่อ การศึกษาผลการจัดกิจกรรมต่อความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการจัดการขยะมลู ฝอยในชุมชน ของผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพ่ือศึกษา ผลของการจัดการด้านความรู้เจตคติและพฤตกิ รรมเกี่ยวกบั การจดั การขยะมลู ฝอยของผู้ประกอบการ ค้าและ (2) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ เจตคติและพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของ ผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ การศึกษาแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ การ เตรียม การดาเนินการ และการประเมินผลโดยใช้วงจรคุณภาพ คือ ข้ันวางแผน (Planning) ข้ัน ปฏิบัติการ (Action) ข้ันสังเกตการณ์ (Observation) และข้ันสะท้อนผลการปฏิบัติการ (Reflection)กลุ่มตัวอย่างคือผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอมจานวน 150 ครัวเรือน คัดเลือกกลุ่ม ตัวอย่างโดยการสุ่มแบบเจาะจงตามจานวนครัวเรือนในตลาดช่องจอม เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา และใช้ค่าสัมประสิทธิ์ของ Person (Person correlation coefficient) ในการทดสอบสมมติฐานการวิจัย กาหนดระดับ นัยสาคัญระดับ 0.05 ผลการศึกษา พบว่า โดยภาพรวมประชาชนมคี วามรู้เก่ียวกับการจัดการขยะมูล ฝอยอยรู่ ะดบั สูง สว่ นเจตคติเกีย่ วกับการจดั การขยะมูลฝอยของประชาชนพบว่าอยู่ในระดบั ดีมากและ โดยภาพรวมประชาชนมีพฤตกิ รรมเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอย อยู่ในระดับดีมาก จากการทดสอบ ความสัมพันธ์ พบว่า ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรม เก่ียวกับการจดั การขยะมูลฝอยอย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดบั 0.05 โดยมีความสัมพันธ์ระดับตา่ และ เจตคติเกยี่ วกับการจดั การขยะมลู ฝอยมคี วามสัมพนั ธ์เชิงบวกกับพฤตกิ รรมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูล ฝอยอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 โดยมีความสัมพันธ์ระดับปานกลาง ส่วนความรู้การ จัดการขยะมลู ฝอยไมม่ คี วามสัมพันธ์กบั เจตคติการจดั การขยะมลู ฝอย คาสาคญั เจตคติ การจัดการขยะมูลฝอย 1 นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ กลมุ่ งานอนามัยสง่ิ แวดลอ้ มและอาชีวอนามัย สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สรุ ินทร์ อาเภอเมอื ง จงั หวดั สรุ นิ ทร์ * Corresponding author: [email protected] 98 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ี่ 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มิถุนายน 2563 Original Article The Results of Action Research on Knowledge, Attitudes and Behavior on Waste Management in Chong Chom Market, Amphur Kap Choeng, Surin Province Sittichai Saraputn1,* Abstract The purpose of this study was to examine a level of knowledge, attitudes, and behavior on waste management among people living Chong Chom Market, Amphur Kap Choeng, Surin Province. The subjects participating in this study were trader from 150 shops; The study design was Action research. The study was divided into 3 phases: the preparation, operation, and evaluation, by using quality cycle in the Process. Those were Planning Stage (P), Acting Stage (A), Observe Stage (O) and Reflect Stage (R).The instrument used to collect the data was a questionnaire. The descriptive statistical test and Pearson Product Moment Correlation Coefficient were administered to test the hypotheses. The results of this study revealed that the level of knowledge on waste management among people was found at a high level. Also, the subjects expressed a very good level of attitudes and behavior on waste management. There was a positive and low relationship between knowledge and behavior on waste management at a significant level of 0.05. In addition, a positive and moderate level of relationship was found between attitudes and behavior on waste management at a significant level of .01. Finally, there was no relationship between knowledge and attitude toward waste management. Keyword: Attitudes, Waste Management 1 Public Health Technical Officer (Professional Level), Surin Provincial Public Health Office * Corresponding author: E-mail:[email protected] 99 Academic Journal of Community Public Health Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวชิ าการสาธารณสุขชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 บทนา ปญั หาการทิ้งขยะมูลฝอยจนกลายเป็นกรณีพิพาท ระหว่างครัวเรือนและชุมชนปริมาณขยะมูลฝอยที่ ข ย ะ มู ล ฝ อ ย เ ป็ น ปั ญ ห า ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ท่ี มี เ พิ่ ม ม า ก ข้ึ น จ ะ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สุ ข ภ า พ แ ล ะ ผลกระทบต่อคุณภ าพชีวิตของประช าช น ส่ิงแวดล้อมของชุมชนและลุ่มน้า ปัญหาขยะมูล โดยเฉพาะในชุมชนเมืองขนาดใหญ่ปัญหาขยะมูล ฝอยชุมชนจึงนับวันทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นหาก ฝอยมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากการ ประชาชนแกไ้ ขปญั หาการจัดการขยะมูลฝอยเพียง ขยายตัวของชุมชนและภาคธุรกิจต่าง ๆ รวมท้ัง ที่ปลายเหตุ การส่งเสรมิ และพัฒนาการทอ่ งเท่ียวในหลายพืน้ ที่ ปัญหาขยะมูลฝอยและปัญหาที่เก่ียวเนื่องกับการ จังหวดั สุรินทร์มปี ัญหาขยะมลู ฝอยในชุมชน จั ด ก า ร ข ย ะ มู ล ฝ อ ย มี แ น ว โ น้ ม จ ะ รุ น แ ร ง ข้ึ น อยู่ในระดับที่ 9 ของประเทศ นอกจากนั้นปัญหา เนื่องจากปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเพิ่มขึ้นทุกปีแต่การ ขยะมูลฝอยในพ้ืนท่ีชายแดนไทย-กัมพูชา บริเวณ จัดการขยะมูลฝอยของประเทศยังมีข้อจากัดใน ช่องจอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ เป็น การบริหารและการดาเนินงานอยู่หลายประการ ปัญหาที่ต้องใส่ใจเน่ืองจากการค้าการลงทุน โดยเฉพาะในการจัดต้ังศูนย์จัดการขยะมูลฝอย ชายแดน จากการรับข้อตกลงเขตการค้าอาเซียน รวมและมีระบบการจัดการท่ีครบวงจรเพ่ือการ ในปี 2560 งานอนามัยสิ่งแวดล้อม สานักงาน แก้ไขปัญหาในระยะยาวบางแห่ง1 นอกจากมี สาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ จึงได้ประเมินผล ปัญหาในเรื่องการบริหารแล้วยังได้รับการต่อต้าน กระทบต่อสุขภาพประชาชนจากการเปิดตลาด จากประชาชนปรากฏการณ์ขยะมูลฝอยล้นเมือง การคา้ ชายแดนไทย-กมั พูชา (ชอ่ งจอม) ตาบลด่าน เป็นผลจากการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจ อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ จากการสารวจ บริโภคนิยมสะท้อนปัญหาการเปลี่ยนแปลงของ ความคิดเหน็ ของประชาชนทอ่ี าศัยอยใู่ น บ้านดา่ น สังคมโลกทาให้ชุมชนปรับเปลี่ยนวิถีการดารงชีวิต ตาบลด่าน อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ในปี จากเดิมที่เคยบริโภคอาหารที่หาได้ตามธรรมชาติ 2560 ครัวเรือนละ1 คน จานวน 212 ครัวเรือน พืชผักผลไม้เร่ิมท่ีจะถูกแปรรูปเปล่ียนไปเป็น (ทั้งหมด 443 ครัวเรือน) คิดเป็นร้อยละ 47.86 อาหารที่บรรจุกระป๋อง จากพฤติกรรมท่ีเคยปรุง โดยมีผลการศึกษา พบว่า การเปิดตลาดการค้า อาหารเองก็เปล่ียนไปหาซ้ืออาหารสาเร็จรูปท่ีต้อง ชายแดนไทย - กัมพูชา (ช่องจอม) จะส่งผลให้ มีการบรรจุหีบห่อใส่ถุงพลาสติกและนามาบริโภค ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ถู ก ท า ล า ย แ ล ะ สู ญ เ สี ย อย่างสะดวกสบาย นอกจากนั้น ยังเปลี่ยนวิธีการ ทัศนียภาพของภูมิประเทศท่ีสวยงาม ร้อยละ ผลิตพืชอาหารจากการใช้ปุ๋ยธรรมชาติมาใช้ 55.20 มีปัญหานา้ เสียและส่ิงปฏิกูลที่ไหลลงแหล่ง สารเคมีเพื่อกาจัดศัตรูพืชทาให้มีเศษวัสดุหรือสิ่งที่ น้าธรรมชาติท่ีประชาชนชาวบ้านด่านใช้ และ เป็นพิษหลงเหลือปะปนอยู่กับสภาพแวดล้อมและ ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยที่ยังไม่ดีพอของ ธรรมชาติส่ิงเหล่านี้เป็นขยะมูลฝอยที่จะทาให้เกิด ตลาดการค้า และจากการสารวจสภาพของตลาด มลพิษต่อชุมชน อาทิ การนาขยะมูลฝอยไปท้ิงริม การค้าชายแดนไทย-กัมพูชา (ช่องจอม) ยังพบว่า แม่น้า ลาคลองหรือที่สาธารณะการเผาเศษใบไม้ การบริหารจัดการตลาดการค้าช่องจอม แบ่ง ทาให้เกิดปัญหาหมอกควันการขุดหลุมฝังกลบ ออกเปน็ 2 ส่วน คือ การบริหารตลาดโดยองค์การ อย่างไม่ถูกวิธีทาให้เกิดการปนเป้ือน ลงสู่แม่น้า บริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ (อบจ.) ให้เอกชนเช่า ส่งกลิ่นเหม็นเป็นท่ีเพาะพันธุ์ของเช้ือโรครวมถึง และการบริหารโดยองค์การบริหารส่วนตาบลด่าน อาเภอกาบเชิง สภาพตลาดมีความแออัด ไม่เป็น 100 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2563 ระเบียบ ก่อให้ปัญหาน้าเสีย ซึ่งอาจเกิดจากส่ิง ได้กาหนดเร่ืองขยะมูลฝอยเป็นวาระแห่งชาติ เพื่อ ปฏิกูล การซักล้าง เส้ือผ้ามือสอง เป็นต้น ปัญหา ส่งเสริมสนบั สนุนองค์การบรหิ ารส่วนตาบลด่านใน การจัดการขยะมูลฝอย พบว่า ตลาดในส่วนของ การกาหนดแผนยุทธศาสตร์ และพัฒนาท้องถ่ิน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ รับผิดชอบ มี ในเร่ืองการการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและ โรงคดั แยก – ขยะมลู ฝอย และเตาเผาขยะมูลฝอย สิ่งแวดล้อม โดยเน้นการส่งเสริมให้ประชาชนมี แต่ยังพบปัญหาในการจัดการขยะมูลฝอยท่ียังไม่ จิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และ สามารถดาเนินการได้อย่างถูกต้องตามหลัก ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ใ น ชุ ม ช น ร่ ว ม กั น วิชาการ ทาให้มีขยะมูลฝอยกองอยู่เป็นจานวน โดยเฉพาะการพฒั นาบทบาทแกนนาในชุมชนให้มี มาก และเมอ่ื มลี มก็จะปลิวกระจดั กระจายไปพืน้ ท่ี ความเข้มแข็ง ร่วมมือกันวางแผนแก้ไขปัญหาขยะ ต่าง ๆ ส่วนการจัดการขยะมูลฝอยขององค์การ มูลฝอยในชุมชนได้อย่างย่ังยืน ผู้ประกอบการค้า บริหารส่วนตาบลด่านรับผิดชอบ ใช้วิธีจ้างเหมา ตลาดช่องจอม จึงมีบทบาทความสาคัญในการ เอกชนนาไปกาจัดโดยการฝังกลบและท้ิงในที่รก จัดการเรื่องขยะมูลฝอยเนื่องจากเป็นผู้เก่ียวข้อง ร้าง ก่อให้เกิดปัญหามลพิษ มีการร้องเรียนจาก กับปัญหาขยะมูลฝอยโดยตรง การศึกษาคร้ังน้ีจึง ประชาชนใหห้ น่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งดาเนินการแก้ไข ต้องการพัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการค้าตลาด ปัญหาขยะมูลฝอย สรุปผลการศึกษาผลกระทบ ช่องจอม ในการจัดการเร่ืองขยะมูลฝอย และมี ต่อสุขภาพประชาชนจากการเปิดตลาดการค้า ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร พั ฒ น า ดั ง ก ล่ า ว ว่ า มี ข้างต้น พบว่าจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ประสิทธิผลในการดาเนินการพัฒนาเป็นอย่างไร ประชาชนท้ังทางร่างกาย จิตใจ สังคม และจิต และทาให้ตลาดการค้าช่องจอมสามารถจัดการ วิญญาณ แต่ความร้ายแรงของผลกระทบนั้นยังไม่ ปัญหาขยะมูลฝอยได้อย่างย่ังยนื ตอ่ ไป สามารถระบุได้ จึงเห็นควรท่ีจะมีการศึกษา และ เฝ้าระวังผลกระทบที่อาจจะเกิดข้ึน ในด้าน การ วัตถุประสงค์ในการวิจยั ประเมินผลกระทบดา้ นชีวภาพ และสารเคมี จาก 1. เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบระดับความรู้ น้าด่ืม น้าใช้ อากาศ และ ดิน การศึกษาการเกิด โรคติดต่อระหว่างชายแดนไทย – กัมพูชา เพื่อ เก่ียวกับการจดั การขยะมูลฝอยของผู้ประกอบการ ว า ง แ ผ น ใ น ก า ร เ ฝ้ า ร ะ วั ง โ ร ค ติ ด ต่ อ ต า ม แ น ว ค้าตลาดชอ่ งจอมอาเภอกาบเชงิ จังหวัดสุรนิ ทร์ ชายแดน2 2. เพือ่ ศกึ ษาเจตคติเกี่ยวกับการจดั การขยะ จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น จังหวัด มูลฝอยของผปู้ ระกอบการค้าตลาดช่องจอมอาเภอ สุรินทร์ จึงต้องการแก้ปัญหาขยะมูลฝอยในตลาด กาบเชงิ จังหวัดสรุ ินทร์ ช่องจอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ให้ถูกวิธี โ ด ย อ า ศั ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ทุ ก ภ า ค ส่ ว น ใ น ก า ร 3. เพื่อศึกษาพฤติกรรมเก่ียวกับการจัดการ ดาเนินการเช่นกระทรวงสาธารณสุข กระทรวง ขยะมูลฝอยของผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม อาเภอกาบเชงิ จงั หวัดสุรนิ ทร์ กระทรวงมหาดไทยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้ประกอบการค้าและประชาชนในพ้ืนที่ โดย 4. เพ่ือหาความสมั พันธร์ ะหวา่ งความรู้ เจต องค์การบริหารส่วนตาบลด่าน เป็นเจ้าภาพหลัก ค ติ แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ข อ ง เพ่ือแก้ไขปัญหาและตอบสนองนโยบายรัฐบาลที่ ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง จงั หวดั สรุ นิ ทร์ Academic Journal of Community Public Health 101 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวชิ าการสาธารณสุขชมุ ชน ปีท่ี 6 ฉบับที่ 2 เมษายน – มถิ ุนายน 2563 สมมติฐานการวิจัย 1.1 การประชุมจัดการวางแผน สารวจ 1. ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย พ้ืนที่ ดาเนินการเก็บข้อมูลท่ีจาเป็นและจัดต้ังทีม คณะทางาน ของผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบ เชิง จังหวัดสุรินทร์ มีความสัมพันธ์กับเจตคติ 1.2 ประชุมวางแผนร่วมกับ อปท.ด่าน เกี่ยวกับการจัดการขยะมลู ฝอย เจ้าหน้าท่สี านักงานสาธารณสขุ อาเภอกาบเชิงและ ตัวแทนกลุ่มผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอมและ 2. ความรู้เก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอย ไดแผนงานโครงการเพื่อแก้ปัญหาขยะมูลฝอยใน ของผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบ ตลาดชอ่ งจอม เชิง จังหวัดสุรินทร์ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม เกย่ี วกับการจัดการขยะมลู ฝอย 2. ข้ั น ที่ 2 ข้ั น ป ฏิ บั ติ ก า ร (Action) น า แผนงานโครงการท่ีได้มาดาเนินงานจัดการอบรม 3. เจตคติเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอย และนาไปสู่การปรับปรุงการจัดการขยะท่ีถูกวิธี ของผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบ และกาหนดกิจกรรมทาความสะอาดตลาดช่อง เชิง จังหวัดสุรินทร์ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม จอม เกย่ี วกับการจัดการขยะมูลฝอย 3. ขั้นท่ี 3 ขั้นสังเกตการณ์ (Observation) 4. ภายหลังการจัดกิจกรรมตามกระบวน ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ล า ด ช่ อ ง จ อ ม ร่ ว ม กั บ วางแผนแบบมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการค้า ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร อ อ ก ติ ด ต า ม ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์มี ดาเนินงานจัดการขยะมูลฝอยและสรุปผลการ ระดับความรู้เพ่ิมมากขึ้นและมีการจัดการขยะมูล ปฏิบัติงาน วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคจากการ ฝอยในชุมชนได้อย่างถูกต้อง ดาเนินงาน ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 4. ข้ันที่ 4 ข้ันการสะท้อนผล (Reflection) ประชากร คือ ผู้ประกอบการค้าตลาดช่อง นาปัญหาที่ได้จากขั้นตอนการสังเกตการณ์ มา ประชุมและวางแผนในการแก้ปัญหาในวงรอบ จอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ จานวน 792 ตอ่ ไป คนประชากรกลุ่มตัวอย่างใช้เกณฑ์การคัดเข้า จานวน 150 คน งานวิจัยคร้ังน้ีมุ่งศึกษาระดับ เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการวิจัย ความรู้เจตคติและพฤติกรรมการจัดการขยะมูล เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือ ฝอยผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบ เชิง จังหวัดสุรินทร์ ในการจัดการขยะมูลฝอย การวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้าง ได้แก่ ด้านการลดการเกิดขยะมูลฝอยด้านการนา ขนึ้ จากการ ศึกษาตาราเอกสารและงานวจิ ัยต่าง ๆ กลบั มาใชใ้ หมแ่ ละด้านการคดั แยกขยะมลู ฝอย ท่ีเกี่ยวข้อง โดยกาหนดให้ครอบคลุมและ สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ ตลอดจนกรอบแนวคิด รปู แบบการวจิ ัย ที่ใช้ในการศึกษา ซึ่งแบบสอบถามที่สร้างขึ้นมีทั้ง การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ลักษณะแบบปลายปิด(Close-ended question) และป ลายเ ปิด (Open-ended question) ซ่ึ ง (Action Research) ต า ม ก ร อ บ แ น ว คิ ด ข อ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง แ บ บ ส อ บ ถ า ม มี 5 ต อ น โ ด ย มี Stephen Kemmis และ McTaggart (1991 : 11- รายละเอยี ด ดงั นี้ 12) โดยมี 4 ขั้นตอน ดงั นี้ 1. ขั้นที่ 1 ข้ันวางแผน (Planning) โดย ดาเนินดงั ต่อไปน้ี 102 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวิชาการสาธารณสุขชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มถิ นุ ายน 2563 ต อ น ท่ี 1 ข้ อ มู ล ท่ั ว ไ ป ข อ ง ผู้ ต อ บ ตามวัตถุประสงค์ในการศึกษาจากนั้น นาไปให้ แบบสอบถาม เป็นการสอบถามเก่ียวกับปัจจัย อาจารย์ท่ีปรึกษาตรวจสอบความถูกต้อง และตรง ส่วนบุคคล ได้แก่ สถานะของผู้ตอบแบบสอบถาม ตามประเด็นท่ีศึกษาความสอดคล้องของข้อ เพศของหัวหน้าครัวเรือน อายุของหัวหน้า คาถามกับกรอบแนวคิดในการวิจัยแล้วนามา ครัวเรือน ระดับการศึกษาของหัวหน้าครัวเรือน ปรบั ปรงุ ตามคาแนะนา อาชีพของหัวหน้าครัวเรือน รายได้ในครัวเรือน/ เดือน จานวนสมาชิกในครัวเรือน ประเภท ท่ีอยู่ 3. การหาคา่ ความเทีย่ งตรง (Validity) ของ อาศัย ประกอบด้วยข้อคาถามซ่ึงเป็นคาถามปลาย เครื่องมอื โดยนาแบบสอบถามทป่ี รบั ปรงุ แก้ไขแล้ว ปิดและปลายเปิด จานวน 8 ข้อ ให้ผู้เช่ียวชาญ 3 ท่าน ทาการตรวจสอบความตรง ด้านเนื้อหา (Content validity) จากนั้นทาการ ตอนที่ 2 แบบวัดความรู้ในการจัดการขยะ ปรับปรงุ แก้ไขตามคาแนะนาของผเู้ ชี่ยวชาญ มูลฝอย ประกอบด้วย ข้อคาถาม จานวน 10 ข้อ โดยให้ผู้ตอบแบบสอบถามเลือกคาตอบท่ีถูกท่ีสุด 4. การหาความเช่ือมั่น (Reliability) โดย จาก 4 ตัวเลือก การให้คะแนนหากตอบถูกให้ 1 นาแบบสอบถามท่ีแก้ไขแล้วไปทดสอบ (Try out) คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน กับครวั เรอื นในตาบลแห่งหนึง่ จานวน 30 คน เพื่อ หาคุณภาพของเคร่ืองมือโดยการหาค่าความ ตอนที่ 3 แบบวัดเจตคติในการจัดการขยะ เชอ่ื มน่ั ของแบบสอบถาม มูลฝอย ตามมาตราวัดของ Likert ประกอบด้วย ขอ้ คาถาม 12 ขอ้ มที งั้ คาถามเชงิ บวกและเชิงลบ 5. แบบสอบถามท่ผี า่ นการประเมินคุณภาพ เคร่ืองมือแล้วจึงนาไปเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่ม ตอนที่ 4 แบบวัดพฤติกรรมในการจัดการ ตัวอย่างต่อไป ขยะมูลฝอย ประกอบด้วย ข้อคาถาม 15 ข้อ โดย แบ่งระดบั การวดั ออกเป็นระดบั 3 ระดบั จริยธรรมในการวิจัย ผูว้ ิจัยได้ดาเนินการวิจัยในครั้งน้ี โดยไม่ล่วง ตอนที่ 5 แบบสอบถามแสดงความคิดเห็น เก่ียวกับมาตราและการดาเนินการด้านการจดั การ ละเมิดสิทธิ สวัสดิภาพและไม่ก่อให้เกิดอันตราย ขยะมูลฝอยในเขตตาบลบ้านด่านเสนอแนะ ได้แก่ แก่ผู้ท่ีถูกวิจัยโดยผู้วิจัยได้ดาเนินการเข้าพบกลุ่ม ด้านการลดการเกดิ ขยะมูลฝอยด้านการนากลับมา ตัว อย่างท่ีวิจัย แนะนาตัว ชี้แจง อธิบาย ใ ช้ ใ ห ม่ ด้ า น ก า ร คั ด แ ย ก ข ย ะ มู ล ฝ อ ย แ ล ะ วัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะอื่นๆเป็นแบบสอบถามปลายเปิด และมีการสอบถามความสมัครใจ โดยมีการลง จานวน 3 ขอ้ ลายมือไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ชี้แจงสิทธิ์ในการ ตอบรับหรือปฏิเสธในการร่วมวิจัยในคร้ังนี้ โดยไม่ การสรา้ งและตรวจสอบคณุ ภาพของเครือ่ งมือ มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ 1. ศึกษาแนวคิดทฤษฎีในเร่ืองความรู้เจต ร้านค้าตลาดช่องจอม กลุม่ ตัวอย่างสามารถยตุ กิ าร เข้าร่วมกิจกรรมได้ตลอดเวลา สาหรับข้อมูลท่ีได้ คติและพฤติกรรม จากน้ันนามากาหนดกรอบ จากการศึกษาวิจัย จะนาไปใช้ตามวัตถุประสงค์ แนวคิดที่ใช้ในการวิจัยกาหนดนิยามศัพท์เพ่ือใช้ ของการวิจัยเท่านั้น โดยจะนาเสนอผลการศึกษา เป็นแนวทางในการสรา้ งแบบสอบถาม ทางวิชาการในภาพรวม 2. สร้างแบบสอบถามเก่ียวกับความรู้เจต คติและพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย ตรวจสอบความถูกต้องของเน้ือหาและครอบคลุม Academic Journal of Community Public Health 103 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ี่ 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มถิ นุ ายน 2563 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ผลการวิจยั การวิจัยคร้ังน้ี วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ข้ อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง ผู้ ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม 1. สถิติการหาคุณภาพเครื่องมือ สถิติ จานวน 150 ราย พบว่า สถานะของผู้ตอบ สัมประสิทธ์ิแอลฟาครอนบาช (Cronbrach, แบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเจ้าของผู้ประกอบการ Alpha Coefficient) แ ล ะ Kuder – Richarson (ร้อยละ 60.00) โดยส่วนมากเป็นเพศหญิง (ร้อย Formula 20 : KR20 ละ 80.00) มีอายุระหว่าง 30-39 ปี (ร้อยละ 40.00) และมีอายุมากกว่า 40 ปี (ร้อยละ 30.67) 2. สถิตวิ เิ คราะห์ขอ้ มลู มีการศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มาก 2.1 ส ถิ ติ เ ชิ ง พ ร ร ณ น า (Descriptive ที่สุด (รอ้ ยละ69.33) และมีรายไดม้ ากกวา่ 15,000 Statistics) ได้แก่ จานวน ร้อยละ คา่ เฉลีย่ และค่า บาท มากท่ีสุด (ร้อยละ 56.67) รองลงมาคือ เบีย่ งเบนมาตรฐาน 10,000-15,000 บาท (ร้อยละ 36.67) จานวน 2.2 ส ถิ ติ เ ชิ ง อ นุ ม า น (Inferential สมาชิกประกอบกิจการส่วนมากมี 2-3 คน (ร้อย Statistics) เ พื่ อ ท ด ส อ บ ส ม ม ติ ฐ า น เ พื่ อ ห า ละ46.67) รองลงมาคือ สมาชิก 4-5 คน (ร้อยละ ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ ทัศนคติและ 36.67) ส่วนประเภทที่อยู่อาศัยโดยส่วนมากจะ พฤตกิ รรมการจดั การขยะมูลฝอย เปน็ ห้องแถว (ร้อยละ 66.67) รองลงมาคอื อาคาร ใ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ผู้ ศึ ก ษ า ใ ช้ ก า ร พาณชิ ย์ (รอ้ ยละ 24) ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ โดยการใชโ้ ปรแกรม ตอนที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย สาเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเพื่อการ ในชุมชนของผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม วจิ ัย ประกอบด้วยสถิตเิ ชิงพรรณนา (Descriptive อาเภอกาบเชิง จงั หวัดสุรินทร์ statistics) คือ บรรยายลักษณะข้อมูล สาหรับ วิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไป ประกอบด้วยการแจกแจง ผลการวัดความรู้เก่ียวกับการจัดการขยะ ความถี่ (Frequencies) ค่าร้อยละ (Percentage) มูลฝอยของผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอมก่อน ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหลังของผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม (Standard deviation) แ ล ะ ส ถิ ติ เ ชิ ง อ นุ ม า น อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ พบว่า ก่อนการจัด (Inferential statistics) เพอื่ ทดสอบความสัมพันธ์ กิจกรรมผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอมในระดับ ของตัวแปร ได้แก่ ความรู้ในการจัดการขยะมูล ปานกลาง (Mean = 6.94 , SD = 0.63) หลังการ ฝอย เจตคติในการจัดการขยะมูลฝอย และ จัดกิจกรรมผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอมใน พฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย โดยการ ระดับสูง (Mean = 8.98 , SD = 0.88) และเมื่อ วิเคราะห์สหสัมพันธ์ของ Pearson (Pearson พิจารณาในรายข้อหลังการจัดกิจกรรม พบว่า อับ product moment correlation coefficient) ดับแรกของข้อท่ีมีผ้ตู อบถูกมากท่ีสุดคือ ข้อ 7 โรค โดยกาหนดระดบั นยั สาคญั ทางสถติ ิท่ี 0.05 ที่เกิดจากขยะมูลฝอยคือโรคอุจจาระร่วง (ร้อยละ 95.33) รองลงมาคือ ข้อ 8 เราควรแยกขยะมูล ฝอยเพราะทาให้ง่ายต่อการจากัดและขยะมูลฝอย บางชนิดยังมีประโยชน์ (ร้อยละ 93.33) ข้อ 6 กระดาษลัง ขวดพลาสติก เศษเหล็กสามารถนามา 104 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 รไี ซเคลิ ได้ (การนากลบั มาใช้ใหม่ โดยมีค่าจาหน่าย เมื่อจ่ายตลาดการใช้แก้วน้า แทนแก้วพลาสติกที่ ได้) (ร้อยละ92.00) ข้อ 5 ถ่านไฟฉาย กระป๋องยา ใช้แล้วทิ้งและการคัดแยกขยะมูลฝอยท่ีสามารถ ฆ่าแมลง หลอดไฟคือขยะมูลฝอยอันตรายท้ังหมด ขายได้ นา ไปขายให้กับคนรับซื้อของเก่าคือ (ร้อยละ 90.67) ข้อ 4 ขวดนา้ อดั ลม ขวดพลาสติก วิธีการในการช่วยลดปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชน เศษเหล็กกระป๋อง ถุงพลาสติกเปียกน้า ยาง (ร้อยละ 87.33) ข้อ 1 การขุดหลุมฝังในท่ีห่างจาก รถยนต์เศษกระดาษเปียกน้า ขวดน้ามันพืช เศษ แหล่งน้า การนา เศษอาหารไปทา ปุ๋ยหมักเป็น ผ้าคือ ขยะมูลฝอยแห้งทั้งหมด (ร้อยละ 89.33) การกาจัดขยะมูลฝอยท่ีถูกสุขลักษณะ (ร้อยละ ข้อ 3 เศษอาหาร เปลอื กผลไม้ ใบไม้สดคือขยะมูล 86.67) และข้อ 9 อันดับแรกก่อนกาจัดขยะมูล ฝอยเปียกท้ังหมด (ร้อยละ 89.33) ข้อ 10 เปลือก ฝอย ควรพิจารณาว่าขยะมูลฝอยประเภทใดยังใช้ ลองกอง-เศษอาหาร สามารถนามาทาปุ๋ยหมักได้ ประโยชน์ได้ แล้วคัดแยกก่อนทิ้ง (ร้อยละ 86.67) (88.00) ข้อ 2 การนาตะกร้าหรือถุงผ้าไปใส่ของ ตามลาดบั แสดงดงั ตารางที่ 1 และตารางท่ี 2 ตารางที่ 1 ค่าร้อยละ ความรู้เก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยของก่อนและหลังของผู้ประกอบการค้า ตลาดชอ่ งจอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสรุ ินทร์ ระดบั ความรู้ กอ่ นจัดกิจกรรม หลังจดั กิจกรรม จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ ระดบั ความรู้ระดบั สงู 141 94.00 (8-10 คะแนน) 52 34.67 9 6.00 ระดับความรู้ระดบั ปานกลาง 98 65.33 (4-7 คะแนน) (Mean = 8.98, (Mean = 6.94, SD = 0.88) SD = 0.63) ตารางท่ี 2 ความร้เู กี่ยวกบั การจัดการขยะมลู ฝอยในชมุ ชน กอ่ นและหลังของผู้ประกอบการค้าตลาดชอ่ ง จอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรนิ ทร์ คะแนนรายข้อ (n = 150) ความร้เู ก่ียวกับการจดั การขยะมลู ฝอย กอ่ นจัดกิจกรรม หลังจัดกจิ กรรม จานวน จานวน (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) 1 การขุดหลุมฝังในที่หา่ งจากแหลง่ น้า การนา เศษอาหารไปทาปยุ๋ 92 130 หมักเปน็ การกา จัดขยะท่ถี ูกสขุ ลกั ษณะ (61.33) (86.67) 131 2 การนา ตะกร้า หรอื ถงุ ผ้าไปใสข่ องเมื่อจา่ ยตลาดการใช้แก้วนา้ 74 (87.33) แทนแก้วพลาสติกท่ใี ช้แลว้ ทิง้ และการคดั แยกขยะทีส่ ามารถขาย (49.33) ได้ นา ไปขายให้กบั คนรับซอ้ื ของเกา่ คือวิธกี ารในการชว่ ยลด ปรมิ าณขยะในชุมชน Academic Journal of Community Public Health 105 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีท่ี 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 คะแนนรายขอ้ (n = 150) ความร้เู ก่ียวกับการจดั การขยะมลู ฝอย กอ่ นจดั กิจกรรม หลังจัดกจิ กรรม 3 เศษอาหาร เปลอื กผลไม้ ใบไมส้ ดคือขยะเปียกท้งั หมด จานวน จานวน (ร้อยละ) (ร้อยละ) 4 ขวดน้า อดั ลม ขวดพลาสตกิ เศษเหลก็ กระปอ๋ ง ถงุ พลาสตกิ เปียกนา้ ยางรถยนต์เศษกระดาษเปียกน้า ขวดน้า มนั พชื เศษ 112 134 ผา้ คือขยะแหง้ ท้งั หมด (74.67) (89.33) 5 ถ่านไฟฉาย กระป๋องยาฆ่าแมลง หลอดไฟคอื ขยะอันตราย ทงั้ หมด 96 134 6 กระดาษลงั ขวดพลาสติก เศษเหลก็ สามารถนามา รไี ซเคลิ ได้ (64.00) (89.33) (การนากลับมาใชใ้ หม่ โดยมคี า่ ราคาจาหนา่ ยได)้ 101 136 7 โรคทเี่ กิดจากขยะคอื โรคอจุ จาระรว่ ง (67.33) (90.67) 138 8 เราควรแยกขยะเพราะทา ใหง้ า่ ยตอ่ การกาจัดและขยะบางชนดิ 95 (92.00) ยงั มปี ระโยชน (63.33) 143 115 (95.33) 9 อันดับแรกก่อนกาจดั ขยะ ควรพิจารณาว่าขยะประเภทใดยงั ใช้ (76.67) 140 ประโยชนไ์ ด้ แล้วคัดแยกก่อนทง้ิ 127 (93.33) (84.67) 130 10 เปลอื กลองกอง-เศษอาหารสามารถนา มาทา ปุ๋ยหมักได้ 117 (86.67) (78.00) 132 112 (88.00) (74.67) Mean = 8.98, Mean = 6.94, SD = 0.88 SD = 0.63 ตอนที่ 3 เจตคติเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอย ค้าตลาดช่องจอมมีเจตคติเก่ียวกับการจัดการขยะ ของผปู้ ระกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบ มูลฝอย อยู่ในระดับดีมาก (Mean = 3.71, S.D. = เชิง จังหวัดสุรนิ ทร์ 0.27) แ ล ะ เ ม่ื อ พิ จ า ร ณ า ใ น ร า ย ข้ อ พ บ ว่ า ผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอมมีระดับเจตคติใน ผลการสารวจเจตคติเก่ียวกับการจัดการ ระดับดีมากท้ัง 3 ประเด็นดังนี้ ประเด็นที่ 1 การ ขยะมูลฝอยของผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม นาของเหลือใช้กลับมาใช้ใหม่สามารถสร้างรายได้ อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ในด้านการลดขยะ ให้แก่ครอบครัว (ร้อยละ3.66) ประเด็นท่ี 3 การ มูลฝอย พบว่า โดยภาพรวมผู้ประกอบการค้า นาเศษขยะมูลฝอยหรือของเหลือใช้ไปขายให้กับ ตลาดช่องจอมมีเจตคติเก่ียวกับการจัดการขยะมูล ผู้รับซื้อของเก่าเป็นเร่ืองน่าอาย (ร้อยละ 3.87) ฝอย อยู่ในระดับดีมาก (Mean = 3.77, SD = และประเดน็ ท่ี 2 ท่านยนิ ดีท่ีจะชว่ ยลดขยะมลู ฝอย 0.20) เปียกในชุมชนโดยการนาขยะมูลฝอยเปียกไปทา ปุ๋ยหมัก (รอ้ ยละ 3.60) ผลการสารวจเจตคติเกี่ยวกับการจัดการ ขยะมูลฝอยของผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม เจตคติเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยของ อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ในด้านการนา ผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง กลับมาใช้ใหม่ พบว่าโดยภาพรวมผู้ประกอบการ 106 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 2 เมษายน – มถิ นุ ายน 2563 จงั หวดั สรุ ินทร์ จาแนกตามดา้ นการคัดแยกขยะมูล ประเด็นที่ 3 ท่านคิดว่าการคัดแยกขยะมูลฝอย ฝอยพบว่าโดยภาพรวมผู้ประกอบการค้าตลาด เป็นส่ิงจาเป็นสาหรับการรักษาสิ่งแวดล้อม (ร้อย ช่องจอมมีเจตคติเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย ละ 3.63) ประเด็นท่ี 4 องค์กรปกครองส่วน อยู่ในระดับดีมาก (Mean = 3.78, SD=0.23) ท้องถิ่น ควรจัดเตรียมถังขยะมูลฝอยแยกประเภท และเม่ือพิจารณาในรายข้อ พบว่า ผู้ประกอบการ ไว้ในที่สาธารณะเพ่ือส่งเสริมให้ผู้ประกอบการค้า ค้าตลาดช่องจอมมีระดับเจตคติในระดับดีมากทั้ง ตลาดช่องจอมคัดแยกขยะมูลฝอยได้สะดวก (ร้อย 6 ประเด็นดังน้ี ประเด็นท่ี 1 การคัดแยกขยะมูล ละ 3.73) ประเด็นที่ 5 การคัดแยกขยะมูลฝอย ฝอยสร้างความสะดวกในการจัดการขยะมูลฝอย เป็นหน้าท่ีของพนักงานเก็บขยะมูลฝอย(ร้อยละ ของพนักงานเก็บขยะมูลฝอย (ร้อยละ3.76) 1.10) และประเด็นที่ 6 การคัดแยกขยะมลู ฝอยใน ประเด็นที่ 2 ท่านคิดว่าหากมีโครงการ/ กิจกรรม ครัวเรือนสร้างความวุ่นวายให้กับท่าน (ร้อยละ เก่ียวกับการคัดแยกขยะมูลฝอยในชุมชนจะทาให้ 1.06) แสดงดงั ตารางท่ี 3 ปัญหาขยะมูลฝอยในชุมชนลดลง (ร้อยละ 3.73) ตารางที่ 3 เจตคติเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยของผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง จงั หวดั สรุ นิ ทร์ จาแนกตามรายด้าน เจตคตใิ นการจัดการขยะมลู ฝอย Mean SD แปลความหมาย ระดับ 1. ดา้ นการลดการเกดิ ขยะมลู ฝอย 3.82 0.25 ดมี าก 2. ดา้ นการนากลบั มาใช้ใหม่ 3.71 0.27 ดมี าก 3. ด้านการคดั แยกขยะมลู ฝอย 3.78 0.23 ดีมาก รวมทุกด้าน 3.77 0.20 ตอนที่ 4 พฤติกรรมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูล โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก (Mean = 2.58, ฝอยของผ้ปู ระกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอ SD = 0.27) โดยมีพฤติกรรมต่อด้านการคัดแยก กาบเชงิ จังหวัดสุรินทร์ พบว่าพฤติกรรมเกยี่ วกับ ขยะมูลฝอยมากท่ีสุด รองลงมา คือ ด้านการลด การจดั การขยะมูลฝอยของผู้ประกอบการค้าตลาด การเกิดขยะมูลฝอยและด้านการนากลับมาใช้ใหม่ ช่องจอม อาเภ อกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ตามลาดบั ตารางท่ี 4 พฤติกรรมเกีย่ วกบั การจดั การขยะมูลฝอยของผู้ประกอบการคา้ ตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชงิ จังหวัดสุรนิ ทร์ จาแนกตามรายดา้ น พฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย Mean SD แปลความหมาย ระดบั 1. ดา้ นการลดการเกดิ ขยะมูลฝอย 2.60 0.29 ดีมาก 2. ด้านการนากลับมาใชใ้ หม่ 2.51 0.37 ดีมาก 3. ดา้ นการคัดแยกขยะมูลฝอย 2.68 0.42 ดมี าก รวม 2.58 0.27 ดีมาก Academic Journal of Community Public Health 107 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ เจตคติและ แสดงว่าความสัมพันธ์น้อยและเจตคติเก่ยี วกบั การ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ข อ ง จัดการขยะมูลฝอยมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ ผู้ประกอบการค้าตลาด ช่องจอม อาเภอกาบเชิง พฤติกรรมเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอย อย่างมี จังหวัดสุรินทร์ พบว่า ความรู้การจัดการขยะมูล นั ย ส า คั ญ ท า ง ส ถิ ติ ท่ี ร ะ ดั บ 0.01 โ ด ย มี ค่ า ฝอยไม่มีความสัมพันธ์กับเจตคติการจัดการขยะ ความสัมพันธ์เท่ากับ0.583 ซ่ึงมีความสัมพันธ์ทาง มูลฝอย ส่วนความรู้เก่ียวกับการจัดการขยะมูล เดียวกันในระดับความสัมพันธ์ปานกลาง แสดงดัง ฝอย มคี วามสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมเกย่ี วกับ ตารางท่ี 5 การจัดการขยะมูลฝอยมี อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติ ทร่ี ะดับ 0.05 โดยมคี ่าความสัมพันธ์เท่ากับ 0.168 ตารางที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ เจตคติและพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของ ผู้ประกอบการคา้ ตลาด ชอ่ งจอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรนิ ทร์ การจัดการขยะมูลฝอย ความรู้ เจตคติ พฤติกรรม ความรู้ 1 เจตคติ 0.024 1 พฤติกรรม 0.168* 0.583** 1 * หมายถึง ความมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิที่ 0.05 ** หมายถึง ความมีนัยสาคญั ทางสถิติท่ี 0.01 สรุปและอภปิ รายผลการวจิ ัย ตวั เองมากยิ่งขึ้นซ่ึงสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ยศภัทร ยศสูงเนิน และคณะ3 สอดคล้องกับ ผลการจัดกิจกรรมต่อความรู้ เจตคติและ การศึกษาของ วิมาลา พทุ ธวัน4 พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนแก่ ผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง 2. เจตคติเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย จงั หวัดสุรินทร์ มปี ระเด็นในการอภิปราย ดังนี้ ของประชาชนผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง จงั หวัดสรุ ินทร์ 1. ความรู้ เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย ของประชาชน ผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม จากการศึกษา พบว่า เจตคติเกี่ยวกับการ อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ จากการศึกษา จัดการขยะมูลฝอยของประชาชนผู้ประกอบการ พบว่า ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย อยู่ ค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ในระดับความรู้ระดบั สงู (ร้อยละ 94.00) เพราะว่า โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก เพราะว่าผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการร้านค้ามีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ รา้ นค้ามีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้รว่ มกัน มีการเสนอ ร่วมกัน มีการเสนอแนวคิดประเด็นปัญหามูลฝอย แนวคิดประเด็นปัญหามูลฝอยในชุมชน ทาให้ ในชุมชนและตลาด ทาใหป้ ระชาชนมีความรู้ ความ ประชาชนมเี จตคตทิ ี่ดีในการจดั การขยะ ภาคภูมิใจในตัวเองและทาให้เกิดความมั่นใจใน 108 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวิชาการสาธารณสุขชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2563 3. พฤติกรรมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูล จ า เ ป็ น ต้ อ ง ไ ด้ รั บ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ จ า ก ทุ ก ภ า คี ฝอยของประชาชนผู้ประกอบการค้าตลาดช่อง เครือข่ายในชุมชน ผู้ประกอบการร้านค้ารวมท้ังผู้ จอม อาเภอกาบเชงิ จงั หวดั สุรนิ ทร์ มีส่วนได้สว่ นเสีย กระบวนการดาเนินงานส่งผลให้ ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจสถานการณ์และสภาพปัญหามูล จากการศึกษา พบว่า พฤติกรรมเก่ียวกับ ฝอยชุมชนร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา การวางแผน ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ข อ ง ป ร ะ ช า ช น การแกไ้ ขปญั หา การหาแนวทางในการจดั กิจกรรม ผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง โครงการ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการ จังหวัดสุรินทร์โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก จัดการมูลฝอยชุมชนตามความต้องการและพบว่า เพราะว่าผู้ประกอบการร้านค้าตลาดช่องจอมได้มี ศักยภาพของชุมชน ภาคีเครือข่ายและผู้ท่ีมีส่วน ส่วนร่วม ในการค้นหาปัญหา ร่วมวางแผนในการ เกย่ี วข้อง ซ่งึ กอ่ ใหเ้ กดิ แผนปฏิบตั ิการพัฒนาชุมชน แก้ไขปัญหา ดาเนินการแก้ไขปัญหาอันก่อให้เกิด สามารถนาไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชน พร้อมท้ัง โครงการ นาไปสู่การจัดการมูลฝอยอย่างมีส่วน สร้างศักยภาพของชุมชนและส่งเสริมการพัฒนา ร่วมในพื้นที่อย่างย่ังยืน และพบว่าประชุมเชิง ชุมชนอย่างยั่งยืนสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ปฏิบัตกิ ารผู้ร่วมวิจัยได้ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ มี สอดคล้องกับผลการศึกษาสอดคล้องกับการศึกษา การเสนอความคิด วิเคราะห์ประเด็นปัญหา ของวทิ กานต์ สารแสน6ุ ร่วมกันนาไปสู่การจัดทาแผนงานโครงการซึ่ง แสดงออกถึงความมุ่งมั่น ตั้งใจ ท่ีจะปฏิบัติงาน 4.2 ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ อย่างเต็มกาลังความสามารถ การดาเนินกิจกรรม เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน ต่างๆ ทาให้ชุมชนมีความรักความสามัคคี ผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง ผปู้ ระกอบการร้านคา้ ตลาดช่องจอมมคี วามร้คู วาม จั ง ห วั ด สุ ริ น ท ร์ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ พ ฤ ติ ก ร ร ม เข้าใจในและได้แนวทางในการจัดการมูลฝอยใน เก่ียว กับการจัดการขยะมูลฝอย เพราะว่า ชุมชนและครัวเรือนของตนเอง มีความสอดคล้อง ผู้ประกอบการร้านค้าตลาดช่องจอมมีความตื่นตัว กบั ผลการศกึ ษาของ นัยนา เดชะ5 ในเร่ืองการจัดการมูลฝอยเป็นอย่างมาก ท้ังใน เรื่องความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับขยะมูลฝอยซึ่ง 4. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เจตคติและ ส่วนมากมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องมูลฝอยใน พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน ระดับดีผู้ประกอบการร้านค้ามีการคัดแยกมูลฝอย ผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง ที่สามารถขายได้ เป็นการเพ่ิมรายได้และลด จังหวดั สุรนิ ทร์ ป ริ ม า ณ ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ไ ป ไ ด้ ด้ ว ย ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า สอดคล้องกับการศึกษาของวิทยา ยนต์สันเทียะ7 4.1 ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน 4.3 ความสัมพันธ์ระหวา่ ง เจตคตเิ กีย่ วกับ ผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ข อ ง ป ร ะ ช า ช น จงั หวัดสุรนิ ทร์ไม่มีความสัมพันธก์ ับเจตคติเก่ยี วกับ ผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง การจัดการขยะมูลฝอยเพราะว่าการแก้ปัญหา Academic Journal of Community Public Health 109 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน – มถิ นุ ายน 2563 จังหวัดสุรินทร์ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม 2. องค์การบริหารตาบลบ้านด่าน ควรมี เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย สอดคล้องกับผล การส่งเสริมให้ผู้ประกอบการร้านค้าตลาดช่อง การศึกษาสอดคล้องกับผลการศึกษาของ เอก จอมนาปัจจัยสาคัญ 3 ด้านมาใช้ ได้แก่ ด้านการ นรินทร์ กล่ินหอม8 ได้ศึกษาเร่ือง ความรู้เจตคติ ลดขยะมูลฝอย ด้านการนากลับมาใช้ใหม่และด้าน และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของ การคัดแยกขยะมลู ฝอย ประชาชนในเขตเทศบาลตาบลจันจว้า อาเภอแม่ ข้อเสนอแนะเชิงวชิ าการ จนั จังหวัดเชียงราย พบว่า เจตคติการจัดการขยะ หลังจากท่ีได้ดาเนนิ การวิจัยเรือ่ งความรู้เจต มูล ฝอ ยข อ งป ระ ช า ช นมี คว าม สั มพั นธ์ กั บ พฤติกรรมในการจดั การขยะมลู ฝอย คติและพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของ ประชาชนผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอ ขอ้ เสนอแนะ กาบเชิง จังหวัดสุรินทร์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัย จากการศึกษาเร่ืองผลการจัดกิจกรรมต่อ เห็นว่าควรมีการดาเนนิ วิจัยหลังจากน้ี คอื ความรู้ เจตคติและพฤติกรรมการจัดการขยะมูล 1. จากการวิจัยของผู้ศึกษาในการลงพ้ืนท่ี ฝอยของประชาชนผู้ประกอบการค้าตลาดช่อง ตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ควร จอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ พบว่า ศึกษาข้อมูลท่ีเป็นปัญหาโดยการลงพื้นที่จริงก่อน ผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง เร่ิมทาการวิจัย เพื่อท่ีจะสามารถรู้ถึงปัญหาท่ี จังหวัดสุรินทร์ มีระดับความรู้ เจตคติและ แท้จริงโดยตรงในตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยท้ัง 3 ด้าน ใน จังหวัดสุรินทร์ท่ีจะดาเนินทาการวิจัย โดยศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับดีมากทุกด้าน แต่ด้านการนา เกยี่ วกับ“การประเมินกระบวนการการจดั การขยะ กลับมาใช้ใหม่ มีระดับเจตคติและพฤติกรรมใน มูลฝอยของผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม ลาดับสุดท้ายดังนนั้ องค์การบริหารส่วนตาบลบ้าน อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรนิ ทร์” ด่านควรจะมกี ารเข้ามาดูแลและให้ความรู้เกี่ยวกับ การจัดการขยะมูลฝอยมากข้ึน ผู้วิจัยเห็นว่าควรมี 2. จากการวิจัยของผู้ศึกษาในการลงพื้นท่ี ข้อเสนอแนะท่สี าคญั ดงั ตอ่ ไปน้ี ตลาดช่องจอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ควร มีการศึกษาวิจัยเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาขยะมูล 1. หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ควรกาหนด ฝอยที่เกิดจากการผลิตและจาหน่ายสินค้าในพ้ืนที่ น โ ย บ า ย ใ ห้ มี ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ใ ห้ กั บ ตลาดช่องจอม เนื่องจากเป็นแหล่งสร้างขยะมูล ผปู้ ระกอบการร้านค้าตลาดช่องจอมในการจัดการ ฝอยอีกแหล่งหนึ่งนอกจากขยะมูลฝอยที่เกิดจาก ครัวเรือน ท่ีส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมของ ชุมชน เอกสารอ้างองิ ขยะมูลฝอยให้กับผู้ประกอบการค้าตลาดช่องจอม 1. อัจฉราวรรณ มสุ ิกะสนั ติ. นโยบายรฐั บาลกับ อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ เน้นในด้านการคัด การจดั การระบบบริหารจดั การขยะมูลฝอย แยกขยะมูลฝอย การนากลับมาใช้ใหม่ เนื่องจาก ของประเทศ; 2557. ด้านการนากลับมาใช้ใหม่เป็นแนวทางในการลด RetrievedSeptember29,2018,from จานวนขยะมลู ฝอย http://contentcenter.prd.go.th/. 110 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน – มถิ ุนายน 2563 2. สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุรินทร์. ปัญหา สิง่ แวดลอ้ มมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์; ขยะมลู ฝอยในพนื้ ทชี่ ายแดนไทย-กมั พูชา 2557. บรเิ วณช่องจอมกล่มุ งานอนามยั สง่ิ แวดล้อม 6. วทิ กานต์ สารแสน. การพัฒนารูปแบบการ และอาชวี อนามัย. สานกั งานสาธารณสขุ จดั การมลู ฝอยชมุ ชน บา้ นหวาย ตาบลนาสีน จังหวัดสุรนิ ทร์.สรุ ินทร์:ร่งุ ธนเกียรตอิ อฟเซ็ต; วนอาเภอกนั ทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม. 2560. วิทยานิพนธป์ รญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรมหา บณั ฑติ สาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร์ 3. ยศภัทร ยศสูงเนนิ , วรรณภา รัตนวงค์ และนง มหาวิทยาลยั มหาสารคาม; 2559. นุช จนั ทร์ดาออ่ น. รายงานวจิ ยั การศกึ ษา 7. วทิ ยา ยนตส์ นั เทียะ. รปู แบบและวิธกี ารจัดการ พฤติกรรมการจดั การขยะมลู ฝอยในชุมชน ขยะทเี่ หมาะสมกบั พืน้ ท่ีองค์การบรหิ ารส่วน เทศบาลตาบลโคกกรวด. นครราชสีมา:คณะ ตาบลหนองบนุ นาก อาเภอหนองบุญมาก สาธารณสุขศาสตร์และเทคโนโลยีสขุ ภาพ จังหวัดนครราชสมี า. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญา วทิ ยาลยั นครราชสีมา.นครราชสมี า: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ สานกั พิมพ์วทิ ยาลัยนครราชสีมา คร้ังท่ี 2 ปี บรหิ ารงานกอ่ สรา้ งและสาธารณูปโภค 2558; 2558. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี; 2557. 8. เอกนรนิ ทร์ กลิ่นหอม. ความรู้ เจตคตแิ ละ 4. วมิ าลา พทุ ธวนั . ผลการประยกุ ต์ใช้กระบวน พฤติกรรมการจัดการขยะมลู ฝอยของ การเสรมิ สรา้ งพลงั อานาจร่วมกับแนวคดิ ประชาชนในเขตเทศบาลตา บลจันจวา้ อาเภอ ธนาคารขยะมูลฝอยรไี ซเคิลเพอ่ื ปรับเปลย่ี น แมจ่ ัน จังหวดั เชียงราย. วิทยานิพนธว์ ิทยา พฤติกรรมการจดั การมูลฝอยของประชาชน ใน ศาสตรมหาบณั ฑิต, สาขาวิชาสาธารณสุข ชมุ ชนบ้านใตส้ ระแก้ว เทศบาลเมอื งยโสธร ศาสตรส์ ่ิงแวดล้อม, บณั ฑิตวิทยาลยั , อาเภอเมือง จังหวัดยโสธร. วิทยานิพนธ์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงราย; 2558. ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม; 2556. 5. นัยนา เดชะ. การมีส่วนร่วมในการจดั การมูล ฝอยของประชาชนในตาบลเลม็ด อาเภอไชยา จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี. วิทยานพิ นธป์ รญิ ญา วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการจัดการ Academic Journal of Community Public Health 111 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบับที่ 2 เมษายน – มถิ นุ ายน 2563 Received: 8 Dec 2019, Revised: 9 Jan 2020 Accepted: 20 Feb 2020 นพิ นธ์ต้นฉบบั รปู แบบการจัดการขยะมูลฝอยหมูบ่ า้ นจาปา ตาบลบงเหนือ อาเภอสวา่ งแดนดนิ จงั หวัดสกลนคร อิสระ กุลยะณี1,* วรพจน์ พรหมสตั ยพรต2 กฤษณ์ ขุนลึก3 บทคดั ยอ่ การวจิ ัยเชงิ ปฏิบัติการครั้งนมี้ ีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษารูปแบบการดาเนินงานในการจัดการขยะ มูลฝอยในชุมชนบ้านจาปา ตาบลบงเหนือ อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพ 30 คน และ กลุ่มวัดผลลัพธ์ 66 คน ประยุกต์ใช้กระบวนการสมัชชาสุขภาพเป็นเครื่องมือในการจัดการกับปัญหาหาขยะมูลฝอย เก็บรวม รวบข้อมูลโดยใช้ แบบบันทึก แบบสอบถาม สัมภาษณ์เชิงลึก และข้อมูลภาคสนามจากการสังเกต แบบมีส่วนร่วม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้ ความถ่ี ร้อยละ คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั พบว่า รูปแบบการดาเนนิ งาน สมัชชาสุขภาพในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนบ้านจาปา ตาบลบงเหนือ อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ ได้แก่ 1) การกาหนดประเด็นและการพัฒนาประเด็น เชิงนโยบาย 2) การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย 3) การแสวงหาฉันทามติร่วมกันต่อข้อเสนอเชิง นโยบาย 4) การขับเคล่ือนข้อเสนอสู่การปฏิบัติ 5) การติดตามและประเมินผล ผลจากกระบวนการ ดังกลา่ วทาให้เกิดการคดั แยกขยะมลู ฝอยจากครวั เรือน สง่ ผลใหป้ ัญหาขยะมลู ฝอยในชมุ ชนบ้านจาปา ลดลง เฉลี่ย 1,058.48 กิโลกรัมต่อเดือน ทาให้ไม่พบปัญหาขยะล้นถัง ไม่พบปัญหาขยะกระจัด กระจาย ไม่พบปัญหาขยะในถังขยะส่งกล่ินเห็นรบกวน การเผาทาลายขยะลดน้อยลง และพบว่า ประชากรกลุ่มวัดผลลัพธ์ มีความพึงพอใจต่อการดาเนินงานในการจัดการขยะมูลฝอย อยู่ในระดับ มาก โดยสรุป ปัจจัยความสาเร็จเกิดจากการมีส่วนร่วมที่แท้จริงของชุมชนทาให้ไดร้ ูปแบบการจัดการ ขยะท่ีเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ทาให้การจัดการขยะมูลฝอยดาเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพ ปริมาณขยะมูลฝอยลดลง และประชาชนมีความพึงพอใจในระดับมากต่อรูปแบบกิจกรรมการจัดการ ขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึน คาสาคัญ การจัดการขยะมลู ฝอย สมชั ชาสุขภาพ ขยะมลู ฝอย 1 นสิ ิตหลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม 2 รองศาสตราจารย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม 3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยกาฬสนิ ธุ์ *Corresponding author: [email protected] 112 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสุขชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบับที่ 2 เมษายน – มถิ นุ ายน 2563 Original Article The Model of Wastes Management in Jumpa Village, Bongneu Sub- district, Sawangdandin district, Sakon Nakhon Province Issara Kulyanee1,*, Vorapoj Promasatayaprot2, Kris Khunluek3 Abstract The research was a participatory action research. The purpose of study was to set model of health assembly for wastes management in Jumpa Village, Bongneu Subdistrict, Sawangdandin district, Sakon Nakhon Province. The application of Assembly health process as a tool in public policy process development for wastes management. The sample group was divided into 2 groups. The first sample group was local people of 30 people and leader to health Assembly of 66 people. Data were collected record form, through questionnaire, Indepth Interview and participant observation and use of descriptive statistics to measure the frequency, percentage, mean, and standard deviation. Results showed that by The Model of Health Assembly for Wastes Management in Jumpa Village, Bongneu Sub-district, Sawangdandin district, SakonNakhon Province consisted of 5 phases 1) Process of formulation and Policy Development 2) Development of policy 3) Mutual Recognition Arrangement to policy 4) policy implementation 5) Monitoring & Evaluation. The research findings: is causing people to know how to categorize garbage, average reduction garbage 1058.48 kilograms per month, cannot see overflowing garbage bins, cannot smell of garbage, stop burning garbage. And people were pleased with the establishment of wastes management in Jumpa Village, Bongneu Sub-district, Sawangdandin district, Sakon Nakhon ProvinceIn conclusion, The Model of Health Assembly for Wastes Management is best practice in context waste management efficiency and people were pleased with the satisfied higher to The Model of Health Assembly for Wastes Management. Keywords: Wastes Management, Health Assembly, Wastes 1 Graduation student, Master degree of Public Health, Mahasarakham University 2 Association Professor, Faculty of Public Health, Mahasarakham University 3 Assistant Professor, Faculty of Public Health, Kalasin University * Corresponding author: [email protected] Academic Journal of Community Public Health 113 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวชิ าการสาธารณสุขชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 บทนา ควันไฟและกลิ่นจากการเผาขยะมูลฝอย ซ่ึงส่งผล ทาให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชน4 ขยะมูลฝอยเป็นปัญหาที่สาคัญระดับโลกท่ี จากการสารวจปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชนบ้าน หลายๆ ประเทศกาลังประสบปัญหาส่งผลกระทบ จาปา ตาบลลงเหนือ อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัด ต่อการพัฒนาประเทศ สืบเน่ืองมาจากการ สกลนครท่ีเกิดขึ้นใน 1 ถังต่อสัปดาห์ พบว่า ซึ่งมี เจริญเติบโตของเศรษฐกิจแบบก้าวกระโดดและ น้าหนักเฉล่ีย 23 กิโลกรัม สามารถจาแนกขยะได้ การเพ่ิมข้ึนของจานวนประชากรอย่างรวดเร็ว เป็น 4 ประเภท พบว่าเปน็ ขยะมีนา้ หนกั เฉล่ียดังนี้ ส่งผลทาให้เกิดขยะมูลฝอยในปริมาณท่ีมากข้ึน ขยะย่อยสลายได้ 13.7 กิโลกรัม ขยะรีไซเคิล 5.9 และไม่สามารถกาจัดให้หมดไปได้ ก่อให้เกิด กิโลกรัม ขยะทั่วไป 3.2 กิโลกรัม และ ขยะ ปัญหาขยะล้นเมืองและส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อนั ตราย 0.2 กิโลกรัม หรอื คิดเป็นร้อยละ 59, 26, ตามมา1 ในปี 2559 ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน 14, และร้อยละ 1 ตามลาดับ จากการศึกษา เพ่ิมขึ้นเป็นวันละ 74,073 ตัน หรือ 27.04 ล้าน เบื้องต้นพบว่าปัญหาท่ีพบคือปัญหาขยะล้นถังซึ่ง ตันต่อปี ซ่ึงเพิ่มข้ึนจากปี 2558 ประมาณ สาเหตุมาจากประชาชนขาดความรู้ ขาดความ 190,000 ตัน ส่งไปกาจัดอย่างถูกต้อง 9.59 ล้าน ตระหนักถึงปัญหา ขาดจิตสานึกต่อส่วนรวม ไม่มี ตนั กาจัดไมถ่ ูกต้อง 11.69 ลา้ นตัน ตกค้างในพื้นท่ี รปู แบบในการจัดการขยะทมี่ ีประสิทธิภาพ และ ท่ี 10.13 ล้านตัน และนากลับไปใช้ประโยชน์ 5.76 สาคัญพบว่าในประชาชนในชุมชนไม่มีส่วนร่วมใน ล้านตัน โดยปัจจุบันคนไทย 1 คน สร้างขยะมูล การคิดท่ีจะจัดการปัญหาขยะมูลฝอยร่วมกันอาจ ฝอยโดยเฉล่ียคือ 1.14 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน2 ใน ทาให้ปัญหาขยะมูลฝอยทวีความรุนแรงมากยิ่งข้ึน หนึ่งปีประเทศไทยพบขยะมูลฝอยท่ีเป็นพลาสติก ในอนาคต จานวน 2,000,000 ตันต่อปี เป็นกล่องโฟม จานวน 700,000 ตันต่อปี ขยะอันตรายจาก จากปัญหาดังกล่าวท่ีเกิดขึ้นในชุมชนและ ชมุ ชนจานวน 576,316 ตันต่อปีและพบเป็นเศษ พบว่าเป็นปัญหาท่ีสาคัญท่ีต้องได้รับการแก้ไข อาหาร เหลือท้ิงจานวน 16,640,000 ตันต่อปี3 ร่วมกันโดยคนในชุมชน ซ่ึงได้ผลักดันให้การ ถึงแม้ว่าจะมีหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบในเรื่อง จัดการขยะมูลฝอยเป็นวาระสาคัญในการกาหนด ของการจัดการขยะมูลฝอยแต่ปัจจุบันปัญหาขยะ เป็นนโยบายเร่งด่วนให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วน มลู ฝอยมไิ ด้หมดไปซ้ายังมีปริมาณเพิ่มมากขึน้ ร่วมในการจัดการกับปัญหาขยะมูลฝอย โดยใช้ กระบวนการสมัชชาสุขภาพเป็นเครื่องมือในการ ตาบลบงเหนือ อาเภอสว่างแดนดนิ จังหวัด ด า เ นิ น ก า ร ภ า ย ใ ต้ ก ร อ บ แ น ว คิ ด ก า ร วิ จั ย เ ชิ ง สกลนคร ขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ ปฏิบัติการ P-A-O-R เพื่อที่จะให้ได้รูปแบบการ สาคัญในพื้นทีม่ ีปริมาณขยะมูลฝอยตกค้างในพ้ืนท่ี จั ด ก า ร ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ท่ี มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ มี ค ว า ม เป็นจานวนมาก พบปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น เหมาะสมกับบริบทของพ้ืนท่ีและมีความย่ังยืน เฉลี่ย 5-6 ตัน/วัน สามารถรวมรวมและขนย้ายได้ ตลอดท้งั ปจั จบุ นั และในอนาคต 4.5-5 ตัน/วัน ซึ่งใน 1 วัน จะทาการเก็บรวมรวม และขนย้ายขยะมูลฝอยไปกาจัดได้ 2-3 หมู่บ้าน/ วตั ถปุ ระสงค์การวิจยั วัน และใน 1 สัปดาห์จะมีการขนย้ายขยะมูลฝอย เพ่ือศึกษารูปแบบการการจัดการขยะมูล ไปกาจัดหมู่บ้านละ 1 คร้ัง จึงทาให้เกิดข้อ รอ้ งเรียนเร่ืองขยะล้นถัง ขยะส่งกลิ่นเหม็น ปัญหา ฝอยชุมชนบ้านจาปา ตาบลบงเหนือ อาเภอสว่าง แดนดิน จังหวดั สกลนคร 114 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสุขชมุ ชน ปที ี่ 6 ฉบบั ที่ 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 วิธดี าเนินการวจิ ัย ค ว า ม เ ห็ น ข อ ง ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ IOC (Index of รูปแบบการวิจยั congruence) และทดลองใช้ (Try Out) ในพ้ืนที่ ท่ีมีบริบทใกล้เคียงกับพ้ืนท่ีท่ีทาการศึกษาวิจัย คือ การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ตาบลค้อใต้ อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร แบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) แ ล้ ว น า ไ ป วิ เ ค ร า ะ ห์ ห า ค่ า ค ว า ม เ ช่ื อ ม่ั น ดาเนิน การท่ีบ้านจาปา ตาบลบงเหนือ อาเภอสว่าง (Reliability) โดยใชส้ มั ประสทิ ธิ์แอลฟาของครอน- แดนดิน จังหวัดสกลนคร ตามกรอบแนวคิดการมี บราช (Cronbach’s-coefficient) และคัดเลือก ส่วนร่วมของ เคมมิสและแมกแทกกาด Kemmis ขอ้ คาถามที่เหมาะสมซ่ึงได้ค่าความเช่ือมั่นท่ีระดับ and McTaggart (1990)5 ซ่ึงประกอบด้วย 4 ขั้น (P- 0.85 A-O-R) ร่วมกับกระบวนการดาเนินงานตามหลัก สมัชชาสุขภาพในการดาเนินงานมี 4 ขั้นตอนหลัก ข้ันตอนดาเนินการวิจัยและการเก็บรวบรวม สาคัญ คือ ขั้นตอนท่ี 1 การวางแผน (Plan) ข้อมูล การดาเนินงานวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ขั้นตอนท่ี 2 การปฏิบัติตามแผนที่กาหนด (Action) ขั้นตอนท่ี 3 การสังเกตผลที่เกิดข้ึนจาก ดังต่อไปน้ีคือ ระยะท่ี 1 ขั้นการเตรียมการวิจัย การปฏิบัติงาน (Observation) ข้ันตอนที่ 4 การ ระยะท่ี 2 ข้ันตอนการดาเนินการวิจัย ดาเนินงาน ต า ม แ น ว คิ ด ข อ ง เ ค ม มิ ส แ ล ะ แ ม ก แ ท ก ก า ด สะทอ้ นผลจากการปฏิบัติงาน (Reflection) Kemmis and McTaggart5 ซึ่งประกอบด้วย 4 ข้ัน (P-A-O-R) ร่วมกับกระบวนการดาเนินงาน กล่มุ เป้าหมาย ตามหลักสมัชชาสุขภาพ โดยมีรายละเอียดในการ กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย 2 กลุ่ม ได้แก่ ดาเนนิ งานดังน้ี กลุ่มขับเคล่ือนสมัชชาสุขภาพ 30 คน 3 ภาคส่วน 1. ข้ันวางแผน (Planning) ประกอบด้วย ประกอบด้วย ภาคการเมือง 7 คน ภาควิชาการ 8 กิจกรรมท้งั หมด 4 กิจกรรม ดงั นี้ คน และภาคประชน 15 คน และ กลุ่มวัดผลลัพธ์ 66 คน ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive- กิจกรรมท่ี 1 ศกึ ษาข้อมูลบรบิ ทชุมชน เป็น Sampling) กระบวนการศึกษาข้อมูลพื้นฐานของชุมชนโดย เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ยั