หลักสตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2555) รายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า สค11002 ศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมือง จำนวน 2 หน่วยกิต ระดับประถมศกึ ษา ****************************************************************************** มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดับ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณคา่ และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ท้องถน่ิ และประเทศไทย 2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจดำเนินชวี ติ ตามวิถปี ระชาธิปไตยกฎหมายเบือ้ งต้นกฎระเบยี บของชุมชน สังคม และประเทศ ที่ หวั เรือ่ ง ตวั ชว้ี ัด เนือ้ หา จำนวน ชวั่ โมง 1 ศาสนา วัฒนธรรม 1.มีความรู้ ความเขา้ ใจ 1.ความหมายความสำคัญของศาสนา 40 ประเพณี เกยี่ วกับ ความหมาย วฒั นธรรม ประเพณี ความสำคัญของ ศาสนา 2.พทุ ธประวตั ิ และประวตั ิศาสดาของ วฒั นธรรม ประเพณี ใน ศาสนาตา่ งๆ ในประเทศไทย ประเทศไทย - ประวัตพิ ระเยซู 2.มคี วามรู้ ความเข้าใจ - ประวัติพระมูฮัมมัด เกย่ี วกับ พุทธประวัติ และ ฯลฯ ประวตั ศิ าสดาของศาสนา 3.1 หลกั ธรรมสำคญั ของศาสนาพทุ ธ ต่างๆ - เบญจศลี เบญจธรรม 3.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจใน - ฆราวาสธรรม หลักธรรม และการปฏิบัติ - พรหมวิหาร 4 ธรรมแต่ละศาสนา หลกั ธรรมสำคัญของศาสนาครสิ ต์ 3.2 ตระหนกั ถึงคุณค่า และ ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาฮินดู เห็นความสำคัญในการนำ 4.1 การปฏิบัตติ นตามหลักศาสนา หลกั ธรรมมาใช้ในการ - พุทธ ดำรงชีวติ - คริสต์ 4. มที กั ษะในการปฏบิ ตั ติ น - อิสลาม ตามหลกั ศาสนาทต่ี นนบั ถือ - ฮนิ ดู 5. สามารถอยู่ร่วมกับบุคคล 4.2 บุคคลตัวอย่างท่ีใชห้ ลกั ธรรมทาง ที่ ศาสนาในการดำเนินชวี ิต ต่างความเช่ือทางศาสนาใน สังคมได้อย่างสนั ตสิ ุข ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 44 สำนักงาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) ที่ หวั เรอ่ื ง ตัวชวี้ ดั เน้ือหา จำนวน ชั่วโมง 6. มีความรู้ ความเข้าใจใน 5.การแก้ปัญหาความแตกแยกของ วัฒนธรรมประเพณีของ บุคคล สงั คม ชุมชน เพราะความ ชุมชน ทอ้ งถนิ่ และของ แตกต่างความเชือ่ ศาสนา และสังคม ประเทศ ดว้ ยสันติวธิ ี (กรณตี วั อยา่ ง) 7. ตระหนกั ถึง ความสำคัญ - จากพทุ ธประวัติ ของวฒั นธรรมประเพณีของ - จากประสบการณข์ องผเู้ รียน ชมุ ชน ท้องถิน่ และของ 6. ประวตั ความเปน็ มาของชุมชนทีต่ น ประเทศ อาศยั อยู่ 8. มสี ว่ นร่วมในการปฏิบตั ิ 7. หลกั ธรรม หลกั จรยิ ธรรม ศาสน ตนตามวัฒนธรรมประเพณี พิธแี ละข้อกำหนดของชมุ ชนท้องถนิ่ ของท้องถนิ่ 8. จำนวนประชากรที่นับถือศาสนา 9. นำค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์ ตา่ ง ๆ ในชุมชนทอ้ งถน่ิ ทีต่ นอาศัยอยู่ ของสงั คม ชุมชน มา 9. วัฒนธรรมประเพณใี นชุมชน ประพฤติปฏบิ ัตจิ นเป็นนสิ ยั ทอ้ งถิ่น ภาคต่างๆ ของประเทศ ไทย - ภาษา การแต่งกาย อาหาร ฯลฯ ของภาคตา่ งๆ - ประเพณีของแตล่ ะชมุ ชน ท้องถนิ่ ภาค เชน่ แหเ่ ทยี นพรรษา บญุ เดือนสบิ ,ลอยกระทง,ประเพณี ว่ิงควาย,ย่เี ป็ง 10. วัฒนธรรมพ้ืนบา้ น - การกินเจ - งานบุญกลางบา้ น - งานไหวพ้ ระจันทร์ 11.การอนุรักษ์ และสบื สาน วฒั นธรรมประเพณีของภาคต่างๆ (กรณีตวั อย่าง) ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 45 สำนกั งาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) ท่ี หวั เรอ่ื ง ตัวชว้ี ดั เนอ้ื หา จำนวน ช่วั โมง 2 หน้าทพ่ี ลเมือง 12. การประพฤตปิ ฏบิ ัติตน เพ่ือการ 40 อนรุ ักษ์ และสบื สานวฒั นธรรม ประเพณี13. ค่านิยมทพ่ี ึงประสงคข์ อง ชุมชน สังคมไทย 14. การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตาม คา่ นยิ มของชุมชน สังคมไทยทพี่ งึ ประสงค(์ กรณีตัวอย่าง) 1. รู้และเขา้ ใจในเรื่องสิทธิ 1.1 ความหมายของประชาธิปไตย เสรีภาพ บทบาทหนา้ ที่และ 1.2 สทิ ธิ เสรภี าพบทบาทหน้าท่ี คุณคา่ ของความเป็น ของพลเมืองในวิถปี ระชาธปิ ไตย พลเมืองดตี ามแนวทาง 2. การมีสว่ นร่วมในการปฏิบัติตน ประชาธปิ ไตย ตามกฎหมาย 2. ตระหนกั ในคุณค่าของ 3. การมสี ว่ นร่วมในการเลือกตัง้ การปฏิบตั ิตนเปน็ พลเมอื งดี ทอ้ งถ่ินในรปู แบบต่าง ๆ ตามวิถีประชาธปิ ไตย 4. ปญั หา และสถานการณ์ 3.แยกแยะปญั หา และ การเมืองการปกครองท่ีเกดิ ข้ึนใน สถานการณ์การเมืองการ ชุมชน (กรณีตัวอยา่ ง) ปกครองทเ่ี กิดขึ้นในชุมชน 5. กฎหมายท่เี กยี่ วข้องกับตนเอง 4. รูแ้ ละเขา้ ใจสาระทั่วไป และครอบครวั เกย่ี วกบั กฎหมาย 6. กฎหมายทีเ่ ก่ียวข้องกับชมุ ชน 5. นำความรู้กฎหมายที่ 7. กฎหมายอื่นๆ เชน่ กฎหมาย เก่ียวขอ้ งกบั ตนเอง แรงงานและสวัสดกิ าร กฎหมายว่า ครอบครัว ชมุ ชน และ ดว้ ยสทิ ธิเดก็ และสตรี ประเทศชาติไปใชใ้ น 8. บทบาทหนา้ ท่ีการเมืองท้องถิ่น ชีวติ ประจำวนั ได้ - เทศบาล 6. เหน็ คณุ ค่า และประโยชน์ - อบต. ของการปฏิบตั ิตนตาม 9. กฎระเบียบของชมุ ชนและทอ้ งถิ่น กฎหมาย ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 46 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) คำอธบิ ายรายวชิ า สาระการพัฒนาสงั คม หมวดวิชา สค11003 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ระดับชั้น ประถมศึกษา จำนวนหน่วยกติ 1 หนว่ ย --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดบั มคี วามรู้ ความเข้าใจหลกั การพฒั นาชุมชน สังคม และวิเคราะห์ข้อมูลในการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม ศึกษาและฝึกทักษะเกีย่ วกบั เรอื่ งดงั ต่อไปน้ี 1. ความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ ของการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม 2. วิธกี ารจัดเก็บขอ้ มลู การวเิ คราะห์ข้อมลู ชมุ ชนอย่างง่าย 3. การมสี ว่ นร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม 4. การนำผลท่ีไดจ้ ากการวางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม ไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ จัดให้ผเู้ รยี นฝกึ ทักษะการจัดเก็บข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมลู การจัดแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม โดย การเข้าร่วมสงั เกตการณใ์ นสถานการณจ์ รงิ หรอื จากการ ในสถานการณจ์ ริง หรือจากการสร้างสถานการณ์จำลอง จดั ทำเวทปี ระชาคม และการศึกษาดูงาน การวดั และประเมินผล ประเมนิ จากผลงาน และการมสี ่วนร่วมในขน้ั ตอนตา่ งๆ ของการจัดทำแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 47 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) รายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า สค11003 การพฒั นาตนเอง ชมุ ชนและสงั คม จำนวน 1 หนว่ ยกติ ระดับประถมศึกษา ****************************************************************************** มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั มีความรู้ ความเขา้ ใจในการพัฒนาอาชีพให้มผี ลิตภัณฑ์ หรืองานบรกิ าร สรา้ งรายได้พอเพียงต่อการ ดำรงชีวิต ท่ี หวั เรอ่ื ง ตัวช้วี ัด เนอ้ื หา จำนวน 1 พัฒนาตนเอง ช่ัวโมง 1. มีความรู้ ความเข้าใจ 1. หลักการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน หลักการพัฒนาตนเอง สังคม 40 ชุมชน สังคม 2. ความหมาย ความสำคัญ 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจ ประโยชน์ ของข้อมลู ดา้ น และ - ภมู ศิ าสตร์ เห็นความสำคญั ของขอ้ มลู - ประวตั ิศาสตร์ ตนเอง ครอบครวั ชุมชน - เศรษฐศาสตร์ สังคม - การเมอื งการปกครอง 3. วเิ คราะห์ชมุ ชนอย่างงา่ ย - ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี และอธิบายขอ้ มลู - หน้าทพี่ ลเมือง 4. เกิดความตระหนัก และมี - ทรพั ยากร สง่ิ แวดลอ้ ม ส่วนรว่ มในการจดั ทำ - สาธารณสขุ แผนพฒั นาชุมชน สังคม - การศึกษา 5.นำแนวทางการพัฒนา 3. วธิ ีการจดั เกบ็ วิเคราะห์ข้อมลู อยา่ ง ชุมชน สังคม ไป ง่าย และเผยแพร่ข้อมูล ประยุกต์ใช้กับตนเองและ 4. การมสี ่วนรว่ มในการวางแผนพัฒนา ครอบครวั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม 5. การนำผลทไ่ี ด้จากการวางแผนไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั 6. การจัดเก็บข้อมลู พ้ืนฐานของตนเอง และคนในครอบครวั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 48 สำนกั งาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) ท่ี หัวเรื่อง ตัวช้ีวดั เนื้อหา จำนวน ชั่วโมง 7. จดั ทำแผนพัฒนาตนเองทางดา้ น การประกอบอาชพี ภายใต้สถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โค โรนา 2019 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 49 สำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2555) คำอธิบายรายวชิ า และรายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 50 สำนักงาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) สาระทกั ษะการเรยี นรู้ สาระทกั ษะการเรียนรูเ้ ปน็ สาระเก่ียวกบั การพัฒนาทกั ษะการเรยี นร้ขู องผู้เรียนในด้านการเรียนรู้ ดว้ ยตนเองการใชแ้ หล่งเรียนร้กู ารจดั การความรกู้ ารคดิ เป็นและการวิจัยอย่างงา่ ยโดยมีวัตถุประสงคเ์ พ่ือให้ผู้เรียน สามารถกำหนดเป้าหมายวางแผนการเรียนร้ดู ้วยตนเองเข้าถึงและเลือกใช้แหล่งเรยี นรูจ้ ัดการความรู้กระบวนการ แกป้ ัญหาและตดั สินใจอยา่ งมีเหตผุ ลทส่ี ามารถใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการช้ีนำตนเองในการเรียนรูแ้ ละการประกอบ อาชพี ให้สอดคล้องกบั หลักการพืน้ ฐานและการพฒั นา 5 ศักยภาพของพนื้ ทใี่ น5 กลุ่มอาชพี คอื เกษตรกรรม อุตสาหกรรมพาณชิ ยกรรมความคดิ สรา้ งสรรค์การอำนวยการ (การบรหิ ารจดั การและบริการ) ตามยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธกิ ารได้อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ิต สาระทักษะการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 มาตรฐาน ดงั นี้ มาตรฐานที่ 1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติท่ีดตี ่อการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง มาตรฐานที่ 1.