Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1-2564 (ฉบับสมบูรณ์)

หลักสูตรสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1-2564 (ฉบับสมบูรณ์)

Published by 420st0000060, 2022-01-05 06:55:10

Description: หลักสูตรสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1-2564 (ฉบับสมบูรณ์)

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) มาตรฐานท่ี 4.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจและเจตคติท่ดี ีเก่ยี วกบั การดูแล สง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามยั และความ ปลอดภยั ในการดำเนินชีวิต มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวงั รู้เข้าใจมคี ุณธรรมจริยธรรมเจตคติที่ดมี ี 1.ปฏิบตั ติ นในการดแู ลและสรา้ งเสริมพฤตกิ รรมสุขภาพทด่ี ี ทกั ษะในการดูแลและสร้างเสริมการมี จนเปน็ กิจนิสัย พฤติกรรมสขุ ภาพทดี่ ปี ฏบิ ตั ิจนเปน็ กจิ 2.ปอ้ งกันและหลีกเล่ยี งพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพด้วยกระบวน นิสัยวางแผนพฒั นาสขุ ภาพดำรงสขุ ภาพ การทักษะชวี ติ ของตนเองและครอบครวั ตลอดจน 3.แนะนำการปฏิบตั ิตนเกยี่ วกับการดูแลสขุ ภาพและการ สนบั สนนุ ให้ชมุ ชนมีส่วนร่วมในการ หลีกเล่ยี งพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพและความปลอดภัยแก่ สง่ เสริมด้านสุขภาพพลานามัยและ ครอบครัวและผูอ้ ่นื พัฒนาสภาพแวดลอ้ มทด่ี ี 4. วางแผนพฒั นาสขุ ภาพและดำรงสุขภาพของตนเองและ ครอบครวั 5. ปฏิบตั ิตนในการดูแลสขุ ภาพอนามัยและสิ่งแวดลอ้ มใน ชุมชน 6. สง่ เสริมให้ชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มในการดูแลสขุ ภาพอนามยั และ สง่ิ แวดลอ้ ม มาตรฐานท่ี 4.3 มีความรู้ ความเข้าใจและเจตคติทด่ี ีเกย่ี วกับศิลปะและสนุ ทรยี ภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง รู้เข้าใจมีคุณธรรมจรยิ ธรรมช่ืนชมเห็น 1. อธบิ ายความหมายของธรรมชาตคิ วามงามและความไพเราะ คุณค่าความงามความไพเราะธรรมชาติ ของทศั นศลิ ป์ดนตรีและนาฏศิลปส์ ากล สง่ิ แวดลอ้ มทางทศั นศิลป์ ดนตรแี ละ 2. อธิบายความรู้พืน้ ฐานของทศั นศิลปด์ นตรีและนาฏศิลป์ นาฏศิลปส์ ากลและสามารถวิเคราะห์ สากล วิพากษว์ จิ ารณ์ได้อย่างเหมาะสม 3. สรา้ งสรรคผ์ ลงานโดยใช้ความร้พู ้นื ฐานดา้ นทศั นศิลป์ดนตรี และนาฏศิลป์สากล 4. ชน่ื ชมเห็นคณุ ค่าของทัศนศลิ ปด์ นตรแี ละนาฏศิลปส์ ากล 5. วิเคราะหว์ พิ ากษ์วิจารณง์ านด้านทศั นศิลป์ดนตรีและ นาฏศลิ ปส์ ากล 6. อนรุ กั ษส์ บื ทอดภมู ปิ ัญญาด้านทัศนศลิ ปด์ นตรีและนาฏศิลป์ สากล ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 144 สำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี

หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) คำอธบิ ายรายวชิ า ทช32005 สขุ ภาพและความปลอดภัยในชีวติ จำนวน 3 หนว่ ยกิต ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดับ รู้ เขา้ ใจ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เจตคติท่ดี ี มีทักษะในการดูแลและสรา้ งเสริมการมพี ฤตกิ รรมสขุ ภาพทดี่ ีปฏิบัตจิ น เปน็ กิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดำรงสุขภาพของตนเอง และครอบครัวตลอดจนสนับสนุนใหช้ ุมชนมสี ว่ นร่วมในการ ส่งเสรมิ ดา้ นสขุ ภาพพลานามัยและพัฒนาสภาพแวดลอ้ มท่ีดี ศึกษาและฝกึ ปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกบั เรอื่ งตอ่ ไปน้ี สภาพแวดล้อมกบั การส่งเสรมิ สขุ ภาพ วธิ ีจดั สภาพแวดลม้ ของครอบครวั และชุมชนทเ่ี อ้ือตอ่ การพฒั นา พฤติกรรมสุขภาพ ความหมายและความสำคัญของการมีสุขภาพดี หลักการดูแลสุขภาพเบื้องตน้ การป้องกนั การส่งเสรมิ การรักษาพยาบาลเบ้ืองตน้ และการฟืน้ ฟูสขุ ภาพ กลวิธนี ำไปสู่การมีพฤติกรรมสุขภาพด้วยการสร้างพลงั ปัญญา การ เลือกใชภ้ ูมปิ ัญญาไทยเพ่ือสุขภาพ ขอ้ มูลข่าวสาร ผลติ ภณั ฑ์ และบริการสุขภาพ สิทธผิ บู้ รโิ ภคและกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง การวางแผนชวี ิตเพื่อการมสี ขุ ภาพทด่ี ี การตรวจสอบและประเมนิ ภาวะสุขภาพ การปรับพฤติกรรมสขุ ภาพ แหล่งข้อมลู สารสนเทศ วิธีแสวงหาและวิธเี ลือกใชข้ ้อมูลสารสนเทศ การสังเคราะห์และประยกุ ตใ์ ช้ขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นสุขภาพและ สมรรถภาพ หลักการและวธิ ีการนำเสนอและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศด้านสขุ ภาพ ความปลอดภยั การออกกำลงั กาย และการเล่นกีฬา วิธีการฝกึ สตแิ บบต่างๆ ประโยชน์ของการมีสติ การประเมินระดบั ของการมสี ติ . ความหมาย ความสำคัญของการพักผอ่ น การใช้เวลาว่าง และกจิ กรรมนันทนาการ แหล่งบริการนนั ทนาการ หลกั และวธิ กี ารสร้าง เสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ การทดสอบและประเมินสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ปจั จยั เสย่ี งในการ ดำรงชวี ิต การป้องกนั และหลีกเลี่ยงปจั จยั เส่ียง การป้องกนั หลีกเล่ยี งและการให้ความช่วยเหลือ เมื่อเกิดอุบัติเหตุ อัคคีภยั และอันตรายจากมลพษิ และสารเคมี การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ ศกึ ษาเอกสาร สื่อทกุ ประเภท วเิ คราะห์ อภปิ รายแลกเปลย่ี นเรียนรู้ ศึกษาจากสภาพจริง สาธติ ทดลองฝึก ปฏิบัติ ค้นคว้า สรุป บนั ทึก ตรวจสอบ การประเมนิ ตนเอง จัดทำชน้ิ งาน/ผลงาน จัดแสดงนิทรรศการ ศึกษาดูงาน กจิ กรรมค่าย ฯลฯ การวัดและประเมนิ ผล ประเมินความรู้ ความเข้าใจ ชิ้นงาน ผลงาน โดยวิธีการ ทดสอบ สังเกต สัมภาษณ์ ตรวจสอบ ประเมิน การปฏบิ ัติจรงิ และประเมินสภาพจรงิ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 145 สำนกั งาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี

หลักสตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) รายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา ทช32005 สุขภาพและความปลอดภยั ในชีวติ จำนวน 3 หน่วยกิต ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดับ รู้ เขา้ ใจ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคติทดี่ ี มที ักษะในการดูแลและสรา้ งเสริมการมพี ฤติกรรมสุขภาพที่ดีปฏิบัติ จนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดำรงสุขภาพของตนเอง และครอบครัวตลอดจนสนบั สนุนใหช้ ุมชนมี ส่วนรว่ มในการส่งเสริมดา้ นสขุ ภาพพลานามยั และพัฒนาสภาพแวดล้อมท่ีดี ที่ หัวเร่ือง ตวั ชี้วดั เน้อื หา จำนวน 1 สุขภาพกับ วิเคราะห์บทบาทและความ (ชวั่ โมง) รับผิดชอบของบุคคลที่มตี ่อ 1. สภาพแวดล้อมกับการส่งเสรมิ สง่ิ แวดลอ้ ม การป้องกนั โรค การสร้าง สุขภาพ 5 เสริมสขุ ภาพของครอบครัว 1.1 สภาพแวดลอ้ มทาง 2 การดแู ลสุขภาพ และชุมชน ธรรมชาติ 15 ตนเองและผอู้ ่นื 1.2 สภาพแวดล้อมทางสังคม ประเมินสขุ ภาพส่วนบคุ คล เพอื่ กำหนดกลวธิ ีลดความ 2. วธิ ีจดั สภาพแวดล้อมของ เสยี่ งและนำไปใชใ้ นการ ครอบครัว และชุมชนที่เอื้อต่อ สรา้ งเสริมสขุ ภาพของ การพฒั นาพฤติกรรมสขุ ภาพ ตนเอง ชมุ ชน และสังคม 3. วธิ กี ารจัดสภาพแวดล้อมของท่ี อยอู่ าศยั ใหป้ ลอดภยั จากโรค ติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 1. ความหมายและความสำคัญ ของการมีสุขภาพดี 2. หลักการดแู ลสขุ ภาพเบื้องตน้ การปอ้ งกนั การสง่ เสริมการ รักษาพยาบาลเบือ้ งตน้ และ การฟนื้ ฟสู ขุ ภาพ 3. กลวิธนี ำไปส่กู ารมีพฤตกิ รรม สขุ ภาพดว้ ยการสรา้ งพลงั ปัญญา 3.1 แนะนำวิธกี ารออกกำลัง กายทถี่ ูกต้องและมี ขนั้ ตอน ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 146 สำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี

หลกั สตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) ท่ี หวั เรอื่ ง ตวั ช้วี ัด เนือ้ หา จำนวน 3 สุขภาพผบู้ รโิ ภค (ชั่วโมง) อธบิ ายเกยี่ วกับสุขภาพ 3.2 การบรโิ ภคอาหารทถ่ี ูก 4 การบริหารจัดการ ผู้บริโภค หลกั อนามัยและมี 15 ชีวิตเพอื่ สุขภาพ ประโยชนต์ ่อร่างกาย วางแผนชวี ิต ตรวจสอบและ 10 ประเมินภาวะและปรับ 3.3 การใช้ยาอยา่ งถูกต้อง พฤติกรรม เพ่ือการมสี ุขภาพ 1. การเลือกใช้ภูมิปัญญาไทย ทดี่ ี เพื่อสขุ ภาพ 2. ขอ้ มลู ขา่ วสาร ผลิตภัณฑ์ และ บรกิ ารสขุ ภาพ 3. สทิ ธิผบู้ รโิ ภคและกฎหมาย ที่เก่ยี วข้อง 4. ภูมปิ ัญญาไทยกับโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 1. การวางแผนชีวิตเพือ่ การมี สขุ ภาพทดี่ ี 2. การตรวจสอบและประเมนิ ภาวะสุขภาพ 3. การปรบั พฤติกรรมสุขภาพ 4. การปรบั พฤติกรรมการดำเนนิ ชีวติ ภายใตส้ ถานการณก์ าร แพรร่ ะบาดโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 147 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี

หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) ท่ี หัวเรอ่ื ง ตัวชีว้ ัด เนือ้ หา จำนวน 5 การสงั เคราะหแ์ ละ (ช่วั โมง) ประยกุ ต์ใช้ข้อมลู 1. เลือกใช้ข้อมลู ขา่ วสาร 1. แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ 10 สารสนเทศด้าน สขุ ภาพ ความ ทางด้านสุขภาพได้อยา่ ง 2. วธิ แี สวงหาและวิธเี ลอื กใช้ ปลอดภยั การออก กำลงั กาย และการ ถกู ต้อง ขอ้ มลู สารสนเทศ การสังเคราะห์ เลน่ กีฬา 2. อธบิ ายหลักการและ และประยุกต์ใชข้ ้อมูลสารสนเทศ 6 การมสี ติ วิธีการนำเสนอและ ด้านสุขภาพและสมรรถภาพ เผยแพรข่ ้อมลู สารสนเทศ 3. หลกั การและวิธีการนำเสนอ ดา้ นสุขภาพ ความ และเผยแพร่ขอ้ มลู สารสนเทศ ปลอดภัย การออกกำลงั ดา้ นสขุ ภาพ ความปลอดภัย กายและการเล่นกีฬา การออกกำลังกายและการเล่น กีฬา บอกวธิ กี ารฝกึ สติ ประโยชน์ 1. วธิ ีการฝกึ สตแิ บบตา่ งๆ 15 และประเมนิ ระดบั ของการมี 2. ประโยชนข์ องการมีสติ สติ 3. การประเมินระดับของการมีสติ 7 การพักผ่อนและ ออกกำลังกาย พักผ่อน 1. ความหมาย ความสำคัญของ 10 การพักผอ่ น การใชเ้ วลาวา่ ง 10 นันทนาการ ฝกึ จติ และร่วมกจิ กรรม และกจิ กรรมนันทนาการ นนั ทนาการท่ีเหมาะสม 2. แหล่งบรกิ ารนันทนาการ 1. หลักและวธิ กี ารสร้างเสริม จนเป็นกิจนสิ ัย สมรรถภาพทางกายเพือ่ 8 การทดสอบและสร้าง ประเมิน สร้างเสริมและ สขุ ภาพ 2. การทดสอบและประเมนิ เสริมสมรรถภาพทาง ดำรงสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกายเพ่อื สขุ ภาพ กายเพื่อสุขภาพ และทางจติ ตามหลกั การ สรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพ่ือ สขุ ภาพ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 148 สำนกั งาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี

หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) ที่ หัวเรอ่ื ง ตัวช้ีวดั เน้อื หา จำนวน (ช่ัวโมง) 9 ความปลอดภัยในชีวติ ประเมนิ ความเส่ยี งตอ่ 1. ปัจจัยเสย่ี งในการดำรงชวี ิต 10 สุขภาพ และแสวงหา แนวทางปอ้ งกนั อนั ตราย 1.1 สิ่งเสพตดิ เพ่ือความปลอดภยั ในชีวติ 1.2 โรคติดต่อทางเพศสมั พันธ์ 1.3 อบุ ตั ิเหตุ 1.4 โรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 2. การปอ้ งกันและหลีกเลยี่ ง ปัจจยั เส่ียง 10 การป้องกัน หลกี เลยี่ ง 1. แสดงทกั ษะการให้ความ 1. การป้องกนั หลีกเลีย่ งและการ 20 และ ทักษะการช่วย ช่วยเหลอื เมอ่ื เกดิ ใหค้ วามชว่ ยเหลือ เม่อื เกดิ ฟนื้ คนื ชพี สถานการณ์คับขนั ไดอ้ ย่าง อุบัตเิ หตุ อัคคภี ยั และอนั ตราย ถูกต้อง จากมลพิษและสารเคมี 2. แสดงทักษะการช่วยฟ้ืน 2. ทกั ษะการชว่ ยฟ้ืนคนื ชีพ คนื ชีพได้อย่างถกู ต้อง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 149 สำนกั งาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี

หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2555) สาระการพฒั นาสังคม สาระการพฒั นาสงั คม เปน็ สาระเกีย่ วกับภมู ิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนา้ ที่พลเมือง และการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม ประกอบด้วยมาตรฐานการเรยี นรู้ ดงั นี้ สาระการพฒั นาสังคม ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนักถงึ ความสำคัญเกีย่ วกับภูมศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนำมาปรับใชใ้ นการดำรงชวี ิต มาตรฐานท่ี 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจเห็นคุณค่าและสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เพือ่ การอยู่ รว่ มกันอยา่ งสนั ติสุข มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัตติ นเปน็ พลเมอื งทด่ี ตี ามวิถีประชาธิปไตย มจี ิตสาธารณเพื่อความสงบสุขของ สงั คม มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ ความสำคัญของหลักการพัฒนา และสามารถพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน/สงั คม มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย และผลการเรียนร้ทู คี่ าดหวัง ในแตล่ ะมาตรฐาน มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนักถึงความสำคญั เก่ยี วกับภูมศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนำมาปรับใชใ้ นการดำรงชวี ิต มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรูท้ ีค่ าดหวงั มคี วามรู้ความเขา้ ใจตระหนกั เกย่ี วกับ 1.อธิบายขอ้ มลู เกย่ี วกบั ภมู ิศาสตรป์ ระวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์ ภมู ิศาสตรป์ ระวตั ิศาสตรเ์ ศรษฐศาสตร์ การเมืองการปกครองทเี่ กี่ยวข้องกบั ประเทศต่างๆในโลก การเมืองการปกครองในโลกและนำมา 2. วิเคราะหเ์ ปรียบเทียบสภาพภมู ศิ าสตรป์ ระวตั ิศาสตร์ ปรับใช้ในการดำเนนิ ชีวติ เพื่อความ เศรษฐศาสตร์การเมืองการปกครองของประเทศต่างๆในโลก มั่นคงของชาติ 3. ตระหนกั และคาดคะเนสถานการณ์ระหวา่ งประเทศทางดา้ น ภูมิศาสตรป์ ระวตั ศิ าสตร์การเมืองการปกครองทม่ี ี ผลกระทบต่อประเทศไทยและโลกในอนาคต 4. เสนอแนะแนวทางในการแก้ปญั หาการป้องกนั และการ พัฒนาทางด้านการเมอื งการปกครองเศรษฐกิจและสังคมตาม สภาพปัญหาท่ีเกิดขึน้ เพ่ือความมั่นคงของชาติ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 150 สำนักงาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี

หลกั สตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) มาตรฐานท่ี 5.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจเหน็ คุณค่าและสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยู่ รว่ มกนั อย่างสนั ติสุข มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวงั มีความรู้ความเข้าใจเหน็ คณุ ค่าและสบื 1.อธบิ ายประวัตคิ วามสำคญั หลกั คำสอนศาสนาวัฒนธรรม ทอดศาสนาวฒั นธรรมประเพณี ประเพณขี องประเทศในโลก ของประเทศในสงั คมโลก 2. ยอมรับและปฏบิ ัตติ นเพ่ือการอยรู่ ว่ มกันอย่างสันติสุขใน สงั คมทีม่ ีความหลากหลายทางศาสนาวฒั นธรรมประเพณี 3. เลอื กรับปรบั ใชว้ ฒั นธรรมประเพณีท่ีสอดคลอ้ งและ เหมาะสมกับสังคมไทย มาตรฐานที่ 5.3 ปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมืองทดี่ ตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย มีจิตสาธารณเพ่ือความสงบสุขของ สงั คม มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวงั มีความรคู้ วามเขา้ ใจดำเนนิ ชวี ติ ตามวถิ ี 1.อธิบายความสำคญั และบทบาทหน้าที่ขององค์กรอิสระตาม ประชาธิปไตยกฎระเบียบของประเทศ รฐั ธรรมนญู ต่างๆในโลก 2.ระบุบทบาทองค์กรระหว่างประเทศทมี่ บี ทบาทต่อการเมือง การปกครองของประเทศไทย/โลก 3. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายของ ประชาชนในประเทศต่างๆ 4. เสนอทางเลือกในการแกป้ ัญหาความไม่สงบท่เี ก่ยี วขอ้ งกับ กฎหมายของประเทศไทยและประเทศต่างๆ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 151 สำนกั งาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี

หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555) มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ ความสำคญั ของหลักการพัฒนา และสามารถพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน/สังคม มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรูท้ ่คี าดหวงั มคี วามรคู้ วามเข้าใจหลกั การพฒั นา 1.มีความรูค้ วามเข้าใจหลกั การพัฒนาชมุ ชนสงั คม ชุมชนสังคมสามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลและ 2. บอกความหมายและความสำคญั ของแผนชวี ติ และชุมชน เปน็ ผนู้ ำผ้ตู ามในการพฒั นาตนเอง สังคม ครอบครวั ชมุ ชนสังคมใหส้ อดคล้องกับ 3. วเิ คราะหแ์ ละนำเสนอข้อมูลตนเองครอบครัวชุมชน/สงั คม สภาพการเปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณ์ ด้วยเทคนคิ และวธิ ีการทีห่ ลากหลาย ปจั จบุ ัน 4. จูงใจใหส้ มาชกิ ของชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการจัดทำแผนชวี ิต และแผนชมุ ชนสังคมได้ 5. เปน็ ผ้นู ำผตู้ ามในการจดั ทำประชาคมประชาพจิ ารณข์ อง ชุมชน 6. กำหนดแนวทางในการดำเนินการเพ่ือนำไปสูก่ ารทำแผน ชวี ติ ครอบครวั ชุมชนสงั คม 7. รว่ มพัฒนาแผนชมุ ชนตามขั้นตอน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 152 สำนักงาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี

หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) คำอธิบายรายวิชา สาระการพัฒนาสังคม หมวดวิชา สค31002 ศาสนาและหน้าท่พี ลเมอื ง ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวนหนว่ ยกติ 2 หนว่ ย --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคุณคา่ และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ของประเทศในสังคมโลก 2. มีความรู้ ความเข้าใจ ดำเนินชวี ิตตามวิถปี ระชาธิปไตย กฎระเบยี บของประเทศต่างๆในโลก ศกึ ษาและฝึกทักษะเกย่ี วกับเรือ่ งดงั ต่อไปนี้ 1. หลกั ธรรมสำคญั ของแตล่ ะศาสนา และการปฏบิ ตั ิตนให้อยูร่ ่วมกันอยา่ งสันติสขุ 2. วธิ ีฝกึ ปฏิบัติพฒั นาจติ ในแต่ละศาสนา 3. วัฒนธรรมประเพณใี นประเทศไทย และประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 4. การสบื ทอดทางวฒั นธรรม และประเพณดี ีงามของไทย 5. ค่านิยมท่พี ึงประสงค์ 6. แนวทางการป้องกนั และการแก้ปญั หาพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ของสงั คมไทย 7. บทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนูญทม่ี ผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสงั คมและมผี ลต่อฐานะของประเทศในสงั คม โลก 8. ทม่ี าและบทบาทหนา้ ทข่ี ององค์กรตามรฐั ธรรมนญู 9. การปฏบิ ัตติ นให้สอดคล้องตามบทบญั ญัตขิ องรัฐธรรมนูญและสนับสนุนส่งเสริมให้ผู้อ่ืนปฏบิ ตั ิ 10. การมสี ว่ นรว่ มทางการเมืองการปกครอง เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ สังคมไทย และสังคมโลก 11. สิทธิมนุษยชน และกฎหมายระหวา่ งประเทศท่วี า่ ดว้ ยการคมุ้ ครองสทิ ธิด้านบุคคล การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ จัดใหม้ กี จิ กรรมการศึกษาหาความรจู้ ากสื่อเอกสาร สอื่ เทคโนโลยี ภมู ิปัญญา องค์กร สถาบนั การฝึก ปฏิบัติ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี การจดั กลมุ่ อภิปราย การวเิ คราะห์ การศกึ ษาดงู าน และ การสรุปผลการเรียนรพู้ ร้อมนำเสนอด้วยวธิ ที ่หี ลากหลาย การวัดและประเมินผล ประเมนิ จากการทดสอบ การสงั เกต การประเมนิ การมสี ่วนร่วมในการทำกจิ กรรมและการตรวจผลงาน ฯลฯ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 153 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี

หลกั สตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) รายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า สค31002 ศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมอื ง จำนวน 2 หน่วยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ****************************************************************************** มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณคา่ และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ของประเทศในสังคมโลก 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ดำเนินชีวติ ตามวิถปี ระชาธปิ ไตย กฎระเบียบของประเทศต่างๆในโลก ท่ี หัวเร่ือง ตัวชวี้ ดั เนือ้ หา จำนวน ชั่วโมง 1 ศาสนา วัฒนธรรม 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ 1. ศาสนาตา่ งๆ ศาสนาทีส่ ำคญั ๆ ในโลก - กำเนดิ ศาสนาตา่ งๆ 40 ประเพณี 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจ ใน - ศาสดาของศาสนาตา่ งๆ หลกั ธรรมสำคญั ของแต่ละ 2. หลกั ธรรมสำคญั ของศาสนาต่างๆ ศาสนา - การเผยแพรศ่ าสนาต่างๆ 3. เหน็ ความสำคัญในการ - ความขัดแยง้ ในศาสนาตา่ งๆซึ่ง อยรู่ ่วมกบั ศาสนาอืน่ อย่าง กอ่ ให้เกดิ ผลเสยี ในสังคม(กรณี สนั ตสิ ุข ตวั อย่าง) 4. ประพฤติปฏิบตั ิตนท่ี 3.การปฏบิ ตั ิตนให้อยูร่ ่วมกนั อยา่ ง ส่งผลให้สามารถอยู่รว่ มกับ สันติสุข ศาสนาอื่นอย่างสันติสุข 4. วิธีฝกึ ปฏบิ ัติพฒั นาจิตในแตล่ ะ 5. ฝึกปฏบิ ัตพิ ัฒนาจติ ศาสนา เพื่อให้สามารถพัฒนา 5. การพฒั นาสติปัญญาในการ ตนเองให้มสี ตปิ ัญญาในการ แกป้ ัญหาตา่ งๆ และการพัฒนาตนเอง แก้ปัญหาตา่ งๆ และพัฒนา ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม(กรณีตวั อยา่ ง) ตนเอง ครอบครวั สังคม 6. วฒั นธรรมประเพณีในประเทศไทย ชุมชน และประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 6. มคี วามรู้ ความเข้าใจใน - ภาษา วฒั นธรรมประเพณีของ - การแต่งกาย ประเทศไทยและประเทศ - อาหาร ต่างๆในโลก - ประเพณีทสี่ ำคัญๆ ฯลฯ 7. การอนุรักษ์ และสบื ทอดวัฒนธรรม ประเพณี(กรณีตวั อยา่ ง) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 154 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี

หลกั สตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2555) ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวชวี้ ัด เน้ือหา จำนวน ช่วั โมง 7. ตระหนกั ถึงความสำคญั 8. การจดั กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในวัฒนธรรมประเพณีของ กบั วฒั นธรรมประเพณีของอำเภอ ประเทศไทย และประเทศ พนสั นิคม ตา่ ง ๆ ในโลก 9.ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการมสี ว่ นร่วม สืบ 8. มสี ว่ นร่วมสบื ทอด ทอด ประพฤติปฏิบัตติ นเปน็ แบบอยา่ ง วฒั นธรรมประเพณีไทย ในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมประเพณีอนั ดี 9. ประพฤติตนเป็น งามของสงั คมไทย แบบอยา่ งของผทู้ มี่ ี 10.1 แนวทางในการเลอื กรบั ปรบั ใช้ วฒั นธรรมประเพณี วฒั นธรรมตา่ งชาติได้อย่างเหมาะสม อนั ดีงามของสังคมไทยและ กับตนเองและสงั คมไทย(กรณีตัวอย่าง) เลอื กรบั ปรับ ใชว้ ฒั นธรรม 10.2 ค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์ของ จากต่างชาตไิ ด้อย่าง สังคมไทย เหมาะสมกบั ตนเองและ - ความเออ้ื เฟื้อเผื่อแผ่ สงั คมไทย - การยิม้ แยม้ แจ่มใส 10.ประพฤตปิ ฏิบตั ติ าม - การใหอ้ ภยั คา่ นิยมที่พงึ ประสงค์ของ ฯลฯ สังคมโลก 11. คา่ นยิ มท่ีพงึ ประสงคข์ องประเทศ 11. เปน็ ผู้นำในการป้องกัน ตา่ งๆ ในโลก และแก้ไขปัญหาพฤติกรรม - การตรงต่อเวลา ตามคา่ นิยมที่ไมพ่ ึงประสงค์ - ความมรี ะเบยี บ ฯลฯ ของสังคมไทย 11. วธิ ีปฏิบตั ใิ นการประพฤติตนเปน็ ผนู้ ำรว่ มในการปอ้ งกนั และแก้ไข ปญั หาพฤติกรรมทีไ่ ม่พึงประสงค์ใน สงั คมไทย 12. ค่านยิ มและจรยิ ธรรม ความเชอ่ื ของอำเภอพนสั นคิ ม 13. กฎระเบียบชาวบ้าน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 155 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี

หลักสตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2555) ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวชี้วดั เนื้อหา จำนวน ชั่วโมง 2 หน้าท่พี ลเมือง 1. รู้และเข้าใจบทบญั ญัติ 1. บทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนูญท่มี ผี ลต่อ ของรัฐธรรมนูญ การเปล่ียนแปลงทางสังคมและมผี ลตอ่ 40 2. รู้และเขา้ ใจบทบาท ฐานะของประเทศในสงั คมโลก หนา้ ที่ขององค์กรตาม 2. บทบาทหนา้ ท่ีองค์กรตาม รัฐธรรมนญู และการ รัฐธรรมนูญและการตรวจสอบการใช้ ตรวจสอบอำนาจรฐั อำนาจรฐั 3. อธิบายความเป็นมา และ 3. ความเปน็ มา และการเปล่ียนแปลง การเปลี่ยนแปลงของ ของรฐั ธรรมนูญ รฐั ธรรมนญู 4.1 รัฐธรรมนูญและกฎหมายอ่ืน ๆ 4. บอกวธิ ีปฏบิ ัติตนตาม 4.2 การปฏบิ ตั ติ นให้สอดคลอ้ งตาม รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญและการ 5. ร้แู ละเข้าใจหลักสิทธิ สนบั สนนุ ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้อื่นปฏิบัติ มนุษยชน 5. หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนและบทบาท 6. อธบิ ายหลักสทิ ธิ หนา้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบของ มนุษยชนใหผ้ อู้ ื่นได้ คณะกรรมการสิทธิ์ 7. ปฏิบัติตนตามหลกั สทิ ธิ 6. กฎหมายระหว่างประเทศทวี่ ่าด้วย มนุษยชน การคุ้มครองสิทธิด้านบคุ คล 7. การปฏิบตั ิตามหลกั สทิ ธมิ นุษยชน 8. การเลือกต้งั ผู้นำท้องถ่นิ 9. บทบาท หน้าทข่ี องระบบการ ปกครองส่วนท้องถน่ิ 10. การสาธติ วธิ กี ารเลือกตงั้ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 156 สำนกั งาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี

หลักสตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2555) คำอธิบายรายวิชา สาระการพฒั นาสังคม หมวดวชิ า สค31003 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ระดับช้ัน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวนหน่วยกิต 1 หน่วย --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนร้รู ะดับ มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการพฒั นา ชมุ ชน สงั คม สามารถวิเคราะห์ข้อมลู และเป็นผนู้ ำผูต้ ามในการ พฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม.ใหส้ อดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณป์ ัจจุบนั ศกึ ษาและฝกึ ทกั ษะเกย่ี วกบั เรือ่ งดังต่อไปน้ี 1. ความหมาย ความสำคัญ ของข้อมลู ประโยชน์ของข้อมลู ตนเอง ชุมชน สงั คม 2. เทคนคิ และวิธกี ารจดั เก็บข้อมูล เชน่ การจัดเวทีประชาคม การสำรวจขอ้ มลู โดยใชแ้ บบสอบถาม การสืบคน้ ข้อมลู จากแหล่งต่างๆ ฯลฯ 3. การวเิ คราะห์ข้อมลู เพ่ือการจัดทำแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม 4. การจดั ทำแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม และการนำไปใช้ 5. ความหมายความสำคัญท่มี าและบทบาทหน้าท่ีของผู้นำ ผตู้ ามชมุ ชนดา้ นการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม 6. การเป็นผู้นำ ผู้ตามในการขบั เคล่ือนแผนพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม สกู่ ารปฏิบตั ิ การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ จดั ใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาจากการปฏิบัติจรงิ เข้าร่วมสังเกตการณ์ ศึกษากรณตี วั อย่างในชมุ ชน และผนู้ ำชมุ ชน สร้างสถานการณจ์ ำลอง จดั ทำเวทีประชาคม และการศึกษาดูงาน เปรยี บเทียบการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม ระหว่างกลุม่ ระหวา่ งชุมชน ฝกึ ทกั ษะการเป็นผูน้ ำ / ผตู้ ามในการขบั เคลอื่ นแผนพัฒนาสูก่ ารปฏบิ ัติ การวดั และประเมินผล ประเมนิ จากผลงาน และการมีสว่ นรว่ มในการจดั ทำแผนและการขับเคล่อื นแผนพัฒนาสู่การปฏิบั ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 157 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี

หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) รายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา สค31003 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม จำนวน 1 หนว่ ยกติ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ****************************************************************************** มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ หลกั การพัฒนา ชุมชน สงั คม สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลและเป็นผูน้ ำผ้ตู ามในการ พฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม.ให้สอดคล้องกับสภาพการเปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณ์ปจั จบุ นั ที่ หวั เร่อื ง ตวั ช้ีวัด เน้อื หา จำนวน ชว่ั โมง 1 พฒั นาตนเอง ชุมชน 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ 1. หลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน 40 สังคม หลักการพัฒนาตนเอง สังคม ชมุ ชน สังคม 2. ความหมาย ความสำคัญ 2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ประโยชน์ ของข้อมลู ดา้ น และเห็นความสำคญั ของ - ภูมิศาสตร์ ขอ้ มลู ตนเอง ครอบครัว - ประวัตศิ าสตร์ ชมุ ชน สงั คม - เศรษฐศาสตร์ 3. วิเคราะห์และอธบิ าย - การเมืองการปกครอง ขอ้ มูล - ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 4. เกิดความตระหนัก และมี - หน้าท่พี ลเมือง สว่ นร่วมในการจัดทำ - ทรพั ยากร สิ่งแวดล้อม แผนพฒั นาชมุ ชน สังคม - สาธารณสขุ 5. สามารถกำหนดแนว - การศกึ ษา ทางการพฒั นาตนเอง 3. วธิ กี ารจดั เก็บ วิเคราะหข์ ้อมูลดว้ ย ครอบครัว ชมุ ชน สังคม วิธกี ารท่ีหลากหลาย และเผยแพร่ 6. รแู้ ละเขา้ ใจ บทบาท ขอ้ มลู หนา้ ทขี่ องผู้นำชุมชน 4. การจัดเก็บข้อมูลพน้ื ฐานของชมุ ชน 7. เป็นผู้นำ ผู้ตามในการ พร้อมทั้งนำเสนอข้อมูล จัดทำและขับเคล่ือน 5. การมสี ่วนรว่ มในการวางแผนพัฒนา แผนพัฒนาตนเอง ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม ครอบครัว ชมุ ชน สังคม ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 158 สำนกั งาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี

หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) ที่ หวั เรอื่ ง ตัวช้วี ัด เนอ้ื หา จำนวน ชั่วโมง 6.1 เทคนิคการมสี ่วนรว่ มในการจดั ทำ แผน เช่น - การจดั ทำเวทีประชาคม - การประชมุ กลมุ่ ย่อย - การสมั มนา - การสำรวจประชามติ - การประชาพิจารณ์ ฯลฯ 6.2 การจดั ทำแผน -ทิศทาง นโยบาย - โครงการ - ผู้รบั ผดิ ชอบ - จัดลำดับความสำคัญ ฯลฯ 6.3 การเผยแพร่สู่การปฏบิ ตั ิ - การเขียนรายงาน - การเขียนโครงงาน 7. บทบาท หนา้ ท่ขี องผ้นู ำ/สมาชิก ท่ดี ขี องชุมชน สังคม 8.1 ผ้นู ำ ผู้นำในการจดั แผนพัฒนา ชมุ ชน สังคม 8.2 ผู้ตาม ผูต้ ามในการขบั เคล่ือน แผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม 9. การจัดทำแผนสำหรบั การพัฒนา ตนเองหรอื ชมุ ชนในดา้ นตา่ ง ๆ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 159 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี

หลกั สตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2555) คำอธบิ ายรายวชิ า สค03035 สงั คมประชาธิปไตย สาระการพัฒนาสงั คม ระดบั ประถมศกึ ษา, มัธยมศกึ ษาตอนตน้ , มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 3 หนว่ ยกิต (120 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.3ปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดีตามวถิ ปี ระชาธิปไตย มจี ิตสาธารณะ เพ่ือความสงบสุข ของสังคม ศกึ ษาและฝกึ ทกั ษะเก่ยี วกบั เรอื่ งต่อไปนี้ 1. ความหมายของพลเมืองดีและประชาธิปไตยในชมุ ชน 2. รูปแบบของประชาธปิ ไตยในชุมชน/ท้องถน่ิ 3. การแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับประชาธปิ ไตยทต่ี นเองมีต่อชุมชน 4. กฎหมายเก่ียวกบั ประชาธปิ ไตย 5. กฎหมายการเลือกตั้ง 6. การปฏิบตั ิตนในการเลือกตง้ั 7. การรณรงค์การเลือกต้ัง 8. ความหมาย ความสำคัญของหลกั ธรรมาภิบาล 9 หลกั 9. ความเป็นมาของหลักธรรมาภบิ าล 9 หลัก 10. ประโยชนข์ องการใชห้ ลักธรรมาภบิ าล 11. การนำหลักธรรมาภบิ าลไปใช้ในชีวติ ประจำวัน การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ จดั ให้มกี ารอภปิ รายความหมาย ความสำคญั ของของพลเมืองดี หลกั ธรรมาภิบาล และประชาธปิ ไตยใน ชุมชน จัดนทิ รรศการ รปู แบบประชาธิปไตยในชุมชน/ท้องถ่ินของตนเองพร้อม ใหผ้ ู้เรยี นจัดทำรายงาน และ นำเสนอในรปู แบบที่หลากหลาย และเขา้ ร่วมกิจกรรมการเลือกตั้ง / สังเกตการณ์เลอื กต้ังในชุมชน/ทอ้ งถิ่น รวมทั้ง รณรงคใ์ ห้ความรู้แก่ประชาชนในท้องถน่ิ /ชมุ ชน ศึกษาเรียนรู้จากสอ่ื ส่ิงพิมพ์ เว็บไซดต์ ่าง ๆ เกี่ยวกับหลกั ธรรมาภบิ าล แลกเปล่ียนเรยี นรูป้ ระสบการณ์ ยกตวั อยา่ งการนำหลักธรรมาภบิ าลไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั /ไปใช้ในการเลือกต้งั การวัดและประเมนิ ผล จากการสังเกต การจดั ทำรายงาน ใบงาน การอภิปราย การมสี ว่ นรว่ ม การทดสอบ การยกตวั อยา่ งการนำ หลกั ธรรมาภิบาลไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 160 สำนักงาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี

หลกั สตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) รายละเอยี ดคำอธิบายรายวิชา สค03035 สังคมประชาธปิ ไตย สาระการพฒั นาสังคม ระดบั ประถมศกึ ษา, มธั ยมศกึ ษาตอนต้น, มธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 3 หนว่ ยกิต (120 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.3 ปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมอื งดตี ามวิถปี ระชาธิปไตย มจี ติ สาธารณะ เพื่อความสงบสุขของสงั คม ท่ี หัวเรอื่ ง ตวั ชี้วัด เนอ้ื หา จำนวน (ชั่วโมง) 1 พลเมืองดตี ามวถิ ี 1. อธบิ ายความหมาย ความ 1. ความหมาย ความสำคัญ ประชาธปิ ไตย 20 สำคญั ของพลเมืองดีและ ของพลเมืองดีและประชาธปิ ไตย 20 ประชาธปิ ไตยในชมุ ชนได้ ในชุมชน 30 2. อธบิ ายเกยี่ วกบั รูปแบบ 2. รปู แบบประชาธปิ ไตยใน ประชาธิปไตยในชุมชน/ท้องถิ่น ชุมชน/ทอ้ งถนิ่ ได้ 3. บอกประเภทของ 3. ประเภทของประชาธปิ ไตย ประชาธปิ ไตยได้ 3.1 ประชาธปิ ไตยทางตรง 3.2 ประชาธิปไตยทางอ้อม 4. บอกประเภทของการ 4. การเลือกต้งั เลือกตงั้ ได้ 4.1 การเลอื กตง้ั สส. 4.2 การเลอื กตั้ง สว. 4.3 การเลอื กตง้ั ผูว้ า่ ฯ 4.4 การเลอื กตงั้ แบบ ทอ้ งถน่ิ 5. บอกกฎหมายเก่ยี วกบั 5. กฎหมายเกีย่ วกบั ประชาธปิ ไตยได้ ประชาธิปไตย 6. บอกกฎหมายการเลอื กต้ังได้ 6. กฎหมายการเลือกต้งั 7. บอกการปฏบิ ตั ติ นในการ 7. การปฏบิ ัตติ นในการเลือกตงั้ เลอื กตง้ั 8. บอกการมีส่วนร่วมในการ 8. เขา้ รว่ มกจิ กรรมการเลือกตั้ง เลอื กตัง้ ของชุมชน/ท้องถ่นิ ของชุมชน/ท้องถนิ่ 9. อธิบายเกี่ยวกบั การมจี ติ 9. การเลือกต้งั อบต./เทศบาล สาธารณะได้ 10. การมจี ติ สาธารณะ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 161 สำนกั งาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี

หลกั สตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2555) ท่ี หัวเร่อื ง ตัวชี้วดั เนอื้ หา จำนวน 10. อธบิ ายความหมาย (ชั่วโมง) 2 หลักธรรมาภิบาลสรา้ ง ความสำคัญของหลักธรรมาภิ 11. ความหมาย ความสำคญั และ สงั คมสงบสุข บาลได้ ความเปน็ มาของหลักธรรมาภิ 50 บาล 9 หลัก 11. บอกประโยชนข์ องการนำ 1.1 นิติธรรม หลักธรรมาภิบาลแตล่ ะด้านไป 1.2 คณุ ธรรม ใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ 1.3 โปร่งใส 12. เป็นผ้นู ำในการนำหลกั 1.4 คุ้มค่า หลกั ธรรมาภิบาลไปใช้ใน 1.5 รว่ มมือ ชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งมคี ุณค่า 1.6 รบั ผดิ ชอบ 1.7 ความสอดคลอ้ ง 1.8 ความเสมอภาค 1.9 ความมปี ระสิทธิภาพ 12. ประโยชนข์ องหลัก ธรรมาภิบาลแต่ละด้าน 13. การนำหลกั ธรรมาภบิ าล แตล่ ะดา้ นไปปรบั ใชใ้ น ชีวติ ประจำวนั ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 162 สำนกั งาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี

หลักสตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) แนวทางการดำเนินงานหลกั สตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2555) วธิ ีการจดั การเรียนรู้ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มวี ิธกี ารจัดการเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย ไดแ้ ก่ 1. การเรยี นรู้ด้วยตนเอง เป็นวธิ กี ารจัดการเรียนร้ทู ่ีผู้เรียนกำหนดแผนการเรียนรู้ของตนเองตามรายวิชา ทีล่ งทะเบยี นเรยี น โดยมีครเู ป็นที่ปรึกษาและให้คำแนะนำในการศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเอง จากภมู ปิ ญั ญา ผู้รู้ และส่ือตา่ ง ๆ 2. การเรยี นรู้แบบพบกลุ่ม เป็นวิธกี ารจดั การเรียนรทู้ กี่ ำหนดใหผ้ ู้เรยี นมาพบกนั โดยมีครเู ป็น ผดู้ ำเนินการใหเ้ กดิกระบวนการกลมุ่ เพ่ือใหม้ ีการอภปิ รายแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และหาข้อสรุปร่วมกัน 3. การเรียนรู้แบบทางไกล เป็นวธิ ีการจดั การเรยี นรูจ้ ากสื่อตา่ ง ๆ โดยทผ่ี เู้ รียนและครูส่ือสารกันทางส่ือ อเิ ล็กทรอนิกส์เปน็ ส่วนใหญ่ หรอื ถา้ มีความจำเป็นอาจพบกันเป็นครงั้ คราว 4. การเรียนรู้แบบช้นั เรยี น เป็นวิธีการจดั การเรียนร้ทู ่ีสถานศกึ ษากำหนดรายวิชา เวลาเรียน และ สถานที่ ท่ีชดั เจน ซ่งึ วิธีการจัดการเรียนรูน้ เ้ี หมาะสำหรบั ผู้เรยี นที่มีเวลามาเขา้ ช้ันเรียน 5. การเรียนรตู้ ามอธั ยาศยั เปน็ วิธีการจัดการเรียนร้ทู ่ผี ้เู รียนสามารถเรยี นรไู้ ด้ตามความต้องการ และ ความสนใจ จากสื่อเอกสาร ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ หรือจากการฝกึ ปฏิบัตติ ามแหล่งเรยี นรูต้ ่าง ๆ แลว้ นำความรู้และ ประสบการณ์มาเทยี บโอนเขา้ สหู่ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 6. การเรียนรจู้ ากการทำโครงงาน เปน็ วิธีการจดั การเรียนรูท้ ผี่ ้เู รยี นกำหนดเร่อื งโดยสมัครใจ ตามความ สนใจ ความตอ้ งการ หรอื สภาพปัญหา ที่จะนำไปสู่การศึกษาค้นควา้ ทดลอง ลงมอื ปฏบิ ตั ิจริง และมผี ลการสรุปผล การดำเนนิ งานตามโครงงาน โดยมีครเู ปน็ ผ้ใู หค้ ำปรึกษา แนะนำ อำนวยความสะดวกในการเรยี นรู้ และกระต้นุ เสรมิ แรงใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 7. การเรยี นรู้แบบอ่นื ๆ สถานศึกษาสามารถออกแบบวธิ ีการจัดการเรียนรใู้ นรูปแบบอื่น ๆ ได้ตามความ ตอ้ งการของผู้เรียน วธิ กี ารจดั การเรียนร้ดู งั กล่าวข้างต้น สถานศกึ ษาและผ้เู รยี นรว่ มกันกำหนดวิธีเรียนโดยเลือกวิธใี ด วธิ ีหน่งึ หรือหลายวิธกี ไ็ ด้ ขึ้นอยู่กับความยากงา่ ยของเนอ้ื หา และสอดคล้องกบั วถิ ีชีวิต และการทำงานของผเู้ รียน โดย ขณะเดยี วกนั สถานศึกษาสามารถจัดให้มีการสอนเสรมิ ได้ทุกวิธเี รียน เพื่อเตมิ เตม็ ความรูใ้ ห้บรรลุมาตรฐานการ เรียนรู้ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 163 สำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี

หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) การจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรยี นรูต้ ามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) มุ่งพฒั นาใหผ้ ้เู รยี นมีความสามารถในการเรยี นรู้ ตามปรัชญาพืน้ ฐานของ การศกึ ษานอกโรงเรยี น “คิดเปน็ ” โดยเนน้ พัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ และสรา้ งองค์ ความรูส้ ำหรบั ตนเอง และชมุ ชน สงั คม ซ่ึงกำหนดรปู แบบการจัดการเรยี นรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL ซึ่งเป็น กระบวนการจัดการเรยี นรู้ที่จัดข้นึ อย่างเปน็ ระบบตามปรัชญา “คดิ เปน็ ” ประกอบดว้ ย 4 ข้ันตอน ดงั นี้ 1. ขน้ั กำหนดกำหนดสภาพปญั หาความตอ้ งการในการเรยี นรู้ (O : Orientation) เปน็ การเรยี นร้จู ากสภาพปัญหา หรอื ความต้องการของผเู้ รยี น และชมุ ชน สังคม โดยให้เชอ่ื โยงกับ ประสบการณเ์ ดมิ และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร ข้ันตอนการเรียนรู้ 1. ครู และผเู้ รยี นรว่ มกันกำหนดสภาพปญั หา ความต้องการในการเรียนรู้ ซ่ึงอาจจะได้มาจากสถานการณ์ ในขณะน้นั หรือเปน็ เร่ืองทีเ่ กิดขึน้ จรงิ ในชีวิตจริง หรอื เป็นประเดน็ ท่ีกำลังขัดแยง้ และกำลังอยูใ่ นความสนใจของ ชมุ ชน ซง่ึ จะชว่ ยกระตนุ้ ให้ผู้เรยี นกระตือรือร้นท่คี ดิ จะหาทางออกของปญั หา หรือความต้องการนั้น ๆ 2. ทำความเข้าใจกบั สภาพ ปัญหา ความต้องการในส่ิงทตี่ อ้ งการเรยี นรู้ โดยดงึ ความรู้ และประสบการณ์ เดมิ ของผ้เู รยี น เน้นการมสี ว่ นรว่ ม มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้สะท้อนความคิดและอภปิ ราย โดยใหเ้ ชอ่ื มโยงกบั ความรู้ ใหม่ 3. วางแผนการเรยี นรทู้ ีเ่ หมาะสม โดยกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีกำหนด สามารถเห็นแนวทางในการคน้ พบ ความรู้ หรือคำตอบไดด้ ว้ ยตนเอง 2. ขน้ั แสวงแสวงหาขอ้ มลู และจดั การเรยี นรู้ (N : New way of learning) การแสวงหาความรูแ้ ละจัดการเรียนรู้ โดยศกึ ษาค้นคว้าหาความรู้ และรวบรวมข้อมลู ของตนเอง ข้อมลู ของชุมชน สังคม และข้อมูลทางวชิ าการ จากสอ่ื และแหล่งความรู้ท่หี ลากหลาย มีการระดมความคิดเหน็ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และสรุปเป็นความรู้ ข้ันตอนการเรียนรู้ 1. ผเู้ รียนแสวงหาความรตู้ ามแผนการเรียนร้ทู ีก่ ำหนดไว้ โดยการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การเรียนรู้ผา่ น ประสบการณ์ กระบวนการกล่มุ ศึกษาจากผ้รู ้/ู ภูมปิ ัญญา และวิธอี น่ื ๆ ท่เี หมาะสม 2. ครแู ละผ้เู รยี นรว่ มกนั แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และสรุปความรู้เบื้องต้น โดยใชค้ ำถามปลายเปิดในการชวนคดิ ชวนคุย เป็นเครือ่ งมือ ด้วยกระบวนการระดมสมอง สะท้อนความคดิ และอภิปราย ซงึ่ จะได้รับความรใู้ หม่ เพ่ือใช้ ปฏิบัติและนำไปประยุกตใ์ ช้ 3. ผเู้ รียนนำความรู้ทีไ่ ด้ไปตรวจสอบความถูกตอ้ ง เพื่อประเมินความเป็นไปได้โดยวธิ ีตา่ ง ๆ เช่น การ ทดลอง การทดสอบ การตรวจสอบกับผรู้ ู้ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 164 สำนกั งาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี

หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) 3. ขน้ั ปฏิบัตแิ ละนำไปประยุกต์ใช้ (I : Implementation) นำความร้ทู ไ่ี ดไ้ ปปฏบิ ตั ิ และประยุกตใ์ ชใ้ หส้ อดคล้องกับสถานการณ์ เหมาะสมกับวฒั นธรรมและสงั คม ขน้ั ตอนการเรียนรู้ 1. ผเู้ รยี นนำความรู้ไปปฏิบัตใิ หส้ อดคลอ้ งกับวิถีชวี ติ โดยสังเกตปรากฏการณ์ จดบันทึกผลการนำไปใช้ 2. ปฏิบัตกิ ารแกไ้ ขข้อบกพร่อง สรุป จัดทำรายงานและรวบรวมไว้ในแฟ้มสะสมผลงาน 4. ขั้นทีป่ ระเมนิ ผลการเรียนรู้ (E : Evaluation) ประเมิน ทบทวน แก้ไขข้อบกพรอ่ ง ผลจากการนำความรไู้ ปประยกุ ต์ใช้แลว้ สรุปเป็นความรใู้ หมพ่ ร้อมกบั เผยแพรผ่ ลงาน ข้ันตอนการเรยี นรู้ 1. ครู และผู้เรยี นนำแฟ้มสะสมผลงาน และผลงานที่ไดจ้ ากการปฏิบัตมิ าสรปุ เป็นองค์ความรู้ ใชเ้ ปน็ สารสนเทศ เพ่ือเสนอต่อสาธารณชน โดยประเมินคุณภาพการเรยี นรู้ ได้แก่ ประเมินผลการเรียนรู้ กระบวนการ ปฏิบัตงิ าน แหล่งเรียนรู้ และสารสนเทศทีน่ ำมาใช้ 2. ครู และผู้เรียนรว่ มกันสร้างเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพการเรียนรู้ 3. ครู ผเู้ รียน และผเู้ กย่ี วข้องรว่ มกนั ประเมนิ พัฒนาการเรียนรใู้ ห้เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพการเรยี นรู้ ทั้ง 4 ขนั้ ตอนดงั กลา่ วข้างตน้ เป็นวงจรของกระบวนการเรียนรตู้ ามปรชั ญาคิดเป็น ซงึ่ สถานศกึ ษาสามารถ นำหลักการ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ท้งั 4 ขั้นตอน ใช้เปน็ หลักในการจัดทำแผนการเรียนรู้โดยปรับใชข้ นั้ ตอน การเรยี นรู้ได้อย่างเหมาะสมตามสภาพของรายวชิ า หรือเงื่อนไขอนื่ ๆ ตามความต้องการของผ้เู รียน ส่ือการเรยี นรู้ ในการจดั การเรยี นรเู้ น้นให้ผู้เรยี น แสวงหาความรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง โดยการใชส้ อื่ การเรยี นรู้ท่ีหลากหลาย ได้แก่ สอื่ สิ่งพมิ พ์ ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ สอื่ บุคคล ภูมปิ ญั ญา แหล่งเรยี นร้ทู มี่ ีอยู่ในท้องถิ่น ชุมชน และแหล่งเรียนรู้ อืน่ ๆ ผเู้ รยี น ครู สามารถพฒั นาสอ่ื การเรียนร้ขู ้ึนเอง หรือนำสื่อตา่ ง ๆ ทมี่ ีอยใู่ กล้ตวั และขอ้ มลู สารสนเทศที่ เกยี่ วขอ้ งมาใชใ้ นการเรียนรู้ โดยใช้วจิ ารณญาณในการเลือกใช้สือ่ ต่าง ๆ ซ่ึงจะช่วยสง่ เสริมใหเ้ รยี นการเรยี นรู้ เปน็ ไปอยา่ งมีคุณค่า น่าสนใจ ชวนคดิ ชวนติดตาม เข้าใจง่าย เป็นการกระตุ้นให้ผเู้ รยี นรู้จกั วิธีการแสวงหาความรู้ เกิดการเรยี นรู้อย่างกว้างขวาง ลึกซ้งึ และต่อเน่ืองตลอดเวลา การเทียบโอน สถานศกึ ษาต้องจดั ให้มีการเทียบโอนผลการเรียน หรือเทียบโอนความรูแ้ ละประสบการณ์ของผู้เรียน ให้ เป็นสว่ นหนึ่งของผลการเรียน ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) โดยสถานศกึ ษาต้องจดั ทำระเบียบ หรอื แนวปฏบิ ตั กิ ารเทยี บโอน ให้สอดคล้องกับแนว ทางการเทียบโอน ท่ีสำนักงาน กศน.กำหนด ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 165 สำนักงาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี

หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2555) การวดั และประเมินผลการเรยี น การวดั และประเมนิ ผลการเรียน เป็นกระบวนท่ีให้ไดม้ าซึง่ ข้อมูลสารสนเทศทแี่ สดงถึงการพฒั นา ความกา้ วหนา้ ความสำเรจ็ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผู้เรียน และขอ้ มูลที่จะเป็นประโยชน์ตอ่ การสง่ เสริมให้ ผู้เรยี นเกดิ การพัฒนาและเรียนรใู้ หเ้ ต็มศักยภาพ เกดิ ทักษะและกระบวนการ และคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ ซ่ึง สถานศึกษาในฐานะเป็นผรู้ ับผิดชอบการจัดการศกึ ษา จะต้องจัดทำระเบยี บและแนวปฏิบัติในการวัด และ ประเมินผลการเรยี นของสถานศึกษา เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรที่เกีย่ วขอ้ งทุกฝา่ ยถือปฏิบตั ริ ่วมกนั และเปน็ ไปในมาตรฐาน เดียวกัน 1. การวดั และประเมินผลรายวิชา เป็นการประเมนิ ผลการเรยี นรายวิชา สถานศกึ ษาต้องดำเนนิ การ ควบคไู่ ปกบั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ของผ้เู รียน เพอ่ื ให้ทราบวา่ ผู้เรียนมคี วามกา้ วหน้าทางดา้ นความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม และค่านิยมอันพงึ ประสงค์ อันเป็นผลเนอ่ื งมาจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เพียงใด และ ตอ้ งมีการประเมนิ ผลรวมเพ่ือทราบวา่ ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู้หรือไม่ อยา่ งไร ดังนั้น การวัดและประเมินผลจึงต้อง ใช้เครอ่ื งมือ และวธิ ที ่ีหลากหลาย ให้สอดคล้องกบั สาระและ มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั 2. การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ เป็นการประเมินส่งิ ท่ผี ูเ้ รียนปฏิบัติ เพื่อการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม โดยพิจารณาท้ังเวลา การเข้ารว่ มกิจกรรม การปฏบิ ตั ิกิจกรรม และผลจากการปฏบิ ัติ กิจกรรมของผู้เรียน ตามเกณฑท์ ีส่ ถานศึกษากำหนด 3. การประเมนิ คณุ ธรรม เป็นการประเมินสง่ิ ที่ต้องการ การปลูกฝังในตวั ผู้เรยี น โดยประเมินจากกจิ กรรม การเรยี นรทู้ างด้านการพฒั นาตน การพฒั นางาน การอย่รู ว่ มกันในสังคมอย่างมีความสขุ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต การเข้าร่วมกจิ กรรม การเรียนรู้ในรายวชิ าตา่ ง ๆ และกิจกรรมในลกั ษณะอ่ืน ๆ ทีส่ ถานศกึ ษาจัดขนึ้ เพื่อเสรมิ สรา้ ง คุณธรรมให้เกิดข้ึนกับผู้เรยี น 4. การประเมนิ คุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ สถานศึกษาตอ้ งจัดใหผ้ ู้เรียนเขา้ รบั การประเมิน คณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ ในภาคเรยี นสุดทา้ ยของทุกระดบั การศกึ ษาในสาระการเรียนรทู้ ่ี สำนักงาน กศน.กำหนดการประเมนิ คุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือทราบผลการเรียนของผู้เรยี น สำหรบั นำไปใช้ ในการวางแผนปรับปรุงและพฒั นาคุณภาพการศึกษานอกระบบตอ่ ไป การประเมินดังกล่าวไม่มีผล ตอ่ การได้หรอื ตกของผู้เรยี น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 166 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี

หลักสตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) การจบหลักสตู ร ผู้จบการศึกษาตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) ในแต่ละระดับการศึกษา ต้องผ่านเกณฑ์การจบหลักสูตร ดงั น้ี 1. ผา่ นการประเมิน และได้รับการตดั สนิ ผลการเรยี นตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากำหนด ท้ัง 5 สาระการ เรียนรู้ และได้ตามจำนวนหนว่ ยกิตทีก่ ำหนดตามโครงสรา้ งหลักสูตร 2. ผา่ นกระบวนการประเมินกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ไม่น้อยกวา่ 200 ชว่ั โมง 3. ผ่านกระบวนการประเมินคุณธรรม 4. เขา้ รับการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ เอกสารหลักฐานการศกึ ษา เอกสารหลักฐานการศึกษาให้เป็นไปตามทีก่ ระทรวงศึกษาธิการกำหนด สถานศกึ ษาทุกแห่งตอ้ งใช้เอกสาร หลักฐานการศกึ ษาเหมือนกนั เพอื่ ประโยชน์ในการสือ่ ความเข้าใจท่ตี รงกันและการสง่ ต่อ ได้แก่ 1.ระเบยี นแสดงผลการเรยี น 2. หลกั ฐานแสดงวุฒกิ ารศึกษา (ประกาศนียบัตร) 3. แบบรายงานผู้สำเรจ็ การศึกษา เอกสารหลกั ฐานการศึกษาอืน่ ๆ สถานศกึ ษาต้องพจิ ารณาจัดทำ เพื่อใช้ประกอบการจัดการศกึ ษาตาม หลักสตู รนอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2555) ตามท่ีเหน็ สมควร เชน่ แบบประเมนิ ผลกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 167 สำนกั งาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี

หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2555) ภาคผนวก ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 168 สำนกั งาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี








Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook