Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สภาพและปัญหาการดำเนินงานวิชาการของโรงเรียน สำกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2

สภาพและปัญหาการดำเนินงานวิชาการของโรงเรียน สำกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 2

Description: งานวิจัย/วิทยานิพนธ์

Search

Read the Text Version

สภาพและปญั หาการดาเนนิ งานวชิ าการของโรงเรยี น สงั กัดสานักงานเขต พนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาภู เขต 2 นลพรรณ ภูวงษ์ วิทยานพิ นธ์น้เี ปน็ ส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลักสตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย ธนั วาคม 2560 (ลิขสิทธ์ิเปน็ ของมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั )

สภาพและปญั หาการดาเนนิ งานวชิ าการของโรงเรยี น สงั กัดสานักงานเขต พนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาภู เขต 2 นลพรรณ ภูวงษ์ วิทยานพิ นธ์น้เี ปน็ ส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย ธนั วาคม 2560 (ลิขสิทธ์ิเปน็ ของมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั )

THE STATE AND PROBLEMS OF ACADEMIC ADMINISTRATION OF SCHOOLS UNDER NONGBUA LAMPHU PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2 NONLAPHAN PHUWONG A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF MASTER OF EDUCATION DEPARTMENT OF EDUCATIONAL ADMINISTRATION GRADUATE SCHOOL MAHAMAKUT BUDDHIST UNIVERSITY DECEMBER 2017 (COPYRIGHT OF MAHAMAKUT BUDDHIST UNIVERSITY)

5820850532015 : สาขาวิชา: การบริหารการศกึ ษา; ศษ.ม. (ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ ) คาสาคญั : งานวชิ าการของโรงเรยี น นลพรรณ ภูวงษ์ : สภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 (THE STATE AND PROBLEMS OF ACADEMIC ADMINISTRATION OF SCHOOLS UNDER NONGBUA LAMPHU PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2) กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชิษณพงศ์ ศรจันทร,์ 223 หน้า, ปี พ.ศ. 2560. การวจิ ยั ครง้ั นีม้ ีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือศึกษาสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 และเพ่ือเปรียบเทียบสภาพและ ปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา หนองบัวลาภู เขต 2 จาแนกตามตาแหน่งหน้าที่ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน และ ขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนของ โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ปีการศึกษา 2559 รวม ทั้งสนิ้ 1,625 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจซ่ีและมอร์แกน (Krejcie & Morgan) ได้ กล่มุ ตัวอยา่ งทง้ั สิน้ 280 คน แบ่งเปน็ ผู้บริหารโรงเรียน 35 คน และครูผู้สอน 245 คน เครื่องมือท่ีใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า มีค่าความเชื่อมั่นท้ังฉบับเท่ากับ 0.981 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การ ทดสอบค่าที (t-test for Independent samples) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ด้วยสถิติเอฟ (F-test) และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัยพบวา่ 1. สภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถม ศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก (  = 4.02) ส่วนปัญหาการ ดาเนินงานวชิ าการของโรงเรยี น โดยภาพรวมและรายด้านอยูใ่ นระดับปานกลาง ( = 2.93) 2. ผลการเปรียบเทียบสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 จาแนกตามตาแหน่งหน้าที่ ทั้งโดยภาพรวมและรายด้าน พบว่า ไม่แตกต่างกัน ส่วนปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน จาแนกตามตาแหน่งหน้าท่ีโดย ภาพรวม ไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา แตกตา่ งกันอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .05

ข 3. ผลการเปรียบเทียบสภาพการดาเนินงานวิชาการ จาแนกตามระดับการศึกษา โดยภาพ รวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 3 ด้านที่แตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ได้แก่ การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา การพัฒนาระบบการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการส่งเสริมความรู้วิชาการแก่ชุมชน ส่วนปัญหาการดาเนิน งานวิชาการของโรงเรียน จาแนกตามระดบั การศึกษา โดยภาพรวมและรายด้าน ไมแ่ ตกต่างกัน 4. ผลการเปรียบเทียบสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน จาแนกตามประสบการณ์ ในการทางาน พบว่าโดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เม่ือพิจารณาเป็น รายดา้ นพบวา่ มี 2 ดา้ นไม่แตกต่างกนั คือ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและ การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันท่ีจัดการ ศึกษา มี 3 ด้านที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถาน ศึกษา การนิเทศการศึกษา และการส่งเสริมความรู้วิชาการแก่ชุมชน ส่วนอีก 7 ด้านที่เหลือ แตกต่าง กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน จาแนกตาม ประสบการณ์ในการทางานโดยภาพรวม ไม่แตกต่างกัน เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มี 2 ด้าน ไดแ้ ก่ ดา้ นการพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาและดา้ นการประสานความร่วมมือในการ พัฒนาวิชาการกบั สถานศึกษาอื่น ท่ีแตกต่างกนั อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 5. ผลการเปรียบเทียบสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน จาแนกตามขนาดของ สถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนปัญหา การดาเนนิ งานวิชาการของโรงเรียน จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยภาพรวม แตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มี 2 ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถติ ิท่ีระดบั .05 ได้แก่ การส่งเสริมความรู้วิชาการแก่ชุมชน และ การประสานความร่วมมือในการ พัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาอื่น และมี 2 ด้านท่ีไม่แตกต่างกัน ได้แก่ การพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา และการส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันท่ีจัดการศึกษา ส่วนอีก 8 ด้านที่เหลือ พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง สถติ ิทรี่ ะดบั .01

ค 5820850532015 : MAJOR : EDUCATIONAL ADMINISTRATION ; M.ED. (MASTER OF EDUCATION) KEYWORDS : ACADEMIC ADMINISTRATION, NONLAPHAN PHUWONG : THE STATE AND PROBLEMS OF ACADEMIC ADMINISTRATION OF SCHOOLS UNDER NONGBUA LAMPHU PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2, ADVISORY COMMITTEE: ASST.PROF. DR. CHISSANAPONG SONCHAN, 223 PP., B.E. 2560 (2018). The objectives of the research were to study the conditions and problems of the academic administration of schools under Nong Bua Lamphu Primary Educational Service Area Office 2, and to compare the conditions and problems of the academic administration of schools under Nong Bua Lamphu Primary Educational Service Area Office 2, classified by positions, educational levels, work experiences and school sizes. The samples of the research were totally 280 persons of 35 school administrators and 245 teachers, selected by Krejcie and Morgan’s table. The instrument of the research used to collect data was the rating-scale questionnaire with the entire validity of 0.981. The statistics used to analyze the data were comprised of frequency, percentage, mean, standard deviation, the t-test for independent samples, and the one-way analysis of variance (ANOVA). In case paired differences were found, the Scheffé’s method was utilized. The research findings were found as follows: 1. The conditions of the academic administration of schools under Nong Bua Lamphu Primary Educational Service Area Office 2 were found to be overall and in each aspect at a higher level ( = 4.02). The problems of the academic administration of those schools were found to be overall and in each aspect at a moderate level ( = 2.93). 2. The comparison of the conditions of the academic administration of schools under Nong Bua Lamphu Primary Educational Service Area Office 2, classified by administrative positions, was found not to be overall different and in each aspect. In addition, the comparison of the problems of the academic administration of those schools, classified by administrative positions, was found not to be overall different. Considered in each aspect, the development of internal quality assurance system was found to be different at a statistically significant level of .05.

ง 3. The comparison of the conditions and the academic administration of those schools, classified by educational levels, was found to be overall different at a statistically significant level of .05. Considered in each aspect, the development of learning resources was found to be different at a statistically significant level of .05. Three aspects: research and development of education quality, the development of internal quality assurance system, and the academic promotion to the community, were found to be different at a statistically significant level of .01 but eight aspects were not found to be different. The comparison of the problems of the academic administration of the schools, classified by educational levels, was found not to be overall different and in each aspect. 4. The comparison of conditions of the academic administration of those schools, classified by work experiences, was found to be overall different at a statistically significant level of .01. Considered in each aspect, two aspects: the development of internal quality assurance system, and academic support and promotion to individuals, families, organizations, agencies and institutions, were found not to be different. Three aspects: the curriculum development, the educational supervision, and the academic promotion to the community, were found to be different at a statistically significant level of .05; the other seven aspects were found to be different at a statistically significant level of .01. The comparison of the problems of the academic administration of those schools, classified by work experiences, was found not to be overall different. Considered in each aspect, two aspects: the development of internal quality assurance system, and the cooperation of academic development with other institutions, were found to be different at a statistically significant level of .05. 5. The comparison of conditions of the academic administration of those schools, classified by school sizes, was found to be overall and in each aspect different at a statistically significant level of .01. The comparison of problems of the academic administration of those schools, classified by school sizes, was found to be overall different at a statistically significant level of .01. Considered in each aspect, two aspects: the development of internal quality assurance system and the academic support and promotion to individuals, families, organizations, agencies and

จ institutions, were found not to be different. Two aspects: the academic promotion to the community, and the cooperation of academic development with other institutions, were found to be different at a statistically significant level of .05, and the other eight aspects were found to be different at a statistically significant level of .01.

ฉ ประกาศคณุ ปู การ วิทยานิพนธ์ฉบับน้ีสาเร็จลงได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างดียิ่ง จากผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.ชิษณพงศ์ ศรจันทร์ อาจารย์ท่ีปรึกษา ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษาแนะนา และข้อคิดเห็น ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความละเอียดถ่ีถ้วน และให้กาลังใจด้วยดี เสมอมา ผู้วิจัยรู้สึก ซาบซง้ึ เปน็ อย่างยงิ่ จงึ ขอขอบพระคณุ เปน็ อยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณผู้เช่ียวชาญทั้ง 5 ท่าน ได้แก่ รองศาสตราจารย์ ดร.บุญช่วย ศิริเกษ รองศาสตราจารย์ ดร.พมิ พ์อร สดเอ่ยี ม ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สขุ ุม พรมเมืองคุณ ดร.ดษุ ฎีวัฒน์ แก้ว อนิ ทร์ และดร.สภุ ชยั จนั ปุ่ม ท่ีไดก้ รณุ าตรวจสอบ และให้คาแนะนาในการแก้ไขปรับปรุงเคร่ืองมือการ วิจัยให้มีความสมบูรณ์ยิ่งข้ึน ขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสาท วิชาความรู้แก่ ผู้วิจัย ซึ่งมีส่วนสาคัญที่ทาให้การทาวิทยานิพนธ์ในคร้ังน้ีมีความสาเร็จ ผู้วิจัยรู้สึกซาบซ้ึงในความเสีย สละของท่านเป็นอยา่ งย่งิ นอกจากนี้ ยงั ได้รับความอนุเคราะห์อย่างดียิ่งจากข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ทุกท่านที่ให้การ ชว่ ยเหลอื ในงานวจิ ัยคร้ังนี้เปน็ อยา่ งดยี ิ่ง ขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และเพื่อนทุกคนที่อยู่เบื้องหลัง ซึ่งสนับสนุนผู้วิจัยเสมอมา และอาจารย์ประดิษฐ์ ศรีโนนยาง ที่ได้อนุเคราะห์แปลบทคัดย่อภาษาอังกฤษให้ ผู้วิจัยรู้สึกซาบซ้ึงใน พระคุณเป็นอยา่ งสูง คณุ คา่ และคุณประโยชน์อนั พงึ มจี ากวิทยานิพนธ์ฉบับน้ี ผู้วิจัยขอมอบแด่ครู และ อาจารย์ทุกทา่ นทง้ั ในอดีต และปัจจุบัน ตลอดจนผ้มู ีพระคณุ ทกุ ทา่ นท่ีได้กลา่ วมาแล้ว ซ่ึงเป็นผู้ที่มีส่วน ทาให้วิทยานิพนธฉ์ บับนส้ี าเร็จลลุ ว่ งไปดว้ ยดี นลพรรณ ภวู งษ์

สารบญั บทคดั ย่อภาษาไทย หน้า บทคดั ย่อภาษาอังกฤษ ก ประกาศคุณปู การ ค สารบญั ฉ สารบญั ตาราง ช สารบญั แผนภมู ิ ฌ บทท่ี ณ 1 บทนา 1 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั 3 1.3 สมมตฐิ านของการวิจยั 3 1.4 กรอบแนวคิดของการวจิ ยั 3 1.5 ขอบเขตของการวจิ ยั 4 1.6 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รับจากการวิจยั 6 1.7 นิยามศัพทเ์ ฉพาะทีใ่ ช้ในการวจิ ยั 6 10 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกยี่ วข้อง 10 2.1 การดาเนนิ งานวชิ าการ 2.2 สภาพพ้ืนท่ีที่ศึกษาสานักงานเขตพ้ืนการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู 38 เขต 2 50 2.3 งานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง 72 72 3 วิธีดาเนนิ การวิจัย 74 3.1 ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง 77 3.2 เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการวิจัย 78 3.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 78 3.4 การวิเคราะห์ขอ้ มลู 80 3.5 สถติ ิท่ใี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล 80 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 4.1 สัญลักษณท์ ่ีใช้ในการนาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู

ซ สารบัญ (ตอ่ ) บทท่ี หน้า 4.2 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 80 4.3 ผลการวิเคราะห์สภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียนสังกัด สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2 82 4.4 ผลการศึกษาเปรียบเทียบสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของ โรงเรยี นสังกดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 106 จาแนกตามตาแหน่งหน้าที่ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน และ 164 ขนาดของสถานศึกษา 164 174 5 สรปุ ผลการศึกษา อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 177 5.1 สรุปผลการศกึ ษา 179 5.2 อภปิ รายผลการวิจัย 183 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 184 186 บรรณานกุ รม 192 ภาคผนวก 195 207 ภาคผนวก ก รายชอื่ ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่อื งมือ 215 ภาคผนวก ข หนงั สอื ขอความอนเุ คราะห์เป็นผู้เชีย่ วชาญตรวจสอบเครอ่ื งมือ 223 ภาคผนวก ค หนังสอื ขอความอนุเคราะห์เก็บรวบรวมข้อมูล ภาคผนวก ง แบบสอบถาม ภาคผนวก จ ค่าดัชนีความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถาม (IOC) ภาคผนวก ฉ คา่ ความเชื่อมัน่ (Reliability) ประวัตผิ ูว้ ิจัย

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา้ 2.1 แสดงรายละเอยี ดในพน้ื ทข่ี องแต่ละอาเภอ 38 2.2 แสดงศนู ย์เครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษาและโรงเรยี นในสงั กดั 39 3.1 จานวนประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง 73 3.2 จานวนประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง จาแนกตามระดับการศึกษา 73 3.3 จานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามประสบการณ์ในการทางาน และ 73 ตามขนาดของสถานศึกษา 76 3.4 ค่าความเช่ือม่ันของแบบสอบถามสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของ โรงเรยี น สงั กดั สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 81 4.1 แสดงค่าความถ่ีและค่าร้อยละสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม 82 ตาแหน่งหน้าที่ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน และขนาดของสถาน ศกึ ษา 84 4.2 แสดงระดับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2 โดยภาพรวมและรายดา้ น 86 4.3 แสดงระดับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน เขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถาน 88 ศึกษา 4.4 แสดงระดับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน 90 เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนากระบวนการ เรียนรู้ 92 4.5 แสดงระดับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการวัดผล ประเมินผล และเทยี บโอนผลการเรยี น 4.6 แสดงระดับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษา 4.7 แสดงระดับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา

ญ สารบญั ตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 4.8 แสดงระดับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน 94 เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ 96 4.9 แสดงระดับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน 97 เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการนิเทศการศกึ ษา 99 4.10 แสดงระดับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน 101 เขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2 ด้านการแนะแนวการศกึ ษา 103 4.11 แสดงระดับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาระบบการ 104 ประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 106 4.12 แสดงระดับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน 108 เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการส่งเสริมความรู้ด้าน 110 วิชาการแกช่ มุ ชน 4.13 แสดงระดับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการประสานความร่วม มอื ในการพัฒนาวิชาการกับสถานศกึ ษาอ่ืน 4.14 แสดงระดับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการส่งเสริมและสนับ สนุนงานวิชาการแก่ บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันอื่นที่จัดการ ศึกษา 4.15 แสดงระดับสภาพการดาเนนิ งานวิชาการของโรงเรยี น สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการ ศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้าน จาแนกตาม ตาแหน่งหน้าท่ี 4.16 แสดงระดับปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้าน จาแนกตาม ตาแหน่งหน้าที่ 4.17 แสดงระดับสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้าน จาแนกตาม ระดับการศึกษา

ฎ สารบญั ตาราง (ต่อ) ตารางท่ี หน้า 4.18 แสดงระดับปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี 112 การศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบัวลาภู เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้าน จาแนกตาม 114 ระดบั การศกึ ษา 117 4.19 แสดงระดับสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี 119 การศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาภู เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้าน จาแนกตาม 119 ประสบการณ์ในการทางาน 121 4.20 แสดงการวิเคราะห์ความแปรปรวนสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียนสังกัด 121 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 โดยภาพรวมและ รายดา้ น จาแนกตามประสบการณใ์ นการทางาน 123 4.21 แสดงความแตกต่างระหว่างสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก 123 งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา จาแนกตามประสบการณใ์ นการทางาน เปน็ รายคู่ 4.22 แสดงความแตกตา่ งระหว่างสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนากระบวน การเรียนรู้ จาแนกตามประสบการณ์ในการทางาน เป็นรายคู่ 4.23 แสดงความแตกต่างระหว่างสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน จาแนกตามประสบการณใ์ นการทางาน เปน็ รายคู่ 4.24 แสดงความแตกต่างระหว่างสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการวิจัยเพ่ือพัฒนา คุณภาพการศึกษา จาแนกตามประสบการณใ์ นการทางาน เปน็ รายคู่ 4.25 แสดงความแตกตา่ งระหว่างสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาส่ือ นวัต กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา จาแนกตามประสบการณ์ในการทางาน เป็น รายคู่ 4.26 แสดงความแตกต่างระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาแหล่ง เรียนรู้ จาแนกตามประสบการณใ์ นการทางาน เปน็ รายคู่

ฏ สารบญั ตาราง (ต่อ) ตารางท่ี หน้า 4.27 แสดงความแตกต่างระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก 125 งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการนิเทศการศึกษา 125 จาแนกตามประสบการณ์ในการทางาน เป็นรายคู่ 126 4.28 แสดงความแตกตา่ งระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการแนะแนวการ 126 ศึกษา จาแนกตามประสบการณใ์ นการทางาน เปน็ รายคู่ 128 4.29 แสดงความแตกตา่ งระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก 131 งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการส่งเสริมความรู้ จาแนกตามประสบการณใ์ นการทางาน เป็นรายคู่ 133 4.30 แสดงความแตกต่างระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการประสานความ 133 ร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาอื่น จาแนกตามประสบการณ์ในการ ทางาน เป็นรายคู่ 4.31 แสดงระดับปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้าน จาแนกตาม ประสบการณใ์ นการทางาน 4.32 แสดงการวิเคราะห์ความแปรปรวนปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 โดยภาพรวม และรายด้าน จาแนกตามประสบการณ์ในการทางาน 4.33 แสดงความแตกตา่ งระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาระบบการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา จาแนกตามประสบการณ์ในการทางาน เป็น รายคู่ 4.34 แสดงความแตกตา่ งระหว่างสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการประสานความ ร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาอื่น จาแนกตามประสบการณ์ในการ ทางาน เปน็ รายคู่

ฐ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางท่ี หน้า 4.35 แสดงระดับสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี 135 การศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบัวลาภู เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้าน จาแนกตาม 138 ขนาดของสถานศึกษา 140 4.36 แสดงการวิเคราะห์ความแปรปรวนปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน 140 สังกดั สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 โดยภาพรวม 142 และรายด้าน จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา 142 4.37 แสดงความแตกต่างระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก 143 งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาหลักสูตร 143 สถานศกึ ษา จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา เปน็ รายคู่ 145 4.38 แสดงความแตกตา่ งระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนากระบวน การเรยี นรู้ จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา เป็นรายคู่ 4.39 แสดงความแตกต่างระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาภู เขต 2 ด้านการวัดผล ประเมินผล และเทยี บโอนผลการเรียน จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา เปน็ รายคู่ 4.40 แสดงความแตกต่างระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการวิจัยเพ่ือพัฒนา คุณภาพการศกึ ษา จาแนกตามขนาดของสถานศกึ ษา เป็นรายคู่ 4.41 แสดงความแตกต่างระหว่างสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาสื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา เปน็ รายคู่ 4.42 แสดงความแตกต่างระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาแหล่ง เรียนรู้ จาแนกตามขนาดของสถานศกึ ษา เป็นรายคู่ 4.43 แสดงความแตกต่างระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการนิเทศการศึกษา จาแนกตามขนาดของสถานศกึ ษา เป็นรายคู่

ฑ สารบัญตาราง (ตอ่ ) ตารางท่ี หน้า 4.44 แสดงความแตกต่างระหว่างสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก 145 งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการแนะแนวการ 147 ศึกษา จาแนกตามขนาดของสถานศกึ ษา เป็นรายคู่ 147 4.45 แสดงความแตกต่างระหว่างสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาระบบการ 149 ประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา จาแนกตามขนาดของสถานศกึ ษา เปน็ รายคู่ 4.46 แสดงความแตกตา่ งระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก 149 งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการส่งเสริมความรู้ 151 วิชาการแกช่ มุ ชน จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา เปน็ รายคู่ 154 4.47 แสดงความแตกต่างระหวา่ งสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก 156 งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการประสานความ 156 ร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาอื่น จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา เปน็ รายคู่ 4.48 แสดงความแตกต่างระหว่างสภาพการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการส่งเสริมและ สนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันท่ีจัดการ ศกึ ษา จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา เป็นรายคู่ 4.49 แสดงระดับปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้าน จาแนกตาม ขนาดของสถานศึกษา 4.50 แสดงการวิเคราะห์ความแปรปรวนปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สงั กัดสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 โดยภาพรวม และรายด้าน จาแนกตามขนาดของสถานศกึ ษา 4.51 แสดงความแตกต่างระหว่างปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา จาแนกตามขนาดของสถานศกึ ษา เป็นรายคู่ 4.52 แสดงความแตกตา่ งระหว่างปัญหาการดาเนนิ งานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนากระบวน การเรียนรู้ จาแนกตามขนาดของสถานศกึ ษา เป็นรายคู่

ฒ สารบญั ตาราง (ตอ่ ) ตารางท่ี หน้า 4.53 แสดงความแตกต่างระหวา่ งปัญหาการดาเนนิ งานวชิ าการของโรงเรียน สังกัดสานัก 158 งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการวัดผล ประเมินผล 158 และเทยี บโอนผลการเรียน จาแนกตามขนาดของสถานศกึ ษา เป็นรายคู่ 160 4.54 แสดงความแตกตา่ งระหว่างปัญหาการดาเนนิ งานวชิ าการของโรงเรียน สังกัดสานัก 160 งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการวิจัยเพ่ือพัฒนา 161 คุณภาพการศึกษาจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา เปน็ รายคู่ 161 4.55 แสดงความแตกตา่ งระหว่างปญั หาการดาเนินงานวชิ าการของโรงเรียน สังกัดสานัก 163 งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาส่ือ นวัต กรรม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา จาแนกตามขนาดของสถานศกึ ษา เป็นรายคู่ 163 4.56 แสดงความแตกต่างระหวา่ งปญั หาการดาเนินงานวชิ าการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการพัฒนาแหล่ง เรียนรู้ จาแนกตามขนาดของสถานศกึ ษา เปน็ รายคู่ 4.57 แสดงความแตกตา่ งระหวา่ งปัญหาการดาเนนิ งานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการนิเทศการศึกษา จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา เปน็ รายคู่ 4.58 แสดงความแตกต่างระหวา่ งปัญหาการดาเนนิ งานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการแนะแนวการ ศึกษา จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา เปน็ รายคู่ 4.59 แสดงความแตกตา่ งระหว่างปัญหาการดาเนนิ งานวชิ าการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการส่งเสริมความรู้ วิชาการแก่ชุมชน จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา เป็นรายคู่ 4.60 แสดงความแตกตา่ งระหวา่ งปญั หาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานัก งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ด้านการประสานความ ร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาอื่น จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา เปน็ รายคู่

สารบญั แผนภมู ิ ณ แผนภูมทิ ี่ หน้า 1.1 แสดงสรปุ กรอบแนวคดิ ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั 4 2.1 ขอบข่ายการจดั การศกึ ษาในสถานศึกษา 13 2.2 สรปุ โครงสรา้ งหลกั สตู รการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 17 2.3 ขั้นตอนการดาเนินงานการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 33 3.1 แผนภมู แิ สดงขนั้ ตอนการสรา้ งเครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการวจิ ยั 77

บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของกำรวิจยั รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มาตรา 49 ให้ความสาคัญเกี่ยวกับ สิทธิและเสรีภาพในการศึกษาของประชาชนในประเทศมาก โดยกาหนดเจตนารมณ์อย่างชัดเจนใน การจัดการศึกษา เพราะการศึกษาเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการพัฒนาคนเพื่อเป็นกาลังสาคัญในการ พฒั นาประเทศโดยได้บัญญัติไว้ว่าบุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่ รฐั จะต้องจดั ใหอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ และมคี ุณภาพ โดยไมเ่ ก็บค่าใช้จ่ายผู้ยากไร้ผู้พิการหรือทุพพลภาพหรือผู้อยู่ ในสภาวะยากลาบากต้องได้รับสิทธิตามวรรคหนึ่งและการสนับสนุนจากรัฐเพ่ือให้ได้รับการศึกษาโดย ทัดเทียมกับบุคคลอื่น (ราชกิจจานุเบกษา, 2550, หน้า 19) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 บัญญัติว่าการจัดการศึกษามีจุดมุ่ง หมายเพอื่ พฒั นาผ้เู รียนให้มีคุณภาพเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ มีสติปัญญาความรู้และ คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและได้ กาหนดสาระการปฏิรูปการศึกษาให้ครอบคลุมทุกด้านเป็นการปฏิรูปเพ่ือให้มีเอกภาพด้านนโยบายมี ความหลากหลาย ในทางปฏิบัตโิ ดยยึดหลกั การกระจายอานาจไปสสู่ านกั งานเขตพื้นที่การศึกษาสถาน ศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 มีความมุ่งหมายท่ีจะจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เป็นคนดีมีความสามารถและอยู่ร่วมกับสังคมอย่างมีความสุข การดาเนินงาน ตามแนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษาใหบ้ รรลุเป้าหมายอย่างมีพลังและมีประสิทธิภาพโดยยึดเง่ือนไขและ หลักการสาคัญของการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ 4 อย่างและหน่ึงในหลักการนั้นคือ การกระจายอานาจ (Decentralization) มาตรา 39 กาหนดสาระสาคัญให้กระทรวงกระจายอานาจ ดา้ นการบรหิ ารและจัดการศกึ ษาด้านการบริหารวชิ าการการบริหารงบประมาณการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารท่ัวไปให้คณะกรรมการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน, 2550, หน้า 1) การศึกษาระดับข้ันพ้ืนฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีการพัฒนาความสามารถในการพัฒนา คณุ ภาพชีวติ พร้อมท่ีจะทาประโยชน์ให้กับสังคมตามบทบาทและหน้าที่ของตน โดยให้ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะพื้นฐานที่จาเป็นในการดารงชีวิต ทันต่อการเปล่ียนแปลง มีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งกายและ จติ ใจ ทางานเป็นและครองชีวิตอย่างสงบสุข และยังเป็นการศึกษาท่ีมุ่งสร้างคนให้สมบูรณ์ทั้งร่างกาย

2 อารมณ์ สังคม สตปิ ัญญา มฝี ีมือในการทางานและคณุ ธรรม โดยถือว่าผู้ท่ีเรียนจบการศึกษาในระดับนี้ จะสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ดังน้ันโรงเรียนและผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องต้องร่วมมือกันให้เด็ก ได้รับการศึกษาให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ ความสุข ความพอใจและการเป็นพลเมืองดีของชาติ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2559, หน้า 3) การดาเนินงานด้านวิชาการจึงเป็นงานหลักที่สาคัญที่สุดในการบริหารและจัดการในสถาน ศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีความรู้ ความเข้าใจในขอบข่ายของเน้ือหา และหลักการบริหารงาน ด้านวชิ าการอยา่ งลกึ ซงึ้ ในขอบขา่ ยของงานวชิ าการ เชน่ หลักสูตรและการบริหารหลักสูตรการจัดการ เรียนการสอน การนิเทศภายใน การวัดและประเมินผลการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา (สานักงานพัฒนาระบบการบริหาร. 2545, หน้า 111) ภารกิจหลักของสถานศึกษาท่ีพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มุ่งให้กระจายอานาจใน การบริหารจัดการไปให้สถานศึกษาให้มากท่ีสุด ด้วยเจตนารมณ์ท่ีจะให้สถานศึกษาดาเนินการได้โดย อิสระ คลอ่ งตัว รวดเรว็ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผเู้ รียน สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น และการมี ส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ซ่ึงจะเป็นปัจจัยสาคัญทาให้สถานศึกษามีความเข้มแข็งในการ บริหารและการจัดการสามารถพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนการวัดผล ประเมิน ผล รวมทั้งการวัดปัจจัยเก้ือหนุนการพัฒนาคุณภาพนักเรียน ชุมชน ท้องถ่ิน ได้อย่างมีคุณภาพและมี ประสทิ ธภิ าพ (กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2545, หน้า 5) ผู้บริหารโรงเรียนและบุคลากรในโรงเรียน จึงเป็นองค์ประกอบสาคัญอย่างหนึ่งท่ีจะทาให้ การปฏิบัติงานบรรลุผลสาเร็จเม่ือผู้บริหารมีความสามารถและได้รับความร่วมมือจากผู้ร่วมงานท่ีมี ความสามารถย่อมสง่ ผลต่อความสาเร็จของการบรหิ ารงาน (รัตนา กาญจนพันธุ์. 2553, หนา้ 1) ปัญหาการจัดการศึกษาในปัจจุบัน เกิดจากสภาพปัญหาทางด้านระบบบริหาร และการจัด การของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีเน้นการรวมศูนย์อานาจไว้ในส่วนกลาง แม้จะมีการมอบอานาจไว้เพียง บางเร่ือง การกระจายอานาจลงสู่เขตพ้ืนที่การศึกษายังมีน้อย ในการบริหารงานโดยเฉพาะในด้าน นโยบายและแผน งบประมาณและความไม่ต่อเน่ืองของแผน เนื่องมาจากการเปล่ียนแปลงผู้บริหาร ระดับสูงและทางการเมือง ทาให้เกิดความสูญเปล่าทั้งในด้านทรัพยากรและก่อให้เกิดปัญหาต่อเนื่อง หลายประการ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2542, หน้า 2) จากเหตุผลดังกลา่ ว เป็นแรงจงู ใจให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาสภาพและปัญหาการดาเนินงาน วิชาการของโรงเรียนและเพอ่ื นาเสนอแนวทางการดาเนนิ งานวิชาการที่เหมาะสมทาให้การบริหารงาน วิชาการในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพอันเป็นประโยชน์สาหรับสถานศึกษาอื่น สามารถนาผลการวจิ ัยไปใชใ้ นการดาเนนิ งานวชิ าการให้บรรลุตามวัตถปุ ระสงคต์ ่อไป

3 1.2 วตั ถปุ ระสงค์กำรวิจัย 1.2.1 เพอื่ ศกึ ษาสภาพ และปญั หาการดาเนนิ งานวชิ าการของโรงเรียน สงั กัดสานักงานเขต พน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาภู เขต 2 1.2.2 เพอื่ เปรียบเทยี บสภาพ และปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สานักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 จาแนกตามตาแหน่งหน้าที่ ระดับการศึกษา ประสบ การณใ์ นการทางาน และขนาดของสถานศึกษา 1.3 สมมติฐำนกำรวจิ ัย 1.3.1 ข้าราชการครูในโรงเรียน ที่มีตาแหน่งหน้าที่ต่างกันมีความคิดเห็นต่อระดับสภาพ และปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา หนองบัวลาภู เขต 2 แตกต่างกนั 1.3.2 ข้าราชการครูในโรงเรียนท่ีมีระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับสภาพ และปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา หนองบัวลาภู เขต 2 แตกตา่ งกนั 1.3.3 ข้าราชการครูในโรงเรยี นท่ีมีประสบการณ์ในการทางานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับ สภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา หนองบัวลาภู เขต 2 แตกต่างกนั 1.3.4 ข้าราชการครูท่ีปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับ สภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา หนองบัวลาภู เขต 2 แตกต่างกนั 1.4 กรอบแนวคิดของกำรวิจยั การศึกษาวิจัยสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ในครั้งน้ีผู้ศึกษาได้ยึดกรอบแนวคิดของการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (2546 ข) ตามแผนภูมิแสดงกรอบแนวคิดในการค้นคว้าวจิ ยั ดงั แผนภูมิที่ 1.1

ตัวแปรต้น 4 สถำนภำพของผู้ตอบแบบ ตัวแปรตำม สอบถำม สภำพและปัญหำกำรดำเนินงำนวิชำกำรของ 1. ตาแหนง่ หนา้ ที่ ได้แก่ โรงเรียน สังกัดสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ 1) ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ประถมศึกษำหนองบัวลำภูเขต 2 ตำมขอบข่ำย 2) ครูผู้สอน กำรบริหำรงำน 12 ดำ้ น คือ 2. ระดับการศึกษา ได้แก่ 1. การพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา 1) ปรญิ ญาตรี 2. การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ 2) สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี 3. การวัดผล ประเมินผลและเทียบโอนผลการ 3. ประสบการณ์ในการทางาน เรยี น ได้แก่ 4. การวจิ ยั เพ่อื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 5. การพัฒนาส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทาง 1) นอ้ ยกวา่ 10 ปี 2) 10-20 ปี การศึกษา 3) มากกว่า 20 ปี 6. การพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ 4. ขนาดของสถานศึกษา 7. การนเิ ทศการศกึ ษา 1) ขนาดเล็ก 8. การแนะแนวการศกึ ษา 2) ขนาดกลาง 9. การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน 3) ขนาดใหญ่ สถานศกึ ษา 10. การส่งเสรมิ ความรวู้ ิชาการแก่ชุมชน 11. การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชา การกับสถานศึกษาอ่ืน 12. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันท่ีจัด การศึกษา แผนภมู ิท่ี 1.1 แสดงสรุปกรอบแนวคดิ ทใี่ ช้ในกำรวจิ ัย 1.5 ขอบเขตของกำรวจิ ัย ในการวจิ ัยครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดขอบเขตของการวิจัย ดังนี้ 1.5.1 ขอบเขตดา้ นเนือ้ หา

5 การวิจัยเร่ือง สภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขต พ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 จาแนกตามขอบข่ายการบริหารสถานศึกษา 12 ด้าน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546 ข) ได้แก่ 1) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 2) การพัฒนากระบวน การเรียนรู้ 3) การวัดผล ประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน 4) การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการ ศึกษา 5) การพัฒนาส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา 6) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 7) ด้าน การนิเทศการศึกษา 8) การแนะแนวการศึกษา 9) การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถาน ศึกษา 10) การส่งเสรมิ ความรู้วิชาการแก่ชุมชน 11) การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับ สถานศึกษาอื่น และ12) การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถาบันท่ีจัดการศกึ ษา 1.5.2 ขอบเขตดา้ นประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง ประชากร ท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ปีการศึกษา 2559 จานวนท้ังสิ้น 105 โรง จานวน 1,625 คน โดยแยกเปน็ ผ้บู รหิ ารโรงเรยี น จานวน 105 คน ครูผสู้ อน จานวน 1,520 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีได้แก่ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน โรงเรยี น สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 จานวน 280 คน แยก เป็น ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น จานวน 35 คน ครูผสู้ อน 245 คน 1.5.3 ขอบเขตด้านตวั แปรทศี่ ึกษา 1.5.3.1 ตวั แปรต้น ไดแ้ ก่ 1) สถานภาพของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรยี น ไดแ้ ก่ 1.1) ผ้บู ริหารโรงเรยี น 1.2) ครูผ้สู อน 2) ระดับการศึกษา ได้แก่ 2.1) ปริญญาตรี 2.2) สูงกวา่ ปริญญาตรี 3) ประสบการณใ์ นการทางาน ไดแ้ ก่ 3.1) นอ้ ยกว่า 10 ปี 3.2) 10-20 ปี 3.3) มากกว่า 20 ปี 4) ขนาดของสถานศกึ ษา 4.1) ขนาดเลก็ 4.2) ขนาดกลาง

6 4.3) ขนาดใหญ่ 1.5.3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ สภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน แบง่ เปน็ 12 ด้านตามขอบขา่ ยงานวิชาการของคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน (2542) ได้แก่ 1) การพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา 2) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 3) การวัดผล ประเมินผลและเทยี บโอนผลการเรยี น 4) การวิจยั เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศึกษา 5) การพฒั นาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา 6) การพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ 7) การนเิ ทศการศกึ ษา 8) การแนะแนวการศกึ ษา 9) การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 10) การสง่ เสริมความรูว้ ชิ าการแก่ชมุ ชน 11) การประสานความรว่ มมอื ในการพัฒนาวชิ าการกบั สถานศึกษาอืน่ และ 12) การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หนว่ ยงาน และสถาบันทจ่ี ดั การศึกษา 1.6 ประโยชนท์ ี่คำดว่ำจะไดร้ บั 1.6.1 ผลการศึกษาทาให้ทราบข้อมูลเก่ียวกับสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของ โรงเรยี น สังกดั สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาหนองบัวลาภู เขต 2 1.6.2 ผลการศึกษาทาให้ทราบข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาในการปรับปรุงและพฒั นาการดาเนนิ งานวชิ าการของโรงเรียน สังกัดสานักงาน เขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2 1.7 นยิ ำมศพั ทเ์ ฉพำะ ในการวจิ ยั คร้ังน้ี ผวู้ จิ ยั ได้ให้คานิยามศัพท์ท่ใี ช้ในการวิจัยคร้งั นี้ กำรดำเนินงำนวิชำกำร หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการที่อาศัยบุคคลหลายฝ่ายร่วม มือกันวางแผน นาทรัพยากรต่าง ๆ มาดาเนินการ จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการเรียนการสอนให้มีประสิทธิ ภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามความต้อง การของหลักสตู ร ในการวิจัยครงั้ นกี้ าหนดขอบเขตไว้ 12 ด้าน ได้แก่

7 กำรพัฒนำหลักสูตรสถำนศึกษำ หมายถึง การปรับปรุง เปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับมวลประสบ การณ์ท่ีสถานศึกษาจัดให้แก่ผู้เรียนตามสภาพ และความต้องการของท้องถ่ินนั้น ๆ เพื่อส่งเสริมให้ ผู้เรยี นพัฒนาไปสศู่ กั ยภาพสงู สุด เพ่ือเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ กำรพฒั นำกระบวนกำรเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากประสบการณ์เดิม ไปส่ปู ระสบการณ์ใหม่ เป็นการมุ่งปลูกฝังดา้ นปัญญาเพอ่ื พัฒนาการคดิ ให้เกิดการเรียนรู้ กำรวัดผล ประเมินผลและเทียบโอนผลกำรเรียน หมายถึง กระบวนการตรวจสอบผลการ เรียนรู้และพัฒนาการต่าง ๆ ของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร เพื่อนาผลไปปรับปรุง การเรียนการสอน และการนาผลการเรยี นในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัยท่ีผู้เรียนสะสมไว้จาก สถานศึกษาเดียวกัน หรือต่างสถานศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศมาประเมินเป็นผลการเรียน สว่ นหน่ึงของหลกั สูตรในระดบั ใดระดบั หน่งึ ท่ผี ้เู รียนจะเข้าศกึ ษาตอ่ กำรวิจัยเพ่ือพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ หมายถึง การศึกษาวิเคราะห์วิจัยทางบริหาร จัดการและการพัฒนาคุณภาพงานวิชาการในภาพรวมของสถานศึกษา ส่งเสริมให้ครูศึกษาวิเคราะห์ วจิ ยั เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรูใ้ หแ้ ตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ โดยประสานความร่วมมอื ในการศึกษา วิเคราะห์วิจัยตลอดจนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรือพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนและงานวิชาการ กับสถานศึกษา บุคคล ครอบครวั องค์กร หนว่ ยงานและสถาบนั อืน่ กำรพัฒนำสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ หมายถึง การจัดทาและพัฒนา สื่อการเรียนรู้ โดยการนาเทคโนโลยีมาใช้เพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ทางการศึกษา รวมทั้งเครอื ข่ายการเรียน ร้ตู ่าง ๆ ทม่ี ีอย่ใู นชุมชน กำรพัฒนำแหลง่ เรยี นรู้ หมายถึง การจัดเตรียมแหล่งศึกษาค้นคว้า เช่น ห้องสมุดเพื่อการ ศึกษาอย่างเพียงพอเหมาะสม กำรนิเทศกำรศึกษำ หมายถึง กระบวนการร่วมมือของผู้นิเทศกับครูผู้สอนผู้บริหารสถาน ศึกษา และบุคลากรอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวกับการให้การศึกษาท่ีกระตุ้นและส่งเสริมให้มีการปรับปรุงการสอน ให้มีประสิทธิภาพและทนั สมัยอย่เู สมอ อนั จะทาให้ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรียนบรรลสุ ูงสุด กำรแนะแนวกำรศึกษำ หมายถึง การให้คาปรึกษาและการให้ความช่วยเหลือในด้าน การศึกษาเพ่ือพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข สามารถแก้ปัญหาได้ด้วย ตนเองในด้านต่าง ๆ ซ่งึ จะส่งผลให้การเรยี นรูเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิสงู สุด กำรพฒั นำระบบกำรประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ หมายถึง การติดตามตรวจสอบ และตัดสินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษาเองหรือโดย หนว่ ยงานตน้ สงั กดั ทีม่ หี นา้ ที่ดูแลสถานศกึ ษาน้นั กำรส่งเสริมควำมรู้วิชำกำรแก่ชุมชน หมายถึง การที่สถานศึกษาได้ร่วมกับบุคคลครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรวิชาชีพสถาบันศาสนา สถานประกอบ