อาศัยข้อมูลจากผู้เข้าร่วมวิจัยและข้อมูลท่ีผู้วิจัยได้ เคร่ืองมือการวิจัยครั้งน้ีประกอบด้วย 2 รวบรวมมาจากฐานข้อมลู ของโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบลบ้านนาถ่อน และองค์การบริหาร ส่วน ดังนี้ (1) ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ แบบ ส่วนตาบลบงเหนือ อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัด ประเมินความพึงพอใจ และ แบบสารวจผลการ สกลนคร มาใช้เพือ่ เปน็ ฐานข้อมูลในการวิเคราะห์ ดาเนนิ งาน และ (2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ ไดแ้ ก่ แบบ บันทึกกิจกรรม แบบบันทึกภาคสนาม แบบ กิจกรรมที่ 2 ศึกษา ทบทวน วิเคราะห์ สมั ภาษณ์เชงิ ลึก และการอภปิ รายกลมุ่ สถานการณ์ปัญหาขยะมูลฝอยของชุมชน โดยใช้ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก 3 ภาคส่วน ได้แก่ภาค คณุ ภาพของเครื่องมือ การเมือง ภาควิชาการและภาคประชาชน และ การตรวจสอบความตรง (Validity) โดยนา ขอ้ เท็จจริงท่ีได้จากชุมชน มาเป็นฐานขอ้ มลู ในการ เค รื่อ งมื อเ สน อต่ อผู้ เช่ี ยว ช า ญท่ี มีค ว า มรู้ วเิ คราะห์ ประสบการณ์ในการทาวิจัยตรวจสอบ จานวน 3 กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เป็น ท่าน ได้นามาปรับปรุงตามคาแนะนาและ กิจกรรมเรียนรู้ร่วมกันที่ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม 115 Academic Journal of Community Public Health Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีท่ี 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มิถุนายน 2563 ของท้ัง 3 ภาคส่วนเป็นหลักและทาการแตง่ ต้ังเป็น กิจกรรมที่ 2 เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบ คณะกรรมการซ่ึงเป็นกลุ่มขับเคลื่อนนโยบายใน สัมภาษณ์เชิงลึกและข้อมูลภาคสนามจากการ ครั้งนี้ ได้แก่ ภาคการเมือง ภาควิชาการ และภาค สังเกตแบบมีส่วนร่วม เป็นกิจกรรมท่ีผู้วิจัยและ ประชาชน ในการพัฒนานโยบายสาธารณะใน ผู้ช่วยผู้วิจัยเป็นต้องผู้เก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือนาไป ประเดน็ การจัดการขยะมลู ฝอยในชุมชนบา้ นจาปา วเิ คราะหข์ อ้ มลู ต่อไป ตาบลบงเหนือ อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัด กิจกรรมที่ 3 ประเมินผลการดาเนินงาน ส ก ล น ค ร เ พื่ อ ร ะ ด ม ค ว า ม คิ ด ข้ อ คิ ด เ ห็ น และสรุปผลการดาเนินงานพร้อมทั้งวิเคราะห์ ขอ้ เสนอแนะ รวมทั้งแนวทางตา่ ง ๆ ในการจดั การ ข้อมูล เป็นกิจกรรมประเมินผลการดาเนินงาน และแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนในชุมชน ก่อนดาเนินกิจกรรมระหว่างดาเนินกิจกรรม และ โดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ในกิจกรรมท่ี หลังดาเนินกิจกรรมในด้านต่างๆ เช่น รูปแบบ ผา่ นมาไปใช้เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการกาหนด กิจกรรมที่เกิดข้นึ ผลลัพธ์ของการดาเนินงาน และ ทศิ ทาง กิจกรรม เพื่อสรา้ งและพัฒนารูปแบบการ ความพงึ พอใจ เป็นตน้ จัดการขยะมูลฝอยในชุมชนและเพ่ือจัดทาเป็น 4. ขัน้ สะทอ้ นผล (Reflection) แผนปฏบิ ัตกิ ารตอ่ ไป เป็นกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้เพ่ือ กิจกรรมท่ี 4 จดั ทาแผนการดาเนินงานตาม ถอดบทเรียน และคืนข้อมูลแก่ชุมชน เป็นการการ มติที่ประชุม เป็นกิจกรรมหรือโครงการท่ีผู้วิจัย จัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรูห้ รือถอดบทเรียน โดยใช้ และผู้มีส่วนได้เสียทั้ง 3 ภาคส่วน ได้มีส่วนร่วมใน กระบวนการสนทนากลุ่มของกลุ่มขับเคล่ือนท้ัง 3 การจัดทาแผนการดาเนินงานให้เป็นไปตามมติ ภาคส่วน ในการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้น้ัน ของท่ีประชุมกาหนด เพื่อนาไปสู่ข้ันลงมือปฏิบัติ ผู้วิจัยเป็นพิธีกรดาเนินรายการ พยายามให้กลุ่ม ตอ่ ไป สมาชิกได้เล่าถึงประสบการณ์ที่ได้ดาเนินงาน 2. ข้นั ลงมือปฏบิ ตั ิ (Action) รวมท้ังพูดถึงปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข ปฏิบัติตามแผนการดาเนินงานสมัชชา เพ่ือการพัฒนาต่อไปด้วย จากนั้นทาการสรุป เพื่อ สขุ ภาพในการจัดการขยะมูลฝอยตามมติที่ประชุม ทบทวนกิจกรรมหรือข้ันตอนการดาเนินงาน เปน็ กิจกรรมท่ปี ระชาชนบ้านจาปา ตาบลบงเหนือ ทั้ ง ห ม ด ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ตั้ ง แ ต่ เ ริ่ ม ต้ น จ น สิ้ น สุ ด อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ต้องปฏิบัติ กระบวนการ ผลการดาเนินงาน ท้ังที่ประสบ ตามแผนการดาเนินงานหรอื โครงการท่กี าหนดขนึ้ ความสาเร็จและไม่ประสบความสาเร็จ หรือได้ 3. ขั้นการสังเกตการณ์ (Observation) ดาเนินการตามแผนและไม่ได้ดาเนินการตามแผน ประกอบดว้ ย 3 กจิ กรรม ดังน้ี ท่ีวางไว้ ปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นระหว่าง กิ จ ก ร ร ม ที่ 1 นิ เ ท ศ ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร ดาเนินการ ความร่วมมือที่ได้รับ และความ ดาเนินงานและความก้าวหน้าแบบมีส่วนร่วมเป็น ภาคภูมิใจ หลังจากนั้นให้ทุกคนร่วมกันวิเคราะห์ กิจกรรมท่ีผู้วิจัยและผู้ช่วยจะลงพ้ืนท่ีสังเกตการณ์ ปัจจัยแห่งความสาเร็จและหากจะพัฒนาต่อก็นา และติดตามเย่ียมการดาเนินงานตามแผนเมื่อ ประเด็นท่ีเป็นปญั หาอุปสรรคไว้ เพ่ือนาเข้าส่รู ะยะ ผู้รับผิดชอบกิจกรรมหรือโครงการ มีปัญหา การวางแผนเพ่อื พัฒนาในวงรอบต่อไป อปุ สรรคใด ๆ ผู้วิจัยและผูช้ ่วยผู้วิจัย ก็ต้องคอยให้ สถิตทิ ี่ใช้ในการวิจัย คาปรึกษาและช่วยเหลือเพอื่ ให้กจิ กรรมต่าง ๆ นั้น สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ดาเนนิ ไปได้ดว้ ยดี ประกอบด้วย จานวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ย และ 116 Academic Journal of Community Public Health Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสุขชมุ ชน ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 2 เมษายน – มถิ นุ ายน 2563 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ เหนือ อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ประกอบด้วย จานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน จานวนทั้งหมด 66 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย เบ่ียงเบนมาตรฐาน จานวน 34 คน (ร้อยละ 51.52) ส่วนใหญ่อายุ จรยิ ธรรมการวจิ ัย ระหว่าง 50 – 59 ปี จานวน 20 คน (ร้อยละ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 30.30) สถานภาพครอบครัวส่วนใหญ่อยู่ในสถานะ สมรส จานวน 44 คน (ร้อยละ 69.67) ส่วนใหญ่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ออกหนังสือ การศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา จานวน 43 ใบรับรองอนุมัติ เลขที่ PH 013/2561 ลงวันท่ี 16 ค น ( ร้ อ ย ล ะ 65.15) อ า ชี พ ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ป็ น มกราคม 2561 เกษตรกรรม จานวน 31 คน (ร้อยละ 46.97) ระยะเวลาดาเนนิ การ ด้านการได้รับข้อมูลข่าวสารที่เก่ียวกับการจัดการ เดือนมกราคม 2561 ถึง เดือนพฤษภาคม ขยะมูลฝอยส่วนใหญ่เคยได้รับข้อมูลข่าวสาร จานวน 49 คน (ร้อยละ 74.24) ด้านการได้รับการ 2561 ฝึกอบรมท่ีเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยส่วน ผลการวจิ ัย ใหญ่ไม่เคยได้รับการอบรม จานวน 51 คน (ร้อย ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ทั่ ว ไ ป ข อ ง ละ 77.27) ด้านได้รับข้อมูลข่าวสารท่ีเกี่ยวกับการ กลุ่มเป้าหมายกลุ่มคณะกรรมการดาเนินการ สมัชชาสุขภาพส่วนใหญ่ไม่เคยได้รับข้อมูลขา่ วสาร ขับเคลื่อนสมัชชาสุขภาพพบว่า ลักษณะข้อมูล จานวน 62 คน (ร้อยละ 93.94) และ ด้านส่วน ทั่วไปของกลุ่มคณะกรรมการดาเนินงานสมัชชา ร่วมกับการพัฒนานโยบายสาธารณ เช่น สมัชชา สขุ ภาพในการจดั การขยะมูลฝอยบ้านจาปา ตาบล สุขภาพหรือธรรมนูญสุขภาพส่วนใหญ่ไม่เคย บงเหนือ อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร จานวน 65 ราย (รอ้ ยละ 98.48) จานวนท้ังหมด 30 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 70) ส่วนใหญ่อายุ 60 ปีข้ึนไป (ร้อยละ รูปแบบการดาเนินงานสมัชชาสุขภาพใน 30) สถานภาพครอบครัวส่วนใหญ่อยู่ในสถานะ การจัดการขยะมูลฝอยมีการจัดตั้งคณะทางานจัด สมรส (ร้อยละ 63.33) ส่วนใหญ่การศึกษาอยู่ใน กระบวนการสมัชชาสุขภาพในการจัดการขยะมูล ระดับ ปรญิ ญาตรี (รอ้ ยละ 47.52) อาชพี สว่ นใหญ่ ฝอยบ้านจาปา เป็นรูปแบบการจัดต้ังแบบไม่เป็น ข้าราชการ/พนักงานของรัฐ (ร้อยละ 63.33) ด้าน ทางการ เป็นการรวมตัวเป็นทีมทางานแบบ การได้รับข้อมูลข่าวสารท่ีเกี่ยวกับการจัดการขยะ หลวมๆ เพอ่ื มาทางานร่วมกันโดยไม่มีคาสั่งแตง่ ตั้ง มูลฝอยส่วนใหญ่เคยได้รับข้อมูลข่าวสาร (ร้อยละ ซึ่ ง เ ป็ น ส มั ช ช า สุ ข ภ า พ เ ฉ พ า ะ ป ร ะ เ ด็ น 100) ด้านการได้รับการฝึกอบรมท่ีเกี่ยวกับการ องค์ประกอบของคณะทางานเป็นแบบพหุภาคี จัดการขยะมูลฝอยส่วนใหญ่เคย (ร้อยละ 63.33) ประกอบด้วย 3 ภาคส่วน ได้แก่ ภาคการเมือง 7 ด้านได้รับข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับการสมัชชา คน ภาควิชาการ 8 คน และภาคประชาชน 15 คน สุขภาพสว่ นใหญ่ไมเ่ คย (รอ้ ยละ 70.00) และ ด้าน รวมเป็น 30 คน และจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือ ส่วนร่วมกับการพัฒนานโยบายสาธารณ เช่น ทบทวน วิเคราะห์ สถานการณ์ปัญหา จัดทา สมัชชาสุขภาพหรือธรรมนูญสุขภาพส่วนใหญ่ไม่ แผนงานแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยและพัฒนา เคย (ร้อยละ 80) ลักษณะข้อมูลท่ัวไปของ แนวทางปฏิบัติเพ่ือลดปริมาณขยะมูลฝอยร่วมกัน ประชาชนกลุ่มวัดผลลัพธ์ บ้านจาปา ตาบลบง ซึ่งก่อนการดาเนินการวิจัยรูปแบบการกาจัดขยะ มูลฝอยในชุมชนมีอยู่ด้วยกัน 3 วิธี ดังนี้ 1.ทิ้งในท่ี 117 Academic Journal of Community Public Health Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 สาธารณะประจาหมู่บ้าน (ร้อยละ 63) 2.เผา ระบบธนาคารขยะชุมชน และประสานร้านรับซ้ือขยะ กลางแจ้ง (ร้อยละ 27) และ 3.การฝัง (ร้อยละ 9) รีไซเคิลให้มาเปน็ พีเ่ ลย้ี งใหค้ าแนะนาในการซือ้ ขาย ซ่ึงคณะทางานสมัชชาสุขภาพทั้ง 3 ภาคส่วน ได้มี มติกาหนดแนวทางแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยใน 4. กิจกรรมเพิ่มจุดวางถังขยะในชุมชนมี ชมุ ชนบ้านจาปา 4 กจิ กรรมดงั นี้ วัตถุประสงค์เพ่ือเพ่ิมพื้นที่รองรับขยะในชุมชนไม่ให้ ขยะล้นถัง สาหรับผู้ท่ีต้องการถังขยะเพิ่มต้องไปย่ืน 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เร่ืองการจัดการ คาร้องขอได้ที่องค์การบริหารส่วนตาบลบงเหนือ ขยะมูลฝอยเป็นโครงการท่ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้าง เท่าน้ันผลการดาเนนิ งานพบวา่ ไมม่ ีผไู้ ปขอรับถังขยะ ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะให้แก่ เพม่ิ เตมิ เนือ่ งจากไม่มีปญั หาขยะล้นถังเหมอื นในอดตี ประชาชน โดยการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ผู้เข้า อบรมมีความรู้ เรอื่ งประเภทของขยะ การคดั แยกขยะ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการดาเนินงานตาม รีไซเคิล การกาจัดขยะมูลฝอยอย่างเหมาะสม พบว่า กระบวนการสมชั ชาสุขภาพในการจดั การขยะมูลฝอย ผู้ท่ีผ่านการอบรมสว่ นใหญ่มคี วามรู้ มที ัศนคติ และมี บ้านจาปา พบว่า ประชากรกลุ่มวัดผลลัพธ์ในส่วน พฤตกิ รรม การจดั การขยะที่ถูกต้องเพ่ิมข้ึน และบ้าน ของด้านการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน มีการ ที่เข้าร่วมโครงการมีการคัดแยกประเภทขยะและ คัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน 50 ครัวเรือน (ร้อย กาจัดขยะมูลฝอยได้อย่างเหมาะสม เช่นไม่ทิ้งเศษ ละ 75.76) มีการคัดแยกขยะเปียกและขยะแห้ง 44 อาหารลงในถังขยะ นาเศษอาหารไปเป็นอาหารสัตว์ ครัวเรือน (ร้อยละ 66.67) มีการคัดแยกขยะท่ัวไป และการทาปุ๋ยหมักจากพืชแทนการเผาทาลาย เป็น ออกจากขยะอ่ืนๆ 58 คัวเรือน (รอ้ ยละ 87.88) มกี าร ตน้ คัดแยกขยะรีไซเคิลออกจากขยะอื่นๆ 46 ครัวเรือน (ร้อยละ 69.70) มีการคัดแยกขยะอินทรีย์ ออกจาก 2. กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เร่ืองการจัดการ ขยะอื่นๆ 56 ครัวเรือน (ร้อยละ 84.85) มีการคัด ขยะมูลฝอย เป็นให้ความรู้เร่ืองการจัดการขยะมูล แยกขยะขยะอันตรายออกจากขยะอ่ืนๆ 11 ครวั เรอื น ฝอยผ่านหอกระจายข่าวของชุมชนในช่วงเช้าโดย (ร้อยละ 16.67) ด้านวิธีการจัดการขยะท่ีพบ มีการ ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการสมัชชาหมู่บ้าน และ อสม. กองรวมไว้ในพ้ืนที่ว่าง 16 ครัวเรอื น (ร้อยละ 24.24) สลับสับเปลี่ยนกันประชาสัมพันธ์ตลอดระยะเวลา 4 จัดการขยะด้วยวิธีเผา 12 ครัวเรือน (ร้อยละ 18.18) เดือน ในประเดน็ การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนโดย จัดการขยะด้วยวิธีฝังกลบ 36 ครัวเรือน (ร้อยละ ชุมชนมีส่วนร่วม เพ่ือชักชวนให้คนในชุมชนร่วมกัน 54.55) จัดการขยะด้วยวิธีทาปุ๋ยหมัก 17 ครัวเรือน คัดแยกขยะมลู ฝอยกอ่ นทงิ้ และชวนเข้ารว่ มโครงการ (ร้อยละ 25.76) จัดการขยะด้วยวิธีขายเข้าธนาคาร ธนาคารขยะชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยใน ขยะ 42 ครัวเรือน (ร้อยละ 63.64) จัดการขยะด้วย ชมุ ชน วิธีท้ิงลงถังขยะ 66 ครัวเรือน (ร้อยละ100) ด้านการ ลดปรมิ าณการเกิดขยะ ด้วยวธิ ีReuse (การใชซ้ ้า) 48 3. กิจกรรมจดั ตัง้ ธนาคารขยะรีไซเคลิ เปน็ การ ครัวเรือน (ร้อยละ 72.73) ด้วยวิธี Reduce (การลด ดาเนินงานโดย อสม.ร่วมกับคณะกรรมธนาคารขยะที่ การใช้) 48 ครัวเรือน (ร้อยละ 33.33) และ วิธี จัดตง้ั ข้นึ เป็นพ่ีเล้ยี งของชุมชนในการดาเนินงานเพ่ือ Recycle (การนากลับมาใช้ใหม่) 27 ครัวเรือน (ร้อย คดั แยกขยะ มีวัตถุประสงค์เพ่ือเสริมสร้างความรกู้ าร ละ 40.91) ดงั ตารางท่ี 1 คัดแยกขยะท่ีถูกต้อง การสร้างรายได้และสวัสดิการ เสริมให้แก่ครัวเรือนจากการคัดแยกขยะมาขายเข้าสู่ 118 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวิชาการสาธารณสุขชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 ตารางที่ 1 จานวน และร้อยละ ของผลการดาเนินงานการจัดการขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน บ้าน จาปา ตาบลบงเหนอื อาเภอสวา่ งแดนดิน จังหวัดสกลนคร (n=66) รายการสารวจ จานวนครัวเรือน รอ้ ยละ การคดั แยกขยะมลู ฝอยในครัวเรอื น 1. มีการคดั แยกขยะมูลฝอยในครวั เรือน 50 75.76 2. มกี ารคัดแยกขยะเปียกและขยะแหง้ 44 66.67 3. มกี ารคัดแยกขยะทั่วไปออกจากขยะอืน่ ๆ 58 87.88 4. มกี ารคัดแยกขยะรไี ซเคิลออกจากขยะอื่น ๆ 46 69.70 5. มีการคัดแยกขยะอนิ ทรยี ์ ออกจากขยะอื่น ๆ 56 84.85 6. มีการคัดแยกขยะขยะอนั ตรายออกจากขยะอื่น ๆ 11 16.67 วิธีการกาจดั ขยะมลู ฝอยทพี่ บ 7. กองรวมไวใ้ นพ้นื ท่ีวา่ ง 16 24.24 8. เผา 12 18.18 9. ฝงั กลบ 36 54.55 10. ทาปุ๋ยหมัก 17 25.76 11. ขายเข้าธนาคารขยะ 42 63.64 12. ทิ้งถงั ขยะ 66 100.00 การลดปรมิ าณการเกิดขยะ 13. Reuse (การใชซ้ า้ ) 48 72.73 14. Reduce (การลดการใช้) 22 33.33 15. Recycle (การนากลับมาใช้ใหม)่ 27 40.91 มีผู้สนใจสมัครเข้าร่วมกิจกรรมเป็นสมาชิก ลดปริมาณขยะมูลฝอยท่ีทิ้งได้ในเดือนที่ 1 ถึง ธนาคารขยะรีไซเคิล 69 ครัวเรือน ตลอด เดือนที่ 3 ตามลาดับดังน้ี 849.50 กิโลกรัม, ระยะเวลา 3 เดือน มีสมาชิกขายขยะรไี ซเคลิ อยา่ ง 1080.05 กิโลกรัม และ 1245.90 กิโลกรัม รวม ต่อเนื่องจานวน 53 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 3175.45 กิโลกรัม เฉลี่ยสามารถกาจัดขยะได้ 76.81 สามารถแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยและ เดอื นละ 1058.48 กิโลกรัมตอ่ เดอื น ดงั ตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 ปรมิ าณขยะมลู ฝอยท่ีชุมชนสามารลดได้จาแนกเปน็ รายเดอื น หลงั การดาเนนิ งานในการ จดั การขยะมูลฝอยบา้ นจาปา ตาบลบงเหนอื อาเภอสวา่ งแดนดนิ จังหวัดสกลนคร (n=66) รายการขยะมลู ปรมิ าณขยะมลู ฝอย (กโิ ลกรัม) ฝอย เดือนที่ 1 เดอื นท่ี 2 เดือนที่ 3 นา้ หนกั รวม นา้ หนักเฉลย่ี แกว้ 611.30 769.30 612.40 1,993.00 664.33 กระดาษ 61.50 52.10 204.40 318.00 106.00 พลาสตกิ 127.75 135.20 144.30 407.25 135.75 โลหะ/อโลหะ 48.50 123.90 285.80 458.20 152.73 119 Academic Journal of Community Public Health Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสุขชมุ ชน ปีท่ี 6 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 รายการขยะมลู เดอื นที่ 1 ปริมาณขยะมลู ฝอย (กโิ ลกรัม) ฝอย 849.05 รวม เดอื นที่ 2 เดอื นที่ 3 นา้ หนักรวม นา้ หนกั เฉล่ยี 1,080.50 1,246.90 3,176.45 1,058.82 มี ร ะ ดั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ม า ก เป็นกิจกรรมการจัดการขยะมูลฝอย (2.73) และ จานวน 12 ข้อ และอยู่ในระดบั ปานกลาง จานวน จานวนถังขยะเพียงพอต่อคว ามต้องการ , 2 ขอ้ โดยเรยี งลาดับจากความพงึ พอใจสงู สดุ ไปหา ประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอย, ต่าสุด 3 อันดับแรก ได้ดังน้ี ความเหมาะสมของ ปริมาณขยะมูลฝอยลดลง (2.71) ดังตารางที่ 3 สถานที่ที่ใช้ในการดาเนินงาน (2.77) รองลงมา ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจ ต่อการดาเนินงานในการจัดการ ขยะมูลฝอย บ้านจาปา ตาบลบงเหนอื อาเภอสว่างแดนดิน จงั หวัดสกลนคร (n=66) รายการประเมิน Mean SD ระดบั ความพึงพอใจ ด้านทรัพยากร (Input) 1.ความเหมาะสมของงบประมาณ 2.06 0.63 ปานกลาง 2.จานวนถังขยะเพยี งพอต่อความตอ้ งการ 2.71 0.46 มาก 3.จานวนผู้มสี ว่ นร่วมในการรว่ มกันแก้ไขปัญหา 2.35 0.75 มาก 4.ปรมิ าณวัสดอุ ปุ กรณ์เพยี งพอสาหรับการดาเนินงาน 2.59 0.61 มาก 5.ความเหมาะสมของสถานที่ท่ใี ช้ในการดาเนินงาน 2.77 0.42 มาก กระบวนการดาเนินงาน (Process) 6.ความเหมาะสมของระยะเวลาดาเนินงาน 1.88 0.67 ปานกลาง 7.การดาเนินงานของคณะกรรมการในการจดั การขยะ 2.58 0.50 มาก ม8.ูลกฝจิ อกยรรมการจดั การขยะมูลฝอย 2.73 0.45 มาก 9.การให้ความรู้เพอื่ นาไปประยุกต์ใชใ้ นการจัดการขยะ 2.65 0.48 มาก ผมลู ฝกอารยดาเนินงาน (Out put) 10.ความมีส่วนร่วมระหว่างประชาชนและเจา้ หนา้ ที่ใน 2.61 0.49 มาก ก11าร.มปีกฏาิบรัตจัดิงากนารขยะมลู ฝอยอย่างตอ่ เน่ือง 2.68 0.47 มาก 12.ประสิทธิภาพของรปู แบบการจัดการขยะมูลฝอย 2.71 0.46 มาก 13.ปริมาณขยะมลู ฝอยลดลง 2.71 0.46 มาก 14.ความพงึ พอใจในภาพรวมของการดาเนินงาน 2.70 0.55 มาก รวม 2.37 0.61 มาก สรุปและอภปิ รายผลการวจิ ยั ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory action จากการศึกษารูปแบบการการจัดการขยะ research) ยึดกระบวน การของ Kemmis & Mc มูลฝอยชุมชนบ้านจาปา ตาบลบงเหนือ อาเภอ Taggart5 ร่วมกับกระบวน การสมัชชาสุขภาพซ่ึง สว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร เป็นการวิจัยเชิง 120 Academic Journal of Community Public Health Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวชิ าการสาธารณสุขชมุ ชน ปีท่ี 6 ฉบับที่ 2 เมษายน – มถิ นุ ายน 2563 ประกอบดว้ ย 4 ขั้นตอนหลักตามกรอบแนวคดิ P- และสรุปผลการดาเนินงานพร้อมทั้งวิเคราะห์ A-O-R ซึ่งสามารถอภิปรายผลไดด้ งั น้ี ขอ้ มลู ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชน กระบวนการดาเนินงานสมัชชาสขุ ภาพใน ขั้นสะท้อนผล (Reflection) เป็นการจัด การจัดการขยะมลู ฝอยบ้านจาปา ตาบลบงเหนือ เวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้หรือถอดบทเรียนและคืน อ า เ ภ อ ส ว่ า ง แ ด น ดิ น จั ง ห วั ด ส ก ล น ค ร ข้อมูลผลการดาเนินงานในการจัดการขยะมูลฝอย ประกอบด้วย 3 ภาคส่วน ได้แก่ ภาคการเมือง โดยใช้กระบว นการสนทนากลุ่ม หลังการ ภาควิชาการและภาคประชาชน เป็นหลักในการ ดาเนินงานพบว่า ความสาเร็จในการแก้ไขปัญหา ดาเนินงานและเรียนรู้ปัญหาทเ่ี กดิ ขึ้นในชุมชนบ้าน ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นเกิดจากความต้องการของ จาปารว่ มกนั พร้อมทง้ั รว่ มกัน ชุ ม ช น แ ล ะ รู ป แ บ บ ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ บ ริ บ ท ข อ ง พ้ื น ที่ โ ด ย อ า ศั ย ขน้ั วางแผน (Planning) ประกอบด้วย 4 ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ธ น า ค า ร ข ย ะ รี ไ ซ เ คิ ล ใ น ก า ร กิจกรรมดังน้ี 1.