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติท่ดี ตี อ่ การใช้แหล่งเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 1.3 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติทด่ี ีต่อการจัดการความรู้ มาตรฐานที่ 1.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอ่ การคิดเป็น มาตรฐานที่ 1.5 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติทีด่ ีตอ่ การวจิ ัยอย่างงา่ ย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ และผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั ในแต่ละมาตรฐาน มาตรฐานท่ี 1.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทด่ี ตี อ่ การเรียนร้ดู ้วยตนเอง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวงั สามารถวิเคราะห์เห็นความสำคัญและ 1. สามารถวิเคราะห์ความรจู้ ากการอา่ นการฟังการสงั เกตและ ปฏิบตั กิ ารแสวงหาความรู้จากการอ่าน และสรุปได้ถกู ต้อง ฟังและสรุปได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ 2. สามารถจดั ระบบการแสวงหาความรูใ้ หก้ ับตนเอง 3. ปฏบิ ัตติ ามขนั้ ตอนในการแสวงหาความร้เู ก่ยี วกับทักษะการ อา่ นทักษะการฟังและทกั ษะการจดบนั ทกึ 4. สามารถนำความรู้ความเข้าใจในเรอ่ื ง 5 ศักยภาพของ พ้ืนทีแ่ ละหลักการพื้นฐานตามยทุ ธศาสตร์2555 กระทรวงศึกษาธกิ ารไปเพิม่ ขีดความสามารถการประกอบ อาชพี โดยเนน้ ที่กลมุ่ อาชีพใหม่ให้แขง่ ขันได้ในระดับทอ้ งถ่ิน ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 51 สำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) มาตรฐานท่ี 1.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติท่ดี ีต่อการใช้แหลง่ เรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวัง สามารถจำแนกจัดลำดับความสำคัญ 1. จำแนกความแตกต่างของแหล่งเรียนรู้และตดั สนิ ใจเลือกใช้ และเลือกใช้แหลง่ เรยี นรู้ได้อย่าง แหล่งเรียนรู้ เหมาะสม 2. เรยี งลำดบั ความสำคญั ของแหลง่ เรยี นรแู้ ละจดั ทำระบบใน การใชเ้ รียนรูข้ องตนเอง 3. สามารถปฏบิ ัติการใชแ้ หลง่ เรยี นรตู้ ามขน้ั ตอนได้อย่าง ถูกต้อง 4. สามารถเลือกใชแ้ หลง่ เรยี นรดู้ า้ นเกษตรกรรมอตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรมความคิดสร้างสรรคก์ ารบริหารจัดการและการ บริการเกีย่ วกบั อาชีพของพืน้ ท่ีที่ตนเองอาศัยอยู่ไดต้ ามความ ตอ้ งการ มาตรฐานท่ี 1.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติที่ดตี อ่ การจัดการความรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั สามารถจำแนกผลท่เี กดิ ขนึ้ จากขอบเขต 1. วิเคราะห์ผลทเี่ กิดขึ้นของขอบเขตความรู้ตดั สินคุณค่า ความร้ตู ดั สนิ คณุ ค่ากำหนดแนวทาง กำหนดแนวทางพฒั นา พฒั นา 2. เห็นความสมั พนั ธ์ของกระบวนการจดั การความรู้กบั การ นำไปใช้ในการพฒั นาชุมชน 3. ปฏิบัตติ ามกระบวนการการจัดการความรู้ไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ 4. สามารถนำกระบวนการจดั การความรขู้ องชมุ ชนจำแนก อาชีพในด้านต่างๆของชุมชนคือเกษตรกรรมอุตสาหกรรมพณิช ยกรรมความคดิ สร้างสรรค์การบรหิ ารจดั การได้อยา่ ง ถกู ต้อง ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 52 สำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) มาตรฐานท่ี 1.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทีด่ ตี ่อการคดิ เปน็ มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวงั ความสามารถในการศึกษาเลอื กสรร 1. อธิบายหรือทบทวนปรัชญาคดิ เปน็ และลักษณะของขอ้ มูล จดั เกบ็ และการวิเคราะห์สังเคราะห์ ดา้ นวชิ าการตนเองสงั คมสงิ่ แวดลอ้ มท่ีจะนำมาวิเคราะหแ์ ละ ข้อมลู ท้ังสามประการและการใชเ้ ทคนคิ สังเคราะหเ์ พื่อประกอบการคิดการตดั สนิ ใจแกป้ ัญหา ในการฝึกทักษะการคิดเป็นเพื่อใช้ 2. จำแนกเปรยี บเทียบตรวจสอบข้อมูลด้านวชิ าการตนเอง ประกอบการตัดสนิ ใจแก้ปัญหา สงั คมสงิ่ แวดล้อมทจ่ี ดั เกบ็ และทกั ษะในการวิเคราะห์สังเคราะห์ ข้อมลู ทั้งสามดา้ นเพ่ือประกอบการตัดสนิ ใจแกป้ ญั หา 3. ปฏบิ ตั ติ ามเทคนคิ กระบวนการคิดเปน็ ประกอบการตัดสินใจ ได้อย่างเปน็ ระบบ 4. สามารถนำความรูค้ วามเข้าใจในเรื่อง 5 ศักยภาพของพื้นท่ี และหลกั การพ้นื ฐานตามยทุ ธศาสตร์ตามกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2555ไปเพิ่มขดี ความสามารถการประกอบอาชพี โดยเนน้ ที่กลมุ่ อาชีพใหมใ่ หแ้ ข่งขนั ได้ใน ระดับชาติ มาตรฐานท่ี 1.5 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติท่ดี ีต่อการวิจัยอยา่ งง่าย มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรูท้ ีค่ าดหวงั สามารถวเิ คราะห์ปัญหาความจำเปน็ 1. ระบุปัญหาความจำเป็นวตั ถุประสงค์และประโยชนท์ ่ี เหน็ ความสมั พันธข์ องกระบวนการวิจัย คาดวา่ จะได้รับจากการวิจัยและสืบคน้ ข้อมลู เพอ่ื ทำความ กับการนำไปใชใ้ นชวี ิตและดำเนินการ กระจ่างในปัญหาการวิจัยรวมทงั้ กำหนดวิธกี ารหาความรคู้ วาม วจิ ัยทดลองตามขนั้ ตอน จริง 2. เหน็ ความสัมพันธ์ของกระบวนการวิจัยกับการนำไปใช้ใน ชวี ิต 3. ปฏบิ ัติการศกึ ษาทดลองรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลและสรุป ความรคู้ วามจรงิ ตามข้นั ตอนได้อย่างถูกต้องชัดเจนเชน่ การ วเิ คราะห์อาชีพ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 53 สำนกั งาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) คำอธบิ ายรายวิชา ทร03037 การเรียนรดู้ ว้ ยวิธโี ครงงาน จำนวน 3 หน่วยกติ ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรียนร้รู ะดบั มคี วามรู้ ความเขา้ ใจหลักการพฒั นาชมุ ชน สงั คม และวเิ คราะห์ข้อมลู ในการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม ศกึ ษาและฝกึ ทักษะเกยี่ วกบั เรื่องตอ่ ไปน้ี 1. ความหมาย ความสำคัญ ประโยชนแ์ ละประเภทของโครงงาน 2. กระบวนการและขนั้ ตอนการทำโครงงาน 3. การกำหนดหัวเร่ือง 4. การเขยี นเค้าโครงของโครงงาน 5. การประเมนิ ผลโครงงาน การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ศกึ ษาจากชุดการเรียน เอกสารสื่อ คูม่ ือ ผู้รู้ ผมู้ ปี ระสบการณ์ ฝกึ ปฏิบัติจริง แบ่งกลมุ่ อภปิ ราย สรปุ การวัดและประเมนิ ผล การสงั เกตพฤติกรรม การมีส่วนรว่ ม ฝึกปฏิบตั ิ ผลการปฏบิ ตั ิ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 54 สำนกั งาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา ทร03037 การเรียนรดู้ ้วยวธิ ีโครงงาน จำนวน 3 หน่วยกติ ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ มีความรู้ ความเขา้ ใจหลกั การพัฒนาชมุ ชน สงั คม และวิเคราะห์ข้อมลู ในการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม ท่ี หัวเร่อื ง ตัวช้วี ัด เนอ้ื หา จำนวน 1 การเขียนโครงงาน (ช่วั โมง) 1.1 อธิบาย และเห็น 1.1 ความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ของการเขียน และประโยชน์ ประเภทของ 120 โครงงาน โครงงาน 1.2 บอกประเภทของโครงงานได้ 1.2 ประเภทของโครงงาน 2. เขยี นโครงงานตามขนั้ ตอน 2. กระบวนการและข้นั ตอนการ ตา่ งๆได้ ทำโครงงาน 2.1 การเลอื กเนื้อหาทีส่ นใจ 3. วเิ คราะห์เนอื้ หาเพ่ือนำมา 2.2 การสร้างโครงงาน จัดทำเปน็ โครงงานและแยก 2.3 การลงมือปฏบิ ัติ ประเภทโครงงานได้ 2.4 การรายงานผลการ ดำเนินโครงงาน 4. อธิบายการดำเนินงานตาม หัวขอ้ ทก่ี ำหนดในการเขยี น 3. การกำหนดหัวเรือ่ งสำหรับ โครงงาน การทำโครงงาน - ตัวอย่างโครงงานแบบต่าง ๆ 5. แบง่ นำ้ หนกั คะแนนการ ประเมินโครงงานตาม 4. การเขียนรายละเอยี ดตามเคา้ ข้ันตอนต่างๆได้อยา่ ง โครงของโครงงาน เหมาะสม 5. โครงงานเกย่ี วกับอาชีพใน ชมุ ชน 6. การประเมนิ ผลโครงงาน 5.1 เอกสารโครงงาน 5.2 กระบวนการทำงาน 5.3 ผลงาน/รายงาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 55 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) สาระความรู้พ้นื ฐาน สาระความรู้พืน้ ฐาน เปน็ สาระเก่ียวกับภาษาและการส่อื สาร คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สาระทักษะการเรยี นรู้ ประกอบด้วย 2 มาตรฐาน ดงั นี้ มาตรฐานท่ี 2.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยวกบั ภาษาและการส่ือสาร มาตรฐานท่ี 2.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะพน้ื ฐานเก่ยี วกับคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับมัธยมศึกษาตอนตน้ และผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั ในแตล่ ะมาตรฐาน มาตรฐานท่ี 2.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะพ้ืนฐานเกยี่ วกับภาษาและการสื่อสาร รายวิชาภาษาไทย มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรูท้ ีค่ าดหวงั การฟงั การดู 1. สามารถสรปุ ความจับประเด็นสำคญั 1. สรุปความจบั ประเดน็ สำคัญของเร่ืองที่ฟงั และดู ของเร่ืองท่ีฟงั และดู 2. วเิ คราะห์ความนา่ เช่อื ถือจากการฟังและดูสือ่ โฆษณาและ 2. วเิ คราะห์แยกแยะข้อเท็จจริง ข่าวสารประจำวันอย่างมีเหตุผล ขอ้ คิดเหน็ และจุดประสงค์ของเรื่องท่ีฟัง 3. วจิ ารณ์การใช้นำ้ เสียงกริ ยิ าท่าทางถ้อยคำของผ้พู ูดอยา่ งมี และดู เหตุผล 3. สามารถแสดงทรรศนะและความ 4. ปฏบิ ัติตนเปน็ ผ้มู มี ารยาทในการฟงั และดู คดิ เหน็ ตอ่ ผู้พูดอย่างมีเหตผุ ล 4. มีมารยาทในการฟังและดู การพดู 1. สามารถพูดนำเสนอความรู้แสดง 1. พดู นำเสนอความรูค้ วามคิดเหน็ สร้างความเข้าใจโน้มน้าวใจ ความคิดเห็นสรา้ งความเขา้ ใจโนม้ น้าวใจ ปฏเิ สธเจรจาต่อรองด้วยภาษากิริยาทา่ ทางทสี่ ภุ าพ ปฏิเสธเจรจาตอ่ รองด้วยภาษากริ ยิ า 2.