8 การ และสถาบันสังคมอ่ืน ได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน นับตง้ั แตก่ ารวางแผน การดาเนนิ งาน การใช้ประโยชน์ และการประเมินผล ตลอดจนการสร้างชุมชนให้ เป็นแหล่งการเรยี นร้โู ดยการส่งเสรมิ ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน กำรประสำนควำมร่วมมือในกำรพัฒนำวิชำกำรกับสถำนศึกษำอ่ืน หมายถึง การมีส่วน ร่วมในการวางแผนร่วมกันในการพัฒนาวชิ าการ การดาเนินงานพัฒนาวิชาการ การสรุป และรายงาน ผล การประสานความรว่ มมือในการพฒั นาวชิ าการ กำรส่งเสริมและสนับสนุนงำนวิชำกำรแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงำนและ สถำบันท่ีจัดกำรศึกษำ หมายถึง การมีส่วนร่วมในการสารวจความรู้ของบุคคล ครอบครัวองค์กรและ สถานศึกษาอ่ืน การวางแผนส่งเสริม และสนับสนุนงานวิชาการ การสรุป การรายงานผลให้กับหน่วย งาน และองคก์ รตา่ ง ๆ สภำพกำรดำเนนิ งำนวิชำกำร หมายถึง สภาวะที่ปฏิบัติงาน หรือกระบวนการดาเนินงาน ของกจิ กรรมทุกชนดิ ท่ีกาลังดาเนินการอยหู่ รือทปี่ รากฏเหน็ ผลอยู่ในปจั จบุ ัน ปญั หำกำรดำเนนิ งำนวชิ ำกำร หมายถงึ เหตุขดั ข้องหรืออุปสรรคตา่ ง ๆ ท่ีเกิดข้ึนเป็นข้อที่ ตอ้ งพิจารณาแก้ไขทท่ี าให้ไม่บรรลผุ ลสาเร็จตามวัตถุประสงคท์ ่ีตัง้ ไวใ้ นสถานการณป์ ัจจุบัน และเป็นส่ิง ท่ีต้องแกไ้ ข โรงเรียนสังกัดสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำหนองบัวลำภู เขต 2 หมายถึง สถานศึกษาของรัฐบาลท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน ระดับประถมศึกษาปีท่ี 1-6 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ปีการศึกษา 2559 จานวน 105 โรงเรยี น ข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำในโรงเรียน หมายถึง บุคลากรท่ีได้รับการ แต่งตงั้ ใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ที่ผู้บรหิ ารโรงเรยี นและครผู ้สู อนในโรงเรยี น ตำแหน่งหน้ำท่ี หมายถึง ตาแหน่งหน้าท่ีของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ประกอบดว้ ยผูบ้ ริหารโรงเรียนและครูผสู้ อน ผู้บริหำรโรงเรียน หมายถึง ผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาหรือผู้รักษาการใน ตาแหน่งอานวยการสถานศึกษาท่ปี ฏิบัตงิ านในสถานศกึ ษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถม ศกึ ษาหนองบวั ลาภู เขต 2 ครูผู้สอน หมายถึง ครูที่ปฏิบัติงานด้านการสอนในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาภู เขต 2 ระดับกำรศึกษำ หมายถึง วุฒิที่สาเร็จการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนใน โรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ในปีการศึกษา 2559 แบง่ ออกเป็น 2 กลุ่ม ไดแ้ ก่ 1) ปรญิ ญาตรี และ2) สูงกว่าปริญญาตรี

9 ประสบกำรณ์ในกำรทำงำน หมายถึง ระยะเวลาในการปฏิบัติหน้าท่ีในตาแหน่งผู้บริหาร โรงเรียน และครูผสู้ อนแบ่งออกเป็น 3 กลุม่ ได้แก่ 1) น้อยกวา่ 10 ปี 2) 10-20 ปี 3) มากกวา่ 20 ปี ขนำดสถำนศึกษำ หมายถึง สถานศึกษาท่สี านกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานได้ กาหนดตามจานวนนักเรียน โดยใช้เกณฑ์ของสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติเดิม แบ่งเป็น 3 ขนาด คือ ขนำดเลก็ หมายถึง สถานศึกษาที่มีจานวนนกั เรยี นตงั้ แต่ 1-120 คน ขนำดกลำง หมายถึง สถานศกึ ษาท่ีมจี านวนนักเรียนต้งั แต่ 121-300 คน ขนำดใหญ่ หมายถงึ สถานศึกษาที่มีจานวนนักเรยี นต้ังแต่ 301 คนขน้ึ ไป

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวข้อง การศึกษาสภาพและปัญหาการดาเนินงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาภู เขต 2 ผู้วจิ ัยได้ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 2.1 การดาเนินงานวชิ าการ 2.1.1 ความหมายและความสาคญั ของงานวชิ าการ 2.1.2 การปฏิบตั งิ านด้านการบริหารงานวชิ าการ 2.2 สภาพพน้ื ท่ีทีศ่ กึ ษาสานกั งานเขตพ้นื การศกึ ษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 2.3 งานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ ง 2.1 การดาเนินงานวิชาการ 2.1.1. ความหมายและความสาคญั ของงานวชิ าการ ในสถานศกึ ษา งานวิชาการ ถือวา่ เปน็ งานสาคญั ซง่ึ เป็นเครื่องช้ีวัดถึงความสาเร็จและความ สามารถของผบู้ ริหาร เพราะงานวิชาการมคี วามสัมพันธ์กับกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษา โดยเฉพาะ เกี่ยวกับการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักของสถานศึกษา ดังน้ัน จึงต้อง ศึกษาถึงความหมายและความสาคัญของงานวิชาการ ซึ่งมีผู้ให้ความหมายและความสาคัญของงาน วิชาการไว้หลายประการ ดังตอ่ ไปน้ี 1) ความหมายของงานวชิ าการ นิพนธ์ กินาวงษ์ (2543, หน้า 68-69) กล่าวว่า งานวิชาการคือหัวใจของสถานศึกษา หนา้ ที่หลักของโรงเรียนคอื การให้ความรู้ทางวิชาการแกน่ ักเรียนเป็นสาคัญ โรงเรียนจะทาภาระหน้าท่ี ได้สมบูรณ์ก็ต่อเม่ือผู้บริหารโรงเรียนให้ความสาคัญต่องานวิชาการ รู้และเข้าใจขอบเขตการบริหาร งานวิชาการเป็นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างย่ิงงานด้านหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน งานด้านการ ปรับปรงุ การเรียนการสอนและงานดา้ นการวดั ผลประเมินผลการเรียน ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2545, หน้า 16) ให้ความหมายของงานวิชาการว่าหมายถึง กจิ กรรมทกุ อย่างที่เก่ยี วข้องกับการปรับปรุงการเรียนการสอนให้ดีข้ึน ตั้งแต่การกาหนดนโยบาย การ วางแผน การปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน ตลอดจนการประเมินผลการสอนเพื่อให้เป็นไปตาม จุดมงุ่ หมายของหลกั สูตรและจดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษา เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผเู้ รยี น

11 อาภา บุญช่วย (2537, หน้า 1-2) ให้ความหมายของงานวิชาการไว้ว่า เป็นกิจกรรมและ ประสบการณ์ต่าง ๆ ทุกชนิดในโรงเรียนท่ีจัดให้แก่นักเรียน ตลอดจนการอบรมศีลธรรมจรรยาและ ความประพฤติของนักเรียนเพ่ือให้เป็นคนดีมีความรู้ ความสามารถพอที่จะทามาหาเล้ียงชีพได้ มี ความสุข ความพอใจตามมาตรฐานและสภาพความเป็นอยู่และช่วยเหลือเผ่ือแผ่เพ่ือนบ้าน และสังคม พอสมควร เกสิณี ชิวปรีชา (2540, หน้า 8-9) ให้ความหมายถึงงานวิชาการว่า หมายถึง กิจกรรม ทางการศึกษาที่จัดขึ้นท้ังภายนอกและภายในห้องเรียน เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์และเกิดการ เรียนรู้ ท้ังด้านความรู้ ทัศนคติ คุณสมบัติและทักษะความสามารถตามที่ได้กาหนดไว้ในจุดมุ่งหมาย ของการศึกษาชาติและสอดคล้องกับระบอบการปกครองของประเทศในขณะนั้นซ่ึงกิจกรรมดังกล่าว เป็นกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องทั้งด้านการเรียนการสอนโดยตรงและกิจกรรมอ่ืน ๆ ท่ีจัดข้ึนเพ่ือส่งเสริมให้ การจัดการเรยี นการสอนมปี ระสทิ ธภิ าพและไดม้ าตรฐานยิ่งข้ึนดว้ ย ศริ พิ รรณ์ จินดาทอง (2548, หน้า 10) ได้ให้ความหมายของงานวิชาการว่า หมายถึง การ จัดกิจกรรมท่ีเก่ียวกับการเรียนการสอนในสถานศึกษา รวมถึงการปรับปรุงการพัฒนาการเรียนการ สอนให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพ่ือพัฒนานักเรียนให้เป็นพลเมืองดี มีคุณธรรม สามารถ ประกอบอาชพี ช่วยพฒั นาประเทศชาตใิ หเ้ จริญกา้ วหน้าต่อไป จากความหมายของงานวิชาการในทัศนะของบุคคลต่าง ๆ ที่กล่าวมา สรุปได้ว่า งาน วิชาการ หมายถึง กจิ กรรมทกุ ชนดิ ทีโ่ รงเรยี นจัดขึ้นเพือ่ พฒั นาและเสริมสร้างประสบการณ์ให้นักเรียน ได้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ค่านิยม คุณธรรม สามารถดารงตนเป็นพลเมืองท่ีดีมี คุณสมบัติและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตามท่ีสงั คมต้องการ 2) ความสาคัญของงานวิชาการ หากจะกล่าวถึงความสาคญั ของงานวิชาการแล้ว อาจกล่าวได้ว่า งานวิชาการมีความสาคัญ มากในฐานะทเี่ ป็นงานหลักของโรงเรยี น โดยมีนักวชิ าการกลา่ วถึงความสาคญั ของงานวิชาการไว้ ดังนี้ กติ มิ า ปรีดดี ิลก (2532, หน้า 48) ได้กล่าวไว้ว่า ความสาคัญของงานวิชาการเป็นงานหลัก ของโรงเรียน ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนประเภทใด มาตรฐานหรือคุณภาพมักจะได้รับการพิจารณาจากผล งานวชิ าการเปน็ สาคัญ อาภา บุญช่วย (2537, หน้า 2) ให้ความสาคัญต่องานวิชาการว่า งานวิชาการมิใช่เพียงให้ นักเรียนอา่ นออก เขยี นได้ ทาเลขเก่งเท่าน้ัน แต่ยงั รวมถึงการดารงชีวิตในสังคมอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี ความสุข งานวิชาการยังเน้นถึงการออกไปประกอบอาชีพได้และเป็นงานที่รับผิดชอบต่อคุณภาพของ พลเมืองที่จะออกไปชว่ ยพัฒนาประเทศในอนาคตด้วย อุทัย บุญประเสรฐิ (2546, หนา้ 5) กล่าวถึงความสาคัญของงานวิชาการว่าเป็นงานหลักท่ี เป็นหวั ใจของโรงเรยี น มีหลักสูตรเป็นส่วนสาคัญท่ีสุดของงานวิชาการ ใช้กากับกระบวนการผลิตและ

12 กากับการจัดระบบงานในส่วนต่าง ๆ ของโรงเรียนให้ตอบสนองและสนับสนุนการทางานของโรงเรียน ให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ให้ได้คนท่ีเป็นคนโดยสมบูรณ์งานวิชาการจึงเป็นงานศูนย์กลางของโรงเรียน ครอบคลุมโรงเรยี นท้ังระบบ รัตนศักดิ์ มณีรัตน์ (2540, หน้า 22) ได้กล่าวว่างานวิชาการเป็นงานหลักท่ีสาคัญท่ีสุดใน การบริหารงานในโรงเรียน เพราะผลที่เกิดจากงานวิชาการส่งผลต่อตัวนักเรียนโดยตรงส่วนงานอ่ืน ๆ น้นั เป็นงานที่มาสนับสนุนใหง้ านดา้ นวิชาการมีประสทิ ธภิ าพสูงขน้ึ ดังนั้น จึงสามารถสรุปความสาคัญของงานวิชาการได้ว่า งานวิชาการเป็นงานหลักของ สถานศึกษาไม่ว่าสถานศึกษาจะเป็นประเภทใด มาตรฐานและคุณภาพของสถานศึกษาจึงพิจารณาได้ จากผลงานทางดา้ นวชิ าการของโรงเรียน 2.1.2 การปฏบิ ัตงิ านด้านการบริหารงานวชิ าการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้แบ่งขอบข่ายภารกิจงานของสถานศึกษา ตามพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี กไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 39 ไว้ ดงั ภาพประกอบนี้

13 ขอบข่ายและกจิ การบริหารการศึกษาและการจดั การสถานศึกษา การบริหารวิชาการ การบรหิ ารงบประมาณ การบรหิ ารงานบคุ คล การบรหิ ารทว่ั ไป 1. การพฒั นาหลกั สตู ร 1. การจดั ทาและเสนอ 1. การวางแผนอตั รา 1. การงานธรุ การ การศกึ ษา ของบประมาณ กาลงั และกาหนด 2. งานเลขานุการคณะกรรม 2. การพฒั นากระบวน 2. การจัดสรรงบประมาณ ตาแหนง่ การสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน การเรยี นรู้ 3. การตรวจสอบตดิ ตาม 2. การสรรหาและการ 3. งานพัฒนาระบบเครือข่าย 3. การวัดผล ประเมนิ ผล ประเมินผลและรายงาน บรรจุแตง่ ตั้ง ข้อมลู สารสนเทศ และเทยี บโอนผลการเรียน ผลการใช้เงินและผลการ 3. การเสริมสรา้ ง 4. การประสานและพฒั นา 4. การวิจยั เพื่อพฒั นา ดาเนนิ งาน ประสทิ ธิภาพในการ เครือข่าย คุณภาพการศกึ ษา 4. การระดมทรพั ยากร ปฏิบัติราชการ 5. การจดั ระบบการบริหาร 5. การพฒั นาคณุ ภาพ และการลงทนุ เพ่ือการ 4. วนิ ัยและการรักษา และพัฒนาองคก์ ร การศึกษา ศกึ ษา วนิ ยั 6. งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ 6. การพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ 5. การบรหิ ารการเงนิ 5. การออกจากราชการ 7. การสง่ เสรมิ สนับสนนุ 7. การนเิ ทศการศึกษา 6. การบรหิ ารบัญชี ด้านวชิ าการ 8. การแนะแนวการศกึ ษา 7. การบริหารพัฒนา 8. การดูแลสถานท่แี ละ 9. การพัฒนาระบบการ พสั ดุ และสนิ ทรพั ย์ สภาพแวดลอ้ ม ประกนั คุณภาพภายใน 9. การจดั ทาสามะโนใน สถานศึกษา ผูเ้ รยี น 10. การสง่ เสรมิ ความรู้ 10. การรบั นักเรียน ด้านวชิ าการแก่ชุมชน 11. การสง่ เสริมและ การประสานความรว่ ม ประสาน งานการศกึ ษาใน มือในการพฒั นาวิชาการ ระบบ นอกระบบและตาม กับสถานศกึ ษาอ่นื อธั ยาศัย 12. การส่งเสริมและ 12. การะดมทรัพยากรเพ่ือ สนบั สนนุ งานวชิ าการแก่ การศึกษา บคุ คล ครอบครัว องค์กร 13. งานสง่ เสริมงาน หน่วยงานและสถาบนั อื่น กจิ กรรมการเรยี น ทจี่ ดั การศึกษา 14. การประชาสัมพนั ธ์งาน การศึกษา แผนภมู ิท่ี 2.1 ขอบขา่ ยการจัดการศึกษาในสถานศึกษา ทมี่ า : กระทรวงศึกษาธิการ (2546 ข, หน้า 32)