ศึกษาข้อมูลบริบทชุมชน 2.ศึกษา ขับเคล่ือนงานต้ังแต่ขั้นวางแผน ข้ันปฏิบัติถึงขั้น ทบทวน วิเคราะห์ สถานการณ์ปัญหาขยะมูลฝอย สังเกตการณ์ ทาให้เกิดการดาเนินงานอย่างเป็น ของชุมชน โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก 3 ภาค รูปธรรม มีดาเนินการอย่างต่อเนื่องสามารถแก้ไข ส่วน 3.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ และ 4.จัดทา ปัญหาและลดปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชนได้ แผนการดาเนินงานตามมติท่ีประชุม จากมติท่ี แสดงวา่ กระบวนการสมัชชาสุขภาพที่เกิดจากการ ป ร ะ ชุ ม ท า ใ ห้ เ กิ ด เ ป็ น น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น ก า ร มีส่วนร่วมของชุมชนมีเป็นกระบวนการที่ดีในการ ดาเนินการในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนบ้าน นาไปแก้ไขปัญหาในชุมชนได้ เช่นเดียวกันกับการ จาปา 4 กิจกรรมดังนี้ 1.อบรมให้ความรู้เร่ืองการ จัดการกับปัญหาขยะมูลฝอยซ่ึงสอดคล้องกับการ จัดการขยะมูลฝอย 2.รณรงค์ให้ความรู้เร่ืองการ ดาเนินงานวิจัยของ วิทวัฒน์ สิงห์นาครอง6 และ จัดการขยะมูลฝอย 3.จัดต้ังธนาคารขยะรีไซเคิล อารีย์ พลภูเมือง และคณะ7 ได้นากระบวนการ และ 4.เพิ่มจุดวางถังขยะในชุมชน ตามแนวคิด สมัชชาสุขภาพระดับพื้นท่ีไปใช้ในการจัดการขยะ ของคณะกรรมการสมัชชาสุขภาพบ้านจาปาซึ่ง มูลฝอยและการมีส่วนร่วมของชุมชนไปใช้ในการ เน้นการจัดการขยะมูลฝอยจากต้นทางหรือ วจิ ัยพบว่า กระบวนการดังกล่าวทาให้ปริมาณขยะ ครัวเรอื น มูลฝอยโดยรวมลดลงได้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ทรี่ ะดับ 0.05 ข้ันลงมือปฏิบตั ิ (Action) ประกอบด้วย 4 กิจกรรมดังนี้ 1.อบรมให้ความรู้เร่ืองการจัดการ ผลการดาเนินงานสมัชชาสุขภาพในการ ขยะมูลฝอย 2.รณรงค์ให้ความรู้เร่ืองการจัดการ จัดการขยะมูลฝอยบ้านจาปา ตาบลบงเหนือ ขยะมูลฝอยผ่านหอกระจายข่าวหมู่บ้านทุกคร้ังที่ อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร จากกลุ่ม เปดิ เครื่องกระจายเสยี งซงึ่ ไม่นอยกว่าสัปดาห์ละ 1 วัดผลลัพธ์ มีการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน ครั้ง 3.จัดต้ังธนาคารขยะรีไซเคิลเพื่อรับซื้อขยะรี ร้อยละ 75.76 มีการคัดแยกขยะเปียกและขยะ ไซเคิลจากชุมชนดาเนินการโดย อสม. และ แห้ง ร้อยละ 66.67 มีการคัดแยกขยะทั่วไปออก คณะกรรมการธนาคารขยะ และ 4.เพ่ิมจุดวางถัง จากขยะอื่นๆ ร้อยละ 87.88 มีการคัดแยกขยะรี ขยะในชุมชน ไซเคิลออกจากขยะอ่ืนๆ ร้อยละ 69.70 มีการคัด แยกขยะอินทรีย์ ออกจากขยะอ่ืน ๆ ร้อยละ ขั้นการสังเกตการณ์ (Observation) 84.85 มีการคัดแยกขยะขยะอันตรายออกจาก ประกอบด้วย 1.นิเทศติดตามผลการดาเนินงาน 2. เกบ็ รวมรวมขอ้ มลู 3.ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน Academic Journal of Community Public Health 121 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน – มิถุนายน 2563 ขยะอื่นๆ ร้อยละ 16.67ด้านการลดปริมาณการ ขยะมูลฝอยเพ่ือจะนาไปสู่การจัดการขยะที่ยังยืน เกิดขยะ ด้วยวิธีReuse (การใช้ซ้า) ร้อยละ 72.73 ในชุมชน ในส่วนของการจัดการความรู้ผู้วิจัยต้อง ด้วยวิธี Reduce (การลดการใช้) ร้อยละ 33.33 เตรียมขอ้ มลู วิชาการทีเ่ หมาะสม เข้าใจงา่ ย ไม่เป็น และ ดว้ ยวิธี Recycle (การนากลบั มาใชใ้ หม)่ ร้อย ทางการมากจนเกินไปเป็นภาษาถ่ินในการส่ือสาร ละ 40.91 มีผู้สนใจสมัครเข้าร่วมกิจกรรมเป็น ยงิ่ ดี ใชเ้ วลากระชบั มากทสี่ ุด และเพ่ือให้เกิดความ สมาชิกธนาคารขยะรีไซเคิล 69 ครัวเรือน ตลอด ย่ั ง ยื น ใ น ร ะ บ บ ค ว ร มี ก า ร ห า ง บ ป ร ะ ม า ณ ม า ระยะเวลา 3 เดือน มสี มาชิกขายขยะรไี ซเคลิ อยา่ ง สนับสนุนในการซื้อวัสดุเพ่ิมเติมและเพ่ือสร้างขวัญ ต่อเน่ือง ร้อยละ 76.81 สามารถแก้ไขปัญหาขยะ กาลังในแก่คณะกรรมการดาเนินงาน นอกจากนั้น มลู ฝอยและลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ท้งิ ได้ในเดือน แล้วควรมีการแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัตทิ ี่ดีและขยาย ท่ี 1 ถึงเดือนท่ี 3 ตามลาดับดังนี้ 849.50 กิโลกรัม ผลไปสูช่ มุ ชนข้างเคยี งและพน้ื ท่อี ืน่ ๆ , 1,080.05 กิโลกรัม และ 1,245.90 กิโลกรมั รวม 3,175.45 กิโลกรัม เฉลี่ยสามารถกาจัดขยะได้ กิตติกรรมประกาศ เดือนละ 1,058.48 กโิ ลกรัมตอ่ เดือน แสดงใหเ้ ห็น ขอขอบคุณอาจารย์จากคณะสาธารณสุข ว่ากิจกรรมที่คณะกรรมการสมัชชาสุขภาพในการ จัดการขยะมูลฝอยบ้านจาปาคิดขึ้นสามารถลด ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ท่ีให้คาแนะนา ปริมาณขยะท่ีเกิดขึ้นในชุมชนได้เฉล่ียมากถึง ช่วยเหลือและสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการในการ 1,058.48 กิโลกรัมต่อเดือน สอดคล้องกับการ จัดทาวิทยานิพนธ์จนมีความสมบูรณ์ทางวิชาการ ศกึ ษาวิจัยของ ปิยะรักษ์ ประดับเพชรรัตน์8 ได้ทา และ ขอขอบคุณผู้อานวยการโรงพยาบาลส่งเสริม การ ศึกษาศักยภาพในการลดปริมาณขยะชุมชน สุขภาพตาบลบ้านนาถ่อน ตาบลบงเหนือ อาเภอ จากโครง การธนาคารขยะรีไซเคิลกรณีศึกษา สว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร อาสาสมัคร ชุมชนทรัพย์สินพัฒนา ผลการวิจัยพบว่าการคัด สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน คณะกรรมการสมัชชา แยกประเภทขยะมูลฝอยก่อนท้ิง ในระยะเวลา 1 สุขภาพ และคณะกรรมการธนาคารขยะรีไซเคิล เดือน ปริมาณขยะมูลฝอยในครัวเรือนที่จะต้อง บ้านจาปา ท่ีได้ให้ความร่วมมือในการดาเนินงาน นาไปกาจัดลดลง 465.7 กิโลกรัม และหากทุกคน วจิ ัยครง้ั นจ้ี นสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี ในชุมชนมีการคัดแยกขยะมูลฝอย จะมีปริมาณ ขยะมูลฝอยที่ต้องนาไปกาจัดลดลง 17,463.75 เอกสารอา้ งอิง กิโลกรัม หรือคิดเป็นร้อยละ 71.89 ของปริมาณ ขยะมูลฝอยท้งั หมด 1. พชิ ิตพิชติ สกุลพราหมณ์. สุขาภบิ าล สิง่ แวดลอ้ ม. พมิ พ์คร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ: ธนะ ขอ้ เสนอแนะจากการวิจัย การพมิ พ์; 2531. การจัดสมัชชาสุขภาพในรูปแบบไม่เป็น 2. กรมควบคุมมลพษิ .รายงานสถานการณ์ขยะมลู ทางการจะได้รับความร่วมมือและผลตอบรับที่ดี ฝอยชุมชนของประเทศไทย ปี พ.ศ.2559. จากประชาชนทาให้ประชาชนกล้าทีจ่ ะแสดงความ กรุงเทพฯ: สานัก พิมพก์ รมควบคุมมลพิษ คิดเห็นส่วนตัวมากขึ้น และควรมีการพัฒนาและ กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม; ส่งเสริมให้แกนนาในการจัดการขยะมูลฝอยได้ 2560. เรียนร้เู พิ่มเตมิ ในประเด็นการการใช้ประโยชน์จาก 3. กรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม. คูม่ ือกิจกรรม สง่ิ แวดล้อมศึกษา z(H)ero Waste:ปฏบิ ตั ิการ 122 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสุขชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มิถุนายน 2563 ขยะเหลอื ศนู ย.์ กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชมุ นมุ บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั มหาสารคาม; สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด; 2557. 2559. 7. อารีย์ พลภูเมือง, กัลยา หาญพชิ าญชยั และ 4. สานกั ปลดั ตาบลบงเหนอื . รายงานการจดั การ เสฐยี รพงษ์ ศวิ นิ า. การพฒั นาระบบคัดแยกมูล ขยะมลู ฝอย. สกลนคร: สานกั ปลัดตาบลบง ฝอยในชุมชนแบบมีสว่ นรว่ มเขตเทศบาล เหนือ; 2559. ต.เมอื งสรวง อ.เมืองสรวง จ.รอ้ ยเอ็ด. วารสาร 5. Kemmis, S., and McTaggart, R.. The เครือข่ายวทิ ยาลัยพยาบาลและการ action research planner. Geelong: สาธารณสุขภาคใต้ 2559; 4(1): 147–161. Deakin University Press; 1990. 8. ปยิ ะรกั ษ์ ประดับเพชรรตั น.์ ศกั ยภาพในการ 6. วิทวฒั น์ สิงห์นาครอง. กระบวนการพฒั นา ลดปริมาณขยะชุมชน จากโครงการธนาคาร นโยบายสาธารณะเพื่อสขุ ภาพแบบมสี ่วนรว่ ม ขยะรีไซเคลิ กรณศี ึกษาชุมชนทรพั ยส์ ินพฒั นา ในการจัดการมูลฝอยชมุ ชน เทศบาลตาบลโพธิ์ เขตบางขุนเทียน กรงุ เทพมหานคร. ชยั อาเภอพนมไพร จังหวดั ร้อยเอด็ . วทิ ยานิพนธป์ ริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ วิทยานพิ นธ์ปริญญาสาธารณสขุ ศาสตรมหา สาขาเทคโนโลยีการบรหิ ารสิ่งแวดลอ้ ม บัณฑิต สาขาวชิ าการจัดการระบบสขุ ภาพ มหาวทิ ยาลยั มหิดล; 2552. Academic Journal of Community Public Health 123 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวชิ าการสาธารณสุขชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มถิ ุนายน 2563 Received: 3 Feb 2020, Revised: 24 Feb 2002 Accepted: 26 Mar 2020 นพิ นธ์ต้นฉบบั การพฒั นารูปแบบการจดั การขยะแบบมสี ว่ นร่วมขององค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี อาเภอเชยี งคาน จังหวัดเลย เอนก ฝ่ายจาปา1,* บทคัดย่อ การวิจัยปฏิบัติการน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์การจัดการขยะของชุมชน 2) ศึกษาการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชน และ 3) ศึกษารูปแบบการจัดการ ขยะแบบมีส่วนร่วม กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการขยะจานวน 35 คน ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม และ กระบวนการสนทนากลุ่ม ผลการศึกษาใช้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ขยะของชุมชนมีแนวโนม้ เพิ่มมากข้ึน โดยสว่ นใหญ่เป็นขยะในครัวเรือน ครัวเรือน ไม่มีการคัดแยกขยะ ปญั หาคือขาดความตระหนักและความร่วมมือจากประชาชนและผู้ประกอบการ การพัฒนารูปแบบการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมประกอบด้วยการลดปริมาณขยะภายในครัวเรือน และจากแหลง่ กาเนิด การคัดแยกและ การเก็บรวบรวมขยะ และการนากลับมาใช้ซ้าและนาไปกาจัด รวมถึงการจัดตั้งกองทุนขยะเพื่อสวัสดิการ รูปแบบแนวทางในการส่งเสริมให้จัดการขยะแบบมีส่วน ร่วมประกอบด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน การมีกลไกขับเคลื่อนการดาเนินงาน และมีรูปแบบ แนวทางจดั การขยะแบบมสี ว่ นรว่ มอยา่ งเหมาะสม คาสาคัญ การพฒั นา รปู แบบ การจดั การขยะ การมสี ว่ นรว่ ม 1 นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ สานักงานสาธารณสขุ อาเภอเอราวณั จังหวัดเลย * Corresponding author: [email protected] 124 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสุขชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มถิ ุนายน 2563 Original Article The Model Development of Participation Waste Management in Jomsi Sub-district Administrative Organization, Chiang Khan District, Loei Province Anek Faijumpa1,* Abstract This action research was aimed to: ( 1) study the situation of community waste management. ( 2) study the development of the community participation in community-based waste management model and (3) study the participatory waste management model. The sample consisted of 35 stakeholders in waste management. Data were collected using in-depth interviews, participatory observation and the group discussion. The data were analyzed by content analysis. The results revealed that: the situation of waste in the community tends to increase. Due to the lack awareness and means, household waste is rarely sorted. Lacks of public awarenees is one of major problems of waste management. The development of the community participatory waste management models include reducing household waste and sources of waste, the waste separation, waste collected, waste recycling and waste disposal. Including the establishment of the waste fund for welfare. The guideline to promote community participation for waste management were community participation, a mechanism driven operation, and a model approach to waste management. Keyword: Development, Model, Waste management, Participation 1 Public Health Technical Officer, Erawan District Public Health Officer, Loei Province * Corresponding author: [email protected] Academic Journal of Community Public Health 125 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 บทนา เมืองเลยเพียง 1 แห่ง ซ่ึงเป็นระบบแบบฝังกลบ สามารถกาจัดขยะ มูลฝอยของเทศบาลเมืองเลย ส ถ า น ก า ร ณ์ ปั จ จุ บั น ก า ร เ พ่ิ ม ขึ้ น ข อ ง และขยะมูลฝอยจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชากร ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การ ใกล้เคียงได้เพียงวันละประมาณ 50 ตัน หรือร้อย ขยายตัว ของชุมช นทั้งในเมืองและช นบท ละ 8.6 ของขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนทั้งหมด ขยะมูล พฤติกรรมการบริโภคของประชาชน ตลอดจนการ ฝอยที่เหลือส่วนใหญ่จะถูกกาจัดโดยวิธีเผา และ นโยบายการท่องเที่ยวที่ต้องการส่งเสริมการ ขยะส่วนที่เหลือทาการฝังกลบเป็นครั้งคราว ท่องเที่ยวให้มีนักท่องเที่ยวจานวนมากขึ้นทาให้มี หรือไม่มีการกาจัดเลย ดังน้ันความรุนแรงของ ป ริ ม า ณ ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ท่ี เ กิ ด ข้ึ น ท่ั ว ป ร ะ เ ท ศ ใ น ปี ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดเลย จึง 2560 ประมาณ 27.40 ล้านตัน หรือ 75,046 ตัน เป็นประเดน็ เร่งด่วนทค่ี วรไดร้ ับการแก้ไข2 ต่อวัน เพิ่มข้ึนร้อยละ 1.26 จากปี 25591 ในขณะ ท่ีมีสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยทั่วประเทศ จานวน องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี อาเภอ 2,450 แห่ง ส่วนใหญ่เป็นระบบฝังกลบรองรับ เชียงคาน จังหวัดเลย มีหน้าท่ีในการจัดการด้าน การกาจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกต้องทาได้เพียง ขยะและดูแลสภาพส่ิงแวดล้อมในพ้ืนท่ี ซ่ึงท่ีผ่าน 7.88 ล้านตัน หรือรอ้ ยละ 30.1 ของขยะมูลฝอยท่ี มาพบว่า มีปัญหาจานวนปริมาณมูลฝอยสะสม เกิดขึ้นทั้งหมด มีเพียง 480 แห่งท่ีกาจัดอย่าง เพิ่มมากขนึ้ โดยมปี รมิ าณขยะ 3 ตนั ตอ่ วนั หรือ 90 ถูกต้อง ขณะเดียวกันมีการนาขยะมูลฝอยกลับมา ตัน/เดือน ไม่มีพื้นท่ีท้ิงขยะมูลฝอยในตาบล ใช้ประโยชน์ประมาณ 4.82 ล้านตัน หรือร้อยละ ประชาชนและชุมชนยังไม่มีการคัดแยกมูลฝอยที่ 18.4 ทาให้เกิดปัญหาในการจัดการขยะในด้าน ถูก ต้ อ ง ต้ั ง แ ต่ ต้ นท า ง ทั้ ง ใ น ร ะ ดับ ค รั ว เ รื อ น แ ล ะ ต่าง ๆ เช่น มีขยะมูลฝอยตกค้างจานวนมาก สถานประกอบการต่าง ๆ มีการนาสิ่งของเหลือใช้ เน่ืองจากสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยส่วนใหญ่ กลับมาใช้ประโยชน์จานวนน้อย ส่วนใหญ่ท้ิง ดาเนินการไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ โดยมีการ รวมกันในถังขยะรอให้องค์การบริหารส่วนตาบล เผากลางแจ้ง กองท้ิงในบ่อดินเก่าหรือพื้นที่รกร้าง จอมศรีนาไปกาจัด และองค์การบริหารส่วนตาบล ส ถ า น ที่ ก า จั ด ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ที่ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ห ลั ก จอมศรีมีงบประมาณไม่เพียงพอในการจัดหาถัง วิชาการมีไม่เพียงพอ เป็นแหล่งท่ีก่อให้เกิด ขยะแยกประเภททั้งส่ีชนิดตามมาตรฐานของกรม มลภาวะส่งกลิ่นเหม็น สร้างความราคาญ แหล่ง ควบคมุ มลพษิ ให้ครบตามความต้องการของชุมชน เป็นแหล่งที่ก่อให้เกิดพาหนะนาโรคต่าง ๆ ต่อ ได้ นอกจากน้ีรถยนต์บรรทุกสาหรับเก็บขนขยะ ประชาชน มูลฝอยมีจากัดไม่เพียงพอ โดยมีรถบรรทุกขยะ แบบเปิดข้างเททา้ ย ขนาดบรรทกุ 3 ลบ.ม.จานวน จังหวัดเลย เป็นหน่ึงในหลายจังหวัดท่ี 1 คันเท่าน้ันและยังเป็นแบบเทรวมกันโดยไม่แยก ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า ข ย ะ ล้ น เ มื อ ง แ ล ะ มี แ น ว โ น้ ม ที่ ประเภท ซ่ึงถึงแม้ว่าต้นทางในระดับครัวเรือนจะมี ปริมาณขยะเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว การเป็นแหล่ง การคัดแยกขยะมูลฝอยก็ตาม ทาให้การจัดการ ท่องเทย่ี วท่ีสาคัญของประเทศไทยส่งผลกระทบให้ ขยะยังเป็นปัญหาที่มีความยุ่งยากและซับซ้อนใน มีปริมาณขยะมูลฝอย เกิดขึ้นเฉล่ีย 576 ตันต่อวัน การแก้ไขดว้ ย หรือประมาณ 207,360 ตันต่อปี ในขณะท่ีจังหวัด เลยมีสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยถูกต้องตามหลัก จากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีความสนใจ สุขาภิบาลภายใต้ความรับผิดชอบของเทศบาล ศึกษาการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะแบบมี ส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี 126 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวิชาการสาธารณสุขชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2563 อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เพื่อพัฒนารูปแบบ ขอบเขตประชากรที่ศึกษา ประกอบด้วย การจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในเขต ผู้นาชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะ จาแนก องคก์ ารบริหารส่วนตาบลจอมศรี อาเภอเชียงคาน เป็น 5 กลุ่มจานวนทั้งส้ิน 35 คนประกอบด้วย จังหวัดเลย เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมให้เกิด ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี ผู้นา การจัดการขยะได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยให้ ชุมชนและตัวแทนประชาชน ผู้นาจากเจ้าหน้าท่ี ประชาชนในพ้ืนที่และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้เข้ามามี ท้องถ่ิน ผู้นาจากหน่วยงานราชการในพื้นท่ี ผู้นา ส่วนร่วมในกระบวนการดาเนินการบริหารจัดการ ศาสนา ขยะเพ่ือให้เป็นการแก้ไขปัญหาขยะอย่างยั่งยืนใน อนาคตต่อไป ขอบเขตด้านเวลา ดาเนินการวิจัยใน ระหว่างเดือน กมุ ภาพันธ์ 2562 – มกราคม 2563 วัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีดาเนนิ การวจิ ยั 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการขยะของ การวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ัติการ (Action Research) ชมุ ชนตาบลจอมศรี อาเภอเชยี งคาน จงั หวดั เลย ทาการศึกษาบริบทของพื้นที่ในการในการมีส่วน 2. เพื่อศึกษาการพัฒนารูปแบบการจัดการ ร่วมในการจัดการขยะ โดยมีข้ันตอนการวิจัยเชิง ปฏิบัติการประกอบด้วย การวางแผน การ ขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตองค์การ ปฏิบัติการ การสังเกตการณ์ และการสะท้อนผล บริหารส่วนตาบลจอมศรี อาเภอเชียงคาน จงั หวัด กลับ ดาเนินการวิจัยโดยการสร้างกระบวนการมี เลย สว่ นรว่ มผ่านกิจกรรมต่างๆในชุมชน โดยใช้เทคนิค การเชิงประชุมปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม การ 3. เพ่ือหารปู แบบแนวทางในการส่งเสริมให้ ประชุม การระดมความคิดเห็น การอภิปรายกลุ่ม เกิดการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมขององค์การ และการบรรยาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ บรหิ ารส่วนตาบลจอมศรไี ดอ้ ย่างเหมาะสม การศึกษาบริบทชุมชน การสัมภาษณ์เชิงลึก และ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม ขอบเขตการวิจยั ขอบเขตเชิงพื้นที่ ตาบลจอมศรี อาเภอ กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาวิจัย การ วิจัยคร้ังน้ีผู้วิจัยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เชยี งคาน จงั หวัดเลย คือ ผู้นาชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะท่ีมา ขอบเขตเชิงเน้ือหา การศึกษาบริบทชมุ ชน จาก 5 กลุ่ม จานวนทั้งส้ิน 35 คน ประกอบด้วย กลุ่มผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลจอม การประชุมเชิงปฏิบตั ิการผู้นาชุมชนในการจัดการ จานวน 4 คน กลุ่มผู้นาชุมชนและตัวแทน ขยะ นาเสนอรูปแบบการจัดการขยะแบบมีส่วน ประชาชน จานวน 24 คน กลุ่มผู้นาจากเจ้าหน้าท่ี ร่วมและการเลือกนาไปใช้ ซ่ึงประกอบด้วย การ ท้องถ่ิน จานวน 3 คน ผู้นาจากหน่วยงานราชการ ลด ป ริ ม า ณ ก า ร เ กิ ด ข ย ะ ใ น ค รั ว เ รื อ น แ ล ะ ในพ้ืนที่ จานวน 3 คน และผู้นาศาสนา จานวน 1 แหล่งกาเนิดขยะ การคัดแยกขยะ การเก็บ คน รวบรวมขยะ และการนากลับมาใช้และกาจัดขยะ การวางแผนปฏิบัติการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม การปฏิบัติการนารูปแบบการจัดการขยะแบบมี ส่วนร่วมไปใช้ในชุมชน การจัดต้ังกองทุนขยะเพื่อ สวัสดิการ การทาปุ๋ยหมัก การทาถังขยะเปียก การประเมนิ ผลการจดั การขยะในชมุ ชนแบบมสี ว่ น ร่วมตามบริบทของชุมชน Academic Journal of Community Public Health 127 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน – มิถุนายน 2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เก็บรวบรวม เพิ่มมากข้ึนจานวนมากหากไม่มีการจัดการขยะท่ี ข้อมลู จากการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร การสัมภาษณ์ เปน็ รปู แบบที่เหมาะสมกับหมบู่ ้านชุมชน เชิงลึก การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม และการ บันทึกภาคสนาม ประกอบกับการใช้ข้อมูลจาก แหล่งกาเนิดขยะมูลฝอยในพื้นท่ีตาบล เอกสาร แนวคิด และงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง จอมศรี ผลการศึกษา พบว่า แหล่งกาเนิดขยะมูล ฝอยที่เกิดขึ้นในพ้ืนท่ีตาบลจอมศรี ส่วนใหญ่มา การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล จากแหลง่ ขยะในครวั เรอื น ตลาดสด ร้านคา้ สถาน เชิงเนื้อหา (Content Analysis) โดยการจาแนก ประกอบการ หน่วยงานราชการ โรงเรยี น วัด และ และจัดระบบข้อมูลให้เป็นหมว ดหมู่ การ จากการดาเนินกิจกรรมต่างๆของสมาชิกภายใน ตรวจสอบข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูล และการ ครวั เรือน และสมาชกิ หม่บู ้านของชุมชน ตีความข้อมูล โดยนาข้อค้นพบจากการวิจัยมา เชื่อมโยงสร้างเป็นข้อสรุปเพ่ือตอบคาถามตาม นโยบายและเป้าหมายการดาเนินงานจัดการ วัตถุประสงค์การวิจัยแล้วนาเสนอเนื้อหาด้วยวิธี ขยะองค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี ผล พรรณนา การศึกษาพบวา่ องค์การบรหิ ารส่วนตาบลจอมศรี และหมู่บา้ นทง้ั 8 หมบู่ า้ น มนี โยบายและเปา้ หมาย ผลการวิจัย การดาเนินการกาจัดขยะ คือ เป็นหมู่บ้าน ตาบล สะอาด ตามนโยบาย “ประเทศไทยไร้ขยะ”ของ สภาพการจดั การขยะของชมุ ชนตาบลจอมศรี กระทรวงมหาดไทย และนโยบาย “จังหวัด ส ภ า พ ก า ร ณ์ ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ ใ น อ ดี ต สะอาด” ของผู้ว่าราชการจังหวัดเลย โดยมีแนว ทางการขับเคลื่อนการดาเนินงานตามแนวทาง ปัจจุบัน และอนาคต ผลการศึกษาพบว่า ในอดีต “ประชารฐั ” ซึง่ เปน็ การระดมความรว่ มมอื จากคน พ้ืนที่ตาบลจอมศรีมีขยะไม่มาก ขยะที่เกิดขึ้นส่วน ในชุมชนและทุกภาคสว่ นขบั เคลอื่ นการดาเนินงาน ใหญ่เป็นขยะในครัวเรือน ซึ่งได้แก่ เศษผัก ใบตอง ไปด้วยกนั โดยยดึ หลัก 3 Rs คอื ลดปรมิ าณการใช้ ใบไม้ เศษอาหาร ซึ่งเป็นขยะที่ย่อยสลายได้ (Reduce) การใช้ประโยชน์ซ้า (Reuse) และการ ครัวเรือนมีถังขยะสาหรับใส่ขยะในครัวหลังละ 1 ดัดแปลงและนากลับมาใช้ประโยชน์ (Recycle) ใบ การจดั การขยะบางหลังคาเรือนทีม่ ีพ้นื ท่ีกวา้ งก็ ท้ังนี้เพอื่ เป้าหมายลดปริมาณขยะในครัวเรอื นและ จะทาหลมุ เทขยะทบ่ี รเิ วณหลังบา้ น ขยะท่ัวไปกจ็ ะ ชุมชน เผากลางแจ้ง หรือนาไปทิ้งตามสวนไร่นาของ ตนเอง ปัจจุบันมีจานวนปริมาณขยะเกิดมากขึ้น รูปแบบจัดการขยะมูลฝอยขององค์การ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลจอมศรีมถี ังขยะแจกจา่ ย บริหารส่วนตาบลจอมศรีในอดีต ผลการศึกษา ไว้กับทุกหลังคาเรือน ทาให้ประชาชนนาขยะจาก พบว่า ในอดีตตาบลจอมศรีมีรูปแบบจัดการขยะ ในครัวมารวมกับขยะต่างๆในครัวเรือนมารวมไว้ท่ี มูลฝอยในครัวเรือน หมู่บ้าน โดยเป็นการจัดการ ถังขยะหน้าบ้านท่ีเพ่ิมมากขึ้น และรอการมาเก็บ ในแต่ละหลังคาเรือนด้วยตนเอง ได้แก่ การเผา รวบรวมไปกาจัด หากวันใดรถเก็บขนขยะเกิดเสีย กลางแจง้ การทาหลุมขยะ นาไปท้ิงในท่ีสาธารณะ หรือเกิดอุบัติเหตุไม่สามารถมาเก็บขยะไปกาจดั ได้ และท่ีส่วนบุคคลต่าง ๆ ต่อมาองค์การบริหารส่วน ก็จะเพิ่มปริมาณขยะอีกเท่าตัว ส่งผลให้เกิดการ ตาบลจอมศรี จึงมีการนารูปแบบการกาจัดขยะใน เน่าเสีย ส่งกล่ินเหม็นราคาญในหมู่บ้านชุมชน หมู่บ้านชุมชนด้วยการจัดเก็บรวบรวมไว้บริเวณ สว่ นในอนาคตมีการคาดการณ์ว่าปริมาณขยะจะมี หน้าบ้านโดยจัดให้มีถังขยะประจาครัวเรือน 128 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ี่ 6 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2563 จากน้ันจึงมีรถเก็บรวบรวมขยะขององค์การ เพื่อเพิ่มมูลค่าของขยะที่คัดแยก เช่น กองทุนขยะ บริหารส่วนตาบลจอมศรีนาไปกาจัดในสถานท่ี เพื่อสวัสดิการในชุมชน การทาปุ๋ยหมักไว้ในใน กาจัดขยะของเทศบาลตาบลเชียงคานเป็นประจา ครัวเรือน ชุมชน การทาส่ิงประดิษฐ์จากขยะ เป็น ทุกวัน ๆ ละครง้ั ตน้ การมีส่วนร่วมในการจัดการขยะของ ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดการ ประชาชนในหมู่บ้านตาบลจอมศรี ผลการศึกษา ขยะมูลฝอยตาบลจอมศรี ผลการศึกษา พบว่า พบว่า ประชาชนในหมู่บ้านของตาบลจอมศรี มี ปัญหาส่วนใหญ่ในการจัดการขยะมูลฝอยในตาบล ส่วนร่วมเพียงในการนาขยะในครัวเรือน เก็บรวม จอมศรี คือ ขาดความร่วมมือและความตระหนัก ใส่ในถงั ขยะท่ีองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลจอมศรีจัด จากประชาชนและผู้ประกอบการในการลดขยะ ให้มากเพมิ่ ขน้ึ และรอการมาเกบ็ รวมไปกาจดั ต่อไป มูลฝอยจากต้นทาง ขาดการบูรณาการอย่าง โดยส่วนใหญ่จะไม่มีการคัดแยกขยะก่อนนามาลง แท้จริงระหว่างหน่วยงานท่ีรับผิดชอบและภาค ในถังเก็บขยะ นอกจากน้ียังพบว่าประชาชนใน ประชาชน มีขยะมูลฝอยตกค้างจานวนมากในช่วง หมู่บ้านยังไม่ได้มีส่วนร่วมในการวางแผนในการ เทศกาลสาคัญ สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยท่ีถูกต้อง จดั การขยะในหมู่บ้าน ตามหลักวิชาการไม่เพียงพอและอยู่ห่างไกลนอก พื้นท่ี ส่วนข้อเสนอแนะ พบว่า ควรสร้างความ แนวทางในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ร่วมมือจากประชาชนในการจัดการขยะตั้งแต่ต้น ตาบลจอมศรี ผลการศึกษา พบว่า ตาบลจอมศรี ทาง ควรมีรูปแบบวิธีการท่ีดีในการจัดการขยะ มีแนวทางในการบริหารจัดการขยะตามแนวทาง และปลูกจิตสานึกในการจัดการขยะแก่ประชาชน ประชารัฐ คือนาภาคราชการ ภาคเอกชน ภาค ตง้ั แตร่ ะดบั เด็กเลก็ ข้นึ ไป การศึกษา ภาคศาสนา ภาคประชาคมและ ประชาชนมาใช้ในการบริหารจัดการขยะ โดยมี การพัฒนารูปแบบการจัดการขยะแบบมีส่วน กรอบการดาเนินงาน 3 ขั้นตอน คือ 1) ต้นน้า ร่วมของชุมชนในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล ได้แก่ การลดปริมาณและคัดแยกขยะมูลฝอย ณ จอมศรี กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ได้นารูปแบบการ แหล่งกาเนิด โดยใช้หลัก ใช้น้อย ใช้ซ้า และนา จดั การขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนที่ได้เห็นชอบ กลับมาใช้ใหม่ 2) กลางน้า ได้แก่ การเพ่ิม ตามท่ีเสนอในการประชุมเชิงปฏิบัติการแล้วไปใช้ ประสิทธิภาพการจัดเก็บขนขยะมูลฝอยของ ในหมู่บา้ นร่วมกันแกนนาชุมชนพัฒนารปู แบบการ องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี และ 3) ปลาย จัดการขยะแบบมสี ่วนร่วม ดังน้ี น้า ได้แก่ การเพ่ิมมูลค่าขยะมูลฝอย มีการจัดต้ัง กองทุนขยะเพื่อสวัสดิการในชุมชน และขยะมูล การลดปริมาณขยะ ผลการศึกษา พบว่า ฝอยได้รับการกาจดั ถกู ต้องตามหลกั วิชาการ องค์การบริหารสว่ นตาบลจอมศรีไดจ้ ัดทาโครงการ ขับเคล่ือนประเทศไทยไร้ขยะตามแนวทางประชา รูปแบบท่ีเหมาะสมในการจัดการขยะของ รัฐตาบลจอมศรี โดยมีกลยุทธ์เป็นชุมชนสะอาด องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี ผลการศึกษา หน้าบ้านน่ามอง มีกิจกรรมการอบรมให้ความรู้ พบวา่ รูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการขยะตาบล เกี่ยวกับการคัดแยกขยะและส่งเสริมการประดิษฐ์ จอมศรี คือ การลดปริมาณขยะ ณ แหล่งกาเนิด ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ า ก วั ส ดุ ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร คั ด แ ย ก ข ย ะ โดยมีการคัดแยกขยะก่อนนาไปกาจัด ทุกคนใน นอกจากน้ี คณะกรรมการแกนนาชุมชน กานัน ครัวเรือนในหมู่บา้ นชุมชนมสี ่วนร่วมในการจดั การ ผใู้ หญบ่ ้าน อสม. มกี ารจัดกจิ กรรมการรณรงค์เพ่ือ ขยะ มีการต่อยอดจากกิจกรรมการคัดแยกขยะ Academic Journal of Community Public Health 129 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 ขอความร่วมมือประชาชนในหมู่บา้ น โดยมีการจัด ขวดแก้วใส เหล็ก โลหะต่าง ๆ กระดาษ เก็บใน ประชุมชาวบ้านเพื่อร่วมกันคิดวางแผนในการลด ภาชนะท่ีจัดเตรียมไว้รอการนาไปจาหน่ายให้กับผู้ ข ย ะ ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ใ น ค รั ว เ รื อ น ห มู่ บ้ า น แ ล ะ ประมูลที่คณะกรรมการกาหนดเดือนละคร้ัง ส่วน ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนลดการใช้ผลิตภัณฑ์ท่ี ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟฟ้า ถ่านไฟฉาย ก่อให้เกิดขยะนามาซึ่งการให้ความร่วมมือในการ ภาชนะบรรจุสารเคมี ฯลฯ มีการนาไปเก็บรวมใน ใชถ้ ุงผ้า หรือตะกร้าใส่ของแทนการใช้ถุงห้ิวในการ ถังที่องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีจัดไว้ให้ตาม ซ้ือของที่ตลาด ใช้ป่ินโตใส่กับข้าวแทนถุงพลาสติก หมู่บ้านต่าง ๆ หมู่บ้านละ 1 จดุ รอการนาไปกาจดั และถุงหิ้ว นาเส้ือผ้าเก่าท่ีไม่ใช้แล้วมาทาผ้าเช็ด ที่ถกู วธิ ีตอ่ ไป เช็ดรถ เช็ดโต๊ะ เช็ดกระจก เป็นต้น ซึ่งเปน็ การนา ขยะส่ิงของเหลือใช้ทจ่ี ะทง้ิ แลว้ นามาใช้ใหม่และใช้ การนากลับมาใช้และกาจัดขยะ ผล ซา้ การศกึ ษา พบว่า การใช้ซ้าส่วนใหญเ่ ป็นขยะท่ัวไป ประเภทเส้ือผ้า โดยมีการนามาซักทาความสะอาด การคัดแยกขยะ ผลการศึกษา พบว่า แล้วนาไปบริจาคต่อ นอกจากน้ียังพบว่ามีการนา อง ค์ ก า รบ ริ ห า รส่ ว น ต า บล จ อ ม ศรี มี ก า ร เส้ือผ้าท่ีใช้แล้วมาใช้ซ้าทาเป็นผ้าเช็ดรถ เช็ด ดาเนินการคัดแยกขยะ โดยมีการคัดแยกขยะเป็น กระจก เช็ดโต๊ะ เก้าอี้ และทาผ้าถูบ้าน การสร้าง ขยะท่ัวไป ขยะเปียก ขยะอันตราย และขยะรี สิ่งประดิษฐ์ พบว่า ในหมู่บ้านนาสีและบ้านศรี ไซเคิล มีการสง่ เสริมสนับสนนุ การจดั กิจกรรมการ พัฒนามีกล่มุ ประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากขยะโดยมีการ จัดการขยะคัดแยกขยะด้วยหลักการเพิ่มมูลค่า นากล่องนมยเู อชทีและกลอ่ งบรรจสุ ุราไปประดิษฐ์ ให้กับขยะ โดยมีการจัดต้ังกองทุนขยะเพื่อ ทาหมวก มีการนาขวดน้าดื่มมาประดิษฐ์เป็น สวัสดิการและการสงเคราะห์กันในหมู่บ้านชุมชน ดอกไม้ แจกัน โคมไฟ นาหลอดน้าหลอดกาแฟมา และมีการทาปุ๋ยหมักปุ๋ยชีวภาพและถังขยะเปียก ประดิษฐ์เป็นกระเป๋าหิ้ว นายางรถยนต์เก่ามาทา ในครัวเรอื น เป็นกระถางปลูกผักสวนครัว นอกจากนี้ยังพบว่า องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีมีการนาขยะ การเกบ็ รวบรวมขยะมูลฝอย ผลการศกึ ษา ประเภทขวด ขวดน้า ท่ีไม่ปิดฝามาทาเป็นวัสดุนา พบว่า องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีได้ร่วมมือ หลุมน้าธนาคารน้าใต้ดินในหมู่บ้าน เป็นการเก็บ กับประชาชนในหมู่บ้านคัดแยกขยะเป็น 4 น้า ป้องกันน้าท่วมขัง ส่วนการนาขยะไปกาจัด ประเภท คือ ขยะท่ัวไป ขยะเปียก ขยะรีไซเคิล พบว่า องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีนาขยะท่ี และขยะอนั ตราย สาหรับขยะทั่วไปซ่ึงมีลักษณะท่ี ผ่านการคัดแยกและการเก็บรวมจากครัวเรือน ย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่าในการนากลับไปใช้ ต่างๆ นาไปกาจัดที่โรงกาจัดขยะเทศบาลตาบล ใหม่ เช่น ห่อพลาสติกใส่ขนม ถุงพลาสติกเป้ือน เชยี งคานโดยมีระยะทาง 25 กโิ ลเมตร เศษอาหาร โฟม ซองบะหมี่ก่ึงสาเร็จรูป นาไปเก็บ รวมในถังขยะท่ีองค์การบริหารส่วนตาบลจัดไว้ให้ การประเมินผลการพัฒนารูปแบบการจัดการ ในแต่ละครัวเรือนรอการขนไปกาจัด ขยะเปียก ขยะในชุมชนแบบมีส่วนร่วมของแกนนาของ ส่ ว น ใ ห ญ่ น า ไ ป เ ก็ บ ร ว ม ที่ ถั ง ข ย ะ เ ปี ย ก ท่ี แ ต่ ล ะ ชุมชน ผลการประเมินการพัฒนารูปแบบการ หลงั คาเรือนจัดทาข้นึ แตม่ สี ่วนหน่งึ ท่นี าขยะเปียก จั ด ก า ร ข ย ะ ใ น ชุ ม ช น กั บ แ ก น น า ชุ ม ช น ที่ เ ป็ น ท่ีเป็นเศษอาหาร เศษผกั ผลไม้ ไปเป็นอาหารสตั ว์ กลุ่มเป้าหมายประชากรศึกษาใน 4 ด้าน พบว่า เป็ด ไก่ และสุกร ขยะรีไซเคิล แต่ละหลังคาเรอื นมี รูปแบบการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมในชุมชน การแยกชนดิ ขยะ เช่น ขวดน้าพลาสติก ขวดแก้วสี 130 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสุขชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบบั ที่ 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 ตาบลจอมศรีนี้เป็นรูปแบบท่ีเกิดประโยชน์ต่อ บริหารส่วนตาบลจอมศรีในการจัดการขยะ เช่น หมู่บ้านชุมชนท้ังในการจัดการขยะ การสร้าง โครงการประเทศไทยไร้ขยะตามแนวทางประชา รายได้ให้ครัวเรือนในการขยะ ตลอดจนการตั้ง รัฐตาบลจอมศรี เช่น มีส่วนร่วมในการลดปริมาณ กองทุนขยะเพื่อสวัสดิการและการสงเคราะห์ซ่ึง ขยะ ร่วมคัดแยกขยะในครัวเรือนประเภทต่างๆ เป็นการดูแลช่วยเหลือกันและกัน เป็นรูปแบบท่ี ร่วมมือในการเก็บรวบรวมขยะ และร่วมในการนา สามารถนาไปใชไ้ ด้จริง มีความเหมาะสมไม่ยงุ่ ยาก กลับมาใช้ซ้าและนาไปกาจัด ส่วนโครงการกองทุน ซับซ้อน สามารถต่อยอดการพฒั นาไปได้อีก และท่ี ขยะเพื่อสวัสดิการและการสงเคราะห์ตาบลจอม สาคัญคือประชาชนในหมู่บ้าน ตลอดจนแกนนา ศรี ร่วมเป็นสมาชิกของกองทุนฯ และปฏิบัติตาม ชุมชน หน่วยงานในภาครัฐ เอกชนในพ้ืนที่ให้มี ระเบียบกองทุน เป็นต้น ซ่ึงในการศึกษาในด้านน้ี สว่ นช่วยในความร่วมมอื ดาเนินการ พบว่าประชาชนและแกนนาให้ความร่วมมือเป็น อยา่ งดี รปู แบบแนวทางในการส่งเสริมให้เกิดการ จัดการขยะแบบมีส่วนร่วมขององค์การบริหาร 3) การมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล ส่วนตาบลจอมศรีท่ีเหมาะสม ผลการศึกษา โดยส่งเสริมให้แกนนาชุมชน ประชาชนเข้ามามี พบว่า รูปแบบในการส่งเสริมให้การจัดการขยะ ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร แบบมีส่วนร่วมในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล ดาเนินงานการจัดการขยะในทุกขั้นตอน ด้วยการ จอมศรี มีรูปแบบการจัดการขยะที่เหมาะสมซึ่ง ตั้งเป็นคณะกรรมการ คณะทางานต่างๆ ทั้งการ ประกอบด้วยดังน้ี ประเมินผลการดาเนินงานโครงการ การประเมิน การดาเนินงานของกองทนุ ขยะเพอ่ื สวัสดิการ และ การมีส่วนร่วมในการจัดการขยะของแกน การติดตามการจัดการขยะอื่น ๆ นาชุมชนและประชาชน การมีส่วนร่วมในการ จัดการขยะในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลจอม 4) การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ ศรี ทเ่ี หมาะสมซงึ่ ประกอบด้วย ส่งเสริมใช้ทุกคนทุกครัวเรือนไดร้ ับผลประโยชนใ์ น การมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ เช่น ได้รับ 1) การมีส่วนร่วมในการวางแผน ซึ่งการ สวัสดิการจากกองทุนขยะฯ ได้แก่ การเสียชีวิต วางแผนไดเ้ ปดิ โอกาสใหป้ ระชาชน ผู้นาชมุ ชน การคลอดบตุ ร ค่ารักษาพยาบาล คา่ สนับสนนุ การ และคณะกรรมการชุมชน เป็นคณะกรรมการการ จัดงานศพปลอดเหล้า ปลอดการพนัน เป็นตน้ จัดการขยะขององค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี โดยเป็นตัวแทนของประชาชนในพ้ืนท่ีเข้าร่วม กลไกขับเคลื่อนการดาเนินงาน การ ป ร ะ ชุ ม เ ว ที ป ร ะ ช า ค ม เ พื่ อ รั บ ท ร า บ น โ ย บ า ย ขับเคล่ือนการดาเนินงานจัดการขยะแบบมีส่วน แนวทาง โครงการหรือกิจกรรมที่องค์การบริหาร รว่ มในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี คณะ ส่วนตาบลจอมศรีจะดาเนินการจัดการขยะ และ ผู้บริหารและทีมแกนนาชุมชนมีการกาหนด ร่วมเสนอแนวทางและข้อคิดเห็นในการจัดการ นโยบาย มีแผนงาน มีการจัดทาโครงการและ ขยะที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนในพ้ืนที่ ใน กิจกรรมที่มีการเป็นการประสานงานกันระหว่าง การศึกษาคร้ังนี้พบว่ามีการมีส่วนร่วมในการ องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีกับประชาชนใน วางแผนยงั ไม่ได้รับความรว่ มมือเท่าทีค่ วร หมู่บ้าน ชุมชน โดยมีผู้นาชุมชนเป็นตัวกลางทา หน้าท่ีเช่ือมประสานการทางานระหว่างองค์การ 2) การมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน การ บริหารส่วนตาบลกับประชาชนในหมู่บ้าน และมี ดาเนินงานโครงการหรอื กิจกรรมขององค์การ การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าร่วมโครงการ Academic Journal of Community Public Health 131 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน – มถิ ุนายน 2563 กิจกรรมต่าง ๆ ผ่านหอกระจายข่าวในหมู่บ้าน อาหารสัตว์ ขยะท่ัวไปท่ีเป็นขยะรีไซเคิลสามรถ ชุมชน ตลอดจนผ่านช่องทางต่าง ๆ เพื่อให้ น า ไ ป จ า ห น่ า ย ไ ด้ น อ ก จ า ก น้ี ยั ง ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างสะดวกและ ประชาชนนาขยะอันตรายมาเก็บรวมในจุดท่ีอยู่ใน รวดเร็ว นอกจากน้ี การต้ังคณะกรรมการ หมูบ่ ้าน รอการนาไปกาจัดตอ่ ไป คณะทางานต่างๆ ในการช่วยขับเคล่ือนการ จัดการขยะแบบมีส่วนร่วมในเขตองค์การบริหาร 3) การเก็บรวมขยะ การเก็บรวบรวมและ ส่วนตาบลจอมศรี จึงสามารถขับเคลื่อนการ ขนส่งขยะในเขตพ้ืนท่ีองค์การบริหารส่วนตาบล ดาเนนิ งานไดส้ ะดวก รวดเร็วขึ้น จอมศรี จะมีพนักงานและรถบรรทุกเก็บขยะที่ สามารถออกเก็บขนขยะทุกวัน และใช้การเก็บ รูปแบบแนวทางในการจัดการขยะแบบมี ขยะจากบ้านของประชาชนโดยตรง ซึ่งเป็นขยะที่ ส่วนรว่ มขององค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรที ่ี คัดแยกแล้วและไม่สามารถใช้ประโยชน์หรือซื้อ เหมาะสม รูปแบบแนวทางในการส่งเสริมให้เกิด ขายได้ การจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมขององค์การบริหาร ส่วนตาบลจอมศรีที่เหมาะสม ประกอบด้วย 4) การนากลับมาใช้และนาไปกาจัด องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีเน้นการนาขยะ 1) การลดปริมาณขยะในครัวเรือเรือนและ มูลฝอยท่ีแต่ละครัวเรือนได้คัดแยกแล้วมาแปรรูป แหล่งกาเนิดขยะ โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ให้เกิดประโยชน์ มีการจัดอบรมให้ความรู้ในการ ให้ประชาชนได้รับความรู้เร่ืองการจัดการขยะจาก แปรรูปขยะ สร้างสิ่งประดิษฐ์จากขยะ โดยขยะ บ้านเรือน องค์การบริหารส่วนตาบลจัดอบรมให้ อินทรีย์เศษอาหาร เศษผัก นาไปทาเป็นปุ๋ยหมัก ความรู้แก่ประชาชนในการลดการเกิดขยะใน และนามาใช้เป็นอาหารสัตว์ หรือนาไปหมักเป็น ครัวเรือนชุมชน ลดการนาขยะทุกชนิดเข้าใน ปุ๋ยหมัก นาไปหมักทาน้าจุลินทรีย์สาหรับเป็นปุ๋ย ครัวเรือน เช่น ลดการใช้ถุงหิ้ว