ปฏิบตั ิตนเป็นผมู้ มี ารยาทในการพูด ท่าทางที่สุภาพในโอกาสตา่ งๆไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม 2. มีมารยาทในการพูด การอ่าน 1. สามารถอ่านได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 1. อา่ นในใจไดค้ ลอ่ งและเร็ว 2. จับใจความสำคญั แยกข้อเท็จจริงและ 2. อ่านออกเสยี งและอ่านทำนองเสนาะได้อย่างถูกต้องตาม ขอ้ คิดเหน็ จากเร่ืองที่อา่ น ลกั ษณะคำประพันธ์ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 56 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2555) มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวัง 3. สามารถอา่ นหนังสือและส่ือ 3. วเิ คราะห์แยกแยะข้อเทจ็ จริงขอ้ คิดเหน็ และจุดมุง่ หมายของ สารสนเทศได้อยา่ งกวา้ งขวางเพือ่ พฒั นา เร่อื งท่ีอ่าน ตนเอง 4. เลอื กอา่ นหนังสือและส่ือสารสนเทศเพ่ือพฒั นาตนเอง 4. มมี ารยาทในการอ่านและนิสยั รกั 5. ปฏิบตั ติ นเป็นผู้มมี ารยาทในการอ่านและมีนิสยั รักการอ่าน การอ่าน การเขียน 1. สามารถเลอื กใช้ภาษาในการนำเสนอ 1. เลือกใชภ้ าษาในการนำเสนอตามรูปแบบของงานเขยี น ตามรูปแบบของงานเขยี นประเภทต่างๆ ประเภทร้อยแกว้ และร้อยกรองไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ 2. ใชแ้ ผนภาพความคิดจดั ลำดบั ความคิดก่อนการเขยี น 2. สามารถใช้แผนภาพความคิด 3. แตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทกลอนส่กี ลอนสุภาพ จัดลำดับความคิดเพื่อพฒั นางานเขียน 4. เขยี นบทร้อยแก้วประเภทประวัติตนเองอธบิ ายความย่อ 3. สามารถแต่งบทร้อยกรองตามความ ความข่าว สนใจไดถ้ ูกต้องตามหลกั ไวยากรณ์และ 5. เขียนรายงานการค้นคว้าสามารถอ้างอิงแหลง่ ความรู้ได้ ลกั ษณะคำประพนั ธ์ ถกู ต้อง 4. สามารถเขยี นส่ือสารเร่ืองราวต่างๆได้ 6. กรอกแบบรายการต่างๆ 5. มีมารยาทในการเขียนและนิสยั รกั 7. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผูม้ มี ารยาทในการเขียนและมีการจดบันทึก การเขียน อย่างสมำ่ เสมอ หลักการใชภ้ าษา 1. รูแ้ ละเข้าใจชนดิ และหน้าท่ีของคำ พยางคว์ ลปี ระโยคและสามารถอา่ น 1. อธบิ ายความแตกตา่ งของคำพยางคว์ ลีประโยคได้ถกู ต้อง เขียนได้ถกู ต้องตามหลกั เกณฑข์ อง 2. ใชเ้ คร่อื งหมายวรรคตอนอักษรยอ่ คำราชาศัพท์ได้ถูกตอ้ ง ภาษา 3. อธิบายความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาพูดและภาษาเขียนได้ 2. สามารถใช้เคร่อื งหมายวรรคตอน 4. อธิบายความแตกตา่ งความหมายของสำนวนสภุ าษติ อกั ษรย่อคำราชาศัพท์ คำพังเพยและนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันไดถ้ ูกต้อง 3. สามารถวเิ คราะห์ความแตกตา่ ง ระหวา่ งภาษาพูดและภาษาเขียน 4. รู้และเข้าใจสำนวนสภุ าษติ คำพงั เพย ในการพูดและเขยี น ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 57 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2555) มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวัง วรรณคดีวรรณกรรม 1. อธบิ ายความแตกตา่ งและคณุ คา่ ของวรรณคดีวรรณกรรม 1. รูแ้ ละเขา้ ใจความแตกต่างของ ปจั จบุ ันและวรรณกรรมท้องถิ่น วรรณคดวี รรณกรรมปจั จุบนั และวรรณกรรมทอ้ งถิ่นตลอดจน เห็นคุณคา่ ภาษาไทยกบั การประกอบอาชพี 1. ใช้ความรูด้ ้านการพดู ภาษาไทยเพอ่ื 1. ใชค้ วามร้กู ารพูดภาษาไทยเป็นชอ่ งทางในการประกอบ การประกอบอาชีพ อาชพี 2. ใช้ความรดู้ า้ นการเขยี นภาษาไทยเพ่ือ 2. ใชค้ วามรู้การเขียนภาษาไทยเป็นชอ่ งทางการประกอบ การประกอบอาชีพ อาชพี รายวิชาภาษาต่างประเทศ มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวัง มีความรคู้ วามเข้าใจทักษะและเจตคติ 1. เข้าใจเกยี่ วกบั ภาษาทา่ ทางฟงั พูดอา่ นเขียนด้วยประโยคท่ี เกี่ยวกับภาษาท่าทางการฟังพูดอ่าน ซบั ซอ้ นในชีวติ ประจำวันและงานอาชีพ เขยี นภาษาตา่ งประเทศดว้ ยประโยคท่ี 2. จดั ระบบความสัมพนั ธข์ องการติดต่อสอ่ื สารดว้ ยประโยคท่ี ซบั ซ้อนในชวี ิตประจำวนั และงานอาชพี ซบั ซ้อนในชวี ติ ประจำวนั และงานอาชพี ของตนได้ถูกต้องตามหลักภาษา 3. มที ักษะท่ีถูกต้องตามหลกั ภาษาวฒั นธรรมและกาลเทศะของ วัฒนธรรมและกาลเทศะของเจา้ ของ เจา้ ของภาษา ภาษา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 58 สำนักงาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2555) มาตรฐานที่ 2.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี รายวชิ าคณติ ศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวงั มีความรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับจำนวนและ 1. ระบุหรอื ยกตัวอย่างเกยี่ วกับจำนวนและการดำเนนิ การ การดำเนินการเศษส่วนและทศนิยม เศษสว่ นและทศนยิ มเลขยกกำลังอัตราสว่ นสดั ส่วนและ เลขยกกำลงั อัตราส่วนสัดส่วนและรอ้ ย รอ้ ยละการวัดการหาปริมาตรและพนื้ ทีผ่ ิวคอู่ ันดับและกราฟ ละการวัดปรมิ าตรและพืน้ ทีผ่ ิวคู่อันดบั ความสมั พันธ์ระหว่างรปู เรขาคณติ สองมติ แิ ละเรขาคณิตสามมติ ิ และกราฟความสัมพนั ธร์ ะหว่างรปู สถิติและความน่าจะเป็น เรขาคณติ สองมิติและเรขาคณิตสามมิติ 2. สามารถคิดคำนวณและแก้โจทย์ปญั หาทใี่ ช้ในชวี ติ ประจำวนั สถติ แิ ละความน่าจะเปน็ 3. มคี วามสามารถในการเชือ่ มโยงความร้ตู า่ งๆทางคณติ ศาสตร์ เช่ือมโยงกบั งานอาชพี ในสังคมได้ กบั งานอาชพี ได้สามารถวิเคราะหง์ านอาชีพในสังคมท่ีใชท้ ักษะ ทางคณิตศาสตร์ได้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั มคี วามรู้ความเข้าใจทกั ษะและเห็น 1. ใชค้ วามรแู้ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์วิธีการทาง คุณค่าเกี่ยวกบั กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เจตคติทาง วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีสง่ิ มีชวี ติ ระบบ วิทยาศาสตร์และทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ นิเวศทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ 2. อธิบายเกย่ี วกบั เซลลก์ ระบวนการดำรงชวี ิตของพืชและระบบ สิง่ แวดลอ้ มในท้องถนิ่ และประเทศสาร ตา่ งๆของสตั ว์ แรงพลังงานกระบวนการเปล่ียนแปลง 3. อธิบายเกยี่ วกับความสัมพันธ์ระหวา่ งสงิ่ มีชีวติ กับสง่ิ แวดล้อม ของโลกและดาราศาสตรม์ ีจิต ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลงั งานการแก้ปญั หาการดูแลรักษา วิทยาศาสตรแ์ ละนำความรู้ไปใช้ และการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มของท้องถิน่ ประโยชนใ์ นการดำเนนิ ชีวิตและการ และประเทศ พัฒนาสอู่ าชีพช่างไฟฟา้ 4. อธิบายเก่ยี วกบั โลกและบรรยากาศปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ การกระทำของมนุษยท์ ่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลงของโลกใน ปัจจุบันการปอ้ งกันภัยทเี่ กิดจากปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 59 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั 5. อธบิ ายเก่ยี วกับสมบตั ิทางกายภาพและทางเคมีของสารการ จำแนกสารกรดเบสธาตุสารประกอบสารละลายและของผสมและ ใชส้ ารและผลติ ภณั ฑใ์ นชวี ติ ประจำวันได้อยา่ งถูกต้องและ ปลอดภยั ตอ่ ชีวิต 6.อธิบายเก่ยี วกบั แรงและการใช้ประโยชน์ของแรง 7. อธบิ ายเกยี่ วกับพลงั งานไฟฟ้าการต่อวงจรไฟฟ้าเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ในชวี ิตประจำวันแสงและสมบัตขิ องแสงเลนส์ ประโยชน์และโทษจากแสงการเปลี่ยนรปู พลังงานพลังงานความ ร้อนและแหลง่ กำเนิดการนำพลงั งานไปใช้ประโยชนใ์ น ชีวติ ประจำวันและการอนุรกั ษ์พลงั งานได้ 8. อธบิ ายเกยี่ วกับดวงดาวและการใชป้ ระโยชน์ 9. อธบิ ายออกแบบวางแผนทดลองทดสอบปฏิบตั ิการเร่ือง ไฟฟา้ ไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัยคิดวเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบข้อดี ข้อเสยี ของการตอ่ วงจรไฟฟ้าแบบอนกุ รมแบบขนานแบบผสม ประยุกต์และเลือกใชค้ วามรู้และทกั ษะอาชีพช่างไฟฟ้าให้ เหมาะสมกับดา้ นบริหารจดั การและการบริการเพอ่ื นำไปสู่การ จดั ทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 60 สำนักงาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) คำอธบิ ายรายวชิ า สาระความรพู้ น้ื ฐาน หมวดวิชา พต21001 ภาษาองั กฤษในชีวติ ประจำวนั ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนต้น จำนวนหน่วยกิต 4 หนว่ ย --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคตเิ กีย่ วกบั ภาษาทา่ ทาง การฟัง พูด อา่ น เขียน ภาษาต่างประเทศ ด้วยประโยคท่ซี บั ซอ้ นในชีวิตประจำวนั และงานอาชพี ของตนไดถ้ ูกต้องตามหลกั ภาษาวัฒนธรรม และกาลเทศะของ เจา้ ของภาษา ศึกษาและฝึกทกั ษะเก่ยี วกับเร่ืองดงั ต่อไปนี้ 1. การใชภ้ าษาทา่ ทางในการส่ือความหมาย วิธีการรบั -ตอบโทรศัพท์อยา่ งงา่ ย ๆ การแสดงความรูส้ กึ ดใี จ เสยี ใจ เข้าใจ พอใจ ไม่พอใจ ให้กำลงั ใจ สนใจ และไม่สนใจ วิธีการพดู แทรก พดู ขอบคณุ และการตอบรบั วิธกี ารพูดแสดงความคิดเหน็ ความต้องการ และการเสนอให้ความชว่ ยเหลือผูอ้ ืน่ พร้อมกับการตอบรบั รวมท้งั ลกั ษณะของประโยคบอกเล่า ประโยคคำถาม ประโยคปฏเิ สธ ประโยคคำสั่ง และประโยคอุทาน ซง่ึ ใช้ใน ชีวิตประจำวันในสถานการณ์ต่าง ๆ 2. ลักษณะและการใช้ ประโยคความรวม (Compound Sentence) Past Tense ในรูปต่าง คำกรยิ า คำกรยิ า วิเศษณ์ คำสันธาน และคำอทุ าน โดยสามารถนำไปใช้ในการเลา่ เรอื่ งราวเกีย่ วกบั ชีวติ ประจำวันและการ ประกอบอาชพี การอา่ นขา่ วสารขอ้ มลู จากส่ือประเภทตา่ ง ๆ การอา่ นสลากสินคา้ และการตคี วามหมายของสัญลกั ษณ์ ตา่ ง ๆได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสมกบั สถานการณ์ รวมท้งั เขา้ ใจการใช้ Internet เพอ่ื สบื คน้ ข้อมูล การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ 1. ฝกึ ฟัง พูด อา่ น เขยี น ภาษาองั กฤษในสถานการณต์ ่าง ๆ โดยใช้สถานการณจ์ ำลอง และ/หรือส่ือที่ เหมาะสม 2. ฝกึ ฟงั พดู อา่ น เขยี น จากสถานการณจ์ ำลองโดยใช้สอื่ ต่าง ๆ ทเี่ หมาะสม และสอดคล้องกบั สถานการณ์ การวัดและประเมินผล 1. ตรวจสอบจากการนำไปใช้ไดถ้ กู ต้องและเหมาะสมตามสถานการณ์ 2. สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารไดถ้ ูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 61 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2555) รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา พต21001 ภาษาอังกฤษในชีวติ ประจำวนั จำนวน 4 หน่วยกิต ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ****************************************************************************** มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตเิ กย่ี วกับ ภาษาทา่ ทาง การฟงั พูด อ่าน เขียน ภาษาต่างประเทศ ดว้ ยประโยคที่ซับซ้อนในชวี ิตประจำวัน และงานอาชีพของตนไดถ้ กู ต้องตามหลักภาษาวัฒนธรรม และกาลเทศะของ เจา้ ของภาษา ที่ หัวเรือ่ ง ตวั ชวี้ ัด เน้ือหา จำนวน ช่วั โมง 1 ภาษาท่าทางในการ เขา้ ใจและใชภ้ าษาในการ 1. ภาษาตามมารยาทสงั คมเพ่ือสรา้ ง 18 ส่อื สารใน สอ่ื สารในชีวิตประจำวัน ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลใน ชวี ิตประจำวัน สถานการณต์ ่าง ๆ ดงั น้ี (Language in daily 1.1 การทักทาย การกลา่ วลา เช่น life) - Good morning. - Good afternoon. - Good evening. - Hi / Hello. - How are you? - How are you today? - I’m fine, thank you and you? - Nice to see you. - Nice to see you too. - Glad to see you. - Glad to see you too. - Good bye. Bye. - See you soon. - See you on…(Day)… ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 62 สำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2555) ที่ หัวเรื่อง ตวั ชี้วดั เน้อื หา จำนวน ชัว่ โมง 1.2 การแนะนำตนเองและผู้อ่ืน เชน่ Pat : Hello, I’m Pat. Suda : Hi, my name is Suda. How do you do? หรือ A : Bob, this is John, my friend from New Zealand. B : How do you do? Nice to meet you. John : How do you do? Nice to meet you, too. etc. 2. การพูดให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนในอำเภอพนัสนิคม 3. การอธบิ ายคำศพั ท์เกีย่ วสินคา้ ท่ี จำเปน็ ในชีวิตประจำวนั ของตนเอง 4. ภาษาท่าทางท่ีใชใ้ นโอกาสต่าง ๆ ดังนี้ 4.1 ท่าทางทส่ี ่ือความหมายทางภาษา เช่น กวักมือ = Come here. โบกมอื = Bye-bye. ชู 2 นว้ิ = Victory ผายมอื = This way, please. Etc 7.2 ท่าทางการปฏบิ ัติตามวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา เชน่ - Hand Shaking. ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 63 สำนกั งาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2555) ท่ี หัวเรอ่ื ง ตวั ชี้วดั เน้ือหา จำนวน - Waving good-bye. ชว่ั โมง 2 การโต้ตอบโทรศัพท์ - Good-bye hug/kiss 8 (Telephone - Good night hug/kiss Conversation) etc. 7.3 คำศพั ท์ สำนวน ประโยคและ ทา่ ทางที่ใช้ ส่อื สารในโอกาสตา่ ง ๆ เช่น - Merry Christmas. - Happy New Year. - Happy Valentine’s. - Happy Birthday. - Congratulations on your graduation รับ-ตอบโทรศัพท์อย่างงา่ ย 1. คำศัพท์ สำนวน ประโยคต่าง ๆ ท่ี ๆ ใช้ในการส่ือสารในการรับโทรศัพท์ อย่างง่ายรวมกัน การรบั ฝากข้อความ ทางโทรศัพท์ - Is Miss/Mrs./Mr. Robert home? - I’m speaking. - He / She is out. - He / She will be back soon. Would you like to wait? etc. ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 64 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2555) ท่ี หัวเร่ือง ตวั ช้ีวัด เนอื้ หา จำนวน ชั่วโมง 3 การแสดงความรูส้ ึก ใชภ้ าษาอังกฤษในการแสดง 2. การรับฝากข้อความทางโทรศพั ท์ ตา่ ง ๆ (Expression ความรู้สึก(ดีใจ/เสียใจ/ A : Hello, may I speak to Mrs. 8 of feelings) เข้าใจ/พอใจ/ไม่พอใจ/ให้ Wanida? กำลังใจ/ B : Sorry, she’s not here now. สนใจ/ไมส่ นใจ) Would you like to leave her a massage? A : My name is Somsri. Please tell her to call me to 02- 281-3732. etc. 3. การเลา่ /การพดู /การเขียน เหตกุ ารณ์ในทอ้ งถ่นิ เชน่ ข่าวใน ทอ้ งถ่ิน , ข่าวอุบตั เิ หตุ 1. คำ วลี ประโยค บทสนทนาทแ่ี สดง อารมณ์ความรู้สึกต่างๆ 1.1 พอใจ/ไม่พอใจ - That’s great./ That’s bad. - How wonderful! - How awful! - I am so pleased to hear that. - I am afraid I don’t like it. - I love/like/enjoy it. - I am disappointed to see that. etc. ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 65 สำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2555) ท่ี หัวเรื่อง ตวั ชว้ี ดั เน้ือหา จำนวน ชั่วโมง สนใจ/ไมส่ นใจ - I’m interested in.................... - I’m not interested in............. - I don’t care (about that)....... - I have no idea. etc. 1.3 ให้กำลังใจ/เหน็ ใจ/ปลอบใจ - Don’t worry. - Cheer up. - Take it easy. - Relaxed. - You will be fine. - Well done. - You did a good job. etc. 1.4 ดีใจ/เสยี ใจ - I’m glad that you can come. - I’m so pleased to see you. - I’m glad to hear from you. - I’m so sorry to hear that………………… - I’m so sorry for being late. - I’m terrible sorry for................................ - It’s my sympathy to hear that……………. - I’m deeply regret about..................... - Please pass my sympathy to.................... etc. ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 66 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) ท่ี หวั เรือ่ ง ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา จำนวน 4 การพดู แสดงความคิด พูดแสดงความคิดเหน็ และ ชั่วโมง รูปแบบต่าง ๆ แสดงความต้องการใน (Expression of สถานการณ์ต่าง ๆ ภาษาเพื่อแสดงความคดิ เห็นความ 20 opinion, ideas /wishes / offering ต้องการ helps, etc.) 1. การแสดงความคิดเหน็ (เห็นด้วย/ไม่ เห็นดว้ ย/ยอมรับ/ไมย่ อมรับ) A : The weather in Bangkok is hotter than Singapore. B : I think so./ I don’t think so./ I agree with you. A : Living in Bangkok is not so pleasant, don’t you think that? B : Yes, but living in rural areas is less convenient. etc. 2. การแสดงความต้องการและตอบรับ เชน่ - I’d like some more coffee. - I want to go to........................ - I wish you should go with me. - I need........................ - Yes, .................please do. / Sure. etc. 3. การแสดงความช่วยเหลือและ บริการผ้อู น่ื รวมทงั้ ตอบรบั เช่น - What can I do for you? - Can I help you? - Need some help? - If you need anything, please tell me./let me know. - Certainly. - Yes, of course. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 67 สำนักงาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) ที่ หวั เรือ่ ง ตัวชีว้ ดั เน้อื หา จำนวน ชว่ั โมง - I’m afraid.......................... - Sorry, but............................. etc. 4. การกลา่ วขอบคณุ และตอบรับ เช่น - Thank you for your help. - Thank you every much for your kindness. - Thank you for your invitation. etc. 5. การพูดขออนุญาตและตอบรับ - May I interrupt you for a moment? - May I come in? - Can I borrow your pen? - (It’s) my pleasure. - Don’t mention it. - Yes, you can. etc. 6. การพูดขอโทษและตอบรับ - I’m very sorry to be late. - I’m lost your box, I’m so sorry. - I’m terrible sorry for............ - Sorry, it’s my fault. - Please forgive me for being late. - Forget it. - Don’t worry. - It doesn’t matter. etc. 7. การพูดแทรกอยา่ งสุภาพ เชน่ - Excuse me, sir. Could you speak louder? ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 68 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555) ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ดั เนอื้ หา จำนวน ชัว่ โมง - Excuse me, madam. - Could you show me that book? etc. 8. การพดู แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั วฒั นธรรมประเพณีต่าง ๆ ของอำเภอ พนัสนคิ ม 5 ประโยคต่าง ๆ ใน รจู้ ักลักษณะของประโยคใน 1. ประโยคคำถาม 18 ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ(ประโยค คำท่ใี ช้ในการตงั้ คำถาม ได้แก่ Who, (Different Types of บอกเล่า/ประโยคคำถาม/ When, Where, English Sentences) ประโยคปฏิเสธ/ประโยค Why, What, Whom, How เชน่ คำสั่ง/ - What is your name? ประโยคอุทาน)และสามารถ - Where do you teach? นำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน - When did he leave school? - How do you like it? etc. 2. ประโยคปฏิเสธ รปู แบบประโยคปฏเิ สธและคำกรยิ าท่ี ใช้ เชน่ - They are not farmer. - He doesn’t like Bobby. - I don’t want to go with him. etc. 3. ประโยคคำสง่ั รปู แบบประโยคคำส่งั /กล่มุ คำที่ใช้ และตัวอย่างประโยค เช่น - Come here. - Let’s go now. - Open the door, please. - Please sit down. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 69 สำนักงาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555) ที่ หวั เรือ่ ง ตัวชี้วัด เนือ้ หา จำนวน ช่วั โมง 6 ประโยคความรวม รจู้ ักลักษณะของ - Come hear right now. (Compound Compound etc. 40 Sentence) Sentence และสามารถ 4. ประโยคอุทาน นำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน รูปแบบประโยคอุทานและตัวอยา่ ง ประโยค เช่น - Oh! My god. - Oh, my god! - How marvelous! - What a wonderful party! etc. 1. สว่ นประกอบของ Compound Sentence 2. ประโยค 2 ประโยคมารวมกันดว้ ย คำเช่อื มที่เหมาะสม คือ and, but, or เช่น - We tried our best but we lost the game. - Both they and we tried hard. - I’ll go to the cinema or visit my parent. 3. การเชื่อมประโยคให้เป็น Compound Sentence โดย ใช้เครอ่ื งหมาย/คำเชื่อม ตอ่ ไปน้ี ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 70 สำนักงาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555) ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชี้วดั เนอ้ื หา จำนวน ชวั่ โมง 3.1 , (Comma) + คำสันธาน เชน่ - They tried their best, yet they didn’t succeed. ; (Semicolon) ใชใ้ นกรณีที่มี เคร่ืองหมายอื่น ๆ อยดู่ ว้ ยหลายแหง่ เชน่ - I also bought her a new car ; I have not yet, nowhere, given it to her. Correlative Conjunction ได้แก่ คำ ตอ่ ไปนี้ both……..and……… either…….or………. neither…..nor……… not only...........but also......... เช่น - Neither did he listen, nor did he improve. - Not only the English teacher get him a bad grade, but also the social teacher did so. ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 71 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555) ที่ หวั เรื่อง ตวั ช้วี ดั เน้ือหา จำนวน 7 Past Tense ชั่วโมง ใช้ Past Tense ในรูปแบบ Past Tense ในรูปแบบต่างๆ 38 ตา่ ง ๆ ได้ 1. Past Simple Tense 1.1 เหตุการณท์ เ่ี กิดขน้ึ ในอดีตและจบ ลงไปแล้วก่อนพดู ประโยคน้นั เชน่ - He spoke. - She came here yesterday. 1.2 แสดงการกระทำทีก่ ระทำเป็น ประจำในอดีต โดยมีคำที่แสดงความ บอ่ ย ความเป็นประจำอยู่ดว้ ย เช่น - He always got up late when he was young. 2. Past continuous tense กลา่ วถึงเหตกุ ารณ์ 2 อย่าง ในอดีต โดยขณะที่เหตกุ ารณห์ นึ่งดำเนนิ อยู่มี อกี เหตุการณแ์ ทรกเข้ามา - เหตุการณ์ทีด่ ำเนินอยู่ ใช้ Past continuous tense - เหตุการณ์ท่ีเกิดใหม่แทรกเข้ามาใช้ Past simple tense - คำท่เี ชอื่ มเหตุการณ์ที่สองเข้า ดว้ ยกัน คือ when หรอื while เชน่ - I was reading a book when she came in. - While I was reading a book, she came in. 3. การเล่าประวัติความเป็นมาของ อำเภอพนัสนิคม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 72 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ชีว้ ัด เนื้อหา จำนวน 8 ภาษาอังกฤษสำหรับ ช่วั โมง ใช้ภาษาองั กฤษตาม - การพดู ภาษาองั กฤษตามมารยาท อาชีพพนกั งานขับรถ 5 รับจ้าง มารยาทสงั คมและ สงั คมและเหมาะสมกับสถานการณ์ 5 9 ภาษาอังกฤษสำหรับ เหมาะสมกบั สถานการณ์พดู - การพูดแสดงความรู้สึกและแสดง พนักงานบริการใน สถานทีต่ า่ ง ๆ แสดงความรูส้ ึก แสดง ความคดิ เห็น ความคดิ เห็น แสดงความ - การพูดแสดงความช่วยเหลอื ชว่ ยเหลอื ขออนุญาต พดู - การขออนญุ าต แทรกอย่างสภุ าพในอาชพี - การพูดแทรกอย่างสภุ าพ พนักงานขบั รถรบั จา้ ง - การพูดแสดงความรู้สึกของพนักงาน ขบั รถรับจ้างภายใตส้ ถานการณก์ าร แพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัส โคโรนา 2019 1. ใช้ประโยคต้อนรับลกู ค้า - การกล่าวต้อนรับทักทายลูกค้าของ ในสถานบรกิ ารตา่ ง ๆ พนักงานบริการ 2. ใชป้ ระโยค/สำนวนเสนอ - ประโยคการให้บรกิ ารความ ความชว่ ยเหลือ/ใหข้ ้อมลู แก่ ชว่ ยเหลือ และบรกิ ารในสถานบริการ ลกู คา้ ในสถานบริการต่าง ๆ ตา่ ง ๆ เชน่ ทที่ ำการไปรษณยี ์ สถานี รถไฟ โรงแรม เป็นตน้ เชน่ What can I do for you? May I help you? etc. - การใช้สำนวนในการแนะนำ ผูใ้ ชบ้ รกิ ารในสถานท่ีต่าง ๆ ภายใต้ สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค ตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 73 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2555) สาระการประกอบอาชพี สาระการประกอบอาชพี เปน็ สาระเกีย่ วกับการมองเห็นชอ่ งทาง และการตัดสนิ ใจประกอบอาชีพ เรียนรู้ ทกั ษะในอาชพี การจดั การอาชีพอย่างมคี ุณธรรม และการพฒั นาอาชีพให้มีความม่ันคง ประกอบดว้ ยมาตรฐานการ เรยี นรู้ ดงั นี้ สาระการประกอบอาชีพ ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ 3.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคตทิ ่ีดใี นงานอาชีพ มองเห็นชอ่ งทางและตัดสนิ ใจ ประกอบอาชีพได้ตามความต้องการ และศักยภาพของตนเอง มาตรฐานท่ี 3.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะในอาชีพทตี่ ัดสนิ ใจเลอื ก มาตรฐานท่ี 3.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการจัดการอาชีพอยา่ งมีคุณธรรม มาตรฐานท่ี 3.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการพัฒนาอาชีพใหม้ ีความม่นั คง มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ และผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวงั ในแตล่ ะมาตรฐาน มาตรฐานที่ 3.1 มีความรคู้ วามเขา้ ใจและเจตคติท่ีดีในงานอาชีพมองเหน็ ช่องทางและตดั สนิ ใจประกอบ อาชีพไดต้ ามความต้องการและศกั ยภาพของตนเอง มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวงั มคี วามรคู้ วามเข้าใจและเจตคติทีด่ ีใน 1. อธิบายความหมายความสำคญั วิเคราะหล์ ักษณะงานขอบข่ายงาน งานอาชพี วเิ คราะห์ลกั ษณะงาน อาชีพในชุมชนสังคมประเทศและภมู ิภาค 5 ทวีปไดแ้ ก่ทวปี เอเซยี ขอบข่ายงานอาชพี ในชุมชนสังคม ทวปี ออสเตรเลียทวปี อเมริกาทวีปยโุ รปและทวปี อัฟรกิ าทีจ่ ะนำไปสู่ ประเทศและภมู ิภาค 5ทวีปได้แก่ทวปี การพฒั นาอาชีพที่เหมาะสมกับศกั ยภาพ5ด้านไดแ้ ก่ศักยภาพของ เอเชีย ทวีปออสเตรเลียทวีปอเมริกา ทรพั ยากรธรรมชาติในแตล่ ะพื้นทศ่ี ักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะ ทวีปยุโรปและทวีปอัฟริกาทเ่ี หมาะสม ภมู ิอากาศศักยภาพของภูมปิ ระเทศและทำเลท่ีตั้งของแตล่ ะพน้ื ที่ กับศักยภาพ5 ด้านได้แก่ศกั ยภาพของ ศักยภาพของศลิ ปะวฒั นธรรมประเพณีและวถิ ีชวี ิตของแต่ละพ้นื ท่ี ทรัพยากรธรรมชาติในแตล่ ะพน้ื ท่ี ศักยภาพของทรพั ยากรมนุษย์ในแตล่ ะพนื้ ที่และสอดคล้องกับชมุ ชน ศกั ยภาพของพนื้ ท่ีตามลักษณะ สังคม ภมู อิ ากาศศักยภาพของภูมปิ ระเทศ 2. อธิบายเหตผุ ลปจั จัยความจำเป็นในการพฒั นาอาชีพทเ่ี หมาะสมกับ และทำเลที่ต้ังของแต่ละพ้นื ที่ศกั ยภาพ ศกั ยภาพของตนเองได้ ของศิลปะวฒั นธรรมประเพณีและวิถี 3. จดั ระบบความสำคัญในการตดั สินใจพฒั นาอาชพี ได้ ชวี ติ ของแต่ละพนื้ ที่ศักยภาพของ 4. ปฏบิ ตั กิ ารวเิ คราะห์เพ่ือการพัฒนาอาชีพได้ ทรัพยากรมนษุ ยใ์ นแตล่ ะพืน้ ที่และ สอดคลอ้ งกบั ชุมชนเพื่อการพัฒนา อาชีพ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 74 สำนกั งาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2555) มาตรฐานท่ี 3.2 มีความร้คู วามเข้าใจทักษะในอาชพี ทีต่ ดั สินใจเลือก มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวัง มีความรู้ความเข้าใจทักษะในการ 1. อธบิ ายทักษะที่เก่ียวข้องในกระบวนการผลิตกระบวนการตลาดท่ี พัฒนาอาชีพที่ตดั สินใจเลือกบนพน้ื ใชน้ วตกรรมเทคโนโลยใี นการพัฒนาอาชีพที่ตดั สนิ ใจเลือกได้ ฐานความรู้กระบวนการผลติ 2. เหน็ ความสัมพันธ์ของการจัดระบบเตรยี มความพร้อมกับการ กระบวนการตลาดท่ีใช้นวัตกรรม พัฒนา เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมและประยกุ ต์ใช้ อาชพี ภูมปิ ัญญา 3. ปฏบิ ตั กิ ารวิเคราะห์ทักษะในการพัฒนาอาชีพ มาตรฐานท่ี 3.3 มีความรู้ความเข้าใจในการจดั การอาชีพอย่างมคี ณุ ธรรม มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นร้ทู ีค่ าดหวัง มคี วามรู้ความเข้าใจและสามารถจัดทำ 1. อธิบายความหมายความสำคัญของการจัดการอาชีพเพอ่ื พัฒนา แผนงานและโครงการธุรกิจเพ่ือพัฒนา อาชพี ได้ อาชพี เข้าสตู่ ลาดการแข่งขนั 2. ดำเนนิ การปรับปรงุ แผนธุรกิจด้านการจดั การการผลิตหรือการ ตามศกั ยภาพ5 ดา้ นไดแ้ กศ่ ักยภาพของ บริการและดา้ นการจดั การการตลาดตามศักยภาพ 5 ดา้ นไดแ้ ก่ ทรพั ยากรธรรมชาติในแต่ละพ้ืนท่ี ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาตใิ นแต่ละพน้ื ทศี่ ักยภาพของพื้นที่ตาม ศกั ยภาพของพื้นท่ีตามลักษณะ ลกั ษณะภมู ิอากาศศักยภาพของภมู ปิ ระเทศและทำเลทีต่ ้ังของแตล่ ะ ภูมิอากาศศักยภาพของภูมิประเทศ พืน้ ที่ศักยภาพของศลิ ปะวฒั นธรรมประเพณีและวถิ ชี ีวติ ของแตล่ ะ และทำเลท่ตี ั้งของแต่ละพนื้ ท่ีศักยภาพ พ้ืนทศี่ ักยภาพของทรัพยากรมนษุ ยใ์ นแต่ละพืน้ ที่และแนวคดิ ปรชั ญา ของศลิ ปะวัฒนธรรมประเพณีและวถิ ี ของเศรษฐกิจพอเพยี งได้ ชีวติ ของแตล่ ะพนื้ ที่ศกั ยภาพของ 3. อธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างระบบการพฒั นาธุรกิจกบั การ ทรัพยากรมนษุ ยใ์ นแต่ละพื้นทแ่ี ละ ขบั เคลื่อน แนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ธุรกิจอยา่ งมีคุณธรรม เพอ่ื สคู่ วามเข้มแข็ง 4. ปฏบิ ัตกิ ารจดั ทำแผนและโครงการพัฒนาอาชพี ได้ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 75 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2555) มาตรฐานท่ี 3.4 มีความรู้ความเข้าใจในการพฒั นาอาชีพให้มคี วามม่ันคง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวัง มคี วามรูค้ วามเข้าใจในการพัฒนาอาชพี 1. อธบิ ายความหมายความสำคญั ความจำเป็นในการพฒั นาอาชพี ให้มี ให้มผี ลิตภัณฑห์ รอื งานบริการสร้าง ผลติ ภณั ฑ์หรืองานบริการสร้างรายได้พอเพยี งต่อการดำรงชวี ติ รายได้พอเพียงต่อการดำรงชวี ติ และ และเหลือเงินออมตามศักยภาพ เหลือเงินออมตามศักยภาพ 2. วเิ คราะห์ศักยภาพธรุ กิจการตลาดการผลติ หรือการบริการแผน ธุรกจิ เพ่อื สร้างธุรกิจใหม้ คี วามเข้มแขง็ 3. อธบิ ายการจัดระบบการพัฒนาอาชีพสคู่ วามเข้มแขง็ ได้ 4.