14 สรปุ ไดว้ ่า การดาเนนิ งานวิชาการ หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการท่ีอาศัยบุคคลหลาย ฝา่ ยรว่ มมือกันวางแผน นาทรัพยากรต่าง ๆ มาดาเนินการ จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตาม ความต้องการของหลักสตู ร ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมุ่งท่ีจะศึกษาเฉพาะงานด้านวิชาการเพ่ือศึกษาสภาพและปัญหา การดาเนนิ งานวิชาการของโรงเรยี น สังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ตามขอบ ข่ายของงานใน 12 ภารกิจ ดังนี้ (1) การพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา (2) การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ (3) การวดั ผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรยี น (4) การวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศึกษา (5) การพัฒนาส่อื นวตั กรรม และเทคโนโลยี (6) การพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ (7) การนเิ ทศการศึกษา (8) การแนะแนวการศกึ ษา (9) การพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา (10) การส่งเสรมิ ความรู้ด้านวิชาการแก่ชมุ ชน (11) การประสานความรว่ มมือในการพัฒนาวชิ าการกบั สถานศึกษาอืน่ (12) การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและ สถาบนั อนื่ ที่จดั การศกึ ษา การพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา (1) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ ด้านต่าง ๆ ของโลกยุคโลกาภิวัตน์ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจของทุกประเทศ รวมทั้งประเทศไทยด้วย จึงมีความจาเป็นที่จะต้องปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาของชาติ ซ่ึงถือเป็น กลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศ เพื่อสร้างคนไทยให้เป็นคนดี มีปัญญา มี ความสุข มีศักยภาพพร้อมที่จะแข่งขัน และร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในเวทีโลก (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545, หน้า 1) ฉะน้ัน เพ่ือให้การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานสอดคล้องกับสภาพความเปล่ียนแปลงทาง เศรษฐกจิ สังคมและความเจริญกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาการ เป็นการสรา้ งกลยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาให้สามารถตอบสนองความต้องการของบุคคล สังคมไทย ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขัน และรว่ มมอื อยา่ งสร้างสรรคใ์ นสงั คมโลกเป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2540 และพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2)

15 พ.ศ. 2545 กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้มีคาส่ัง ท่ี วก 1166/2544 เรื่อง การใช้หลักสูตรการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงกาหนดว่า ปีการศึกษา 2546 ให้ใช้หลักสูตรดังกล่าวในช้ันประถมศึกษา ปที ่ี 1 และ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 และ 4 ปีการศึกษา 2547 ให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1, 2, 4 และ 5 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2, 4 และ 5 และปีการศึกษา 2548 ให้ใช้หลักสูตรนี้ทุกช้ันเรียน และให้เร่ิมใช้ ในโรงเรียนนาร่อง และโรงเรียนเครือข่ายท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศรายช่ือ ในช้ันเรียนที่เป็นไป ตามลาดับข้างต้น ตง้ั แต่ปีการศึกษา 2545 เป็นตน้ ไป (2) ลักษณะของหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ก. เปน็ หลักสตู รสาหรับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ต่อเนือ่ งตลอด 12 ปี ข. มคี วามเปน็ เอกภาพ ค. เนน้ ความรู้คูค่ ุณธรรม ง. มคี วามเปน็ สากลบนพื้นฐานความเป็นไทย จ. มคี วามยดื หยุน่ ฉ. มีมาตรฐานเปน็ ตัวกาหนดคณุ ภาพผ้เู รียน (3) เปา้ หมายการพฒั นาผเู้ รียน ก. เปน็ คนดี ข. มีปญั ญา ค. มคี วามสขุ ง. มีความเป็นไทย (4) หลักการของหลกั สูตร เพ่ือให้การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเป็นไปตามแนวนโยบายการจัดการศึกษาของประเทศ จึงกาหนดหลกั การของหลกั สูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไว้ดงั นี้ ก. เป็นการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มุ่งเน้นความเป็นไทยควบคู่กับความ เปน็ สากล ข. เป็นการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนจะได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและ เท่าเทยี มกันโดยสังคมมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา ค. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตโดยถือว่า ผู้เรียนมคี วามสาคญั ทสี่ ุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ง. เป็นหลกั สตู รทมี่ โี ครงสรา้ งยดื หยนุ่ ทงั้ ดา้ นสาระ เวลาและการจัดการเรยี นรู้ จ. เป็นหลักสูตรที่จัดการศึกษาได้ทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายสามารถ เทยี บโอนผลการเรยี นรูแ้ ละประสบการณ์ (5) จดุ มุง่ หมายของหลกั สูตร

16 หลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กาหนดจุดหมายซง่ึ ถือเปน็ มาตรฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิด คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคต์ ่อไปนี้ ก. เห็นคณุ ค่าของตนเอง มวี ินัยในตนเอง ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถอื มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมอนั พึงประสงค์ ข. มีความคิดสรา้ งสรรค์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักการอา่ น รักการเขยี น และรักการคน้ ควา้ ค. มีความรู้อันเป็นสากล รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยา การ มีทักษะและศักยภาพในการจัดการ การสอ่ื สารและการใช้เทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการทางาน ไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ ง. มีทักษะและกระบวนการโดยเฉพาะทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ทักษะการคิด การสร้างปัญหา และทักษะในการดาเนินชีวติ จ. รักการออกกาลงั กาย ดแู ลตนเองให้มีสขุ ภาพและบุคลกิ ภาพท่ีดี ฉ. มีประสทิ ธิภาพในการผลติ และการบริโภค มีคา่ นิยมเป็นผผู้ ลติ มากกว่าผู้บรโิ ภค ช. เข้าใจในประวัตศิ าสตร์ของชาติไทย ภูมิใจในความเป็นไทย เป็นพลเมืองดี ยึดม่ันใน วถิ ชี ีวิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข ซ. มจี ติ สานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬาภูมิปัญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติ และพัฒนาสง่ิ แวดลอ้ ม ฌ. รกั ประเทศชาติและท้องถนิ่ มงุ่ ทาประโยชนแ์ ละสรา้ งส่งิ ทดี่ ีงามใหส้ งั คม (6) โครงสร้างหลักสูตร เพอ่ื ให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการ จุดมุ่งหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนด ไว้ให้สถานศึกษาและผู้เก่ียวข้องมีแนวปฏิบัติในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา จึงได้กาหนดโครงสร้าง ของหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม ดังนี้

17 ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา ชว่ งช้ันท่ี 1 ช่วงชั้นที่ 2 ชว่ งช้นั ท่ี 3 ช่วงชน้ั ท่ี 4 (ป.1-3) (ป.4-6) (ม.1-3) (ม.4-6) การศึกษาภาคบังคบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กลุม่ สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่  ภาษาไทย  คณติ ศาสตร์  วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และ  วัฒนธรรม สขุ ศึกษาและพลศึกษา   ศิลปะ   การงานอาชพี และเทคโนโลยี   ภาษาตา่ งประเทศ   กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน   ประมาณปีละ ประมาณปลี ะ ประมาณปลี ะ ไม่นอ้ ยกวา่ เวลาเรยี น 800- 800- 1,000- ปลี ะ 1,000 ช.ม. 1,000 ช.ม. 1,200 ช.ม. 1,200 ช.ม. แผนภูมิที่ 2.2 สรปุ โครงสร้างหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ท่มี า : กระทรวงศึกษาธิการ (2545, หน้า 8) หมายเหตุ  สาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาใช้เป็นหลักเพื่อสร้างพ้ืนฐานการคิด การเรียนรู้และการ แกป้ ญั หา  สาระการเรียนรู้ท่ีสร้างเสริมความเป็นมนุษย์และศักยภาพพ้ืนฐานในการคิดและการ ทางาน  กิจกรรมเสริมสรา้ งการเรียนรู้นอกจากสาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ และการพฒั นาตนเอง ตามศกั ยภาพ

18 ทง้ั น้ี สถานศกึ ษาอาจจดั เวลาเรียนและกลุ่มสาระตา่ ง ๆ ไดต้ ามสภาพกลมุ่ เป้าหมายสาหรับ การศกึ ษานอกระบบ สามารถจัดเวลาเรยี นและช่วงชัน้ ไดต้ ามระดบั การศกึ ษา (7) หลักสตู รสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เป็นหลักสูตรท่ีพัฒนาขึ้นตามสาระท่ีได้ บญั ญัติไวใ้ นมาตรา 27 แหง่ พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งกาหนดให้มีหลักสูตรแกนกลางของประเทศเพ่ือความเป็นไทย ความเป็น พลเมืองที่ดีของประเทศชาติ โดยหลักสูตรที่พัฒนาข้ึนมีมาตรฐานเป็นตัวกาหนดคุณภาพผู้เรียน มี ลักษณะเป็นเอกภาพ มีความยืดหยุ่น จัดต่อเนื่องสิบสองปีเน้นความรู้คู่คุณธรรม ความเป็นไทย และ ความเป็นสากลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าท่ีในการจัดการศึกษาให้บรรลุตามมาตรฐาน โดยการ จดั ทาสาระของหลักสตู รตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดในส่วนท่ีเก่ียวกับสภาพปัญหาในชุมชน และสังคม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อความเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน และ ประเทศชาติ ดังนั้น จึงเป็นบทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาโดยตรงที่จะต้องแปลงหลักสูตรท่ีกาหนดไว้ เฉพาะมาตรฐานกลุ่มสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ัน ไปสู่รายละเอียดในการจัดการเรียนการ สอน ให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามจุดหมายและมาตรฐานท่ีกาหนด กล่าวคือ สถานศึกษาต้องจัดทา หลักสูตรของตนเองที่สนองจุดหมายของหลักสูตรแกนกลาง ยึดมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ พร้อมท้ังเพ่ิมเติมในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับสถานศึกษา ชุมชน และท้องถิ่นเข้าไป เพื่อจะได้แผนที่เป็น ข้อกาหนดแนวทางและรายละเอียดในการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามมาตรฐาน การศกึ ษาของชาติ และสภาพความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน ตลอดจนสนองความถนัด ความสนใจ และความสามารถของผู้เรียนให้เกิดการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ (วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2545, หน้า 1-2) (8) ความหมายของหลกั สูตรสถานศึกษา หลกั สตู รสถานศึกษา เป็นแผนหรือแนวทางหรือข้อกาหนดของการจัดการศึกษาที่จะพัฒนา ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ โดยส่งเสริมให้แต่ละบุคคลพัฒนาไปสู่ศักยภาพสูงสุดของตน รวมถึง ลาดับขั้นของมวลประสบการณ์ท่ีก่อให้เกิดการเรียนรู้สะสม ซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนนาความรู้ไปสู่การ ปฏิบัติได้ ประสพความสาเร็จในการเรียนรู้ด้วยตนเอง รู้จักตนเองมีชีวิตอยู่ในโรงเรียน ชุมชน สังคม และโลกอย่างมีความสขุ ดงั นัน้ หลกั สูตรสถานศึกษาประกอบด้วยการเรียนรู้และประสบการณ์อื่น ๆ ท่ี สถานศึกษาแต่ละแห่งวางแผนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนโดยจะต้องจัดทาสาระการเรี ยนรู้ทั้งรายวิชาที่เป็น พื้นฐานและรายวิชาท่ีต้องการเรียนเพิ่มเติมที่กาหนดไว้เป็นรายปี หรือรายภาค จัดกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนในแต่ละปีหรือภาค และกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์จากจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการ ศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน (วฒั นาพร ระงับทุกข,์ 2545, หน้า 2)

19 (9) ความสาคญั ของหลกั สตู รสถานศกึ ษา หลักสูตรสถานศึกษามีความสาคัญต่อการพัฒนาผู้เรียนในทุก ๆ ด้าน หลักสูตรจะช้ีแนะให้ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตลอดจนผู้เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดมวลประสบ การณ์ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองในด้านความรู้ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ จนบรรลุผลตามจดุ มงุ่ หมายของการจัดการศึกษา สถานศึกษาจะต้องทางานร่วมกับครอบครัวและชุมชน ท้องถ่ิน วัด หน่วยงานและสถาน ศึกษาท้ังภาครัฐและเอกชนในทอ้ งถิ่น เพอ่ื ให้เกดิ ผลตามจดุ มงุ่ หมายสาคัญของหลักสูตร2 ประการ จุด มุ่งหมายท้ัง 2 ประการนี้จะให้แนวทางที่สาคัญ ซ่ึงสถานศึกษาต้องพัฒนาหลักสูตรภายในบริบทและ แนวทางนั้น ๆ ดังน้ี ก. หลักสูตรสถานศกึ ษาควรพัฒนาให้เด็กเกิดความสนุกและความเพลิดเพลินในการเรียนรู้ เปรยี บเสมือนเป็นวธิ ีสรา้ งกาลงั ใจและเรา้ ใจให้เกิดความก้าวหน้าแก่ผู้เรียนให้มากที่สุด มีความรู้สูงสุด สาหรับผู้เรียนทุกคนควรสร้างความเข้มแข็ง ความสนใจ และประสบการณ์ให้ผู้เรียนให้พัฒนาความ ม่ันใจในการเรียนและทางานอย่างเป็นอิสระและร่วมใจกันควรให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้สาคัญ ๆ ในการอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น ได้ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสาร ส่งเสริมจิตใจท่ีอยากรู้ อยากเห็น และมกี ระบวนการคิดอย่างมเี หตผุ ล ข. หลักสูตรสถานศึกษาควรส่งเสริมการพัฒนาด้านจิตวิญญาณ จริยธรรมสังคมและ วัฒนธรรม และโดยเฉพาะพัฒนาหลักการในการจาแนกระหว่างถูกและผิด เข้าใจและศรัทธาในความ เชอื่ ของตน ความเชือ่ และวฒั นธรรมทีแ่ ตกต่างกัน มอี ิทธิพลต่อตัวบุคคลและสังคมหลักสูตรสถานศึกษา ต้องพัฒนาหลักคุณธรรมและความอิสระของผู้เรียนและช่วยให้เป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ สามารถช่วยพัฒนาสังคม ให้เป็นธรรมข้ึน มีความเสมอภาค ควรพัฒนาความตระหนัก เข้าใจและยอม รับสภาพแวดล้อมท่ีตนดารงชีวิตอยู่ ยึดม่ันในข้อตกลงร่วมกันต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในระดับส่วนตน ระดับท้องถนิ่ และระดบั โลก หลักสูตรสถานศึกษาควรสร้างให้ผู้เรียนมีความพร้อม ในการเป็นผู้บริโภค ที่ตดั สินใจแบบมีข้อมลู เปน็ อสิ ระและเขา้ ใจในความรับผิดชอบ (10) ความหมายของการพัฒนาหลกั สตู ร การพัฒนาหลักสูตรเปน็ ภารกิจท่ีสาคัญ มผี ู้ให้ความหมายไวห้ ลายกรณี ดังน้ี วิชัย วงษ์ใหญ่ (2525, หน้า 10) กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตร คือ การพยายามวางโครง การทีจ่ ะช่วยใหน้ กั เรียนได้เรียนรตู้ รงตามจดุ มงุ่ หมายทก่ี าหนดไว้ หรอื การพัฒนาหลักสูตรและการสอน คือ ระบบโครงสร้างของการจัดโปรแกรมการสอน การกาหนดจุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระ การปรับปรุง ตารา แบบเรียน คู่มือครู และสื่อการเรียนต่าง ๆ การวัดและการประเมินผลการใช้หลักสูตรการปรับ ปรุงแก้ไข และการให้การอบรมครูผู้ใช้หลักสูตรให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการพัฒนาหลักสูตรและ การสอน รวมท้ังการบริหารและบรกิ ารหลักสูตร