ถุงพลาสติก โฟม น้าบารุงพืช บารุงดิน และใช้บาบัดน้าเสีย ส่วนท่ี และอ่ืนๆส่งเสริมการใช้วัสดุท่ีย่อยสลายได้ง่าย ใชป้ ระโยชนไ์ ม่ได้จะนาส่งไปกาจดั ทอี่ น่ื ตอ่ ไป เพือ่ ลดปรมิ าณขยะทีป่ ระชาชนนาออกมาทง้ิ สรุปผลและอภปิ รายผลการวิจัย 2) การคัดแยกขยะ องค์การบริหารส่วน ตาบลจอมศรีได้จัดทาโครงการเพื่อส่งเสริมการคัด 1. สภาพการจัดการขยะของชมุ ชน แยกขยะ โดยการจัดต้ังกองทุนขยะเพ่ือสวัสดิการ ก า ร ศึ ก ษ า ส ภ า พ ปั ญ ห า ข ย ะ มู ล ใ น พ้ื น ท่ี ที่บริหารกองทุนโดยคณะกรรมการกองทุนท่ีมา จากผูแ้ ทนชาวบ้าน มกี ารรณรงคป์ ระชาสัมพนั ธ์ให้ ตาบลจอมศรี พบว่า ในอดีตขยะท่ีเกิดขึ้นเป็นขยะ ประชาชนได้รับความรู้เรื่องการคัดแยกขยะจาก ในครัวเรือนเปน็ ส่วนใหญ่ โดยเปน็ ขยะพวกเศษผัก บ้านเรือน จัดส่งเจ้าหน้าท่ีลงพื้นที่เพ่ือให้ความรู้ ใบตอง ใบไม้ เศษอาหาร ซึ่งเป็นขยะที่ย่อยสลาย และข้อมูลต่าง ๆ กับประชาชนโดยตรง การ ได้ และมีจานวนไม่มาก ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะยังใช้ รณรงค์ประชาสัมพันธ์ผ่านทางผู้นาชุมชนแต่ละ วิถีชีวิตที่เรียบง่ายและยังไม่มีความเจริญทาง หมูบ่ ้าน และเสยี งตามสายในหมบู่ ้าน มีการจดั เวที เทคโนโลยีต่าง ๆ โดยครัวเรือนมีถังขยะสาหรับใส่ ประชาคม การแต่งต้ังคณะกรรมการ คณะทางาน ขยะในครัวหลังคาเรือนละใบ ไม่มีการคัดแยกขยะ การจัดทาบันทึกข้อตกลงดาเนินการ ขยะที่คัด ท้ิงทุกอย่างรวมกันในถังขยะใบเดียว บางหลังคา แยกแล้ว ขยะท่ัวไปประเภทขยะอินทรีย์สามารถ เรือนที่มีพื้นที่กว้างก็จะทาหลุมขยะเปียกที่บริเวณ นามากาจัดด้วยวิธีการหมักทาปุ๋ย และใช้เป็น หลังบ้าน ขยะท่ัวไปส่วนใหญ่จะเผากลางแจ้ง 132 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวิชาการสาธารณสุขชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบบั ที่ 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 หรือไม่ก็นาไปท้ิงในท่ีสาธารณะประโยชน์ของ จานวนขยะมูลฝอยมีปริมาณมากเนื่องจากความ หมู่บ้าน หรือนาไปทิ้งตามท่ีสวนไร่นาของตนเอง หนาแน่นของประชาชนในพ้ืนท่ีท่ีเพิ่มขึ้นอย่าง สอดคล้องกับยุวัลดา ชูรักษ์ และคณะ3 ที่พบว่า รวดเร็ว โดยแหล่งกาเนิดขยะที่มีปริมาณมากท่ีสุด ประชาชนยังไม่ได้มีการคัดแยกขยะมูลฝอยใน มาจากครัวเรือน โรงงาน และบริษัทห้างร้าน ครัวเรือนก่อนจะนาไปท้ิง ซึ่งส่วนใหญ่จะนาไปท้ิง ดังน้ันจึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงในการแสวงหา ในสวนหลังบ้าน เผากลางแจ้ง ฝัง หรือไม่ก็นาไป ความร่วมมือจากประชาชนในครัวเรือนในการลด ทิ้งในพื้นท่ีอ่ืน ในปัจจุบันมีความเจริญเติบโตใน จานวนปริมาณขยะใหล้ ดลง พ้ืนท่ีมากข้ึน มีประชากรเพิ่มจานวนมากขึ้นส่งผล ทาให้มีจานวนขยะเพ่ิมมากข้ึนด้วย อีกท้ังองค์การ นโยบายและเป้าหมายการดาเนินงาน บริหารส่วนตาบลจอมศรีมีถังขยะแจกจ่ายไว้กับ จัดการขยะองค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี ทุกหลังคาเรือน ทาให้ประชาชนมีความสะดวกใน พบว่า องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีและ การนาขยะจากในครัวมารวมกับขยะต่างๆมารวม หมู่บ้านทั้ง 8 แห่งมีนโยบายและเป้าหมายการ ไว้ที่ถังขยะหน้าบ้านที่เพ่ิมมากข้ึน จึงทาให้มี ดาเนินการกาจัดขยะที่ชัดเจนร่วมกันท้ังท้องถ่ิน ปริมาณขยะมากถึงวันละ 3 ตันต่อวัน ซึ่งหากวัน และท้องที่ คือ เป็นหมู่บ้าน ตาบลสะอาด ตาม ใ ด ร ถ เ ก็ บ ข น ข ย ะ เ กิ ด เ สี ย ห รื อ เ กิ ด ขั ด ข้ อ ง ไ ม่ น โ ย บ า ย “ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ไ ร้ ข ย ะ ” ข อ ง สามารถมาเก็บขยะไปกาจัดได้ ก็จะเพิ่มปริมาณ กระทรวงมหาดไทย และนโยบาย “จังหวัด ขยะอีกเท่าตัว ส่งผลให้เกิดการเน่าเสีย ส่งกล่ิน สะอาด” ของผู้ว่าราชการจังหวัดเลย โดยมีแนว เหม็นราคาญในหมู่บ้านชุมชน ส่วนในอนาคตมี ทางการขับเคลื่อนการดาเนินงานตามแนวทาง การวิเคราะห์และคาดการณ์ว่า ปริมาณขยะจะย่ิง “ประชารัฐ” ซ่งึ เปน็ การระดมความร่วมมือจากคน จะเพิ่มจานวนมากข้ึนหากไม่มีการจัดการขยะที่ ในชุมชนและทุกภาคส่วนขบั เคลอื่ นการดาเนินงาน เป็นรูปแบบที่เหมาะสมกับหมู่บ้านชุมชนจะทาให้ ไปด้วยกนั โดยใช้หลัก 3 Rs คอื ลดปริมาณการใช้ เกิดปัญหาขยะล้นพื้นท่ี และองค์การบริหารส่วน (Reduce) การใช้ประโยชน์ซ้า (Reuse) และการ ตาบลจอมศรีตอ้ งมคี า่ ใช้จ่ายในการจัดเกบ็ และการ ดั ด แ ป ล ง แ ล ะ น า กลั บ มา ใช้ ป ร ะโ ย ช น์ ( Recycle) กาจัดขยะเพิ่มมากข้ึนด้วย สอดคล้องกับศุภรินทร์ ทั้งน้ีเพื่อเป้าหมายลดการเกิดปริมาณขยะใน อนุตธโต และคณะ4 ท่ีพบว่าพื้นที่เทศบาลตาบล ครัวเรือนและชุมชน จึงเป็นแบบอย่างท่ีดีท่ีควร หนองควายยังคงมีปัญหาปริมาณขยะมูลฝอย นาไปขยายในท้องทแ่ี ละท้องถิน่ อนื่ ๆ ตอ่ ไป จานวนมากขึ้น เทศบาลต้องแบกรับค่าใช้จ่ายใน การจัดเก็บและกาจัดขยะที่สูงขึ้น ดังน้ันจึงควรมี รู ป แ บ บ ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ข อ ง มาตรการหรือแนวทางในการจัดการขยะใน องค์การบริหารสว่ นตาบลจอมศรี ที่ผ่านมา พบว่า รูปแบบที่เหมาะสมและได้รับความร่วมมืออย่างดี รู ป แ บ บ ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ใ น ค รั ว เ รื อ น จากคนในหมู่บา้ นชมุ ชน หมู่บ้านและชุมชนจะจัดการในแต่ละหลังคาเรือน กันเองซ่ึงเป็นไปตามสภาพบริบทของพื้นท่ีตาบล แหล่งกาเนิดขยะมูลฝอยในพ้ืนที่ตาบลจอม จอมศรี ได้แก่ การเผากลางแจ้ง การทาหลุมขยะ ศรี พบว่า มาจากแหล่งขยะในครัวเรือนมากที่สุด การนาไปทิ้งในท่ีสาธารณะ และท่ีส่วนบคุ คลต่างๆ รองลงมาคือ ตลาดสด ร้านค้า สถานประกอบการ นอกจากน้ียังพบว่าประชาชนทิ้งขยะไม่เป็นท่ีอีก หน่วยงานราชการ โรงเรียน และศาสนสถาน ด้วย ทั้งนี้อาจเป็นเพราะมีความมักง่าย ไม่มี สอดคล้องกับทวิ า ประสุวรรณ และคณะ5 ที่พบว่า ระเบียบวินัยและไม่ตระหนักถึงความสกปรกท่ีจะ เกิดข้ึนสอดคล้องกับอารีย์ พลภูเมือง และคณะ6 Academic Journal of Community Public Health 133 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสุขชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มิถุนายน 2563 ท่ีพบว่า ประชาชนมีความมักง่ายทากิจกรรมท่ี ประเมินผลตรวจสอบ และร่วมรับผลประโยชน์ ก่อให้เกิดขยะมูลฝอยและเก็บไม่เป็นท่ี ต่อมา และการรับผดิ ชอบในผลทีเ่ กิดขน้ึ ร่วมกนั องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีมีการนารูปแบบ การกาจัดขยะโดยการส่งต่อไปกาจัดที่อื่นด้วย แนวทางในการบริหารจดั การขยะมูลฝอย วิธีการเก็บรวมขยะไว้ในถังขยะท่ีองค์การบริหาร ตาบลจอมศรี พบว่า ตาบลจอมศรีมีแนวทางใน สว่ นตาบลจอมศรแี จกให้ทุกหลังคาเรือน แลว้ มีรถ การบริหารจัดการขยะตามแนวทางประชารัฐ คือ เก็บขยะจากองค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี นาภาคราชการ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา นาไปกาจัดต่อที่สถานกาจัดขยะเทศบาลตาบล ศาสนา ภาคประชาคมและประชาชนมาใช้ในการ เชียงคาน ซ่ึงยังเป็นรูปแบบท่ีไม่ครบถ้วนตาม บริหารจัดการขยะ โดยมีกรอบการดาเนินงาน 3 กระบวนข้ันตอนการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมท่ีมี ข้ันตอน คือ 1) ต้นน้า ได้แก่ การลดปริมาณและ ประสิทธิภาพ ดังน้ันจึงควรมีรูปแบบการจัดการ คัดแยกขยะมูลฝอย ณ แหล่งกาเนิดโดยใช้หลกั ใช้ ขยะท่ีมีส่วนร่วมจากชุมชนในการลดจานวนขยะ น้อย ใช้ซ้า และนากลับมาใช้ใหม่ 2) กลางน้า การคัดแยกขยะ การเก็บรวบรวมขยะ การนา ได้แก่ การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดเก็บขนขยะมูล กลบั ไปใชใ้ หม่และการกาจัดขยะมาใชต้ ่อไป ฝอยขององค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี และ 3) ปลายน้า ได้แก่ การเพิ่มมูลค่าขยะมูลฝอยและ การมีส่วนร่วมในการจัดการขยะของ ขยะมูลฝอยได้รับการกาจัดถูกต้องตามหลัก ประชาชนในตาบลจอมศรี ท่ีผ่านมาพบว่า วชิ าการ ทงั้ นอ้ี าจเปน็ เพราะเป็นแนวทางท่ีดีท่ีจะมี ประชาชนมีส่วนร่วมเพียงในการปฏบิ ัติด้วยการนา ส่วนร่วมกันกับทุกภาคส่วน ซ่ึงอาจส่งผลให้เกิด ขยะในครัวเรือนมาเก็บรวมใส่ในถังขยะท่ีองค์การ เป็นแนวทางการจัดการขยะที่ย่ังยืนได้ สอดคล้อง บริหารส่วนตาบลจอมศรีจัดให้มากเพิ่มข้ึนและรอ กับฮารูน มูหมัดอาลี8 ท่ีศึกษารูปแบบการจัดการ การมาเก็บรวมไปกาจัดต่อไปเท่าน้ัน โดยสว่ นใหญ่ ขยะมูลฝอยในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร พบว่า จะไม่มีการคัดแยกขยะก่อนนามาลงในถังเก็บขยะ ปัจจุบันกรุงเทพมหานครมีแนวทางนโยบายการ และประชาชนในหมู่บ้านยังไม่ได้มีส่วนร่วมในการ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ใ น พ้ื น ท่ี จัดการขยะทั้งในด้านการวางแผนในการจัดการ กรุงเทพมหานคร โดยมีการเร่งพัฒนาเน้นการมี ขยะในหมู่บ้าน ท้ังนี้อาจเป็นเพราะมีความเข้าใจ ส่วนร่วมของประชาชนในการลด และคัดแยกขยะ คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการจัดการขยะโดยมองว่า มูลฝอยให้นาไปใช้ประโยชน์ได้ มีหลักการ 3Rs เป็นหน้าท่ีของท้องถิ่นในการจัดการขยะจึงไม่ได้ (ลดปริมาณการใช้ (Reduce) การใช้ประโยชน์ซ้า เ ข้ า ไ ป มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ทุ ก ขั้ น ต อ น ก ร ะ บ ว น ก า ร (Reuse) และการดัดแปลงและนากลับมาใช้ สอดคล้องกับยุวัลดา ชูรักษ์ และคณะ(3)ที่พบว่า ประโยชน์ (Recycle) ดังน้ันจึงควรส่งเสริมให้เกิด ประชาชนในหมู่บ้านยังไม่มีโอกาสในการเข้ามามี การบริหารจัดการขยะตามแนวทางประชารัฐท่ี ส่วนร่วมในการจัดการขยะชุมชน และสอดคล้อง เน้นการมสี ่วนร่วมจากทุกภาคส่วนต่อไป กับจันทร์เพ็ญ มีนคร7 ท่ีพบว่า ประชาชนในพื้นที่ ไม่มีส่วนร่วมในการคิดวางแผนในกิจกรรมหรือ รปู แบบที่เหมาะสมในการจดั การขยะของ โครงการ ดังน้ันจึงควรส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วน องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี พบว่า รูปแบบท่ี ร่วมในการจัดการขยะในทุกขั้นตอนกิจกรรมทั้ง เหมาะสมในการจัดการขยะ คือ การลดปริมาณ การวางแผน การ่วมลงมือปฏิบัติ การติดตาม ขยะ ณ แหล่งกาเนิดขยะ โดยมีการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ ก่อให้เกิดขยะด้วยการใช้น้อย ใช้ซ้า และนา 134 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2563 กลับมาใช้ใหม่ การคัดแยกขยะโดยการรณรงค์ ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดการ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับความรู้เรื่องการ ขยะมูลฝอย พบว่า ปัญหาส่วนใหญ่ในตาบลจอม คัดแยกขยะจากบา้ นเรือน ส่งเสริมใหม้ ีการคัดแยก ศรี คือ ขาดความร่วมมือและความตระหนักจาก ขยะและสร้างมูลค่าขยะดว้ ยการจัดต้ังกองทุนขยะ ประชาชนและผู้ประกอบการในการลดขยะมูล เพื่อสวัสดิการในชุมชนซึ่งเป็นการดูแลช่วยเหลือ ฝอย ณ จุดกาเนดิ ขาดการบรู ณาการอย่างแท้จริง ซ่ึงกันและกันต้ังแต่เกิดจนถึงเสียชีวิต มีการนา ระหว่างหน่วยงานท่ีรับผิดชอบและภาคประชาชน ขยะเปียกกาจัดในถังขยะเปียกหรือทาปุ๋ยหมักปุ๋ย มีขยะมูลฝอยตกค้างจานวนมากในช่วงเทศกาล ชีวภาพ การเก็บรวบรวมขยะ โดยการเกบ็ รวมขยะ สาคัญ สถานท่ีกาจดั ขยะมูลฝอยท่ีถูกต้องตามหลัก ที่คัดแยกแล้ว ซึ่งขยะทั่วไปแยกจากขยะอันตราย วิชาการไม่เพียงพอและอยู่ห่างไกลนอกพื้นที่ ส่วน เก็บในถังขยะท่ีจัดไว้ให้และรอการนาไปกาจัด ข้อเสนอแนะ พบว่า ควรสร้างความร่วมมือจาก ต่อไป ส่วนการนากลับมาใช้และกาจัดขยะโดยมี ประชาชนในการจัดการขยะต้ังแต่ต้นทาง ควรมี การรณรงค์นาไปใช้ซ้า สร้างส่ิงประดิษฐ์จากขยะ รูปแบบวิธีการท่ีดีในการจัดการขยะ และปลูก สาหรับขยะท่ีไม่สามารถใช้ซ้าหรือไม่ก่อเกิด จิตสานึกในการจัดการขยะแก่ประชาชนต้ังแต่ ประโยชน์แล้วรอนาขยะไปกาจัดต่อไป สอดคล้อง ระดับเด็กเล็กขึ้นไป สอดคล้องกับยุวัลดา ชูรักษ์ กับสุริยะ หาญพิชัยและจันทร์ฉาย จันทร์ลา9 ท่ี และคณะ3 พบว่า ชุมชนยังไม่ให้ความร่วมมือ พบว่า รูปแบบการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมที่ ประชาชนในชุมชนขาดความตระหนกั และยังไม่มี เหมาะสม ประกอบด้วยการลดปริมาณการเกิด โอกาสในการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะ ขยะ ซ่ึงต้องมีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ ชมุ ชน ดังนน้ั องค์การบริหารสว่ นตาบลจอมศรีควร ประชาชนลดการใช้ผลิตภณั ฑ์ทีก่ อ่ ใหเ้ กิดขยะ การ มีรูปแบบวิธีการที่สามารถสร้างหรือแสวงหาความ คัดแยกขยะ โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ รว่ มมือจากประชาชนในการจัดการขยะ ตลอดจน ประชาชนได้รับความรู้เรื่องการคัดแยกขยะจาก มีการบูรณาการกับทุกภาคส่วนในการจัดการขยะ บ้านเรือน การเก็บรวบรวมขยะ ซ่ึงการเก็บ และสร้างความย่ังยืนให้ชุมชนสามารถจัดการ รวบรวมและขนส่งขยะเป็นหน้าที่ของเทศบาลท่ี ปัญหาขยะด้วยตนเอง สามารถออกเก็บขนขยะทุกวัน การนากลับมาใช้/ กาจัดขยะ เน้นการนาขยะมูลฝอยที่เทศบาลเก็บ การพัฒนารูปแบบการจัดการขยะแบบ ขนได้มาคัดแยกขยะอินทรีย์ออกจากขยะทั่วไป มีส่วนร่วมของชุมชนในเขตองค์การบริหารส่วน เพื่อนาขยะอินทรยี ์มาแปรรูปให้เกิดประโยชน์ โดย ตาบลจอมศรี การพัฒนารูปแบบการให้ประชาชน นาไปทาเป็นปุ๋ยหมักและเศษอาหาร เศษผัก มสี ่วนร่วมในการจัดการขยะในเขตองค์การบรหิ าร นามาใช้เป็นอาหารสัตว์ หรือนาไปหมักเป็นปุ๋ย ส่วนตาบลจอมศรีในการลดปริมาณขยะ มีการ หมัก นาไปหมักทาน้าจุลินทรีย์สาหรับบาบัดของ จัดทาโครงการขับเคลื่อนประเทศไทยไร้ขยะตาม เสีย ดังน้ันการสร้างความร่วมมือจากประชาชนใน แนวทางประชารัฐตาบลจอมศรี โดยมีกลยุทธ์เป็น การลดปริมาณขยะ ณ แหล่งกาเนิดขยะ การคัด ชุมชนสะอาด หน้าบ้านน่ามอง มีกิจกรรมให้ แยกขยะ การเก็บรวบรวมขยะ และการนากลับไป เ จ้ า ห น้ า ท่ี เ ข้ า ไ ป ด า เ นิ น ก า ร อ บ ร ม ใ ห้ ค ว า ม รู้ ใ ช้ ใ ห ม่ แ ล ะ ก า ร ก า จั ด ข ย ะ จึ ง เ ป็ น รู ป แ บ บ ที่ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ การจัดตั้งกองทุนขยะ เหมาะสมที่ควรมีการขยายสู่หมู่บ้านชุมชนอ่ืนๆ เพ่ือสวัสดกิ าร การทาถังขยะเปียก การทาปุ๋ยหมัก ต่อไป น้าหมักชีวภาพจากขยะเปียก และส่งเสริมการ ประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท่ีได้จากการคัดแยก Academic Journal of Community Public Health 135 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวชิ าการสาธารณสุขชมุ ชน ปที ี่ 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2563 ขยะ ท้ังนี้อาจเป็นเพราะผู้บริหารและแกนนา อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต า บ ล จั ด ไ ว้ ใ ห้ ใ น แ ต่ ล ะ ชมุ ชนได้ใหค้ วามสาคญั และตระหนกั ถงึ ปญั หาขยะ ครัวเรือนรอการขนไปกาจัด ขยะเปียกส่วนใหญ่ จึงได้กาหนดนโยบายการจัดการขยะท่ีจะลด นาไปเก็บรวมที่ถังขยะเปียกที่แต่ละหลังคาเรือน ปริมาณขยะลง โดยการพัฒนารูปแบบการจัดการ จัดทาข้ึน แต่มีส่วนหน่ึงท่ีนาขยะเปียกที่เป็นเศษ ขยะที่ประกอบด้วยการลดปริมาณขยะ การคัด อาหาร เศษผัก ผลไม้ ไปเป็นอาหารสัตว์ เป็ด ไก่ แยกขยะ การเกบ็ รวมขยะและการนาไปใช้ซ้าและ และสุกร ขยะรีไซเคิล แต่ละหลังคาเรือนมีการ กาจัด สอดคล้องกับวชิรวิชญ์ วรชิษณุพงศ์10 ท่ี แยกชนิดขยะ เช่น ขวดน้าพลาสติก ขวดแก้วสี พบว่า รูปแบบการคัดแยกขยะครบวงจร คือ การ ขวดแก้วใส เหล็ก โลหะต่าง ๆ กระดาษ เก็บใน ลดปริมาณขยะที่อาจเกิดข้ึน การใช้ซ้า นาขยะมา ภาชนะที่จัดเตรียมไว้รอการนาไปจาหน่ายให้กับผู้ ใช้ใหม่ องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีได้พัฒนา ประมูลท่ีคณะกรรมการกาหนดเดือนละครั้ง ส่วน รูปแบบการจัดการขยะโดยใช้หลักการเพิ่มมูลค่า ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟฟ้า ถ่านไฟฉาย ให้กับขยะ มีการจัดต้ังกองทุนขยะเพ่ือสวัสดิการ ภาชนะบรรจุสารเคมี ฯลฯ มีการนาไปเก็บรวมใน และการสงเคราะห์กันในหมู่บ้านชุมชน และมีการ ถงั ที่องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีจัดไว้ให้ตาม ทาปุ๋ยหมักป๋ยุ ชีวภาพและถงั ขยะเปียกในครัวเรอื น หมู่บ้านต่างๆ หมู่บ้านละ 1 จุดรอการนาไปกาจัด มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานด้านการ ท่ีถูกวิธีต่อไป ซึงเป็นไปตามที่กรมควบคุมมลพิษ บริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน มีการประชุม แนะนา ส่วนการนากลับมาใช้และกาจัดขยะใน ประชุมแกนนาหมู่บ้านในการจัดทาแผนการตั้ง ตาบลจอมศรี พบว่าส่วนใหญ่เป็นขยะท่ัวไป กองทุนและแผนการปฏิบัติงาน การศึกษาดูงาน ประเภทเส้ือผ้า โดยมีการนามาซักทาความสะอาด การจัดเวทีประชาคมรับฟังความคิดเห็นเพื่อ แล้วนาไปบริจาคต่อ ทาเป็นผ้าเช็ดรถ เช็ดกระจก ร่วมกันจัดการขยะ เสริมสร้างความรู้ในวิธีการ เช็ดโต๊ะ เก้าอี้ และทาผ้าถูบ้าน สาหรับการสร้าง บรหิ ารจัดการคัดแยกขยะ การจัดจาหนา่ ย การทา สง่ิ ประดิษฐ์ มีกลมุ่ ประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากขยะโดย เป็นกิจการของกองทุน รวมทั้งการสร้างจิตสานึก มีการนากล่องนมยูเอชทีและกล่องบรรจุสุราไป ในการลดปริมาณและคัดแยกขยะ มีการจัดทา ประดิษฐ์ทาหมวก มีการนาขวดน้าด่ืมมาประดิษฐ์ บั น ทึ ก ข้ อ ต ก ล ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง อ ง ค์ ก า ร เป็นดอกไม้ แจกัน โคมไฟ นาหลอดน้าหลอด บริหารส่วนตาบลจอมศรีกับประชาชนในพ้ืนที่ กาแฟมาประดิษฐ์เป็นกระเป๋าห้ิว นายางรถยนต์ สอดคล้องกับวิชญาพัลส์ ไชยสมบัติและคณะ11 ท่ี เก่ามาทาเป็นกระถางปลูกผักสวนครัว ท้ังนี้ได้รับ พบว่า การส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม การสนับสนุนจากงานพฒั นาชุมชนองค์การบริหาร ในบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทุก ส่วนตาบลจอมศรี จึงช่วยขับเคลื่อนการสร้าง ขั้นตอน ส่งเสริมให้เกิดกองทุนรับซ้ือขยะรีไซเคิล สิ่งประดิษฐ์และนากลับมาใช้ใหม่ได้ นอกจากน้ียัง หรือแลกเปล่ียนขยะในชุมชน มีกิจกรรมสร้าง พบว่าองค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีมีการนา มูลค่าเพิ่มจากเศษวัสดุเหลือใช้ การแปรรูปขยะ ขยะประเภทขวด ขวดนา้ ที่ไม่ปิดฝามาทาเปน็ วัสดุ และมกี ารสร้างข้อตกลงร่วมกนั (MOU) ของชมุ ชน นาหลุมน้าธนาคารน้าใต้ดินในหมู่บ้าน เป็นการ เป็นรูปแบบแนวทางปฏิบัติที่สามารถนามาพัฒนา เก็บน้า ป้องกันน้าท่วมขัง ซึ่งเป็นแนวคิดและ ได้ การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย พบว่า ขยะทั่วไป นโยบายของนายกองค์การบริหารส่วนตาบลจอม ซึ่งมีลักษณะที่ย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่าในการ ศรี ส่วนการนาขยะไปกาจัดน้ันองค์การบริหาร นากลับไปใช้ใหม่ นาไปเก็บรวมในถังขยะท่ี ส่วนตาบลจอมศรีนาขยะท่ีผ่านการคัดแยกและ 136 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มิถุนายน 2563 การเก็บรวมจากครัวเรือนต่าง ๆ นาไปกาจัดท่ีโรง กาจัดต่อที่อ่ืนได้ รูปแบบนี้มีการดาเนินงานไม่มี กาจัดขยะเทศบาลตาบลเชียงคาน ความยุ่งยากซับซ้อน เพียงแต่มีผู้นาหรือแกนนาใน ก า ร ด า เ นิ น ง า น ที่ ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ จากทีก่ ล่าวมาขา้ งต้นจะเหน็ ได้วา่ องคก์ าร ประชาชนในชุมชนที่ดี เป็นรูปแบบท่ีเป็นไปตาม บริหารส่วนตาบลจอมศรีและผู้นาทอ้ งถ่ินตลอดจน หลักการของการบริหารจัดการขยะในการลด แกนนาชุมชนต่าง ๆ มีความพยายามที่จะพัฒนา ปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ การเก็บรวมขยะ รูปแบบการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชน และการนากลับมาใช้และนาไปกาจัด ทั้งยัง อย่างจริงจัง ซึ่งจะเห็นได้จากการจัดกิจกรรมต่อ ดาเนินการได้สะดวกท่ีแต่ละคนในแต่ละครัวเรือน ยอดจากการคัดแยกขยะที่นามาสร้างรายได้ด้วย หมู่บ้านชุมชน สถานท่ีราชการและวัดสามารถนา การจาหน่ายขยะและการจัดต้ังกองทุนขยะเพื่อ รปู แบบการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมน้ีไป สวัสดิการสงเคราะห์กันในชุมชนเอง นอกจากน้ี ใช้ได้ สอดคล้องกับนงกต สวัสดิชิตัง และคณะ12 การเพิ่มมูลค่าของขยะท่ีคัดแยกแล้วนามาสร้าง ที่ศึกษาการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะมูลฝอย เป็นสิ่งประดิษฐ์ของใช้ต่าง ๆ หรือการทาปุ๋ยหมัก ของชุมชนในเขตเทศบาลนครอุดรธานี พบว่า ผู้ ปุ๋ยชีวภาพส่งผลให้เกิดรายได้และลดค่าใช้จ่ายใน ทดลองใช้รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยเห็นว่า ครัวอีกทางหนึ่งด้วย ดังน้ันจึงควรท่ีจะนาการ รูปแบบมีประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความ พัฒนารูปแบบการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมด้วย เหมาะสมและความถูกต้อง สามารถนาไปใช้ได้ใน การลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ การเก็บรวม สถานการณจ์ รงิ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องจะตอ้ งเข้ามา ขยะ การนากลับไปใช้ใหม่และการกาจัดขยะไป มีบทบาทมสี ่วนรว่ มกับชมุ ชน พฒั นาตอ่ ยอดกิจกรรมในชุมชนตา่ ง ๆ ตอ่ ไปได้อกี แนวทางในการส่งเสริมให้เกิดการจัดการ การประเมินผลการพัฒนารูปแบบการ ขยะแบบมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วน จัดการขยะในชุมชนแบบมีส่วนร่วมของแกนนา ตาบลจอมศรีที่เหมาะสม จากผลการศกึ ษา พบว่า ของชุมชน ผลการประเมนิ การพฒั นารูปแบบการ รูปแบบในการส่งเสริมให้การจัดการขยะแบบมี จดั การขยะในชมุ ชนที่ประกอบด้วยการลดปริมาณ ส่วนร่วมในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี ขยะ การคัดแยกขยะ การเก็บรวมขยะ และการ มี รู ป แ บ บ ก า ร จั ด ก า ร ข ย ะ ที่ เ ห ม า ะ ส ม ซึ่ ง การนากลับมาใชแ้ ละนาไปกาจัด พบวา่ เปน็ รแู บบ ประกอบดว้ ย ที่มีประโยชน์ มีความเป็นไปได้ มีความเหมาะสม ต่อพ้ืนที่ และประชาชนมีส่วนร่วมต่อการจัดการ 1) การมีส่วนร่วมในการจัดการขยะของ ขยะในหมู่บ้านชุมชนเป็นอย่างย่ิง เพราะเป็นการ แกนนาชุมชนและประชาชน การมีส่วนร่วมของ จัดการท่ีสามารถลดปริมาณขยะในครัวเรือน แกนนาชุมชนและประชาชน ถือเป็นหัวใจหลัก หมู่บ้านชุมชนลงได้ ทาให้หมู่บ้านมีความสะอาด ของการดาเนินงานทุกอย่างในชุมชน โดยการมี สวยงามน่าอยู่ นอกจากน้ีการคัดแยกขยะยังมี ส่วนร่วมในเร่ิมต้ังแต่ร่วมการวางแผน ร่วมคิดร่วม ประโยชน์ท่ีสามารถนาขยะไปขายเป็นเงินเข้า ตัดสินใจที่จะดาเนินการต่าง ๆ องค์การบริหาร ครอบครัวและกลุ่มสวัสดิการเพ่ือการสงเคราะห์ ส่ ว น ต า บ ล จ อ ม ศ รี ไ ด้ เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ ผู้ น า ชุ ม ช น ช่วยเหลือดูแลกันได้ สามารถนาขยะมาแปรรูป ประช าชน และคณะกรรมการชุมช นเป็น เพ่ิมมูลค่าได้ เชน่ ทาปุ๋ยหมกั น้าหมักชวี ภาพ การ คณะกรรมการการจัดการขยะในพื้นท่ีเอง โดยเริ่ม ประดิษฐ์ส่ิงของต่าง ๆ และท่ีสาคัญ คือ สามารถ ต้ังแต่การร่วมประชุมเวทีประชาคมเพื่อรับทราบ ลดปริมาณขยะและค่าใช้จ่ายในการนาขยะไป นโยบาย แนวทาง โครงการหรือกิจกรรมทอ่ี งคก์ าร Academic Journal of Community Public Health 137 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวิชาการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2563 บริหารส่วนตาบลจอมศรีจะดาเนินการจัดการขยะ คณะกรรมการส่วนใหญ่ยังไม่ได้ร่วมปฏิบัติการ และร่วมเสนอแนวทางและข้อคิดเห็นในการ ติดตามประเมินผล ท้ังนี้อาจเป็นเพราะยังไม่มี จัดการขยะที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนในพ้ืนที่ ความรู้ความเข้าใจในการติดตามประเมินผล จึง แต่ถึงแม้ว่าองค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีได้ ปล่อยให้เจ้าหน้าทภ่ี าคราชการติดตามประเมินผล เปิดโอกาสให้ประชาชนชนเข้ามาร่วมคิดร่วม เองเพียงภาคส่วนเดียว สอดคล้องกับปภาวรินท์ วางแผนแล้วแต่ประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่สะท้อน นาจาปา13 ที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการ ความคิดในการวางแผน ปล่อยให้เป็นบทบาทของ ขยะมูลฝอยด้านการประเมินผลอยู่ในระดับน้อย แกนนาชุมชนและองค์การบริหารส่วนตาบลจอม ส่ ว น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร รั บ ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ศรีในการวางแผนการดาเนินการจัดการขยะ ประชาชนส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ซึ่ง สอดคล้องกับจันทรเ์ พ็ญ มนี คร7 ทพี่ บวา่ ประชาชน อาจเป็นผลสะท้อนมาจากการมีส่วนร่วมในการ ไม่มีส่วนร่วมในการคิดวางแผนในกิจกรรมหรือ จัดการขยะท่ีคัดแยกขยะแล้วนามาขายและสมัคร โครงการอย่างแท้จริง ส่วนการมีส่วนร่วมในการ เ ข้ า เ ป็ น ส ม า ชิ ก ก อ ง ทุ น ข ย ะ เ พื่ อ ส วั ส ดิ ก า ร ดาเนินงานโครงการหรือกิจกรรมตามโครงการ ประชาชนให้ความสาคัญในการมีส่วนร่วมเป็น ประเทศไทยไร้ขยะตามแนวทางประชารัฐตาบล อนั ดับแรก ดังนั้นการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ จอมศรี ประชาชนและแกนนาให้ความร่วมมอื และ ของแกนนาชุมชนและประชาชนในหมู่บ้าน จึง มีส่วนร่วมในการลดปริมาณขยะ ร่วมคัดแยกขยะ เป็นแนวทางหนึ่งในการส่งเสริมให้การจัดการขยะ ในครัวเรือนประเภทต่าง ๆ ร่วมมือในการเก็บ แบบมีส่วนร่วมในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล รวบรวมขยะ และร่วมในการนากลับมาใช้ซ้าและ จอมศรี ให้มีการจัดการขยะที่เหมาะสม ซึ่งควร นาไปกาจัดเป็นอย่างดี สาหรับโครงการกองทุน นาไปใช้ในการเป็นแนวทางในการส่งเสริมให้การ ขยะเพื่อสวัสดิการและการสงเคราะห์ตาบลจอม จัดการขยะแบบมีส่วนร่วมในพื้นท่ีตาบลอ่ืน ๆ ศรี ประชาชนสว่ นใหญ่รว่ มเป็นสมาชกิ ของกองทุน ตอ่ ไป ฯ ปฏิบัติตามระเบียบกองทุนและร่วมมือลด ปริมาณขยะ ร่วมมือคัดแยกขยะในครัวเรือน 2) กลไกขับเคลื่อนการดาเนินงาน การ สอดคล้องกับ ศุภรินทร์ อนุตธโต และคณะ4 ที่ ขับเคล่ือนการดาเนินงานจัดการขยะแบบมีส่วน พบว่าด้านการมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติในการ ร่วมในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรี จัดการขยะมูลฝอยชุมชน ประชาชนมีส่วนร่วม สามารถดาเนินการขับเคลื่อนไปได้ด้วยดี อาจเป็น ดาเนินการระดับครัวเรือนอยู่ในระดับมาก ส่วน เพราะมีคณะผู้บริหารและทีมแกนนาชุมชนเป็น การมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล องค์การ แกนนาขับเคลื่อนดาเนินการ มีการกาหนด บริหารส่วนตาบลจอมศรีได้ส่งเสริมให้แกนนา นโยบาย มีแผนงาน มีการจัดทาโครงการและ ชุมชน ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตาม กิจกรรมที่มีการเป็นการประสานงานกันระหว่าง และประเมินผลการดาเนินงานการจัดการขยะใน องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีกับประชาชนใน ทุกข้ันตอน ด้วยการตั้งเป็นคณะกรรมการ หมู่บ้านชุมชน โดยมีผู้นาชุมชนเป็นตัวกลางทา คณะทางานต่าง ๆ ทั้งการประเมินผลการ หน้าที่เช่ือมประสานการทางานระหว่างองค์การ ดาเนินงานโครงการ การประเมินการดาเนินงาน บริหารส่วนตาบลกับประชาชนในหมู่บ้าน และมี ของกองทุนขยะเพื่อสวัสดิการ และการติดตาม การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าร่วมโครงการ การจัดการขยะอ่ืน ๆ แต่ประช าช น และ กิจกรรมต่างๆ ผ่านเสียงตามสายในหมู่บ้านชุมชน ตลอดจนผ่านช่องทางต่าง ๆ เพ่ือให้ประชาชน 138 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสุขชมุ ชน ปีท่ี 6 ฉบับที่ 2 เมษายน – มถิ ุนายน 2563 ได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างสะดวกและรวดเร็ว การ เทศบาลได้จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน การ ตั้งคณะกรรมการ คณะทางานต่างๆ เป็นกลไก คัดแยกประเภทขยะเพ่อื การบรหิ ารจัดการขยะ ใน หน่ึงที่ช่วยสามารถขับเคล่ือนการดาเนินงานได้ ครัวเรือนให้เหมาะสม เพ่ือลดปริมาณขยะที่ สะดวกรวดเร็วยง่ิ ข้ึน ดงั น้ันการมีกลไกลขับเคลือ่ น ประชาชนนาออกมาทิง้ การดาเนินงานจึงเป็นแนวทางหนึ่งในการส่งเสริม ให้การจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมในเขตองค์การ 3.2) การคัดแยกขยะ เป็นรูปแบบ บริหารส่วนตาบลจอมศรี ให้มีการจัดการขยะที่ แนวทางในการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของ เหมาะสม และควรนาไปใช้ในการขับเคลื่อนการ องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีที่เหมาะสม ทั้งน้ี ดาเนินงานในการส่งเสริมให้มีการจัดการขยะแบบ เ ป็ น เ พ ร า ะ ก า ร คั ด แ ย ก ข ย ะ จ ะ ช่ ว ย เ พ่ิ ม มสี ่วนรว่ มในพืน้ ท่อี ืน่ ๆ ต่อไป ประสิทธิภาพการจัดการขยะ ช่วยลดปริมาณขยะ ในจุดกาเนิด และช่วยลดจานวนขยะในการส่งไป 3) รูปแบบแนวทางในการจัดการขยะแบบ กาจดั สามารถลดงบประมาณและคา่ ใช้จ่ายในการ มีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีที่ กาจัดขยะ ช่วยลดการส้ินเปลืองพลังงานและ เหมาะสม ผลการศึกษา พบวา่ รปู แบบแนวทางใน ทรัพยากร ตลอดจนเป็นการช่วยรักษาส่ิงแวดล้อม การจดั การขยะแบบมีสว่ นรว่ มขององค์การบริหาร เกิดมลพิษต่อโลกน้อยลง และสามารถช่วยสร้าง สว่ นตาบล จอมศรที ่เี หมาะสม มดี งั นี้ ความเข้มแข็งของชุมชนด้วยการมีกองทุนขยะเพื่อ สวสั ดิการ นาขยะท่ีคัดแยกแล้วมาขาย ทาปุ๋ยหมัก 3.1) การลดปริมาณขยะในครัวเรือน จ า ก ข ย ะ เ ปี ย ก น า ข ว ด ห รื อ วั ส ดุ ข ย ะ อื่ น ม า ท า และแหล่งกาเนิดขยะ เป็นรูปแบบแนวทางในการ ธนาคารน้าใต้ดินได้ ดังนั้นต้อง ส่งเสริมให้ จดั การขยะแบบมสี ่วนร่วมขององค์การบริหารสว่ น ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะและสร้าง ตาบลจอมศรีท่ีเหมาะสม ทั้งน้ีเป็นเพราะขยะส่วน ผลประโยชน์ในหมู่บ้านชุมชนร่วมกัน มีการ ใหญ่เกิดในครัวเรือนดังน้ันการลดขยะในแหล่งกา รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับความรู้ นิดจึงรูปแบบแนวทางที่เหมาะสมและสอดคล้อง เร่ืองการคัดแยกขยะจากบ้านเรือน จัดส่ง ตามหลักวิชาการ ดังนั้นต้ องมีการรณรงค์ เจ้าหน้าท่ีลงพ้ืนท่ีเพื่อให้ความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพ้ืนที่ได้รับความรู้ กับประชาชนโดยตรงอยา่ งต่อเนอ่ื ง เรื่องการจัดการขยะจากบ้านเรือน โดยจัดอบรม ให้ความรู้แก่ประชาชนในการลดการเกิดขยะใน 3.3) การเก็บรวมขยะ เป็นรูปแบบ ครัวเรือน สร้างจิตสานึกในการลดการเกิดขยะ มี แนวทางในการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของ การนาถงุ ผา้ ใช้แทนถุงหิ้ว ใชต้ ะกรา้ และนาส่งิ ของ องค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีท่ีเหมาะสม ท้ังน้ี ต่าง ๆ มาใช้ซ้า เพื่อลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้นและ อาจเป็นเพราะการเก็บรวมขยะเป็นการเพิ่ม ประชาชนนาออกมาทิ้ง สอดคล้องกับสุริยะ หาญ ประสิทธิภาพการจัดการขยะกล่าวคือ การเก็บ พิชัยและจันทร์ฉาย จันทร์ลา9 ที่พบว่า รูปแบบ รวบรวมขยะท่ีแยกแล้วจะช่วยเพิ่มความสะดวก การจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมที่เหมาะสมการลด รวดเร็วในการเก็บและขนส่งขยะไปกาจัด ลด ป ริ ม า ณ ก า ร เ กิ ด ข ย ะ ต้ อ ง มี ก า ร ร ณ ร ง ค์ ปริมาณขยะตกค้างสะสมได้ ดังน้ันจึงต้องรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ สง่ เสริมให้ประชาชนร่วมมือในการเก็บรวมขยะใน ก่อให้เกิดขยะ อาทิ การใช้ ถุงผ้า และใช้การ จุดที่กาหนด รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะจากบ้านเรือน โดยทาง 3.4) การนากลับมาใช้และนาไปกาจัด เป็นรูปแบบแนวทางในการจัดการขยะแบบมีส่วน Academic Journal of Community Public Health 139 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวชิ าการสาธารณสุขชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มถิ นุ ายน 2563 ร่วมขององค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีท่ี กฎหมายที่สาคัญประเด็นหน่ึง ดังน้ันองค์กร เหมาะสม ทั้งนี้อาจเป็นเพราะการขนาขยะท่ีคัด ปกครองส่วนท้องถ่ินควรให้ความสาคัญกับปัญหา แยกกลบั มาใช้ใหม่จะช่วยลดจานวนปริมาณขยะที่ ขยะและส่ิงแวดล้อมโดยกาหนดเป็นนโยบายใน จะส่งไปกาจัด สามารถประหยัดทรัพยากรและ การดาเนินการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมอย่าง งบประมาณในการกาจัดขยะ เป็นการสร้างคุณค่า ชัดเจน ควรมีการกิจกรรมจัดส่งเสริมการความรู้ และมูลค่าของขยะได้ ส่วนขยะท่ีไม่สามารถใช้ ให้กบั ประชาชนในการจดั การขยะอย่างถูกวิธี และ ประโยชน์ต่อได้ก็ส่งไปกาจัด ซึ่งเป็นการช่วยเพิ่ม ส่งเสริมให้ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ อย่าง ประสิทธิภาพในการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมใน ครบถ้วนถูกต้อง ตลอดจนมีการรายงานผลการ ชุมชนได้ ดังน้ันจึงเร่งต้องรณรงค์ ส่งเสริมและ ดาเนินงานการจัดการขยะให้ประชาชนรับทราบ สนับสนนุ ให้ประชาชนและชุมชนนาขยะกลับมาใช้ ผลของการดาเนินงาน และสามารถนาข้อมูลไป ใหม่และนาขยะไปกาจัดที่ถูกวธิ ตี ่อไป วางแผนและพัฒนา เปิดโอกาสให้แกนนาชุมชน ประชาชน เข้าไปมีส่วนร่วมในการวางแผนแก้ไข ดังน้ัน การลดปริมาณขยะในครัวเรือน ปญั หาขยะมูลฝอยและการติดตามประเมินผลการ และแหล่งกาเนิดขยะ การคัดแยกขยะ การเก็บ ดาเนนิ งานจัดการขยะอย่างจรงิ จงั รวบรวมขยะ และการนากลบั มาใช้และนาไปกาจัด จึงรูปแบบแนวทางในการจัดการขยะแบบมีส่วน 2. ขอ้ เสนอนะสาหรบั การวจิ ัยครัง้ ต่อไป ร่วมขององค์การบริหารส่วนตาบลจอมศรีท่ี 2.1 ควรศกึ ษาแนวทางการพัฒนา เหมาะสม และควรนารูปแบบแนวทางน้ีไปใช้ใน การจดั การขยะในพ้นื ทอี่ ื่น ๆ ตอ่ ไป รปู แบบการมีสว่ นรว่ มในการจดั การขยะของชุมชน อยา่ งยง่ั ยนื ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะจากการศกึ ษา 2.2 ควรศึกษาประสิทธภิ าพการ 1.1 ในระดับหมู่บ้านชุมชน การ พฒั นารูปแบบการจัดการขยะแบบมีสว่ นร่วมใน ชุมชนระดบั องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดการขยะแบบมีส่วนร่วมในชุมชน มีรูปแบบ วิธีการท่ีเหมาะสมท่ีล้วนแต่ต้องอาศัยการได้รับ กติ ตกิ รรมประกาศ ความร่วมมือจากประชาชนในชุมชน ดังนั้นผู้นา ชุมชนควรศึกษาและแสวงหาความร่วมมือจาก ขอขอบคุณนายกองค์การบริหารส่วนตาบล ประชาชนในหม่บู ้านชมุ ชนในรูปแบบตา่ งๆ ในการ จอมศรี คณะผ้บู ริหาร เจา้ หน้าที่ในองค์การบริหาร จัดการปญั หาขยะ ท้ังการสร้างความตระหนักและ ส่วนตาบลจอมศรี และคณะกรรมการแกนนา ความสาคัญถึงปัญหาขยะที่เกิดข้ึนในชุมชน และ ชุมชนตาบลจอมศรีทุกท่านท่ีกรุณาอนุญาตให้ใช้ ควรมีการวางแผนการแก้ไขขยะมูลฝอยในระดับ พ้ืนที่ทาการศึกษาวิจัย และให้ความอนุเคราะห์ หมู่บ้านเสนอต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ อานวยความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล ตลอดจน ที่สาคัญคว รมีการติดตามประเมินผลการ การให้ข้อมูลการวิจัยและให้ความร่วมมือในการ ดาเนินงานจดั การขยะในหม่บู า้ นของตนเอง ดาเนินงานในกิจกรรมการวิจัยเป็นอย่างดีย่ิง ขอขอบคุณผู้อานวยการโรงพยาบาลส่งเสริม 1.2 ในระดับท้องถ่ิน การจัดการขยะ สุขภาพตาบลหินต้ัง และคณะ อสม.ตาบลจอมศรี และส่ิงแวดล้อมในชุมชนถือเป็นบทบาทภารกิจ ที่ ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม อ นุ เ ค ร า ะ ห์ หลักตาม สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูล และขอขอบคุณ 140 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปที ่ี 6 ฉบบั ที่ 2 เมษายน – มถิ นุ ายน 2563 ดร.บุญมา สุนทราวิรัตน์ สาธารณสุขอาเภอหนอง 6. อารีย์ พลภเู มอื ง, กลั ยา หาญพิชาญชยั และ หนิ ทีไ่ ดใ้ หค้ าแนะนาการดาเนินงานวิจัย เสฐยี รพงษ์ ศวิ ินา.การพัฒนาระบบคดั แยกมลู ฝอยในชมุ ชนแบบมสี ่วนร่วมเขตเทศบาลตาบล เอกสารอา้ งองิ เมืองสรวง อาเภอเมืองสรวง จังหวดั ร้อยเอ็ด. วารสารเครอื ข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการ 1. กรมควบคุมมลพิษ.รายงานสรุปสถานการณ์ สาธารณสขุ ภาคใต้. ปที ี่4 (ฉบับพเิ ศษ มลพิษของประเทศไทย ปี 2561. เมษายน), 2560. หน้า 160-171. กรุงเทพมหานคร: กรมควบคุมมลพิษ, 2562. หน้า 23. 7. จันทร์เพญ็ มนี คร. การมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการจดั การขยะมูลฝอยของชมุ ชน 2. สยามธรุ กจิ ออนไลน.์ ขยะ \"เลย\" ทะลกั ปีละ 2 ตาบลบางนาล่ี อาเภออัมพวา จงั หวัด แสนตัน กรมควบคุมมลพิษเต้น/ดึงท้องถน่ิ สมุทรสงคราม. รายงานการวจิ ยั สานักบรหิ าร ณรงคล์ ดปริมาณ. สบื ค้นเม่อื วันท่ี 16 โครงการวจิ ยั ในอุดมศึกษาและพัฒนา พฤษภาคม 2562 จาก มหาวิทยาลยั แห่งชาติ. กรงุ เทพฯ: สานัก https://www.siamturakij.com/news/362 คณะกรรมการอุดมศึกษา; 2554. 7 8. ฮารนู มหู มัดอาลี. รปู แบบการจดั การขยะมลู 3. ยุวลั ดา ชูรักษ์,จริ ัชยา เจียวก๊ก,สันติชยั แย้ม ฝอยในพนื้ ทกี่ รุงเทพมหานคร. วารสารรงั สิต ใหม่,ยทุ ธกาน ดิสกุล, และฉัตรจงกล ตลุ นษิ บณั ฑติ ศึกษาในกลมุ่ ธุรกจิ และสังคมศาสตร์, กะ. รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยใน 2561; 4(2): 297-314. ครวั เรือนของเทศบาลตาบลเขาหวั ช้าง อาเภอ ตะโหมด จังหวดั พทั ลงุ .เอกสารการประชุม 9. สุริยะ หาญพชิ ยั ,และจันทร์ฉาย จันทร์ลา. การ หาดใหญว่ ชิ าการระดบั ชาติ คร้งั ที่8. สงขลา: จัดการขยะแบบมีส่วนรว่ มของเทศบาลตาบล มหาวิทยาลยั หาดใหญ่, 2560. หน้า 775-767. ลานารายณ์ อาเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบรุ .ี วารสารเทคโนโลยสี รุ นารี, 2561; 12(1): 67- 4. ศภุ รินทร์ อนตุ ธโต และคณะ. รูปแบบท่ี 85. เหมาะสมในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน เทศบาลตาบลหนองควาย อาเภอหางดง 10.วชริ วชิ ญ์ วรชิษณุพงศ์. รูปแบบการจัดการขยะ จังหวดั เชียงใหม่. วารสารวิชาการ MFU ชุมชนในเทศบาลตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว Connexion, 2559; 6 (1): 53-78. จงั หวดั เชยี งราย. เอกสารนเรศวรวจิ ัย ครง้ั ที่ 13:วจิ ยั และนวตั กรรมขบั เคล่ือนเศรษฐกิจและ 5. ทวิ า ประสุวรรณ, ศริ วิ ฒั น์ จิระเดชประไพ, สังคม.มหาวิทยาลยั นเรศวร;2560. หน้า ดารากร เจยี มวจิ กั ษณ์ และปรีชา ดิลกวุฒิ 1262-1271. สิทธ.์ิ การจัดการขยะแบบมีส่วนรว่ มของ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นและชุมชนในตาบล 11.วชิ ญาพลั ส์ ไชยสมบตั ิ, วทิ ยา เจริญศิร,ิ และ บา้ นแลง อาเภอเมอื งระยอง จังหวัดระยอง. ทรงศักด์ิ จรี ะสมบตั ิ.การพฒั นารูปแบบการ วารสารวจิ ัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระ จัดการขยะมลู ฝอยของชมุ ชนตามหลักปรชั ญา บรมราชูปถมั ภ์ สาขามนุษยศาสตร์และ เศรษฐกจิ พอเพียงอาเภอเชียงยืน จงั หวดั สังคมศาสตร์, 2559; 11(1): 45-61. มหาสารคาม.วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 2560; 4(2): 195-260. Academic Journal of Community Public Health 141 Vol. 6 No. 2, April – June 2020
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ชมุ ชน ปีที่ 6 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน – มถิ นุ ายน 2563 12.นงกต สวัสดิชิตงั , กฤตติกา แสนโภชน์, 13.ปภาวรนิ ท์ นาจาปา. การมีส่วนรว่ มของ ประจญ กง่ิ ม่งิ แฮ และสืบชาติ อนั ทะไชย. การ ประชาชนต่อการจัดการขยะมลู ฝอยของ พัฒนารปู แบบการจดั การขยะมลู ฝอยของ เทศบาลตาบลคลองใหญ่ อาเภอคลองใหญ่ ชุมชน ในเขตเทศบาลนครอุดรธาน.ี วารสาร จงั หวดั ตราด. (วทิ ยานิพนธป์ ริญญารฐั บณั ฑติ ศึกษามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ ). ชลบรุ :ี 2557; 3 (1): 47-64. มหาวทิ ยาลยั บูรพา; 2557. 142 Vol. 6 No. 2, April – June 2020 Academic Journal of Community Public Health
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214