ปฏิบัติการทำแผนและโครงการพฒั นาอาชีพใหม้ ีความเข็มแขง็ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 76 สำนกั งาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2555) คำอธบิ ายรายวชิ า สาระการประกอบอาชีพ หมวดวิชา อช21003 พัฒนาอาชีพใหม้ คี วามเข้มแข็ง ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จำนวนหนว่ ยกิต 2 หนว่ ย --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการพัฒนาอาชีพ ให้มผี ลิตภณั ฑ์หรืองานบรกิ าร สร้างรายได้พอเพยี งต่อการ ดำรงชวี ิต และเหลือเงนิ ออมตามศกั ยภาพ ศึกษา และฝึกทกั ษะเก่ียวกับการพัฒนาอาชพี เพ่ือให้มคี วามเข้มแขง็ ดังน้ี คือ ความหมาย ความสำคัญ ความจำเปน็ ในการพฒั นาอาชพี ศักยภาพธุรกิจตนเอง ชุมชน ความจำเปน็ และคณุ ค่าของการวิเคราะหศ์ ักยภาพธุรกจิ การวเิ คราะห์ ตำแหนง่ ธุรกจิ (ระยะเรม่ิ ตน้ ระยะสรา้ งตัว ระยะทรงตวั ระยะตกต่ำหรือสูงข้นึ ) การวเิ คราะห์ธุรกิจศกั ยภาพ 5 ดา้ นไดแ้ ก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตล่ ะพื้นที่ ศกั ยภาพของพน้ื ที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภมู ิประเทสและทำเลทตี่ ั้งของแตล่ ะพน้ื ท่ี ศักยภาพของศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวถิ ชี วี ิต ของแตล่ ะพืน้ ที่ ศักยภาพของทรพั ยากรมนษุ ย์ในแต่ละพืน้ ที่ บนเสน้ ทางของเวลา การจัดทำแผนพฒั นาการตลาด การกำหนดทศิ ทางการตลาด กำหนดเป้าหมายการตลาด การกำหนดกล ยทุ ธ์สู่เปา้ หมายบนพ้ืนฐานศักยภาพธุรกจิ ท่เี ป็นอยู่ การวเิ คราะหก์ ลยุทธก์ ำหนดกิจกรรมแผนการพัฒนาการ ตลาด การจัดทำแผนพฒั นาการผลิตหรอื การบริการ การกำหนดคณุ ภาพผลผลติ หรอื การบรกิ าร การวิเคราะห์ ทุนปัจจัยการผลิตหรอื การบริการ การกำหนดเป้าหมายการผลิตหรอื การบริการ การกำหนดแผนกิจกรรม พัฒนา ระบบการผลติ หรือบรกิ าร การพัฒนาธรุ กจิ เชงิ รุก ความจำเป็นและคุณคา่ ของธรุ กิจเชงิ รกุ การแทรกความนยิ มเข้าสู่ความต้องการ แทจ้ รงิ ของผบู้ ริโภค รูปลักษณ์ คณุ ภาพใหม่ เพ่ิมช่องทางเขา้ ถึงลูกคา้ ปฏิบตั ิการ จดั ทำแผน และโครงการพัฒนาอาชพี ใหม้ คี วามเข้มแข็ง การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ เปน็ การศึกษาปฏิบัตจิ ริงด้วยการวิเคราะห์ศกั ยภาพธุรกิจ การจดั ทำ แผนพฒั นาการตลาด การจดั ทำ แผนพฒั นาการผลติ หรือการบรกิ าร การพัฒนาธรุ กิจเชงิ รุก อาจสร้างสถานการณ์จำลองขึ้นมา หรอื พาไปศึกษา ของจริงเพื่อฝึกปฏิบตั ิและนำแผนปฏิบัตกิ ารตา่ ง ๆ เข้าสู่วิถีชวี ิต หรือดำเนนิ การจรงิ ตามวถิ ีชีวิตเพอ่ื ผ้เู รียนเกดิ การ เรยี นรสู้ ามารถพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง (พออยู่ พอกิน มรี ายได้ มีการออม) ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 77 สำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555) การวัดและประเมนิ ผล ประเมินจากสภาพจริงจากผลงานการเรียนรู้และผลการเรยี นร้กู ารจดั ทำแผน และโครงการพัฒนาอาชีพ ใหม้ คี วามเข้มแข็ง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 78 สำนกั งาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา อช21003 พัฒนาอาชพี ใหม้ คี วามเข้มแขง็ จำนวน 2 หนว่ ยกิต ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ****************************************************************************** มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการพัฒนาอาชพี ใหม้ ผี ลิตภณั ฑ์หรืองานบรกิ าร สรา้ งรายได้พอเพียงต่อการ ดำรงชวี ติ และเหลือเงนิ ออมตามศักยภาพ ท่ี หวั เรอ่ื ง ตวั ชีว้ ดั เนอื้ หา จำนวน 1 ศกั ยภาพธรุ กจิ ช่ัวโมง 1.อธิบายความหมาย 1.ความหมาย ความสำคัญและความ 20 ความสำคญั และความจำเปน็ จำเปน็ ในการพฒั นาอาชีพ ของการพฒั นาอาชพี เพื่อ 2.ความจำเป็นของการวเิ คราะห์ ความเขม้ แขง็ ศกั ยภาพธุรกจิ 2.อธบิ ายความจำเป็น และ 3.การวเิ คราะหต์ ำแหนง่ ธุรกจิ คุณคา่ ของการวเิ คราะห์ - ระยะเร่ิมตน้ ศักยภาพของธรุ กจิ - ระยะสร้างตวั 3.สามารถวเิ คราะห์ตำแหนง่ - ระยะทรงตัว ธรุ กิจในระยะตา่ ง ๆ - ระยะตกต่ำหรือสงู ข้นึ 4.สามารถวิเคราะหธ์ ุรกิจ 4.การวิเคราะห์ธรุ กจิ ตามศักยภาพ 5 ตาม ด้านได้แก่ ศักยภาพของ ศกั ยภาพ 5 ดา้ นได้แก่ ทรพั ยากรธรรมชาติในแตล่ ะพนื้ ที่ ศกั ยภาพของ ศกั ยภาพของพนื้ ที่ตามลกั ษณะ ทรพั ยากรธรรมชาติในแตล่ ะ ภมู ิอากาศ ศกั ยภาพของภมู ปิ ระเทศ พ้ืนที่ ศักยภาพของพื้นทต่ี าม และทำเลทีต่ ั้งของแตล่ ะพนื้ ที่ ลกั ษณะภูมอิ ากาศ ศักยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ศักยภาพของภูมิประเทศ ประเพณีและวิถชี วี ิตของแต่ละพ้นื ที่ และทำเลทีต่ ้ังของแตล่ ะพนื้ ที่ ศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ ศกั ยภาพของศิลปะ พนื้ ที่ บนเส้นทางของเวลา วฒั นธรรม ประเพณีและวิถี 5. ตวั อย่างการดำเนินกิจกรรมทาง ชีวติ ของแตล่ ะพื้นที่ ธุรกจิ โดยเน้นสนิ ค้าทม่ี อี ยูใ่ นชมุ ชน ศกั ยภาพของทรัพยากร ของตนเอง มนษุ ย์ในแต่ละพื้นท่ี บน เส้นทางของเวลา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 79 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2555) ท่ี หวั เรอื่ ง ตวั ชีว้ ัด เนอ้ื หา จำนวน ชัว่ โมง 2 การจดั ทำแผนพัฒนา 1.กำหนดทิศทางการตลาด 1.การกำหนดทิศทางการตลาด 15 การตลาด 2.กำหนดเป้าหมาย 2.การกำหนดเปา้ หมายการตลาด การตลาด 3.การกำหนดกลยุทธส์ เู่ ป้าหมาย 3.กำหนดกลยทุ ธ์สู่ 4.การวิเคราะห์กลยทุ ธ์ เป้าหมาย 5.กิจกรรมและแผนการพฒั นาการ 4.วิเคราะห์กลยทุ ธ์ ตลาด 5.กำหนดกิจกรรมและ 6. การจัดทำแผนการตลาดของสินค้า แผนการพฒั นาการตลาด ในชุมชน เชน่ ข้าวปลอดสารพษิ จกั สาน ขนมไทย ผลิตภัณฑจ์ าก สัตว์น้ำ ฯลฯ 3 การจดั ทำแผนพัฒนา 1.อธิบายการกำหนด 1.การกำหนดคุณภาพการผลิตหรือ 15 การผลิตหรือการ คุณภาพผลผลติ หรอื การ การบรกิ าร บรกิ าร บริการ 2.การวเิ คราะหท์ ุนปจั จัยการผลิตหรอื 2.วเิ คราะหท์ ุนปัจจยั การ การบริการ ผลติ หรอื การบริการ 3.การกำหนดเป้าหมายการผลิตหรอื 3.กำหนดเปา้ หมายการผลิต การบรกิ าร หรอื การบริการ 4.การกำหนดแผนกจิ กรรม 4.กำหนดแผนกิจกรรมการ 5.การพฒั นาระบบการผลิตหรอื การ ผลติ บรกิ าร 5.พฒั นาระบบการผลติ หรอื 6. การจดั ทำแผนพฒั นาการบริการ การบริการ ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 4 การพัฒนาธรุ กจิ เชงิ รุก 1.อธิบายความจำเปน็ และ 1.ความจำเปน็ และคณุ ค่าของธุรกจิ 15 คณุ คา่ ของธุรกิจเชิงรุก เชงิ รกุ 2.อธิบายการแทรกความ 2.การแทรกความนิยมเข้าสู่ความ นิยมเขา้ สคู่ วามต้องการของ ต้องการของผู้บริโภค ผบู้ รโิ ภคอยา่ งแทจ้ ริง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 80 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555) ท่ี หัวเรอื่ ง ตวั ชี้วัด เนือ้ หา จำนวน ชั่วโมง 3.อธิบายการสรา้ งรปู ลักษณ์ 3.การสรา้ งรปู ลกั ษณ์คณุ ภาพสนิ คา้ คณุ ภาพสนิ ค้าใหม่ ใหม่ 4.อธบิ ายการพฒั นาอาชีพ 4.การพฒั นาอาชพี ให้มีความเข้มแข็ง ใหม้ ีความเขม้ แข็ง (พออยู่ พอกิน มรี ายได้ มีการออม) 5. การออกแบบผลติ ภณั ฑ/์ สินค้าใหม่ ในชุมชนให้เปน็ ที่สนใจของตลาด ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 5 โครงการพัฒนาอาชีพ 1.วิเคราะหค์ วามเปน็ ไปได้ 1.การวเิ คราะห์ความเป็นไปได้ของ 15 ใหม้ ีความเขม้ แขง็ ของแผนต่าง ๆ แผนต่างๆ 2.เขยี นโครงการการพฒั นา 2.การเขยี นโครงการการพฒั นาอาชพี อาชีพ 3.การตรวจสอบความเปน็ ไปได้ของ 3.ตรวจสอบความเป็นไปได้ โครงการ ของโครงการพัฒนาอาชีพ 4.การปรบั ปรุงแก้ไขโครงการพัฒนา 4.ปรบั ปรงุ โครงการพฒั นา อาชีพ อาชพี ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 81 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) สาระทักษะการดำเนินชีวติ สาระทกั ษะการดำเนินชวี ติ เป็นสาระเก่ียวกบั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง สุขศึกษา พลศึกษา ความ ปลอดภัยในการดำเนนิ ชีวิต การมศี ลิ ปะและสนุ ทรยี ภาพ ด้านทศั นศิลป์ ดนตรแี ละนาฏศิลปพ์ นื้ ฐาน ไทยและสากล ประกอบด้วยมาตรฐานการเรียนรู้ ดังน้ี สาระทกั ษะการดำเนนิ ชีวิตประกอบด้วย 3 มาตรฐาน ดงั น้ี มาตรฐานท่ี 4.1 มีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติที่ดเี กย่ี วกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และสามารถ ประยกุ ตใ์ ช้ในการดำรงชวี ติ ได้อย่างเหมาะสม มาตรฐานที่ 4.2 มีความรู้ ความเข้าใจและเจตคติที่ดเี กี่ยวกับการดูแล ส่งเสรมิ สขุ ภาพอนามยั และความ ปลอดภยั ในการดำเนนิ ชีวิต มาตรฐานที่ 4.3 มีความรู้ ความเข้าใจและเจตคติทีด่ ีเกีย่ วกับศลิ ปะและสนุ ทรยี ภาพ มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น และผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวัง ในแตล่ ะมาตรฐาน มาตรฐานที่ 4.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เจตคติทีด่ ีเก่ยี วกบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถ ประยกุ ต์ใช้ในการดำรงชีวติ ได้อย่างเหมาะสม มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวัง รูเ้ ข้าใจยอมรับเหน็ คุณคา่ ปรัชญาของ 1. อธิบายแนวคดิ หลักการความหมายความสำคญั ของปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถ เศรษฐกิจพอเพยี งได้ ประยุกตใ์ ช้ในการประกอบอาชพี และมี 2. บอกแนวทางในการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งไประยกุ ต์ ภูมคิ มุ้ กนั ในการดำเนนิ ชีวติ ของตนเอง ใชใ้ นการประกอบอาชีพ ครอบครัวและชุมชนอย่างมคี วามสขุ 3. เหน็ คณุ ค่าและปฏิบัติตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง 4. แนะนำสง่ เสรมิ สมาชิกในครอบครัวและชมุ ชนให้เหน็ คุณค่า และนำไปปฏบิ ตั ิในการดำเนินชีวิต ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 82 สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2555) มาตรฐานที่ 4.2 มีความรู้ ความเข้าใจและเจตคติทดี่ ีเกีย่ วกับการดแู ล สง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามัย และความ ปลอดภยั ในการดำเนนิ ชีวิต มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวงั ร้เู ขา้ ใจมคี ุณธรรมจรยิ ธรรมเจตคติทด่ี มี ี 1. อธบิ ายธรรมชาตกิ ารเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ ทกั ษะในการดแู ลและสรา้ งเสรมิ การมี ได้อย่างถูกตอ้ ง พฤติกรรมสขุ ภาพที่ดีปฏิบัตจิ นเปน็ กจิ 2. บอกหลักการดูแลและสรา้ งเสรมิ พฤติกรรมสุขภาพท่ดี ีของ นสิ ยั หลกี เล่ยี งพฤติกรรมเสยี่ งตอ่ สขุ ภาพ ตนเองและครอบครัว ตลอดจนส่งเสริมสขุ ภาพ 3. ปอ้ งกนั และหลีกเลย่ี งพฤติกรรมเสยี่ งต่อสุขภาพและความ พลานามัยและสภาพแวดล้อมท่ีดใี น ปลอดภัยดว้ ยกระบวนการทกั ษะชีวติ ชมุ ชน 4. แนะนำการปฏิบัติตนเกี่ยวกบั การดแู ลและหลกี เลีย่ ง พฤติกรรมเสีย่ งต่อสุขภาพแก่ครอบครวั และผอู้ ืน่ 5. ปฏิบัติตนในการดูแลสขุ อนามัยและสร้างเสริมพฤตกิ รรม สขุ ภาพที่ดีของตนเองรวมทงั้ สภาพแวดลอ้ มในชมุ ชนจนเป็นกจิ นสิ ัย มาตรฐานท่ี 4.3 มีความรู้ ความเข้าใจและเจตคติทีด่ เี กีย่ วกับศลิ ปะและสุนทรยี ภาพ มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั รู้เขา้ ใจมีคุณธรรมจริยธรรมชืน่ ชมเห็น 1. อธบิ ายความหมายของธรรมชาตคิ วามงามและความไพเราะ คณุ คา่ ความงามความไพเราะธรรมชาติ ของทศั นศลิ ปด์ นตรีและนาฏศิลป์ไทย สิง่ แวดลอ้ มทางทัศนศลิ ป์ ดนตรแี ละ 2. อธบิ ายความรพู้ นื้ ฐานของทศั นศลิ ป์ดนตรีและนาฏศลิ ป์ไทย นาฏศิลปไ์ ทยและสามารถวเิ คราะห์ 3. สร้างสรรคผ์ ลงานโดยใชค้ วามรู้พ้นื ฐานดา้ นทัศนศลิ ป์ดนตรี วิพากษ์วจิ ารณ์ได้อย่างเหมาะสม และนาฏศิลป์ไทย 4. ชื่นชมเห็นคุณคา่ ของทัศนศิลปด์ นตรีและนาฏศลิ ป์ไทย 5. วเิ คราะห์วพิ ากษว์ ิจารณ์งานดา้ นทัศนศลิ ปด์ นตรแี ละ นาฏศิลป์ไทย 6.อนุรักษ์สืบทอดภมู ปิ ัญญาด้านทศั นศิลปด์ นตรีและนาฏศิลป์ ไทย ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 83 สำนกั งาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) คำอธิบายรายวิชา สาระทักษะการดำเนินชวี ิต หมวดวิชา ทช21003 ศลิ ปศึกษา ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนต้น จำนวนหนว่ ยกิต 2 หน่วย --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ รู้ เข้าใจ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ชน่ื ชม เห็นคุณคา่ ความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อมทาง ทศั นศลิ ป์ ดนตรี และนาฏศลิ ปไ์ ทย และสามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์ ได้อยา่ งเหมาะสม และสามารถ เลอื กนาฏศลิ ป์ไทยเพื่อนำไปประกอบอาชีพได้ ศกึ ษา เรยี นรูเ้ ก่ียวกับศลิ ปศกึ ษา ดงั นีค้ อื ทัศนศลิ ป์ไทย ความหมาย ความสำคญั ความเปน็ มา คุณค่าและความงามของทศั นศลิ ป์ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มท่เี ป็นตน้ กำเนิดของงานทัศนศลิ ป์ของไทย การวเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์ การอนุรักษ์ ภมู ปิ ัญญา ด้านวัฒนธรรมประเพณี โบราณสถานของทศั นศลิ ปไ์ ทย ดนตรไี ทย ความหมาย ความสำคญั ความเป็นมา วิวฒั นาการ รปู แบบเทคนิควธิ กี ารของดนตรปี ระเภท ต่างๆ คุณคา่ ความงาม ความไพเราะของดนตรีไทย การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ การอนรุ ักษ์ภูมิปญั ญา วฒั นธรรม ประเพณี ทางดา้ นดนตรีไทยทุกประเภท นาฏศลิ ปไ์ ทย ความหมาย ความสำคัญ ความเปน็ มา ววิ ฒั นาการ รปู แบบเทคนคิ วธิ กี าร คุณคา่ ความ งามของนาฏศิลป์ไทย การวิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ การอนุรักษ์ภมู ปิ ัญญา วฒั นธรรม ประเพณีนาฏศลิ ป์ไทย อาชีพนาฏศิลป์ไทย การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ศึกษาจากเอกสาร จากธรรมชาติ ส่ือ ทกุ ประเภท และแหลง่ เรียนรู้ ฝึกจินตนาการ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ สรา้ งสรรค์ ฝกึ ปฏิบัติ ทศั นศึกษา กิจกรรมค่าย ฯลฯ ใหเ้ หน็ คุณค่าและช่นื ชมความงามของทัศนศลิ ป์ ดนตรีนาฏศลิ ป์ และการอนรุ ักษ์ ภมู ิปญั ญา วัฒนธรรม ประเพณี สิง่ แวดล้อม ของทศั นศิลป์ไทย การวัดและประเมินผล ประเมินความรู้ ความเขา้ ใจ ความคดิ เห็น ชนิ้ งาน ผลงาน โดยวธิ กี ารทดสอบ สังเกต สัมภาษณ์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 84 สำนกั งาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2555) รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา ทช21003 ศิลปศกึ ษา สังคม จำนวน 2 หน่วยกิต ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ****************************************************************************** มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดบั รู้ เข้าใจ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ชื่นชม เห็นคณุ ค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมทาง ทศั นศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลปไ์ ทย และสามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์ ไดอ้ ย่างเหมาะสม และสามารถ เลอื กนาฏศลิ ป์ไทยเพือ่ นำไปประกอบอาชีพได้ ที่ หัวเรือ่ ง ตวั ชวี้ ัด เนือ้ หา จำนวน ชัว่ โมง 1 ทศั นศิลป์ไทย 1.อธบิ ายความสำคัญของ 1.ความสำคญั ของทัศนศลิ ป์ท่ีใช้ของ งานทัศนศิลป์ทใ่ี ช้ของจดุ จุด เส้น สี แสง – เงา รปู ร่างและ 30 เสน้ สี แสง-เงา รปู ร่าง ใน รูปทรง เพื่อความซาบซึง้ ในงาน การสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ไทย ทศั นศิลป์ของไทย ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2.ความหมาย ความเป็นมาของ 2.อธิบายความเปน็ มาของ ทศั นศิลป์ไทยดา้ น งานทศั นศลิ ป์ไทยในดา้ น - จติ รกรรม ตา่ งๆ - ประติมากรรม 3.อธบิ าย วิเคราะห์ วพิ ากษ์ - สถาปตั ยกรรม วิจารณ์ความหมาย และ - ภาพพิมพ์ ความงามของทศั นศลิ ปไ์ ทย 3.ความงามของทัศนศลิ ป์ไทยท่เี กดิ ที่เกดิ จากความงามตาม จากความงามตามธรรมชาติ เชน่ ธรรมชาติ ตน้ ไม้ ทะเล แม่นำ้ ลำธาร ภเู ขา และ 4.อธบิ าย วเิ คราะห์ วิพากษ์ สตั วป์ ระเภทต่าง ๆ วิจารณว์ ิธกี ารนำความงาม 4.วิธีการนำความงามของธรรมชาติมา จากธรรมชาตมิ าสรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์งาน จินตนาการให้ออกมาเป็น 5. ความคดิ สร้างสรรค์เหมาะสม และ ความงามทางทัศนศิลป์ไทย ความพอดีของการนำวตั ถหุ รือวัสดุ 5. อธิบายวิเคราะห์ วิพากษ์ สงิ่ ของต่าง ๆ มาประดับตกแตง่ วจิ ารณค์ ุณคา่ ของงาน ร่างกายและท่ีอยูอ่ าศยั หรอื ตกแต่ง ทัศนศิลป์ไทย เรื่องของ สถานที่ สง่ิ แวดลอ้ มท่ัวๆไป ความงามท่ีเกิดจากความคิด สร้างสรรค์ของมนุษย์ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หนา้ 85 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2555) ท่ี หัวเร่อื ง ตัวช้ีวัด เน้ือหา จำนวน ชว่ั โมง 2 ดนตรีไทย 6.อธบิ าย วิเคราะห์ วิพากษ์ 6.คณุ ค่าของความซาบซ้ึงความดีงาม 20 วิจารณ์คณุ คา่ ของความ ของวฒั นธรรมประเพณี และความ ซาบซ้งึ ความรัก และความ สวยงามของวดั โบสถ์ วหิ ารยุคต่างๆ หวงแหนวฒั นธรรม ของชาติ ประเพณี โบราณวตั ถุ และ 7. การสร้างสรรค์งานศลิ ปะในท้องถน่ิ โบราณสถานของชาติ เช่น การจักสาน อำเภอพนัสนิคม 8. รูปแบบการสร้างสรรคง์ านศลิ ปะใน ทอ้ งถิ่น 9. รปู แบบงานทัศนศลิ ปท์ ี่พบเห็นใน ทอ้ งถ่นิ เชน่ วัด ศิลปหัตถกรรม 1. อธิบายความสำคัญ 1.ประวตั คิ วามเป็นมาและววิ ฒั นาการ ความเป็นมาและ ของเครื่องดนตรไี ทย ววิ ฒั นาการของเคร่อื งดนตรี 2. เทคนิควิธีการเล่นของเคร่ืองดนตรี ไทยชนดิ ตา่ ง ๆ ไทยแตล่ ะประเภท 2.อธิบายประเภทของดนตรี 3. คณุ คา่ ของความงามและไพเราะ และเทคนิควธิ กี ารเล่นเครื่อง ของเพลงและเคร่ืองดนตรีไทย ดนตรีไทย 4. ประวัตขิ องคุณค่าความรักและหวง 3.อธบิ ายวิเคราะห์ วิพากษ์ แหน ของภูมิปัญญาตลอดจน กิจกรรม วจิ ารณค์ ณุ ค่าของความงาม กระบวนการถ่ายทอดของภมู ิปัญญา และความไพเราะของเพลง ทางด้านเพลงและดนตรีไทย และเคร่ืองดนตรีไทย 5. องคป์ ระกอบของดนตรีพ้นื บ้านใน 4. อธบิ ายประวตั ิ ของ ทอ้ งถน่ิ เชน่ กลองยาว ระนาด ฉ่งิ คุณค่าความรักและความ ฉาบ กรบั โทน หวงแหน ตลอดจนร่วมสืบ 6. แนวทางการอนรุ ักษ์วงดนตรี สานกระบวนการถ่ายทอด พ้ืนบ้าน ของภูมิ ปญั ญา ทางดา้ นเพลงและ ดนตรีไทย ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 86 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวช้วี ดั เน้ือหา จำนวน ชัว่ โมง 3 นาฏศิลป์ไทย 1.อธิบายประวัติ ความ 1.ประวัติ ความเป็นมา และ 30 เปน็ มา และววิ ัฒนาการใน ววิ ฒั นาการของการแสดงนาฏศิลป์ การแสดงนาฏศิลป์ไทยใน ไทยประเภทต่าง ๆ แต่ละภาคต่างๆ 2.รปู แบบ/องค์ประกอบและวิธกี าร 2.บอกรปู แบบ แสดงนาฏศิลป์ไทยในแตล่ ะภาค องค์ประกอบ และวธิ ีการ ประเภทตา่ ง ๆ แสดงนาฏศลิ ป์ไทยประเภท 3. การแสดงความคิดเหน็ และ ตา่ ง ๆ ความรู้สกึ ตอ่ การแสดงนาฏศิลป์ไทย 3.แสดงความคดิ เห็นและ ประเภทต่าง ๆ ความรสู้ ึกตอ่ การแสดง 4. ประโยชนแ์ ละวิธเี ลือกชมการแสดง ประเภทตา่ ง ๆ นาฏศิลปไ์ ทย 4.บอกประโยชน์และเลือก 5.ท่ารำ และการสื่อความหมายใน ชมการแสดงนาฏศลิ ป์ไทยที่ นาฏศลิ ปไ์ ทย ตนสนใจเพอื่ สร้างความสขุ 6. การใชท้ า่ ทางสื่อความหมาย และประโยชนต์ ่อตนเอง รวมทั้งโอกาสท่ีใชแ้ สดง 5.อธิบายท่ารำและส่อื 7.ประโยชน์และคุณคา่ ของนาฏศิลป์ ความหมายของนาฏศลิ ป์ ไทยและภาษาท่าท่เี กี่ยวข้องกับการ ไทย6.บอกหลกั และวิธกี าร อนรุ กั ษ์มรดกทางวฒั นธรรม ฝึกการใช้ทา่ ทางส่ือ 8.ประวัติ ความเป็นมาววิ ฒั นาการ ความหมาย ความหมายของเนื้อเพลงท่ีใช้และการ 7.บอกประโยชน์และคณุ ค่า แตง่ กายประกอบการแสดงรำวง ของนาฏศิลป์และภาษาทา่ มาตรฐาน เพ่อื การอนุรักษด์ ้าน 9.การนำท่ารำวงมาตรฐานไป นาฏศลิ ป์ ประยุกต์ใช้ประกอบกบั เพลงอ่ืน ๆ 8.อธบิ ายความสมั พนั ธข์ อง เพื่อนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันโดยให้ ประวัตคิ วามเป็นมา สอดคลอ้ งกับวัฒนธรรม วัฒนธรรม ประเพณีที่ เกี่ยวข้องกบั วิวัฒนาการของ รำวงมาตรฐาน ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 87 สำนกั งาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2555) ที่ หัวเรอ่ื ง ตัวชี้วัด เนอ้ื หา จำนวน ชวั่ โมง 9.อธบิ ายการประยุกต์ท่ารำ 10.การอนรุ ักษ์ การละเล่นตาม วงมาตรฐานไปใชก้ ับเพลง วัฒนธรรมประเพณี ของภมู ปิ ัญญา อ่ืน ๆ ในโอกาสต่าง ๆ ทางนาฏศลิ ปไ์ ทยของภาคต่างๆ 10.บอกแนวทางอนุรักษ์ 11. ศิลปะการแสดงพ้ืนบ้านในท้องถ่ิน การละเล่นตามวฒั นธรรม เชน่ งวิ้ ลเิ ก องั กอร์ ประเพณี ภมู ปิ ญั ญาตาม แนวทางนาฏศลิ ป์ไทยของ ภาคต่างๆ 4 นาฏศลิ ปไ์ ทยกับการ 1. บอกลักษณะอาชีพ อาชพี ของนาฏศลิ ป์ไทย 3 ประกอบอาชีพ นาฏศิลป์ไทยประเภทตา่ งๆ - หนงั ตะลุง 2. บอกขั้นตอนและ - ลเิ ก แนวทางในการประกอบ - หมอลำ อาชพี นาฏศิลป์ไทย ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 88 สำนกั งาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2555) สาระการพัฒนาสังคม สาระการพัฒนาสงั คม เป็นสาระเกย่ี วกบั ภมู ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนา้ ท่พี ลเมือง และการพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม ประกอบดว้ ยมาตรฐานการเรียนรู้ ดงั น้ี สาระการพฒั นาสังคม ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานท่ี 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถงึ ความสำคัญเก่ยี วกับภูมศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนำมาปรับใชใ้ นการดำรงชวี ติ มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจเหน็ คุณค่าและสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพ่อื การอยู่ ร่วมกนั อยา่ งสันตสิ ุข มาตรฐานที่ 5.3 ปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมืองทด่ี ตี ามวิถปี ระชาธปิ ไตย มจี ติ สาธารณเพื่อความสงบสุขของ สังคม มาตรฐานท่ี 5.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นความสำคัญของหลกั การพัฒนา และสามารถพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน/สงั คม มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ และผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวัง ในแต่ละมาตรฐาน มาตรฐานท่ี 5.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนักถึงความสำคญั เกยี่ วกบั ภูมศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง สามารถนำมาปรบั ใช้ในการดำรงชวี ิต มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นร้ทู ีค่ าดหวัง มคี วามรู้ความเขา้ ใจตระหนักเก่ียวกบั 1.อธบิ ายข้อมลู เก่ียวกับภูมิศาสตร์ประวัตศิ าสตรเ์ ศรษฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์ การเมืองการปกครองทีเ่ ก่ียวข้องกับประเทศในทวปี เอเชีย การเมืองการปกครองในทวีปเอเชียและ 2. นำเสนอผลการเปรียบเทียบสภาพภูมศิ าสตรป์ ระวตั ิศาสตร์ นำมาปรบั ใช้ในการดำเนนิ ชวี ิตเพอื่ ความ เศรษฐศาสตรก์ ารเมืองการปกครองของประเทศในทวปี เอเชีย มนั่ คงของชาติ 3. ตระหนักและวเิ คราะห์ถึงการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึ้นกบั ประเทศในทวีปเอเชยี ท่มี ีผลกระทบต่อประเทศไทย ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 89 สำนกั งาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555) มาตรฐานท่ี 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจเหน็ คุณคา่ และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เพ่อื การอยู่ ร่วมกันอย่างสันตสิ ุข มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวงั มีความรู้ความเขา้ ใจเหน็ คณุ ค่าและสบื 1.อธิบายประวตั ิความสำคญั หลักคำสอนศาสนาวฒั นธรรม ทอดศาสนาวฒั นธรรมประเพณี ประเพณขี องประเทศในทวีปเอเชีย ของประเทศในทวปี เอเชยี 2.ยอมรบั และปฏบิ ัติตนเพื่อการอยูร่ ว่ มกันอยา่ งสนั ติสุขใน สังคมทม่ี ีความหลากหลายทางศาสนาวฒั นธรรมประเพณี มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัติตนเปน็ พลเมอื งท่ีดตี ามวถิ ปี ระชาธิปไตย มจี ิตสาธารณเพ่ือความสงบสขุ ของ สงั คม มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวัง มีความรู้ความเขา้ ใจดำเนินชวี ิตตามวถิ ี 1.อธิบายสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญและการปกครองใน ประชาธิปไตยกฎระเบียบของประเทศ ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข เพือ่ นบ้าน 2. ตระหนกั ในปัญหาการไมป่ ฏบิ ัตติ ามกฎหมาย 3. มีส่วนร่วมส่งเสรมิ และสนบั สนุนทางการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ ความสำคญั ของหลกั การพฒั นา และสามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน/สงั คม มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง มีความรคู้ วามเข้าใจหลกั การพัฒนา 1. มีความรคู้ วามเขา้ ใจหลกั การพฒั นาชุมชนสังคม ชุมชนสังคมสามารถวเิ คราะห์ขอ้ มูลและ 2. มีความรู้ความเขา้ ใจและเห็นความสำคญั ของขอ้ มลู ตนเอง กำหนดแนวทางการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนสงั คม ครอบครัวชุมชนสงั คมให้สอดคลอ้ งกับ 3. วเิ คราะหข์ อ้ มูลตนเองครอบครัวชมุ ชนสังคมเพ่ือใช้ในการ สภาพการเปล่ยี นแปลงของเหตุการณ์ จัดทำแผนชวี ิตและชมุ ชนสงั คม ปจั จบุ ัน 4. เกดิ ความตระหนักและมสี ่วนร่วมในการจดั ทำประชาคมของ ชุมชน 5. นำผลท่ีไดจ้ ากการประชาคมไปเพ่อื ใช้ในชวี ิตประจำวันได้ 6. สามารถพฒั นาการจดั การทำแผนชีวติ ชมุ ชน/สงั คมให้ สอดคล้องกับสภาพการเปลยี่ นแปลงของชมุ ชนสงั คม ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 90 สำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
หลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555) คำอธบิ ายรายวิชา สาระการพฒั นาสังคม หมวดวิชา สค21002 ศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง ระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาตอนต้น จำนวนหน่วยกิต 2 หน่วย --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณคา่ และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของ ประเทศในทวปี เอเชีย 2. มีความรู้ ความเข้าใจดำเนินชีวติ ตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย กฎระเบยี บของประเทศเพือ่ นบ้าน ศึกษาและฝกึ ทกั ษะเกยี่ วกบั เรอ่ื งดงั ต่อไปนี้ 1. ประวตั คิ วามเปน็ มาของศาสนาในประเทศไทย และประเทศในทวปี เอเชีย 2. หลักธรรมสำคญั ของการปฏบิ ตั ติ นใหอ้ ยรู่ ่วมกนั อย่างสันติสุข 3. การบรหิ ารจติ ตามหลักศาสนา 4. การปฏบิ ัตติ นเป็นคนดีตามหลักคำสอนของแตล่ ะศาสนา (พทุ ธ ครสิ ต์ อสิ ลาม) 5. วฒั นธรรม ประเพณีท่ีสำคัญของประเทศไทยและทวปี เอเชีย 6. การอนรุ กั ษ์ สบื สาน วัฒนธรรม ประเพณี และค่านิยม จริยธรรมทางสังคม ท่ีพึงประสงคข์ องสงั คมไทย 7. โครงสรา้ งและสาระสำคัญของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ท่ีเกีย่ วข้องกบั สิทธิเสรีภาพ หน้าท่ี ของประชาชน 8. การปฏริ ปู การเมืองและจุดเดน่ ของรฐั ธรรมนญู ทีเ่ กี่ยวข้องกับสิทธเิ สรีภาพหนา้ ท่ีของประชาชน 9. หลกั การอยู่ร่วมกนั ตามวิถีทางประชาธปิ ไตยบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรม 10. สถานการณ์และ การมีสว่ นรว่ มทางการเมืองการปกครองในสังคมไทย 11. สทิ ธิมนุษยชนพื้นฐาน การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ จดั ให้มกี ารคน้ คว้าหาความรู้ จากส่ือเอกสาร ตำรา สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ ภมู ิปัญญา สถาบนั ทางศาสนา การฝกึ ปฏบิ ัติ การทำโครงงาน การจดั กลุ่มอภิปรายแลกเปล่ยี นเรียนรู้ การวิเคราะห์ สถานการณจ์ ำลอง การ สรปุ ผลการเรยี นรู้ และนำเสนอในรปู แบบต่างๆ การวัดและประเมนิ ผล ประเมนิ จากการทดสอบ การสงั เกต การประเมนิ การมสี ว่ นร่วมในการทำกจิ กรรมและการตรวจผลงาน ฯลฯ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หนา้ 91 สำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2555) รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า สค21002 ศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมือง จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ****************************************************************************** มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดับ 1. มีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คณุ คา่ และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีของ ประเทศในทวปี เอเชยี 2. มีความรู้ ความเข้าใจดำเนินชวี ิตตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย กฎระเบียบของประเทศเพอ่ื นบ้าน ท่ี หวั เรือ่ ง ตวั ชว้ี ัด เน้อื หา จำนวน ชั่วโมง 1 ศาสนา วัฒนธรรม 1. มีความรู้ ความเข้าใจ 1. ความเปน็ มาของศาสนาในประเทศ เก่ียวกบั ความเปน็ มาของ ไทย 40 ประเพณี ศาสนาต่างๆ ในประเทศไทย - พทุ ธ และประเทศในทวีปเอเชีย - คริสต์ 2. นำหลักธรรมสำคญั ๆ ใน - อิสลาม ศาสนาของตน มาประพฤติ - ฮินดู ปฏบิ ตั ิให้สามารถอยูร่ ่วมกนั 2. ความเปน็ มาของศาสนาในทวปี กบั ศาสนาอืน่ ได้อย่างสนั ติ เอเชยี สขุ - พุทธ 3. เห็นประโยชนใ์ นการนำ - ครสิ ต์ หลกั ธรรมคำสอนในศาสนา - อิสลาม ที่ตนนับถือมาประพฤติ - ฮนิ ดู ปฏิบัติตน เพอื่ ให้เป็นคนดใี น 3. ประวัติความเป็นมาของชมุ ชน/ สงั คม ทอ้ งถนิ่ ทอี่ าศยั อยพู่ ร้อมทั้งจำนวน 4.นำขอ้ ปฏบิ ัตขิ องบุคคล ประชากรท่ีอาศยั อยูใ่ นชมุ ชนท้องถ่นิ ตัวอยา่ งท่ีใชห้ ลกั ธรรมทาง ว่านบั ถือศาสนาใดบา้ ง ศาสนามาปฏบิ ตั ใิ น 4. หลักธรรมในแตล่ ะศาสนาท่ีทำ ชวี ติ ประจำวันมาใชใ้ ห้ ให้อย่รู ว่ มกบั ศาสนาอื่นได้อยา่ งมี เหมาะสมกับวถิ ีชวี ติ ของ ความสขุ ตนเอง - ศาสนาพทุ ธ คอื พรหมวหิ าร4 5. มีความรู้ ความเขา้ ใจใน ฆราวาสธรรม ฯลฯ วฒั นธรรมประเพณีของ - ศาสนาคริสต์ ประเทศไทยและประเทศใน - ศาสนาอสิ ลาม เอเชีย - ศาสนาฮนิ ดู ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม หน้า 92 สำนกั งาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี
หลกั สตู รสถานศึกษา การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555) ที่ หัวเรอื่ ง ตัวชี้วดั เนื้อหา จำนวน ช่วั โมง 6. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั 5.1 หลกั ธรรมในแต่ละศาสนาท่ี ในวฒั นธรรมประเพณีของ ทำใหผ้ ู้นำมาประพฤติปฏิบตั ิเป็นคนดี ประเทศไทยและประเทศใน ในศาสนาพุทธคือ เบญจศลี เบญจ เอเชยี ธรรม พรหมวิหารธรรมทีท่ ำให้งาม 7. มสี ว่ นร่วมในการปฏบิ ัติ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนา ตนตามวัฒนธรรมประเพณี ฮนิ ดู ของสังคมไทย 5.2 กรณตี ัวอย่างบคุ คลตวั อย่างใน 8. ประพฤติตนตามคา่ นิยม แตล่ ะศาสนา จรยิ ธรรมที่พงึ ประสงค์ของ 6. การเข้ารว่ มกจิ กรรมเกีย่ วกับวัน สังคมไทย สำคัญทางศาสนาหรอื ศาสนพิธที ่ี ชุมชนทอ้ งถ่ินจดั ข้ึน 7. วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศไทย และประเทศในเอเชีย - ภาษา - การแตง่ กาย - อาหาร - ประเพณี ฯลฯ 8. การอนรุ ักษ์ และสบื สานวัฒนธรรม ประเพณี ของประเทศไทย และ ประเทศในเอเชยี (กรณตี ัวอยา่ ง) 9. การประพฤติปฏบิ ัติตน เพ่ือการ อนุรักษ์ และสบื สาน วฒั นธรรม ประเพณขี องประเทศไทยและประเทศ ในเอเชีย 10. คา่ นยิ มที่พงึ ประสงคข์ องประเทศ ไทยและประเทศตา่ งๆในเอเชีย 11. ค่านยิ มของคนในชมุ ชนท้อง ถ่นิ ที่อาศัยอยู่ 12. ค่านิยมของเยาวชนในท้องถ่นิ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม หน้า 93 สำนกั งาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179