20 สงัด อทุ รานันท์ (2532, หน้า 10) กล่าววา่ การพฒั นาหลักสตู รมีความหมายอยู่ 2 ลกั ษณะ คือ ก. การทาหลกั สตู รที่มีอยูแ่ ลว้ ให้ดขี นึ้ หรือสมบรู ณ์ข้ึน และ ข. การสรา้ งหลักสตู รข้ึนมาใหมโ่ ดยไม่มีหลกั สตู รเดมิ เปน็ พน้ื ฐาน การพัฒนาหลักสูตร จึงต้องทาอย่างเป็นระบบ เป็นกระบวนการ มีขั้นตอนมีหลักเกณฑ์ และตงั้ อยู่บนพนื้ ฐานของความเทยี่ งตรง ซึ่งในส่วนของการพัฒนาหลักสูตรระดับสถานศึกษาตามคู่มือ แนวทางการบริหารและการจัดการศึกษาในเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษากล่าวถึงบทบาทและ หนา้ ที่ของสถานศกึ ษาในด้านการพัฒนาหลกั สตู ร มีดังน้ี ก. จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของผู้เรียน ผปู้ กครอง ชมุ ชนและสังคมตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ข. บริหารจัดการหลกั สูตรสถานศกึ ษา ค. นเิ ทศเพอื่ การพฒั นาการใชห้ ลกั สตู รภายในสถานศกึ ษา ง. ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา และรายงานผลให้เขตพื้นท่ี การศกึ ษารับทราบ สรุปได้ว่า การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หมายถึง การปรับปรุง เปลี่ยนแปลงเก่ียวกับ มวลประสบการณ์ท่ีสถานศึกษาจัดให้แก่ผู้เรียนตามสภาพ และความต้องการของท้องถิ่นน้ัน ๆ เพื่อ ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาไปสู่ศักยภาพสูงสุด เพ่ือเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ (1) ความหมายของการพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ รุ่ง แก้วแดง (2541, หน้า 172) กล่าวถึงการพัฒนากระบวนการเรียนรู้คือการปฏิบัติ กระบวนการเรียนการสอน เปน็ หัวใจของการเปล่ียนแปลงท่ีระบบการศึกษาไทย ต้องทาให้ได้ และไป ถึงทุกสถานศึกษาทุกห้องเรียน เปลี่ยนจากการเรียนแบบท่องจา เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียน โดยการปฏบิ ตั ผิ ่านกิจกรรมตา่ ง ๆ ทีจ่ ะทาให้ผู้เรียนสามารถเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2545, หน้า 10) พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ 2542 หมวด 4 มาตรา 24 กล่าวถึง การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ คือ จัดเน้ือหาสาระและ กิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจความถนัดและความแตกต่างของผู้เรียน ฝึกทักษะกระบวนการ จัดการเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ใช้เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้ผู้เรียนรู้จากการเรียน จากประสบการณ์จริงฝึกการปฏิบัติให้ทาได้คิดเป็นทาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเน่ือง ผสมผสานสาระความรูด้ ้านต่าง ๆ อย่างสมดุลรวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ไว้ในทุกกลุ่มสาระ ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมสื่อการเรียนทั้งน้ีผู้สอนและ ผู้เรียนอาจจะเรียนรู้ไปพร้อมกัน กับสื่อและแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย พ่อแม่ผู้ปกครองและชุมชนมี สว่ นรว่ มในการจดั การเรียนรู้ใหเ้ กิดขนึ้ ไดท้ กุ เวลาทกุ สถานที่

21 รุจิร์ ภู่สาระ และจันทรานี สงวนนาม (2541, หน้า 31) การพัฒนากระบวนการเรียนหรือ ท่ีเรียกว่า การปฏิรูปการเรียนรู้ท้ังในส่วนท่ีเก่ียวกับวิธีการเรียนของผู้เรียนและวิธีการสอนของครู ซ่ึง ครูจะต้องสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกวิเคราะห์และศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเองรจู้ กั วิธคี ิดวิธกี ารดาเนนิ ชีวิต และมีทกั ษะในการเผชญิ กบั ปญั หาตา่ ง ๆ ได้ จากคากล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ คือ การปฏิรูปการเรียนรู้ท้ัง ในส่วนท่ีเก่ียวกับวิธีการเรียนของผู้เรียนและวิธีการสอนของครู ซึ่งครูจะต้องสอนโดยยึดผู้เรียนเป็น สาคญั เปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นได้ฝกึ วิเคราะห์ และศกึ ษาค้นควา้ ได้ดว้ ยตนเองรูจ้ กั วิธีคิดวิธีการดาเนินชีวิต และมีทักษะในการเผชิญกบั ปัญหาต่าง ๆ ได้ (2) ความสาคญั การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ รุ่ง แก้วแดง (2541, หน้า 40-41) ได้กล่าวถึงความสาคัญของความจาเป็นในการพัฒนา กระบวนการเรยี นรู้ดงั นี้ 1. สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นรจู้ ักคดิ วิเคราะหอ์ ยา่ งมีเหตุผลมวี จิ ารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม และมีการฝึกปฏิบัติจากประสบการณ์จริงพร้อมท้ังปรับปรุเนื้อหา สาระวิชาและกระบวนการเรียนรู้ในวชิ าการสาคัญ 2. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักเรียน นักศึกษาที่มีปฏิสัมพันธ์กับสังคมและการปรับปรุง เน้ือหาสาระของหลักสูตรใหม้ ีลักษณะบูรณาการ 3. กระตุ้นและสนบั สนนุ การค้นคว้าหาความรู้ผ่านหนังสือและแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและใช้ มาตรการทางภาษาเพื่อมาสนับสนุนให้มีหนังสือและอุปกรณ์สร้างเสริมการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพและ ราคาถูก 4. สนบั สนนุ ให้มีการประสานงาน ระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการค้นคว้าการวิจัยการ สาธติ การสอนแนะนาวธิ ีการปฏิบตั ติ อ่ เด็กปญั ญาเลิศและเด็กมีความสามารถพิเศษ กมล ภู่ประเสริฐ (2545, หน้า 44) ได้กล่าวถึงความสาคัญและความจาเป็นในการพัฒนา กระบวนการเรียนรู้ ดงั นี้ 1. สอดคล้องความถนัดความสนใจและความต้องการของผูเ้ รียน 2. ส่งเสริมความสามารถในกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือให้มีการเรียนรู้ต่อเน่ืองตลอดชีวิตหรือ การเป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรู้ 3. สง่ เสรมิ พัฒนาการทุกดา้ นของผเู้ รยี นแต่ละคน โดยคานงึ ถงึ ความแตกต่างระหว่างบคุ คล 4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นกระบวนการคิดการเปล่ียนแปลงที่ ระบบการศึกษาไทย เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้เพื่อให้มีการเรียนรู้ต่อเน่ืองตลอดชีวิตหรือการเป็น บคุ คลแห่งการเรยี นรู้ ผู้เรียนรู้จกั คิด วิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์รู้จักการค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติม และมีการฝึกปฏิบัติจากประสบการณ์จริงพร้อมท้ังปรับปรุงเนื้อหาสาระวิชา และ กระบวนการเรียนรใู้ นวิชาการสาคญั โดยคานงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล

22 (3) แนวทางการพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 24 ได้กาหนดแนวทางในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานไว้ดังนี้ (กระทรวง ศกึ ษาธิการ 2546 ข, หน้า 8) 1. จัดเนอ้ื หาสาระและกิจกรรมใหส้ อดคล้องกบั ความสนใจ และ ความถนัดของผู้เรียน โดย คานงึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคล 2. ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และประยุกต์ความรู้มาใช้ เพ่ือป้องกันและแกไ้ ขปัญหา 3. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทา เป็น รกั การอา่ นและการใฝร่ ู้อยา่ งต่อเนอื่ ง 4. จัดการเรียนรู้โดยผสมผสานสาระความรู้ต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกันรวมทั้งปลูกฝัง คา่ นยิ มท่ีดีงาม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ไว้ในทุกวชิ า 5. สง่ เสริมสนับสนนุ ให้ผ้สู อนสามารถจดั บรรยากาศสภาพแวดล้อมส่ือการเรียนและอานวย ความสะดวกให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของ กระบวนการเรียนรู้ ไปพร้อมกนั จากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ 6. จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานท่ีมีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา และบุคคลในชุมชนทุกฝา่ ย เพ่ือรว่ มกันพัฒนาผูเ้ รียนตามศกั ยภาพ กระทรวงศึกษาธกิ าร (2546 ข, หน้า 34-35) กล่าวถึงแนวทางในการพัฒนากระบวน การ เรียนร้ขู องสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ไวด้ ังน้ี 1. สง่ เสรมิ ให้ครจู ดั ทาแผนการจดั การเรยี นรตู้ ามสาระและหนว่ ยการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียน เปน็ สาคัญ 2. ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้โดย จัดเนื้อหาสาระแต่กิจกรรมให้สอดคล้องกับ ความสนใจและความถนัดของผู้เรียน ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อป้องกันและแก้ปัญหาการเรียนรู้ จากประสบการณ์จริง การส่งเสริมให้รัก การอ่านและใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง การผสมผสานความรู้ต่าง ๆ ให้สมดุลกันปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดี งาม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่สอดคล้องกับเน้ือหาสาระท้ังน้ีโดยจัดบรรยากาศและส่ิงแวดล้อม และแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ และการนาภูมิปัญญาท้องถ่ินหรือเครือข่าย ผ้ปู กครองชุมชน ทอ้ งถน่ิ มามสี ่วนรว่ มในการจดั การเรียนการสอนตามความเหมาะสม 3. จัดใหม้ ีการนิเทศการเรยี นการสอนแก่ครู ในกลุ่มสาระต่าง ๆ โดยเน้นการนเิ ทศท่ีร่วมมือ ช่วยเหลือกันแบบกัลยาณมิตร เช่น นิเทศแบบเพ่ือนช่วยเพ่ือน เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนร่วมกัน หรือแบบอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสมส่งเสริมให้มีการพัฒนาครู เพ่ือพัฒนากระบวนการเรียนรู้ตาม ความเหมาะสม

23 จากที่กล่าวมาข้างต้นแนวทางการพัฒนากระบวนการเรียนรู้สถานศึกษาของสถานศึกษา ขัน้ พ้นื ฐาน คอื สง่ เสรมิ ใหค้ รูจัดทาแผนการจดั การเรียนร้ตู ามสาระและหน่วยการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ สง่ เสรมิ ใหค้ รูจัดกระบวนการเรียนรู้โดยจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความ สนใจและความถนดั ของผู้เรียน จัดใหม้ กี ารนิเทศการเรียนการสอนแกค่ รใู นกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยเน้นการนิเทศที่ร่วมมือกันช่วยเหลือกันแบบกัลยามิตร จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบ การณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้คิดเป็นทาเป็นรักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเน่ืองส่งเสริมสนับ สนุนให้ผู้สอนสามารถ จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม ส่ือการเรียน และอานวยความสะดวกเพ่ือให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ ส่งเสริมให้ครูผู้สอนสามารถใช้การวิจัย เป็นส่ือการเรียนการ สอน และแหล่งวิทยาการต่าง ๆ มาพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยผสม ผสานสาระความรู้โดยปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ีดีงาม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ท่ีสอดคล้องกับ กลุ่มสาระ และ จัดการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนได้ทุกเวลาทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผปู้ กครองและบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝ่ายเพ่ือรว่ มกนั พฒั นาผู้เรยี นตามศกั ยภาพ สรุปว่าการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากประสบ การณเ์ ดิมไปสู่ประสบการณใ์ หม่ เป็นการมุ่งปลกู ฝังดา้ นปัญญาเพ่ือพัฒนาการคิดให้เกดิ การเรยี นรู้ การวดั ผลประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน การเรียนรู้จะมีประสิทธิภาพมากขึ้น ถ้าผู้เรียนได้รู้ผลความก้าวหน้าในการเรียนของเขา ดังน้ัน การประเมินผลจึงเป็นเร่ืองสาคัญมาก (เอกรินทร์ ส่ีมหาศาล, 2545, หน้า 58) การวัดผลและ การประเมินผลการเรียนการสอน จึงเป็นหน้าท่ีสาคัญของโรงเรียนและครูผู้สอนที่ต้องดาเนินการ ถือ ได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอนทาให้ทราบว่านักเรียนมีคุณสมบัติตรงตาม ความมุ่งหมายของการเรียนการสอน มากน้อยเพียงใดหรือมีสิ่งใดท่ียังบกพร่องจาเป็นต้องได้รับการ ปรับปรุงแก้ไขเพิม่ เตมิ เก่ียวกบั การวัดผลประเมนิ ผล มนี ักการศึกษาได้ให้ความหมายไว้ ดงั น้ี พนัส หันนาคินทร์ (2529, หน้า 142) ได้ให้คาจากัดความไว้ว่า การวัดผล หมายถึง การ เปรียบเทียบผลท่ีได้จากการเรียนการสอนกับมาตรฐานอันหนึ่งที่ยึดถืออยู่ ส่วนการประเมินผลเป็น การพิจารณากาหนดคุณคา่ จากคะแนนท่ไี ดจ้ ากการวดั ผลนั้น เชน่ เกง่ ไมเ่ กง่ ดี หรอื ไมด่ ี ปรยี าพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2535, หน้า 202) ได้กลา่ วถงึ การวัดผลไวว้ า่ เป็นการตรวจสอบ ของครู อาจารย์ และการเรียนการสอนของนกั เรียนนกั ศึกษาในดา้ นการเรยี นรู้ 3 ดา้ น คือ ก. ด้านความรคู้ วามเขา้ ใจ (Cognitive domain) ข. ด้านทกั ษะปฏบิ ตั ิ (Psychomotor domain) ค. ด้านเจตคติ (Affective domain) (1) ข้อกาหนดการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสตู รการศึกษาข้นั พื้นฐาน ตามกรอบของหลักสตู รการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 มีข้อกาหนดท่ีสถานศึกษา จะต้องดาเนนิ การเก่ยี วกับการวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี น ดังนี้

24 ก. การดาเนนิ การวดั และประเมนิ ผลระดับช้ันเรียน ได้แก่ การประเมินผลการเรียนรู้และ พัฒนาการของผเู้ รยี นระหวา่ งเรียน เพ่อื หาคาตอบว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าด้านความรู้ ทักษะกระบวน การและค่านิยมอันพึงประสงค์จากการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่เพียงไร เป็นข้อมูลที่ ผเู้ กีย่ วข้องทุกฝา่ ยทั้งผูเ้ รยี น ผู้สอน สถานศึกษา และผู้ปกครองนาไปพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุผลการเรียน ที่คาดหวังปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และใช้ตัดสินผลสัมฤทธ์ิ ทาง การเรยี นในดา้ นต่าง ๆ ของผู้เรียน ข. การดาเนินการประเมินผลระดับสถานศึกษา ได้แก่ การประเมินผลการเรียนและ พัฒนาการของผู้เรียนปลายปีหรือปลายภาคและเมื่อส้ินสุดช่วงชั้นเพื่อนาผลไปใช้เป็นข้อมูลในการ ปรับปรงุ ผ้เู รยี นให้มีคณุ ภาพตามผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังและมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ันรวมทั้งนาผล การประเมินไปใช้พจิ ารณาตดั สินผลการเรียนรายวิชาและตัดสินการเลอ่ื นช่วงช้ัน ค. การดาเนินการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาระดับชาติ ได้แก่ การประเมินคุณภาพทาง การศึกษาของผ้เู รียนในปสี ุดท้ายของแตล่ ะชว่ งชนั้ ในระดบั ชาติ ซงึ่ กระทรวงศึกษาธิการจะกาหนดให้มี การประเมินในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ตามความจาเป็นเป็นรายปีไป ข้อมูลจากการประเมินจะ นาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพการจัดการของสถานศึกษา และคุณภาพการศึกษาของ ชาติได้ ง. การดาเนนิ การตัดสนิ ผลการเรยี นใหผ้ ูเ้ รยี นผา่ นชว่ งชั้นและจบหลักสูตรการศึกษาขั้น พนื้ ฐาน จ. การดาเนินการจัดทาเอกสารหลักฐานทางการศึกษา เพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการ ดาเนนิ งานเกยี่ วกับการวดั และประเมินผลการเรยี นและเป็นเอกสารหลักฐานทางการศึกษา ฉ. การดาเนินการเทียบโอนผลการเรยี นของผ้เู รียน (2) หลกั การวดั และประเมินผลการเรยี นตามหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 การประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2544 เป็นกระบวนการ ตรวจสอบผลการเรียนรู้และพัฒนาการต่าง ๆ ของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร เพื่อ นาผลไปปรบั ปรุงการเรียนการสอน จึงต้องมีการจัดเป็นระบบ และกระบวนการเพ่ือให้การวัดผลและ ประเมินผลการเรียน เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ี แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 จงึ กาหนดหลักการวดั และประเมินผลการเรียนไว้ ดังน้ี ก. สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบประเมินผลการเรียนของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ทุก ฝ่ายทเี่ ก่ียวข้องมีสว่ นร่วม ข. การวัดและประเมินผลการเรียนต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาที่ กาหนดในหลกั สูตร

25 ค. การประเมินผลการเรียนต้องประกอบด้วย การประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนการ จัดการเรียนการสอนและการประเมินผลเพ่อื ตดั สินผลการเรยี น ง. การประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องดาเนินการ ด้วยวธิ ีการทห่ี ลากหลายเหมาะสมกบั ส่ิงทต่ี อ้ งการวดั ธรรมชาตขิ องวิชา และระดับชว่ งช้ันของผ้เู รียน จ. ให้มีการประเมินความสามารถของผู้เรียน ในการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ ในแตล่ ะชว่ งชั้น ฉ. ใหม้ กี ารประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผเู้ รยี นในแตล่ ะช่วงชน้ั ช. ใหม้ กี ารประเมินคณุ ภาพผู้เรียนในระดบั ชาติ ในแต่ละชว่ งชัน้ ซ. เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นตรวจสอบผลการประเมินผลการเรยี นได้ ฌ. ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศกึ ษาและรูปแบบการศึกษาตา่ ง ๆ (3) แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เป้าหมายสาคญั ของการประเมนิ ผลการเรียนตามหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน คือ เพื่อนา ผลการประเมินไปพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยการ นาผลการประเมนิ ไปใชเ้ ป็นขอ้ มูลในการปรบั ปรุง แก้ไข ส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาการของผู้เรียน โดยตรง การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานประกอบด้วย (วัฒนาพร ระงบั ทกุ ข.์ 2545, หนา้ 233) (4) การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ สถานศึกษาควรดาเนิน การประเมินผลในลกั ษณะตา่ ง ๆ ดงั น้ี คอื ก) การประเมินผลก่อนเรียน เป็นหน้าที่ของผู้สอนในแต่ละรายวิชาทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้ทตี่ ้องประเมินผลก่อนเรียนเพื่อหาสารสนเทศของผู้เรียนในเบื้องต้นสาหรับนาไปจัดกระบวนการ เรียนรูใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั พ้นื ฐานของผูเ้ รียน ประกอบด้วย (ก) การประเมินความพรอ้ มและพนื้ ฐานของผ้เู รียน (ข) การประเมนิ ความรอบรูใ้ นเรอ่ื งท่ีจะเรียนกอ่ นการเรยี น ข) การประเมินระหว่างเรียน เป็นการประเมินเพ่ือมุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียน ว่า บรรลุตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังในการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีครูได้วางแผนไว้หรือไม่ การประเมนิ ผลระหว่างเรยี นมแี นวทางในการปฏิบตั ติ ามขนั้ ตอน ดงั น้ี (ก) วางแผนการเรยี นรู้และการประเมินผลระหวา่ งเรียน (ข) เลือกวิธีการประเมินที่สอดคล้องกับภาระงานหรือกิจกรรมหลักท่ีกาหนดให้ ผู้เรียนปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ การประเมินจากการปฏบิ ตั ิ การประเมินสภาพจรงิ การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน (ค) กาหนดสัดส่วนการประเมินระหว่างเรียนกับการประเมินตอนปลายภาคเรียน หรือปลายปี

26 (ง) จัดทาเอกสารบันทกึ ขอ้ มลู สารสนเทศของผูเ้ รียน ค) การประเมนิ เพ่อื สรปุ ผลการเรยี น เปน็ การประเมินเพื่อมุ่งตรวจสอบความสาเร็จของ ผูเ้ รียน เม่อื ผ่านการเรยี นร้ใู นชว่ งเวลาหน่ึง หรือสนิ้ สดุ การเรยี นปลายปี/รายภาคอนั ประกอบดว้ ย (ก) การประเมินหลังเรยี น (ข) การประเมนิ ผลการเรียนปลายปี/ปลายภาค สรุปได้ว่า การวัดผลประเมินผลเป็นกระบวนการที่จะทาให้ทราบว่าการเรียนการสอน นน้ั บรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดหรือไม่ ควรมีการปรับปรุงเรื่องใด เป็นกระบวนการที่จะให้ผู้สอน ใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียนรวมท้ังจะเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและ เรยี นร้อู ย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ (5) การเทยี บโอนผลการเรียน เป็นการนาผลการเรียนซ่ึงเป็นความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ของผู้เรียนซึ่งเกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย มาประเมิน เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่งแนวดาเนินการเทียบโอนให้เป็น ไปตาม ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการเทียบโอนผลการเรยี น ดงั นี้ ก. ผู้ขอเทียบโอนต้องข้ึนทะเบียนเป็นนักเรียน หรือนักศึกษาของสถานศึกษาใดสถาน ศึกษาหน่ึง โดยสถานศึกษาดังกล่าวดาเนินการเทียบโอนผลการเรียนในภาคเรียนแรกท่ีผู้เรียนข้ึน ทะเบยี นเป็นนกั เรยี นหรอื นักศึกษายกเว้นกรณมี เี หตุจาเป็น ข. จานวนหมวดวิชา รายวิชา จานวนหน่วยการเรียนท่ีจะรับเทียบโอน และอายุของผล การเรียนท่จี ะนามาเทียบโอน ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของ สถานศกึ ษา ท้งั น้ี เม่ือเทียบโอนแลว้ ผูข้ อเทยี บโอนต้องมเี วลาเรียนอยู่ในสถานศึกษาไมน่ ้อยกวา่ 1 เดอื น ค. ในกรณีมีเหตุจาเป็นระหว่างเรียน ผู้เรียนสามารถแจ้งความจานงขอไปศึกษาบางราย วิชาทีส่ ถานศกึ ษาอน่ื ได้แลว้ นา ผลมาเทยี บโอนได้โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และวิชาการของสถานศึกษา ง. การเทียบโอนผลการเรียนให้ดาเนินการในรูปของคณะกรรมการเทียบโอนผลการ เรียน มจี านวนไม่นอ้ ยกว่า 3 คน แตไ่ มเ่ กนิ 5 คน จ. การเทยี บโอนผลการเรยี นให้ดาเนนิ การ ดังนี้ ก) ในกรณีผขู้ อเทียบโอนมีผลการเรยี นจากหลักสูตรต่าง ๆ ให้นาหมวดวิชารายวิชาท่ี มีจุดประสงค์และเนื้อหาสอดคล้องกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มาเทียบโอนผลการเรียนได้และพิจารณา ใหร้ ะดบั ผลการเรียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรทรี่ ับเทียบโอน ข) กรณีการเทยี บโอน ความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์ให้พิจารณาจากหลักฐาน (ถ้า มี) โดยให้มีการประเมินด้วยเครื่องมือท่ีหลากหลายและให้ระดับผลการเรียนตามเกณฑ์การประเมินผล การเรียนของหลักสูตรทีร่ บั เทียบโอน

27 ดังนั้น การวัดผล ประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียนตามคู่มือแนวทางการบริหาร และการจัดการศึกษาในเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษา ได้กาหนดบทบาทและหน้าท่ีของสถาน ศึกษาไว้ ดงั นี้ ก. กาหนดระเบียบการวดั และประเมนิ ผลของสถานศกึ ษา ข. จัดทาเอกสารหลักฐานการศึกษาให้เป็นไปตามระเบียบการวัดและประเมินผลของ สถานศกึ ษา ค. วัดผล ประเมินผล เทียบโอนประสบการณ์ เทียบโอนผลการเรียน และอนุมัติผลการ เรียน ง. จัดให้มีการประเมินผลการเรียนทุกช่วงชั้น และจัดให้มีการซ่อมเสริมกรณีที่มีผู้เรียนไม่ ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ. จัดให้มีการพฒั นาเคร่อื งมือในการวดั และประเมนิ ผล ฉ. มีการเทียบโอนผลการเรยี นโดยคณะกรรมการ ช. จัดระบบสารสนเทศด้านการวัดผลประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียนเพื่อใช้ใน การอา้ งอิง ตรวจสอบและใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนาการเรียนการสอน จากที่กล่าวมาข้างต้น แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลและเทียบโอนผลการเรียน หมายถึง กระบวนการตรวจสอบผลการเรียนรู้และพัฒนาการต่าง ๆ ของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ของ หลักสูตร เพื่อนาผลไปปรับปรุงการเรยี นการสอน และการนาผลการเรียนในระบบ นอกระบบ และตาม อัธยาศัยที่ผู้เรียนสะสมไว้จากสถานศึกษาเดียวกัน หรือต่างสถานศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ มาประเมนิ เปน็ ผลการเรียนสว่ นหนง่ึ ของหลกั สตู รในระดบั ใดระดับหนึง่ ท่ีผูเ้ รยี นจะเข้าศึกษาต่อ การวจิ ยั เพอื่ พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 30 กล่าวไว้ว่า “ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวม ทั้งส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา” ดงั นนั้ การวจิ ยั ในหน่วยงานปฏิบัติอย่างสถานศึกษาจึงเป็นเร่ืองที่ควรตระหนักและสนใจ ในเร่ืองน้ี ดร. รุ่ง แก้วแดง ได้กล่าวว่า “บทบาทใหม่ท่ีสาคัญอีกประการหน่ึง ซึ่งไม่มีตาราที่ไหนในโลกกาหนดไว้ คือ มาตรา 30 ผู้สอนสามารถ “วจิ ัยเพอื่ พฒั นาการเรยี นรู้” ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา” ฉะน้ัน ผู้บริหารสถานศึกษาต้องส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สอนนากระบวนการวิจัยมาผสมผสาน หรือ บูรณาการใช้ในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน และเพื่อให้ผลการวิจัยจะเป็น ประโยชน์ต่อการแก้ปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้เป็นอย่างดีสถานศึกษาควรเน้นการวิจัยท้ัง ในห้องเรียนและการวิจัยในภาพรวมของสถานศึกษา ซ่ึงการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามคู่มือ แนวทางการบริหารและการจัดการศึกษาในเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษาได้กาหนดบทบาทและ หน้าทข่ี องสถานศกึ ษาไว้ ดังนี้

28 ก. สง่ เสริมและสนบั สนนุ ใหค้ รูทา วิจัยเพ่ือพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ การ ใช้สื่อและอปุ กรณ์การเรียนการสอน ข. รวบรวม และเผยแพร่ผลการวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมท้ังสนับสนุนให้ครู นาผลการวจิ ยั มาใชเ้ พ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา สรุปวา่ การวิจยั เพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษา หมายถึง การศึกษาวิเคราะห์วิจัยทางบริหาร จัดการและการพัฒนาคุณภาพงานวิชาการในภาพรวมของสถานศึกษา ส่งเสริมให้ครูศึกษาวิเคราะห์ วิจยั เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรูใ้ หแ้ ตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้ โดยประสานความร่วมมอื ในการศึกษา วิเคราะห์วิจัยตลอดจนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรือพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนและงานวิชาการ กับสถานศึกษา บคุ คล ครอบครัว องคก์ ร หน่วยงานและสถาบันอ่นื การพัฒนาสือ่ นวัตกรรม และเทคโนโลยี พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 64 กาหนดว่า “รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนาแบบเรียนตารา หนังสือ ทางวิชาการ ส่ือสิ่งพิมพ์อ่ืน ๆ วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอ่ืน ๆ โดยเร่งพัฒนาขีดความ สามารถในการผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิต และพัฒนาเทคโนโลยี เพอ่ื การศึกษา ทั้งน้ีโดยเปดิ โอกาสใหม้ กี ารแข่งขนั โดยเสรอี ยา่ งเป็นธรรม” ดังน้ัน ส่ือและเทคโนโลยีจึงมี บทบาทในการถ่ายทอดความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้สึก เพม่ิ พูนทกั ษะ และประสบการณ์ ดังนั้น การพัฒนาส่ือนวัตกรรม และเทคโนโลยี ตามคู่มือแนวทางการบริหารและการจัด การศึกษาในเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาและสถานศกึ ษา ได้กล่าวถึงบทบาทและหน้าทขี่ องสถานศึกษา มีดังนี้ ก. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูผลิต พัฒนา และใช้ส่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพ่ือการ ศกึ ษา ข. จัดหาจัดทาส่ือและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้กับครูและผู้เรียนอย่างเพียงพอ และ หลากหลาย การพฒั นาสอื่ นวตั กรรม และเทคโนโลยี คือการจัดทาและพัฒนาส่ือการเรียนรู้ โดยการนา เทคโนโลยมี าใช้เพ่ือให้เกิดประโยชนท์ างการศึกษา รวมท้งั เครือขา่ ยการเรียนรตู้ ่าง ๆ ทมี่ ีอยู่ในชมุ ชน การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 25 กาหนดว่า “รัฐต้องส่งเสริมการดาเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุก รูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมูลและแหล่งการเรียนรู้ อ่ืนอย่างพอเพยี งและมีประสิทธภิ าพ” ดงั นั้น จึงเปน็ หน้าทีข่ องสถานศึกษาท่ีจะต้องดาเนินการจัดและ พัฒนาแหล่งเรียนรู้เพ่ือให้สามารถบริการผู้เรียน ครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทงั้ นี้ เพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของผู้เรยี นอย่างต่อเนือ่ งและตลอดชีวิต

29 ดังนั้น การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตามคู่มือแนวทางการบริหารและการจัดการศึกษาในเขต พนื้ ทกี่ ารศึกษาและสถานศกึ ษา สถานศึกษามีบทบาทและหน้าท่ที ่ีจะต้องดาเนินการ ดงั น้ี ก. จัดให้มแี หลง่ เรียนรู้ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษาให้พอเพียงและสอดคล้องกับการ จดั กระบวนการเรยี นรู้ ข. ส่งเสริมให้ครูและผู้เรียนได้ใช้แหล่งเรียนรู้ท้ังในและนอกสถานศึกษาเพื่อพัฒนาการ เรยี นรู้ สรุปว่าการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ คือ การจัดเตรียมแหล่งศึกษาค้นคว้า เช่น ห้องสมุดเพื่อ การศกึ ษาอยา่ งเพยี งพอเหมาะสม การนิเทศการศึกษา การจัดการศึกษาในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมของสังคมความ ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนระบบการจัดการศึกษา การเรียนการสอนในสถาน ศึกษาจึงตอ้ งแปรเปล่ียนไปตามระบบการศึกษา เช่น หลักสูตร การจัดและดาเนินการสอน สิ่งหนึ่งท่ีจะ ช่วยพัฒนาครูอาจารย์ในด้านวิชาการ และช่วยให้งานวิชาการก้าวหน้ามีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึนก็คือ การนิเทศการศึกษา การนิเทศภายในสถานศึกษาเป็นกระบวนการหรือวิธีการหรือกิจกรรมที่บุคลากร ภายในสถานศึกษาจัดขึ้น เพ่ือปรับปรุงส่งเสริมคุณภาพการเรียนการสอนภายในสถานศึกษาให้ดีย่ิงขึ้น (เอกรินทร์ สม่ี หาศาล. 2545, หนา้ 259) การนเิ ทศการศกึ ษามีความจาเปน็ และมีความสาคัญ โดยมผี ้กู ล่าวถงึ ไว้ ดังนี้ การนิเทศมาจากคาภาษาอังกฤษว่า “Supervision” ตามรูปศัพท์ หมายถึง การให้ความ ชว่ ยเหลอื ใหค้ าปรึกษา ให้คาแนะนา และปรับปรงุ ในพจนานุกรม หมายถึง การชี้แจง การแสดง และ การจาแนก (พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน. 2493, หน้า 519) กรมวิชาการ (2534, หน้า 82) ได้ให้ความหมายว่า การนิเทศการศึกษา คือ กระบวนการ สร้างสรรค์ในการให้คาแนะนา และการชี้ช่องทางในลักษณะท่ีเป็นกันเองแก่ครูในอันท่ีจะปรับปรุงครู และสภาพการเรยี นการสอน เพื่อใหบ้ รรลุเปา้ หมายทางการศึกษาท่ีพึงประสงค์ แฮรร์ ิส (Harris 1975, หนา้ 13) กลา่ วว่า การนเิ ทศการศึกษา คอื การท่ีบุคลากรในโรงเรียน กระทาต่อบคุ คลหรือส่งิ หน่ึงสิ่งใด โดยมีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื ดาเนินงาน นิพนธ์ ไทยพานิช (2535, หน้า 17) กล่าวว่า การนิเทศการศึกษา คือ ความพยายามของ บุคลากรทางการศึกษาที่จัดกิจกรรมและให้บริการกับผู้บริหารและครู โดยทางตรงและทางอ้อมที่จะ ปรบั ปรุงการเรยี นการสอนของครูเพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลในการเรยี นของนกั เรยี น การนเิ ทศการศกึ ษาจึงเปน็ งานท่มี ีลกั ษณะ ดังน้ี ก. เป็นระบบย่อยระบบหน่งึ ของระบบการศกึ ษา ข. เปน็ กระบวนการปรบั ปรงุ การเรยี นการสอน

30 ค. เพ่ือช้ีแนะให้ความช่วยเหลือและความร่วมมือกับครู รวมทั้งบุคคลที่เก่ียวข้องในการจัด การศกึ ษา ง. ความตอ้ งการความสาเรจ็ ตามเป้าหมายของการจัดการศึกษา คือ คุณภาพของผเู้ รยี น หลักการนิเทศภายในสถานศึกษาเป็นแนวปฏิบัติท่ีผู้นิเทศต้องนาไปปฏิบัติขณะทาการ นิเทศ โดยเฉพาะการนเิ ทศดา้ นวิชาการ หลกั การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา มีดังน้ี ก. การนเิ ทศควรมีการบริหารเปน็ ระบบ และมีการวางแผนการดาเนนิ งานเปน็ โครงการ ข. การนเิ ทศตอ้ งถือหลกั การมสี ว่ นร่วมในการทางาน นนั่ คอื ต้องมคี วามเป็นประชาธปิ ไตย ค. การนิเทศเป็นงานสร้างสรรค์ เป็นการแสวงหาความสามารถพิเศษของแต่ละบุคคล ให้ แต่ละคนไดแ้ สดงออกและพฒั นาความสามารถเหล่านน้ั ได้อย่างเต็มที่ ง. การนเิ ทศเป็นการแกป้ ัญหาท่เี กิดข้ึน จ. การนเิ ทศเป็นการสร้างความผูกพัน เกดิ ความพงึ พอใจในการทางาน ฉ. การนิเทศเป็นการพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพครู ให้มีความรู้สึกภาคภูมิเป็นอาชีพท่ีต้อง ใชค้ วามรู้ความสามารถและสามารถท่จี ะพฒั นาได้ ผู้นิเทศการศึกษาท่สี ามารถนิเทศได้ มดี ังน้ี ก. ผู้บริหารสถานศกึ ษา ข. ผู้ช่วยผบู้ ริหารสถานศึกษา โดยเฉพาะฝา่ ยวิชาการ ค. หวั หนา้ คณะ หวั หน้าแผนก หวั หน้างาน/โครงการ ง. ครอู าจารยท์ ่ีทาหนา้ ทส่ี อนแตม่ คี วามสามารถเฉพาะดา้ น จ. ผเู้ ช่ยี วชาญทีเ่ ชิญมาเปน็ วทิ ยากร การนิเทศภายในสถานศกึ ษามีขน้ั ตอนการนเิ ทศ ดังนี้ ก. ขนั้ ตอนท่ี 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการนเิ ทศ ข. ขนั้ ตอนท่ี 2 การวางแผนและจดั ทาโครงการนเิ ทศ ค. ข้นั ตอนที่ 3 การดาเนนิ งานนเิ ทศ ง. ข้นั ตอนที่ 4 การประเมินผลการนเิ ทศ ดังน้ัน การนิเทศการศึกษา จึงหมายถึง กระบวนการร่วมมือของผู้นิเทศกับครูผู้สอนผู้บริหาร สถานศึกษา และบุคลากรอื่น ๆ ท่ีเก่ียวกับการให้การศึกษาท่ีกระตุ้นและส่งเสริมให้มีการปรับปรุงการสอนให้มี ประสิทธิภาพและทันสมัยอยู่เสมอ อันจะทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนบรรลุสูงสุด การนิเทศภายใน สถานศกึ ษาจะประสพความสาเร็จมากน้อยเพียงใดผบู้ ริหารโรงเรียนและคณะครูควรมีส่วนร่วมให้มากที่สุดและควร มกี ารประเมินผลโครงการนิเทศ เพ่อื นาไปปรบั ปรงุ และพัฒนาการเรยี นการสอน การแนะแนวการศึกษา การจัดการศึกษาโดยทั่วไปเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ คือ เป็นคนดี มีปัญญา และมีความสุข ซ่ึงสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

31 พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 กล่าวไว้ว่า “การจัดการศึกษาต้อง เป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญาความรู้และคุณธรรม มี จรยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการดาเนินชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อืน่ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข” การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญาและมีความสุข สถานศึกษาจะต้องพัฒนาระบบแนะ แนวท่ีมุ่งการพัฒนาคนให้มีความรู้อย่างลึกซ้ึง ประเมินการจัดการท่ีมีคุณภาพโดยกาหนดพันธกิจ ระหว่างบ้าน ชุมชน และสถานศึกษา เน้นการร่วมมือกันระหว่างบ้านในฐานะแหล่งเรียนรู้แรกของ ผู้เรียน ชุมชนจะเป็นเครือข่ายท่ีสาคัญของการแนะแนว ช่วยป้องกัน แก้ไขปัญหาของสังคม พัฒนา เครือข่ายแนะแนวให้เข้มแข็ง เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพสูงสุดท้ังด้านวิชาการ ด้านบุคลากร และ ด้านบริหารทว่ั ไป (วัฒนาพร ระงับทกุ ข,์ 2545, หนา้ 311) การแนะแนวจะสาเร็จได้ข้ึนอยู่กับความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ทุกคน ต้องปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับระเบียบข้อบังคับของกระทรวงศึกษาธิการ รวมท้ังนโยบายที่คณะ กรรมการสถานศึกษากาหนดไว้ด้วย ซ่ึงหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ครูแนะแนว หรือผู้ให้คา ปรึกษาและครูผูส้ อนทว่ั ไป (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2545, หนา้ 21-25) กล่าวไวม้ ดี งั น้ี ก. หนา้ ท่ีของผู้บรหิ ารสถานศึกษา เป็นผ้นู าการดาเนินงานแนะแนวของสถานศึกษา กาหนด โปรแกรมแนะแนวให้เป็นลายลักษณ์อักษร มอบหมายงานตามโปรแกรมแนะแนวให้เหมาะสมกับ บุคลากร จัดให้มีการพัฒนาที่จาเป็นภายในสถานศึกษา จัดให้มีการประเมินผลและปรับปรุงโปรแกรม แนะแนวเป็นระยะ ๆ อยา่ งสมา่ เสมอเพ่ือให้ม่ันใจได้ว่างานแนะแนวได้จัดข้ึนเพ่ือนักเรียนทุกคน จัดให้มี ส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ และให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในโปรแกรมแนะแนวทุกด้านที่สถาน ศึกษาจดั ข้นึ ข. หน้าทขี่ องครแู นะแนวหรือผู้ใหค้ าปรึกษา ช่วยเหลือผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรอื่น วางแผนและปฏิบัติงานโปรแกรมแนะแนว ประสานงานการดาเนินงานแนะแนวและให้คาปรึกษาแก่ นกั เรยี นทกุ คนในสถานศึกษา จัดต้ังและดูแลรักษาศูนย์วิทยาการแนะแนวและให้คาปรึกษาแก่นักเรียน ทกุ คนในสถานศึกษา จัดตั้งและดูแลรักษาศูนย์วิทยาการแนะแนวโดยให้มีข้อสนเทศท่ีทันสมัยที่จาเป็น ต่อการปฏิบัติงานแนะแนว ช่วยเหลือจัดส่งนักเรียนไปรับความช่วยเหลือจากแหล่งบริการและหน่วย งานตา่ ง ๆ ที่เหมาะสมในชุมชนตามท่ีต้องการ ช่วยเหลือนักเรียนในการลงทะเบียนเรียนที่เกี่ยวข้องกับ โปรแกรมและบริการจัดวางตัวบุคคล ปรึกษาหารือกับครูประจาชั้น ครูที่เป็นวิทยากรและบุคลากร อน่ื ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การชว่ ยเหลอื ผ้เู รยี น ทาหนา้ ทเี่ ปน็ ผูป้ ระสานงานท่ีมีประสิทธิภาพระหว่างโรงเรียน กบั โรงเรียน รวมทัง้ พ่อ แม่ ผู้ปกครองหน่วยงานต่าง ๆ ในชุมชน หน่วยงานธุรกิจและอุตสาหกรรมและ สถาบันการศึกษาที่สูงกว่าระดับมัธยมศึกษา ปฏิบัติงานด้านการบริหารที่จาเป็น เพ่ือ ให้โปรแกรมแนะ แนวดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล เข้าร่วมประเมินผลการดาเนินงานแนะแนวใน สถานศึกษาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาแผนการศึกษา และอาชีพ